Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาSAR-ปี-62-ปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาSAR-ปี-62-ปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน

Published by Isara Sattaphan, 2020-08-27 23:08:13

Description: รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาSAR-ปี-62-ปฐมวัยและขั้นพื้นฐาน

Search

Read the Text Version

บทสรุปสำหรับผบู้ ริหำร โรงเรยี นป้อมพระจุลจอมเกล้า ตงั้ อยู่เลขท่ี ๘๔ หมู่ ๕ ตาบลแหลมฟา้ ผ่า อาเภอพระสมุทรเจดยี ์ จงั หวัดสมทุ รปราการ สงั กัดสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต ๑ เปดิ สอนต้ังแตช่ ั้น อนบุ าล ๒ ถงึ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ มีบคุ ลากรสายบรหิ าร ๑ คน ได้รบั การประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม เมอ่ื วันที่ ๒๒ ถงึ ๒๔ เดือนสงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ มีการจัดการศกึ ษา ๒ ระดบั คอื ๑. การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน : การศกึ ษาปฐมวยั (๒ – ๕ ป)ี มีครหู รือพ่ีเลี้ยงเดก็ จานวน ๓ คน เดก็ จานวน ๔๙ คน ๒. ระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน : ประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษา จาแนกเปน็ - ประถมศึกษา มีบคุ ลากรครู จานวน ๑๓ คน ผเู้ รยี น จานวน ๒๕๕ คน - มธั ยมศึกษา มบี ุคลากรครู จานวน ๗ คน ผเู้ รียน จานวน ๑๐๓ คน รวมท้งั สถานศึกษา มีบุคลากรจานวน ๒๕ คน ผ้เู รียน ๔๐๗ จานวน ผลกำรประเมนิ ตนเองของสถำนศึกษำ แสดงในตารางสรุปผลได้ดังนี้ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวยั (๒ – ๕ ป)ี มำตรฐำนกำรศกึ ษำ ระดบั คุณภำพ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลศิ มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเป็นสาคัญ ดเี ลิศ สรุปผลกำรประเมินโดยรวม ดีเลศิ จดุ เดน่ - คณุ ภำพของเดก็ เดก็ มีรา่ งกายเจรญิ เติบโตตามวยั มนี า้ หนกั รปู ร่างตามเกณฑ์ มที ักษะการเคล่ือนไหวตามวยั มี มารยาทดี ยม้ิ ไหว้ ทักทาย มคี ่านยิ มอันพงึ ประสงค์ ทางานร่วมกับผอู้ น่ื ไดอ้ ย่างมีความสขุ มอี ารมณ์รา่ เรงิ แจม่ ใส ร่วมกจิ กรรมกับสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ - กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร โรงเรียนจดั ส่ิงอานวยความสะดวก ให้บริการด้านสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการ จัดประสบการณ์ ครูมีการพฒั นาดา้ นการจดั การเรียนการสอน มีหลักสูตรท่ีครอบคลมุ พัฒนาการทงั้ ๕ ดา้ น ของเด็ก และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของทอ้ งถิ่น - กำรจัดประสบกำรณท์ ่เี น้นเดก็ เป็นสำคัญ การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ การเรยี นรจู้ ากการเลน่ และการปฏบิ ตั จิ รงิ จดั บรรยากาศและห้องเรยี นที่ เอ้อื ต่อการจัดประสบการณ์ และมกี ารประเมนิ เดก็ ดว้ ยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย

จุดท่คี วรพฒั นำ - คุณภำพเดก็ การส่งเสริมการเรียนรทู้ ่นี อกเหนือจากท่โี รงเรียน ปลกู ฝงั การรับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ และ การมีระเบียบวินัยในการยืนตรงเคารพธงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมี สมาทานศลี 5 - กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร โรงเรียนควรจัดหาครใู หเ้ พียงพอตอ่ ชัน้ เรียน และดาเนินการนเิ ทศการจัดประสบการณอ์ ยา่ งสมา่ เสมอ สนบั สนุนใหค้ รูมีความเช่ียวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ - กำรจัดประสบกำรณ์ทเี่ น้นเดก็ เป็นสำคัญ โรงเรยี นควรจัดหอ้ งส่งเสริมพฒั นาการสาหรบั เด็กในรม่ เพือ่ ใหเ้ ด็กได้แสดงออกตามศกั ยภาพของ ตนเองไดต้ ามวยั และปลอดภัย ตำรำงสรปุ ผลกำรประเมนิ ตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ระดับปฐมวยั ประเดน็ กำรพจิ ำรณำ เฉล่ีย ระดับ คุณภำพ มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของเด็ก ๘๐.๑๒ ๔ ดเี ลศิ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑.๑ มพี ัฒนำกำรดำ้ นร่ำงกำยแข็งแรง มีสขุ นิสยั ที่ดีและดูแลควำมปลอดภยั ๘๐.๓๔ ๔ ดเี ลิศ ของตนเองได้ ๑. เดก็ มีน้าหนกั และส่วนสูงตามเกณฑก์ รมอนามัย ๘๓.๘๕ ๔ ดีเลิศ ๒. เด็กมสี ุขภาพอนามยั และสขุ นสิ ัยท่ดี ีในการรักษาสุขภาพ ๘๓.๐๔ ๔ ดเี ลิศ ๓. เดก็ เล่น ทากิจกรรมไดอ้ ย่างปลอดภยั ทงั้ ตวั เองและผ้อู ื่น ๗๕.๑๗ ๓ ดี ๔. เดก็ สามารถเคลอ่ื นไหวรา่ งกายอย่างคลอ่ งแคล่วประสานสัมพนั ธแ์ ละทรงตวั ได้ ๗๙.๓๑ ๓ ดี ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๒ มพี ัฒนำกำรดำ้ นอำรมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงทำงอำรมณ์ ๘๑.๘๒ ๔ ดีเลิศ ๑. เด็กสามารถแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ได้สอดคล้องกับสถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสมตามวยั ๘๑.๕๐ ๔ ดเี ลศิ ๒. เด็กกล้าพูด กล้าแสดงออกไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ ๘๓.๑๙ ๔ ดีเลศิ ๓. เดก็ สนใจ มคี วามสุขและแสดงท่าทาง/เคล่อื นไหวประกอบเพลง จงั หวะและดนตรไี ด้ ๘๐.๗๘ ๔ ดีเลศิ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑.๓ มพี ฒั นำกำรด้ำนสังคม ช่วยเหลือตนเองและเปน็ สมำชิกท่ีดขี องสังคม ๘๐.๘๑ ๔ ดเี ลิศ ๑. เด็กสามารถชว่ ยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจาวันไดเ้ หมาะสม ๘๑.๐๐ ๔ ดีเลิศ ๒. เดก็ สามารถดูแลรกั ษาธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ มและทิ้งขยะได้ถกู ท่ดี ว้ ยตนเอง ๘๐.๐๐ ๔ ดีเลิศ ๓. เดก็ สามารถปฏบิ ตั ิตนตามมารยาทไทยได้ตามกาลเทศะ ๘๑.๐๔ ๔ ดเี ลิศ ๔. เดก็ สามารถปฏิบตั ิตนตามข้อตกลงได้ ๘๑.๑๙ ๔ ดเี ลศิ ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑.๔ มพี ัฒนำกำรด้ำนสติปญั ญำ สอ่ื สำรได้ มีทกั ษะกำรคิดพน้ื ฐำน และ ๗๗.๕๐ ๓ ดี แสวงหำควำมรูไ้ ด้ ๑. เด็กสามารถฟังและสนทนาโตต้ อบและเล่าเป็นเรือ่ งราวได้ ๘๑.๐๐ ๔ ดีเลิศ

ประเดน็ กำรพจิ ำรณำ เฉลีย่ ระดบั คุณภำพ ๒. เด็กสามารถจับคู่ เปรียบเทยี บ จาแนก จัดกลุม่ เรยี งลาดบั เหตุการณไ์ ด้ ๗๗.๙๐ ๓ ดี ๓. เด็กสามารถอธิบาย เชอ่ื มโยงสาเหตุและผลท่ีเกดิ ข้นึ ในสถานการณ์หรือการกระทาได้ ๗๕.๗๘ ๓ ดี ๔. เดก็ สามารถระบุปญั หา สรา้ งทางเลอื กและเลอื กวธิ แี กป้ ญั หาได้ ๗๘.๐๔ ๓ ดี ๕. เดก็ สามารถค้นหาคาตอบของขอ้ สงสยั โดยวิธกี ารท่หี ลากหลายด้วยตนเอง ๗๔.๘๑ ๓ ดี มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร ๘๒.๓๑ ๔ ดเี ลศิ ตัวบ่งช้ีท่ี ๒.๑ มีหลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นำกำรท้ัง ๔ ดำ้ น สอดคล้องกับบรบิ ทของ ๘๓.๐๘ ๔ ดีเลิศ ทอ้ งถน่ิ สถานศึกษามีการประเมินและพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาทีย่ ดื หย่นุ และสอดคล้อง ๘๓.๐๘ ๔ ดเี ลศิ กบั หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย และบริบทของท้องถ่นิ ตัวบ่งชท้ี ี่ ๒.๒ จดั ครใู ห้เพยี งพอกับช้ันเรยี น ๘๑.๕๔ ๔ ดเี ลิศ สถานศึกษามีครูจบการศึกษาปฐมวัยหรอื ผ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวัย ๘๑.๕๔ ๔ ดีเลศิ ตวั บ่งช้ที ี่ ๒.๓ สง่ เสรมิ ใหค้ รูมีควำมเชย่ี วชำญด้ำนกำรจัดประสบกำรณ์ ๘๒.๖๙ ๔ ดีเลศิ สถานศึกษามีการสง่ เสรมิ ให้ครมู ีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อ คุณภาพเด็กเปน็ รายบุคคลตรงตามความตอ้ งการของครูและสถานศึกษา มีการสร้างชุมชน ๘๒.๖๙ ๔ ดีเลิศ การเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC) และมีการสรุปองค์ความร้ทู ไ่ี ด้จากการทา PLCอย่างชัดเจน ตัวบ่งชี้ท่ี ๒.๔ จดั สภำพแวดล้อมและสื่อเพอ่ื กำรเรยี นร้อู ยำ่ งปลอดภยั และเพยี งพอ ๘๓.๔๖ ๔ ดเี ลศิ สถานศึกษาจดั สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกหอ้ งเรียนทีม่ คี วามปลอดภัย มมี มุ ๘๓.๔๖ ๔ ดีเลศิ ประสบการณ์หลากหลาย มสี ือ่ เพื่อการเรียนรอู้ ยา่ งพอเพียงและหลากหลาย ตัวบง่ ชี้ท่ี ๒.๕ ให้บริกำรสอ่ื เทคโนโลยีสำรสนเทศและส่อื กำรเรยี นรูเ้ พอ่ื สนับสนุนกำร ๘๑.๙๒ ๔ ดเี ลศิ จดั ประสบกำรณ์สำหรับครู สถานศึกษาให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ การเรยี นรเู้ พอื่ สนบั สนนุ การจดั ๘๑.๙๒ ๔ ดีเลิศ ประสบการณเ์ หมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๒.๖ มรี ะบบบรหิ ำรคณุ ภำพท่เี ปดิ โอกำสใหผ้ ูเ้ ก่ยี วขอ้ งทุกฝำ่ ยมสี ว่ นร่วม ๘๑.๑๕ ๔ ดีเลิศ สถานศกึ ษามรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษาทเ่ี หมาะสมและต่อเนือ่ ง มี การช้ีแนะระหว่างการปฏิบตั งิ านสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา บรู ณา ๘๑.๑๕ ๔ ดีเลศิ การการปฏบิ ัตงิ านและเปิดโอกาสให้ผูท้ ่เี กยี่ วข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ มจนเปน็ แบบอย่างท่ดี ี และไดร้ บั การยอมรับจากชมุ ชนและหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ ง มำตรฐำนที่ ๓ กำรจัดประสบกำรณท์ ่ีเน้นเดก็ เป็นสำคญั ๘๒.๒๑ ๔ ดีเลิศ ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๓.๑ กำรจัดประสบกำรณท์ ีส่ ่งเสริมใหเ้ ดก็ มีพัฒนำกำรทกุ ดำ้ นอยำ่ งสมดลุ ๘๔.๖๒ ๔ ดเี ลิศ เตม็ ศกั ยภำพ

ประเดน็ กำรพิจำรณำ เฉล่ีย ระดบั คุณภำพ ครจู ดั ประสบการณท์ ี่ส่งเสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปญั ญาอยา่ งสมดุล เตม็ ศกั ยภาพโดยความรว่ มมอื ของพอ่ แมแ่ ละครอบครัว ชมุ ชน ๘๔.๖๒ ๔ ดีเลศิ และผเู้ กยี่ วขอ้ ง และเป็นแบบอย่างทด่ี ี ตวั บ่งชีท้ ่ี ๓.๒ สรำ้ งโอกำสใหเ้ ดก็ ไดร้ บั ประสบกำรณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั ิอยำ่ งมี ๘๒.๓๑ ๔ ดเี ลศิ ควำมสขุ ครสู รา้ งโอกาสให้เดก็ ไดร้ บั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏบิ ัติกิจกรรม เรียนรู้ ลงมอื ๘๒.๓๑ ๔ ดีเลศิ ทาและสรา้ งองค์ความรดู้ ว้ ยตนเองอย่างมคี วามสขุ ตัวบ่งช้ที ่ี ๓.๓ จัดบรรยำกำศที่เอ้อื ตอ่ กำรเรยี นรู้ ใชส้ ่ือ และเทคโนโลยีทเ่ี หมำะสมกับวัย ๘๑.๕๔ ๔ ดเี ลิศ ครจู ดั บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในห้องเรียนทเี่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้โดยเดก็ มีส่วน ๘๑.๕๔ ๔ ดีเลศิ รว่ ม ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๓.๔ ประเมนิ พฒั นำกำรเด็กตำมสภำพจริง นำผลกำรประเมินพัฒนำกำรเด็ก ๘๐.๓๘ ๔ ดีเลิศ ไปปรับปรุง กำรจดั ประสบกำรณแ์ ละพัฒนำเด็ก ครปู ระเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงดว้ ยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย โดยผปู้ กครองและผู้ ทเี่ กยี่ วขอ้ งมสี ่วนร่วม นาผลการประเมนิ ทีไ่ ด้ไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละ ๘๐.๓๘ ๔ ดีเลิศ พัฒนาการเดก็ สรปุ ผลกำรประเมนิ โดยรวม ๘๑.๖๕ ๔ ดีเลิศ

การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน : ระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา มำตรฐำนกำรศกึ ษำ ระดบั คุณภำพ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผ้เู รยี น ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั ดีเลิศ สรปุ ผลกำรประเมินโดยรวม ดีเลิศ จุดเดน่ - คณุ ภำพของผู้เรยี น โรงเรยี นนาผลการทดสอบทงั้ ระดบั ชาติและระดับโรงเรียนมาวเิ คราะห์ แล้วจดั ทาโครงการเพอ่ื พัฒนาผ้เู รยี น ผ้สู อน และสนับสนนุ ด้านส่ือเทคโนโลยีเพอ่ื ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ส่งผลใหน้ กั เรียนมกี ารพฒั นาดา้ น ทกั ษะ มสี ุขภาพดี กลา้ แสดงออก และสามารถอยู่กับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมีความสุข - กระบวนกำรบริหำรและกำรจดั กำร โรงเรยี นมกี ารบริหารงานแบบมีส่วนรว่ ม โดยใช้เทคนิคการประชมุ ที่หลากหลาย เพือ่ พฒั นาบคุ ลากรให้พรอ้ ม กับการปฏบิ ตั งิ าน มกี ารเสริมสรา้ งขวญั กาลงั ใจและสนับสนนุ ให้บุคลากรได้เขา้ รับการอบรม เพอ่ื เพ่ิมพูนความรู้ ความสามารถทีท่ ันสมยั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของนโยบายและต่อสังคม - กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ บคุ ลากรมีความตง้ั ใจ มงุ่ มนั่ ในการจัดการเรยี นการสอน โดยจดั กจิ กรรมให้นกั เรยี นไดล้ งมอื ปฏิบัติจริง นักเรียนไดศ้ กึ ษาหาความรเู้ พิ่มเติมจากสื่อเทคโนโลยที โ่ี รงเรียนจัดหาไว้ให้ มแี หลง่ เรยี นรู้ภายในทหี่ ลากหลาย มี สภาพแวดลอ้ มที่เอ้อื ตอ่ การเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น จดุ ที่ควรพัฒนำ - คณุ ภำพผ้เู รยี น ควรจัดกิจกรรมท่ีมงุ่ เน้นการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ควรทาอย่างต่อเนือ่ งและสม่าเสมอ การวดั ผล ประเมินผลควรวัดด้วยวิธที ี่หลากหลาย และแบง่ นกั เรยี นตามศักยภาพของนักเรียน - กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร โรงเรียนควรมีเครือข่ายด้านการจดั การศกึ ษาที่เข้มแข็งและเป็นรูปธรรม - กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ควรนาภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ พร้อมท้งั การให้ขอ้ มูลปอ้ นกลบั กับ นกั เรยี นทันที เพอื่ จะไดเ้ กิดการพัฒนา และครูควรจัดทาวิจัยในชั้นเรยี นอย่างจรงิ จังและนาไปปรับปรงุ พัฒนาอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง สมา่ เสมอ

ตำรำงสรปุ ผลกำรประเมินมำตรฐำนกำรศึกษำ ระดับกำรศกึ ษำขัน้ พ้ืนฐำน ประเดน็ กำรพิจำรณำ เฉลี่ย ระดบั คุณภำพ มำตรฐำนที่ ๑ คุณภำพของผ้เู รียน ๘๐.๐๔ ๔ ดีเลศิ ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑.๑ ผลสมั ฤทธท์ิ ำงวิชำกำรของผู้เรยี น ๑) มีควำมสำมำรถในกำรอำ่ น กำรเขยี น กำรสอื่ สำรและกำรคดิ คำนวณ ๙๐.๕๖ ๕ ยอดเย่ยี ม ๑.๑ ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น ๙๑.๕๔ ๕ ยอดเย่ียม ๑.๒ ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการส่ือสารท้ังภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ๘๙.๓๔ ๔ ดีเลศิ ๑.๓ ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดคานวณ ๙๐.๗๙ ๕ ยอดเย่ยี ม ๒) มคี วำมสำมำรถในกำรคดิ วิเครำะห์ คิดอย่ำงมีวจิ ำรณญำณ อภิปรำย แลกเปลีย่ น ๘๑.๕๑ ๔ ดเี ลิศ ควำมคิดเห็นและแก้ปญั หำ ๒.๑ ผู้เรยี นมีความสามารถในการคดิ จาแนกแยกแยะ ๘๑.๙๐ ๔ ดเี ลิศ ๒.๒ ผ้เู รยี นมีความสามารถในการรวบรวมข้อมูล จดั ระบบขอ้ มูลและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ๘๐.๔๗ ๔ ดเี ลศิ ๒.๓ ผเู้ รียนมีความสามารถในการเสนอความคิดจากเร่อื งท่อี ่าน ฟัง และดู โดยการ ๘๑.๘๕ ๔ ดเี ลศิ พูดหรอื เขยี นไดห้ ลายรูปแบบตามความคิดเห็นของตนเองไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผล ๒.๔ ผเู้ รียนมกี ารแลกเปล่ียนความคิดเห็น อภปิ รายความรู้และวิธีการเรียนรู้ไดอ้ ย่างชัดเจน ๘๑.๘๒ ๔ ดีเลศิ ๓) มคี วำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวตั กรรม ๘๐.๓๔ ๔ ดเี ลิศ ๓.๑ ผู้เรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ไดด้ ้วยตวั เอง ๘๐.๖๕ ๔ ดีเลศิ ๓.๒ ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการรวบรวมความร้ไู ด้ด้วยการทางานเป็นทมี ๘๑.๘๘ ๔ ดีเลิศ ๓.๓ ผเู้ รียนสามารถเชอื่ มโยงองค์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สงิ่ ใหมๆ่ ๗๘.๘๐ ๓ ดี ๓.๔ ผู้เรียนมผี ลผลิต/ชน้ิ งาน/โครงงาน อยา่ งน้อย ๑ ชน้ิ งาน/ภาคเรยี น ๘๐.๐๕ ๔ ดีเลศิ ๔) ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรส่อื สำร ๘๐.๙๗ ๔ ดีเลิศ ๔.๑ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และใชส้ อื่ เทคโนโลยีคน้ หาข้อมูลได้อย่างคล่องแคลว่ ตรง ๘๐.๔๒ ๔ ดเี ลิศ ตามวัตถุประสงค์ ๔.๒ ผเู้ รียนสามารถตดิ ตอ่ ส่ือสารทางอินเตอร์เนต็ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง คล่องแคลว่ ๘๓.๒๖ ๔ ดีเลิศ ๔.๓ ผเู้ รียนร้จู ักเลือกและใช้เทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งถูกวธิ ี และคุ้มคา่ ๘๐.๗๑ ๔ ดีเลศิ ๔.๔ ผู้เรยี นสามารถสอื่ สารข้อมูลหรอื ผลงานโดยใช้เทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสมเป็น ๗๙.๔๗ ๓ ดี แบบอยา่ งทีด่ ี ให้คาแนะนา ชแ้ี นะแก่ผอู้ นื่ ได้ ๕) มผี ลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นตำมหลกั สูตรสถำนศึกษำ ๕๑.๗๕ ๑ กำลงั พฒั นำ ๕.๑ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด ๗๑.๔๔ ๓ ดี ๕.๒ คา่ เฉล่ียผลการทดสอบระดับชาติ O - NET ระดบั ป.๖ และ ม.๓ มีพัฒนาการสูงขึ้น ๓๙.๐๖ ๓ ดี ๖) มีควำมรู้ ทักษะพืน้ ฐำน และเจตคตทิ ดี่ ตี ่องำนอำชีพ ๘๒.๖๑ ๔ ดีเลศิ ๖.๑ ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดี พร้อมที่จะศึกษาตอ่ ในระดบั ชัน้ ท่ีสงู ขน้ึ ๘๓.๗๓ ๔ ดีเลศิ ๖.๒ ผู้เรียนมีความรทู้ ักษะในการทางานประกอบอาชีพเหมาะสมกบั ช่วงวยั ๘๑.๔๘ ๔ ดีเลิศ

ประเดน็ กำรพจิ ำรณำ เฉล่ีย ระดับ คุณภำพ ตวั บง่ ช้ีที่ ๑.๒ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผ้เู รียน ๑) มีคุณลกั ษณะและค่ำนยิ มทด่ี ีตำมทสี่ ถำนศึกษำกำหนด ๘๓.๓๒ ๔ ดีเลิศ ๘๓.๔๖ ๔ ดเี ลศิ ๑.๑ ผเู้ รียนมีพฤติกรรมเป็นผูท้ ่มี คี ุณธรรม จรยิ ธรรม ๘๓.๖๕ ๔ ดเี ลศิ ๑.๒ ผู้เรยี นเคารพในกฏกตกิ าของสถานศกึ ษา ดเี ลิศ ๑.๓ ผ้เู รียนมคี ่านยิ มและจติ สานกึ ตามท่ีสถานศึกษากาหนดโดยไม่ขัดกับกฏหมาย ๘๒.๘๖ ๔ ดเี ลิศ และวฒั นธรรมอนั ดขี องสงั คม ดเี ลิศ ๒) มคี วำมภูมิใจในท้องถิ่นและควำมเป็นไทย ๘๒.๗๔ ๔ ดีเลศิ ๒.๑ ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม ๘๑.๙๑ ๔ ดีเลิศ ๒.๒ ผู้เรยี นมีความภูมใิ จในท้องถิน่ ในความเป็นไทย และเห็นคณุ ค่าเกยี่ วกบั ภมู ิ ดเี ลศิ ปัญญาไทยและแสดงออกได้ ๘๓.๕๗ ๔ ดเี ลศิ ๓) ยอมรับทีจ่ ะอยู่ร่วมกันบนควำมแตกตำ่ งและหลำกหลำย ดเี ลศิ ๓.๑ ผู้เรยี นแสดงความคิดเห็นอยา่ งสภุ าพและยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื ดว้ ย ๘๒.๒๔ ๔ ดเี ลศิ ความเขา้ ใจ ดเี ลิศ ๓.๒ ผู้เรยี นสามารถปรับตัวเข้ากับเพือ่ นได้ ๘๒.๘๒ ๔ ดีเลิศ ๓.๓ ผู้เรยี นแสดงมารยาทท่ีดีกับเพ่ือน และผอู้ ื่น ดีเลศิ ๓.๔ ผูเ้ รยี นปฏบิ ัติต่อผู้อื่นไดอ้ ย่างเหมาะสมโดยคานึงถงึ หนา้ ทีข่ องตนเองและผูอ้ ืน่ ๘๓.๑๓ ๔ ดเี ลศิ ๔) มีสขุ ภำวะทำงร่ำงกำยและจิตสังคม ๘๑.๘๑ ๔ ดีเลศิ ๔.๑ ผู้เรยี นมีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๑.๒๑ ๔ ดีเลศิ ๔.๒ ผเู้ รยี นรักษาอารมณแ์ ละสขุ ภาพจติ ให้ดอี ยู่เสมอ ๘๔.๓๔ ๔ ๔.๓ ผเู้ รียนไมเ่ พิกเฉยต่อการทาส่ิงท่ีไมถ่ ูกต้อง และอย่รู ่วมกนั ดว้ ยดีในครอบครัว ๘๕.๙๖ ๔ ดเี ลิศ ชมุ ชนและสังคม ๘๓.๓๙ ๔ มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร ดีเลศิ ตวั บง่ ชที้ ่ี ๒.๑ มเี ปำ้ หมำย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ ทส่ี ถำนศึกษำกำหนดชดั เจน ๘๓.๖๖ ๔ ดเี ลศิ สถานศกึ ษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกิจทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน ๘๓.๒๕ ๔ สอดคล้องกับบริบทของสถานศกึ ษา ความตอ้ งการชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการ ๘๔.๒๙ ๔ ศึกษาแหง่ ชาติเป็นไปได้ในการปฏบิ ัติ ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง ตัวบ่งชที้ ี่ ๒.๒ มรี ะบบกำรบรหิ ำรจัดกำรคุณภำพของสถำนศกึ ษำ ๘๔.๒๙ ๔ ๑) สถานศกึ ษามรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษาที่ชัดเจน มี ๘๒.๙๓ ๔ ประสิทธภิ าพ สง่ ผลตอ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยความ ร่วมมอื ของผูท้ เ่ี กยี่ วข้องทกุ ฝ่าย มีการนาขอ้ มูลมาใชใ้ นการปรบั ปรุง พัฒนางานอย่าง ๘๒.๘๔ ๔ ตอ่ เนื่อง และเปน็ แบบอยา่ งได้

ประเด็นกำรพิจำรณำ เฉลีย่ ระดบั คณุ ภำพ ๒) สถานศกึ ษามขี อ้ มูลภาคีเครือข่าย และการมีส่วนรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายในการ ๘๒.๗๙ ๔ ดีเลศิ ส่งเสริม สนับสนนุ ปอ้ งกนั ชว่ ยเหลือและคมุ้ ครองผู้เรียนรว่ มกับสถานศึกษาอย่างมี ประสทิ ธิภาพ มีการนิเทศ กากับติดตาม ผลการดาเนนิ งานอยา่ งต่อเนอ่ื ง ๘๓.๑๘ ๔ ดีเลิศ ๓) สถานศกึ ษามีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการจดั การศึกษา ๘๓.๕๙ ๔ ดเี ลศิ ครบภารกจิ หลัก ๔ ด้าน คอื ด้านวชิ าการ ดา้ นงบประมาณ ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล ด้านการบริหารทั่วไป และการนานโยบายส่กู ารปฏบิ ัติอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง และ ๘๓.๔๕ ๔ ดีเลิศ มกี ารนาผลการนิเทศไปใช้ในการพัฒนาการจัดการศึกษาตอ่ ไป ตัวบ่งช้ที ี่ ๒.๓ ดำเนนิ งำนพฒั นำวิชำกำรทเ่ี น้นคณุ ภำพผู้เรียนรอบดำ้ นตำมหลกั สูตร ๘๓.๗๓ ๔ ดีเลศิ สถำนศึกษำและทกุ กลุม่ เปำ้ หมำย ๘๒.๑๗ ๔ ดเี ลิศ ๑) สถานศกึ ษามีการพัฒนาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานและหลักสตู ร ๘๒.๑๗ ๔ ดีเลิศ ระดบั ท้องถิ่นครบถ้วนอยา่ งต่อเน่ือง มีความสอดคล้องกับเปา้ หมาย จุดเนน้ สาระ ๘๒.๘๔ ๔ ดีเลิศ ท้องถ่ินและสอดคล้องแผนพัฒนาการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๗ นาไปใช้ใน ๘๒.๘๔ ๔ ดเี ลิศ การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา มีการนิเทศ ตรวจสอบ กากบั ติดตามการนาหลักสูตรไป ๘๓.๖๘ ๔ ดเี ลิศ ใช้ และเผยแพร่ในสถานศึกษาและส่สู าธารณชน ๘๓.๖๘ ๔ ดเี ลิศ ๒) จานวนเด็กพิการเรยี นรวม ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ บุคคล (Individualized Education Program : IEP) และหรือจานวนเด็กก้อยโอกาส ได้รับการ ดแู ลช่วยเหลือ และสง่ เสรมิ ใหไ้ ดร้ บั การศึกษาเต็มตามศกั ยภาพ จานวนเด็กทม่ี ีความสามารถ พเิ ศษได้รับการดูแลชว่ ยเหลือและส่งเสรมิ ให้ได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ ตวั บ่งชี้ท่ี ๒.๔ พฒั นำครูและบุคลำกรใหม้ ีควำมเช่ียวชำญทำงวิชำชีพ สถานศึกษามีการพฒั นาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพ มีการ สรา้ งชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) ระดบั กล่มุ สาระการเรียนรู้ ระดับสถานศึกษา และระหว่างระดบั สถานศึกษาและมกี าร สรปุ องค์ความร้ทู ีไ่ ด้จากการทา PLC อยา่ งชดั เจน ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๕ จดั สภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสงั คมทเ่ี ออ้ื ตอ่ กำรจดั กำรเรยี นรู้ อย่ำงมคี ณุ ภำพ สถานศกึ ษามกี ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้มแี หล่งเรียนรูด้ ้วยรูปแบบและวธิ กี ารท่ี หลากหลายตามบรบิ ทของสถานศึกษา มีการใชแ้ หล่งเรยี นรแู้ ละพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ อยา่ งต่อเนือ่ ง และมีความปลอดภยั ตัวบ่งชท้ี ี่ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ำรสนเทศเพอื่ สนบั สนุนกำรบริหำรจัดกำรและ กำรจดั กำรเรยี นรู้ สถานศึกษามีการจัดระบบการจัดหา และการพฒั นาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ทห่ี ลากหลายอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ครอบคลมุ ภารกิจ ๔ ด้าน และการจดั การเรยี นรู้

ประเด็นกำรพจิ ำรณำ เฉลีย่ ระดบั คณุ ภำพ มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั ๘๓.๔๘ ๔ ดเี ลิศ ตวั บง่ ชที้ ่ี ๓.๑ จดั กำรเรยี นรู้ผำ่ นกระบวนกำรคิดและปฏบิ ัตจิ รงิ และสำมำรถนำไป ๘๓.๓๔ ๔ ดีเลิศ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ได้ ๘๓.๕๑ ๔ ดีเลิศ ๑) ผูเ้ รยี นมสี ่วนร่วมในการวิเคราะหต์ นเองกาหนดเน้อื หาสาระกจิ กรรมท่ีสอดคลอ้ ง กับความสนใจและความถนดั เป็นรายบุคคลอย่างเปน็ รปู ธรรมทัง้ ระบบ ๘๕.๐๗ ๔ ดเี ลิศ ๒) ครเู ปิดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยผา่ นกระบวนการคิดไดป้ ฏิบัติจรงิ ดว้ ยวิธีการ ๘๔.๗๔ ๔ ดีเลิศ และแหลง่ เรียนรู้ ท่ีหลากหลายสรุปองคค์ วามรู้และสามารถนาไปใช้ในสถานการณต์ ่างๆ ได้เปน็ อย่างดี ๘๒.๑๒ ๔ ดีเลิศ ๘๑.๒๘ ๔ ดีเลศิ ๓) ครจู ดั กิจกรรมให้ผู้เรยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะแสดงออกนาเสนอผลงานแสดงความคิดเห็น ๘๒.๙๕ ๔ ดเี ลศิ คดิ เปน็ ทาเป็น รกั การอา่ นและแสวงหาความรจู้ ากสือ่ เทคโนโลยีด้วยตนเองอยา่ งเป็น ๘๒.๙๕ ๔ ดีเลศิ รูปธรรมและตอ่ เน่อื ง ๘๒.๘๗ ๔ ดีเลศิ ๔) ผูเ้ รยี นได้เรยี นรโู้ ดยเชื่อมโยงบรู ณาการสาระการเรยี นรูแ้ ละทกั ษะด้านตา่ งๆ ๘๒.๙๕ ๔ ดเี ลศิ ๕) ผูเ้ รียนมีสว่ นรว่ มในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมสือ่ การเรยี นและอานวย ความสะดวกทเ่ี อ้ือตอ่ การเรียนรู้ ๘๒.๗๙ ๔ ดเี ลิศ ตัวบ่งช้ที ่ี ๓.๒ ใช้ส่ือเทคโนโลยสี ำรสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ่ีเอือ้ ตอ่ กำรเรยี นรู้ ครใู ช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้รวมท้ังภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ท่เี ออ้ื ต่อ ๘๓.๔๗ ๔ ดีเลศิ การเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง ๘๖.๑๘ ๔ ดเี ลิศ ตัวบง่ ชีท้ ่ี ๓.๓ มีกำรบริหำรจดั กำรช้ันเรยี นเชิงบวก ๘๓.๔๕ ๔ ดเี ลิศ ๑) ครูมีการจัดบรรยากาศท้งั ด้านกายภาพ เปน็ การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรยี น ๘๒.๒๓ ๔ ดีเลิศ ทง้ั การจดั ตกแต่งในห้องเรยี น จัดทีน่ ่ัง จดั มมุ เสรมิ ความรูต้ ่าง ๆ ให้สะดวกตอ่ การเรียน ๘๒.๘๔ ๔ ดีเลศิ การสอน ๘๒.๖๒ ๔ ดีเลิศ ๒) ครูมีบุคลิกภาพความเป็นครูไดเ้ หมาะสม ปรับพฤติกรรมการสอนใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ไดด้ ี มเี ทคนิคในการปกครองช้ันเรียน และสร้างปฏสิ ัมพันธท์ ่ีส่งเสรมิ การ เรียนร้ใู ห้แก่ผเู้ รียน ตัวบง่ ชี้ท่ี ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยำ่ งเปน็ ระบบ และนำผลมำพัฒนำ ผเู้ รยี น ๑) ครูมกี ารประเมินผเู้ รียนจากสภาพจริง ๒) ครมู ขี ้ันตอนตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ ๓) ครูใชเ้ ครอื่ งมอื และวิธีการวดั และประเมนิ ผลที่เหมาะสมกับเปา้ หมายและการ จัดการเรียนการสอน ๔) ผู้เรยี นและผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวดั และประเมินผล ๕) ครูมกี ารให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แก่ผเู้ รยี นและผู้เรยี นนาไปใชพ้ ัฒนาตนเอง

ประเด็นกำรพิจำรณำ เฉล่ีย ระดบั คุณภำพ ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๓.๕ มีกำรแลกเปลีย่ นเรียนร้แู ละให้ขอ้ มลู ป้อนกลบั เพอื่ ปรบั ปรงุ และ ๘๔.๗๙ ๔ ดีเลิศ พัฒนำกำรจัดกำรเรียนรู้ ๘๔.๗๙ ๔ ดีเลิศ ครแู ละผมู้ ีสว่ นเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลีย่ นความรู้และประสบการณ์รวมทั้งใหข้ อ้ มูล ๘๒.๒๖ ๔ ดีเลิศ ป้อนกลับ เพ่ือนาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ สรปุ ผลการประเมนิ โดยรวม

ก คำนำ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรียนป้อมพระจุลจอมเกล้า ฉบับนี้ จดั ทาขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ้ ๓ ระบใุ ห้สถานศึกษาจัดส่งรายงาน ผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็น ผลสาเร็จจากการบรหิ ารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาในระดับปฐมวัย ๓ มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของเด็ก กระบวนการบริหารและการจัดการ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ และระดับ การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ๓ มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรยี น กระบวนการบรหิ ารและการจัดการกระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อนาเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อ หนว่ ยงานต้นสังกัด หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ตอ่ สาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพรอ้ ม ในการรับการประเมินภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ท่ีมีสว่ นเกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๒ ฉบับนี้ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนปอ้ มพระจุลจอมเกล้า ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ต่อไป (นางสาววรี นุช สทุ ธพนั ธ์) ผ้อู านวยการโรงเรยี นป้อมพระจจุ อมเกลา้ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๓

ข สำรบัญ เร่ือง หนำ้ บทสรุปสำหรับผู้บริหำร คำนำ ก สำรบัญ ข ส่วนท่ี ๑ ขอ้ มลู พืน้ ฐำนของสถำนศกึ ษำ ๑  ข้อมูลท่วั ไป ๑  ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศกึ ษา ๓  ข้อมลู นกั เรียน ๔  ขอ้ มูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศกึ ษา ๔  ผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นออกของผเู้ รยี น (RT) ๑๑  ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ (NT) ๑๓  ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน (O – NET) ๑๕  ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ๑๙ สว่ นท่ี ๒ ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ ๒๔ ระดบั ปฐมวัย ๒๔ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็ ๒๔ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๒๗ มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เป็นสาคัญ ๒๙ ระดับกำรศึกษำขั้นพนื้ ฐำน ๓๑ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน ๓๑ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ๓๕ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ๓๗ ส่วนที่ ๓ สรปุ ผล และแนวทำงกำรพัฒนำ ๓๙  ระดบั ปฐมวยั ๓๙  ระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๔๐ ส่วนท่ี ๔ ภำคผนวก ๔๓  คาส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒  คาสั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบระบบประกนั คณุ ภาพและประเมนิ คุณภาพภายใน สถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

ข สำรบัญ (ตอ่ )  บันทกึ การพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา  สรุปผลการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน  รางวลั ความสาเรจ็ สถานศกึ ษา/ผ้บู รหิ าร/ครู/นกั เรยี น  ภาพกิจกรรม

๑ สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มูลพ้ืนฐำนของสถำนศกึ ษำ 1.1 ข้อมูลทั่วไป โรงเรียนป้อมพระจุลจอมเกล้า ตั้งอยู่เลขที่ ๘๔ หมู่ ๕ ถนนสุขสวัสดิ์ ตาบลแหลมฟ้าผ่า อาเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ รหัสไปรษณีย์ ๑๐๒๙๐ โทรศัพท์ ๐-๒๐๕๘-๙๓๔๔ โทรสาร ๐-๒๐๕๘-๙๓๔๔ E-mail [email protected] Website http://School.obec.go.th/pomprachun/ สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑ เปดิ สอนต้ังแต่ระดับปฐมวัยถึง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เน้ือที่ ๕๐ ไร่ ๒ งาน ๗๙ ตารางวา มีเขตพื้นที่บริการ ๕ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ ๓, หมู่ ๔, หมู่ ๕, หมู่ ๗, และหมู่ ๑๒ ผู้บริหารสถานศึกษาช่ือ นางสาววีรนุช สุทธพันธ์ วุฒิการศึกษา ค.ม. การบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งทโ่ี รงเรยี นน้ตี งั้ แต่ วันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ถึงปัจจบุ ัน เปน็ เวลา ๓ เดือน ประวัติของสถำนศึกษำ พ.ศ. ๒๔๙๘ ฯพณฯ จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้มาตรวจเยี่ยมเส้นทางถนน ดาวคะนอง – ป้อมพระจุล (ถนนสุขสวัสดิ์) ได้พบว่ามีนักเรียนท่ีเป็นบุตรหลานของทหารเรือในเขตป้อมพระ จุลจอมเกล้า ประชาชนที่อาศัยอยู่ในท้องท่ีน้ีต้องเดินทางไปเรียนหนังสือในจังหวัดได้รับความลาบากมาก จึงดารใิ หก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารพิจารณาสรา้ งโรงเรียนข้นึ ณ ทด่ี ินในเขตสถานที หารเรอื สมทุ รปราการ คณะรัฐมนตรไี ด้ลงอนุมัติเงินค่าจาหน่ายแสตมป์ ก.ศ.ส. จานวน ๑,๐๒๐,๐๐๐ บาท (หน่ึงล้านสอง หมนื่ บาทถ้วน) เปน็ คา่ ก่อสรา้ งอาคารเรียนและอาคารประกอบ วันท่ี ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อธิบดีกรมสามัญการศึกษาและ พ.ต.ท. นายราชภักดี ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการพร้อมด้วยข้าราชการทหารเรือ ข้าราชการจังหวัด สมุทรปราการ ได้มาร่วมพิธวี างศิลาฤกษ์ วันท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ ขณะที่โรงเรียนกาลังดาเนินการก่อสร้าง ได้เปิดทาการสอน ช่ัวคราวท่ีอาคารเรือนจาทหารเรือป้อมพระจุลจอมเกล้า ซ่ึงทางจังหวัดได้แต่งตั้งนายอัมพร งามสมุทร รักษาการในตาแหน่งครูใหญ่ ทาการสอนเป็นเวลา ๕ เดือน จึงย้ายมาทาการสอนในสถานที่ปัจจุบัน เมื่อวนั ท่ี ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ สปี ระจำโรงเรียน แสด – ดา สแี สด หมายถึง ความสดใส รงุ่ โรจน์ สดี า หมายถึง ความเข้มแข็ง อดทน

๒ สัญลกั ษณโ์ รงเรยี น ช่ือโรงเรยี นป้อมพระจลุ จอมเกล้า โคง้ อย่เู บือ้ งล่างของสมอและอยตู่ รงกลางช่อชัยพฤกษ์ โดยช่อชัยพฤกษ์น้ันโค้งออกโอบล้อมสองข้างท้ังซ้ายและขวาภายใน มีป้อมปืนอยู่ตรงกลาง ช่อชัยพฤกษ์ มีกระดาษและปากกาขนนกอยู่บนป้อมปืน เหนือกระดาษและปากกาขนนก คอื ชวาลา ซ่ึงสอ่ งแสงสว่างประกายเจิดจ้า ควำมหมำยของสญั ลักษณ์ ชวาลา หมายถึง แสงสว่าง ความรทู้ างปัญญา กระดาษ ปากกาขนนก หมายถึง การให้ความรู้แก่นักเรียน ป้อมปนื หมายถึง ปอ้ มพระจลุ จอมเกลา้ ช่อชยั พฤกษ์ หมายถึง การมีระเบียบวินยั สมอเรือ หมายถงึ อย่ใู นความอนเุ คราะห์ของกองทพั เรอื ความหมายโดยรวมของสัญลักษณ์ คือ โรงเรียนป้อมพระจุลจอมเกล้าได้รับความอนุเคราะห์จาก กองทัพป้อมพระจุลจอมเกลา้ เปน็ สถานทีป่ ระสทิ ธิประสาทความรคู้ คู่ ุณธรรมแกเ่ ยาวชนของชาติ คาขวญั ของโรงเรยี น ศึกษาดี มีวินยั ใฝค่ ณุ ธรรม นากีฬา ปรัชญาโรงเรยี น สวุ ิชาโน ภว โหติ (ผู้ร้ดู เี ป็นผเู้ จริญ) ขอ้ มลู สภำพชุมชนโดยรวม ๑. สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นชุมชนขนาดเล็ก อยู่เป็นกลุ่ม ๆ มีประชากร ประมาณ ๒๕,๗๘๐ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียนได้แก่ อู่ทหารเรือพระจุลจอมเกล้า, ป้อมพระ จลุ จอมเกล้า, แม่น้าเจ้าพระยา, อ่าวไทย, พระสมทุ รเจดีย,์ ศนู ย์พฒั นาการประมงแห่งเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ อาชพี ของชุมชนคือ อาชีพประมง เนื่องจากบริเวณชุมชนใกล้กับอ่าวไทย บรเิ วณโดยรอบมแี ต่น้า ซงึ่ มีท้ังน้า จืดและน้าเค็ม ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น ท่ีเป็นท่ีรู้จักโดยท่ัวไปคือ ประเพณี สงกรานต์ ประเพณีแหผ่ ้า ห่มองค์พระสมุทรเจดีย์ ๒. ผ้ปู กครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดบั ประถมศึกษา ประกอบอาชพี ประมง คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๐ นับถอื ศาสนา พุทธ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ครอบครวั ต่อปี ๘๐,๐๐๐ บาท จานวนคนเฉลยี่ ต่อครอบครวั ๖ คน ๓. โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน เน่ืองจากสภาพแวดล้อมของโรงเรียนอยู่ติดกับแม่น้าเจ้าพระยาและอ่าวไทย เป็นที่ราบลุ่ม น้าท่วมถึง น้าที่ท่วมเป็นน้าเค็ม ทาให้ยากแก่การดูแลรักษาสภาพแวดล้อมในการปลูกต้นไม้บริเวณรอบ ๆ แต่ทางโรงเรยี นไดพ้ ยายามหางบประมาณจากภายนอกมาช่วยในการพฒั นาโรงเรียน

๓ ๑.๒ ขอ้ มลู บุคลำกรของสถำนศึกษำ ๑) จานวนบคุ ลากร ขำ้ รำชกำรครู พนักงำน ครอู ัตรำจำ้ ง เจำ้ หนำ้ ที่ รวมทง้ั หมด บคุ ลำกร ผูบ้ รหิ ำร ๑๙ รำชกำร อน่ื ๆ จานวน ๑ - ๑ ๔ ๒๕ ๒) วฒุ ิการศกึ ษาสงู สดุ ของบคุ ลากร บคุ ลำกร ต่ำกวำ่ ปรญิ ญำตรี ปริญญำโท ปริญญำเอก รวมทงั้ หมด ปริญญำตรี ๘ ๑ ๒๕ จานวน ๓ ๑๓ ๓) สาขาวิชาทจ่ี บการศกึ ษาและภาระงานสอน จำนวน (คน) ภำระงำนสอนเฉลย่ี ของครู ๑ คน ในแตล่ ะสำขำวิชำ (ชม./สปั ดำห)์ สำขำวิชำ ๑- ๑. บรหิ ารการศึกษา ๒. ภาษาไทย ๓ ๑๘ ๓. คณิตศาสตร์ ๔. วิทยาศาสตร์ ๒ ๑๘ ๕. สงั คมศึกษาฯ ๖. ภาษาองั กฤษ ๒ ๑๘ ๗. การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘. ปฐมวยั ๓ ๑๘ ๙. ประถมศึกษา ๑๐. พลศกึ ษา ๑ ๒๐ ๑๑. ศิลปะ ๑๒. คอมพิวเตอร์ ๓ ๑๘ รวม ๑ ๒๐ ๑ ๒๐ ๒ ๑๘ ๑ ๒๐ ๑ ๒๐ ๒๑ ๑๘

๔ ๑.๓ ขอ้ มลู นกั เรียน จานวนนกั เรยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ รวม ๔๐๗ คน ระดบั ชั้นเรียน จำนวนห้อง เพศ รวม เฉลยี่ ต่อหอ้ ง ชำย หญิง อนบุ าล ๒ อนบุ าล ๓ ๑ ๙ ๑๑ ๒๐ ๒๐ รวม ๑ ๑๙ ๑๐ ๒๙ ๒๙ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๒ ๒๘ ๒๑ ๔๙ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๑ ๒๗ ๘ ๓๕ ๓๕ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๑ ๑๘ ๒๖ ๔๔ ๔๔ รวม ๑ ๑๘ ๒๑ ๓๙ ๓๙ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ๑ ๒๒ ๑๓ ๓๕ ๓๕ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๒ ๒๗ ๒๓ ๕๐ ๒๕ รวม รวมทั้งหมด ๒ ๒๖ ๒๖ ๕๒ ๒๖ ๘ ๑๓๘ ๑๑๗ ๒๕๕ ๒ ๒๐ ๒๔ ๔๔ ๒๒ ๑ ๑๓ ๑๘ ๓๑ ๓๑ ๑ ๑๔ ๑๔ ๒๘ ๒๘ ๔ ๔๗ ๕๖ ๑๐๓ ๑๔ ๒๑๓ ๑๙๔ ๔๐๗ ๑.๔ ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี นระดบั สถำนศึกษำปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ระดบั ปฐมวัย รอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ ผี ลการประเมนิ พัฒนาการแต่ละด้านในระดบั ๓ ขึน้ ไป ระดบั ชนั้ ผลการประเมินพฒั นาการนกั เรียนดา้ น ครบทงั้ ๔ ด้าน อ.๒ รา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สตปิ ญั ญา ๑๐๐.๐๐ อ.๓ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐๐.๐๐ รวม ๒๙ ๒๙ ๒๙ ๒๙ ๑๐๐.๐๐ ร้อยละ ๔๙ ๔๙ ๔๙ ๔๙ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐

ระดับกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ๕ ๑) ร้อยละของนกั เรียนทีม่ ีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตล่ ะรายวชิ าในระดบั ๓ ข้นึ ไป ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึง ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ (เพ่ิมเตมิ ) รำยวิชำ(พืน้ ฐำน) ระดับชั้น ภำษำไทย ค ิณตศำสตร์ วิทยำศำสตร์และ เทคโนโลยี สังคม ึศกษำฯ ประวั ิตศำสต ์ร สุขศึกษำและพล ศึกษำ ศิลปะ กำรงำนอำ ีชพ ภำษำ ่ตำงประเทศ ห ้นำท่ีพลเ ืมอง ป.๑ ๘๗.๕๐ ๘๑.๒๕ ๙๖.๘๗ ๘๔.๓๗ ๙๓.๗๕ ๙๖.๘๗ ๑๐๐.๐๐ ๙๓.๗๕ ๘๔.๓๗ ๑๐๐.๐๐ ป.๒ ๗๐.๗๓ ๖๘.๒๙ ๘๕.๓๖ ๘๒.๙๒ ๘๕.๓๖ ๙๕.๑๒ ๙๒.๖๘ ๙๐.๒๔ ๖๐.๙๗ ๑๐๐.๐๐ ป.๓ ๗๕.๖๘ ๗๘.๘๘ ๘๙.๑๙ ๘๑.๐๘ ๗๒.๙๗ ๙๗.๓๐ ๘๓.๗๘ ๕๖.๗๖ ๗๒.๙๗ ๑๐๐.๐๐ ป.๔ ๖๖.๖๖ ๓๖.๓๖ ๘๑.๘๑ ๑๐๐.๐๐ ๘๑.๘๑ ๙๓.๙๓ ๙๐.๙๐ ๘๗.๘๗ ๖๙.๖๙ ๑๐๐.๐๐ ป.๕/๑ ๕๒.๐๐ ๒๘.๐๐ ๙๒.๐๐ ๘๐.๐๐ ๖๔.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๘๘.๐๐ ๖๘.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ป.๕/๒ ๒๗.๒๗ ๔๐.๙๐ ๘๖.๓๖ ๘๑.๘๑ ๗๗.๒๗ ๑๐๐.๐๐ ๙๐.๙๐ ๘๑.๘๑ ๕๙.๐๙ ๑๐๐.๐๐ ป.๖/๑ ๔๑.๖๖ ๕๐.๐๐ ๙๕.๘๓ ๘๗.๕๐ ๘๓.๓๓ ๙๕.๘๓ ๑๐๐.๐๐ ๙๑.๖๖ ๒๕.๐๐ ๙๕.๘๓ ป.๖/๒ ๔๕.๘๓ ๖๒.๕๐ ๘๗.๕๐ ๙๕.๘๓ ๗๙.๑๖ ๑๐๐.๐๐ ๙๕.๘๓ ๙๕.๘๓ ๒๐.๘๓ ๑๐๐.๐๐ ร้อยละ ๕๘.๔๒ ๕๕.๗๗ ๘๙.๓๗ ๘๖.๖๙ ๗๙.๗๑ ๙๗.๓๘ ๙๔.๒๖ ๘๕.๗๔ ๕๗.๖๒ ๙๙.๔๘ รอ้ ยละของนักเรยี นทมี่ เี กรดเฉลี่ยผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนแต่ละรำยวิชำในระดับ ๓ ข้ึนไป ระดับชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี ๑ ถงึ ระดับชนั้ ประถมศกึ ษำปีที่ ๖ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๒ ๙๗.๓๘ ๙๔.๒๖ ๙๙.๔๘ ๘๙.๓๗ ๘๖.๖๙ ๗๙.๗๑ ๘๕.๗๔ ๕๘.๔๒ ๕๕.๗๗ ๕๗.๖๒ ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ สังคมศกึ ษำ ประวัติศำสตร์ สขุ ศึกษำ ศลิ ปะ กำรงำนอำชพี ภำษำอังกฤษ หนำ้ ท่พี ลเมือง

๖ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถึง ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ รำยวชิ ำ(พน้ื ฐำน) รำยวชิ ำ(เพิม่ เติม) ระดบั ชน้ั ภำษำไทย ค ิณตศำสต ์ร ิวทยำศำสต ์ร ิวทยำกำรคำนวณ สังคม ึศกษำฯ ประ ัว ิตศำสต ์ร ุสข ึศกษำ พล ึศกษำ ิศลปะ ดนต ีร - นำฏ ิศล ์ป กำรงำนอำชีพ ภำษำ ่ตำงประเทศ หน้ำ ่ีทพลเ ืมอง คอมพิวเตอ ์ร กำรงำนอำชีพ ม.๑/๑ ๖๘.๑๘ ๕๐.๐๐ ๘๑.๘๒ ๗๗.๒๗ ๕๙.๐๙ ๖๓.๖๔ ๘๑.๘๒ ๙๕.๔๕ ๕๔.๕๕ ๘๑.๘๒ ๔๕.๔๕ ๔๕.๔๕ ๘๑.๘๒ ๗๗.๒๗ ๕๔.๕๕ ม.๑/๒ ๑๐๐.๐๐ ๕๗.๑๔ ๙๐.๔๗ ๗๑.๔๒ ๗๖.๑๙ ๙๐.๔๗ ๙๐.๔๗ ๗๑.๔๒ ๘๐.๙๕ ๑๐๐.๐๐ ๔๗.๖๑ ๒๘.๕๗ ๙๐.๔๗ ๙๐.๔๘ ๔๗.๖๑ ม.๒ ๗๔.๐๗ ๓๗.๓๐ ๘๕.๑๘ ๗๗.๗๗ ๗๐.๓๗ ๖๖.๖๖ ๙๒.๕๙ ๗๗.๗๗ ๖๖.๖๖ ๘๘.๘๘ ๓๓.๓๓ ๓๗.๐๓ ๘๑.๔๘ ๖๖.๖๖ ๔๐.๗๔ ม.๓ ๘๐.๗๗ ๑๐๐.๐๐ ๘๔.๖๒ ๘๘.๔๖ ๖๙.๒๓ ๗๓.๐๘ ๑๐๐.๐๐ ๙๖.๑๕ ๘๘.๔๖ ๒๖.๙๒ ๕๐.๐๐ ๘๘.๔๖ ๘๘.๔๖ ๓๔.๖๒ ร้อยละ ๘๐.๗๖ ๖๑.๐๔ ๘๕.๕๒ ๗๕.๔๙ ๗๓.๕๓ ๗๒.๕๐ ๘๔.๔๙ ๘๖.๑๖ ๗๔.๕๘ ๘๙.๗๙ ๓๘.๓๓ ๔๐.๒๖ ๘๕.๕๖ ๘๐.๗๒ ๔๔.๓๘ ร้อยละของนกั เรียนท่มี เี กรดเฉล่ยี ผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรยี นแต่ละรำยวิชำในระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับช้ันมัธยมศกึ ษำปีที่ ๑ ถึง ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีที่ ๓ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ๘๕.๕๒ ๘๔.๔๙ ๘๖.๑๖ ๘๙.๗๙ ๘๕.๕๖ ๘๐.๗๒ ๘๐.๗๖ ๗๕.๔๙ ๗๓.๕๓ ๗๒.๕๐ ๗๔.๕๘ ๖๑.๐๔ ๓๘.๓๓ ๔๐.๒๖ ๔๔.๓๘ ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ วทิ ยำกำรคำนวณ สงั คมศึกษำฯ ประวัตศิ ำสตร์ สุขศึกษำ พลศึกษำ ศิลปะ ดนตรี - นำฏศิลป์ กำรงำนอำชพี ภำษำตำ่ งประเทศ หน้ำท่พี ลเมือง คอมพิวเตอร์ กำรงำนอำชีพ (เพิ่มเติม)

๗ ๒) รอ้ ยละของนักเรียนทีม่ ีผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ในระดับดี ขน้ึ ไป ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ ถึงระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ระดบั ชั้น จำนวน ไมผ่ ่ำน ผลกำรประเมิน ดเี ยีย่ ม ระดับดี รอ้ ยละ นักเรยี น ผำ่ น ดี ข้ึนไป ๗๗.๑๔ ป.๑ ๓๕ ๓ ๕ ๑๖ ๑๑ ๒๗ ๖๑.๓๖ ๗๙.๔๙ ป.๒ ๔๔ ๓ ๑๔ ๑๖ ๑๑ ๒๗ ๔๕.๗๑ ๗๘.๐๐ ป.๓ ๓๙ ๒ ๖ ๑๖ ๑๕ ๓๑ ๘๘.๔๖ ๘๖.๓๖ ป.๔ ๓๕ ๒ ๑๗ ๙ ๗ ๑๖ ๘๐.๖๕ ๘๒.๑๔ ป.๕ ๕๐ ๓ ๘ ๓๒ ๗ ๓๙ ๗๕.๙๘ ป.๖ ๕๒ ๓ ๓ ๓๘ ๘ ๔๖ ม.๑ ๔๔ ๑ ๕ ๓๑ ๗ ๓๘ ม.๒ ๓๑ ๔ ๒ ๓ ๒๒ ๒๕ ม.๓ ๒๘ ๒ ๓ ๑๕ ๘ ๒๓ รวม ๓๕๘ ๒๓ ๖๓ ๑๗๖ ๙๖ ๒๗๒ *หมำยเหตุ นักเรียนทไ่ี ม่ผ่านการประเมนิ คอื นกั เรยี นท่ีไมม่ าเรยี น ร้อยละของนักเรยี นท่ีมผี ลกำรประเมนิ กำรอำ่ น คดิ วิเครำะห์ และเขยี น ในระดบั ดี ขนึ้ ไป ระดับช้นั ประถมศึกษำปที ี่ ๑ ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษำปที ี่ ๓ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ๗๗.๑๔ ๗๙.๔๙ ๗๘.๐๐ ๘๘.๔๖ ๘๖.๓๖ ๘๐.๖๕ ๘๒.๑๔ ๖๑.๓๖ ๔๕.๗๑ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ รอ้ ยละของนกั เรยี นที่ไดร้ ะดบั ดี ข้ึนไป

๘ ๓) ร้อยละของนกั เรยี นทม่ี ีผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ในระดับดี ขึ้นไป ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดบั ชัน้ จำนวน ไม่ผำ่ น ผลกำรประเมิน ดีเย่ยี ม ระดับดี รอ้ ยละ นักเรยี น ผำ่ น ดี ขึ้นไป ๙๑.๔๓ ป.๑ ๓๕ ๓ ๐ ๓ ๒๙ ๓๒ ๙๓.๑๘ ๙๔.๘๗ ป.๒ ๔๔ ๓ ๐ ๕ ๓๖ ๔๑ ๙๔.๒๙ ๙๔.๐๐ ป.๓ ๓๙ ๒ ๐ ๑ ๓๖ ๓๗ ๙๒.๓๑ ๙๗.๗๓ ป.๔ ๓๕ ๒ ๐ ๑๔ ๑๙ ๓๓ ๘๗.๑๐ ๙๒.๘๖ ป.๕ ๕๐ ๓ ๐ ๓ ๔๔ ๔๗ ๙๓.๓๐ ป.๖ ๕๒ ๓ ๑ ๑ ๔๗ ๔๘ ม.๑ ๔๔ ๑ ๐ ๔ ๓๙ ๔๓ ม.๒ ๓๑ ๔ ๐ ๑ ๒๖ ๒๗ ม.๓ ๒๘ ๒ ๐ ๒ ๒๔ ๒๖ รวม ๓๕๘ ๒๓ ๑ ๓๔ ๓๐๐ ๓๓๔ *หมำยเหตุ นกั เรียนที่ไมผ่ า่ นการประเมิน คือ นักเรยี นทีไ่ ม่มาเรยี น ร้อยละของนกั เรยี นทม่ี ีผลกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับดี ข้ึนไป ระดับชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๑ ถงึ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๓ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒ ๙๗.๗๓ ๙๑.๔๓ ๙๓.๑๘ ๙๔.๘๗ ๙๔.๒๙ ๙๔.๐๐ ๙๒.๓๑ ๙๒.๘๖ ๘๗.๑๐ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ รอ้ ยละของนกั เรียนทไ่ี ดร้ ะดับ ดี ขน้ึ ไป

๙ ๔) ร้อยละของนกั เรียนที่มีผลการประเมนิ สมรรถนะสาคัญตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ของผ้เู รยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ ในระดับผ่าน ขนึ้ ไป สมรรถนะสำคญั ไม่ผ่ำน ผลกำรประเมนิ ดเี ย่ียม ระดบั ผ่ำน รอ้ ยละ ผ่ำน ดี ข้นึ ไป ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร ๓ ๓ ๒๗ ๑๙ ๔๖ ๘๘.๔๖ ๒. ความสามารถในการคดิ ๓ ๔ ๓๕ ๑๐ ๔๕ ๘๖.๕๔ ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ๓ ๔ ๒๘ ๑๗ ๔๕ ๘๖.๕๔ ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๓ ๓ ๒๐ ๒๖ ๔๖ ๘๘.๔๖ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๓ ๓ ๓๖ ๑๐ ๔๖ ๘๘.๔๖ รวม ๑๕ ๑๗ ๑๔๖ ๘๒ ๒๒๘ ๘๗.๖๙ *หมำยเหตุ นักเรียนท่ไี ม่ผ่านการประเมิน คอื นกั เรียนท่ีไมม่ าเรียน ร้อยละของนักเรียนทม่ี ีผลกำรประเมนิ สมรรถนะสำคญั ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ของผ้เู รียนช้ันประถมศึกษำปีที่ ๖ ในระดบั ดี ข้ึนไป ๘๘.๔๖ ๘๘.๔๖ ๘๘.๔๖ ๘๖.๕๔ ๘๖.๕๔ ๑. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร ๒. ควำมสำมำรถในกำรคิด ๓. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ญั หำ ๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทกั ษะชีวิต ๕. ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี

๑๐ ๕) รอ้ ยละของนกั เรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสาคัญตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ของผูเ้ รยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ในระดับผา่ น ข้ึนไป สมรรถนะสำคัญ ไมผ่ ่ำน ผลกำรประเมิน ดเี ยีย่ ม ระดบั ผำ่ น รอ้ ยละ ๒ ผำ่ น ดี ข้ึนไป ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร ๒ ๐๙ ๒. ความสามารถในการคดิ ๒ ๐ ๑๒ ๑๗ ๒๖ ๙๒.๘๖ ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๒ ๐๖ ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๒ ๐๔ ๑๔ ๒๖ ๙๒.๘๖ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๑๐ ๐๓ ๐ ๓๔ ๒๐ ๒๖ ๙๒.๘๖ รวม ๒๒ ๒๖ ๙๒.๘๖ ๒๓ ๒๖ ๙๒.๘๖ ๙๖ ๑๓๐ ๙๒.๘๖ รอ้ ยละของนักเรียนท่มี ผี ลกำรประเมนิ สมรรถนะสำคญั ตำมหลกั สูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำขนั้ พื้นฐำน พทุ ธศักรำช ๒๕๕๑ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ของผู้เรียนชนั้ มัธยมศึกษำปที ี่ ๓ ในระดับผ่ำน ขึน้ ไป ๙๒.๘๖ ๙๒.๘๖ ๙๒.๘๖ ๙๒.๘๖ ๙๒.๘๖ ๑. ควำมสำมำรถในกำรส่อื สำร ๒. ควำมสำมำรถในกำรคดิ ๓. ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ัญหำ ๔. ควำมสำมำรถในกำรใชท้ ักษะชีวติ ๕. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี

๑๑ ๑.๕ กำรประเมินควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำนออกของผเู้ รยี น (Reading Test : RT) ระดับชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี ๑ ๑) ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นออกของผู้เรยี น (Reading Test : RT) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ รำยวชิ ำ ระดบั โรงเรียน คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ ๗๕.๑๔ ระดบั จังหวัด ระดับ สพฐ. ๖๘.๕๐ กำรอำ่ นออกสยี ง ๘๙.๑๘ ๗๒.๘๑ กำรอำ่ นรเู้ ร่ือง ๘๒.๑๖ ๗๔.๒๐ ๖๗.๔๙ ๗๐.๖๖ รวม ๒ สมรรถนะ ๗๕.๐๔ ๗๒.๕๑ ๗๔.๖๒ ๗๐.๐๐ แผนภูมเิ ปรียบเทียบผลกำรประเมินควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ นออกของผูเ้ รียน (Reading Test : RT) ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๑ ๗๕.๑๔ ๗๔.๒๐ ๘๙.๑๘ ๘๒.๑๖ ๖๗.๔๙ ๖๘.๕๐ ๗๕.๐๔ ๗๒.๕๑ ๗๒.๘๑ ๗๔.๖๒ ๗๐.๐๐ ๗๐.๖๖ การอา่ นออกสียง การอ่านรูเ้ รือ่ ง รวม 2 สมรรถนะ คะแนนเฉลีย่ ระดบั โรงเรียน คะแนนเฉลี่ย ระดับจงั หวดั คะแนนเฉล่ีย ระดับ สพฐ. คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ

๑๒ ๒) การเปรียบเทยี บผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผเู้ รียน (Reading Test : RT) ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ รำยวชิ ำ ปกี ำรศึกษำ คะแนนเฉลีย่ ปกี ำรศึกษำ ผลต่ำงระหวำ่ งปี ๒๕๖๐ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ กำรศกึ ษำ กำรอำ่ นออกสยี ง ๗๕.๘๔ ๗๕.๑๔ กำรอำ่ นรเู้ ร่อื ง ๘๕.๒๓ ๒๕๖๑ ๘๙.๑๘ -๐.๗๘ รวม ๒ สมรรถนะ ๘๐.๕๓ ๗๕.๙๒ ๘๒.๑๖ -๑.๓๖ ๙๐.๕๔ -๑.๐๗ ๘๓.๒๓ แผนภูมเิ ปรียบเทยี บผลกำรประเมินควำมสำมำรถดำ้ นกำรอำ่ นออกของผเู้ รยี น (Reading Test : RT) ระดบั ชนั้ ประถมศึกษำปที ี่ ๑ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๑ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ๘๕.๒๓ ๙๐.๕๔ ๘๙.๑๘ ๘๐.๕๓ ๘๓.๒๓ ๘๒.๑๖ ๗๕.๘๔ ๗๕.๙๒ ๗๕.๑๔ กำรอ่ำนออกสียง กำรอำ่ นร้เู รอ่ื ง รวม ๒ สมรรถนะ

๑๓ ๑.๖ กำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพ้นื ฐำนของผู้เรยี นระดับชำติ (National Test : NT) ระดับชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๓ ๑) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ รำยวชิ ำ ระดับโรงเรียน คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ ๔๔.๔๔ ระดบั จงั หวัด ระดบั สพฐ. ๔๔.๙๔ ควำมสำมำรถดำ้ นคณติ ศำสตร์ ๔๑.๑๙ ๔๖.๔๖ ควำมสำมำรถดำ้ นภำษำไทย ๔๒.๘๑ ๔๕.๖๘ ๔๕.๖๔ ๔๕.๗๐ ๔๘.๙๑ ๔๖.๐๐ เฉล่ียทัง้ ๒ ดำ้ น ๔๗.๓๐ ๔๕.๘๒ แผนภูมิผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพ้ืนฐำนของผ้เู รยี นระดบั ชำติ (National Test : NT) ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ระดับช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๓ คะแนนเฉลย่ี ระดับโรงเรยี น คะแนนเฉลี่ย ระดับจังหวดั คะแนนเฉลีย่ ระดบั สพฐ. คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ ๔๕.๖๘ ๔๕.๖๔ ๔๘.๙๑ ๔๗.๓๐ ๔๖.๐๐ ๔๖.๔๖ ๔๕.๘๒ ๔๕.๗๐ ๔๔.๔๔ ๔๔.๙๔ ๔๒.๘๑ ๔๑.๑๙ ความสามารถด้านคณติ ศาสตร์ ความสามารถด้านภาษาไทย เฉลีย่ ท้งั ๒ ด้าน

๑๔ ๒) เปรียบเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ รำยวชิ ำ ปกี ำรศึกษำ คะแนนเฉลย่ี ปกี ำรศึกษำ ผลตำ่ งระหวำ่ งปี ๒๕๖๐ ๒๕๖๒ กำรศกึ ษำ ดำ้ นภำษำ ๔๗.๘๕ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๑ ๔๑.๑๙ ดำ้ นคำนวณ ๓๓.๔๕ ๔๔.๔๔ -๑๗.๓๘ ด้ำนเหตุผล ๓๘.๑๕ ๕๘.๕๗ -๕.๔๔ เฉล่ยี ทั้ง ๓ ดำ้ น ๓๙.๘๒ ๔๙.๘๘ ๔๒.๘๑ ๕๗.๑๔ -๑๒.๓๘ ๕๕.๑๙ เปรียบเทียบผลกำรประเมินกำรทดสอบควำมสำมำรถพน้ื ฐำนของผ้เู รียนระดบั ชำติ (National Test : NT) ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๓ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ คะแนนเฉลย่ี ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ คะแนนเฉลี่ย ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ คะแนนเฉล่ยี ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ๕๘.๕๗ ๕๗.๑๔ ๕๕.๑๙ ๓๘.๑๕ ๓๙.๘๒ ๔๒.๘๑ ๔๗.๘๕ ๔๙.๘๘ ๔๔.๔๔ ๔๑.๑๙ ๓๓.๔๕ ดา้ นภาษา ดา้ นคานวณ ด้านเหตุผล เฉลย่ี ทง้ั ๓ ดา้ น

๑๕ ๑.๗ กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพนื้ ฐำน (O - NET) ระดบั ช้ันประถมศึกษำปีที่ ๖ ๑) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O - NET) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ รำยวชิ ำ ระดบั โรงเรียน คะแนนเฉล่ยี ระดับประเทศ ๔๓.๙๙ ระดับจงั หวดั ระดับ สพฐ. ๔๙.๐๗ ภาษาไทย ๒๘.๙๑ ๓๒.๙๐ คณติ ศาสตร์ ๒๘.๕๑ ๕๑.๗๘ ๔๗.๙๕ ๓๕.๕๕ วทิ ยาศาสตร์ ๒๕.๖๕ ๓๔.๓๗ ๓๑.๖๐ ๓๔.๔๒ ภาษาองั กฤษ ๓๗.๑๐ ๓๔.๓๐ ๓๙.๐๗ ๓๐.๘๖ แผนภมู ิเปรียบเทยี บผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพนื้ ฐำน (O NET) ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒ ระดบั ชั้นประถมศึกษำปีท่ี ๖ คะแนนเฉล่ีย ระดบั โรงเรยี น คะแนนเฉลย่ี ระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ย ระดับ สพฐ. คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ๕๑.๗๔๘๗.๙๕๔๙.๐๗ ๔๓.๙๙ ๓๔.๓๗๓๑.๖๐ ๓๒.๙๐ ๓๗.๑๐๓๔.๓๐๓๕.๕๕ ๓๙.๐๗ ๒๘.๙๑ ๒๘.๕๑ ๓๐.๘๖๓๔.๔๒ ๒๕.๖๕ ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ ภำษำอังกฤษ

๑๖ ๒) การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน (O - NET) ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ รำยวชิ ำ ปกี ำรศึกษำ คะแนนเฉลย่ี ปีกำรศึกษำ ผลตำ่ งระหว่ำงปี ๒๕๖๐ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ กำรศกึ ษำ ภาษาไทย ๔๒.๓๙ ๔๓.๙๙ คณิตศาสตร์ ๒๕๖๑ -๗.๗๐ วทิ ยาศาสตร์ ๓๒.๓๘ ๕๑.๖๙ ๒๘.๙๑ ภาษาองั กฤษ -๗.๖๓ ๓๓.๓๐ ๓๖.๕๔ ๒๘.๕๑ ๒๘.๕๗ ๒๕.๖๕ -๙.๘๖ ๓๘.๓๗ -๗.๖๒ ๓๓.๒๗ แผนภูมเิ ปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดบั ชำตขิ ั้นพื้นฐำน (O - NET) ระดับช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๖ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ คะแนนเฉลี่ย ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ คะแนนเฉลยี่ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๑ คะแนนเฉลยี่ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๒ ๕๑.๖๙ ๔๒.๓๙ ๔๓.๙๙ ๓๖.๕๔ ๓๘.๓๗ ๓๓.๒๗ ๓๒.๓๘ ๓๓.๓๐ ๒๘.๙๑ ๒๘.๕๑ ๒๘.๕๗ ๒๕.๖๕ ภำษำไทย คณิตศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ภำษำอังกฤษ

๑๗ ระดับช้นั มธั ยมศึกษำปีท่ี ๓ ๑) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พน้ื ฐาน (O - NET) ปีการศึกษา ๒๕๖๒ รำยวิชำ ระดับโรงเรยี น คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ ๕๒.๑๗ ระดับจังหวดั ระดับ สพฐ. ๕๕.๑๔ ภาษาไทย ๒๓.๓๓ ๒๖.๗๓ คณติ ศาสตร์ ๓๐.๘๓ ๕๖.๙๒ ๕๕.๙๑ ๓๐.๐๗ วทิ ยาศาสตร์ ๒๘.๙๒ ๒๗.๓๒ ๒๖.๙๘ ๓๓.๒๕ ภาษาองั กฤษ ๓๐.๑๒ ๓๐.๒๒ ๓๖.๑๓ ๓๒.๙๘ แผนภมู ิเปรียบเทียบผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติข้นั พนื้ ฐำน (O - NET) ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ ระดับช้ันมัธยมศึกษำปที ี่ ๓ ๕๖.๙๒๕๕.๙๑ ๕๕.๑๔ ๕๒.๑๗ ๓๖.๑๓ ๓๒.๙๘ ๓๓.๒๕ ๓๐.๘๓ ๓๐.๑๒๓๓.๒๒ ๓๐.๐๗ ๒๘.๙๒ ๒๗.๓๒ ๒๖.๙๘ ๒๖.๗๓ ๒๓.๓๓ ภำษำไทย คณติ ศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ ภำษำอังกฤษ คะแนนเฉลีย่ ระดบั โรงเรียน คะแนนเฉล่ยี ระดบั จังหวดั คะแนนเฉลี่ย ระดับ สพฐ. คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ

๒) การเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ๑๘ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ ผลต่ำงระหวำ่ งปี รำยวิชำ คะแนนเฉลยี่ กำรศึกษำ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๑ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ -๕.๔๙ ภาษาไทย -๐.๙๒ ๕๓.๑๐ ๕๗.๖๖ ๕๒.๑๗ -๑.๖๑ คณิตศาสตร์ ๒๕.๔๐ ๒๔.๒๕ ๒๓.๓๓ ๔.๙๘ ๓๖.๒๐ ๓๒.๔๔ ๓๐.๘๓ วทิ ยาศาสตร์ ๒๙.๙๐ ๒๓.๙๔ ๒๘.๙๒ ภาษาอังกฤษ แผนภูมเิ ปรยี บเทยี บผลกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติข้นั พืน้ ฐำน (O - NET) ระดบั ช้นั มัธยมศึกษำปที ่ี ๓ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ ๕๗.๖๖ ๕๓.๑๐ ๕๒.๑๗ ๓๖.๒๐ ๒๙.๙๐ ๒๘.๙๒ ๓๒.๔๔ ๓๐.๘๓ ๒๓.๙๔ ๒๕.๔๐ ๒๔.๒๕ ๒๓.๓๓ ภำษำไทย คณติ ศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ภำษำองั กฤษ คะแนนเฉลย่ี ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ คะแนนเฉลยี่ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๐ คะแนนเฉลยี่ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๑

๑๙ ๑.๘ ผลกำรประเมินคณุ ภำพภำยนอกรอบสำม ระดบั กำรศึกษำปฐมวัย มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดบั ปฐมวัย ระดบั คุณภำพ ดี เพ่อื กำรประเมินคณุ ภำพภำยนอก ต้อง ต้อง พอ มำก ปรบั ปรงุ ปรบั ปรงุ ใช้ ดี กล่มุ ตัวบ่งชี้พน้ื ฐำน (มี ๘ ตวั บง่ ช)้ี เร่งดว่ น / ตัวบง่ ช้ที ี่ ๑ เด็กมพี ฒั นาการด้านรา่ งกายสมวัย / ตวั บง่ ช้ีที่ ๒ เดก็ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์และจิตใจสมวัย / / ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสงั คมสมวัย / ตัวบ่งชี้ท่ี ๔ เดก็ มีพัฒนาการดา้ นสติปญั ญาสมวัย / ตัวบ่งชที้ ่ี ๕ เดก็ มีความพร้อมศกึ ษาตอ่ ในขนั้ ตอ่ ไป / ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสทิ ธิผลการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ีเ่ น้น เด็กเปน็ สาคัญ / ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๗ ประสิทธภิ าพของการบริหารจดั การและการพัฒนา สถานศกึ ษา / ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๘ ประสิทธผิ ลของระบบประกันคณุ ภาพภายใน / กลุ่มตัวบง่ ชีอ้ ัตลักษณ์ (มี ๒ ตวั บ่งช้ี) ตวั บ่งชท้ี ี่ ๙ ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณิธาน/ / วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ และวัตถปุ ระสงคข์ องการจดั ตง้ั สถานศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และจุดเดน่ ทสี่ ่งผล / สะท้อนเป็นเอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา กลมุ่ ตัวบ่งชีม้ ำตรกำรส่งเสริม (มี ๒ ตัวบง่ ช้)ี ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๑ ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพื่อส่งเสรมิ บทบาท ของสถานศกึ ษา ตวั บ่งช้ที ่ี ๑๒ ผลการส่งเสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพอ่ื ยกระดับ มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพฒั นาสู่ความเป็นเลิศ ที่ สอดคลอ้ งกับแนวทางการปฏริ ปู การศกึ ษา โรงเรยี นมผี ลการประเมินระดบั คุณภาพ ดีมาก โดยมีค่าเฉล่ีย ๙๔.๘๑ ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รับรอง  ไม่รบั รอง

๒๐ ระดบั กำรศึกษำขน้ั พน้ื ฐำน ระดบั คณุ ภำพ มำตรฐำนกำรศึกษำระดบั ขัน้ พ้นื ฐำน ต้อง ต้อง พอ ดี ดี เพอ่ื กำรประเมินคุณภำพภำยนอก ปรับปรงุ ปรับปรุง ใช้ มำก กลุม่ ตวั บง่ ช้พี ้นื ฐำน (มี ๘ ตวั บง่ ชี้) ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑ ผเู้ รยี นมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ดี ี เรง่ ด่วน / ตวั บง่ ชี้ที่ ๒ ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่พี งึ / ประสงค์ / ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝร่ ู้ และเรียนรู้อยา่ งต่อเนือ่ ง ตวั บง่ ชี้ที่ ๔ ผูเ้ รยี นคิดเปน็ ทาเปน็ / ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๕ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รียน / ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ / ตวั บง่ ช้ที ่ี ๗ ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการ พัฒนาสถานศกึ ษา / ตวั บ่งชีท้ ่ี ๘ พัฒนาการของการประกนั คุณภาพภายใน โดย / สถานศึกษาและตน้ สงั กัด / กลมุ่ ตัวบง่ ชอ้ี ัตลกั ษณ์ (มี ๒ ตัวบ่งชี้) / ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน/ วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ และวัตถปุ ระสงค์ของการจดั ตัง้ สถานศกึ ษา / ตวั บ่งชท้ี ่ี ๑๐ ผลการพัฒนาตามจดุ เนน้ และจดุ เด่นที่ส่งผล / สะท้อนเปน็ เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา กลมุ่ ตวั บง่ ชมี้ ำตรกำรส่งเสริม (มี ๒ ตวั บง่ ชี้) ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพ่ือส่งเสริม บทบาท ของสถานศึกษา ตวั บง่ ช้ที ี่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพือ่ ยกระดับ มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพฒั นาสูค่ วามเป็นเลศิ ที่ สอดคล้องกบั แนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษา โรงเรียนมผี ลการประเมินระดบั คุณภาพ ดี โดยมีคา่ เฉลย่ี ๘๓.๖๖ ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพ  รบั รอง  ไม่รบั รอง

๒๑ ๑. ขอ้ เสนอแนะจำกกำรประเมินคุณภำพภำยในและภำยนอก จุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนาและข้อเสนอแนะจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยสถานศกึ ษาหรือหนว่ ยงานต้นสงั กดั ดำ้ นผลกำรจดั กำรศกึ ษำ ผเู้ รยี นควรไดร้ ับการพฒั นาใหม้ ีความรบั ผดิ ชอบและปฏบิ ัติตามกฏของห้องเรียนและสถานศกึ ษา ด้ำน กำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำ ๑. สถานศึกษาควรจดั หาครใู ห้เพียงพอกับจานวนนักเรียนอย่างเหมาะสมตามเกณฑ์ ๒. สถานศึกษาควรใหค้ วามสาคัญในการจัดสภาพแวดลอ้ มภายในใหม้ ีพื้นท่ใี ช้สาหรับแปรงฟนั ล้างมือ ด้วยเครอื่ งสขุ ภณั ฑท์ ่เี หมาะสม ๓. สถานศกึ ษายังขาดระบบเฝ้าระวงั ความเสย่ี งอนั ตรายใหม้ ีคุณภาพยงิ่ ข้นึ ดำ้ นกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั ครูควรจดบันทกึ หลังสอนอย่างสม่าเสมอทุกวัน เพื่อนาไปใช้ในการประเมินการเรียนรู้ และประเมิน พฒั นาการของผู้เรยี นเป็นกระบวนการทตี่ ่อเน่อื ง จดุ เดน่ จุดทีค่ วรพัฒนำและขอ้ เสนอแนะจำกกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยนอกรอบสำม จดุ เด่น ๑. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม เป็นลูกท่ีดีของพ่อแม่ ผู้ปกครอง เป็นนักเรียนท่ีดีของโรงเรียน บาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ รู้จกั ดูแลรกั ษาตนให้ปลอดภัยจากอันตราย และความเส่ียง มีความสามารถในด้านการวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ปรับตนเข้ากับสังคมได้ดี มีการแสวงหา ความรู้ รักการอ่าน และเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่อง ๒. สถานศึกษาใช้การบริหารแบบมีส่วนร่วมให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในกากาหนดปรัชญา วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ และเป้าหมายของสถานศกึ ษา ร่วมกันกาหนดจุดเน้น จดุ เด่นของสถานศกึ ษาทาให้ผูเ้ รยี น มีอัตลักษณ์ตามคาขวัญ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายที่กาหนดไว้ ผู้เรียนมีเอกลักษณ์ตาม จุดเนน้ จดุ เดน่ ของสถานศกึ ษา ๓. ผู้บริหารมีภาวะผู้นา มีความสามารถในการบริหารจัดการ ทาให้สถานศึกษาสามารถรักษาระดับ มาตรฐานคุณภาพ และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศท่ีสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา โดยได้รับความ ร่วมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงมีความรู้ความสามารถและมีประสบการณ์ในการปฏิบัตงิ านอย่างดี ย่ิง ๔. ครูมีความมุ่งมั่นแสวงหาความรู้เพ่ือพัฒนาตนเองด้านการสร้างผลงานเพ่ือเล่ือนวิทยฐานะและ การศกึ ษาต่อเนอ่ื งเพ่ือเพิ่มพูนความรู้ ๕. สถานศึกษาได้ทาข้อตกลงความร่วมมือกับสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต ๑ ในการดแู ลชว่ ยเหลือ กากับ และตดิ ตามประเมินผลการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

๒๒ จุดที่ควรพัฒนำ ๑ .ผู้เรยี นควรได้รับการพัฒนาการสอนเสริมเพื่อให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีสูงขึ้นทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้ ๒. โรงเรียนไม่มีอาณาเขตท่ีชัดเจน ชุมชนที่อาศัยอยู่ด้านหลังอาคารเรียน สัญจรไปมาตลอดเวลา ทั้ง ใชย้ านพาหนะและเดนิ เท้าไม่ปลอดภยั สาหรับนกั เรยี นและทรพั ย์สนิ ของโรงเรียน ๓. ครูควรนาผลการประเมินมาวิเคราะห์ เพื่อทาการวิจัยเพ่ือพัฒนาส่ือและใช้จัดการเรียนให้ครบ ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๒. สรปุ สภำพปัญหำ จดุ เด่น จดุ ทค่ี วรพฒั นำในกำรจดั กำรศึกษำของสถำนศึกษำ จุดเดน่ ๑. นักเรยี น โดยภาพรวมมีความอ่อนโยนเม่ือได้รับการสั่งสอนอยา่ งเป็นระบบสามารถรับรู้ได้รวดเร็ว และปฏิบัตติ ามกรอบได้เปน็ อย่างดี ซ่งึ พ้ืนฐานนิยมเปน็ ผู้มีความซ่อื สตั ยส์ ุจริต เมตตากรุณา ๒. นักเรียนได้รับรางวัลยุวเกษตรดีเด่นกับระดับภาค และนักเรียนส่วนใหญ่ให้ความร่วมมือในการ ส่งเสรมิ กิจกรรมกลุ่มยวุ เกษตร ตลอดจนให้ความร่วมมือในการดูแลรักษาสงิ่ แวดล้อมภายในโรงเรียนเปน็ อยา่ ง ดี ๓. แข่งขันกีฬาประเภทต่างๆ ท้ังนักเรียนมีความสามารถด้านกีฬา ได้รับรางวัลจากการภายใน โรงเรยี นและหนว่ ยงานอ่ืนทีจ่ ัดการแข่งขนั ๔. ครูผู้สอนมีเจตคติท่ีดีต่อการพัฒนา และเห็นการพัฒนาเป็นเรื่องสาคัญในการที่จะปลูกฝังให้เกิด คณุ ลกั ษณะทีด่ ีในตัวผูเ้ รยี นและตดิ ตัวไปเม่ือเขา้ สู่สังคมทตี่ อ้ งเผชญิ ในอนาคต ๕. รบั การพัฒนา มีอดุ มการณม์ ีความรับผิดชอบครู มีความพร้อม ๖. ครูส่วนใหญม่ คี วามสามารถในการนาเทคโนโลยีทีท่ ันสมยั เขา้ มาใช้ในการพัฒนางาน ๗. บคุ ลากรมีความสามัคคีให้ความรว่ มมือในการปฏบิ ตั งิ านเปน็ อย่างดี สง่ ผลใหก้ ารพัฒนางานประสบ ผลสาเร็จ ๘. ด้านวิชาการเป็นแกนนาที่ดีในการส่งเสริมและการพัฒนางานมีครูท่ีมีความรู้ความสามารถด้าน วิชาการและมีวิธีการทีห่ ลากหลายในการกระตุ้นให้ผู้รว่ มงานมกี ารพฒั นางาน ๙. ผู้บริหารมีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานอย่างหลากหลายสามารถใช้ ประสบการณเ์ ดิมมาประยกุ ตใ์ ชแ้ ละแกไ้ ขปัญหาได้อยา่ งรวดเร็ว ๑๐. ผู้บริหารมีความเป็นผู้นาท่ีดี สามารถให้คาแนะนา ปรึกษาและช่วยเหลือในการปฏิบัติได้เป็น อยา่ งดี ๑๑. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นาชุมชน และผู้บริหาร มีความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันประสาน สัมพันธ์อันดีในการพัฒนาส่งผลให้เกิดการปฏิบัติงานที่ราบร่ืนในบรรยากาศแห่งความร่วมมือในโรงเรียนให้ เจรญิ กา้ วหน้า

๒๓ ๑๒. โรงเรยี นมีส่ือและเทคโนโลยที ่ีทนั สมัย เพื่อใช้เปน็ เคร่ืองมือในการพฒั นาการเรียนรูข้ องผ้เู รยี นให้ ทนั ความห้าวหน้าด้านเทคโนโลยี ๑๓. โรงเรียนให้การส่งเสริมกิจกรรมด้านดนตรี และกีฬา เป็นอย่างดี โดยมีการจัดหาอุปกรณ์และ บุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถมาใช้การแนะนาฝึกสอน ตลอดจนได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจาก ชุมชนเป็นอย่างดี ในการใหน้ กั เรยี นได้แสดงความสามารถในดา้ นตา่ งๆ ๑๔. โรงเรียน ชุมชนและองค์กรต่างๆมีความสัมพันธ์อันดีต่อกันและให้ความร่วมมือในการร่วม กิจกรรมต่างๆท่ีจัดข้ึน ๑๕. หน่วยงานราชการท่ีเกี่ยวข้องกับสุขภาพและการป้องกัน เช่น สถานีอนามัย สถานีตารวจและ หน่วยงานราชการอ่ืนๆ ให้การสนบั สนุนช่วยเหลอื และเฝ้าระวังโรงเรยี นเป็นอย่างดี ๑๖. ชุมชนให้ความร่วมมือในการนาแหลงเรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถ่ินมาประยุกต์ใช้ใน กระบวนการเรยี นรู้ จดุ ท่คี วรพฒั นำ ๑. พัฒนาความสามารถของผู้เรียนในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิด สรา้ งสรรค์ คิดไตรต่ รอง และมีวสิ ยั ทศั นใ์ นทกุ ระดบั ช้นั และปลกุ จติ สานึกให้ผเู้ รยี นด้านพฒั นาสิง่ แวดล้อม ๒. เพ่ิมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เน้นการปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบ โดยยึดหลักปฏิบัติจริง มีวิธีการ สอนทหี่ ลากหลาย มีการวัดผลตามสภาพจริง พัฒนาครทู าผลงานทางวชิ าการ มีวิขยั และสรา้ งนวัตกรรม ๓. พฒั นาแหลง่ เรยี นรทู้ ง้ั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ๔. พัฒนาความสามารถของครูในการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา เพื่อมาเพ่ิมประสิทธิภาพ ของงาน

๒๔ ส่วนท่ี ๒ ผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ ระดบั ปฐมวัย ระดบั คณุ ภำพ ผลกำรประเมนิ มำตรฐำนกำรศึกษำระดบั ปฐมวัย ดเี ลศิ ดเี ลศิ มำตรฐำนกำรศึกษำ ดีเลศิ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก ดีเลิศ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเป็นสาคัญ สรปุ ผลกำรประเมินโดยรวม มำตรฐำนที่ ๑ คณุ ภำพของเด็ก ๑. ระดับคุณภำพ : ดีเลิศ ๒. วธิ ีกำรพัฒนำ/ผลทเี่ กิดจำกกำรพฒั นำ ขอ้ มูล หลกั ฐำน เอกสำรเชงิ ประจักษท์ ่ีสนบั สนนุ ผลกำรประเมินตนเอง ๒.๑ วธิ ีกำรพัฒนำ/ผลทีเ่ กิดจำกกำรพัฒนำ โรงเรยี นปอ้ มพระจุลจอมเกลา้ มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมพี ฒั นาการด้าน รา่ งกายแข็งแรง มสี ุขนิสยั ท่ีดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรยี นจัดให้เดก็ ได้รับประทานอาหารที่ สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กด่ืมนมเป็นประจาทุกวันอย่าง สม่าเสมอ มกี ารชง่ั นา้ หนัก วดั ส่วนสูง ภาคเรียนละ ๒ คร้งั มีกิจกรรมออกกาลังกายหนา้ เสาธงก่อนเขา้ เรียนทุก วนั จัดหา อุปกรณ์ซ่อมแซมสนามเดก็ เล่นใหม้ ีความปลอดภัย สะดวก พรอ้ มใช้งานอยูต่ ลอดเวลา ไม่มจี ดุ ทเ่ี ป็น อนั ตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย มีการจัดบอร์ดให้ความรู้ แก่เด็กเก่ียวกับโรคติดต่อในชุมชน โรคติดต่อจากการอยู่ร่วมกัน อุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนได้ในชีวิตประจาวัน มีการ รณรงค์ต่อต้านยาเสพติด มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และ ได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบลแหลมฟ้าผ่า ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของ เด็ก มีการตรวจสุขภาพฟันและฉีดวัคซีน นอกจากน้ียังมีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬาตามความสามารถ สนับสนุนให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬา มีการจัดกิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง เพ่ือส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้าน สังคม ช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ย้ิม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน สามารถรับประทานอาหารด้วยตนเองและมี มารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษาความสะอาด ท้ังภายในและนอกห้องเรียน โดยการจัด

๒๕ กิจกรรมแบ่งเขตพน้ื ที่รบั ผิดชอบ รู้จักช่วยเหลอื แบง่ ปนั เพ่ือนในหอ้ งเรียน ทางานร่วมกบั เพ่อื นๆ ได้โดยการใช้ กิจกรรมกลุ่มในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเล่น สิ่งของเคร่ืองใช้ของตน และของส่วนรวม ปลูกฝังใหน้ กั เรียนรจู้ ักประเพณวี ัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทย รู้จกั ทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรมวันสาคัญทางชาติ กิจกรรมวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันพ่อ วันแม่ วันไหว้ครู วัน เข้าพรรษา ส่งเสรมิ พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ปลูกฝังให้เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่เอาส่ิงของของผู้อ่ืนมา เป็นของตน มีความอดทน มีความม่ันใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ย้ิมแย้มแจ่มใส มีการจัดกิจกรรมทางด้าน ศิลปะ ดนตรี ให้นักเรยี นได้วาดภาพ ระบายสี เพอื่ สร้างจินตนาการและมีอารมณ์ผอ่ งใส ให้เด็กได้ทากิจกรรม ดว้ ยความสนกุ สนาน มปี ฏสิ ัมพันธ์ท่ีดีกับเพ่ือน ท้ังในและนอกหอ้ งเรยี น โดยครไู ด้ดาเนินการจัดประสบการณ์ การเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และมีการจดั กิจกรรมร้องเล่น เต้น อ่าน ให้เด็กได้ แสดงออกตามศักยภาพของตน โรงเรยี นได้ส่งเสริมให้เด็กมพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญาสื่อสารได้ มีทักษะการคิด พื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยการเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย ทาให้เด็ก ได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา ส่งเสริมให้เด็กมีความสนใจเรียนรู้สิ่ง ตา่ งๆ รอบตัว กล้าซักถามเพื่อค้นหาคาตอบ ส่งเสรมิ ให้เด็กมีทักษะทางภาษา มนี ิสัยรักการอ่าน มีการส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับต่างๆ มีการสร้างสรรค์ผลงานด้าน ศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ ซ่ึงทาให้เด็กได้มีโอกาสได้กล้าแสดงออกถึงความคิด สร้างสรรคค์ วามสามารถเหมาะสมตามวยั และเพื่อใหเ้ ด็กได้มปี ฏิสมั พันธ์กบั บุคคลภายนอก เรยี นรูน้ อกสถานที่ แกป้ ัญหาในสถานการณ์จรงิ ๒. ๒ ข้อมูล หลกั ฐำน เอกสำรเชงิ ประจกั ษ์ ท่ีสนับสนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง - โครงการสุขภาพดมี ีสขุ - โครงการศิลปะเพื่อชวี ิต - โครงการขยนั ทากิน - โครงการนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย - สมดุ รายงานประจาตัวนกั เรียน - บัตรสขุ ภาพประจาตัวนกั เรยี น - บนั ทึกผลการจัดประสบการณ์ - บันทกึ การด่มื นม ๓. จุดเด่น จุดท่คี วรพฒั นำ และแผนกำรพัฒนำคณุ ภำพให้สงู ข้ึน จดุ เดน่ จุดท่คี วรพฒั นำ เด็กมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย มีน้าหนัก - การส่งเสริม ทบทวนการเรียนรู้นอกเหนือจากท่ี ส่วนสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย โรงเรียน มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ยิ้มไหว้ - การปลูกฝังการเลือกรับประทานอาหารที่มี

๒๖ จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพฒั นำ ทักทาย มีคุณธรรม ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ทางาน ประโยชน์ เชน่ การรับประทานทีเ่ ปน็ พืชผัก ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีอารมณ์ร่าเริง - การยืนตรงเม่ือได้ยินเพลงชาติ และเพลงสรรเสริญ แจ่มใส รว่ มกจิ กรรมอยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ พระบารมี - การใชค้ าพูดขอบคณุ ขอโทษ - การใชว้ าจาสุภาพเหมาะสมกับวยั แผนพฒั นำเพอ่ื ใหไ้ ดม้ ำตรฐำนท่สี งู ขนึ้ ๑) พฒั นาและสง่ เสริมใหเ้ ด็กมีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ใหม้ ีรา่ งกายแขง็ แรง มสี ุขนิสยั ท่ีดี และดแู ล ความปลอดภัยของตนเองได้ ๒) พัฒนาและสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ๓) พฒั นาและสง่ เสริมใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการด้านสังคม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ท่ีดขี องสงั คมได้ ๔) พัฒนาและส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคดิ พื้นฐาน และ แสวงหาความรู้ได้

๒๗ มำตรฐำนท่ี ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร ๑. ระดบั คณุ ภำพ : ดเี ลิศ ๒. วิธีกำรพฒั นำ/ผลที่เกิดจำกกำรพฒั นำ ข้อมลู หลักฐำน เอกสำรเชิงประจักษ์ ทส่ี นับสนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง ๒.๑ วธิ ีกำรพฒั นำ/ผลทเ่ี กิดจำกกำรพฒั นำ การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนปอ้ มพระจุลจอมเกล้า ไดม้ ีการกาหนดเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และ พันธกจิ ของสถานศึกษาไว้อย่างชดั เจน มีองค์ประกอบทสี่ าคัญเพอ่ื ทีจ่ ะขบั เคลอ่ื นการศึกษาระดบั ปฐมวัย ได้แก่ การพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการพัฒนาหลักสูตร การศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก โดยเป็น หลักสตู รที่มุ่งพฒั นาเด็กทุกด้าน ทั้งดา้ นร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคม และสติปญั ญา เพื่อใหผ้ ู้เรยี นมีความสขุ ใน การเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ สาหรับด้านระบบกลไก การเสริมสร้างความตระหนัก รับรู้และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วมการจัด การศกึ ษาโดยใหม้ กี ารประสานความร่วมมอื เพอื่ รว่ มกนั พฒั นาผเู้ รียนตามศกั ยภาพ โรงเรียนป้อมพระจุลจอมเกล้า ได้จัดส่ิงอานวยความสะดวกท่ีจาเป็นซึ่งเอื้อประโยชน์ และอานวย ความสะดวกต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกาย อารมณแ์ ละจิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา คือ จดั สภาพแวดล้อม ทางกายภาพท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหาร จัดการเพื่อการจัดการเรียนรู้ จัดให้มีอุปกรณ์ของเล่น ของใช้ เคร่ืองนอน เครอื่ งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ พอเพียงกับเด็ก โดยจัดให้เหมาะสม สะอาดปลอดภัย ให้มีมุมหนังสือที่จาเป็นต่อพัฒนาการของเด็ก ให้ เพียงพอและเหมาะสมกับวัย จัดให้มีพื้นท่ีสาหรับแปรงฟัน ล้างมือ ทาความสะอาดร่างกาย ห้องน้าห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ที่จาเป็นและเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตร สถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ทก่ี อ่ ให้เกิดการเตรียมความพรอ้ ม เน้นการเรยี นรู้ผ่านการเล่นและ การลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถชี ีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น จดั ครูที่เหมาะสมกับการ จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ คอื มีครปู ระจาการท่จี บการศึกษาปฐมวัย และมีครูพเี่ ลี้ยงท่ีผา่ นการอบรมทางดา้ น การดูแลเด็กปฐมวัย ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องrพัฒนาคุณภาพครูด้าน การศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้ความสามารถในการ วิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมิน พัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการ ปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครองมีการจัดสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนที่คานึงถึงความ ปลอดภัยของผู้เรียน ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และส่ือการ เรยี นรู้ที่หลากหลายที่ได้จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกดิ การเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขใน การเรียนรู้ มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ มีการจัดสิ่งอานวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์เพอ่ื พัฒนาครูอย่างเพยี งพอและท่ัวถงึ มกี าร

๒๘ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่ สถานศึกษากาหนด มีการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงานและจัดทารายงานผล การประเมนิ ตนเองประจาปี มกี ารนาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีสว่ น รว่ ม พรอ้ มทงั้ รายงานผลการประเมนิ ตนเองใหห้ น่วยงานต้นสงั กัดอย่างต่อเนื่อง ๒.๒. ข้อมลู หลกั ฐำน เอกสำรเชิงประจกั ษ์ ทีส่ นับสนนุ กำรประเมินตนเอง - โครงการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา - โครงการนิเทศภายใน - โครงการเสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธ์ระหวา่ งโรงเรียนและผูป้ กครอง - บนั ทกึ การประชุม - คาสั่งมอบหมายงานใหบ้ คุ ลากรปฏบิ ัตงิ านตามแผนงาน - แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี - หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั - รายงานผลการเขา้ ร่วมอบรมพฒั นาของครูและบคุ ลากร - แผนการจดั ประสบการณ์ทสี่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานตามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย ๓. จุดเด่น จดุ ทีค่ วรพฒั นำ และแผนกำรพัฒนำคุณภำพใหส้ งู ขน้ึ จดุ เด่น จุดท่ีควรพฒั นำ - มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน - จัดครูใหเ้ พียงพอต่อช้ันเรียน สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถนิ่ - ส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัด - การจัดสิ่งอานวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อ ประสบการณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัด - จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรยี นรู้อย่าง ประสบการณ์ ปลอดภยั และเพียงพอ - ครไู ดร้ บั การพฒั นาดา้ นวชิ าชีพ - กาหนดแผนการพฒั นาครูอย่างชดั เจน แผนพฒั นำเพอ่ื ใหไ้ ดม้ ำตรฐำนที่สงู ขน้ึ ๑) พัฒนาหลักสตู รให้ครอบคลมุ พฒั นาการทั้ง ๔ ด้าน และสอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถนิ่ ๒) พัฒนาการจดั ครใู หเ้ พยี งพอกับชนั้ เรยี น ๓) พัฒนาและสง่ เสริมใหค้ รมู คี วามเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ ๔) พฒั นาการจัดสภาพแวดลอ้ มและส่อื การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ ๕) พัฒนาการใหบ้ รกิ ารสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื การเรยี นรเู้ พื่อสนับสนุนการจดั ประสบการณ์ สาหรบั ครู

๒๙ มำตรฐำนที่ ๓ กำรจดั ประสบกำรณ์ที่เนน้ เดก็ เป็นสำคญั ๑. ระดบั คุณภำพ : ดีเลิศ ๒. วธิ ีกำรพฒั นำ/ผลท่ีเกิดจำกกำรพัฒนำ ข้อมูล หลกั ฐำน เอกสำรเชิงประจกั ษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลกำรประเมินตนเอง ๒.๑ วิธีกำรพัฒนำ/ผลท่ีเกิดจำกกำรพัฒนำ จดั การศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสาคัญของการพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต ซึ่งเป็นการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ เพ่ือสามารถอยูร่ ่วมกับผู้อื่นได้อยา่ งเป็นสุข ภายใตค้ าว่า เกง่ ดี มสี ุข ประสบการณใ์ นรปู แบบบูรณาการการเรียนรู้ แบบเรียนผ่านเลน่ เพื่อให้เดก็ ได้ประสบการณ์ตรง เกดิ การ เรียนรู้และมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซ่ึงสามารถยืดหยุ่นได้ความ เหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีการใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมกับวัย จดั ประสบการณ์การเรียนร้ทู ี่ครอบคลุมพัฒนาการในทุก ๆ ด้านให้เหมาะสมกับวัย ดงั นี้ ดา้ น ร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคล่ือนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการเพื่อให้ร่างกายทุก ส่วนทง้ั กล้ามเนือ้ มดั ใหญ่มัดเล็กให้ทางานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพดา้ นอารมณ์ จิตใจ เดก็ มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับย้ังช่ังใจ รู้จักการรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปันมีความ รบั ผิดชอบด้านสงั คม เด็กชว่ ยเหลือตวั เองในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจาวนั ได้ มีวนิ ัยในตนเอง เล่นร่วมกบั ผู้อนื่ ได้ มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ ด้านสติปัญญา มีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ปัญหา สื่อสารและมีทักษะความคิด พ้ืนฐานแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้เด็กได้ประสบการณ์ โดยตรง จากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือปฏบิ ัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม เพ่ือกอ่ ให้เกดิ ความ มีน้าใจ ความสามัคคี การแบ่งปันและการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข จัดบรรยากาศในช้ันเรียนท่ีส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเหน็ อกเหน็ ใจ มีความเอื้อเฟือ้ เผือ่ แผ่ต่อกันและกัน ซึง่ เป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตนุ้ ใหผ้ ้เู รียนรักการอยู่ รว่ มกันในชน้ั เรียน และปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรมให้แกเ่ ด็กนักเรยี น หอ้ งเรียนมบี รรยากาศ แจม่ ใส กวา้ งขวาง พอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่งห้องเรียนให้สดใส และมีส่ือการเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อ การจัดประสบการณ์การเรียนการสอน การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ และการจัดกจิ วัตรประจาวนั ด้วยเคร่อื งมอื และวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การสงั เกต การสอบถาม การสารวจ และการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม เพื่อได้นาผลการประเมินไป พัฒนาศกั ยภาพของเด็กและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในชนั้ เรียนเพ่อื พฒั นาครูอย่างเพียงพอและ ทั่วถึง มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ท่ีสถานศึกษากาหนด มีการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานตาม หลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินงาน

๓๐ และจัดทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา โดยทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วม พรอ้ มทัง้ รายงานผลการประเมินตนเองใหห้ นว่ ยงานต้นสงั กัดอยา่ งต่อเน่อื ง ๒.๒ ขอ้ มูล หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจกั ษ์ ท่สี นับสนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง - บนั ทึกพฤติกรรมเด็ก - ชน้ิ งาน/ผลงานเดก็ - มุมประสบการณ์ - แบบบนั ทึกพัฒนาการของเด็ก - แผนการจัดประสบการณแ์ ละบนั ทกึ ผลหลังสอน - บรรยากาศห้องเรยี น มมี ุมประสบการณ์การเรียนรู้ - การจัดกิจวตั รประจาวัน ๓. จดุ เด่น จดุ ท่คี วรพฒั นำ แผนพฒั นำคณุ ภำพเพอื่ ยกระดบั ให้สูงข้ึน จดุ เด่น จดุ ท่คี วรพัฒนำ - เดก็ เรยี นรู้จากการเลน่ และปฏิบัตจิ รงิ - จัดอปุ กรณ์ส่อื การเรยี นการสอนทห่ี ลากหลาย - มีบรรยากาศ สภาพห้องเรียนเอ้ือต่อการ - พัฒนาเคร่ืองเล่น และจัดให้มีสนามเด็กเล่น เรยี นรู้ สาหรับเด็กปฐมวยั - มกี ารประเมนิ เด็กดว้ ยวธิ กี ารท่ีหลากหลาย - จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ เดก็ เรียนรูก้ ารอย่รู ว่ มกนั แผนพฒั นำคุณภำพเพือ่ ยกระดบั ใหส้ ูงข้ึน ๑) การจดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่เนน้ การพัฒนาผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคลใหช้ ัดเจนข้นึ ๒) การสง่ เสรมิ ใหค้ รูเหน็ ความสาคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญการจัดทาการวจิ ัย ในชั้นเรยี นเพอ่ื พัฒนาผู้เรยี นใหส้ ามารถเรียนรไู้ ดเ้ ตม็ ศักยภาพ ๓) ส่งเสริมและเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นทักษะการคิดของทุกกลุ่มสาระการ เรียนรู้

ระดบั กำรศึกษำข้ันพน้ื ฐำน ๓๑ ผลกำรประเมนิ มำตรฐำนกำรศึกษำระดับกำรศกึ ษำขัน้ พน้ื ฐำน ระดับคณุ ภำพ ดเี ลิศ มำตรฐำนกำรศกึ ษำ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน ดีเลศิ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ดเี ลศิ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั สรปุ ผลกำรประเมนิ โดยรวม มำตรฐำนท่ี ๑ คณุ ภำพของผเู้ รียน ๑. ระดบั คณุ ภำพ : ดเี ลิศ ๒. วิธกี ำรพัฒนำ/ผลท่เี กิดจำกกำรพฒั นำ ข้อมูล หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจักษ์ทสี่ นับสนุนผลกำรประเมนิ ตนเอง ๒.๑ วธิ กี ำรพัฒนำ/ผลท่ีเกิดจำกกำรพัฒนำ โรงเรยี นป้อมพระจุลจอมเกล้า สง่ เสรมิ ให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคญั โดย การดาเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) เพื่อให้ครูใช้เป็นกรอบในการ จัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายท่ีว่า “การจัดการ ศกึ ษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวฒั นธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่นื ได้อย่างมีความสุข ซึ่งสอดรบั กับจดุ ม่งุ หมาย ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังนั้นโรงเรียนป้อมพระจุลจอมเกล้า จึงกาหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจานวน ๒ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ ๒) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้าน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคานวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมี วิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ การส่ือสาร และการมคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ สาหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมี คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามท่ีสถานศึกษากาหนด และมีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจใน ท้องถิ่น และความเปน็ ไทยการยอมรบั ทจี่ ะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย โรงเรยี นป้อมพระจุลจอมเกล้า มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย ครูจดั การเรียนรู้ ให้เป็นไปตามศักยภาพของผเู้ รียน และเปน็ ไปตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสตู รมกี ารออกแบบการจัดการ เรียนรูท้ เ่ี หมาะสมกบั ผ้เู รยี นโดยมีการจัดการเรียนเรียนรู้ท้ังรปู แบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบ

๓๒ ร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคดิ กระบวนการใชป้ ัญหาเปน็ หลักและเน้นเรอ่ื งการอ่านออกของผู้เรียน เปน็ เรอื่ งสาคัญที่สุดโดยมงุ่ พัฒนาใหผ้ ู้เรยี นทุกคนอา่ นออกและเขียนไดต้ งั้ แต่ระดับช้นั ป. ๑ พัฒนาครูทุกคนให้ มีความสามารถในการนาเทคนคิ วธิ สี อนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใชส้ ่อื เทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอน มีแหลง่ เรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด ครูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ตามสภาพจริง ครูเน้นการใช้คาถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน นอกจากน้ี สถานศึกษาได้มีการ ดาเนินการเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิตของผู้เรียน เพ่ือให้อยใู่ นสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข เนน้ การพัฒนาด้านคณุ ธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน มีการจัดค่ายคุณธรรมกับนักเรียน จัดกิจกรรมการพัฒนาให้เหมาะสม กบั วัย พัฒนาคุณธรรมผูเ้ รียนตามหลักสตู ร เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นมีวินัย ซ่ือสตั ย์ รับผิดชอบและมีจติ สาธารณะ มีระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนและการดูแลสุขภาวะจิต จัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด ส่งเสริมการ ออกกาลงั กาย โรงเรียนปอ้ มพระจลุ จอมเกล้า มีผลท่ีเกิดจากการพัฒนาในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการ ผเู้ รียนสามารถอ่านออกและอา่ นคล่องตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละระดับช้ันสามารถเขียนส่ือสารได้ดี รู้จัก การวางแผน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็น อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมท้ัง สามารถวิเคราะห์ จาแนก แยกแยะได้ว่าส่งิ ไหนดี สาคัญ จาเป็น รวมทง้ั รู้เท่าทันสือ่ และสังคมท่เี ปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วผู้เรยี นรู้ และตระหนักถงึ โทษและพิษภยั ของสิ่งเสพติดต่าง ๆ เลอื กรบั ประทานอาหารท่ีสะอาด และมีประโยชน์ รักการ ออกกาลังกาย นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎ กติกาของกลุ่ม ของ สถานศกึ ษา ของสังคม มที ัศนคติทีด่ ตี ่ออาชีพสจุ ริต รวมถึงมคี วามเข้าใจเร่อื งความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลและ ระหวา่ งวัย ๒. ๒ ขอ้ มูล หลักฐำน เอกสำรเชงิ ประจกั ษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง - โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น - โครงการพฒั นาการคดิ อยา่ งเป็นระบบ - โครงการลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้ - โครงการสง่ เสริมการเรียนรู้โดยใช้ DLIT , DLTV และแอพลิเคชนั ทางการศึกษา - โครงการพฒั นาระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การศกึ ษา - โครงการโรงเรียนสจุ ริต - เอกสารการวดั และประเมินผลผเู้ รียนทุกระดบั ชน้ั - ชน้ิ งานผลงานนักเรยี น - แบบประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน - แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน - ผลการประเมนิ สมรรถนะของผเู้ รยี น

๓๓ - รายงานเปรียบเทียบผลการทดสอบของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ของผู้เรียน ตามเป้าหมายของสถานศกึ ษา ในปปี จั จุบนั และปีท่ีผ่านมา - ภาพถ่ายกิจกรรมของผ้เู รียน ๓. จดุ เด่น จุดที่ควรพฒั นำ และแผนกำรพฒั นำคุณภำพให้สูงขึน้ จดุ เด่น จุดท่คี วรพฒั นำ โรงเรียนมีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการ การจัดกิจกรรมทีม่ ุ่งเน้นยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ยงั ขาด เรียนและได้กาหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียน การปฏิบัติท่ีต่อเนื่อง จริงจัง การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ โดยใช้ข้อมูลฐาน ๓ ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมาย ละกลุ่มสาระประสบผลสาเรจ็ ในระดับหน่ึง นักเรยี นส่วน คุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการ ใหญ่ยังต้องได้รับการพัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธ์ิระดับชาติ เรียนการสอนเนน้ การปฏิบัติ เน้นทกั ษะในการอ่าน ของนักเรียนยังไม่ดีเท่าท่ีควร และยังไม่ผ่านเกณฑ์ จึง การเขียน และการคิดคานวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้ ตอ้ งม่งุ เน้นพัฒนาตอ่ ไป พัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายใน จัดกิจกรรมด้านการอ่าน การเขียน คานวณ ได้อย่างเหมาะสม มีสื่อด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย ให้กับนักเรียนเรียนร่วม เปรียบเทียบความก้าวหน้าและ ผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ดี กล้าแสดงออก การพฒั นาของนักเรยี นเป็นรายบุคคล และสามารถอยูร่ ่วมกบั ผู้อื่นอยา่ งมคี วามสุข ผู้เรียนในระดบั ชัน้ ป.๑ – ป.๖ ยังต้องเร่งพฒั นา ด้านการนาเสนอ การอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อย่างสมเหตุสมผล และต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา ตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนในระดับชั้น ป. ๔ ถึง ป.๖ ยังต้องได้รบั การส่งเสริมในด้านทัศนคติทด่ี ีต่อ ความเป็นไทย ไม่หลงใหลกับค่านิยมต่างชาติจนเกิดการ ลอกเลยี นแบบ ทาใหล้ ืมวฒั นธรรมอนั ดงี ามของไทย แผนพฒั นำเพอื่ ให้ไดม้ ำตรฐำนท่ีสูงข้ึน ๑) พฒั นาและส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมที กั ษะในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คานวณเปน็ ไป ตามเกณฑท์ โี่ รงเรียนกาหนดในแต่ละระดบั ชั้น ๒) พฒั นาและสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามสามารถในการคิดจาแนก แยกแยะ ใครค่ รวญไตรต่ รอง พจิ ารณาอยา่ งรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเห็น และ แก้ปญั หาอย่างมีเหตุผล ๓) พัฒนาและสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรูไ้ ดท้ ง้ั ด้วยตนเองและการทางาน เปน็ ทีม เชอ่ื มโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใชใ้ นการสร้างสรรค์นวัตกรรม ๔) พฒั นาและสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียน มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพ่ือ พฒั นาตนเอง และสงั คม ในด้านการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทางาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมีคุณธรรม

๓๔ ๕) พฒั นาและส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียน มคี วามกา้ วหน้าในการเรยี นร้ตู ามหลักสตู รสถานศึกษาจากพน้ื ฐาน เดมิ ในด้านความรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ กระบวนการตา่ ง ๆ ๖) พฒั นาและสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามก้าวหน้าในผลการทดสอบระดบั ชาติ มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และมีเจตคติท่ดี ีพร้อมที่จะศึกษาตอ่ ในระดับชั้นท่สี ูงขนึ้ เป็นผู้ที่มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา ๗) พัฒนาและสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมีคุณลักษณะตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด และมีความภมู ใิ จในทอ้ งถ่ิน เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมประเพณไี ทยรวมทั้งภูมปิ ัญญาไทย ๘) พฒั นาและสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียน มกี ารรักษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสงั คม แสดงออก อยา่ งเหมาะสมในแต่ละชว่ งวัย

๓๕ มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร ๑. ระดับคุณภำพ : ดีเลิศ ๒. วิธกี ำรพัฒนำ/ผลทเ่ี กิดจำกกำรพฒั นำ ข้อมลู หลักฐำน เอกสำรเชิงประจกั ษ์ ท่สี นบั สนนุ ผลกำรประเมนิ ตนเอง ๒.๑ วธิ กี ำรพฒั นำ/ผลทเี่ กิดจำกกำรพฒั นำ โรงเรยี นป้อมพระจุลจอมเกล้า ได้ดาเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหาผลของการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูลสารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตามประเมินการจัดการศึกษา และมีการจดั ประชุมระดม ความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษาเพ่ือวางแผนร่วมกัน มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรยี น ความต้องการของชมุ ชน ท้องถ่นิ มกี ารบรหิ ารจัดการคณุ ภาพ อย่างเป็นระบบ โดยมีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา นาแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบรหิ ารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน นาข้อมูลมาใช้ในการ พัฒนา บุคลากรและผู้ทีเ่ ก่ยี วข้องทุกฝ่ายมสี ว่ นร่วมในการวางแผน ปรับปรงุ และพัฒนา และรว่ มรบั ผิดชอบต่อ การจัดการศึกษา มกี ารบรหิ ารจัดการด้านงานวิชาการ มีการพัฒนาหลักสูตร มกี ารจัดการเรียนการสอนของ กลุ่มเรียนรว่ ม มีการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชน การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความ ปลอดภัย มรี ะบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหี ้องปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์เพ่ือ ใชใ้ นการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกับสภาพของโรงเรียน ๒.๒. ขอ้ มลู หลักฐำน เอกสำรเชิงประจักษ์ ที่สนบั สนนุ กำรประเมนิ ตนเอง - โครงการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา - โครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน - โครงการชมุ ชนสัมพนั ธ์ - โครงการนิเทศภายใน - โครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา - โครงการพัฒนาบุคลากร - โครงการพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ - เป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกจิ ของสถานศกึ ษา - แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา - แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี - รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา - รายงานการประชมุ ชมผูป้ กครอง

๓๖ - หลกั สูตรสถานศึกษา - บันทกึ การประชุม/คาสงั่ - แบบบันทึกการนเิ ทศชั้นเรียน - แผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบคุ คล - รายงานการเขา้ รว่ ม/อบรมของครูและบุคลากรเพื่อพฒั นาความเชย่ี วชาญหรอื ความรคู้ วามสามารถ ๓. จดุ เดน่ จุดท่คี วรพัฒนำ และแผนกำรพัฒนำคณุ ภำพให้สูงขึน้ จดุ เดน่ จดุ ทคี่ วรพฒั นำ มกี ารบริหารและการจัดการ โดยใช้เทคนิคการ สร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วน ประชุมที่หลากหลายวิธี เชน่ การประชมุ แบบมีส่วนรว่ ม เกีย่ วขอ้ งในการจัดการศึกษาของโรงเรียนใหม้ ีความ การประชุมระดมสมอง การประชุมกลมุ่ เพ่ือให้ทุกฝ่าย เข้มแข็ง มีส่วน ร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัด มีส่วนร่วมในการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย การศกึ ษา และขับเคลื่อนคุณภาพการจดั การศกึ ษา ที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒ นาคุณ ภาพ การจั ด โรงเรยี นควรจดั ให้มีหอ้ งปฏิบตั กิ ารทีเ่ พียงพอ การศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปีที่สอดคล้องกับผล และเหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้ มีการนิเทศ การจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา ติดตาม ท่ีชดั เจน และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทีม่ ุ่งเน้นการพัฒนาให้ ผ้เู รียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมี คุณ ภาพ มีการดาเนิน การนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผล การดาเนินงาน และการจัดทารายงานผล การจัดการศึกษา แผนพัฒนำเพอื่ ใหไ้ ดม้ ำตรฐำนทสี่ ูงขึน้ ๑) พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ๒) พัฒนาและสง่ เสรมิ วิชาการที่เนน้ คุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาและทุก กลุ่มเป้าหมาย ๓) พัฒนาและสง่ เสรมิ ครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี ๔) พัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอือ้ ต่อการเรยี นรูอ้ ยา่ งมีคุณภาพ ๕) พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการเรยี นรู้