59 ๕.๑ วธิ ีการประเมิน ๑) สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเปน็ รายบคุ คล ๒) ประเมนิ ผลงานนักเรียน ๕.๒ เคร่ืองมือในการประเมิน ๑) แบบประเมนิ ผลงานนกั เรยี น ๒) แบบตรวจผลงานนกั เรยี น ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สิน ๑) เกณฑก์ ารประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ๑. การใหค้ ะแนน ให้ ๑ คะแนน ๒. การสรุปผลการประเมินให้เปน็ ระดับคุณภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ กำหนดเกณฑไ์ ด้ตามความ เหมาะสมหรืออาจใช้เกณฑ์ดงั น้ี ๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดีมาก) ๗–๘ คะแนน = ๓ (ด)ี ๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช)้ ๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรับปรงุ )
60 ๒) เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน ประเดน็ ท่ีประเมิน คะแนน ๑. ผลงานตรงกับ ๔ ๓๒ ๑ จดุ ประสงคท์ ี่กำหนด ผลงาน ผลงาน ผลงาน ผลงานไม่ ๒. ผลงานมคี วามถกู ต้อง สมบรู ณ์ สอดคล้อง สอดคลอ้ ง สอดคล้อง สอดคลอ้ ง ๓. ผลงานมีความคิด จดุ ประสงค์ทุก จดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์บาง จุดประสงค์ สรา้ งสรรค์ ประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่ ประเดน็ ๔. ผลงานมีความเป็น ระเบยี บ เน้ือหาสาระของ เน้อื หาสาระ เนอื้ หาสาระ เนอื้ หาสาระ ผลงานถูกต้อง ของ ของ ของ ครบถ้วน ผลงานถกู ต้อง ผลงานถกู ต้อง ผลงานไม่ เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเดน็ ถกู ต้อง ผลงาน ผลงาน ผลงานมคี วาม ผลงานไมแ่ สดง แสดงออก แสดงออก นา่ สนใจแต่ยงั แนวคิดใหม่ ถึงความคดิ ถงึ ความคิด ไมม่ ีแนวคดิ สรา้ งสรรคแ์ ปลก สรา้ งสรรค์ แปลก ใหมแ่ ละเปน็ แปลก ระบบ ใหมแ่ ต่ยงั ไม่ เป็นระบบ ผลงานมคี วาม ผลงานสว่ น ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญ่ เป็นระเบยี บ ใหญ่มีความ เปน็ ระเบียบแต่ ไมเ่ ป็นระเบยี บ แสดงออกถึง เป็นระเบยี บ ยงั มขี ้อบกพร่อง ความประณีต แตย่ งั มี และมี ข้อบกพร่อง ขอ้ บกพร่อง บางส่วน ๓) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ นักเรียนได้คะแนน ๑๓ คะแนนข้นึ ไป รอ้ ยละ ๘๐ ถือว่าผา่ น
61 แบบประเมนิ ผลงานนักเรยี น ชือ่ ................................................................................................ชั้น..................... .....เลขที่.................. หน่วยการเรียนรู้ที.่ ........กิจกรรม............................................................. คำชแี้ จง ใหผ้ ปู้ ระเมินใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่องทีต่ รงกบั ระดับคะแนน ประเด็นท่ปี ระเมิน ผ้ปู ระเมิน ๑. ตรงจดุ ประสงคท์ ่ีกำหนด ตนเอง เพ่ือน ครู ๒. มคี วามถกู ต้อง ๓. มีความคิดสร้างสรรค์ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔ ๔. มคี วามเปน็ ระเบียบ รวม รวมทุกรายการ ลงชื่อผูป้ ระเมนิ .......................................(ตนเอง) ลงชือ่ ผู้ประเมิน................................................(เพ่ือน) ลงช่ือผู้ประเมนิ ................................................(ครู)
62 เกณฑ์การให้คะแนน ประเดน็ ทปี่ ระเมนิ คะแนน ๑. ผลงานตรงกบั จุดประสงค์ที่กำหนด ๔ ๓ ๒๑ ๒. ผลงานมคี วาม ผลงาน ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงาน ผลงานไม่ ถกู ต้องสมบูรณ์ สอดคล้อง จุดประสงค์เป็น สอดคลอ้ ง สอดคลอ้ ง ๓. ผลงานมีความคดิ สรา้ งสรรค์ จุดประสงค์ทุก ส่วนใหญ่ จุดประสงค์บาง จุดประสงค์ ๔. ผลงานมคี วามเปน็ ประเดน็ ประเดน็ ระเบียบ เน้ือหาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนือ้ หาสาระ เนือ้ หาสาระ ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ต้อง ของผลงาน ของผลงานไม่ ครบถ้วน เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้อง ถูกต้อง บางประเด็น ผลงานแสดง ผลงานแสดงออก ผลงานมคี วาม ผลงานไม่แสดง ออกถึงความคิด ถึงความคิด นา่ สนใจแตย่ งั แนวคิดใหม่ สรา้ งสรรคแ์ ปลก สร้างสรรคแ์ ปลก ไมม่ แี นวคดิ ใหมแ่ ละเป็น ใหมแ่ ต่ยงั ไม่เป็น แปลก ระบบ ระบบ ผลงานมคี วาม ผลงานสว่ นใหญ่มี ผลงานมีความ ผลงานสว่ นใหญ่ เป็นระเบียบ ความเป็นระเบียบ เปน็ ระเบียบแต่ ไมเ่ ปน็ ระเบียบ แสดงออกถึง แตย่ งั มี ยงั มขี ้อบกพรอ่ ง ความประณตี ข้อบกพร่อง และมขี ้อบก พร่องบางส่วน ๓) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ นักเรยี นได้คะแนน ๑๓ คะแนนขน้ึ ไป รอ้ ยละ ๘๐ ถอื ว่าผ่าน
63 แบบประเมนิ พฤติกรรมในการทำงานเปน็ รายบคุ คล ผลงาน/กจิ กรรมที่ ........ เร่ือง ............................................................................................ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ................................................................................................................ คำช้แี จง สงั เกตพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมของนกั เรียน แลว้ เขยี นเคร่อื งหมาย ลงในชอ่ ง รายการ พฤตกิ รรมท่นี ักเรียนปฏิบตั ิ เลข ชือ่ - รายการ พฤติกรรม รวม ระดับคณุ ภาพ ท่ี สกุล คะ แนน สนใจ ตอบ เสนอ รับฟัง ให้ มงุ่ มัน่ ประเมิ เคาร ทำ พอใจ ๔๓ ๒ ๑ ในการ คำถา ความ ความ ความ ทำงา นและ พ ตาม กบั ทำงา มตรง คดิ เห็ คดิ เห็ ช่วยเห นให้ ปรับป ข้อต หน้าท่ี ความ น ประเด็ น นของ ลอื สำเร็จ รุงงาน กลง ท่ี สำเร็จ น ผอู้ นื่ ผอู้ ่ืน ด้วย ของ ได้รับ ของ ความ กลมุ่ มอบห งาน เต็มใจ มาย เกณฑ์การประเมนิ ๑. การใหค้ ะแนน ให้ ๑ คะแนน ๒. การสรุปผลการประเมินให้เปน็ ระดับคุณภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ กำหนดเกณฑ์ได้ตามความ เหมาะสมหรืออาจใชเ้ กณฑด์ ังนี้ ๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดมี าก) ๗–๘ คะแนน = ๓ (ดี) ๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช้) ๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรบั ปรุง)
64 ใบงาน เดก็ ดี มีความสุจริต คำชี้แจง : ใหน้ ักเรียนวเิ คราะหป์ ระเดน็ ดังต่อไปนี้ ๑. การลอกการบ้านเปน็ ส่งิ ท่คี วรทำหรอื ไม่ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ๒. การทำการบ้านด้วยตนเองนนั้ มผี ลดีอยา่ งไรบา้ ง ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………
65 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๒ ชื่อหนว่ ย ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต เรือ่ ง การทำเวร ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เวลา ๑ ชัว่ โมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ความเขา้ ใจ เก่ยี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม ๑.๒ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๑.๓ สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๑.๔ ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีพลเมืองและมคี วามรับผิดชอบต่อสงั คม ๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจ เกยี่ วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กับ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒.๒ นกั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๒.๓ นักเรียนสามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กับผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๒.๔ นกั เรยี นสามารถปฏิบัติตนตามหนา้ ที่พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ การอยรู่ ว่ มกันในสงั คม จำเปน็ อย่างยง่ิ ท่ีเราต้องรจู้ ักมีความรับผดิ ชอบรู้หน้าที่ของตนเอง แยกแยะ ระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม มีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม รักษาสมบัติส่วนตน และสว่ นรวม หนา้ ที่ของพลเมอื ง หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าที่พลเมืองไดค้ รบถว้ น ท้งั กิจทีต่ อ้ งทำ และกจิ ที่ควรทำ ซ่งึ เป็นสิ่งทก่ี ำหนดใหท้ ำ หรือหา้ มมิใหก้ ระทำ ถ้าทำก็จะก่อให้เกิดผลดี เกดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ครอบครวั หรือสังคมสว่ นรวมแลว้ แตก่ รณี ถา้ ไม่ทำหรอื ไมล่ ะเวน้ การกระทำตามท่ีกำหนดจะได้รับ ผลเสียโดยตรง คือ ไดร้ ับโทษ หรอื ถกู บังคบั เช่น ปรับ จำคุก หรือประหารชวี ติ เปน็ ตน้ โดยทว่ั ไปส่ิงที่ ระบกุ จิ ทีต่ ้องทำ ได้แก่ กฎหมาย เป็นต้น ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ ๑) ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๒) ความสามรถในการใชท้ ักษะชวี ิต ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ / คา่ นยิ ม ๑) มีวินยั ๒) มีจิตสารธารณะ ๓) มุ่งมน่ั ในการทำงาน
66 ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ข้ันการเรียนรู้ ๑) ใหน้ ักเรียนดูคลิป เร่ือง หัวหน้าหอ้ ง ๒) ใหน้ ักเรยี นคดิ วิเคราะหต์ ามหัวขอ้ ดงั ต่อไปน้ี โดยทำลงในใบงานทคี่ รเู ตรยี มให้ ๑. นกั เรยี นมคี วามคิดเหน็ อย่างไรเกี่ยวกับพฤติกรรมของปันปัน ๒. ถา้ นักเรยี นเปน็ เพ่ือนของปันปันจะช่วยแกไ้ ขพฤตกิ รรมของปนั ปนั ไดอ้ ยา่ งไร ๓) ครใู หน้ กั เรยี นสง่ ตวั แทนออกมานำเสนอการวิเคราะห์ของตนเองหน้าชั้นเรยี น ๔) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุป “การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมจำเปน็ จะตอ้ งรูห้ นา้ ที่ของตนเองและ การพง่ึ พาอาศัยซ่ึงกันและกนั ๔.๒ ส่ือการเรยี นรู้ ๑) คลิปวดิ โี อ เร่ือง หัวหนา้ ๒) ใบงาน ๓) ใบความรเู้ กยี่ วกบั พลเรือนและความรับผดิ ชอบต่อสังคม ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมนิ ๑) สงั เกตการพฤตกิ รรมรายบุคคล ๒) ตรวจใบงาน ๕.๒ เครื่องมอื ในการประเมิน ๑) แบบประเมินผลงานนกั เรียน ๒) แบบตรวจใบงาน ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสิน ๑) เกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมรายบุคคล ๑. การใหค้ ะแนน ให้ ๑ คะแนน ๒. การสรปุ ผลการประเมินใหเ้ ป็นระดบั คุณภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ กำหนดเกณฑไ์ ด้ตามความ เหมาะสมหรืออาจใช้เกณฑ์ดงั น้ี ๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดมี าก) ๗–๘ คะแนน = ๓ (ด)ี ๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช้) ๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรับปรุง)
67 เกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นทปี่ ระเมนิ คะแนน ๔ ๓ ๒๑ ๑. ผลงานตรงกบั ผลงาน ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงาน ผลงานไม่ จุดประสงค์ที่กำหนด สอดคลอ้ ง จุดประสงค์เป็น สอดคลอ้ ง สอดคลอ้ ง จุดประสงค์ทุก ส่วนใหญ่ จุดประสงค์บาง จุดประสงค์ ประเด็น ประเดน็ ๒. ผลงานมคี วาม เน้ือหาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนือ้ หาสาระ เนือ้ หาสาระ ถูกต้องสมบูรณ์ ผลงานถูกต้อง ผลงานถกู ต้อง ของผลงาน ของผลงานไม่ ครบถว้ น เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้อง ถูกต้อง บางประเด็น ๓. ผลงานมีความคดิ ผลงานแสดง ผลงานแสดงออก ผลงานมคี วาม ผลงานไม่แสดง สรา้ งสรรค์ ออกถงึ ความคดิ ถึงความคิด นา่ สนใจแตย่ งั แนวคิดใหม่ สรา้ งสรรคแ์ ปลก สร้างสรรคแ์ ปลก ไมม่ แี นวคดิ ใหมแ่ ละเปน็ ใหมแ่ ต่ยังไม่เป็น แปลก ระบบ ระบบ ๔. ผลงานมคี วามเปน็ ผลงานมคี วาม ผลงานสว่ นใหญ่มี ผลงานมีความ ผลงานสว่ นใหญ่ ระเบยี บ เป็นระเบียบ ความเป็นระเบียบ เปน็ ระเบียบแต่ ไมเ่ ปน็ ระเบียบ แสดงออกถึง แตย่ งั มี ยงั มขี ้อบกพรอ่ ง ความประณตี ข้อบกพร่อง และมขี ้อบก พร่องบางส่วน ๓) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ นักเรียนได้คะแนน ๑๓ คะแนนขนึ้ ไป รอ้ ยละ ๘๐ ถอื ว่าผา่ น
68 แบบประเมินพฤตกิ รรมในการทำงานเปน็ รายบคุ คล ผลงาน/กจิ กรรมท่ี ........ เรือ่ ง ............................................................................................ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ................................................................................................................ คำชแ้ี จง สงั เกตพฤติกรรมในการปฏิบัติกิจกรรมของนกั เรียน แลว้ เขียนเคร่ืองหมาย ลงในช่อง รายการ พฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบตั ิ เล ชือ่ - รายการ พฤติกรรม รวม ระดับคณุ ภาพ ขที่ สกุล คะ แน น สนใจ ตอบ เสนอ รบั ให้ มงุ่ มั่ ประเ เคา ทำ พอใจ ๔ ๓ ๒๑ ใน คำถา ความ ฟัง ความ น มนิ รพ ตาม กับ การ มตรง คิดเห็ ความ ชว่ ยเ ทำงา และ ขอ้ ต หนา้ ความ ทำงา ประเ น คดิ เห็ หลอื นให้ ปรับ กลง ทที่ ่ี สำเร็ น ดน็ น ผอู้ ่ืน สำเร็ ปรุง ของ ได้รบั จของ ของ จ งาน กลุ่ มอบ งาน ผู้อนื่ ด้วย ม หมา ความ ย เตม็ ใจ เกณฑ์การประเมนิ ๑. การให้คะแนน ให้ ๑ คะแนน ๒. การสรุปผลการประเมนิ ให้เปน็ ระดบั คุณภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ กำหนดเกณฑ์ได้ตามความ เหมาะสมหรืออาจใชเ้ กณฑด์ งั น้ี ๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดมี าก) ๗–๘ คะแนน = ๓ (ดี) ๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช)้ ๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรับปรงุ )
69 ใบงาน หัวหนา้ หอ้ ง คำช้แี จง : ให้นกั เรยี นวิเคราะหป์ ระเดน็ ดังต่อไปนี้ ๑. นกั เรียนมีความคดิ เห็นอย่างไรเกย่ี วกับพฤตกิ รรมของปันปัน ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. .............................................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ..................................................................................................................................... ................ ๒. ถ้านกั เรียนเป็นเพื่อนของปันปันจะชว่ ยแก้ไขพฤติกรรมของปันปันไดอ้ ย่างไร ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................ ................... ................................................................................................................ ............................................... ............................................................................................................................. .................................. .....................................................................................................................................................
70 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ ๒ ชือ่ หน่วย ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ เรื่อง การสอบ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๒ ชว่ั โมง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ ๑.๒ ปฏบิ ัติตนเป็นผู้ละอายและไมท่ นต่อการทจุ ริตทกุ รูปแบบ ๑.๓ ตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการต่อตา้ นและการป้องกนั การทจุ รติ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรยี นสามารถบอกกฎระเบยี บในการสอบได้ ๒.๒ นกั เรียนสามารถบอกการกระทำท่ีไมเ่ หมาะสมในขณะทำการสอบได้ ๒.๓ นกั เรียนสามารถบอกผลเสียของการทจุ รติ ในการสอบได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ กฎระเบียบในการสอบ ผูเ้ ข้าสอบต้องปฏบิ ัตดิ ังต่อไปน้ี ๑) การแต่งกาย ถ้าเปน็ นักเรยี นหรือนกั ศึกษาต้องแต่งเครอื่ งแบบนักเรียนหรือนกั ศึกษาแล้วแต่ กรณี ถ้าเป็นผสู้ มัครสอบต้องแตง่ กายให้สภุ าพเรยี บรอ้ ยตามประเพณนี ิยม ๒) ไปถงึ สถานท่สี อบก่อนเวลาเริ่มสอบตามสมควร ผู้ใดไปไมท่ ันเวลา ลงมือสอบวชิ าใด ไม่มี สทิ ธิเข้าสอบวชิ าน้นั แตส่ าหรบั การสอบวชิ าแรกในตอนเช้าของ แต่ละวนั ผู้ใดเข้าห้องสอบหลงั จาก เวลาลงมือสอบแล้ว ๑๕ นาที จะไม่ได้รับอนุญาตให้สอบวิชานัน้ เว้นแต่มีเหตุความจำเป็นใหอ้ ยู่ใน ดลุ พนิ จิ ของประธานดำเนนิ การสอบ พจิ ารณาอนุญาต ๓) ไม่เขา้ ห้องสอบก่อนไดร้ ับอนญุ าต ๔) ไม่นาเอกสาร เครื่องอเิ ล็กทรอนกิ ส์หรือเคร่ืองมือสื่อสารใด เข้าไปในห้องสอบ ๕) นั่งตามที่กำหนดให้ จะเปลีย่ นท่ีนัง่ ก่อนไดร้ ับอนุญาตไม่ได้ ๖) ปฏบิ ัตติ ามระเบียบเก่ียวกบั การสอบ และคาส่งั ของผกู้ ำกับการสอบ โดยไมท่ ุจริตในการสอบ ๗) มใิ ห้ผู้เข้าสอบคนอ่นื คดั ลอกคำตอบของตน รวมท้ังไม่พูดคุยกับผ้ใู ดในเวลาสอบ เม่อื มีขอ้ สงสัยหรือมเี หตุจาเปน็ ให้แจ้งต่อผกู้ ำกับการสอบ ๘) ประพฤตติ นเปน็ สภุ าพชน ๙) ผ้ใู ดสอบเสร็จก่อน ผู้น้ันตอ้ งออกไปหา่ งจากห้องสอบ และไม่กระทำการใด อันเปน็ การ รบกวนแกผ่ ู้ท่ียังสอบอยู่ แตท่ ั้งนผี้ ู้เขา้ สอบทุกคนจะออกจากหอ้ งสอบก่อนเวลา ๒๐ นาที หลงั จากเริม่ สอบวิชานัน้ ไม่ได้ ๑๐) ไม่นำกระดาษสำหรับเขยี นคำตอบทผี่ ู้กำกบั การสอบแจกให้ออกไปจากห้องสอบ
71 ๓.๒ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๑) ความสามารถในการสือ่ สาร ๒) ความสามารถในการคดิ ๓) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ข้นั ตอนการเรยี นรู้ ๑) ชวั่ โมงที่๑ ๑. ครสู นทนาเกี่ยวกับการเรยี นการสอบของนกั เรียน เช่น ในการเรยี นจะต้องมีการทดสอบ เพือ่ ใหน้ ักเรียนได้ร้คู วามสามารถของตนเอง การสอบมหี ลายครง้ั ไดแ้ ก่ การสอบท้ายบทเรียน การ สอบกลางภาคเรียน เป็นตน้ ๒. ครแู นะนำเรอื่ ง การทดสอบประเภทต่าง ๆ เชน่ ๒.๑ การสอบภายในโรงเรียน ๒.๒ การสอบแขง่ ขันประเภทตา่ ง ๆ ๒.๓ การสอบเขา้ ทำงาน ๓. ครแู นะนาเร่ืองกฎระเบยี บกตกิ าในการเข้าห้องสอบ ได้แก่ ไม่นำหนังสือเขา้ ห้องสอบ ไม่ ส่งเสยี งดังเปน็ ตน้ ๔. ครูให้นักเรียนชมวีดีทัศน์ เร่อื ง คะแนนเต็ม ๕. ครูให้นกั เรยี นวพิ ากษ์วิจารณ์เกยี่ วกบั เรื่องคะแนนเต็ม ตามประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ ๕.๑ ทำไมแจค็ จงึ คิดเงนิ ผดิ ๕.๒ ผลสุดทา้ ยของเรอ่ื งแจค็ เปน็ อย่างไร ๖. ครูใหน้ ักเรียนช่วยกนั บอกพฤตกิ รรมท่ีไมเ่ หมาะสมในขณะทำการสอบ เชน่ เคาะโต๊ะ คุย กัน เป็นต้น ๗. ครใู ห้นักเรียนช่วยกันบอกผลเสยี ของการทุจริตในการสอบ เช่น ถกู ทำโทษ เป็นต้น ๘. ใหน้ ักเรียนทำใบงานท่ี ๑ เรือ่ ง การสอบ ตามประเดน็ ดังต่อไปนี้ ๘.๑ กฎระเบยี บในการสอบ ๘.๒ การกระทำท่ีไม่เหมาะสมในการสอบ ๒) ชว่ั โมงที่๒ ๑. ครูใหน้ กั เรียนแบ่งกลุม่ เปน็ ๕ กลมุ่ หรอื ตามความเหมาะสม โดยให้ศกึ ษาค้นคว้าจาก หอ้ งสมุดและอินเตอร์เน็ตเกี่ยวกบั เรอ่ื งการทุจรติ ในการสอบประเภทต่าง ๆ ๒. ครูให้นักเรียนนำเสนอขา่ ว/เหตุการณจ์ ากการศึกษาคน้ ควา้ หนา้ ชั้นเรยี น แล้วนำไปจัด ป้ายนิเทศภายในบรเิ วณโรงเรียน ๓. ครใู ห้นักเรยี นรอ้ งเพลง “ความซ่ือสตั ย์” และสรุปใจความสำคัญของเนื้อเพลง ๔. ใหน้ กั เรยี นบอกผลเสยี ของการทจุ ริต โดยเขียนลงในใบงานท่ี ๒ แล้วนำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
72 ๕. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรุปเก่ยี วกับผลเสียของการทจุ ริตในการสอบ ๔.๒ สือ่ การเรียนรู้ ๑. เพลง ความซ่ือสัตย์ ๒. วดี ีทศั น์ เร่อื ง คะแนนเตม็ ๓. ใบงานท่ี ๑ เรื่อง การสอบ ๔. ใบงานที่ ๒ เร่อื ง ผลเสียของการทุจริตในการสอบ ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๑. ตรวจผลงานใบงานที่ ๑ และใบงานท่ี ๒ ๒. สงั เกตพฤติกรรม ซ่ือสตั ย์สจุ รติ ๕.๒ เคร่อื งมือที่ใช้ในการประเมิน ๑. แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานใบงานท่ี ๑ และใบงานท่ี ๒ ๒. แบบสังเกตพฤติกรรม ซอื่ สตั ยส์ จุ ริตในการทำขอ้ สอบ ๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ นกั เรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป 6. บันทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ลงชือ่ ........................................ครผู สู้ อน (..................................................) 7. ความคดิ เหน็ ผ้บู ริหาร ............................................................................................................................. .................................. ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................... ......................................................................................................................................... ................... ลงชอ่ื .....................................ผบู้ ริหาร (นายจรัญ วารินทร์) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านบัวถนน 8. ภาคผนวก
73 เพลง ความซ่ือสัตย์ ความซ่ือสตั ยเ์ ป็นสมบตั ิของผดู้ ี หากวา่ ใครไม่มชี าตนิ ้ีเอาดีไม่ได้ มีความรู้ทว่ มหัว เอาตวั ไม่รอดถมไป คดโกงแลว้ ใครจะรบั ไว้ให้ร่วมงานเอย จะรบั ไวใ้ ห้ร่วมงานเอย ความซื่อสัตย์เป็นสมบัติของผดู้ ี หากว่าใครไม่มีชาตนิ ้เี อาดไี ม่ได้ มคี วามร้ทู ว่ มหัว เอาตัวไม่รอดถมไป คดโกงแล้วใครจะรับไว้ให้รว่ มงานเอย จะรบั ไวใ้ ห้รว่ มงานเอย
74 ใบงานท่ี ๑ เรอ่ื ง การสอบ ชื่อ.......................................................................ช้นั ..........................เลขท่.ี ................. คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปน้ี ๑. กฎระเบยี บในการสอบมอี ะไรบ้าง (ตอบอยา่ งน้อย ๓ ข้อ) ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ๒. การกระทำทีไ่ ม่เหมาะสมในการสอบมีอะไรบา้ ง (ตอบอย่างนอ้ ย ๓ ขอ้ ) .............................................................................................. ................................................................. ............................................................................................................................. .................................. ........................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. ..................................
75 ช่ือ................................................................ชัน้ ..........................เลขที.่ ................. ใบงาน ที่ ๒ เรอ่ื ง ผลเสียของการทุจริตในการสอบ คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นบอกผลเสียของการทุจรติ ในการสอบ อยา่ งน้อย ๓ ข้อ ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................ ............................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................. .. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..................................
76 แบบสงั เกตพฤติกรรม เรอ่ื ง ซื่อสัตย์ สจุ รติ ในการทำข้อสอบ คำช้ีแจง การบันทึกให้ทำเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกบั พฤติกรรมที่เกิดขน้ึ จรงิ ที่ ช่ือ-สกุล ไม่ลอก ไมจ่ ด ไมน่ ำ ไมย่ ืม ทำ สรปุ ผลการ ขอ้ สอบ คำตอบ เครือ่ งมอื อุปกรณ์ ข้อสอบ ประเมนิ ผอู้ นื่ เข้าหอ้ ง สือ่ สาร ผู้อืน่ เสรจ็ ผ่าน ไมผ่ า่ น สอบ เข้าห้อง ภายใน สอบ เวลาที่ กำหนด เกณฑ์การประเมนิ ผ่านตงั้ แต่ ๓ รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน ๑-๒ รายการ ถือวา่ ไมผ่ า่ น
77 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ ๒ ชอ่ื หน่วย ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๔ เรือ่ ง การแต่งกาย ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ๑.๒ ปฏิบัติตนเป็นผูล้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรูปแบบ ๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการตอ่ ต้านและป้องกันการทุจรติ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรยี นสามารถบอกลกั ษณะของการแตง่ กายท่ีเหมาะสมถูกต้องตามกาลเทศะได้ ๒.๒ นักเรียนสามารถบอกลักษณะของการแตง่ กายท่ีถูกตอ้ งตามระเบยี บของสถานศึกษาได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ - การแต่งกายตามกาลเทศะ การแต่งกายเปน็ มารยาทท่วั ไปซึง่ ทุกคนต้องปฏิบตั เิ หมอื นกันตามแต่โอกาสท่เี หมาะสม เช่น แต่งกายไปทำงาน, ไปวดั , ทำบญุ , ไปเล่นกีฬา และงานพธิ ีต่าง ๆ หรือการแตง่ กายท่อี ยู่ในเคร่ืองแบบ ของนักเรียน นกั ศึกษาทหาร ตำรวจ บริษทั ห้างร้านที่กำหนดให้พนักงานแตง่ กาย เปน็ ต้น หากบุคคล ใดสามารถปฏิบัติได้ตามกฎระเบียบทก่ี ำหนดถอื ว่าเป็นผู้มีมารยาทในการแตง่ กายทด่ี ี ๓.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒) ความสามารถในการคดิ ๓) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑) ความมีวินยั ๔. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้ ๑) ชวั่ โมงที่ ๑ ๑. ครแู ละนักเรียนสนทนาเกีย่ วกบั การแตง่ กายของคนในสังคม เช่น การแต่งกายไป ทำงาน การแต่งกายไปร่วมกจิ กรรมทางสังคม เปน็ ตน้ ๒. ครใู หน้ ักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ ๑ เรือ่ ง การแต่งกายทเี่ หมาะสม ๓. ให้นกั เรยี นดรู ปู ภาพการแต่งกายทเี่ หมาะสมในทส่ี าธารณะและสถานท่รี าชการ แลว้ ชว่ ยกันบอกลกั ษณะของการแตง่ กายท่เี หมาะสมถกู ต้องตามกาลเทศะ เช่น แตง่ กายไปทำบญุ ควร ใส่สขี าวหรอื สอี ่อน ผ้หู ญิงส่วนมากจะนุ่งผ้าไทย เป็นต้น ๔. ครใู หน้ ักเรยี นดูข่าว เรือ่ ง “จับหญิงสาว แต่งกายไมส่ ุภาพเลน่ นำ้ สงกรานต์” เก่ียวกับการแต่งกายไมเ่ หมาะสม
78 ๕. ครูแบ่งนกั เรยี นเป็น ๕ กลุ่ม หรือตามความเหมาะสม แล้วให้นกั เรยี นเขยี นวิพากษ์วิจารณพ์ ร้อมทัง้ นำเสนอหนา้ ชนั้ เรยี น ตามประเด็นต่อไปนี้ ๕.๑ การแต่งกาย ๕.๒ สถานท่ี ๕.๓ ความเหมาะสม ๖. ครถู ามนักเรียนวา่ ถ้านักเรียนเปน็ บคุ คลในขา่ ว นกั เรียนจะรสู้ กึ อยา่ งไร และจะ ทำอยา่ งบุคคลในข่าวหรือไม่ เพราะเหตุใด ๗. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปเกีย่ วกับการแต่งกายเหมาะสมในที่สาธารณะ เชน่ การแตง่ กายไปสถานที่ราชการ ผหู้ ญิงต้องแต่งกายด้วยกระโปรง ไมส่ วมรองเท้าแตะ เปน็ ตน้ ๒) ชั่วโมงที่ ๒ ๑. ครูให้นักเรียนศกึ ษาใบความรู้ที่ ๒ และใหน้ ักเรียนที่แตง่ กายเรยี บร้อยถูกต้องตาม ระเบยี บของโรงเรียน (เคร่ืองแบบนักเรียน/เครื่องแบบลูกเสอื -เนตรนารี) ออกมายนื ทีห่ น้าชั้นเรียน แลว้ แนะนำการแต่งกายทถี่ ูกต้องวา่ มีอะไรบา้ ง ๒. ครูใหน้ ักเรียนท่แี ต่งกายเครื่องแบบไมค่ รบออกมายืนท่ีหนา้ ช้ันเรียน แล้วใหน้ ักเรียนคน อน่ื ชว่ ยกันบอกว่าขาดเครื่องหมายอะไรบา้ ง ๓. ครชู ีแ้ นะใหน้ ักเรยี นเหน็ ถึงความสำคัญของการแตง่ กายท่ถี ูกต้องตามระเบียบของ โรงเรียน วา่ นกั เรียนชายแตง่ กายอย่างไร และนักเรยี นหญิงแตง่ กายอย่างไร ๔. ครสู มั ภาษณ์นกั เรียนที่แต่งกายด้วยเคร่ืองแบบทีถ่ ูกต้องวา่ มีความรู้สึกอย่างไรและมี ผลดอี ย่างไรต่อตนเองและส่วนรวม ๕. ครูสัมภาษณ์นักเรียนทแ่ี ตง่ กายด้วยเคร่ืองแบบทีไ่ ม่ถูกต้องวา่ มีความรู้สกึ อยา่ งไรและมี ผลเสียอยา่ งไรต่อตนเองและส่วนรวม ๖. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปเร่อื งการแตง่ กายทถ่ี ูกระเบียบของโรงเรยี น ๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู้ ๑) ใบความรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง การแตง่ กายทเี่ หมาะสม ๒) ใบความร้ทู ี่ ๒ เรือ่ ง การแต่งกายท่ีถูกตอ้ งตามระเบยี บของโรงเรียน ๓) รปู ภาพการแตง่ กายของบุคคลต่าง ๆ ๔) ข่าว “จบั หญงิ สาว แต่งกายไม่สุภาพเลน่ นำ้ สงกรานต์” ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ ๑) ทดสอบ ๒) สงั เกตพฤติกรรมความมีวินัย ๕.๒ เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการประเมิน ๑) แบบทดสอบ ๒) แบบสังเกตพฤติกรรม ความมีวนิ ัย
79 ๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ นักเรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป 6. บนั ทึกหลังการจดั การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ลงชอื่ ........................................ครูผู้สอน (..................................................) 7. ความคิดเหน็ ผูบ้ ริหาร ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ลงชอื่ .....................................ผบู้ ริหาร (นายจรญั วารินทร์ )
80 ใบความรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง การแต่งกายท่ีเหมาะสม การแตง่ กายเปน็ มารยาทท่วั ไปซ่ึงทุกคนต้องปฏิบัติเหมอื นกันตามแตโ่ อกาสที่เหมาะสม เช่น แตง่ กายไปทำงาน, ไปวัด ทำบญุ ,ไปเล่นกีฬา และงานพธิ ีต่าง ๆ หรอื การแต่งกายท่ีอยู่ใน เครอื่ งแบบของนกั เรยี น นักศึกษาทหาร ตำรวจ บริษัทห้างร้านท่กี ำหนดให้พนักงานแต่งกาย เป็นต้น หากบคุ คลใดสามารถปฏิบตั ิได้ตามกฎระเบียบทกี่ ำหนดถือวา่ เปน็ ผู้มีมารยาทในการแต่งกายทีด่ ี การแต่งกายไปวดั ๑. เสือ้ ผา้ ควรใช้สขี าวหรือสอี อ่ น ๒. เน้อื ผ้า ไม่โปรง่ บางเกนิ ไป ไมห่ รหู ราแพงเกนิ ไป ๓. เส้ือผา้ ไมร่ ัดรัดรปู แต่หลวมพอสมควร สำหรบั ผู้หญิงไม่ควรน่งุ กระโปรงส้นั แตค่ วรน่งุ กระโปรงยาวพอสมควร ๔. ทรงผม ผู้ชาย ตัดให้สัน้ ถ้าไวย้ าวก็หวีใหเ้ รยี บ ผู้หญงิ อยา่ แตง่ ผมเกินงาม ผู้พบเห็นจะได้ ไมเ่ กิดความคิดฟุ้งซ่าน ๕. นำ้ มันใส่ผม หรือนำ้ หอม ควรเป็นชนิดกล่ินอ่อนที่สดุ จะได้ไม่รบกวนผ้อู ื่น ๖. การแต่งหนา้ เขียนคว้ิ ทาปาก ทาเล็บ ฯลฯ จนเกินงามไม่ควรกระทำ ๗. เครือ่ งประดับราคาแพง เช่น แหวนเพชร นาฬิกาเรือนทอง หรือสรอ้ ยทองคาเสน้ โต ฯลฯ ควรเว้นเดด็ ขาด การแต่งกายไปงานแต่งงาน การแตง่ กายไปงานแตง่ งานเป็นการแสดงถึงการให้ความยินดกี ับเจ้าภาพจงึ เปน็ การแตง่ กาย ในชุดทดี่ ูสวยงาม และการแต่งกายไปงานเราควรคำนึงถงึ การให้เกียรตเิ จา้ ภาพด้วยเช่นเจ้าภาพ อาจจะกำหนดการแต่งกายมาเรากค็ วรปฏิบัตติ ามเพ่อื เปน็ การใหเ้ กยี รติและเพื่อแสดงความยนิ ดี เช่น แตง่ กายในชดุ สีขาว สชี มพหู รือเสอื้ ผา้ สอี ่อน ดูสวยงาม เป็นต้น การแต่งกายไปงานอวมงคล งานอวมงคล คือ การทาบุญเล้ยี งพระที่เก่ยี วกับเร่ืองการตาย นยิ มทำกนั อยู่ ๒ อย่างคือทำบุญ หน้า เรียกวา่ ทาบุญ ๗ วัน ๕๐ วนั หรอื ๑๐๐ วัน และทำบญุ อัฐิในวันคลา้ ยวนั ตายของผลู้ ว่ งลบั - ถ้าเป็นงานศพควรเป็นสีขาวหรือสดี ำ - ถา้ เป็นวันทำบญุ อฐั ควรแต่งกายเรียบร้อย สีเรยี บ ไมม่ ีลวดลายหรือฉูดฉาด จนเกินควร เหมาะสม กบั งานไม่ใสเ่ คร่ืองประดบั หรูหราฟุ่มเฟือยจนเกินพอดี มารยาทการแต่งกายท่ีพึงประสงค์ เปน็ การแต่งกายท่ีจะตอ้ งคำนึงถึงความสุ ภาพเรียบร้อย สะอาด ตงั้ แตศ่ รี ษะจรดปลายเท้า เม่อื มีผู้พบเหน็ จะรู้สึกทนั ทีว่าผูท้ ่แี ต่งกายดีถูกต้องตามกาลเทศะ คอื คนทค่ี วรได้รับการชมเชยจากสังคมและผปู้ ฏสิ มั พันธ์ด้วย ในมมุ กลบั กนั หากแต่งกายไมส่ ุภาพ เรยี บร้อย กจ็ ะเกิดคำตำหนิ ติเตียน จากผู้ท่พี บเหน็ ทำใหเ้ ส่ือมเสียท้งั ตนเอง สถาบนั ครอบครวั และ สถานศึกษา
81 ใบความรู้ที่ ๒ เร่อื ง การแต่งกายท่ีถูกต้องตามระเบียบของโรงเรยี น ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วยเคร่อื งแบบนักเรยี น นกั เรยี นหรอื นกั ศึกษาต้องประพฤตติ นอยู่ในระเบยี บวนิ ยั ของโรงเรียนหรอื สถานศึกษาทีต่ น สังกดั อยู่ และแต่งกายหรือแต่งเคร่ืองแบบตามระเบยี บข้อบังคับของโรงเรยี น รวมทั้งต้องไมแ่ ตง่ กาย หรอื ประพฤตติ นไมเ่ หมาะสมแก่สภาพของนักเรียนหรอื นักศกึ ษาตามท่ีกำหนดในกระทรวง เคร่ืองแบบนักเรียนระดบั ประถมศึกษา นกั เรยี นชาย ๑. เสือ้ ผ้าสีขาว แบบคอเช้ติ หรอื คอปกกลม แขนสน้ั ๒. เคร่อื งหมาย ใชช้ ือ่ อกั ษรย่อของสถานศกึ ษาปกั ที่อกเสื้อเบ้อื งขวา บนเนื้อผา้ ดว้ ยดา้ นหรอื ไหม โดยสถานศึกษารฐั ใช้สนี ้ำเงนิ สถานศกึ ษาเอกชนใชส้ แี ดง ๓. กางเกง ผ้าสีดา สนี า้ เงนิ สีกรมทา่ หรือสีแดง ขาส้นั ๔. รองเทา้ หนังหรือผ้าใบสีดาหรือสีน้ำตาลแบบหุ้มส้นปลายเท้าชนิดผูกหรือมสี ายรดั หลังเทา้ ๕. ถงุ เทา้ สน้ั สขี าวหรือสนี ้ำตาล นักเรยี นหญิง ๑. เสอ้ื ผ้าสีขาว แบบคอเชิต้ คอบวั หรอื คอปกกลาสีผกู ด้วยฟ้าผกู คอชายสามเหล่ยี มเงอื่ น กลาสี สดี ำหรอื สี กรมท่า แขนส้นั ๒. เครอ่ื งหมาย ชอื่ อกั ษรย่อของสถานศกึ ษาปกั ท่ีอกเสอ้ื เบ้ืองขวา บนเน้ือผ้าดว้ ยด้ายหรือไหม โดย สถานศึกษารฐั บาลใช้สีนา้ เงนิ สถานศึกษาเอกชนใช้สแี ดง ๓. กระโปรง ผา้ ดำ สนี ้าเงนิ สกี รมท่าหรือสีแดง แบบจีบรูดรอบตวั หรือยาวเพยี งใตเ้ ข่า แบบ จบี ทบรอบเอว หรือพบั เป็นจีบ ขา้ งละสามจบี ทง้ั ดา้ นหน้าและด้านหลงั เม่อื สวมแล้วชายกระโปรง คลมุ เข่า ๔. รองเท้า หนังหรือผา้ ใบสดี ำ แบบหมุ้ ส้นหุ้มหลายเท้า ชนดิ ผูกหรือมีสายรัดหลงั เท้า ๕. ถุงเทา้ สั้น สีขาว
82 ข่าว เรอื่ ง “จบั หญงิ สาว แต่งกายไมส่ ภุ าพเลน่ นำ้ สงกรานต์” ตำรวจบุรีรัมยจ์ บั กุมหญิงสาว ๓ คนบริเวณถนนเสดจ็ นิวฒั น์ หนา้ พระบรมราชานสุ าวรยี ์ รชั กาลท่ี ๑ ตรงขา้ มกับมหาวิทยาลัยราชภฏั บุรรี มั ยเ์ น่อื งจากแต่งกายไมส่ ุภาพและเต้นประกอบเพลง ด้วยทา่ ทางวาบหววิ ขณะท่นี ักทอ่ งเทย่ี วและประชาชนจำนวนมากร่วมกจิ กรรมสงกรานต์ทีส่ นามไอโม บายสเตเดยี มจนถงึ เทย่ี งคืน คำชแี้ จง ให้นักเรยี นเขยี นวิพากษ์วจิ ารณเ์ ก่ียวกับขา่ ว
83 แบบสังเกตพฤติกรรม เรอ่ื ง ความมีวนิ ัย คำช้แี จง การบนั ทึกใหท้ ำเครอ่ื งหมาย ลงในช่องทตี่ รงกบั พฤติกรรมทเี่ กิดขน้ึ จรงิ ท่ี ชอ่ื -สกุล รายการ สรุปผล การประเมนิ แตง่ กาย แต่งกาย ปฏิบัติตาม ผ่าน ไมผ่ า่ น ถกู ต้องตาม เหมาะสม ข้อตกลง ระเบยี บ ตาม ของ ของ กาลเทศะ สถานศึกษา โรงเรียน เกณฑ์การประเมนิ ผ่านตั้งแต่ ๓ รายการ ถอื วา่ ผา่ น ผา่ น ๑ - ๒ รายการ ถอื ว่า ไมผ่ า่ น
84 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยที่ ๒ ช่ือหน่วย ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๕ เรอ่ื ง กจิ กรรมนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ เวลา ๒ ชว่ั โมง ๑. ผลการเรียนรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั กจิ กรรมนักเรียน และความไม่ทนและความละอายต่อการทจุ ริต ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ นกั เรยี นสามารถ ๒.๑ บอกความสำคญั ของกิจกรรมนักเรียนได้ ๒.๒ อธบิ ายความหมายของกจิ กรรมนกั เรยี นได้ ๒.๓ ปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บไมท่ ุจรติ ต่อกิจกรรมท่ีทำ ๒.๔ ระบุประโยชนข์ องกิจกรรมนักเรียนได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ความสำคัญของกิจกรรมนักเรียนน้นั เปน็ การเสรมิ ให้การจดั การเรยี นการสอนบรรลตุ าม จดุ มุง่ หมายของการศึกษา โดยจะช่วยเสริมในด้านการเรียนรู้ทางดา้ นทัศนคติ ค่านิยม ความสนใจ ความซาบซ้ึงและเกิดทักษะประสบการณ์และสามารถไปอยใู่ นสังคมอยา่ งเปน็ สุขถา้ ปฏิบัติตาม กฎระเบียบ ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ ) ความสามารถในการคิด ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ / ค่านยิ ม ๑) มวี ินยั ๒) ม่งุ ม่ันในการทางาน ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ ๑) ชว่ั โมงท่ี ๑ ๑. ครูสนทนาและซกั ถามนักเรยี นเกีย่ วกับกจิ กรรมนักเรยี นวา่ มีความสำคัญอย่างไร ๒. ครอู ธบิ ายความสำคญั ของกจิ กรรมนักเรียนเปน็ กจิ กรรมเสริมใหก้ ารจดั การเรียนการ สอนบรรลุตามจดุ มงุ่ หมายของการศึกษา โดยจะชว่ ยเสริมในดา้ นการเรยี นรู้ด้านทัศนคติ ค่านิยม ความสนใจ ความซาบซึง้ ความไม่ทนและความละอายต่อการทุจรติ ตอ่ กจิ กรรมนั้น ตลอดจนทักษะใน การเคล่ือนไหวและการใช้อวยั วะต่าง ๆ ของรา่ งกาย ๓. ครูให้นักเรียนทำ ใบงานที่๑.๑ ชอบหรือไม่ชอบ เสรจ็ แลว้ ใหน้ ำมาส่งครู ๔. ครสู รุปใบงานทีน่ กั เรียนทำวา่ ส่วนใหญช่ อบหรือไม่ชอบเพราะเหตุใด ๒) ชว่ั โมงท่ี ๒ ๑. ครอู ธิบายถึงความหมายของกิจกรรมนักเรียน ปจั จุบันกิจกรรมนักเรียนอาจจะแบง่ ออกเปน็ ๓ ส่วนใหญ่
85 ๑.๑ กิจกรรมการเรียนการสอน หมายถงึ กิจกรรมที่ครูผสู้ อนและผ้ทู ี่เก่ียวข้องจดั ขึ้น เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้และเข้าใจเนื้อหาของบทเรยี นวิชาตา่ ง ๆ ใหด้ ยี ิ่งขนึ้ กจิ กรรม ลกั ษณะนีอ้ าจจะจดั ข้ึนในหอ้ งเรยี นหรือนอกห้องเรียนกไ็ ด้ ๑.๒ กจิ กรรมนักเรียน หมายถึง กจิ กรรมทีจ่ ัดข้นึ นอกเวลาเรยี นปกติหรือ นอกเหนือจากตารางสอนวชิ าตา่ ง ๆ เพื่อสนองความสนใจความสามารถและความถนดั ของนกั เรียน อนั เปน็ การส่งเสริมใหน้ ักเรยี นมโี อกาสแสวงหาความรูใ้ หแ้ ตกฉานยง่ิ ขนึ้ ๑.๓ กิจกรรมอนื่ เชน่ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมโฮมรมู ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีมี จดุ มงุ่ หมายเฉพาะเกย่ี วกับการแนะแนวหรอื การปกครองนักเรียนซงึ่ โดยปกติครูจะมีบทบาทในการ ดำเนินงานเสียเอง ๒. ครแู บง่ กลุม่ นักเรยี นกลมุ่ ละประมาน ๔-๖ คน แล้วใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ทำใบงานที่ ๑.๒ เรอ่ื งชอบอะไร ๓) ชว่ั โมงที่ ๓ ๑. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอใบงานที่ ๑.๒ ๒. ครูสรปุ ส่งิ ทนี่ ักเรียนนาเสนอ กิจกรรมนักเรยี นทกุ กจิ กรรมซ่งึ มีประโยชน์ กิจกรรมจะสร้างใหน้ กั เรียนอยูร่ ่วมกนั ในสงั คม อย่างมีความสุขถ้าหากนักเรยี นทาตามกฎระเบยี บในแตล่ ะกจิ กรรมตงั้ ไว้ และฝกึ ให้นกั เรียนมีทักษะ ต่าง ๆ ในแตล่ ะกิจกรรมท่ีปฏิบตั ิ อีกอยา่ งท่สี ำคัญถ้านักเรียนอย่ใู นสังคมทกี่ วา้ งขนึ้ ถา้ นักเรียนไม่ ทจุ รติ และทำตามกฎระเบยี บในสงั คมนักเรยี นกจ็ ะอยใู่ นสังคมอย่างมคี วามสขุ ๓. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปประโยชนข์ องกิจกรรมนักเรียนท่ไี ด้ การจัดกิจกรรมนักเรียนนับว่าเป็นงานสำคญั อยา่ งหนึ่ง กจิ กรรมนักเรียนเป็นกิจกรรมท่ที าง โรงเรยี นจดั ขน้ึ เพอ่ื เสรมิ ทกั ษะประสบการณข์ องนักเรยี นให้กวา้ งขวางและสมบูรณ์ ช่วยเสริมในดา้ น การเรียนรดู้ ้านทัศนคติ คา่ นยิ ม ความสนใจ ตลอดจนใหด้ ำรงชวี ิตอยู่ในสังคมอยา่ งมคี วามสุข ๔.๒ สื่อการเรยี นรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ ๑) ใบงานที่ ๑.๑ ๒) ใบงานท่ี ๑.๒ ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๑) ตรวจใบงานที่ ๑.๑ เรื่องชอบหรือไมช่ อบ ๒) ตรวจใบงานที่ ๑.๒ เรื่องปฏบิ ัติตนอยา่ งไรกจิ กรรมจะสำเรจ็ ๕.๒ เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมนิ ๑) ใบงานที่ ๑.๑ เรื่องชอบหรอื ไมช่ อบ ๒) ใบงานที่ ๑.๒ เรือ่ งปฏบิ ตั ติ นอย่างไรกจิ กรรมจะสำเร็จ ๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ ๘๐
86 6. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ลงชอื่ ........................................ครผู ู้สอน (..................................................) 7. ความคดิ เหน็ ผู้บริหาร ................................................................................................... ............................................................ ............................................................................................................................. ............................ ............................................................................................................................................................ ลงช่อื .....................................ผบู้ รหิ าร (นายคาน นามสว่าง)
87 ใบงานท่ี ๑.๑ คำชแ้ี จง ให้นักเรียนอธบิ ายชอบหรือไมช่ อบกิจกรรมท่กี ำหนดใหเ้ พราะเหตใุ ด ลำดบั ที่ กิจกรรม ชอบหรือไมช่ อบเพราะเหตุใด ๑ กจิ กรรมลกู เสือ ๒ กจิ กรรมทศั นศกึ ษา ๓ กจิ กรรมสหกรณ์รา้ นค้าในโรงเรยี น ๔ กิจกรรมกฬี าสภี ายในโรงเรียน ๕ กิจกรรมสง่ เสริมวัฒนธรรมไทย ๖ กจิ กรรมศาสนา ๗ กจิ กรรมใชห้ ้องสมดุ ๘ กจิ กรรมสง่ เสรมิ วชิ าการต่าง ๆ ใน หลักสูตร
88 ใบงานท่ี ๑.๒ ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ เขยี นชอบกจิ กรรมอะไรจงอธิบายอย่างละเอยี ด ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................. ............................... .................................................................................. .......................................................................... ............................................................................................................................. ............................... ..................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................. ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... .................................................................................................................................... ........................ .......................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................. ............................... ......................................................................................... ................................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ...............................
89 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี ๒ เวลา ๒ ช่วั โมง ช่อื หนว่ ย ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต เร่อื ง การเข้าแถวชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๖ ๑. ผลการเรียนรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นกั เรยี นสามารถ ๒.๑ บอกความหมายคาวา่ มารยาทในสงั คมได้ ๒.๒ ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในสงั คม ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ มารยาท คอื ส่ิงสำคัญประการหน่ึงท่ที ุกคนควรมตี ดิ ตัวไปตลอด เพราะจะทำให้อยู่ร่วมกบั ผ้อู ่ืนใน สงั คมอย่างมีความสุข ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ ) ความสามารถในการคิด ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ / ค่านิยม มวี ินัย ๔. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ ๑) ช่ัวโมงท่ี ๑ ๑. ครูใหน้ กั เรยี นดูวีดีโอ เรอื่ งการเข้าแถวรับบริการ เพ่ือใหน้ ักเรยี นรู้ถงึ มารยาทในการเขา้ แถว ๒. ครอู ธิบาย คำวา่ มารยาทใหน้ ักเรียนฟังตอ้ งทำให้เกิดเปน็ นสิ ัย ตวั อยา่ งเชน่ มารยาท ทางวาจามารยาทการรับประทานอาหาร มารยาทในท่ปี ระชมุ มารยาทการเขา้ แถว เปน็ ตน้ แต่ส่งิ ท่ี นักเรยี นจะต้องเรียนรูค้ ือ การเขา้ แถว เพราะการเข้าแถวถือว่าเปน็ มารยาทอย่างหนึ่งทีน่ ักเรียน จะต้องปฏิบตั อิ ยา่ งต่อเนื่องจนเกดิ เป็นนสิ ยั แลว้ นักเรียนจะอยรู่ ว่ มกันในสังคมอย่างมีความสุข ๓. นกั เรยี นและครูร่วมกนั สนทนาเก่ยี วกบั การใช้สถานที่สาธารณะในชีวิตประจำวันของ นักเรยี นว่า มีสถานทใ่ี ดบา้ งที่นกั เรยี นจะต้องเข้าไปใชบ้ ริการและควรเข้าแถวอย่างเปน็ ระเบยี บ เช่น หอ้ งเรยี น ห้องสมุดหอ้ งน้าสาธารณะ โรงอาหาร หา้ งสรรพสินค้า เป็นตน้ ๒) ชัว่ โมงที่ ๒ ๑. ครทู บทวนบทเรยี นชัว่ โมงทีผ่ ่านมา และให้ดูคลปิ กรณีตัวอย่างของการเข้าแถวรับ บรกิ ารของนักเรียนประเทศญี่ป่นุ หรอื ประเทศไทย แลว้ ชวนสนทนารว่ มกัน เรื่องมารยาท รวมถึง ประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการเข้าแถว และยกตัวอย่างสถานทีใ่ ดบา้ งทคี่ วรเข้าแถว โดยเปิดโอกาสให้ นักเรยี นทกุ คนมีส่วนรว่ ม ๒. ครูให้นกั เรียนทำใบงานที่ ๑.๑ เมื่อทำใบงานเสรจ็ แลว้ ใหต้ วั แทนนักเรียนเก็บรวบรวม ส่งครูตรวจ
90 ๓. ครูสรุปความรู้และข้อควรปฏิบัติทแ่ี สดงถงึ มารยาททดี่ ใี นการเข้าแถว ๕. ส่ือการเรยี นรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ ๕.๑ คลิปสือ่ https://www.youtube.com/watch?v=CQm๐h๙-b๙p๔ ๕.๒ บัตรคำ ๕.๓ ใบงานท่ี ๑.๑ ๖. การประเมินผลการเรียนรู้ ๖.๑ วิธีการประเมนิ ตรวจใบงานท่ี ๑.๑ ๖.๒ เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการประเมนิ ๑) แบบทดสอบก่อนเรยี น ๒) ใบงานที่ ๑.๑ ๖.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๘๐ 6. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ ........................................................................................................................ .................................... ............................................................................................................................. ............................... ลงช่ือ........................................ครผู สู้ อน (..................................................) 7. ความคิดเหน็ ผู้บริหาร ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. ........................................................ ลงชือ่ .....................................ผบู้ ริหาร (นายจรญั วารินทร์)
91 ใบงานท่ี ๑.๑ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นอธบิ ายชอบหรือไมช่ อบเพราะอะไร ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ……………………………….………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
92 บตั รคำ ๑๒ ๓๔ ๔
93 หนว่ ยท่ี ๓ STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทุจรติ
94 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยที่ ๓ ชือ่ หน่วย STRONG / จติ พอเพียงต่อตา้ นการทจุ รติ ชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๑ ช่ัว โมง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่อื ง การดำรงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับ STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต ๑.๒ ปฏิบัติตนเปน็ ผทู้ ี่ STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทจุ รติ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ นกั เรียนสามารถ ๒.๑ นกั เรียนบอกหลักในการเลือกการแต่งกาย การรับประทานอาหาร การใชจ้ ่ายตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ ๒.๒ นกั เรยี นปฏบิ ตั ิตนในการเลือกการแต่งกาย การรบั ประทานอาหาร การใช้จ่ายตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้ ๒.๓ นักเรียนวิเคราะหผ์ ลทีไ่ ดร้ บั จากการดารงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ แนวทางการดำเนินชีวิตบนทางสายกลางตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซงึ่ ประกอบด้วย ๓ หว่ ง ๒ เง่อื นไข ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล มีภมู ิค้มุ กันที่ดใี นตัวเอง เง่ือนไขความรู้ เง่ือนไขคุณธรรม จะก่อใหเ้ กิดคณุ ภาพชีวติ ท่ดี อี ย่างมั่นคงและยงั่ ยนื ๓.๒ ทักษะ / กระบวนการ ( สมรรถนะทีเ่ กิด ) ๑) นักเรยี นมที ักษะการคิดวเิ คราะห์ ๒) นักเรยี นมที กั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์ ๓) นกั เรียนมที กั ษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ ๔) นกั เรยี นมคี วามสามารถในการใช้ทักษะชีวิตในกระบวนการทำงานกลมุ่ ๕) นกั เรยี นมีทกั ษะกระบวนการในการทำงาน ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ / คา่ นิยม ๑) ใฝเ่ รยี นรู้ / นกั เรยี นต้ังใจเพียรพยายามในการเรียนและเข้ารว่ มกิจกรรม ๒) อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง / นกั เรียนดาเนนิ ชีวิตอยา่ งพอประมาณ มีเหตมุ ผี ล รอบคอบ มคี ณุ ธรรม ๓) รักความเปน็ ไทย / นักเรยี นเห็นคุณคา่ ปฏิบัตติ นได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ / การจดั ประสบการณ์ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ / ข้ันตอนการจดั ประสบการณ์ ๑) ชว่ั โมงที่ ๑ ๑. นักเรยี นดภู าพความแตกต่าง ๆของบุคคล ดงั นี้ ๑.๑ การแต่งกาย ๑.๒ การรับประทานอาหาร ๑.๓ การใช้จ่ายเงนิ ๒. ครูสมุ่ ถามนักเรียน ประมาณ ๒ - ๓ คน โดยใชค้ ำถาม ดังน้ี ๒.๑ ถา้ เปน็ นักเรียนจะเลอื กปฏบิ ตั ติ ามภาพใด ๒.๒ เพราะเหตุใด
95 ๓. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ ๔. แบ่งนกั เรยี นเป็น ๓ กลุ่ม กลุม่ ละเท่ากัน ร่วมกนั อภิปราย แสดงความคดิ เห็น คิด วิเคราะหต์ ามหวั ข้อต่อไปน้ี ๔.๑ กลุม่ ท่ี ๑ หลกั การเลือกการแตง่ กาย ๔.๒ กลุม่ ท่ี ๒ หลักการเลือกการรบั ประทานอาหาร ๔.๓ กลมุ่ ที่ ๓ หลักการเลอื กการใชจ้ า่ ย ๒) ชัว่ โมงท่ี ๒ ๑. ครูทบทวนความรจู้ ากชั่วโมงท่ีแลว้ ๒.แต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนนำเสนอหนา้ ชนั้ เรียน ครูอธิบายเพ่มิ เตมิ ให้สมบรู ณ์ ๓. นกั เรียนทำ Mind Mapping สรปุ ความรูท้ ่ีได้รับจากท้ัง ๓ กลมุ่ ลงในสมดุ ๔. นักเรียนประเมินการปฏบิ ัตติ นในการเลือกการแตง่ กาย การรบั ประทานอาหาร การใช้ จ่ายเป็นรายบคุ คล ๕. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปการดำรงชีวิตตามหลกั ความพอเพยี ง ๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู้ / แหลง่ การเรียนรู้ ๑) ภาพการแต่งกาย การรับประทานอาหาร การใช้จา่ ยเงิน ๒) แบบประเมินการปฏบิ ัติตนในการดำรงชีวติ ตามหลักความพอเพียง ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน ๑) สังเกตพฤติกรรม ๒) ประเมนิ การปฏบิ ัตติ นในการดำรงชวี ิตตามหลักความพอเพยี ง ๕.๒ เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบสังเกตพฤตกิ รรม ๒) แบบประเมนิ การปฏิบัตติ นในการดำรงชวี ิตตามหลกั ความพอเพยี ง ๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน การสงั เกตพฤติกรรม ร้อยละ ๘๐ ถือวา่ ผา่ น
96 6. บันทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................... ลงชือ่ ........................................ครูผู้สอน (..................................................) 7. ความคิดเหน็ ผ้บู รหิ าร ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ลงช่ือ.....................................ผ้บู ริหาร (นายจรญั วารนิ ทร์)
97 ภาพการแต่งกาย
98
99 ภาพการรบั ประทานอาหาร
100 ภาพการรบั ประทานอาหาร
101 ภาพการใช้จา่ ยเงิน
102 ภาพการใช้จา่ ยเงิน
103 แบบสงั เกตพฤตกิ รรม กลุ่มท่ี...................ชนั้ ............. ที่ พฤติกร ความรว่ มมือ การแสดง การตอบ การยอมรบั การมสี ่วน รว รม ความคดิ เห็น คำถาม ฟังความ รว่ มในการ ม ชอ่ื คิดเห็น อภปิ รายรวม สกุล ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑ เกณฑ์การวดั ผล ใหค้ ะแนนระดับคุณภาพของแต่ละกล่มุ ดังนี้ ดีมาก เทา่ กบั ๔ ประสทิ ธภิ าพอย่ใู นเกณฑ์ ๙๐ – ๑๐๐ % ดี เทา่ กับ ๓ ประสทิ ธิภาพอยู่ในเกณฑ์ ๗๐ – ๘๙ % ปานกลาง เท่ากบั ๒ ประสิทธิภาพอย่ใู นเกณฑ์ ๕๐ – ๖๙ % ปรบั ปรงุ เท่ากับ ๑ ประสทิ ธภิ าพตำ่ กวา่ เกณฑ์ ๕๐ % ( ลงชอื่ ) ผสู้ งั เกต (.....................................................) .............../................./....................
104 แบบประเมนิ การปฏิบตั ิตนในการดำรงชีวิตตามหลักความพอเพยี ง คำช้ีแจง ให้กาเครื่องหมาย ( / ) ลงในชอ่ งให้ตรงกบั การปฏิบตั ิของนกั เรียน ที่ รายการประเมนิ ระดับความเหมาะสมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑ การแต่งกาย ๕๔ ๓ ๒ ๑ ๒ การรบั ประทานอาหาร ๓ การใช้จา่ ยเงิน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ระดบั ๕ หมายถงึ มากทส่ี ุด ระดับ ๔ หมายถงึ มาก ระดบั ๓ หมายถึง ปานกลาง ระดับ ๒ หมายถึง น้อย ระดับ ๑ หมายถึง น้อยทส่ี ุด
105 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี ๓ ชือ่ หนว่ ย STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒ เรอื่ ง ความโปร่งใส ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๑ ชัว่ โมง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับ STRONG / จิตพอเพียงต่อตา้ นการทุจรติ ๑.๒ ปฏบิ ตั ติ นเป็นผูท้ ี่ STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ต้านการทจุ รติ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ นักเรยี นสามารถ ๒.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ๒.๒ ปฏิบัติตนเป็นผทู้ ี่ STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทจุ ริต ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ความโปร่งใส คือ การกระทำการใด ที่สามารถมองเห็นได้ คาดเดาได้ และเข้าใจได้ การมี ระบบงานและข้ันตอนการทำงานท่ชี ัดเจน ถกู ต้อง อยา่ งตรงไป ตรงมา ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ ( สมรรถนะทีเ่ กิด ) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ ๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ / ค่านยิ ม ๑)ใฝเ่ รียนรู้ ๒) ซอ่ื สัตย์สจุ รติ ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ / การจัดประสบการณ์ ๔.๑ ข้ันตอนการเรียนรู้ / ขั้นตอนการจดั ประสบการณ์ ๑) ชว่ั โมงท่ี ๑ ๑. ครนู ำเข้าสบู่ ทเรียนโดยให้นักเรียนร่วมกันร้องเพลง ความซ่ือสตั ย์ พร้อมกนั และร่วมกนั สรุปความหมายของเพลง ๒. ครูอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ให้นักเรยี นทราบถงึ พื้นฐานของความซ่ือสตั ย์ มาจากการกระทำการใด ทสี่ ามารถมองเหน็ ได้ คาดเดาได้ และเขา้ ใจได้ การมีระบบงาน และขนั้ ตอนการทำงานทชี่ ัดเจน ถูกต้อง อย่างตรงไป ตรงมา น้นั กค็ ือหลักของความโปร่งใส ๓. นักเรียนและครรู ่วมกันอภปิ รายถึงความหมายของคาวา่ “ โปร่งใส ” ๔. ครแู ละนักเรยี นสรุปความหมาย ความโปรง่ ใส ร่วมกนั อีกครั้ง ๕. ให้นกั เรยี นจับคกู่ ับเพ่อื นตามความสมัครใจ ๖. ครนู ำตัวอย่างคำขวญั ตดิ บนกระดาน “โปรง่ ใส ไร้คอรร์ ัปชน่ั ร่วมสร้างสรรคส์ งั คมไทย ” ให้นักเรียนอ่านคำขวัญพร้อม กัน ๗. ครอู ธิบายถงึ ความหมายของคำขวัญ และอธิบายวิธกี ารเขียนคำขวญั ใหน้ ักเรยี นจนเกดิ ความเข้าใจ ๘. ใหน้ ักเรยี นแต่ละคชู่ ่วยกนั แตง่ คำขวัญรณรงค์ให้เกดิ ความโปรง่ ใส ๙. นักเรียนนำเสนอคาขวัญท่ีร่วมกันแต่ง หน้าช้ันเรยี น ๑๐. นกั เรียนรว่ มกนั ร้องเพลง ความซ่ือสตั ย์ เปน็ การจบบทเรียน
106 ๔.๒ ส่ือการเรียนรู้ / แหลง่ การเรยี นรู้ ๑) เพลงความซือ่ สัตย์ ๒) ตวั อย่างคำขวัญ “ โปรง่ ใส ไร้คอร์รัปชั่น รว่ มสรา้ งสรรคส์ งั คมไทย ” ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วิธีการประเมนิ ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียน ๒) ตรวจผลงานการเขียนคำขวญั ๕.๒ เครื่องมือที่ใชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น ๒) แบบตรวจผลงานการเขยี นคำขวญั ๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ รอ้ ยละ ๘๐ 6. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................... ................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ............................... ลงช่อื ........................................ครผู ู้สอน (..................................................) 7. ความคิดเห็นผู้บริหาร ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ............................... ลงชือ่ .....................................ผบู้ รหิ าร (นายจรญั วารนิ ทร์ )
107 ใบความรู้สำหรับครู ความโปร่งใส (Transparency) หมายถงึ การกระทำการใด ท่ีผ้อู น่ื สามารถมองเหน็ ได้ คาด เดาไดแ้ ละเข้าใจได้ การมีระบบงานและข้ันตอนการทำงานทชี่ ัดเจน (ซึ่งจะดูไดจ้ าก กฎระเบยี บ หรอื ประกาศ) การเปิดเผยขอ้ มูลข่าวสารท่ีถูกต้องอย่างตรงไปตรงมา ความโปร่งใสจงึ เป็นเคร่ืองมือท่ี สำคัญในการตรวจสอบความถกู ต้อง และชว่ ยปอ้ งกันไม่ให้เกิดการทุจริต รวมท้ังนาไปส่กู ารสร้าง ความไว้วางใจซ่ึงกันและกัน เพลงความซือ่ สัตย์ ความซ่อื สัตย์เป็นสมบตั ขิ องคนดี หากวา่ ใครไม่มชี าตนิ ้ีเอาดีไม่ได้ มคี วามรทู้ ว่ มหัวเอาตัวไม่รอดถมไป คดโกงแลว้ ไซร้ใครจะรับให้รว่ มการงาน
108 แบบประเมนิ การเขยี นคำขวัญ ท่ี พฤติกรรม ถกู ต้องตาม ตรงตาม คิดสร้างสรรค์ เสร็จทนั เวลาท่ี รวม ฉนั ทลกั ษณ์ ความหมาย กำหนด ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๖ เกณฑ์การวดั ผล ใหค้ ะแนนระดบั คุณภาพของแตล่ ะกลุ่ม ดังน้ี ดมี าก เท่ากบั ๔ ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ ๙๐ – ๑๐๐ % ดี เทา่ กบั ๓ ประสิทธภิ าพอยู่ในเกณฑ์ ๗๐ – ๘๙ % ปานกลาง เทา่ กบั ๒ ประสทิ ธิภาพอยู่ในเกณฑ์ ๕๐ – ๖๙ % ปรบั ปรุง เทา่ กับ ๑ ประสทิ ธิภาพตำ่ กวา่ เกณฑ์ ๕๐ %
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169