สตั วป์ ่าน่ารู้ โดย นายกติ ตพิ งศ์ หลานวงศ์
อาณาจกั รสตั ว (Kingdom Animalia)
Kingdom Animalia มีววิ ัฒนาการมาจากบรรพบรุ ุษพวกแฟลกเจลเลต
Kingdom Animalia ลิน่ ทะเล เปนสตั วโ บราณท่ยี ังมชี วี ิตอยู
Kingdom Animalia เปน ส่งิ มีชวี ิตกลมุ ยคู าริโอตที่มหี ลายเซลล ไมม ผี นังเซลล เซลลจ ัดเรียงตัว กันเปนเนอ้ื เยือ่ เปน พวก heterotroph ไมส ามารถสรางอาหารเองได มีการพฒั นาของเซลลกลา มเน้อื และเซลลป ระสาทเพอ่ื ตอบสนอง ตอสง่ิ เราและการเคล่ือนไหว มีการสบื พนั ธทุ ั้งแบบอาศยั เพศ และไมอาศัยเพศ เชน การแตกหนอ (budding) การงอกใหม (regeneration) การแบงเปน สอง (binary fission)
เกณฑในการจดั จาํ แนกสัตว 1. เนื้อเยื่อ (tissue) แบงออกเปน 2 กลุม คอื กลุมทม่ี ีเนอ้ื เยือ่ ไมแ ทจรงิ (parazoa) ไดแ ก ฟองนาํ้ กลมุ ที่มีเนื้อเย่ือแทจ ริง (eumatazoa) ซึง่ เปนลักษณะของสตั วสวนใหญ 2. ลกั ษณะสมมาตร (symmetry) แบงออกเปน 2 ประเภท คอื สมมาตรแบบรศั มี (radial symmetry) สมมาตรดานขา งหรือสมมาตรแบบครง่ึ ซีก (bilateral symmetry)
เกณฑในการจัดจาํ แนกสตั ว 3. การเปล่ียนแปลงของบลาสโทพอร พบเฉพาะสตั วท่ีมีสมมาตรดา นขา ง มี 2 แบบ คือ แบบโพรโทสโทเมีย (protostomia) : บลาสโทพอรเปล่ียนเปน ชอ งปาก แบบดิวเทอโรสโทเมีย (deuterostomia) : บลาสโทพอรเปลี่ยนเปนทวารหนัก
เกณฑใ นการจัดจาํ แนกสัตว 4. การเจริญในระยะตวั ออน พบในสัตวทมี่ ชี องปากแบบโพรโทสโทเมยี แบง เปน 2 กลุม คือ กลุมที่มีระยะตัวออนแบบโทรโคฟอร (trochophore) พบในหนอนตวั แบน ไสเ ดือนดิน ปลิง หอย หมึก กลุมที่มรี ะยะตวั ออนแบบเอก็ ไดโซซัว (ecdysozoa) มกี ารลอกคราบในการเจรญิ เตบิ โต พบในหนอนตัวกลมและอารโ ทพอด
เกณฑในการจดั จําแนกสัตว 5. โพรงลาํ ตวั (coelom) แบงออกเปน 3 แบบ คอื Acoelomate : ไมพ บโพรงลําตวั เชน สตั วใน Phylum Platyhelminthes Pseudocoelomate : มีโพรงลาํ ตัวแทรกอยู ระหวา งช้ัน mesoderm และ endoderm เชน สัตวใน Phylum Nematoda Coelomate : มโี พรงลาํ ตวั แทรกอยใู น ช้นั mesoderm เปน สตั วก ลุมที่มโี พรงลําตวั แทจ รงิ
บรรพบรุ ษุ ของสัตว ไมมเี นอื้ เยอ่ื แทจริง มีเน้อื เยอื่ แทจ ริง สมมาตรตามรัศมี สมมาตรดา นขาง (radial symmetry) (bilateral symmetry) ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย ชอ งปากแบบดิวเทอโรสโทเมยี (protostomia) (deuterostomia) ตวั ออ นแบบโทรโคฟอร ตวั ออ นมกี ารลอกคราบ (trochophore) (ecdysozoa) พอรเิ ฟอรา ไนดาเรีย นีมาโทดา อารโ ทรโพดา (Porifera) (Cnidaria) (Nematoda) (Arthropoda) แพลทีเฮลมินทสิ มอลลัสคา แอนเนลดิ า เอไคโนเดอรมาตา คอรด าตา (Platyhelminthes) (Mollusca) (Annelida) (Echinodermata) (Chordata)
บรรพบรุ ษุ ของสัตว ไมมเี นอื้ เยอ่ื แทจริง มีเน้อื เยอื่ แทจ ริง สมมาตรตามรัศมี สมมาตรดา นขาง (radial symmetry) (bilateral symmetry) ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย ชอ งปากแบบดิวเทอโรสโทเมยี (protostomia) (deuterostomia) ตวั ออ นแบบโทรโคฟอร ตวั ออ นมกี ารลอกคราบ (trochophore) (ecdysozoa) พอรเิ ฟอรา ไนดาเรีย นีมาโทดา อารโ ทรโพดา (Porifera) (Cnidaria) (Nematoda) (Arthropoda) แพลทีเฮลมินทสิ มอลลัสคา แอนเนลดิ า เอไคโนเดอรมาตา คอรด าตา (Platyhelminthes) (Mollusca) (Annelida) (Echinodermata) (Chordata)
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) Porifera มาจากภาษาละตนิ (porudus + ferre = pore + bearing) หมายถงึ สตั วท ม่ี รี ูพรุน “ฟองนํา้ (sponges)” มีโครงสรางรางกายไมซ ับซอ น ไมม ีเน้ือเย่ือทแ่ี ทจรงิ ฟองน้ําสว นใหญม ักไมมสี มมาตร (asymmetry) ตัวเตม็ วัยมักเกาะอยูกบั ที่ (sessile animal) สามารถรับรูและตอบสนอง ตอการเปล่ยี นแปลงของสภาพแวดลอมได
ไฟลมั พอริเฟอรา (Phylum Porifera) รูเปดเล็ก ๆ ขางลําตัวเรียกวา ออสเทีย (Ostia) ทําหนาท่ีเปนทางนํ้าไหลเขาสูลําตัวฟองน้ํา สวนรูเปดดานบนลําตัว เรียกวา ออสคิวลัม (Osculum) ทาํ หนาทเ่ี ปน ทางนา้ํ ออก ไมมีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับถาย และระบบประสาท อาศัยการไหลเวียนนํ้าเปน ตวั การสาํ คัญในกระบวนการเหลา น้ี
ไฟลมั พอรเิ ฟอรา (Phylum Porifera)
ไฟลมั พอริเฟอรา (Phylum Porifera) การสืบพนั ธแุ บบไมอ าศยั เพศ โดยการหกั ออกเปน ชิ้น (fragmentation) การสืบพนั ธุแบบอาศัยเพศ : ฟองน้ํามี 2 เพศในตวั เดยี วกัน (hermaphrodite)
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera) ฟองน้ํามีโครงรางแข็งค้ําจุนรางกาย เรียกวา spicule ซึ่งเปนสารประกอบ ประเภทหนิ ปูนหรอื ซิลกิ า บางชนิดมีเสน ใยพิเศษเรยี กวา spongin fiber spicule spongin
ไฟลมั พอรเิ ฟอรา (Phylum Porifera) ฟองนา้ํ แกว ฟองนํ้าหินปนู ฟองน้ําถตู วั
บรรพบรุ ษุ ของสัตว ไมมเี นอื้ เยอ่ื แทจริง มีเน้อื เยอื่ แทจ ริง สมมาตรตามรัศมี สมมาตรดา นขาง (radial symmetry) (bilateral symmetry) ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย ชอ งปากแบบดิวเทอโรสโทเมยี (protostomia) (deuterostomia) ตวั ออ นแบบโทรโคฟอร ตวั ออ นมกี ารลอกคราบ (trochophore) (ecdysozoa) พอรเิ ฟอรา ไนดาเรีย นีมาโทดา อารโ ทรโพดา (Porifera) (Cnidaria) (Nematoda) (Arthropoda) แพลทีเฮลมินทสิ มอลลัสคา แอนเนลดิ า เอไคโนเดอรมาตา คอรด าตา (Platyhelminthes) (Mollusca) (Annelida) (Echinodermata) (Chordata)
ไฟลมั ไนดาเรยี (Phylum Cnidaria) ไฮดรา แมงกะพรนุ ดอกไมท ะเล ปะการัง กัลปงหา สัตวในกลุมนีบ้ างชนดิ อาศัยในนาํ้ เคม็ ไฮดรา แมงกะพรุน บางชนิดอาศยั ในนํา้ จดื มีเนอ้ื เยื่อ 2 ช้นั คอื ชัน้ ectoderm และช้นั endoderm พัฒนาไปเปนเยอ่ื บผุ ิวลาํ ตวั (epidermis) พัฒนาไปเปนเย่อื บุทางเดนิ อาหาร (gastrodermis) มสี มมาตรแบบรศั มี (radial symmetry)
ไฟลัมไนดาเรยี (Phylum Cnidaria) มีรูปรา ง 2 แบบ คอื แบบที่คลา ยกับทรงกระบอกหรอื ตน ไม เรยี กวา โพลิบ (polyp) แบบท่คี ลา ยรปู ระฆังควาํ่ เรยี กวา เมดซู า (medusa)
ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria) มีทางเดินอาหารไมส มบูรณ มีชองเปดจากลาํ ตวั ชอ งเดยี ว มี ก า ร ล า เ ห ยื่ อ โ ด ย ใ ช เ ท น ท า เ คิ ล (tentacle) ท่ีเรียงอยูรอบชองปาก โ ด ย ท่ี เ ท น ท า เ คิ ล จ ะ มี ไ น โ ด ไ ซ ต (cnidocyte) เม่ือมีเหย่ือมาสัมผัส ไ น โ ด ไ ซ ต จ ะ ป ล ด ป ล อ ย เ ข็ ม พิ ษ (nematocyst) ใชเ พ่ือจับเหย่ือหรือ ปอ งกนั ตัว
ไฟลมั ไนดาเรยี (Phylum Cnidaria) อาหารจะผานไปยังทอทางเดินอาหาร (gastrovascular cavity) เซลลเยื่อบุ ทอทางเดินอาหาร จะหล่ังเอนไซม ออกมายอยอาหาร
ไฟลมั ไนดาเรยี (Phylum Cnidaria) มกี ารสืบพนั ธุแ บบไมอ าศัยเพศโดยการแตกหนอ (budding) หรอื การแบง ออกเปนสวน (fission) การสบื พนั ธุแบบอาศยั เพศ มีท้ังกลมุ ท่มี สี องเพศในตวั เดียวกนั และกลมุ ที่ แยกเพศ โดยมีการปฏสิ นธิภายนอก (external fertilization)
ไฟลมั ไนดาเรยี (Phylum Cnidaria)
ไฟลัมไนดาเรยี (Phylum Cnidaria) แมงกะพรุน
ไฟลมั ไนดาเรยี (Phylum Cnidaria) ไฮดรา
ไฟลัมไนดาเรยี (Phylum Cnidaria) ปะการัง
ไฟลมั ไนดาเรยี (Phylum Cnidaria) ดอกไมทะเล (sea anemone)
ไฟลัมไนดาเรยี (Phylum Cnidaria) กัลปง หา
บรรพบรุ ษุ ของสัตว ไมมเี นอื้ เยอ่ื แทจริง มีเน้อื เยอื่ แทจ ริง สมมาตรตามรัศมี สมมาตรดา นขาง (radial symmetry) (bilateral symmetry) ชองปากแบบโพรโทสโทเมีย ชอ งปากแบบดิวเทอโรสโทเมยี (protostomia) (deuterostomia) ตวั ออ นแบบโทรโคฟอร ตวั ออ นมกี ารลอกคราบ (trochophore) (ecdysozoa) พอรเิ ฟอรา ไนดาเรีย นีมาโทดา อารโ ทรโพดา (Porifera) (Cnidaria) (Nematoda) (Arthropoda) แพลทีเฮลมินทสิ มอลลัสคา แอนเนลดิ า เอไคโนเดอรมาตา คอรด าตา (Platyhelminthes) (Mollusca) (Annelida) (Echinodermata) (Chordata)
ไฟลัมแพลทีเฮลมนิ ทสิ (Phylum Platyhelminthes) สิ่งมีชวี ิตในไฟลัมนเ้ี รยี กรวมกนั วา “หนอนตวั แบน (flat worm)” มขี นาดแตกตางกัน มที ง้ั ทีไ่ มสามารถมองเห็นดว ยตาเปลา และสามารถมองเหน็ ไดด วยตาเปลา มีเน้อื เย่อื 3 ชน้ั และเปนสตั วก ลมุ ทไี่ มมโี พรงลําตัว (acoemate)
ไฟลมั แพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes) มีทางเดนิ อาหารไมสมบรู ณ ทางเดนิ อาหารมกี ารแตกแขนงเพ่ือใหสามารถ ลําเลยี งอาหารไปยงั เซลลแตล ะเซลลได ในพยาธิตัวตดื จะไมม ที างเดินอาหารแตจะใชกระบวนการแพรข องสารอาหาร ที่ยอยแลว เขา สรู า งกาย
ไฟลมั แพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes) เริ่มมีการพัฒนาระบบประสาท โดยมีการรวมกลุมของเซลลประสาทบริเวณ หัว (cerebral ganglion) และมีเสนประสาทเรียงมาสองเสนทางดานทอง เรียกวา longitudinal nerve cord และมีเสนประสาทเรียงเปนวงรอบ เสนประสาททางดา นทอ งท้ังสองเสน เรยี กวา transverse nerve
ไฟลัมแพลทีเฮลมนิ ทิส (Phylum Platyhelminthes) มีการสืบพนั ธุแบบไมอาศัยเพศโดยการงอกใหม (regeneration)
ไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes) การสืบพันธุแบบอาศยั เพศ โดยหนอนตัวแบนจะมสี องเพศในตัวเดียวกนั (hermaphrodite) แตจ ะตอ งมีการปฏสิ นธิขา มตวั (cross fertilization) ยกเวนในพยาธิตัวตดื ท่มี กี ารปฏสิ นธใิ นตัวเดยี วกนั ได (self-fertilization) หนอนตวั แบนบางชนดิ ดํารงชวี ติ แบบอิสระ เชน พลานาเรีย
ไฟลมั แพลทีเฮลมินทิส (Phylum Platyhelminthes) สวนใหญด าํ รงชวี ิตเปน ปรสติ พยาธิตวั ตืด (Tapeworm) พยาธิใบไม (Fluke worm) พยาธิใบไมในตบั คน พยาธใิ บไมใ นเลอื ด พยาธิตดื หมู (Clonorchis sinesis) (Schistosoma sp.) (Taenia solium)
ไฟลมั มอลลสั คา (Phylum Mollusca) สัตวใ นกลมุ น้ไี ดแ ก ลิน่ ทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา หอยงาชา ง หอยงวงชา ง ทากเปลือย หมกึ ชนดิ ตา ง ๆ ลนิ่ ทะเล หอยทาก หอยเชอร่ี
ไฟลัมมอลลสั คา (Phylum Mollusca) สตั วในกลุมนไี้ ดแ ก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา หอยงาชา ง หอยงวงชา ง ทากเปลอื ย หมกึ ชนดิ ตาง ๆ หอยนางรม หอยแครง หอยกาบ
ไฟลัมมอลลสั คา (Phylum Mollusca) สตั วในกลมุ นี้ไดแ ก ลิ่นทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา หอยงาชาง หอยงวงชาง ทากเปลือย หมึกชนดิ ตา ง ๆ หอยงาชา ง หอยงวงชา ง ทากเปลอื ยหรอื ทากทะเล
ไฟลมั มอลลสั คา (Phylum Mollusca) สัตวใ นกลมุ นี้ไดแ ก ลน่ิ ทะเล หอยฝาเดียว หอยสองฝา หอยงาชาง หอยงวงชา ง ทากเปลอื ย หมกึ ชนดิ ตา ง ๆ หมกึ กลวย หมกึ ยักษ หมึกกระดอง
ไฟลมั มอลลสั คา (Phylum Mollusca) มีสมมาตรดา นขา ง (bilateral symmetry) มโี พรงลาํ ตัวแบบแทจรงิ (coelomate) มรี ปู แบบการเจริญเติบโตแบบ protostome ตัวออนเปนแบบ trochophore larva
ไฟลัมมอลลัสคา (Phylum Mollusca) เปนสัตวท ม่ี ลี าํ ตวั นิม่ แตส ามารถสรา งเปลือกแขง็ ท่มี ีสารประกอบแคลเซียม คารบ อเนตมาหอ หุม ลําตวั มีแมนเทิล (mantle) ทาํ หนาทส่ี รางเปลอื กหุมลาํ ตัว อวัยวะภายในทม่ี กั อยรู วมกัน เรยี กวา visceral mass
ไฟลมั มอลลัสคา (Phylum Mollusca) Mantle พวกหมกึ ตา ง ๆ เปลอื กจะลดรูปเปน โครงรา งแขง็ ที่อยภู ายใน เชน แกนใสของ หมึกกลวย แตหมกึ ยกั ษจ ะไมพบโครงรางแข็ง
ไฟลมั มอลลสั คา (Phylum Mollusca) มกี ารไหลเวียนของนา้ํ เพื่อแลกเปลยี่ นแกสโดยใชเ หงือก สว นใหญเ ปน ระบบหมนุ เวียนเลือดแบบเปด (open circulatory system) ยกเวน พวกหมกึ ทีจ่ ะมรี ะบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปด (closed circulatory system)
ไฟลมั มอลลัสคา (Phylum Mollusca) มกี ารสบื พันธุแ บบอาศัยเพศเปนหลกั สวนใหญม ีเพศแยกออกจากกัน มีการดาํ รงชวี ิตหลายแบบ บางชนดิ กนิ พืช เชน หอยเชอรีก่ ัดกินตนขา ว บางชนิดกินสตั ว เชน หมกึ ผูลา สตั วอื่น และบางชนิดกนิ ทง้ั พืช สัตว และ แพลงกต อน เชน หอยสองฝา หอยน้าํ จดื หลายชนิด เชน หอยโขง หอยขม เปนพาหะนาํ พยาธมิ าสูค น
ไฟลัมมอลลสั คา (Phylum Mollusca) หอยบางชนดิ อาจทาํ อนั ตรายแกม นษุ ยได เชน หอยเตาปนู มีโครงสรา ง เปลยี่ นแปลงไป มลี กั ษณะคลายเข็มและมถี ุงน้ําพษิ ทาํ ใหค นถกู พิษเปนอมั พาต
ไฟลมั แอนเนลิดา (Phylum Annelida) สตั วในไฟลมั น้อี าศยั อยูในทะเล นาํ้ จดื และบนพ้นื ดินบริเวณท่ชี นื้ แฉะ แมเ พรยี ง ไสเดือนดนิ ทากดูดเลอื ด ปลิงนํา้ จดื
ไฟลัมแอนเนลดิ า (Phylum Annelida) มีสมมาตรดา นขาง และมรี ปู แบบการเจริญเตบิ โตแบบ protostome ตวั ออนเปนแบบ trochophore larva สัตวใ นกลุม น้ีมขี อ ปลองชดั เจน ภายในมีเย่อื กั้น (septum) สว นใหญจ ะมขี นหรือเดือย (setae) ซ่ึงชว ยในการเคลือ่ นท่ี setae
ไฟลมั แอนเนลดิ า (Phylum Annelida) มที อ ทางเดนิ อาหารแบบสมบูรณ โดยในกลุม ไสเดอื นดนิ จะมกี น๋ึ (gizzard) และกระเพาะ พกั อาหาร (crop) เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการยอยอาหาร มีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปด แตละชนิดมีการแลกเปลี่ยนแกสแตกตางกันข้ึนอยูกับ บริเวณทอี่ าศัยอยู มกี ารขับถา ยโดยใชเมตาเนฟรเิ ดีย (metanephridia) สวนใหญมีการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ โดยไสเดือนทะเลเปนสัตวท่ีมีการแยกเพศ และปฏิสนธิภายนอก สวนไสเดือนดินและทากดูดเลือดจะมีสองเพศในตัวเดียวกัน (hermaphrodite) และมกี ารปฏสิ นธภิ ายในรา งกาย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115