Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปศึกษา ต้น

ศิลปศึกษา ต้น

Description: ศิลปศึกษา ต้น

Search

Read the Text Version

101 เรอ่ื งที่ 3 ประเภทของนาฏศิลปไ ทย นาฏศิลปไทย เปนศิลปะที่รวมศิลปะทุกแขนงเขาดวยกัน แบงออกเปน 5 ประเภท คือ โขน ละครรํา ระบํา การละเลนพนื้ เมอื ง 1.โขน เปนศิลปะของการรํา การเตน แสดงเปนเรื่องราว โดยมีศิลปะหลายรูปแบบผสมผสานกัน ลกั ษณะการแสดงโขนมหี ลายชนดิ ไดแ ก โขนกลางแปลง โขนนง่ั ราว โขนโรงใน โขนหนา จอ และ โขนฉาก ซงึ่ โขนแตล ะชนดิ มีลักษณะท่ีเปน เอกลักษณเ ฉพาะตวั ส่ิงสาํ คัญทีป่ ระกอบการแสดงโขน คือ บทที่ใชประกอบการแสดงจากเรื่องรามเกียรติ์ การแตงกายมีหัวโขน สําหรับสวมใสเวลาแสดง เพอื่ บอกลกั ษณะสาํ คัญ ตวั ละครมีการพากย เจรจา ขับรอ ง และดนตรบี รรเลงดวยวงปพาทย ยึด ระเบียบแบบแผนในการแสดงอยางเครงครัด การแสดงโขน ตอน ยกรบ

102 ประวัติความเปน มาของโขน โขน เปนการแสดง ที่กลาวกันวา ไดรับอิทธิพลการแสดงมาจากการละเลนของไทยหลาย แบบ นาํ มาผสมผสานกันจนเกดิ การแสดงทเี่ รียกวา โขน ดังจะไดกลาวดงั ตอ ไปนี้ 1. การแสดงชักนาคดกึ ดาํ บรรพ ซง่ึ เปน การแสดงตาํ นานของพระนารายณต อนกวนนาํ้ อมฤต โดยแบงผูแสดงออกเปน 2 ฝา ย คอื ฝายอสูร กบั ฝายเทวดา และวานร โดยอสูรจะเปน ผชู กั อยู ดานหัว สวนเทวดาและวานร ชักอยูดานลาง ใชพญานาคเปนเชือก เขาพระสุเมรุเปนแกนกลาง การ แสดงแนวคดิ นเ้ี ช่ือวา เปนตนเหตุใหมีการพัฒนาแบงผูแสดง เครื่องแตงกาย และนําแบบอยางมาเปน รปู แบบการแสดงโขน ไดแ กการแตง กาย เทวดา ยักษ ลิง 2. กระบ่ี กระบอง เปนการแสดงศิลปะการตอ สปู องกนั ตัวดว ยยุทธวธิ ี เปนศิลปะที่ชาว ไทยทุกคนตองเรียนรูและปองกันตนเอง และประเทศชาติ กระบวนทา ตา ง ๆ น้นั เชื่อวา โขนคง รับมาในทาทางของการตอสูของตัวแสดง 3. หนังใหญ เปน มหรสพของไทยในอดตี ใชหนังววั ฉลุเปน ภาพตวั ละครตาง ๆ เวลาแสดง จะใหแ สงสองตวั หนงั เกิดเงาท่ีงดงามบนจอผาขาว จุดเดนของหนังใหญ คอื การเตน ของผเู ชิดตัว หนงั ไปตามจงั หวะของตนตรี เรียกวา หนาพาทย และบทเจรจา ดงั น้ันโขน นาจะไดรบั อิทธิพลการ พากย และเจรจา จากการแสดงหนังใหญ เรื่องทีแ่ สดง จะใชว รรณคดีท่ีไดรบั อทิ ธิพลมาจากอินเดยี คือ รามเกียรต์ิ วีรกษตั ริยช าว อารยัน คือพระราม ทเี่ ปน ตัวเอกของเร่อื ง หนงั ใหญ

103 ประเภทของโขน โขน เปนศิลปะการแสดงที่มีการพัฒนา และเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพทางสังคม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ทําใหเกิดรูปแบบของโขน หลายรูปแบบ ซึ่งสามารถแบงประเภทตามลักษณะ องคประกอบของการแสดง ดังนี้ 1. โขนกลางแปลง เปนโขนที่แสดงกลางสนาม ใชธรรมชาติ เปนฉากประกอบ นิยมแสดง ตอนที่มีการทําศึกสงคราม เพราะจะตองใชตัวแสดงเปนจํานวนมาก และตองการแสดงถึงการเตน ของโขน การเคล่ือนทัพของทัง้ สองฝา ย การตอสู ระหวา งฝายพระราม พระลักษณ พลวานร กบั ฝา ย ยักษ ไดแกทศกณั ฑ ภาพโขนกลางแปลง 2. โขนโรงนอก หรือโขนนั่งราว เปนโขนที่มีวิวัฒนาการมาจากโขนกลางแปลง หากเปลี่ยน สถานที่แสดงบนโรง มีราวไมไผขนาดใหญอยูดานหลัง สําหรับตัวโขน นั่งแสดง รูปแบบของการ แสดงดาํ เนินเรอ่ื งดวยการพากยแ ละเจรจา

104 โขนโรงนอกหรอื โขนนง่ั ราว 3. โขนโรงใน เปนการนําเอารูปแบบการแสดงโขนโรงนอก มาผสมผสานกับการแสดง ละครใน ที่มีการขับรอง และการรายรําของผูแสดง ดําเนินเรื่องดวยการพากย เจรจา มีการขับรอง ประกอบทารํา เพลงระบําผสมผสานอยูดวย ภาพโขนโรงใน 4.โขนหนา จอ ไดแก โขนที่ใชจอหนังใหญเปนฉากประกอบการแสดง กลาวคือ มีจอหนัง ใหญเปนฉาก ที่ดานซายขวาเขียนรูปปราสาท และพลับพลาไวทั้งสองขาง ตัวแสดงจะออกแสดง ดา นหนา ของจอหนงั ดาํ เนินดวยการพากย เจรจา ขบั รอง รวมทง้ั มกี ารจัดระบํา ฟอนประกอบดวย

105 โขนหนา จอ 5. โขนฉาก เปนรูปแบบโขนท่พี ัฒนาเปนลําดับสุดทาย กลาวคือเปนการแสดงในโรง มีการ จัดทาํ ฉาก เปล่ยี นไปตามเรื่องราวทก่ี ําลังแสดง ดําเนินเร่อื งดว ยการพากย เจรจา และขบั รอ ง รายรํา ประกอบคํารองมีระบํา ฟอนประกอบ 2. ละคร คือ การแสดงท่เี ลนเปนเรื่องราว มุงหมายกอ ใหเกิดความบนั เทงิ ใจ สนกุ สนาน เพลดิ เพลนิ หรือเรา อารมณ ความรูสกึ ของผูดู ตามเร่อื งราวน้นั ๆ ขณะเดียวกันผูดกู ็จะไดแนวคิดคติ ธรรมและปรัชญา จากการละครนั้น ประเภทของละครไทย ละครไทยเปนละครที่มีพัฒนาการมาเปนลําดับ ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึง ปจจุบัน ดงั นั้นละครไทยจึงมีรูปแบบตา ง ๆ ซึ่งแบงออกเปน ประเภทใหญ ได ประเภท ดงั ตอไปน้ี 1.ละครราํ 2. ละครรอ ง 3. ละครพดู

106 1.ละครราํ เปนศิลปะการแสดงของไทยที่ประกอบดวยทารํา ดนตรีบรรเลง และบทขับรองดําเนินเรื่อง มีผูแสดงเปนตัวพระ ตัวนาง และตัวประกอบแตงองคทรงเครื่องตามบท งดงามระยับตา ทารําตาม บทรองประสานทํานองดนตรีบรรเลง จังหวะชา เร็ว เราอารมณ ใหเกิดความรสู ึกตามบทละครทั้ง คึกคัก สนุกสนาน หรือโศกเศรา ตัวละครสื่อความหมายบอกกลาวตามอารมณดวยภาษาทา โดยมีผู ขับรอง คือผูเลาเรื่องดวยทํานองเพลงตามบทละคร ซึ่งเปนคําประพันธ ประเภทคํากลอน บทละคร มีการบรรยายความวา ตวั ละครเปน ใคร อยูที่ไหน กําลังทาํ หรอื คิดส่ิงใด และมที าํ นอง เพลงรอ ง เพลงหนาพาทย ประกอบทารําบรรจุไวในบทกลอน ตามรูปแบบศิลปะการแสดงละครรํา ดนตรีใช วงปพาทยบรรเลงประกอบการแสดง ละครรําแบงการแสดงออกเปน 6 ชนดิ คือ ละครนอก ละครใน ละครดึกดาํ บรรพ ละคร พันทาง ละครเสภา และละครชาตรีเครื่องใหญ ภาพละครในเรื่องอเิ หนา

107 ละครชาตรีเรื่องมโนราห ละครนอกเรอื่ งสงั ขทอง 2.ราํ และระบาํ เปนการแสดงชุดเบ็ดเตล็ด มีหลายรูปแบบ ไดแกรําหนาพาทย การรําบท การรําเดี่ยวการรําหมู ระบํามาตรฐาน ระบําทป่ี รับปรงุ ขึ้นใหม ราํ หรือ ระบาํ สว นใหญ จะเนน ใน เรื่องสวยงาม ความพรอมเพรียง ถาเปนการแสดงหมูมาก ตลอดทั้งใชระยะเวลาการแสดงสั้น ๆชม แลว ไมเ กดิ ความเบ่ือหนา ย

108 ราํ สนี วล ฉยุ ฉายพราหมณ 3. การละเลน พน้ื เมือง การละเลน พน้ื เมืองเปนการละเลนในทอ งถ่ินทสี่ บื ทอดกันมาเปน เวลานาน แบงออกเปน ภาคกลางภาคเหนือ ภาคใต ภาคอสี าน แตล ะภาคจะมีลักษณะเฉพาะในการแสดง ท้ังน้ีข้ึนอยูกบั ปจจัยหลายประการไดแกสภาพภูมิศาสตร ประเพณี ศาสนา ความเชื่อและคานิยม ทําใหเกดิ รปู แบบ การละเลนพื้นเมืองขึ้นหลายรูปแบบ ไดแก รูปแบบการแสดงที่เปนเรื่องราวของการรองเพลง เชน เพลงเก่ียวขาว เพลงบอก เพลงซอ หรือรปู แบบการแสดง เชน ฟอ นเทียน เซงิ้ กระหยงั ระบาํ ตา รกี ีปส ซ่งึ แตละรปู แบบน้ีจะมีทั้งแบบอนุรักษป รบั ปรงุ และพัฒนา เพ่ือใหดาํ รงอยูสืบไป

109 ภาพฟอ นเทยี น

110 เร่ืองท่ี 4 นาฏยศพั ท นาฏยศัพท หมายถึง ศัพทเฉพาะในทางนาฏศิลป ซึง่ เปน ภาษาทใี่ ชเ ปน สัญลกั ษณและส่อื ความหมายกันในวงการนาฏศิลปไทย นาฏยศัพท แบงออกเปน 3 หมวด คอื 1. หมวดนามศัพท หมายถึง ทารําสื่อตางๆ ที่บอกอาการของทานั้นๆ - วง เชน วงบน วงกลาง - จีบ เชน จีบหงาย จบี ควาํ่ จบี หลัง - ทาเทา เชน ยกเทา ประเทา กระดก 2. หมวดกิริศัพท คือ ศัพททใ่ี ชในการปฏบิ ัตอิ าการกริ ิยา แบง ออกเปนศพั ทเสริมและศพั ท เสอ่ื ม - ศพั ทเ สริม หมายถงึ ศัพทท ี่ใชเสริมทว งทใี หถกู ตอ งงดงาม เชน ทรงตัว สง มือ เจยี ง ลักคอ กดไหล ถีบเขา เปน ตน - ศพั ทเส่ือม หมายถึง ศพั ทท ่ใี ชเรียกทารําทไ่ี มถ ูกระดบั มาตรฐาน เพ่ือใหผ ูรํารูตัว และตองแกไขทว งทีของตนใหเ ขาสรู ะดบั เชน วงลา วงตัก วงลน ราํ เลอ้ื ย รําลน เปนตน 3. หมวดนาฏยศพั ทเบด็ เตล็ด คือ ศพั ทท น่ี อกเหนือจากนามศัพท กิริยาศพั ท ซึ่งจดั ไวเปน หมวดเบ็ดเตลด็ มีดงั น้ี เหลี่ยม หมายถึง ระยะเขาทั้งสองขางแบะออก กวาง แคบ มากนอยสุดแตจะเปนทาของ พระ หรือนาง ยกั ษ ลงิ เหลี่ยมทีก่ วางทสี่ ดุ คอื เหล่ยี มยกั ษ เดนิ มอื หมายถึง อาการเคลื่อนไหวของแขนและมือ เพื่อเชื่อมทา แมท า หมายถึง ทารําตามแบบมาตรฐาน เชน แมบท ขึน้ ทา หมายถึง ทาที่ประดิษฐใหสวยงาม แบงออกเปน ก. ข้นึ ทา ใหญ มีอยู 4 ทา คือ (1) ทาพระสี่หนา แสดงความหมายเจริญรุงเรือง เปนใหญ (2) ทา นภาพร แสดงความหมายเชน เดยี วกบั พรหมสห่ี นา (3) ทาเฉิดฉิน แสดงความหมายเกี่ยวกับความงาม

111 (4) ทาพิสมัยเรียงหมอน มีความหมายเปนเกียรติยศ ข. ขึน้ ทานอย มอี ยูหลายทาตางกนั คือ (1) ทามือหน่งึ ตั้งวงบัวบาน อกี มือหน่งึ จบี หลงั (2) ทายอดตองตองลม (3) ทาผาลาเพียงไหล (4) ทามือหนึ่งตั้งวงบน อีกมือหนึ่งตั้งวงกลาง เหมือนทาบังสุริยา (5) ทาเมขลาแปลง คือมือขางที่หงายไมตองทํานิ้วลอแกว พระใหญ – พระนอ ย หมายถึง ตัวแสดงท่ีมีบทสาํ คญั พอๆ กนั พระใหญ หมายถึงพระเอก เชน อิเหนา พระราม สวนพระนอย มีบทบาทเปนรอง เชน สังคามาระตา พระลักษณ นายโรง หมายถึง พระเอก เปนศัพทเฉพาะละครรํา ยืนเครื่อง หมายถึง แตงเครื่องละครรําครบเครื่อง นางกษัตริย บุคลิกทว งทเี รียบรอ ย สงา มีทีทา เปนผูดี นางตลาด ทวงทีวองไว สะบัดสะบิ้งไมเรียบรอย เชน นางยักษ นางแมว เปน ตน ทา “เฉดิ ฉนิ ” นาฏยศัพท มือขวาตั้ง “วงบวั บาน” มอื ซายต้ัง”วงหนา ” เทา ซา ย “กระดกหลงั ”

112 ภาษาทา หมายถึง การแสดงกิริยาทาทางเพื่อสื่อความหมายแทนคําพูด สวนมากใชในการ แสดงนาฏศิลปและการแสดงละครตางๆ ภาษาทาแบงเปน 3 ประเภท ดงั นี้ 1. ทาทางที่ใชแทนคําพูด เชน ไป มา เรียก ปฏิเสธ 2. ทาทางท่ใี ชแทนอารมณภ ายใน เชน รกั โกรธ ดใี จ เสยี ใจ 3. ทา แสดงกริ ิยาอาการหรืออิรยิ าบถ เชน ยนื เดิน นัง่ การรายรําทาตางๆ นํามาประกอบบทรองเพลงดนตรี โดยมุงถึงความสงางามของลีลาทา รํา และจําเปนตองอาศัยความงามทางศิลปะเขาชวย วิธีการใชทาทางประกอบบทเรียน บทพากย และ เพลงดนตรพี ันทางนาฏศิลปเรียกวา การตีบท หรือการรําบท

113 เรือ่ งท่ี 5 ราํ วงมาตรฐาน ประวัตริ ําวงมาตรฐาน รําวงมาตรฐาน เปนการแสดงมาจากรําโทน เปนการละเลนพนบานอยางหนึ่งของชาวไทย ที่บง บอกถึงความสนุกสนาน ซึง่ แตเ ดิมรําโทนก็เลนกันเปนวง จึงเรียกวา “ราํ วง” แตเดิมไมมีคําวา “มาตรฐาน” จะเรียกกนั วา รําวงเทานั้น ตอมาราวสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ไดม กี ารปรบั ปรุงการเลน ราํ โทนใหง ดงามตามแบบของกรมศิลปากร ทั้งการรอง และการรายรําใหมีความงดงามเปนแบบฉบับ กลางๆ ทีจ่ ะรอ งเลน ไดทั่วไปในทกุ ภาค และเปลีย่ นจากการเรียกวา รําโทน เปนราํ วง เพราะประการ ทหี่ นึง่ เครอ่ื งดนตรีท่ใี ชมีมากกวา ฉิ่ง กรับ และโทน เพ่ือเพ่มิ ความสนุกสนาน และความไพเราะให ถูกหลักทั้งไทยและสากล ประการที่สอง แตเดิมรําโทนก็เลนกันเปนวงการเปลี่ยนจากรําโทนเปนรํา วง กย็ ังคงรปู ลกั ษณเดิมไวสว นท่พี ัฒนาคือทา รํา จดั ใหเ ปนทา ราํ ไทยพ้ืนฐานอยา งงายๆ สโู ลกสากล เรียนรูงาย เปนเร็ว สนุก และเปนแบบฉบับของไทยโดยแท ทางดานเนื้อรองไดพัฒนาในทํานอง สรางสรรค รําวงที่พัฒนาแลวนี้เรียกวา รําวงมาตรฐาน เนื้อเพลงในรําวงมาตรฐานมีทั้งหมด 10 เพลง แตละเพลงจะบอกทารํา (จากแมบท) ไวใหพ รอมปฏิบัติ ชอื่ เพลงราํ วงมาตรฐานและทาราํ ที่ใช ทา ราํ ช่ือเพลง 1. สอดสรอยมาลา 1. งามแสงเดือน 2. ชักแปงผดั หนา 2. ชาวไทย 3. ราํ สาย 3. รํามาซิมารํา 4. สอดสรอยมาลาแปลง 4. คนื เดือนหงาย 5. แขกเตาเขา รัง 5. ดวงจนั ทรว นั เพ็ญ เพลงรําวงมาตรฐาน 1. เพลงงานแสงเดอื น รําทา สอดสรอยมาลา งามแสงเดือนมาเยือนสองหลา งามใบหนาเมื่ออยูวงรํา (2 เท่ียว) เราเลน เพอ่ื สนกุ เปล้อื งทุกขวายระกํา ขอใหเ ลน ฟอนราํ เพอ่ื สามัคคี เอย.

114 2. เพลงชาวไทย ราํ ทา ชกั แปงผัดหนา ชาวไทยเจาเอย ขออยาละเลยในการทําหนาที่ การที่เราไดเ ลนสนกุ เปลื้องทุกขสบายอยางนี้ เพราะชาติเราไดเสรี มีเอกราชสมบูรณ เราจึงควรชวยชาติ ใหเกงกาจเจิดจํารูญ เพ่อื ความสขุ เพ่ิมพนู ของชาวไทยเรา เอย. 3. เพลงราํ ซมิ ารํา รําทา ราํ สาย เรงิ ระบํากนั ใหส นกุ รํามาซิมารํา ไมล ะไมท ง้ิ จะเกดิ เข็ญขกุ ตามเชิงเชนเพื่อใหสรางทุกข ยามงานเราทํางานจริงจริง เลน สนกุ อยา งวฒั นธรรม ถึงยามวางเราจึงรําเลน ตามเยี่ยมอยางตามยุค ใหงามใหเรียบจึงจะคมขาํ มาเลนระบําของไทยเรา เอย. เลน อะไรใหม ีระเบยี บ มาซิมาเจาเอยมาฟอนรํา 4. เพลงคนื เดอื นหงาย ราํ ทา สอดสรอยมาลาแปลง ยามกลางคืนเดือนหงาย เยน็ พระพายโบกพลิว้ ปลวิ มา เย็นอะไรกไ็ มเย็นจติ เทาเยน็ ผกู มติ รไมเบ่ือระอา เย็นรมธงไทยปกไทยมั่วหลา เยน็ ยง่ิ น้าํ ฟามาประพรม เอย. ชอื่ เพลง ทา ราํ 6. ดอกไมของชาติ 6. รํายวั่ 7. หญิงไทยใจงาม 7. พรหมสห่ี นา , ยงู ฟอ นหาง 8. ดวงจนั ทรข วัญฟา 8. ชางประสานงา, จนั ทรท รงกลดแปลง 9. ยอดชายใจหาญ 9. (หญงิ ) ชะนีรายไม (ชาย) จอเพลิงกาฬ 10. บูชานักรบ 10. เทย่ี วแรก (หญงิ ) ขัดจางนาง (ชาย) จันทรท รงกลด เทย่ี วสอง (หญงิ ) ลอ แกว (ชาย) ขอแกว

115 ลักษณะทารําแบบตา งของรําวงมาตรฐาน ทา สอดสรอยมาลา ทา ชกั แปง ผัดหนา

116 ทา นกแขกเตาเขา รัง

117 เรื่องที่ 6 การอนุรกั ษน าฏศิลปไ ทย นาฏศิลปไทย เปนผลผลิตทางวัฒนธรรมที่เปนรูปธรรม ซึ่งนับเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่ บรรพบุรุษของเราไดสรางและสั่งสมภูมิปญญามาแตโบราณ เปนสิ่งที่แสดงถึงเอกลักษณของชาติ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความเปนอารยประเทศของชาติไทยที่มีความเปนเอกราชมาชานาน นานา ประเทศในโลกตางชื่นชนนาฏศิลปไทยในความงดงามวิจิตรบรรจง เปนศิลปะที่มีคุณคาควรแกการ อนรุ กั ษแ ละสบื ทอด แนวทางในการอนรุ ักษนาฏศิลปไ ทย 1. การอนุรักษรูปแบบ หมายถึง การรักษาใหคงรูปดังเดิม เชน เพลงพื้นบานก็ตองรักษา ข้ันตอนการรอง ทาํ นอง การแตงกาย ทารํา ฯลฯ หรือหากจะผลติ ขึ้นใหมกใ็ หรักษารูปแบบเดิมไว 2. การอนุรกั ษเ น้ือหา หมายถึง การรักษาในดา นเนื้อหาประโยชนค ณุ คาดวยวิธีการผลิต การรวบรวมขอมูลเพื่อการศึกษา เชน เอกสาร และสื่อสารสนเทศตางๆ การอนุรกั ษท ั้ง 2 แบบนี้ หากไมมีการสืบทอดและสงเสริม ก็คงไวป ระโยชนในท่นี ี้จะขอ นําเสนอแนวทางในการสง เสริมเพอื่ อนุรักษนาฏศลิ ปไ ทย ดงั น้ี 1. จัดการศึกษาเฉพาะทาง สงเสริมใหมีสถาบันการศึกษาดานนาฏศิลปจัดการเรียนการ สอน เพื่อสืบทอดงานศิลปะดานนาฏศิลป เชน วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันเอกชน องคกรของรัฐบาง แหง ฯลฯ 2. จัดการเรยี นการสอนในข้ันพน้ื ฐาน โดยนาํ วชิ านาฏศลิ ปจัดเขา ในหลกั สูตรและเขา สู ระบบการเรียนการสอนทุกระดับ ตามระบบที่ควรจะใหเยาวชนไดรับรูเปนขั้นตอนตั้งแตอนุบาล – ประถม มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ตลอดจนสถาบันการศึกษาทุกระดับ จัดรวบรวมขอมูลตางๆ เพื่อประโยชนตอการศึกษาคนควา และบริการแกชุมชนไดดวย 3. มกี ารประชาสมั พันธในรปู แบบส่ือโฆษณาตา งๆ ทั้งวิทยุ โทรทศั น และหนงั สือพิมพ โดยนําศิลปวัฒนธรรมดานนาฏศิลปเขามาเกี่ยวของเพื่อเปนการสรางบทบาทของความเปนไทยให เปนที่รูจกั 4. จดั เผยแพร ศลิ ปวฒั นธรรม ในรปู แบบการแสดงนาฏศลิ ปแกห นว ยงานรฐั และเอกชน โดยทั่วไปทั้งภายในประเทศและตางประเทศ 5. สงเสริมและปลูกฝงมรดกทางศิลปวัฒนธรรมภายในครอบครัว ใหรูซึ้งถึงความเปน ไทยและอนุรักษรักษาเอกลักษณไทย

118 กิจกรรมที่ 1 ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง บอกที่มาและประเภทของนาฏศิลปไทยได คําช้ีแจง ใหผเู รียนตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. นาฏศิลปไทยเกิดขึ้นจากเหตุใด 2. นาฏศิลปไทยมีกี่ประเภท อะไรบาง จงอธิบาย 3. ใหผ ูเรียนเขียนชือ่ การแสดงรําและระบําของนาฏศิลปไทยที่เคยชมใหมากที่สุด 4. ใหผ ูเ รียนหาภาพและประวัติการแสดงเกี่ยวกับนาฏศิลปไ ทย กจิ กรรมที่ 2 ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง 1. บอกความหมายของนาฏยศัพทได 2. เขาใจสุนทรียะของการแสดงนาฏศิลปไทยตามหลักการใชภาษาทา คําชแ้ี จง ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. อธิบายความหมายของนาฏศัพท พรอมยกตัวอยางพอสังเขป 2. อธิบายความหมายของภาษาทาในนาฏศิลปไทย 3. แบง กลมุ คดิ ภาษาทา กลมุ ละ 3 ประโยค ออกมาแสดงภาษาทาที่คิดไวท ลี ะกลมุ โดยให กลุมอน่ื เปนผทู ายวา ภาษาทา นนั้ ๆ หมายถงึ อะไร กจิ กรรมที่ 3 ผลการเรยี นรทู ่คี าดหวัง 1. แสดงความรูสึก ความคิดเห็นไดอยางมีเหตุผลและสรางสรรค 2. รับฟงความคิดเห็นของผอู ่ืนและนําไปปรบั ใชไดอ ยางมีเหตุผล คาํ ชแี้ จง ใหผูเรยี นบอกช่ือการแสดงนาฏศิลปไทยที่เคยชม แลวแสดงความคิดเห็น 1. เร่ืองทช่ี ม 2. เนอ้ื เร่ือง 3. ตวั แสดง 4. ฉาก 5. ความเหมาะสมของการแสดง

119 กิจกรรมท่ี 4 ผลการเรียนรูทีค่ าดหวงั 1. บอกประวัติความเปนมาของรําวงมาตรฐานได 2. แสดงรําวงมาตรฐานไดอยางถูกตองเหมาะสม คาํ ชแี้ จง 1. จงอธิบายประวัติความเปนมาของรําวงมาตรฐาน 2. รําวงมาตรฐานนําไปแสดงในโอกาสใดบาง จงอธิบาย 3. ใหผ เู รียนแบงกลมุ ฝก การแสดงรําวงมาตรฐาน กลุมละ 3 เพลง แสดงใหเพอ่ื นดทู ีละ กลุม กิจกรรมท่ี 5 ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั รูคุณคาของนาฏศิลปไทยและแนวทางอนุรักษนาฏศิลปไทย คาํ ชีแ้ จง ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. ถาหากไมมีนาฏศิลปไทย ประเทศไทยจะเปนอยางไร 2. ผเู รียนมีแนวทางการอนุรกั ษน าฏศลิ ปไทยอยางไรบาง

120 บทที่ 4 นาฏศิลปไทยกับการประกอบอาชีพ นาฏศิลปไทยเปนการแสดงศิลปะที่เปนเอกลักษณของไทย เปนเรือ่ งที่มีความเกีย่ วของ สัมพันธกับประวัติศาสตรไทย วัฒนธรรมไทย เปนการละเลนเพือ่ ความบันเทิง รืน่ เริงของชาวบาน ภายหลงั ฤดเู กบ็ เก่ยี ว นาฏศิลปไทยมีหลายประเภท เชน โขน ละคร ราํ การละเลนพ้ืนเมือง เปน ตน สําหรับแนวทางในการประกอบอาชีพนาฏศิลปไทยนัน้ ไดแก อาชีพการละเลนพืน้ เมือง ของแตล ะภาค ดังน้ี 1. อาชพี การแสดงหนงั ตะลงุ 2. อาชีพการแสดงลิเก 3. อาชพี การแสดงหมอลาํ ผูเ รียนสนใจทีจ่ ะศึกษาแนวทางการประกอบอาชีพดานนีต้ องมีความสนใจ และมีความ เช่อื มน่ั ในตัวเอง พรอมท่ีจะเรยี นรูส ่งิ ตางๆ เก่ยี วกบั อาชพี ดงั กลา ว คุณสมบัตขิ องอาชีพนักแสดงทด่ี ี ในการแสดงบทบาทตางๆ นักแสดงตองมีความรับผิดชอบ มีการซอมบทบาททีต่ องแสดง โดยการศึกษาเนื้อเรือ่ ง และบททีไ่ ดรับมอบหมายใหแสดง แสดงบทตลก บททีเ่ ครงเครียด โดยการ ใชถอยคําหรือกิริยาทาทาง แสดงประกอบ อาจรองเพลง เตนรํา หรือฟอนรํา อาจชํานาญในการ แสดงบทบาทอยางใดอยางหนึง่ หรือการแสดงประเภทใดประเภทหนึง่ และอาจมีชือ่ เรียกตาม บทบาทหรือประเภทของการแสดง คุณลกั ษณะของผูประกอบอาชีพการแสดง 1. มีความถนัดทางศิลปะการแสดง 2. มีสุนทรียะ สนใจสิ่งสวยงาม ดนตรี วรรณกรรม 3. มอี ารมณอ อนไหว 4. มีจินตนาการสูง มีความคิดสรางสรรค และไมลอกเลียนแบบใคร โอกาสกา วหนา ในอาชพี เปนนักแสดง โอกาสกาวหนาขึน้ อยูก ับความสามารถของผูแสดง และความนิยมของผูชม ทง้ั นีอ้ ยูทีก่ ารพฒั นาตนเองและการใฝหาความรูของผูท ีจ่ ะประกอบอาชีพ

121 1. อาชีพการแสดงหนงั ตะลงุ หนังตะลุง คือ ศิลปะการแสดงประจําทองถิ่นอยางหนึ่งของภาคใต เปนการเลาเรือ่ งราวที่ ผูกรอยเปนนิยาย ดําเนินเรือ่ งดวยบทรอยกรองทีข่ ับรองเปนลําเนียงทองถิน่ หรือทีเ่ รียกกันวาการ “วาบท” มีบทสนทนาแทรกเปนระยะ และใชการแสดงเงาบนจอผาเปนสิง่ ดึงดูดสายตาของผูช ม ซึง่ การวาบท การสนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนังตะลุงเปนคนแสดงเองทั้งหมด หนงั ตะลงุ เปน มหรสพทีน่ ิยมแพรหลายอยางยิง่ มาเปนเวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัยกอน ทีจ่ ะมีไฟฟาใชกันทัว่ ถึงทุกหมูบานอยางในปจจุบัน หนังตะลุงแสดงไดทัง้ ในงานบุญและงานศพ ดังนั้นงานวัด งานศพ หรืองานเฉลิมฉลองที่สําคัญจึงมักมีหนังตะลุงมาแสดงใหชมดวยเสมอ ปจจุบัน โครงการศิลปนแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ ไดสงเสริม ใหมีการอนุรักษและสืบทอดศิลปะการแสดงหนังตะลุงใหแกอนุชนรุนหลัง เพื่อรักษามรดกทาง วัฒนธรรมอนั ทรงคณุ คานีใ้ หคงอยสู ืบไป ประวตั คิ วามเปนมาของหนงั ตะลุง นักวิชาการหลายทานเชื่อวา มหรสพการแสดงเงาจําพวกหนังตะลุง เปนวัฒนธรรมเกาแก ของมนุษยชาติ ปรากฏแพรหลายมาทัง้ ในแถบประเทศยุโรป และเอเชีย โดยมีหลักฐานปรากฏวา เมื่อครัง้ พระเจาอเล็กซานเดอรมหาราชมีชัยชนะเหมือนอียิปต ไดจัดใหมีการแสดงหนัง (หรือ การละเลนทีค่ ลายกัน) เพือ่ เฉลิมฉลองชัยชนะและประกาศเกียรติคุณของพระองค และเชือ่ วา มหรสพการแสดงเงานีม้ ีแพรหลายในประเทศอียิปตมาแตกอนพุทธกาล ในประเทศอินเดียพวก พราหมณแสดงหนังทีเ่ รียกกันวา ฉายานาฏกะ เรือ่ งมหากาพยรามายณะ เพือ่ บูชาเทพเจาและสดุดี วีรบุรุษ สวนในประเทศจีนมีการแสดงหนังสดุดีคุณธรรมความดีของสนมเอกแหงจักรพรรดิ์ยวนต่ี (พ.ศ. 411 – 495) ในสมัยตอมา การแสดงหนังไดแพรหลายเขาสูในเอเชียอาคเนย เขมร พมา ชวา มาเลเซีย และประเทศไทย คาดกันวา หนังใหญคงเกิดขึน้ กอนหนังตะลุง และประเทศแถบนีค้ งจะไดแบบมา จากอินเดีย เพราะยังมีอิทธิพลของพราหมณหลงเหลืออยูม าก เรายังเคารพนับถือฤาษี พระอิศวร พระนารายณ และพระพรหม ยิง่ เรือ่ งรามเกียรติ์ ยิ่งถือวาเปนเรื่องขลังและศักดิ์สิทธิ์ หนังใหญจึง

122 แสดงเฉพาะเรื่องรามเกียรติ์ เริ่มแรกคงไมมีจอ คนเชิดหนังใหญจึงแสดงทาทางประกอบการเชิดไป ดว ย เครอ่ื งดนตรีหนังตะลุง เครอ่ื งดนตรหี นงั ตะลุงในอดตี มีความเรียบงาย ชาวบานในทองถิ่นประดิษฐขึ้นไดเอง มีทับ กลอง โหมง ฉิง่ เปนสําคัญ สวนป เกิดขึน้ ภายหลัง แตก็ยังเปนเครือ่ งดนตรีที่ชาวบานประดิษฐได เองจนเมือ่ มีวัฒนธรรมภายนอกเขามา หนังตะลุงบางคณะจึงนําเครือ่ งดนตรีใหมๆ เขามาเสริม เชน กลองชุด กีตาร ไวโอลิน ออรแกน เมื่อเครื่องดนตรีมากขึ้น จํานวนคนในคณะก็มากขึน้ ตนทุนจึง สูงขึ้น ทําใหตองเรียกคาราด (คาจางแสดง) แพงขึ้น แตหนังตะลุงหลายคณะก็ยังรักษาเอกลักษณ เอาไว เครอ่ื งดนตรสี าํ คญั ของหนงั ตะลงุ มีดงั ตอไปน้ี ทบั ของหนังตะลุงเปนเครื่องกํากับจังหวะและทวงทํานองทีส่ ําคัญทีส่ ุด ผูบ รรเลงดนตรีชิน้ อืน่ ๆ ตองคอยฟงและยักยายจังหวะตามเพลงทับ นักดนตรีทีส่ ามารถตีทับไดเรียกวา “มือทับ” เปน คํายกยองวาเปนคนเลนทับมือฉมัง รปู หนงั ตะลุง ตวั ตลกหนังตะลุง

123 ตัวตลกหนังตะลุง เปนตัวละครทีม่ ีความสําคัญอยางยิง่ และเปนตัวละครที่ “ขาดไมได” สําหรับการแสดงหนังตะลุง บทตลกคือเสนหหรือสีสัน ที่นายหนังจะสรางความประทับใจใหกับ คนดู เมื่อการแสดงจบลง สิง่ ทีผ่ ูช มจําได และยังเก็บไปเลาตอก็คือบทตลก นายหนังตะลุงคนใดที่ สามารถสรางตัวตลกไดมีชีวิตชีวาและนาประทับใจ สามารถทําใหผูชมนําบทตลกนัน้ ไปเลาขานตอ ไดไมรูจบ ก็ถือวาเปนนายหนังที่ประสบความสําเร็จในอาชีพโดยแทจริง ตัวตลกหนังตะลุงมีชื่อ ดงั ตอไปน้ี 1. อา ยเทง 2. อายหนูนยุ 3. นายยอดทอง 4. นายสแี กว 5. อายสะหมอ ขั้นตอนการแสดงหนงั ตะลงุ หนงั ตะลุงทกุ คณะจะนยิ มเลน เปน แบบเดยี วกันโดยมกี ารลาํ ดบั การเลน ดงั นี้ 1. ต้งั เครอื่ งเบิกโรง เปน การทาํ พธิ เี อาฤกษ ขอทต่ี ัง้ โรงและปด เปาเสนียดจัญไร เริ่มโดยเมื่อ คณะหนังขึน้ โรงแลว นายหนังจะตกี ลองนาํ เอาฤกษ ลกู คบู รรเลงเพลงเชิด ช้นั นเี้ รยี กวาตง้ั เครอื่ ง 2. โหมโรง การโหมโรงเปนการบรรเลงดนตรีลวนๆ เพื่อเรียกคนดู และใหนายหนังได เตรียมพรอม การบรรเลงเพลงโหมโรงเดิมทีเ่ ลากันวาใช “เพลงทับ” คือใชทับเปนตัวยืนและเดิน จังหวะทํานองตางๆ กันไป 3. ออกลิงหัวค่าํ เปนธรรมเนียมการเลนหนังตะลุงสมัยกอน ปจจุบันเลิกเลนแลว เขาใจวา ไดรับอทิ ธพิ ลจากหนังใหญ เพราะรปู ทใ่ี ชสวนใหญเปนรูปจับ มีฤาษีอยูกลาง ลิงขาวกับลิงดําอยูคน ละขาง แตร ูปท่แี ยกเปนรปู เดีย่ วๆ 3 รูป แบบเดียวกับของหนังตะลุงก็มี 4. ออกฤาษี เปนการเลนเพื่อคารวะครู และปดเปาเสนียดจัญไร โดยขออํานาจจากพระ พรหม พระอิศวร พระนารายณ และเทวะอื่นๆ และบางหนังยังขออํานาจจากพระรัตนตรยั ดว ย 5. ออกรูปฉะ หรือรูปจับ คําวา “ฉะ” คือสูร บ ออกรูปฉะเปนการออกรูปจากพระรามกับ ทศกัณฐใหตอสูก ัน วิธีเลนใชทํานองพากยคลายหนังใหญ การเลนชุดนี้หนังตะลุงเลิกเลนไปนาน แลว 6. ออกรูปปรายหนาบท รูปปรายหนาบท เปนรูปผูช ายถือดอกบัวบาง ธงชาติบาง ถือเปน ตัวแทนของนายหนัง ใชเลนเพือ่ ไหวครู ไหวสิง่ ศักดิส์ ิทธิแ์ ละผูท ีห่ นังเคารพหนังถือทั้งหมดตลอด ท้ังใชร องกลอน ฝากเน้ือฝากตัวกบั ผชู ม

124 7. ออกรูปบอกเรือ่ ง รูปบอกเรือ่ งเปนรูปตลก หนังสวนใหญใชรูปขวัญเมืองเลนเพือ่ เปน ตัวแทนของนายหนัง ไมมีการรอง กลอน มีแตพูด จุดประสงคของการออกรูปนี้เพื่อบอกกลาวกับ ผชู มถึงเรอ่ื งนิยายที่หนงั จะหยิบยกขนึ้ แสดง 8. เกี้ยวจอ เปนการรองกลอนสั้นๆ กอนตั้งนามเมืองเพือ่ ใหเปนคติสอนใจแกผูชม หรือ เปนกลอนพรรณนา ธรรมชาติและความในใจ กลอนทีร่ องนี้หนังจะแตงไวกอน และถือวามีความ คมคาย 9. ตั้งนามเมือง หรือตั้งเมือง เปนการออกรูปกษัตริย โดยสมมติขึน้ เปนเมืองๆ หนึง่ จากนัน้ จงึ ดําเนินเหตุการณไ ปตามเร่ืองทีก่ ําหนดไว วัตถปุ ระสงคการเลนหนังตะลุง จากทีก่ ลาวมา เปนขนบนิยมในการเลนหนังเพือ่ ความบันเทิงโดยทัว่ ๆ ไป แตหากเลน ประกอบพิธีกรรม จะมีขนบนิยมเพิม่ ขึ้น การเลนเพื่อประกอบพิธีกรรมมี 2 อยาง คือเลนแกเหมรย และเลนในพิธีครอบมือ การเลนแกเหมรยเปนการเลนเพือ่ บวงสรวง ครุหมอหนังหรือสิง่ ศักดิ์สิทธิ์ ตามพันธะที่บนบานไว หนังตะลุงทีจ่ ะเลนแกเหมรยไดตองรอบรูในพิธีกรรมอยางดี และผานพิธี ครอบมือถูกตอ งแลว การเลน แก เหมรยจะตองดูฤกษยามใหเหมาะ เจาภาพตองเตรียมเครือ่ งบวงสรวงไวใหครบถวนตามทีบ่ นบาน ไว ขนบนิยมในการเลนทัว่ ๆไปแบบเดียวกับเลนเพือ่ ความบันเทิง แตเสริมการแกบนเขาไปในชวง ออกรปู ปรายหนาบท โดยกลาวขับรองเชิญครูหมอหรือสิ่งศักดิส์ ิทธิ์มารับเครื่องบวงสรวง ยก เรือ่ งรามเกียรติต์ อนใดตอนหนึ่งทีพ่ อจะแกเคล็ดวาตัดเหมรยไดขึน้ แสดง เชน ตอนเจาบุตรเจาลบ เปนตน จบแลวชุมนุมรูปตางๆมีฤาษีเจาเมือง พระ นาง ตัวตลก ฯลฯ โดยปกรวมกันหนาจอเปน ทํานองวาไดรวมรูเ ห็นเปนพยานวาเจาภาพไดแกเหมรยแลว แลวนายหนังใชมีดตัด หอเหมรยขวาง ออกนอกโรง เรยี กวา “ตดั เหมรย” เปนเสร็จพิธี สวนการครอบมือเปนพิธีที่จัดขึน้ เพือ่ ยอมรับนับถือ ครูหนังแตครัง้ บุรพกาล ซึง่ เรียกวา “ครูตน” มีพระอุณรุทธไชยเถร พระพิราบหนาทอง ตาหนุย ตา หนักทอง ตาเพชร เปนตน

125 ตวั อยางผทู ีป่ ระสบความสําเร็จในอาชีพการแสดงหนังตะลุง นายหนงั พรอ มนอ ย นายหนังพรอมนอย ตะลุงสากล เปนนายหนังผูห นึง่ ทีไ่ ดรับความนิยมจากประชาชนทีม่ ี ความชืน่ ชอบการแสดงหนังตะลุงของนายหนังพรอมนอย ตะลุงสากล เนือ่ งจากมีคุณลักษณะใน การแสดงหนงั ตะลุงหลายๆ ดา นรวมกนั เชน 1. มีเสยี งเพราะน้ําเสียงในการขับบทกลอนที่มีเสียงดังฟงชัด 2.มีความรอบรูทั้งทางโลกและทางธรรม 3. มีการนําเหตุการณบานเมืองในปจจุบันมาทําการแสดงเขากับวรรณกรรม 4. สอดแทรกมุขตลก นายหนงั พรอ มนอ ย ตะลุงสากล มคี ุณลกั ษณะในเร่อื งของเสียงนายหนังพรอมนอย ตะลุงสากล เปน นายหนังทีม่ ีนํา้ เสียงที่สามารถแสดงหนังตะลุงติดตอกันหลายชัว่ โมงโดยเสียงไมแหบและสามารถ เลียนเสียงตัวหนังแตละตัวทีเ่ อกลักษณของน้ําเสียงแตกตางกันออกไปไดอยางเหมาะสม สามารถ ถายทอดใหผูชมไดรับรูถึงบทบาทของนายหนังไดเปนอยางดี วรรณกรรมทแ่ี สดงหนังพรอมนอย ตะลุงสากล มีการนําคติสอนใจมาสอดแทรกในเนื้อหา การแสดงสอนใหผูชมไดรับรูถึงคําสอนในทางโลกและทางธรรม วรรณกรรมที่แสดงเขากับยุคสมัย โดยการนําเหตุการณในทองถิน่ เหตุการณการเมืองการปกครองมาดัดแปลงในการแสดงเพือ่ เปน สื่อกลางใหชาวบานผูชมทราบถึงเหตุการณบานเมืองในปจจุบัน เรือ่ งมุขตลกหนังพรอมนอย ตะลุง สากลมีวิธีการแสดงโดยนํามาสอดแทรกในเรื่องทําใหการแสดงหนังตะลุงเปนเรื่องสื่อบันเทงใหกับ ชาวบานในทองถิ่นไดมีความสนุกมีสวนรวมไปกับการแสดงหนังตะลุง หนังพรอ มนอ ย ตะลงุ สากลยงั มีลุกคูที่มีความสามารถบรรเลงประกอบการแสดงหนังตะลุง รวมถึงความทันสมัยในเรือ่ งดนตรีทีน่ ํามาบรรเลงกับดนตรีพืน้ บาน ทําใหไดรับความนิยมจากผูช ม ทุกวัย การนําดนตรีสากลเขามาใชประกอบการแสดงหนังตะลุงของคณะหนังพรอมนอย มีการ สรางสรรคโดยนําเพลงไทยเดิมมาบรรเลงกับดนตรีสากล สวนเพลงตามสมัยนิยมสามารถนํามา บรรเลงกับการแสดงหนงั ตะลุงไดอยางเหมาะสมและลงตวั สิง่ ที่ขาดไมไดนอกเหนือจากองคประกอบความสามารถของนายหนังในการแสดงหนัง ตะลุง นายหนังตะลุงควรนําองคประกอบการแสดงหนังตะลุงและความสามารถจากการแสดงหนัง

126 ตะลุงและความสามารถจากการแสดงไปชวยเหลือสังคม โดยนายหนังพรอมนอย ตะลุงสากลกลาว วา การแสดงหนังตะลุงทีต่ นประสบความสําเร็จไดมากจากการยอมรับจากประชาชน เราควรจะทํา อะไรเพื่อประโยชนใหกับสังคมบาง หนังพรอมนอย ตะลุงสากลจึงนําเงินที่ไดจากการแสดงหนัง ตะลุงไปชวยเหลือชุมชน หรือบางครั้งเปดการแสดงหนังตะลุงเพื่อหาเงินสมทบไปพัฒนาหมูบาน โรงเรียน วัด สถานทรี่ าชการ ใหมคี วามสะดวกยง่ิ ขน้ึ คณุ สมบัติพิเศษของผทู ีจ่ ะแสดงหนงั ตะลงุ จะตองเปนคนเสียงดีและเสียงดัง ทําเสียงไดหลายเสียง เปลีย่ นเสียงตามบทบาทของตัว ละครที่พากยไดฉับพลันและเปนธรรมชาติ พากยยักษเสยี งตองหา วอยางยกั ษ พากยน างเสียงตอ งนุม หวานอยางนาง พากยตัวตลกตัวใดเสียงตองเปนอยางตัวตลกตัวนั้น เรียกภาษาหนังตะลุงวา “กิน รปู ” เสียงที่ชวนฟงตองแจมใสกังวานกลมกลืนกับเสียงโหมงเรียกวา “เสียงเขาโหมง” และสามารถ รักษาคุณภาพของเสียงไดต ลอดเวลา การแสดงตั้งแตประมาณ 3 ทมุ จนสวาง ตอ งรอบรูในศิลปและ ศาสตรตางๆ อยางกวางขวาง ทัง้ คดีโลกและคดีธรรม เพือ่ แสดงหนังใหไดทัง้ ความบันเทิงและ สารประโยชน มอี รรถรส สามารถดงึ ดดู ผชู มใหช วนตดิ ตาม 2.อาชพี การแสดงลิเก ลิเก เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 คําวา ลิเก ในภาษามลายู แปลวา ขับรอง เดิมเปนการสวด บูชาพระในศาสนาอิสลาม สวดเพลงแขกเขากับจังหวะรํามะนา พวกแขกเจาเซ็นไดสวดถวายตัว เปนครัง้ แรกในการบําเพ็ญพระราชกุศล เมือ่ พ.ศ. 2423 ตอมาคิดสวดแผลงเปนลํานําตางๆ คิดลุก หมากเขาแกมสวด รองเปนเพลงตางภาษา และทําตัวหนังเชิด โดยเอารํามะนาเปนจอก็มี ลิเกจึง

127 กลายเปนการเลนขึ้น ตอมามีผูคิดเลนลิเกอยางละคร คือเริม่ รองเพลงแขก แลวตอไปเลนอยางละคร รํา และใชปพาทยอยางละคร ลิเกมี 4 แบบ คือ ลิเกบนั ตน เริม่ ดวยรองเพลงบันตนเปนภาษามลายู ตอมาก็แทรกคําไทยเขาไปบาง ดนตรีก็ ใชรํามะนา จากนั้นก็แสดงเปนชุดๆ ตางภาษา เชน แขก ลาว มอญ พมา ตองเริม่ ดวยชุดแขกเสมอ ผู แสดงแตงตัวเปนชาติตางๆ รองเอง พวกตีรํามะนาเปนลูกคู มีการรองเพลงบันตนแทรกระหวางการ แสดงแตล ะชดุ ลิเกลูกบท คือ การแสดงผสมกับการขับรองและบรรเลงเพลงลูกบท รองและรําไปตาม กระบวนเพลง ใชปพ าทยประกอบแทนรํามะนา แตงกายตามทีน่ ิยมในสมัยนัน้ ๆ แตสีฉูดฉาด ผู แสดงเปนชายลวน เมือ่ แสดงหมดแตละชุด ปพาทยจะบรรเลงเพลง 3 ชั้นที่เปนแมบทขึ้นอีก และ ออกลกู หมดเปนภาษาตางๆ ชดุ อ่นื ๆ ตอ ไปใหม ลิเกทรงเครื่อง เปนการผสมผสาน ระหวางลิเกบันตนและลิเกลูกบท มีทารําเปนแบบแผน แตงตัวคลายละครรํา แสดงเปนเรือ่ งยาวๆ อยางละคร เริม่ ดวยโหมโรงและบรรเลงเพลงภาษาตางๆ เรียกวา \"ออกภาษา\" หรือ \"ออกสิบสองภาษา\" เพลงสุดทายเปนเพลงแขก พอปพาทยหยุด พวกตี รํามะนาก็รองเพลงบันตน แลวแสดงชุดแขก เปนการคํานับครู ใชปพ าทยรับ ตอจากนัน้ ก็แสดงตาม เนอ้ื เรอื่ ง ลิเกทแ่ี สดงในปจจุบนั เปนลเิ กทรงเคร่อื ง ลิเกปา เปนศิลปะการแสดงทีเ่ คยไดรับความนิยมอยางกวางขวางในจังหวัดสุราษฎรธานี และ จังหวัดทางภาคใตท่ัว ๆ ไป แตในปจ จุบันลเิ กปา มเี หลืออยูนอยมาก ผูเฒาผูแกเลาวา เดิมลิเกปา จะมีแสดง ใหดูทุกงาน ไมวาจะเปนบวชนาค งานวัด หรืองานศพ ลเิ กปามเี คร่ืองดนตรีประกอบการแสดง 3 อยาง คือ กลองรํามะนา 1-2 ใบ ฉิง่ 1 คู กรับ 1 คู บางคณะอาจจะมีโหมง และทับดวย ลิเกปามีนายโรงเชนเดียวกับหนังตะลุง และมโนราห สําหรับ การแสดงก็คลายกับโรงมโนราห ผูแ สดงลิเกปา คณะหนีง่ มีประมาณ 6-8 คน ถารวมลูกคูด วยก็จะมี จํานวนคนพอ ๆ กับมโนราหหนึ่งคณะ การแสดงจะเริม่ ดวยการโหมโรง \"เกร่ินวง\" ตอจากเกริน่ วง แขกขาวกับแขกแดงจะออกมาเตนและรองประกอบ โดยลูกคูจ ะรับไปดวย หลังจากนัน้ จะมีผู ออกมาบอกเรือ่ ง แลวก็จะเร่มิ แสดง วิธีการแสดง เดินเรือ่ งรวดเร็ว ตลกขบขัน เริ่มดวยโหมโรง 3 ลา จบแลวบรรเลงเพลง สาธุการ ใหผูแสดงไหวครู แลวจึงออกแขก บอกเรื่องที่จะแสดง สมัยกอนมีการรําถวายมือหรือรํา เบิกโรง แลวจึงดําเนินเรื่อง ตอมาการรําถวายมือก็เลิกไป ออกแขกแลวก็จับเรือ่ งทันที การรายรํา นอยลงไปจนเกือบไมเหลือเลย คงมีเพียงบางคณะที่ยังยึดศิลปะการรําอยู ผูแสดง เดิมใชผูช ายลวน ตอมาแสดงชายจริงหญิงแทนัน้ ผูแ สดงตองมีปฏิภาณในการรอง และเจรจา ดาํ เนนิ เร่ืองโดยไมม ีการบอกบทเลย หวั หนาคณะจะเลา ใหฟงกอนเทานั้น นอกจากนี้ การ

128 เจรจาตองดัดเสียงใหผิดปกติ ซึง่ เปนเอกลักษณ ของลิเก แตตัวสามัญชนและตัวตลกพูดเสียง ธรรมดา เพลงและดนตรี ดําเนินเรื่องใชเพลงหงสทองชัน้ เดียว แตดัดแปลงใหดนไดเนือ้ ความมากๆ แลวจึงรับดวยปพาทย แตถาเลนเรื่องตางภาษา ก็ใชเพลงทีม่ ีสําเนียงภาษานัน้ ๆ ตามทองเรือ่ ง แตดน ใหคลายหงสทอง ตอมานายดอกดิน เสือสงา ไดดัดแปลงเพลงมอญครวญของลิเกบันตนที่ใชกับบท โศก มาเปนเพลงแสดงความรักดวย เรอ่ื งที่แสดง นิยมใชเรือ่ งละครนอก ละครใน และเรือ่ งพงศาวดารจีน มอญ ญวน เชน สาม กก ราชาธิราช การแตงกาย แตงตัวดวยเครือ่ งประดับสวยงาม เลียนแบบเครือ่ งทรงกษัตริย จึงเรียกวาลิเก ทรงเครื่อง \"สมัยของแพง\" ก็ลดเครื่องแตงกายที่แพรวพราวลงไป แตบางคณะก็ยังรักษาแบบแผน เดิมไว โดยตัวนายโรงยังแตงเลียนแบบเครือ่ งทรงของกษัตริยในสวนทีม่ ิใชเครือ่ งตน เชน นุง ผายก ทอง สวมเสื้อเขมขาบหรือเยียรบับ แขนใหญถึงขอมือ คาดเข็มขัดนอกเสือ้ ประดับ เครือ่ งราชอิสริยาภรณตางๆ แตดัดแปลงเสียใหม เชน เครือ่ งสวมศีรษะ เครือ่ งประดับหนาอก สายสะพาย เครือ่ งประดับไหล ตัวนางนุง จีบยกทอง สวมเสือ้ แขนกระบอกยาว หมสไบปกแพรว พราว สวมกระบังหนาตอยอดมงกุฎ ที่แปลกกวาการแสดงอื่นๆ คือสวมถุงเทายาวสีขาวแทนการผัด ฝนุ อยางละคร แตไ มสวมรองเทา สถานทีแ่ สดง ลานวัด ตลาด สนามกวางๆ โดยปลูกเพิงสูงระดับตา ดานหนาเปนที่แสดง ดานหลังเปน ท่พี กั ที่แตง ตวั คุณสมบัติของผูทจ่ี ะแสดงลเิ ก - มใี จรกั ในการแสดงและฝก ฝนใหช าํ นาญ - มกี ารรอ งและราํ ที่ดีและสวยงามเพราะเปนจุดเดนของลิเกไทย - ผสมผสานศิลปวัฒนธรรมไทยไดอยางงดงาม นาชม - ตรงตอเวลา และมีความรับผิดชอบในอาชีพ สามารถทํางานกับสวนรวมให เพราะ คณะลเิ กจะมผี แู สดงจาํ นวนมาก ผทู ่ีประสบความสาํ เรจ็ จากอาชพี การแสดงลเิ ก คุณพนม พึง่ อํานาจ อายุ 40 ป ลิเกคณะ พนมพึ่งอํานาจ ทีอ่ ยู 121/1 อําเภอเมือง จังหวัด เพชรบรุ ี ลิเกคณะพนมพึ่งอํานาจเริ่มมีการแสดงมาแลวตัง้ แตสมัยบรรพบุรุษโดยคุณพอคุณแมของคุณพนม ไดแสดงลิเกมากอนแลว และเขาไดเริม่ เลนตอนอายุ 26 ปซึง่ อดีตไดเคยทํางานธนาคารแลวลาออก มาเลน ลเิ ก เพราะชอบศิลปวัฒนธรรมของไทยและไดตัง้ คณะลิเกขึน้ เปนของตนเองเพือ่ เปนการสืบ สานตอจากคุณพอคุณแม การแสดงลิเกจะถือวาเปนเรือ่ งทีง่ ายก็งายจะวายากก็ยากแตถามีใจรักใน สิ่งที่เราทํานั้นก็จะถือวาเปนความถนัดและงายสําหรับตัวเราเอง และมีพื้นฐานตนแบบของการ

129 แสดงลิเกนม้ี าจากคณุ พอ คณะมผี ูรวมแสดงทั้งหมดประมาณ 27 คน จะมอี ายตุ ัง้ แต 17 ปซึง่ จะอยูใ น วยั เรียน แลวก็อายุ 20 ปทีม่ ากสุด 60 ป การแสดงแตละเรือ่ งจะมีหลายบทบาททีแ่ ตกตางกันออกไป ก็จะดูวาใครเหมาะสมกับบทบาทไหน สวนใหญจะแสดงลิเกกันเปนอาชีพหลัก การแสดงจะมีอยู ตลอดทุกเดือนอยางตอเนือ่ งและมีการแสดงมากในชวงออกพรรษาตระเวนแสดงผลงานทั้งป การ แสดงไดรับเงินมากทีส่ ุด คือ 60,000 บาท การแสดงเรือ่ งหนึง่ จะใชเวลา 4 ชั่วโมง เวลาที่แสดงจะ เปนชวงกลางคืนเวลาสามทุม ถึงตีหนึง่ เสนหของลิเกอยูท ีเ่ นือ้ เรือ่ ง การแตงตัวสําคัญทีส่ ุดคือศิลปะ การรอง การรําซึ่งจะเปนจุดเดนของลิเกไทยเปนการผสมผสานของศิลปวัฒนธรรมไทยทําใหมี ความงดงามนาชม ความเจรญิ กาวหนาในอาชีพ ฝกการแสดงในบทรอง – บทรํา ใหมีความชํานาญและพัฒนาไปในสิง่ ที่ดี และมีความ รับผิดชอบจนเปนที่ยอมรับของผูชมทั่วไป สามารถประสบความสําเร็จได 2. อาชีพการแสดงหมอลาํ คําวา \"ลํา\" มีความหมายสองอยาง อยางหนึ่งเปนชื่อของเรือ่ ง อีกอยางหนึง่ เปนชือ่ ของ การ ขับรองหรือการลาํ ท่ีเปนช่ือของเรอ่ื งไดแ กเรือ่ งตาง ๆ เชน เร่ืองนกจอกนอย เร่ือง ทาวก่ํากาดํา เรื่อง ขูลูนางอัว้ เปนตน เรือ่ งเหลานีโ้ บราณแตงไวเปนกลอน แทนที่จะเรียกวา เรือ่ งก็เรียกวาลํา กลอนที่ เอามาจากหนงั สอื ลํา เรยี กวา กลอนลํา อีกอยางหนึ่งหมายถึงการขับรอง หรือการลํา การนําเอาเรื่องในวรรณคดีอีสานมา ขับรอง หรือมาลํา เรียกวา ลํา ผูท ีม่ ีความชํานาญในการขับรองวรรณคดีอีสาน โดยการทองจําเอากลอน มา ขับรอ ง หรอื ผทู ่ชี าํ นาญในการเลานทิ านเร่อื งน้ัน เรื่องน้ี หลายๆ เร่ืองเรียกวา \"หมอลํา\"

130 ววิ ฒั นาการของหมอลํา ความเจริญกาวหนาของหมอลําก็คงเหมือนกับความเจริญกาวหนาของสิ่งอื่นๆ เร่ิมแรก คง เกิดจากผูเฒา ผแู กเ ลานิทาน นิทานที่นํามาเลาเกี่ยวกับจารีตประเพณีและศีลธรรม โดยเรียก ลูกหลาน ใหมาชุมนุมกัน ทแี รกน่ังเลา เมอื่ ลูกหลานมาฟงกันมากจะนั่งเลา ไมเหมาะ ตองยนื ข้ึนเลา เร่ืองท่ี นํามาเลา ตองเปน เรื่องทมี่ ใี นวรรณคดี เชน เรื่องกาฬเกษ สนิ ชัย เปนตน ผูเลา เพียงแตเลา ไมออกทา ออกทางก็ไมสนุก ผเู ลาจึงจําเปนตองยกไมย กมอื แสดงทาทางเปน พระเอก นางเอก เปนนักรบ เปน ตน เพียงแตเ ลา อยางเดียวไมส นุก จึงจาํ เปนตองใชสาํ เนยี งสัน้ ยาว ใชเ สยี งสูงตา่ํ ประกอบ และ หาเครื่องดนตรปี ระกอบ เชน ซงุ ซอ ป แคน เพือ่ ใหเ กิดความสนกุ ครกึ คร้นื ผแู สดง มเี พียงแตผชู าย อยา งเดยี วดูไมม ีรสชาตเิ ผ็ดมัน จงึ จําเปนตองหา ผูหญิงมาแสดงประกอบ เมื่อผหู ญงิ มาแสดง ประกอบจึงเปนการลําแบบสมบูรณ เมื่อผูหญงิ เขา มาเกย่ี วขอ งเรื่องตา งๆ กต็ ามมา เชน เรื่องเกย้ี วพา ราสี เรื่องชิงดีชิงเดน ยาด (แยง ) ชูย าดผัวกัน เรื่องโจทย เรื่องแก เร่ืองประชัน ขนั ทา เรอ่ื งตลกโปก ฮาก็ตามมา จึงเปนการลําสมบูรณแบบ จากการทม่ี ีหมอลําชายเพียงคนเดียวคอยๆ พฒั นาตอมาจนมหี มอลําฝายหญงิ มีเครอ่ื ง ดนตรปี ระกอบจงั หวะเพ่ือความสนกุ สนาน จนกระทั่งเพมิ่ ผแู สดงใหมจี าํ นวนเทากบั ตัวละครทมี่ ใี น เร่ือง มพี ระเอก นางเอก ตวั โกง ตัวตลก เสนา ครบถวน ซึ่งพอจะแบงยคุ ของวิวฒั นาการไดด งั น้ี ลําโบราณ เปน การเลาทานของผูเ ฒาผแู กใ หล ูกหลานฟง ไมม ที าทางและดนตรปี ระกอบ ลกู คหู รอื ลาํ กลอน เปนการลําที่มีหมอลําชายหญิงสองคนลําสลับกัน มีเครื่องดนตรีประกอบ คือ แคน การลํามีทั้งลําเรื่องนิทานโบราณคดีอีสาน เรียกวา ลําเรื่องตอกลอน ลําทวย (ทายโจทย) ปญหา ซึ่งผูลําจะตองมี ปฏิภาณไหวพริบที่ดี สามารถตอบโต ยกเหตุผลมาหักลางฝายตรงขามได ตอมามีการเพิ่มผูลํา ขึ้นอีกหน่ึงคน อาจเปนชายหรือหญิง ก็ได การลําจะเปลี่ยนเปนเรื่อง ชิงรัก หัก สวาท ยาดชยู าดผวั เรยี กวา ลาํ ชิงชู ลําหมู เปนการลําทีม่ ีผูแ สดงเพิม่ มากขึน้ จนเกือบจะครบตามจํานวนตัวละครทีม่ ีในเรือ่ ง มี เครือ่ งดนตรีประกอบเพิม่ ขึน้ เชน พิณ (ซุง หรือ ซึง) กลอง การลําจะมี 2 แนวทาง คือ ลําเวียง จะ เปนการลําแบบลํากลอน หมอลําแสดง เปนตัวละครตามบทบาทในเรื่อง การดําเนินเรื่องคอนขางชา แตก ไ็ ดอ รรถรสของละครพืน้ บา น หมอลําไดใชพ รสวรรคของตัวเองในการลํา ทั้งทางดานเสียงรอง ปฏิภาณไหวพริบ และความจําเปนที่นิยมในหมูผ ูส ูงอายุ ตอมาเมื่อดนตรีลูกทุง มีอิทธิพลมากขึน้ จึง เกิดวิวัฒนาการของลําหมูอ ีกครั้งหนึง่ กลายเปน ลําเพลิน ซึง่ จะมีจังหวะทีเ่ ราใจชวนใหสนุกสนาน กอนการลําเรื่องในชวงหัวค่าํ จะมีการนําเอารูปแบบของ วงดนตรีลูกทุง มาใชเรียกคนดู กลาวคือ จะ มนี ักรอง (หมอลํา) มารอง เพลงลูกทุง ที่กําลังฮิตในขณะนัน้ มีหางเครื่องเตนประกอบ นําเอาเครื่อง ดนตรีสมัยใหมมาประยุกตใช เชน กีตาร คียบอรด แซ็กโซโฟน ทรัมเปต และกลองชุด โดยนํามา ผสมผสานเขากับเครือ่ งดนตรีเดิมไดแก พิณ แคน ทําใหไดรสชาติของดนตรีทีแ่ ปลกออกไป ยุคนี้

131 นับวา หมอลําเฟอ งฟูมากทีส่ ุด คณะหมอลําดังๆ สวนใหญจะอยูใ นแถบจังหวัด ขอนแกน มหาสารคาม อุบลราชธานี ลําซ่ิง หลังจากที่หมอลําคูและหมอลําเพลิน คอยๆ เสื่อมความนิยมลงไป อันเนือ่ งมาจาก การกาวเขามาของเทคโนโลยีวิทยุโทรทัศน ทําใหดนตรีสตริงเขามาแทรกในวิถีชีวิตของผูค นอีสาน ความนิยมของการชมหมอลํา คอนขางจะลดลงอยางเห็นไดชัด จนเกิดความวิตกกังวลกันมากใน กลุมนักอนุรักษศิลปวัฒนธรรมพืน้ บาน แตแลวมนตขลังของหมอลําก็ไดกลับมาอีกคร้ัง ดวย รูปแบบที่สะเทือนวงการดวยการแสดงที่เรียกวา ลาํ ซ่ิง ซึง่ เปนววิ ัฒนาการของลาํ คู (เพราะใชหมอลํา 2-3 คน) ใชเครือ่ งดนตรีสากลเขารวมใหจังหวะเหมือนลําเพลิน มีหางเครื่องเหมือนดนตรีลูกทุง กลอนลําสนุกสนานมีจังหวะอันเราใจ ทําใหไดรับความนิยมอยางรวดเร็ว จนกระทัง่ ระบาดไปสู การแสดงพื้นบานอืน่ ใหตองประยุกตปรับตัว เชน เพลงโคราชกลายมาเปนเพลงโคราชซิง่ กันตรึ มก็กลายเปนกันตรึมร็อค หนังปราโมทัย (หนังตะลุงอีสาน) กลายเปนปราโมทัยซิง่ ถึงกับมีการจัด ประกวดแขงขัน บันทึกเทปโทรทัศนจําหนายกันอยางแพรหลาย จนถึงกับ มีบางทานถึงกับกลาววา \"หมอลําไมมีวันตาย จากลมหายใจชาวอีสาน\" กลอนลาํ แบบตา งๆ กลอนที่นํามาเสนอ ณ ที่นี้มีหลายกลอนที่มีคําหยาบโลนจํานวนมาก บางทานอาจจะทําใจ ยอมรบั ไมไ ดก ต็ องกราบขออภยั เพราะผจู ัดทาํ มีเจตนาที่จะเผยแพรไ วเพ่ือเปนการสบื สาน วฒั นธรรมประเพณี มไิ ดม ีเจตนาทจี่ ะเสนอใหเ ปนเรอ่ื งลามกอนาจาร ตองยอมรบั อยา งหน่ึงวา นคี่ อื วิถีชวี ิตของคนอีสาน กลอนลําทั้งหลายทั้งปวงผูลํามีเจตนาจะทําใหเกิดความสนุกสนาน ตลกโปก ฮาเปนที่ตงั้ ทานท่อี ยูใ นทอ งถิน่ อ่ืนๆ ขอไดเขา ใจในเจตนาดว ยครับ สนใจในกลอนลาํ หวั ขอ ใดคลกิ ทหี่ วั ขอ น้ันเพ่ือเขาชมไดค รบั กลอนที่นํามารองมาลํามีมากมายหลายอยาง จนไมสามารถจะกลาวนับหรือแยกแยะได หมด แตเ มื่อยอรวมลงแลว จะมีอยสู องประเภท คือ กลอนส้นั และกลอนยาว กลอนสั้น คือ คํากลอนที่สั้นๆ สําหรับเวลามีงานเล็กๆ นอยๆ เชน งานทําบุญบาน หรืองาน ประจําป เชน งานบุญเดือนหกเปน ตน กลอนสน้ั มดี งั ตอไปน้ี 1. กลอนข้นึ ลํา 2. กลอนลงลํา 3. กลอนลาํ เหมดิ คนื 4. กลอนโตน 5. กลอนติง่ 6. กลอนตง 7. กลอนอศั จรรย 8. กลอนสอย

132 9. กลอนหนงั สอื เจยี ง 10. กลอนเตย หรอื ผญา 11. ลําสีฟนดอน 12. ลําส้นั เรอ่ื งตดิ เสนห กลอนยาว คือ กลอนสําหรับใชลําในงานการกุศล งานมหรสพตางๆ กลอนยาวนี้ใชเวลาลํา เปนชั่วโมงบาง ครึ่งชั่วโมงบาง หรือแลวแตกรณี ถาลําคนเดียวเชน ลําพื้น หรือ ลาํ เรื่อง ตองใชเ วลา ลําเปนวันๆ คนื ๆ ทงั้ นี้แลว แตเร่ืองที่จะลาํ สนั้ หรือยาวแคไ หน แบง ออกเปน หลายชนดิ ดังน้ี 1. กลอนประวัติศาสตร 2. กลอนลาํ พื้นหรือลาํ เร่ือง 3. กลอนเซง้ิ 4. กลอนสอ ง 5. กลอนเพอะ 6. กลอนลอ งของ 7. กลอนเวา สาว 8. กลอนฟอ นแบบตา งๆ อุปกรณวธิ กี ารแสดง ประกอบดวยผแู สดงและผบู รรเลงดนตรคี ือ หมอแคน แบง ประเภท หมอลาํ ดังน้ี 1. หมอลาํ พ้นื ประกอบดว ยหมอลาํ 1 คน หมอแคน 1 คน 2. หมอลํากลอน ประกอบดวย หมอลํา 2-3 คน และหมอแคน 1-2 คน 3. หมอลาํ เร่ืองตอกลอน ประกอบดว ยหมอลาํ หลายคน เรยี ก หมอลาํ หมู ดนตรปี ระกอบ คอื แคน พิณ ฉง่ิ กลอง และเคร่ืองดนตรีสากล 4. หมอลําเพลิน ประกอบดวยหมอลําหลายคนและผูบรรเลงดนตรีหลายคน สถานที่แสดง เปนมหรสพที่ใชในงานเทศกาล งานบวช งานกฐิน งานวันเกิด งานศพ ฯลฯ เปน มหรสพทป่ี ระชาชนชาวอสี านในอดตี นยิ มชมชน่ื มาก

133 ผปู ระสบความสาํ เรจ็ จากอาชพี การแสดงหมอลาํ หมอแปน หรือ น.พ.สุชาติ ทองแปน อายุรแพทย วัย 36 ป เขาสามารถใชชีวิตอยูต รง กึง่ กลางระหวางการเปน \"หมอรักษาคน\" และ \"หมอลํา\" ไดลงตัว อะไรทีท่ ําใหนายแพทยคนหนึง่ เลือกทีจ่ ะมีชวี ติ สองขว้ั บนเสน ทางคูขนานระหวางความฝนกับความเปนจริง \"หมอแปน \" เปน แพทยประจําโรงพยาบาลมหาสารคาม ผูที่ทุมเทใหกับการรักษาผูปวยดวย หัวใจเกินรอย เขายังไดรับการยอมรับจากบุคลากรทุกระดับชัน้ ของโรงพยาบาล วาเปนหมอทีม่ าก ดว ยประสิทธิภาพในการเยียวยารักษา เอาใจใสผ ูปวย และนิสยั ใจคอกโ็ อบออ มอารี หมอแปน เลาวา โดยสวนตัวผมชอบหมอลํามาตั้งแตเด็ก แลวจําไดวาตอนทีเ่ รียนหมออยูป  4 ท่ีคณะมีหมอลําเขามาเปดสอนใหหัดรองหัดลํา ผมก็อยากจะไปเรียน เพราะชอบมาตัง้ นานแลว ก็ ไปบอกพอกับแม แตเขาก็ไมใหเรียน บอกวาอยาเลย ผมเลยไมไดไปสมัคร แตตอนนั้นก็จะไปดู หมอลําตลอด ดูจนถึง 6 โมงเชา เกือบทุกวันเลย แตไมใหเสียการเรียน ถึงกลับมาเชาเราก็ไปเขา เรียนตอได ไมมีผลกระทบอะไร เพราะเราแบงเวลาเปน และที่ลําหมอลําไดก็ไมไดไปเรียนที่ไหน อาศยั จาํ เอา ดคู นนนั้ คนนแ้ี ลวก็จํา ตอมาประมาณป 2547 ก็เริม่ ชักชวนเพือ่ นๆ ในโรงพยาบาลตัง้ วง หมอลําข้นึ มา ชอ่ื วา \"บานรมเย็น\" ปจจุบันมีสมาชิกประมาณ 30 คน มีทัง้ แพทย พยาบาล เจาหนาที่ โภชนาการ แมบาน ผูปวย ฯลฯ ซึ่งชวงแรกเปนเงินของตัวเอง ตอมาก็เปนเงินกองทุนบานรมเย็น เอาไวซื้อเครื่องสําอาง วิชาชีพ \"หมอลํา\" เปนการแสดงพืน้ บาน ทีห่ ลอเลี้ยง จิตวิญญาณของชาว อีสาน ทีด่ ูไปแลวศาสตรทั้ง 2 นัน้ ไมนาจะโคจรมาพบกันได ทําใหหนาทีเ่ ปนหมอรักษาคนไข กับ การแสดงความเพลดิ เพลนิ ใหค นดูมคี วามสขุ ความเจรญิ กา วหนา ในอาชพี ฝกการแสดงใหมีความชํานาญ และพัฒนาไปในสิง่ ทีด่ ี มีความรับผิดชอบ จนเปนที่ยอมรับ ของผชู มทว่ั ไป สามารถประสบความสาํ เรจ็ ได สถานท่ีสาํ หรบั ศกึ ษาหมอลาํ

134 โรงเรียนสอนหมอลํากลอน ลําซิง่ (ศิลปะการแสดงพื้นบาน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปรอยเอ็ด สําหรับผูท่ีสนใจเรียนศิลปะการแสดง หมอลํากลอน แคนเตาเดียว หรือลํา ซง่ิ การเรยี นลาํ เรยี นตัง้ แตก อนฟอ น พน้ื ฐานตางๆ สว นลํากลอนเรียน 5 ยก ลาํ ซง่ิ 3-4 ยก กจิ กรรมทา ยบท ผลการเรยี นรูท ่คี าดหวงั บอกลกั ษณะทม่ี าและประเภทของอาชพี นาฎศลิ ปไ ทยได คําชีแ้ จง ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1.อธิบายขั้นตอนของอาชีพการแสดงหนังตะลุง 2.อธิบายขั้นตอนของอาชีพการแสดงลิเก 3.อธิบายขั้นตอนของอาชพี การแสดงหมอลาํ

135 ทป่ี รกึ ษา คณะผูจดั ทํา 1. นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชัยยศ อิม่ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รนิ ทร จําป รองเลขาธิการ กศน. 4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ที่ปรึกษาดานการพัฒนาหลักสตู ร กศน. 5. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น ผูเ ขยี นและเรียบเรียง 1. นายจํานง วนั วชิ ยั ขาราชการบํานาญ 2. นางสรัญณอร พัฒนไพศาล กศน. เฉลิมพระเกีรยติ จ.บรุ ีรัมย 3. นายชัยยนั ต มณสี ะอาด สถาบัน กศน. ภาคใต 4. นายสฤษด์ชิ ัย ศิรพิ ร สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก 5. นางชอทิพย ศริ พิ ร สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก 6. นายสุรพงษ มน่ั มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ผบู รรณาธิการ และพัฒนาปรับปรุง 1. นายจํานง วนั วชิ ยั ขาราชการบํานาญ 2. นางสรญั ณอร พัฒนไพศาล กศน. เฉลิมพระเกีรยติ จ.บรุ ีรัมย 3. นายชยั ยันต มณีสะอาด สถาบัน กศน. ภาคใต 4. นายสฤษด์ิชยั ศริ พิ ร สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก 5. นางชอทิพย ศริ พิ ร สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก 6. นายสุรพงษ มน่ั มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 7. นายววิ ฒั นไ ชย จนั ทนส คุ นธ ขาราชการบํานาญ คณะทํางาน 1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศริญญา กุลประดิษฐ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

136 ผพู มิ พตนฉบบั 1.นางสาวปย วดี คะเนสม กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพ พิ ัฒน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวชาลินี ธรรมธษิ า กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวอลิศรา บานชี ผูออกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรัตนศิลป

137 คณะทีป่ รึกษา ผพู ัฒนาและปรับปรุงครัง้ ที่ 2 นายประเสริฐ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. นายชัยยศ อ่ิมสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. นายวชั รนิ ทร จําป รองเลขาธิการ กศน. นางวทั นี จนั ทรโอกลุ ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดานพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอน นางชุลีพร ผาตินินนาท ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการเผยแพรทางการศึกษา นางอัญชลี ธรรมวธิ ีกลุ หวั หนา หนว ยศกึ ษานเิ ทศก นางศุทธินี งามเขตต ผูอํานวยการศึกษานอกโรงเรียน ผพู ัฒนาและปรับปรุงคร้งั ที่ 2 นายสุรพงษ มั่นมะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นายกิตติพงศ จันทวงศ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวผณินทร แซอ้งึ นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook