Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปศึกษา ต้น

ศิลปศึกษา ต้น

Description: ศิลปศึกษา ต้น

Search

Read the Text Version

51 ศิลปะทน่ี ํามาใชใ นท่ีอยูอ าศยั วตั ถปุ ระสงคของหองหรือสถานท่ี ในการใชส ตี กแตงภายใน ควรคํานึงถึงวัตถุประสงคของหองหรือสถานที่ตกแตง เพื่อจะได ใชสีไดอยางเหมาะสม การใชส ีตกแตงสถานทต่ี า ง ๆ ภายในบาน แบงออกเปนหอ งตางๆ ดงั น้ี หอ งรบั แขก เปนหองที่ใชในการสนทนา หรอื ตอ นรับผูมาเยอื น ดงั นนั้ หองรบั แขก ควร ใชสอี บอนุ เชน สีครีม สสี ม ออน หรือสีเหลอื งออน เพ่อื กระตุน ใหเบกิ บาน หองอาหาร ควรมีสที ่ดี ูสบายตา เพอื่ เพ่มิ รสชาติอาหาร อาจใชสีที่กลมกลืน นุมนวล เพราะ สีนุมนวลจะทําใหเกิดความสบายใจ หอ งครัว ควรใชสีที่ดูสะอาดตา และรักษาความสะอาดงาย หองควรเปนหองที่ใชทํา กจิ กรรมจงึ ควรใชสกี ระตุนใหเ กิดความสนใจในการทํากจิ กรรม หอ งนอน เปน หองท่ีพักผอน ควรใชสีทีส่ บายตา อบอนุ หรือนมุ นวล แตการใชใน หองนอนควรคํานงึ ถงึ ผใู ชด วย หองนํา้ เปน หองทใ่ี ชท ํากิจกรรมสวนตัว และตองการความสบาย จึงควรใชสีที่สบายตา เปนธรรมชาติ และสดช่ืน เชน สฟี า สเี ขยี ว หรือสขี าว และควรเปนหองที่ควรทําความสะอาดไดงาย ทิศทาง การใชสีตกแตงภายในควรคํานึงถึงทิศทางของหอง หองที่ถูกแสงแดดสองควรใชสีออน เพ่อื สะทอ นแสง สว นหองที่อยูในทีม่ ืด หรอื อับ ควรใชส อี อนเพื่อความสวางเชนกัน เพศและวยั เพศชายหรือหญิง จะใชสีในการตกแตงไมเหมือนกัน เพศชายจะใชสีเขมกวา เพศหญงิ เชน สเี ขียวเขม สีฟา หรอื เทา สว นเพศหญิงจะใชส ที ีอ่ อ น และนุมนวลกวา เชน สีครมี สี เหลอื ง เปนตน วยั ในแตล ะวยั จะใชส ไี มเ หมอื นกนั เชน หองเดก็ จะใชส อี อนหวานนมุ นวล หองผใู หญจะมี สที อ่ี บอนุ หองผูสงู อายุจะใชสที ี่นุมนวล ศลิ ปะไมไ ดเ กีย่ วของกบั การจดั ตกแตงทอ่ี ยูอาศัยเพียงอยางเดียว แตศิลปะยังชวยจรรโลงใจ

52 ใหสมาชิกในครอบครัวอยูอยางมีความสุข หากตองการความสุขในครอบครัว ปจจัยหนึ่งที่ควร คาํ นึงถงึ สิง่ น้นั คอื “ศิลปะ”

53 เรื่องท่ี 6 คณุ คา ของความซาบซ้ึงของวฒั นธรรมของชาติ ศลิ ปะไทย เปนเอกลักษณของชาติไทย ซึ่งคนไทยทั้งชาติตางภาคภูมิใจอยางยิ่ง ความ งดงามที่สืบทอดอันยาวนานมาตั้งแตอดีต บงบอกถึงวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น โดยมีพัฒนาการบน พื้นฐานของความเปนไทย ลักษณะนิสัยที่ออนหวาน ละมุนละไม รักสวยรักงาม ที่มีมานานของ สงั คมไทย ทําใหศิลปะไทยมคี วามประณีตออนหวาน เปนความงามอยางวิจิตรอลังการที่ทุกคนได เห็นตองตื่นตา ตื่นใจ อยางบอกไมถูกลักษณะความงามนจี้ ึงไดกลายเปนความรูสึกทางสุนทรียภาพ โดยเฉพาะคนไทย เมื่อเราไดสืบคนความเปนมาของสังคมไทย พบวาวิถีชีวิตอยูกันอยางเรียบงาย มี ประเพณีและศาสนาเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ สังคมไทยเปนสังคมเกษตรกรรมมากอน ดังนั้น ความผูกพนั ของจิตใจจงึ อยูที่ธรรมชาติแมน าํ้ และพน้ื ดนิ ส่ิงหลอ หลอมเหลา น้ีจงึ เกิดบูรณาการเปน ความคิด ความเชื่อและประเพณีในทองถิ่น แลวถายทอดเปนวัฒนธรรมไทยอยางงดงาม ที่สาํ คญั วัฒนธรรมชวยสงตอคุณคาความหมายของสิ่งอันเปนที่ยอมรับในสังคมหนึ่ง ๆ ใหคนในสังคมนั้น ไดรับรูแลวขยายไปในขอบเขตที่กวางขึ้น ซึ่งสวนใหญการสื่อสารทางวัฒนธรรมนั้นกระทําโดย ผานสญั ลักษณ และสญั ลักษณน้ีคือผลงานของมนุษยน ั้นเองทเ่ี รยี กวา ศิลปะไทย ปจ จบุ ันคําวา \"ศิลปะไทย\" กําลังจะถูกลืมเมื่ออิทธิพลทางเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาแทนที่ สังคมเกาของไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งโลกแหงการสื่อสารไดกาวไปล้ํายุคมาก จนเกิดความแตกตาง อยางเห็นไดชัดเมื่อเปรียบเทียบกับสมัยอดีต โลกใหมยุคปจจุบันทําใหคนไทยมีความคิดหา งไกล ตัวเองมากข้ึน และอิทธพิ ลดังกลาวนีท้ าํ ใหคนไทยลืมตัวเราเองมากขน้ึ จนกลายเปนสง่ิ สับสนอยกู ับ สังคมใหมอ ยา งไมร ตู ัว มีความวนุ วายดว ยอํานาจแหงวัฒนธรรมสอ่ื สารท่ีรบี เรงรวดเรว็ จนลมื ความ เปนเอกลักษณของชาติ เมื่อเราหันกลบั มามองตวั เราเองใหม ทําใหดูหางไกลเกินกวาจะกลับมา เรียนรูวา พื้นฐานของชาติบานเมืองเดิมเรานั้นมีความเปนมาหรือมีวัฒนธรรมอยางไร ความรูสึก เชนนี้ ทําใหเราลมื มองอดีตตัวเอง การมีวถิ ีชีวิตกับสงั คมปจจบุ ันจําเปนตองด้ินรนตอสกู บั ปญ หา ตาง ๆ ที่วงิ่ ไปขา งหนาอยา งรวดเร็ว ถาเรามีปจจบุ ันโดยไมมีอดีต เราก็จะมีอนาคตที่คลอนแคลนไม มน่ั คง การดาํ เนนิ การนาํ เสนอแนวคิดในการจดั การเรยี นการสอนศลิ ปะในครง้ั น้ี จงึ เปนเสมอื นการ คนหาอดีต โดยเราชาวศิลปะตองการใหอนุชนไดมองเห็นถึง ความสําคัญของบรรพบุรุษ ผู สรางสรรคศิลปะไทย ใหเราทําหนาที่สืบสานตอไปในอนาคต ความเปนมาของศลิ ปะไทย ไทยเปนชาติที่มีศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเองมาชา นานแลว เรมิ่ ตง้ั แตกอ นประวัติศาสตร ศิลปะไทยจะววิ ัฒนาการและสืบเน่ืองเปนตวั ของตวั เองใน ที่สดุ เทา ท่ีเราทราบราว พ.ศ. 300 จนถึง พ.ศ. 1800 พระพุทธศาสนานําเขามาโดยชาวอินเดีย ครั้งนั้น

54 แสดงใหเห็นอิทธิพลตอรูปแบบของศิลปะไทยในทุก ๆ ดานรวมทั้งภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม โดยกระจายเปนกลุมศิลปะสมัยตา ง ๆ เร่มิ ต้ังแตส มัยทวาราวดี ศรีวชิ ยั ลพบุรี เมอื่ กลมุ คนไทยต้งั ตวั เปนปก แผน แลว ศิลปะดังกลา วจะตกทอดกลายเปนศิลปะไทย ชางไทยพยายามสรางสรรคใหมี ลกั ษณะพเิ ศษกวา งานศิลปะของชาติอนื่ ๆ คือ จะมีลวดลายไทยเปน เครื่องตกแตง ซ่ึงทาํ ใหล ักษณะ ของศิลปะไทยมีรูปแบบเฉพาะมีความออนหวาน ละมุนละไม และไดสอดแทรกวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและความรูสึกของคนไทยไวในงานอยางลงตัว ดังจะเห็นไดจ ากภาพฝา ผนังตามวัดวาอารามตาง ๆ ปราสาทราชวัง ตลอดจนเครื่องประดับและเครื่องใชทั่วไป ประวตั ศิ ลิ ปะไทย ศิลปะไทยแบงไดเปนยุคตาง ๆ ดงั น้ี 1.) ยคุ กอนประวัตศิ าสตรไทย คือ 1. แบบทวาราวดี ( ราว พ.ศ. 500 – 1200 ) 2. แบบศรีวิชัย (ราว พ.ศ. 1200 – 1700 ) 3. แบบลพบุรี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800) 1. แบบทวาราวดี (ราว พ.ศ. 500 - 1200) เปน ฝมือของชนชาติอินเดยี ซ่ึงอพยพมาสูสวุ รรณภมู ิ ศูนยกลางอยูนครปฐม เปน ศิลปะแบบอุดมคติ รนุ แรกเปน ฝม ือชาวอนิ เดีย แตม าระยะหลังเปนฝมือของชาวพนื้ เมอื ง โดยสอดใสอุดมคติทางความงาม ตลอดจนลักษณะทางเชื้อชาติ ศิลปะทสี่ ําคัญคอื 1. ประติมากรรม พระพุทธรูปแบบทวาราวดี สังเกตไดชดั เจนคือพระพุทธรปู นง่ั หอยพระบาท และยก พระหตั ถขึน้ โดยสว นมากสลกั ดว ยหนิ ปนู ภาพสลกั มากคือบริเวณพระปฐมเจดีย คือ ธรรมจักรกับกวางหมอบ 2. สถาปต ยกรรม ที่ปรากฏหลกั ฐาน บรเิ วณ นครปฐม กาญจนบุรี ราชบุรี อางทอง สุพรรณบรุ ี ไดแ ก สถูปลักษณะเนินดนิ ทําเปนมะนาวผา ซีก หรือรูปบาตรคว่าํ อยบู นฐานส่ีเหลี่ยม เชน เจดยี นครปฐมองคเดิม 2. แบบศรวี ิชยั (ราว พ.ศ. 1200 - 1700) เปนศิลปะแบบอินเดีย - ชวา ศูนยกลางของศิลปะนี้อยูที่ไชยา มีอาณาเขตของศิลปะศรี

55 วชิ ยั เกาะสุมาตรตรา พวกศรวี ิชัยเดมิ เปนพวกทีอ่ พยพมาจากอนิ เดียตอนใต แพรเ ขา มา พรอ มกบั พระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ไดส ราง สง่ิ มหัศจรรยของโลกไวอ ยางหนึ่งโดยสลกั เขาท้ัง ลูกใหเปนเขาไกรลาศ คอื สถปู โบโรบูเดอร ศิลปะกรรมในประเทศไทย คอื 1. ประติมากรรม คนพบพระโพธสิ ัตวอ วโลกเิ ตศวร ทําเปน สัมฤทธทิ์ ่ีไชยา โดย สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ถือวาเปนศิลปะชั้นเยี่ยมของแบบศรีวิชัย 2. สถาปต ยกรรม มีงานตกแตงเขามาปนอยูในสถูป เชนสถูปพระบรมธาตุไช ยา สถูปวัดมหาธาตุ 3. แบบลพบุรี (ราว พ.ศ. 1700 - 1800) ศิลปะแบบนี้คลายของขอม ศนู ยกลางอยทู ่เี มอื งลพบุรี ศาสนาพราหมณเขามามี บทบาทตามความเชื่อ สรางเทวาสถานอันใหญโตแข็งแรงคงทนถาวร เชน ปราสาทหิน พนมรงุ นครวดั นบั เปนสิง่ มหศั จรรยของโลก

56 1. ประติมากรรมสรา งพระพทุ ธรปู พระโพธสิ ัตว พระพทุ ธรปู สมัยลพบุรีเปลอื ย องคทอนบน พระพักตรเกือบเปน สีเหลี่ยม มฝี ม อื ในการแกะลวดลายมาก 2. สถาปตยกรรมสรางปรางคเปนเทวสถาน การกอสรางใชง วสั ดทุ แี่ ขง็ แรง ทนทาน ท่มี อี ยตู ามทองถิน่ เชน ศิลาแลง หนิ ทราย ศิลปะทส่ี าํ คญั ไดแ ก ปรางคสามยอด ลพบรุ ี ความเปนแวนแควนที่มีศูนยกลางการปกครองที่เดนชัดกวาที่เคยมีมาในอดีตแควน สโุ ขทยั ถือกาํ เนดิ ขึ้นเม่อื ราวตน พทุ ธศตวรรษที่ 19ภายหลังจากที่อิทธิพลของอาณาจักรเขมรเสื่อม คลายลง ขอความในศิลาจารึกหลักที่ 2 (จารกึ วดั ศรชี ุม) กลาวถึงกลุมคนไทยนําโดยพอขุนบางกลาง หาวเจาเมืองบางยาง และพอขุนผาเมืองเจาเมืองราด ไดรวมมือกันขจัดอํานาจปกครองจาก “ขอม สมาดโขลญลําพง” จากนั้นไดชวยกันกอรางสรางเมืองพรอมกับสถาปนาพอขุนบางกลางหาวขึ้น เปนปฐมกษัตริยปกครองสืบมา ศิลปะสุโขทัยเปนศิลปะที่เกิดจากการผสมผสานวัฒนธรรมที่ เจริญรงุ เรอื งกอ นหนา เชน วฒั นธรรมเขมร พกุ าม หริภุญไชย และวัฒนธรรมรวมสมัยจากลานนา ตอ มาในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 20 ราชธานีสุโขทัยจึงตกอยูใตอํานาจของกรุงศรีอยุธยาราชธานี ทางภาคกลางที่สถาปนาขึ้นในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 19 ศิลปะสโุ ขทยั มพี นื้ ฐานอยูท่คี วามเรียบ

57 งาย อนั เกดิ จากแนวความคิดทางพุทธศาสนาลัทธิเถรวาทที่รับมาจากประเทศศรีลังกา ศลิ ปกรรม โดยเฉพาะงานดานประติมากรรมที่สรางขึ้นในสมัยนี้ ไดรับการยกยองวามีความงดงาม เปนศิลปกรรมแบบคลาสสิคของไทยทางตอนเหนือของแควนสุโขทัยขึน้ ไปเปน ท่ีต้งั ของแควนลานนา ซึ่งพระยาเม็งรายไดทรง สถาปนาขึ้นในปพ.ศ. 1839 โดยมีเมืองเชียงใหมเปน ราชธานี แควนลานนาบางชวงเวลาตองตกอยูภ ายใตอํานาจทางการเมืองของแวนแควนใกลเคียง จนกระทั่งในที่สุดจึงไดถูกรวมเขาเปนสวนหนึ่งของราชอาณาจักรสยามเมือ่ สมัยตนรัตนโกสินทร ศิลปะลานนา ในชวงตนๆสืบทอดลักษณะทางศิลปกรรมจากหริภุญไชยผสมผสานกับศิลปะพุกาม จากประเทศพมา ตอมาจึงปรากฏอิทธิพลของศิลปะสุโขทัย พมา รวมถึงศิลปะรัตนโกสินทร แต กระนั้นลานนากย็ งั รกั ษาเอกลกั ษณแ หง งานชา งอันยาวนานของตนอยูได และมีพัฒนาการผานมาถึง ปจ จบุ ัน กอนสถาปนากรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 1893 พืน้ ทีภ่ าคกลาง บริเวณสองฟากของลุม แมน้าํ เจาพระยา ปรากฏศิลปกรรมรูปแบบหน่ึงซ่ึงมีลักษณะผสมผสานระหวางศิลปะทวารวดี ศิลปะ เขมร และศิลปะสุโขทัย กอนทีจ่ ะสืบเนือ่ งมาเปน ศิลปะอยุธยา เนือ่ งจากกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี ของไทยอยูนานถึง 417 ป ศิลปกรรมที่สรางขึ้นจึงมีความผิดแผกแตกตางกันออกไปตามกระแส

58 วัฒนธรรมท่ผี า นเขา มา โดยเฉพาะจากเขมรและสุโขทัย กอนจะพัฒนาไปจนมีรูปแบบทีเ่ ปนตัวของ ตัวเอง งานประณีตศิลปในสมัยนีถ้ ือไดวามีความรุงเรืองสูงสุดหลังจากราชธานีกรุงศรีอยุธยาถึง คราวลมสลาย เมื่อพ.ศ. 2310 ก็ถึงยุคกรุงธนบุรี เนือ่ งจากในชวงเวลา 15 ปของยุคนี้ไมปรากฏ หลักฐานทางศิลปกรรมที่มีรูปแบบเฉพาะ จึงมักถูกรวมเขากับราชธานีกรุงเทพฯ หรือทีเ่ รียกวา กรุง รตั นโกสินทร ศิลปะรัตนโกสินทร ในชวงตนๆมีลักษณะเปนการสืบทอดงานแนวอุดมคติจากอดีต ราชธานีกรุงศรีอยุธยาอยางเดนชัด จากนัน้ ในชวงตัง้ แตรัชกาลที่ 4 เปนตนมา อิทธิพลทาง ศลิ ปวฒั นธรรมจากตะวันตกไดเริม่ เขามามีบทบาทเพิม่ ขึ้นเรื่อยๆ จนกระทัง่ กลายมาเปนศิลปะแนว ใหมท ีเ่ รียกวา “ศิลปกรรมรวมสมัย” ในปจจุบัน ภาพโลหะปราสาท ภาพหอไตร

59 กจิ กรรมที่ 1 ใหผเู รยี นทดลอง ฝก เขียนลายไทย จากความรทู ไี่ ดศึกษาจากเรอื่ งท่ี 1 - 6 มาประกอบ

60 กิจกรรมที่ 2 ใหผเู รียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปไ ทย จากภาพประกอบ โดยใชหลักการ วิจารณขา งตน และความรูท่ไี ดศ กึ ษาจากเรื่องท่ี 1 - 6 มาประกอบคําวิจารณ พระพุทธรูปศิลปะอยุทธยา คําวจิ ารณ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ........................................................................

61 บทที่ 2 ดนตรีไทย สาระสําคญั ศึกษาเรียนรู เขาใจ ถึงวิวัฒนาการ ประวัติความเปนมา และคุณคาความงาม ของดนตรีไทย สามารถอธิบายความงาม และประวัติความเปนมา ของดนตรีไทย ไดอยางเหมาะสม ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความเปนมา ของดนตรีไทย เขา ใจถึงตนกาํ เนิด ภมู ปิ ญญา และการอนุรักษดนตรีไทย ขอบขา ยเนอ้ื หา เร่ืองท่ี 1 ประวัตดิ นตรีไทย เรื่องท่ี 2 เทคนิคและวิธีการเลนของเครื่องดนตรีไทย เรื่องท่ี 3 คณุ คาความงามความไพเราะของเพลงและเครอ่ื งดนตรีไทย เรื่องท่ี 4 ประวัติคุณคาภูมิปญญาของดนตรไี ทย

62 เร่อื งที่ 1 ประวัติดนตรไี ทย ดนตรไี ทย ไดแบบอยางมาจากอินเดีย เนื่องจาก อินเดียเปนแหลงอารยธรรมโบราณ ท่ี สําคัญแหงหน่ึงของโลก อารยธรรมตา ง ๆ ของอินเดยี ไดเ ขา มามอี ทิ ธิพล ตอประเทศตาง ๆ ในแถบ เอเชียอยางมาก ทั้งในดาน ศาสนา ประเพณีความเชื่อ ตลอดจน ศิลปะ แขนงตาง ๆ โดยเฉพาะ ทางดา นดนตรี ปรากฎรูปรา งลักษณะ เครือ่ งดนตรี ของประเทศตาง ๆ ในแถบเอเชีย เชน จีน เขมร พมา อินโดนเิ ซีย และ มาเลเซีย มีลกั ษณะ คลา ยคลงึ กนั เปน สวนมาก ทงั้ นีเ้ น่ืองมาจาก ประเทศ เหลานัน้ ตา งกย็ ดึ แบบฉบบั ดนตรี ของอนิ เดยี เปน บรรทัดฐาน รวมทง้ั ไทยเราดวย เหตุผลสาํ คญั ที่ ทานผูรูไดเสนอทัศนะนก้ี ็คอื ลกั ษณะของ เคร่ืองดนตรีไทย สามารถจําแนกเปน 4 ประเภท คอื เคร่ืองดดี เคร่ืองสี เคร่ืองตี เคร่ืองเปา การสันนิษฐานเกี่ยวกับ กําเนิดหรือทม่ี าของ ดนตรีไทย ตามแนวทัศนะขอนี้ เปนทศั นะ

63 ทม่ี มี าแตเดิม นบั ตง้ั แต ไดม ีผูสนใจ และไดท ําการคนควาหาหลกั ฐานเก่ยี วกับเร่ืองนข้ี ้ึน และนบั วา เปน ทศั นะตา ง ๆ 1.ไดรับการนํามากลาวอางกันมาก บุคคลสําคัญที่เปนผูเสนอแนะแนวทางนี้คือ สมเดจ็ พระ เจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ พระบิดาแหงวงการประวัติศาสตรของไทย 2. สันนิษฐานวา ดนตรีไทย เกิดจากความคิด และ สติปญญา ของคนไทย เกิดขึ้นมาพรอ ม กับคนไทย ตง้ั แต สมัยทยี่ งั อยทู างตอนใต ของประเทศจนี แลว ทงั้ นเ้ี น่ืองจาก ดนตรี เปนมรดกของ มนุษยชาติ ทุกชาติทุกภาษาตางก็มี ดนตรี ซึง่ เปน เอกลักษณ ของตนดว ยกนั ทั้งนั้น ถึงแมว าใน ภายหลัง จะมีการรับเอาแบบอยาง ดนตรี ของตางชาติเขามาก็ตาม แตก็เปน การนําเขามาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงใหเหมาะสม กับ ลกั ษณะและนิสยั ทางดนตรี ของคนในชาตินน้ั ๆ ไทยเรา ต้งั แตส มยั ท่ี ยังอยทู างตอนใตข องประเทศจนี กค็ งจะมี ดนตรี ของเราเองเกิดขึน้ แลว ทง้ั นี้ จะสังเกตเุ ห็นไดว า เครื่องดนตรี ดง้ั เดมิ ของไทย จะมชี ื่อเรียกเปน คาํ โดด ซึ่งเปนลักษณะของคําไทยแท เชนเกราะ, โกรง , กรับ ฉาบ, ฉ่งิ ป, ขลุย ฆอ ง, กลอง เปน ตน ตอ มาเม่ือไทยได อพยพ ลงมาตง้ั ถน่ิ ฐานในแถบแหลมอนิ โดจีน จงึ ไดม าพบวัฒนธรรม แบบอินเดีย โดยเฉพาะ เครื่องดนตรี อินเดยี ซึ่งชนชาติมอญ และ เขมร รบั ไวก อนทีไ่ ทยจะอพยพ เขามา ดว ยเหตุน้ี ชนชาติไทย ซึ่งมีนสิ ัยทางดนตรีอยูแลว จึงรับเอาวัฒนธรรมทางดนตรีแบบอินเดีย ผสมกับแบบมอญและเขมร เขา มาผสมกับดนตรที ี่มมี าแตเดิมของตน จึงเกิดเครอ่ื งดนตรีเพมิ่ ข้ึนอีก ไดแ กพ ณิ สังข ปไ ฉน บณั เฑาะว กระจบั ป และจะเข เปนตน ตอ มาเมื่อไทยไดตง้ั ถนิ่ ฐานอยใู น แหลมอนิ โดจีนอยางมน่ั คงแลว ไดม กี าร ติดตอสมั พันธ กับประเทศเพ่ือนบานในแหลมอินโดจีน หรือแมแตกับประเทศทางตะวันตกบางประเทศที่เขามา ติดตอคาขาย ทําใหไ ทยรับเอาเคร่ืองดนตรี บางอยาง ของประเทศตาง ๆ เหลานั้นมาใช เลนใน วงดนตรีไทย ดวย เชน กลองแขก ปชวา ของ ชวา (อนิ โดนิเซยี ) กลองมลายู ของมลายู (มาเลเซยี ) เปง มาง ตะโพนมอญ ปม อญ และฆอ งมอญ ของมอญ กลองยาวของพมา ขิม มาลอของจีน กลองมริกัน (กลองของชาวอเมริกัน) เปย โน ออรแ กน และ ไวโอลนี ของประเทศทางตะวันตก เปนตน ววิ ฒั นาการของวงดนตรไี ทย นบั ตงั้ แตไ ทยไดม าต้ังถนิ่ ฐานในแหลมอินโดจนี และไดกอ ตง้ั อาณาจักรไทยขึ้น จึงเปน การเริม่ ตน ยุคแหงประวัติศาสตรไ ทย ท่ปี รากฎ หลักฐานเปน ลายลกั ษณอ กั ษร กลาวคอื เมอ่ื ไทยได สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้น และหลังจากที่ พอขุนรามคําแหง มหาราช ไดประดิษฐอักษรไทยขึ้น ใชแ ลว นบั ต้ังแตนัน้ มาจึงปรากฎหลกั ฐานดา น ดนตรีไทย ท่เี ปน ลายลกั ษณอ ักษร ท้งั ในหลกั ศิลา จารึก หนงั สือวรรณคดี และเอกสารทางประวัติศาสตร ในแตละยคุ ซึ่งสามารถนํามาเปนหลักฐาน ในการพิจารณา ถึงความเจริญและวิวัฒนาการของ ดนตรีไทย ตั้งแตสมยั สุโขทยั เปนตนมา จนกระทง่ั เปนแบบแผนดังปรากฎ ในปจจุบัน พอสรุปไดดังตอไปนี้

64 สมัยสโุ ขทยั มีลกั ษณะเปนการขับลาํ นาํ และรองเลน กันอยางพื้นเมอื ง เกย่ี วกับ เคร่ืองดนตรไี ทย ใน สมยั น้ี ปรากฎหลักฐานกลา วถงึ ไวในหนงั สือ ไตรภูมิพระรวง ซ่ึงเปน หนังสือวรรณคดี ท่ีแตงใน สมยั นี้ ไดแก แตร, สังข, มโหระทกึ , ฆอ ง, กลอง, ฉ่ิง, แฉง (ฉาบ), บณั เฑาะว พิณ, ซอพงุ ตอ (สันนิษฐานวาคือ ซอสามสาย) ปไฉน, ระฆงั , และ กงั สดาล เปนตน ลกั ษณะการผสม วงดนตรี ก็ ปรากฎหลักฐานทั้งในศิลาจารึก และหนงั สอื ไตรภูมพิ ระรวง กลา วถงึ \"เสยี งพาทย เสียงพณิ \" ซ่ึงจาก หลกั ฐานท่ีกลาวน้ี สนั นษิ ฐานวา วงดนตรไี ทย ในสมัยสโุ ขทัย มีดังน้ี คอื 1. วงบรรเลงพณิ มผี ูบรรเลง 1 คน ทาํ หนาท่ดี ดี พิณและขบั รองไปดวย เปน ลักษณะของการ ขับลํานํา 2. วงขบั ไม ประกอบดว ยผบู รรเลง 3 คน คือ คนขับลํานํา 1 คน คนสี ซอสามสาย คลอเสียง รอ ง 1 คน และ คนไกว บณั เฑาะว ใหจงั หวะ 1 คน 3. วงปพาทย เปนลักษณะของวงปพาทยเครื่อง 5 มี 2 ชนิด คอื วงปพาทยเครื่องหา อยางเบา ประกอบดวยเคร่ืองดนตรชี นดิ เลก็ ๆ จาํ นวน 5 ชนิ้ คอื 1. ป 2. กลองชาตรี 3. ทบั (โทน) 4. ฆองคู และ 5. ฉิ่ง ใชบรรเลงประกอบการแสดง ละครชาตรี (เปน ละครเกาแกท ่สี ุดของไทย) วงปพาทยเ ครื่องหา อยางหนัก ประกอบดว ย เครอ่ื งดนตรจี าํ นวน 5 ชิน้ คือ 1. ปใน 2. ฆอ งวง (ใหญ) 3. ตะโพน 4. กลองทดั และ 5. ฉิ่ง ใชบรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลง ประกอบ การแสดงมหรสพ ตา ง ๆ จะเหน็ วา วงปพาทยเครอ่ื งหา ในสมัยนีย้ ังไมมีระนาดเอก 4. วงมโหรี เปนลักษณะของวงดนตรอี ีกแบบหน่ึง ท่นี ําเอา วงบรรเลงพิณ กับ วงขบั ไม มา ผสมกัน เปน ลกั ษณะของ วงมโหรีเคร่อื งสี่ เพราะประกอบดวยผูบรรเลง 4 คน คือ 1. คนขับลํานํา และตี กรับพวง ใหจังหวะ 2. คนสี ซอสามสาย คลอเสียงรอง 3. คนดดี พณิ 4. คนตีทับ (โทน) ควบคุมจังหวะ สมัยกรงุ ศรอี ยุธยา ในสมยั น้ี ในกฏมลเฑียรบาล ซ่งึ ระบุชือ่ เครอื่ งดนตรไี ทย เพิม่ ขนึ้ จากที่เคยระบไุ ว ใน หลักฐานสมยั สุโขทัย จงึ นาจะเปน เครื่องดนตรี ทีเ่ พ่ิงเกดิ ในสมัยนี้ ไดแก กระจับป ขลยุ จะเข และ รํามะนา นอกจากนี้ในกฎมณเฑียรบาลสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) ปรากฎ ขอ หามตอนหนง่ึ วา \"...หามรองเพลงเรือ เปาขลยุ เปาป สีซอ ดีดกระจบั ป ดดี จะเข ตีโทนทับ ในเขต พระราชฐาน...\" ซึ่งแสดงวา สมัยนี้ ดนตรีไทย เปนที่นิยมกันมาก แมในเขตพระราชฐาน ก็มคี นไป รอ งเพลงและเลน ดนตรกี นั เปนทเ่ี อกิ เกรกิ และเกนิ พอดี จนกระทั่งพระมหากษัตริยตองทรงออกกฎ

65 มลเฑียรบาล ดงั กลาวขนึ้ ไวเ กีย่ วกบั ลกั ษณะของ วงดนตรีไทย ในสมัยนม้ี กี ารเปล่ียนแปลง และ พัฒนาข้ึนกวาในสมัยสโุ ขทัย ดังนี้ คอื 1. วงปพาทย ในสมัยนี้ ก็ยังคงเปน วงปพ าทยเ ครื่องหา เชนเดยี วกับในสมยั สุโขทยั แตมี ระนาดเอก เพิม่ ข้ึน ดังนน้ั วงปพาทยเครื่องหา ในสมัยนี้ประกอบดวย เคร่ืองดนตรี ดงั ตอไปน้ี คือ 1. ระนาดเอก 2. ปใ น 3. ฆอ งวง (ใหญ) 4. กลองทัด ตะโพน 5. ฉง่ิ 2. วงมโหรี ในสมัยนี้พัฒนามาจาก วงมโหรีเครอ่ื งสี่ ในสมัยสโุ ขทัยเปน วงมโหรีเครื่อง หก เพราะไดเพม่ิ เคร่ืองดนตรี เขาไปอีก 2 ชน้ิ คือ ขลุย และ ราํ มะนา ทาํ ให วงมโหรี ในสมยั นี้ ประกอบดว ย เคร่ืองดนตรี จํานวน 6 ชิน้ คอื 1. ซอสามสาย 2. กระจับป (แทนพณิ ) 3. ทบั (โทน) 4. รํามะนา 5. ขลยุ 6. กรบั พวง สมัยกรงุ ธนบรุ ี เนอ่ื งจากในสมยั นเี้ ปน ชวงระยะเวลาอันสน้ั เพียงแค 15 ป และประกอบกับ เปนสมัย แหงการกอ รา งสรางเมือง และการปองกันประเทศเสียโดยมาก วงดนตรีไทย ในสมัยนี้จึงไมปรากฎ หลักฐานไวว า ไดม กี ารพัฒนาเปล่ียนแปลงขึน้ สันนิษฐานวา ยังคงเปนลักษณะและรูปแบบของ ดนตรไี ทย ในสมัยกรงุ ศรอี ยุธยานน่ั เอง สมยั กรุงรัตนโกสินทร ในสมยั น้ี เม่ือบา นเมอื งไดผา นพนจากภาวะศึกสงคราม และไดมีการกอสรางเมืองให ม่ันคงเปน ปก แผน เกิดความ สงบรม เยน็ โดยทั่วไปแลว ศิลปวัฒนธรรม ของชาติ กไ็ ดร ับการฟน ฟู ทะนุบํารงุ และสง เสรมิ ใหเ จรญิ รุงเรืองขึ้น โดยเฉพาะ ทางดานดนตรไี ทย ในสมยั น้ีไดม กี ารพัฒนา เปล่ยี นแปลงเจริญขนึ้ เปนลาํ ดบั ดงั ตอไปนี้

66 รัชกาลท่ี 1 ดนตรีไทย ในสมัยน้ีสว นใหญ ยงั คงมีลักษณะ และ รูปแบบตามที่มีมาตั้งแต สมัยกรุงศรี อยุธยา ท่พี ฒั นาข้ึนบางในสมัยนก้ี ็คอื การเพิ่ม กลองทัด ขึ้นอีก 1 ลูก ใน วงปพ าทย ซึ่งแตเดิมมา มี แค 1 ลกู พอมาถึง สมัยรชั กาลท่ี 1 วงปพาทย มีกลองทัด 2 ลูก เสียงสงู (ตัวผ)ู ลกู หน่ึง และ เสียงต่ํา (ตัวเมีย) ลกู หนง่ึ และการใช กลองทดั 2 ลูก ในวงปพ าทย กเ็ ปน ทน่ี ิยมกนั มา จนกระท่ังปจจุบนั นี้ รัชกาลที่ 2 อาจกลา ววาในสมัยน้ี เปน ยุคทองของ ดนตรไี ทย ยุคหน่งึ ท้ังนเ้ี พราะ องคพระมหากษตั ริย ทรงสนพระทัย ดนตรีไทย เปนอยา งย่งิ พระองคทรงพระปรีชาสามารถ ในทางดนตรไี ทย ถงึ ขนาด ทท่ี รงดนตรีไทย คือ ซอสามสาย ได มีซอคูพระหตั ถช ือ่ วา \"ซอสายฟาฟาด\" ทง้ั พระองคได พระราช นพิ นต เพลงไทย ข้นึ เพลงหน่งึ เปนเพลงทีไ่ พเราะ และอมตะ มาจนบดั น้ีนัน่ กค็ ือเพลง \"บหุ ลนั ลอย เลอ่ื น\" การพัฒนา เปล่ียนแปลงของ ดนตรีไทย ในสมยั น้กี ็คือ ไดม กี ารนําเอา วงปพาทยมาบรรเลง ประกอบการขับเสภา เปนครั้งแรก นอกจากนี้ ยงั มกี ลองชนดิ หนง่ึ เกดิ ขน้ึ โดยดัดแปลงจาก \"เปงมาง\" ของมอญ ตอมาเรยี กกลองชนิดนวี้ า \"สองหนา \" ใชต ีกาํ กบั จงั หวะแทนเสยี งตะโพนในวง ปพาทย ประกอบการขับเสภา เนื่องจากเห็นวาตะโพนดังเกินไป จนกระทั่งกลบเสียงขับ กลองสอง หนา นี้ ปจ จบุ ันนิยมใชต กี าํ กับจงั หวะหนาทบั ในวงปพาทยไมแข็ง รชั กาลท่ี 3 วงปพ าทยไ ดพ ฒั นาขนึ้ เปน วงปพ าทยเ ครื่องคู เพราะไดมกี ารประดษิ ฐร ะนาดทมุ มาคูก บั ระนาดเอก และประดษิ ฐฆองวงเลก็ มาคูกับ ฆอ งวงใหญ รัชกาลท่ี 4 วงปพ าทยไ ดพฒั นาขน้ึ เปนวงปพาทยเคร่ืองใหญ เพราะไดม ีการประดิษฐ เคร่ืองดนตรี เพ่ิมขน้ึ อกี 2 ชนดิ เลยี นแบบ ระนาดเอก และระนาดทมุ โดยใชโ ลหะทาํ ลูกระนาด และทําราง ระนาดใหแตกตางไปจากรางระนาดเอก และระนาดทมุ (ไม) เรียกวา ระนาดเอกเหล็ก และระนาด ทุมเหลก็ นํามาบรรเลงเพิ่มในวงปพาทยเครื่องคู ทําให ขนาดของ วงปพาทยข ยายใหญข นึ้ จงึ เรยี กวา วงปพ าทยเคร่อื งใหญ อนึ่งในสมัยนี้ วงการดนตรไี ทย นยิ มการรองเพลงสง ใหดนตรีรับ หรอื ที่ เรยี กวา \"การรองสง\" กนั มากจนกระทงั่ การขับเสภาซง่ึ เคยนิยมกันมากอ นคอ ย ๆ หายไป และการ รองสงก็เปนแนวทางใหมีผูคิดแตงขยายเพลง 2 ชั้นของเดิมใหเปนเพลง 3 ช้นั และตัดลง เปนช้นั เดียว จนกระทงั่ กลายเปนเพลงเถาในทส่ี ดุ (นบั วา เพลงเถาเกิดขึ้นมากมายในสมัยนี)้ นอกจากน้ี วง เครื่องสาย กเ็ กดิ ขึ้นในสมยั รัชกาลนีเ้ ชน กนั รัชกาลท่ี 5

67 ไดม กี ารปรบั ปรงุ วงปพ าทยขน้ึ ใหมชนดิ หนงึ่ ซึง่ ตอมาเรียกวา \"วงปพาทยดึกดําบรรพ\" โดยสมเดจ็ กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ติวงศ สําหรับใชบรรเลงประกอบการแสดง \"ละครดึกดําบรรพ\" ซ่งึ เปน ละครท่เี พ่ิงปรับปรุงขึ้นในสมัยรชั กาลนเ้ี ชน กัน หลักการปรับปรุงของทานก็โดยการตัด เคร่ืองดนตรีชนดิ เสียงเลก็ แหลม หรือดงั เกินไปออก คงไวแ ตเคร่ืองดนตรีท่ีมีเสียงทมุ นุมนวล กบั เพิ่มเครื่องดนตรีบางอยางเขามาใหม เครื่องดนตรี ในวงปพาทยดึกดําบรรพ จึงประกอบดวยระนาด เอก ฆองวงใหญ ระนาดทุม ระนาดทมุ เหลก็ ขลุย ซออู ฆองหยุ (ฆอ ง 7 ใบ) ตะโพน กลองตะโพน และเครือ่ งกํากับจงั หวะ รัชกาลท่ี 6 ไดมีการปรับปรุงวงปพาทยขึ้นมาอีกชนิดหนึ่ง โดยนําวงดนตรีของมอญมาผสมกับ วงป พาทยข องไทย ตอ มาเรียกวงดนตรผี สมนีว้ า \"วงปพาทยมอญ\" โดยหลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศลิ ป บรรเลง) เปนผูปรบั ปรุงขึน้ วงปพ าทยมอญดงั กลา วนี้ ก็มีท้งั วงปพาทยม อญเครื่องหา เครอ่ื งคู และ เครื่องใหญ เชนเดียวกับวงปพาทยของไทย และกลายเปนที่นิยมใชบรรเลงประโคมในงานศพ มา จนกระท่งั บัดน้ี นอกจากนี้ยังไดมีการนําเครื่องดนตรีของตางชาติ เขามาบรรเลงผสมกับ วงดนตรี ไทย บางชนิดก็นํามาดัดแปลงเปนเครื่องดนตรีของไทย ทําใหรูปแบบของ วงดนตรีไทย เปลีย่ นแปลงพฒั นา ดงั น้ี คือ 1. การนําเครื่องดนตรีของชวา หรืออินโดนีเซีย คอื \"องั กะลงุ \" มาเผยแพรในเมืองไทย เปน ครง้ั แรก โดยหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ทงั้ น้ีโดยนํามาดัดแปลง ปรับปรงุ ขึน้ ใหม ใหมีเสียงครบ 7 เสยี ง (เดิมมี 5 เสยี ง) ปรับปรุงวิธกี ารเลน โดยถือเขยาคนละ 2 เสียง ทําใหเ ครื่อง ดนตรชี นดิ น้ี กลายเปน เครอ่ื งดนตรีไทยอีกอยางหนึ่ง เพราะคนไทยสามารถทําอังกะลุงไดเอง อกี ทัง้ วิธีการบรรเลงก็เปนแบบเฉพาะของเรา แตกตางไปจากของชวาโดยสิ้นเชิง 2. การนําเครื่องดนตรีของตางชาติเขามาบรรเลงผสมในวงเครื่องสาย ไดแก ขิมของจีน และออรแกนของฝรงั่ ทําใหวงเครื่องสายพัฒนารูปแบบของวงไปอกี ลกั ษณะหน่งึ คือ \"วงเครื่องสาย ผสม\" รชั กาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ไดทรงสนพระทัยทางดาน ดนตรไี ทย มากเชน กนั พระองคไดพ ระราชนพิ นธ เพลงไทยท่ไี พเราะไวถ งึ 3 เพลง คอื เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝง 3 ช้นั เพลงเขมรลอยองค (เถา) และเพลงราตรีประดับดาว (เถา) พระองคแ ละพระราชินไี ดโ ปรดใหค รู ดนตรเี ขา ไปถวายการสอนดนตรใี นวงั แตเปนที่นาเสียดาย ที่ระยะเวลาแหงการครองราชยของ พระองคไมนาน เนื่องมาจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และพระองคทรงสละราชบัลลังก หลงั จากนน้ั ได 2 ป มิฉะนั้นแลว ดนตรีไทย ก็คงจะเจริญรุงเรืองมาก ในสมัยแหงพระองค อยางไรก็

68 ตามดนตรีไทยในสมยั รัชกาลน้ี นบั วา ไดพัฒนารูปแบบ และลักษณะ มาจนกระทงั่ สมบรู ณ เปน แบบแผนดังเชน ในปจจุบันน้แี ลว ในสมัยสมบรู ณาญาสิทธริ าชมีผนู ยิ มดนตรไี ทยกันมาก และมีผูมี ฝม ือ ทางดนตรี ตลอดจน มีความคิดปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ใหพัฒนากาวหนามาตามลําดับ พระมหากษตั รยิ  เจานาย ตลอดจนขุนนางผใู หญ ไดใหค วามอปุ ถัมภ และทาํ นุบาํ รุงดนตรีไทย ในวงั ตาง ๆ มักจะมีวงดนตรีประจําวัง เชน วงวังบูรพา วงวังบางขุนพรหม วงวังบางคอแหลม และวงวงั ปลายเนิน เปนตน แตละวงตางก็ขวนขวายหาครูดนตรี และนักดนตรที ม่ี ีฝมอื เขามาประจําวง มกี าร ฝก ซอ มกันอยเู นืองนิจ บางครั้งก็มีการประกวดประชันกัน จึงทําใหดนตรีไทยเจริญเฟองฟูมาก ตอมาภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 เปน ตน มา ดนตรไี ทยเร่ิมซบเซาลง อาจกลาว ไดวา เปนสมยั หวั เลี้ยวหัวตอ ท่ี ดนตรไี ทย เกือบจะถงึ จุดจบ เนื่องจากรัฐบาลในสมัยหนึ่งมีนโยบาย ทเี รยี กวา \"รัฐนยิ ม\" ซง่ึ นโยบายนี้ มีผลกระทบตอ ดนตรีไทย ดว ย กลาวคอื มีการหามบรรเลง ดนตรี ไทย เพราะเหน็ วา ไมสอดคลองกับการพัฒนาประเทศ ใหทัดเทียมกับอารยประเทศ ใครจะจัดใหมี การบรรเลง ดนตรีไทย ตองขออนุญาต จากทางราชการกอน อีกทั้ง นกั ดนตรไี ทยกจ็ ะตองมีบัตรนัก ดนตรีที่ทางราชการออกให จนกระทั่งตอมาอีกหลายป เมื่อไดมี การสัง่ ยกเลกิ \"รฐั นยิ ม\" ดงั กลาว เสยี แตถ งึ กระนน้ั กต็ าม ดนตรีไทยกไ็ มรุงเรืองเทา แตกอ น ยังลม ลกุ คลกุ คลาน มาจนกระทั่งบัดน้ี เนื่องจากวิถีชีวิต และสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม วัฒนธรรมทางดนตรีของตางชาติ ไดเขามา มีบทบาทในชีวิตประจําวันของคนไทยเปนอันมาก ดนตรีที่เราไดยินไดฟง และไดเ หน็ กนั ทางวทิ ยุ โทรทัศน หรือที่บรรเลงตามงานตาง ๆ โดยมากก็เปนดนตรีของตางชาติ หาใช \"เสยี งพาทย เสียง พณิ \" ดงั แตก อ นไม ถึงแมวาจะเปนที่นายินดีที่เราไดมีโอกาสฟงดนตรีนานาชาตินานาชนิด แตถา ดนตรีไทย ถกู ทอดทง้ิ และไมมีใครรูจ ักคุณคา กน็ ับวาเสยี ดายทจ่ี ะตอ งสญู เสียส่ิงทด่ี งี าม ซึง่ เปน เอกลกั ษณของชาติอยา งหนง่ึ ไป ดงั น้ัน จึงควรทค่ี นไทยทุกคนจะไดตระหนกั ถงึ คณุ คา ของ ดนตรี ไทย และชวยกนั ทะนบุ าํ รงุ สง เสรมิ และรกั ษาไว เพื่อเปนมรดกทางวัฒนธรรมของชาติสืบตอไป สมัยรัตนโกสนิ ทร ในยุครัตนโกสินทรจดั วาเปนยุคทองยุคหนง่ึ ของวงการดนตรีไทยเลยทีเดียว โดยเรม่ิ จาก สมัยรตั นโกสนิ ทรตอนตน มีการประพันธเพลง \"ทางกรอ\" ขึน้ เปนครง้ั แรก ซ่งึ เปน การพฒั นาการ ประพันธเพลงจากเดิมซึ่งมีเพียงเพลงทางเก็บ วงดนตรใี นยคุ สมัยน้ีเร่มิ มกี ารแบงออกเปนสามประเภท ไดแ ก วงเครอ่ื งสาย ซึง่ ประกอบดว ยเคร่ืองดนตรีทม่ี ีสายท้งั หลาย เชน ซอ จะเข เปน ตน วงปพ าทย ประกอบดว ยเคร่ืองตีเปนสวนใหญ ไดแ ก ระนาด ฆอ ง และป เปน ตน

69 วงมโหรี เปนการรวมกันของวงเครื่องสายและวงปพาทย แตต ัดปออกเพราะเสยี งดงั กลบเสียงเคร่อื งสายอ่ืนหมด ดนตรีไทยสวนใหญที่มีพัฒนาการมาอยางรวดเร็วลวนมาจากความนิยมของเจานายใน ราชสํานักความนยิ มเหลา น้ีแพรไ ปจนถึงขนุ นางและผูด ีมีเงนิ ท้งั หลาย ตางเห็นวาการมีวงดนตรี ประจาํ ตวั ถือวาเปนสิ่งเชดิ หนา ชูตา จึงมีการสรรหานักดนตรีฝมือดีมาเลนในวงของตนเอง เกดิ มี การประกวดประชนั และการแขงขนั กนั พัฒนาฝม ือข้นึ โดยเฉพาะสมัยรัชกาลที่ 5-7 จัดวาเปนยุค ท่วี งการดนตรไี ทยถงึ จดุ รงุ เรืองสุด สมัยรัตนโกสินทรตอนตนมีความนิยมในการเลนและการฟง วงเครื่องสายและมโหรีกันมาก เพราะมีความนิ่มนวล เหมาะแกการฟงขณะรับแขก รับประทาน อาหาร หรือกลอ มเขา นอน เจานายและขาราชการผูใหญตางมีความสนใจเลนเครื่องสายกันมาก อาทิเชน พระเจาอยหู วั รัชกาลท่ี 2 ทรงพระปรีชาสามารถดานซอสามสาย ทรงมซี อคูพระหตั ถช ื่อ ซอสายฟาฟาด ทรงโปรดซอสามสายมาก ถึงกับมีพระบรมราชโองการใหออก \"ตราภูมิคุมหาม\" ใหแ กเ จาของสวนที่มีตนมะพราวซอ (มะพราวที่กะลาสามารถนําไปทําซอได ปจจุบันนี้หายากมาก และมีราคาแพงมาก กะลาราคาลูกละ 400-300,000 บาท) ซง่ึ จะเปนการยกเวน ไมใ หเกบ็ ภาษีแกผมู ี มะพราวซอ นอกจากน้ี พระองคย ังพระราชนพิ นธเ พลงไทยชอ่ื บหุ ลันลอยเลื่อน ซึ่งมีที่มาจากพระ สุบนิ นิมติ ของพระองคเองดวย ตอมาในยุคหลัง เริ่มมีการนิยมฟงการขับเสภา ในยุคนน้ั คอื เรอื่ งขุน ชางขุนแผนคะ แรกๆก็ขบั เสภาเด่ยี วๆ หลังๆมา กเ็ ร่ิมมกี ารนาํ เอาดนตรี \"ปพาทย\" เขามารวมใน การขับเสภาดวย เพ่อื ใหน ักขับเสภาไดพ ักเสียงเปนระยะ หนกั เขา คงเหน็ กนั วาปพาทยนาฟงกวาจงึ ไมฟงเสภาเลย ตัดนักขับเสภาออกเหลือแตวงปพาทย ความนิยมในวงปพาทยจึงมีมากขึ้น และเขา มาแทนที่วงมโหรีและเครื่องสาย ในยุคสมยั นัน้ เจานายและขาราชการผูใหญตางเห็นกนั วาการมวี งปพาทยชัน้ ดเี ปนของ ประดับบารมีชั้นเยี่ยม จึงไดมีการเที่ยวหานักดนตรีจากทั่วทุกสารทิศมาอยูในวงของตนเอง และมี การนําเอาวงดนตรีมาประกวดประชันกัน อยางที่เราไดดูในภาพยนตเรื่อง \"โหมโรง\" ในสมัยรัชกาล ที่ 6 มีการกําหนดราชทินนามของนักดนตรีที่รับราชการในราชสํานักเปนจํานวนมาก โดยแตล ะชือ่ กต็ ้งั ใหค ลองจองกันอยา งไพเราะ ไดแก ประสานดุริยศัพท ประดบั ดุรยิ กิจ ประดิษฐไ พเราะ เสนาะ ดรุ ยิ างค สําอางดนตรี ศรวี าทิต สิทธิวาทิน พิณบรรเลงราช พาทยบรรเลงรมย ประสมสังคีต ประณีต วรศัพท คนธรรพวาที ดนตรีบรรเลง เพลงไพเราะ เพราะสําเนียง เสียงเสนาะกรรณ สรรเพลงสรวง พวงสําเนียงรอ ย สรอ ยสาํ เนียงสนธ วมิ ลเราใจ พิไรรมยา วีณาประจนิ ต วีนินประณีต สังคีตศพั ท เสนาะ สงั เคราะหศ พั ทสอางค ดรุ ิยางคเ จนจังหวะ ดรุ ิยะเจนใจ ประไพเพลงประสม ประคมเพลง ประสาน ชาญเชิงระนาด ฉลาดฆองวง บรรจงทุมเลิศ บรรเจิดปเสนาะ ไพเราะเสยี งซอ คลอขลมุ คลอง วอ งจะเขรับ ขบั คําหวาน ตันตริการเจนจติ ตันตริกิจปรีชา นารถประสาทศัพท คนธรรพ ประสิทธ์ิสาร พดู ถึงหนังเร่ืองโหมโรงแลว จะพลาดการพดู ถงึ นกั ดนตรสี ําคัญทา นหนึ่งแหง กรุง

70 รตั นโกสนิ ทรไ ปเปนไมได ทา นก็คอื ทานหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เพราะ ชีวประวัติของทานเปนแรงบันดาลใจใหผ สู รางสรา งหนังเรือ่ งนี้ขน้ึ มา ทานหลวงประดษิ ฐไ พเราะ เปน นกั ดนตรที ี่มีความสามารถทั้งปพาทยและเครื่องสาย เปน ผปู ระพันธเพลงไทยหลายเพลง เชน แสนคํานึง นกเขาขะแมร ลาวเส่ยี งเทยี น ฯลฯ ช่ือเพลงเหลา นีอ้ าจจะไมคุน หูนัก แตห าไดลองฟง แลว จะจาํ ไดทันที เพราะนักดนตรีสากลรุนหลังมักนําทํานองเพลงเหลานี้มาประพันธเปนเพลงไทย สากล นอกจากนี้ ทา นยงั เปนผูประดิษฐเครื่องดนตรี \"องั กะลุง\" โดยดัดแปลงมาจากเครื่องดนตรี พน้ื บา นของอนิ โดนีเซยี อกี ดวย หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) มีคํากลาววายุคทองของดนตรีไทยหมดไปพรอมกับยุคของทานหลวงประดิษฐไพเราะ คํา กลา วน้ีเห็นจะไมไ กลเกินจริง เพราะในยุคหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง ในชวงสงครามโลกคร้ัง ท่ีสอง รัฐบาลไทยในยุค ทานจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดมีนโยบายสรางชาติใหเปนอารยะ โดย ตอ งการสง เสรมิ ใหด นตรไี ทยมแี บบแผน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และดูทัดเทียมชาติตะวันตก จึงไดมี การควบคุมใหันักดนตรีและศิลปะพืน้ บานอื่นๆ ตองมีการสอบใบอนุญาตเลนดนตรีเพื่อประกัน มาตรฐานใหเปนระบบเดียวกัน มีการออกขอบังคับใหตองเลนดนตรีบนเกาอี้ หามนั่งเลนกับพืน้ ฯลฯ ซึง่ ในทางปฏิบัติแลวเกิดปญหามาก เน่ืองจากการเลนดนตรีไทยเกิดจากการส่ังสมรูปแบบแนว

71 ทางการเลนแตละสายตระกูลแตละครูไมเหมือนกัน ไมอาจถือไดวาใครผิดใครถูก อีกทัง้ ขอหาม หลายอยางก็ขัดตอวิถีชีวิต โดยเฉพาะบัตรอนุญาตเลนดนตรี ทําใหผูท ีไ่ มใชนักดนตรีอาชีพเดือดรอน มากจากการที่ไมสามารถเลนดนตรียามวางไดเหมือนเคย ประกอบกับแนวคิดของคนรุนใหมที่สนใจ วฒั นธรรมตา งชาติมากกวา โดยมองวาการเลนดนตรีไทยเปนสิง่ ลาสมัยและตองหามเหตุการณนีท้ าน หลวงประดิษฐไพเราะในวัยชราไมพอใจมาก แตไมสามารถแสดงออกได ทําไดเพียงประพันธเพลง ช่ือ \"แสนคํานึง เถา\" ซึ่งมีทวงทํานองสวนสามชั้น แสดงถึงความอัดอั้นตันใจ พรอมเนื้อรองเปน เนื้อหาตอวารัฐบาลในยุคนั้นเกี่ยวกับการควบคุมศิลปะ แตผูใกลชิดของทานเกรงวาทานจะไดรับ อันตรายจากการโจมตีรัฐบาล จึงไดทําลายตนฉบับเนือ้ รองนัน้ เสีย และประพันธเนือ้ รองขึน้ ใหมเปน เพลงรกั แทน และไมมีใครทราบถึงเนื้อหาตนฉบับเนือ้ รองเดิมอีกเลย จริงๆแลวมีคนเขาใจผิดกันเยอะ วาทานจอมพล ป. พิบูลสงครามละเลยศิลปะวัฒนธรรมของชาติ พยายามกีดกันดนตรีไทย แตแทท่ี จริงแลว ทานจอมพลฯ เปนผูท่ีมีความรักและสนใจในดนตรีไทยในระดับหน่ึง เคยปรากฎวาทาน นิยมฟงดนตรีไทย และเคยบริจาคเงินสวนตัวจํานวนมากเพ่ือดนตรีไทยดวย เจตนารมณของการ ควบคุมดนตรีไทยของทานจึงมีที่มาจากเจตนาดีที่ตองการใหดนตรีไทยมีระบบระเบียบแบบแผน เทียบเทาของตะวันตก แตผลกลับเปนไปในทิศทางตรงกันขาม ดนตรีไทยกลับถึงจุดตกต่าํ จนถึงทุก วนั น้ี แมจ ะมกี ารพยายามใหป ระชาชนเขาถึงดนตรีไทยแลว ดนตรีไทยยังกลับเปนเพียงดนตรีทีใ่ ชใน พิธี เปนเรื่องของแบบแผน เปนของเฉพาะกลุม ไมสามารถเขาใจได ไมสามารถเขาถึงได จริงๆแลว ทุกคนสามารถเขาถึงแลซึมซาบความไพเราะของดนตรีไทยได เทาๆ กับที่เราสามารถซึมซาบความ ไพเราะของเพลงไทยสากลทเ่ี ราฟง กนั อยทู กุ วนั

72 เรือ่ งที่ 2 เทคนคิ และวธิ ีการเลน ของเครือ่ งดนตรไี ทย ซออู การเทียบเสยี งซออู ใชข ลุยเพียงออเปาเสยี ง ซอล โดยปด มอื บนและนวิ้ คา้ํ เปา ลมกลางๆ จะไดเ สยี ง ซอล เพอ่ื เทยี บเสยี งสายเอก สว นสายทมุ ใหป ดมือลา งหมด จนถงึ นิ้วกอ ย เปาลมเบา กจ็ ะไดเสยี ง โด ตาม ตองการ เพอื่ เทียบเสยี งสายทมุ ใหต รงกับเสียงน้ัน การนั่งสซี อ นั่งขัดสมาธบิ นพื้น หากเปนสตรีใหนั่งพับเพียบขาขวาทับขาซาย วางกะโหลกซอไวบนขาพับ ดา นซา ย มอื ซา ยจับคันซอใหตรงกับที่มเี ชือกรัดอก ใหต ่ํากวา เชอื กรัดอกประมาณ 1 นิ้ว สว นมอื ขวา จับคันสี-โดยแบง คนั สอี อกเปน 5 สว น แลว จบั ตรง 3 สว นใหค นั สพี าดไปบนนว้ิ ช้ี และนว้ิ กลางใน ลกั ษณะหงายมอื สวนนว้ิ หวั แมม อื ใชกาํ กบั คันสีโดยกดลงบนนว้ิ ช้ี นว้ิ นางและนว้ิ กอ ยใหง อตดิ กัน เพอื่ ทําหนา ท่ีดนั คนั ชักออกเมอื่ จะสสี ายเอก และ ดึงเขา เม่ือจะสีสายทุม การสซี อ วางคนั สใี หช ดิ ดา นใน ใหอยูใ นลกั ษณะเตรยี มชกั ออก แลวลากคันสีออกชาๆดว ยการใชว ธิ ีสี ออก ลากคนั สีใหส ดุ แลวเปลยี่ นเปนสเี ขา ในสายเดยี วกนั ทาํ เรื่อยไปจนกวาจะคลอง พอคลอ งดแี ลว ใหเ ปล่ยี นมาเปนสีสายเอก โดยดนั น้วิ นางกบั น้ิวกอยออกไปเลก็ นอย ซอจะเปลย่ี นเปนเสยี ง ซอล ทันที ดงั นค้ี นั สี ออก เขา ออก เขา เสยี ง โด โด ซอล ซอล ฝกเรื่อยไปจนเกดิ ความชํานาญ ขอ ควรระวงั ตอ งวางซอใหต รง โดยใชม ือซา ยจบั ซอใหพอเหมาะ อยาใหแนน เกนิ ไป อยา ใหห ลวม จนเกนิ ไป ขอมือท่ีจบั ซอตองทอดลงไปใหพอดี ขณะนั่งสยี ืดอกพอสมควร อยาใหหลังโกงได มือท่ี คีบซอใหออกกําลังพอสมควรอยาใหซอพลิกไปมา การเทียบเสยี งซอดว ง ใชข ลยุ เพยี งออเปาเสยี ง ซอล โดยการปดมอื บน และ น้ิวค้าํ เปาลมกลางๆ กจ็ ะไดเสียง ซอล ขึน้ สายทุมของซอดวง ใหตรงกับเสยี งซอลน้ี ตอ ไปเปนเสียงสายเอก ใชขลุย เปาเสียง เร โดยปด นว้ิ ตอ ไปอกี 3 นว้ิ เปา ดวยลมแรง กจ็ ะได เสยี ง เร ขน้ึ สายเ0อกใหต รงกับเสยี ง เร น้ี การนง่ั สีซอ น่งั พบั เพยี บบนพืน้ จับคนั ซอดวยมือซา ย ใหไ ดกึ่งกลางตํา่ กวา รดั อกลงมาเลก็ นอ ย ใหซ อโอนออ

73 กกจากตวั นดิ หนอย คันซออยูในองุ มอื ซา ย ตวั กระบอกซอวางไวบนขา ใหต ัวกระบอกซออยใู น ตาํ แหนงขอพบั ติดกบั ลําตวั มือขวาจับคันสีดวยการแบงคันสีใหได 5 สว น แลว จงึ จับสวนที่ 3 ขาง ทาย ใหค นั สีพาดไปบนมอื นิ้วช้ี นว้ิ กลางเปนสว นรบั คนั สี ใชน้ิวหัวแมม ือกดกระชบั ไว นว้ิ นางกบั นว้ิ กอ ยงอไวส ว นใน ซง่ึ จะเปนประโยชนใ นการดันคนั สอี อกมาหาสายเอก และ ดึงเขาเมื่อตองการ สสี ายทุม การสซี อ วางคนั สไี วด า นใน ใหอ ยูในลกั ษณะเตรยี มชกั ออก คอยๆลากคนั สีออกใหเ กิดเสยี ง ซอล จนสดุ คันชกั แลว เปลย่ี นเปน สเี ขา ในสายเดยี วกนั (ทาํ เรื่อยไปจนกวา จะคลอ ง) พอซอ มสายในคลอ งดแี ลว จงึ เปล่ียนมาสีสายเอกซึง่ เปนเสยี ง เร โดยการใชนว้ิ นางกบั นว้ิ กอ ยมอื ขวา ดนั คนั สีออก ปฏบิ ตั ิจน คลอ ง ฝกสลับใหเ กดิ เสียงดงั น้ี คันสี ออก เขา ออก เขา เสยี ง ซอล ซอล เร เร ขอควรระวงั ตอ งวางซอใหต รง โดยใชขอมือซายควบคุม อยาใหซอบิดไปมาได

74 เครอื่ งดีด จะเข เปน เครือ่ งดนตรปี ระเภทดดี มี 3 สายเขาใจวาไดปรับปรุงแกไขมาจากพิณ นํามาวางดีดกับ พน้ื เพอ่ื ความสะดวก จะเขไดนาํ เขา รวมบรรเลงอยูในวงมโหรคี กู บั กระจบั ปในสมัยรชั กาลท่ี 2 แหง กรงุ รตั นโกสนิ ทร มผี นู ยิ มเลนจะเขกันมาก ตวั จะเขทาํ เปน สองตอน คอื ตอนหวั และตอนหางตอน หวั เปนกระพงุ ใหญ ทําดว ยไมแ กน ขนนุ ทอ นหวั และทอ นหางขดุ เปนโพรงตลอด ปด ใตท อ งดว ย แผน ไม มีเทา รองตอนหวั 4 เทา และตอนปลายอีก 1 เทาทําหลังนูนตรงกลาง ใหสองขางลาดลง โยง สายจากตอนหัวไปทางตอนหางเปน 3 สาย มีลูกบิดประจําสายละ 1 อนั สาย 1 ใชเ สน ลวด ทองเหลอื ง อกี 2 สายใชเสนเอน็ มีหยองรับสายอยตู รงปลายหาง กอ นจะถึงลกู บดิ ระหวางตัวจะเขม ี แปนไมเ รยี กวา “นม” รองรับสายติดไวบนหลังจะเข รวมทั้งสน้ิ 11 อัน เพ่ือไวเปนทสี่ ําหรบั นวิ้ กด นมแตล ะอนั สงู เรียงลาํ ดบั ขึ้นไป เวลาบรรเลง ใชดีดดวยไมดีดกลมปลายแหลมทําดวยงาชางหรือ กระดกู สตั ว เคยี นดวย เสนดา ยสาํ หรบั พนั ติดกบั ปลายน้ิวช้ีขางขวาของผดู ีด และใชน ้ิวหัวแมม อื กับ น้วิ กลางชว ยจบั ใหม กี ําลงั เวลาแกวงมอื สายไปมา ใหสมั พันธ กับมือขางซายขณะกดสายดวย ซงึ เปน เครื่องดนตรชี นดิ ดีด มี 4 สายเชนเดียวกับกระจบั ป แตม ขี นาดเลก็ กวา กะโหลกมี รูปรางกลม ทั้งกะโหลกและคันทวน ใชไมเนือ้ แขง็ ช้ินเดียวควา น ตอนที่เปน กะโหลกใหเ ปน โพรง ตดั แผนไมใ หก ลม แลวเจาะรูตรงกลางทําเปนฝาปดดานหนา เพื่ออุมเสียงใหกังวาน คนั ทวนนาํ เปน เหลย่ี มแบนตอนหนา เพอ่ื ตดิ ตะพานหรือนมรบั นว้ิ จาํ นวน 9 อนั ตอนปลายคันทวนทําเปนรูปโคง และขดุ ใหเ ปน รอง เจาะรสู อดลกู บดิ ขา งละ 2 อัน รวมเปน 4 อนั สอดเขาไปในรอง สําหรับขึ้นสาย 4

75 สาย สายของซึงใชสายลวดขนาดเล็ก 2 สาย และ สายใหญ 2 สายซึงเปนเครื่องดีดที่ชาวไทยทาง ภาคเหนือนยิ มนาํ มา เลนรวมกับปซ อ และ สะลอ พณิ เปยะ พณิ เปย ะ หรอื พิณเพยี ะ เปน เครือ่ งดนตรีพนื้ เมืองลานนาชนดิ หน่งึ เปนเคร่อื งดนตรปี ระเภท ดดี มีคันทวน ตอนปลายคันทวนทําดวยเหล็กรูปหัวชาง ทองเหลือง สําหรับใชเปนที่พาดสาย ใช สายทองเหลืองเปนพื้น สายทองเหลืองน้ีจะพาดผา นสลกั ตรงกะลาแลวตอไปผูกกับสลักตรง ดา นซา ย สายของพิณเปย ะมที ัง้ 2 สายและ 4 สาย กะโหลกของพณิ เปยะทําดวยเปลอื กนํ้าเตา ตัดครึง่ หรือกะลามะพรา ว ก็ได เวลาดดี ใชก ะโหลกประกบติดกับหนาอก ขยบั เปด ปดใหเกิดเสียงตาม ตองการ ในสมยั กอ นชาวเหนือมักจะใชพ ณิ เปยะดดี คลอกับการขับ ลํานาํ ในขณะทีไ่ ปเที่ยวสาว แต เกดิ

76 เครื่องสี ซอดว ง เปนซอสองสาย กะโหลกของซอดวงนั้น แตเดิมใชกระบอกไมไผ กะโหลกของซอดว งน้ี ใน ปจ จบุ นั ใชไ มจริง หรือ งาชางทาํ กไ็ ด แตที่นิยมวา เสยี งดนี ั้น กะโหลกซอดวงตองทําดวยไมล ําเจยี ก สวนหนาซอนิยมใชห นงั งูเหลือมขงึ เพราะทําใหเกิดเสียงแกวเกิดความไพเราะอยางยิ่ง ลักษณะขอ ซอดว ง มีรูปรางเหมือนกับซอของจีนท่เี รียกวา “ฮู – ฉนิ “ (Huchin) ทกุ อยาง เหตุทเ่ี รียกวา ซอดว ง กเ็ พราะมีรปู รา งคลายเคร่ืองดักสตั ว กระบอก ไมไ ผเหมอื นกนั ซออู เปน ซอสองสาย ตัวกะโหลกทาํ ดวยกะลามะพราว คันทวนซออนู ี้ ยาวประมาณ 79 ซม ใช สายซอสองสายผูกปลายทวนใตกะโหลก แลว พาดผานหนาซอ ข้นึ ไปผกู ไวก ับ ลูกบดิ สองอัน โดย เจาะรคู นั ทวนดา นบน แลว สอดลกู บดิ ใหท ะลผุ า นคนั ทวนออกมา และใชเ ชอื กผกู รง้ั กับทวนตรง กลางเปน รัดอก เพือ่ ใหส ายซอตึง และสําหรบั เปนท่กี ดสายใตรัดอกเวลาสี สว นคันสีของซออูนั้นทํา ดว ย ไมจริง ใ ชขนหางมาตรงหนา ซอใชผา มวนกลมๆ เพื่อทําหนา ที่เปน หมอนหนุน สายใหพน หนา ซอ ดา นหลงั ของ ซออมู รี ปู รา งคลายๆกบั ซอของจีนที่เรยี กวา ฮู – ฮู ( Hu-hu ) เหตทุ ่ีเรยี กวา ซออูกเ็ พราะ เรยี กตามเสียง ทีไ่ ดย นิ นน่ั เอง

77 สะลอ สะลอ เปน เครอ่ื งดนตรีพ้ืนเมืองลานนาชนิดหนง่ึ เปนประเภทเคร่ืองสซี งึ่ มีทง้ั 2 สายและ 3 สาย คนั ชกั สาํ หรบั สจี ะอยูขา งนอกเหมือนคันชักซอสามสาย สะลอเรียกอกี อยางหน่งึ วา ทรอ หรือ ซะลอ ใชไมแผนบางๆปดปากกะลาทําหลักที่หัว สําหรับพาดทองเหลือง ดา นหลงั กะโหลกเจาะเปน รูปลวดลายตางๆสวนดานลางของกะโหลก เจาะทะลุลง ขางลาง เพ่ือสอดคันทวนทที่ าํ ดว ยไมช งิ ชนั ตรงกลางคันทวนมีรัดอกทําดวยหวายปลายคันทวน ดานบนเจาะรูสาํ หรับสอดลูกบิด ซ่ึงมี 2 หรอื 3 อนั สําหรับขึงสายซอ จากปลายลูกบิดลงมาถึงดานกลางของกะโหลกมีหยองสําหรับ หนนุ สายสะ ลอเพ่อื ใหเกดิ เสียงเวลาสี คันชักสะลอ ทาํ ดวยไมด ัดเปน รูป โคง ขึงดวยหางมาหรือพลาสติก เวลาสี ใชยางสนถทู าํ ใหเกิดเสียงได สะลอใชบรรเลงประกอบการแสดงหรือบรรเลงรวมกับบทรองและทํานองเพลงไดทุกชนิดเชน เขา กับปในวงชางซอ เขากับซึงในวงพื้นเมือง หรอื ใชเ ดย่ี วคลอรองก็ได ซอสามสาย ซอสามสาย ปรากฎหลักฐานจากจดหมายเหตุ ลาลูแบร ที่บันทึกไวว า “….ชาวสยามมีเครื่อง ดุริยางคเลก็ ๆ นาเกลียดมาก มสี ามสายเรียกวา “ซอ” ….” ซึ่งช้ใี หเ หน็ วาในสมัยกรุงศรีอยธุ ยาหรอื กอ นนัน้ มีซอสามสายและนยิ มเลนกัน ยุคตนของกรุงรัตนโกสินทร ในสมัยของพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเลิศหลานภาลัย รชั กาลท่ี 2 พระองคทานยังโปรดทรงซอสามสายเปนอยางยิ่ง จึงทําให พระองคทานไดประดิษฐคิดสรางซอสามสายไดดวยความประณีต งดงาม และเปนแบบอยางมา จนถงึ ปจ จุบนั น้ี สวนตา งๆของซอสามสายมีช่อื เรยี กดังน้ี (1) ทวนบน เปน สว นบนสดุ ของคนั ซอ ควา นดา นในใหเ ปน โพรงโดยตลอด ดา นบนสดุ มี รปู รา งเปน ทรงเทรดิ ดา นหนา ตรงปลายทวนตอนลา ง ทวนบนนี้ทําหนาที่คลายๆกับทออากาศ (Air column) ใหเ สียงทีเ่ กิดจากกะโหลกเปนความถี่ของเสยี ง แลวลอดผา นออกมา ทางทวนบนนไ้ี ด (2) ทวนลาง ทําเปนรูปทรงกระบอก และประดษิ ฐลวดลายสวยงาม และเรยี กทวนลา งนว้ี า ทวนเงนิ ทวนทอง ทวนมกุ ทวนลงยา เปน ตน ทวนลา ง ทําหนาท่ีเปนตาํ แหนง สําหรับกดนิว้ ลงบน สายในตําแหนงตางๆ (3) พรมบน คือสว นท่ตี อ จากทวนลา งลงมา สวนบนกลึงเปนลูกแกว สวนตอนลางทําเปน รูปปากชางเพื่อประกบกับกะโหลกซอ

78 (4) พรมลาง สวนที่ประกบกับกะโหลกซอทําเปนรูปปากชาง เชนเดียวกับสวนลางของ พรมบน ตรงกลางของพรมลางเจาะรูดานบนเพื่อใชสําหรับเปนที่รอย”หนวดพราหมณ” เพอ่ื คลอ ง กับสายซอทงั้ สามสายและเหน่ียวรั้งใหตึง ตรงสวนปลายสุดของพรมลางกลึงเปน “เกลียวเจดียยอด (5) ถว งหนา ควบคุมความถี่ของเสียง ทําใหมีเสียงนุมนวลไพเราะ นาฟงยิ่งขึ้น (6) หยอ ง ทาํ ดวยไมไผ แกะใหเ ปนลกั ษณะคู ปลายทั้งสองของหยองควานเปนเบาขนม ครกเพ่อื ทําใหเสียง ที่เกิดขึ้นสงผานไปยังหนาซอมีความกังวานมากยิ่งขึ้น (7) คันสี (คันชกั ) คันสีของซอสามสาย ประกอบดวยไมและหางมา คันสีนั้นเหลาเปนรูป คันศร โดยมากนิยมใชไมแกว เพราะเปนไมเนื้อแข็ง และมีลวดลายงดงาม เครื่องตี ระนาดเอก วิวัฒนาการมาจากกรับ ลูกระนาดทําดวยไมไผบง หรือไมแ กน โดยนํามาเหลาใหไดตามขนาดที่ ตองการ แลวทํารางเพ่อื อมุ เสยงเปนรูปคลายลําเรือ ใหหัวและทา ยโคงข้นึ เรียกวา รางระนาด แผน ไมท่ีปด หัวทายรางระนาดเราเรยี กวา “โขน” ระนาดเอกในปจ จบุ นั มจี าํ นวน 21 ลูก มีความยาว ประมาณ 120 ซม มีเทารอง รางเปนเทาเดี่ยว รปู คลายกบั พานแวนฟา ระนาดทมุ เปนเคร่ืองดนตรีที่สรา งข้นึ มาในรัชกาลที่ 3 แหง กรงุ รตั นโกสนิ ทร เปนการสรางเลียนแบบ ระนาดเอก รางระนาดทุมนั้นประดิษฐใหม ีรปู รา งคลา ยหบี ไม แตเวาตรงกลางใหโคง โขนปดหัว ทา ยเพ่ือ เปน ท่ีแขวนผืนระนาดนน้ั ถา หากวัดจากโขนดา นหนง่ึ ไปยงั โขนอกี ดา นหนง่ึ รางระนาด ทุมจะมีขนาดยาวประมาณ 124 ซม ปาก รางกวางประมาณ 22 ซม มีเทา เตยี้ ๆรองไว 4 มุมราง

79 ระนาดเอกเหล็ก หรอื ระนาดทอง ระนาดเอกเหล็ก เปนเคร่อื งดนตรีที่ประดิษฐข ึน้ ในรัชกาลท่ี 4 แหง กรงุ รัตนโกสินทร แตเดมิ ลูก ระนาดทาํ ดวยทองเหลือง จงึ เรยี กกนั วา ระนาดทอง ระนาดเอกเหลก็ มขี นาด 23.5 ซม กวา งประมาณ 5 ซม ลดหลนั่ ข้นึ ไปจนถงึ ลกู ยอดท่ีมีขนาด 19 ซม กวางประมาณ 4 ซม รางของระนาดเอกเหล็กนั้น ทาํ เปน รปู สเ่ี หลี่ยม มีเทารองรับไวท้ัง 4 ดา น ระนาดทมุ เหลก็ ระนาดทมุ เหลก็ เปน เครื่องดนตรีที่พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลา เจา อยหู วั ในรัชกาลท่ี 4 มี พระราชดาํ ริใหสรา งขึ้น ระนาดทุม เหล็กมจี าํ นวน 16 หรอื 17 ลูก ตัวรางระนาดยาวประมาณ 1 เมตร ปากราง กวางประมาณ 20 ซม มีเทา รองติดลกู ลอ 4 เทา เพื่อใหเคลือ่ นท่ีไปมาไดสะดวก ตัวรางสงู จากพน้ื ถงึ ขอบบนประมาณ 26 ซมระนาด ทุกชนดิ ท่กี ลาวมานน้ั จะใชไมต ี 2 อนั สาํ หรบั ระนาดเอก ทาํ ไมตีเปน 2 ชนดิ ชนิดหน่ึงทําหัวไมต ีใหแข็ง เมอ่ื ตจี ะมีเสียงดงั เกรยี วกราว เม่ือนําเขาผสมวงจะ เรยี กวา “วงปพาทยไมแข็ง” อกี ชนดิ หนง่ึ ซ่งึ เกดิ ข้ึนในสมยั รัชกาลท่ี 5 ประดษิ ฐไมตใี หออ นนมุ เมื่อ ตจี ะเกดิ เสียงนุม นวล เวลานําระนาดเอกทใ่ี ชไ มต ชี นดิ น้มี าผสมวง จะเรียกวา “วงปพาทยไมนวม” ลักษณะไมต ีระนาดมีดงั นี้ (1) ไมแข็ง ปลายไมร ะนาด พอกดว ยผาชุบน้าํ รักจนแขง็ (2) ไมนวม ปลายไมระนาด ใชผา พนั แลว ถกั ดว ยดา ยจนนุม (3) ไมตรี ะนาดทมุ ปลายไมระนาด ใชผาพนั พอกใหโต และนุม เพื่อตใี หเกิดเสยี งทุม (4) ไมต รี ะนาดเหลก็ ปลายไมตีทําดวยแผนหนังดิบ ตัดเปนวงกลมเจาะรูตรงกลาง แลว เอาไมเ ปน ดามสําหรับถือมีขนาดใหญกวาไมตีระนาดเอกธรรมดา (5) ไมตรี ะนาดทุม เหล็ก ทาํ ลกั ษณะเดียวกบั ไมตฆี องวง แตป ลายไมพ นั ดว ยหนงั ดบิ เพอ่ื ใหแขง็ เวลา ตี จะเกิดเสียงได เครือ่ งเปา

80 ขลยุ ทําดวยไมไ ผปลอ งยาวๆ ไวขอทางปลายแตเจาะขอทะลุ ยา งไฟใหแ หง แลว ตบแตง ผวิ ให ไหม เกรียมเปนลวดลายสวยงาม ดานหนาเจาะรูกลมๆเรียงแถวกัน 7 รู สําหรบั นิว้ ปดเปดเสยี ง ขลุย ไมมี ลนิ้ เหมือนป แตเขาใชไ มอุดเต็มปลอง แลวปาดดา นลา งใหมีชอง ไมอ ุดนี้เรยี กวา “ดาก” ทําดวยไม สกั ดา นหลังใตดากลงมา เจาะรูเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา แตปาดตอนลางเปนทางเฉียงไมเจาะ ทะลตุ รง เหมอื นรูดานหนา รทู ่เี ปนรปู ส่เี หลยี่ มผนื ผานี้ เรียกวา“รูปากนกแกว” ใตรูปากนกแกวลงมา เจาะรูอีก 1 รู เรียกวา “รนู ิ้วคํ้า” เหนอื รูนว้ิ คาํ้ ดา น หลงั และเหนือรบู นของรดู านหนาทั้งเจ็ดรู แตอยูทาง ดานขวา เจาะรูอีกรูหนง่ึ เรยี กวา “รูเยื่อ” เพราะแตก อนจะใชเยื่อไมไผป ดรูนีต้ อมาก็ไมคอยไดใช ตรง ปลายเลาขลุยจะเจาะรูใหซา ยขวา ตรงกันเพอื่ รอยเชือก เรยี กวา “รรู อยเชือก” ดังนั้น จะสงั เกตุวา ขลุย 1 เลา จะมีรูทงั้ ส้นิ 14 รู ขลุยมีท้ังหมด 3 ชนิดคือ (1) ขลุยหลบี มีขนาดเล็ก (2) ขลุยเพียงออ มีขนาดกลาง (3) ขลยุ อู มขี นาดใหญ ตอ มามีผูสรางขลยุ กรวดข้ึนมาอกี ชนดิ หน่ึง มเี สยี งสูงกวา ขลยุ เพียงออ 1 เสยี ง ขลยุ กรวดใชก ับวงเคร่ืองสายผสมทน่ี าํ เอาเคร่ืองดนตรีฝรัง่ มาเลน รว มวง ป ป เปนเครื่องดนตรไี ทยแทๆ ทําดวยไมจ รงิ กลงึ ใหเ ปนรูปบานหวั บานทาย ตรงกลางปอ ง เจาะภายในใหกลวงตลอดเลา ทางหัวของปเปนชองรูเล็กสวนทาง ปลายของป ปากรใู หญใ ชช นั หรอื วสั ดอุ ยางอนื่ มาหลอ เสริมข้ึนอกี ราว ขางละ ครึ่งซม. สว นหวั เรยี ก “ทวนบน” สว นทา ยเรยี ก”ทวนลา ง” ตอนกลางของป เจาะรูนิ้วสาํ หรับ เปลี่ยนเสียงลงมาจํานวน 6 รู รูตอนบนเจาะเรียงลงมา 4 รู เจาะรูลา งอกี 2 รู ตรงกลางของเลาป กลึง ขวัน้ เปนเกลยี วคูไวเปน จํานวน 14 คู เพือ่ ความสวยงามและกันล่นื อีกดว ย ตรงทวนบนนั้นใสลนิ้ ปท ี่ ทําดว ย ใบตาลซอ นกนั 4 ชนั้ ตดั ใหกลมแลวนาํ ไปผูกตดิ กับทอ ลมเล็กๆท่ี เรยี กวา “กาํ พวด” กาํ พวด นี้ทาํ ดว ยทองเหลอื ง เงิน นาค หรือโลหะอยางอนื่ วิธีผกู เชือกเพ่อื ใหใบตาลตดิ กบั กาํ พวดนั้น ใชว ิธี ผูกท่เี รียกวา “ผูกตะกรดุ เบด็ ” สวนของกําพวดท่จี ะตอ งสอดเขา ไปเลาปน ัน้ เขาใชถกั หรือเคียน ดวย เสน ดา ย สอดเขาไปในเลาปใหพอมิดที่พันดายจะทําใหเกิดความแนนกระชับยิ่งขึ้น ปข องไทยจดั ไดเ ปน 3 ชนดิ ดงั น้ี (1) ปน อก มขี นาดเล็ก เปนปท ใ่ี ชก ันมาแตเดมิ

81 (2) ปก ลาง มขี นาดกลาง สาํ หรบั เลน ประกอบการแสดงหนงั ใหญ มีสาํ เนยี งเสียงอยูระหวาง ปน อก กับปใ น (3) ปใ น มขี นาดใหญ เปนปท พ่ี ระอภัยมณใี ชสาํ หรบั เปา ใหนางผีเส้ือสมทุ ร วงเครอ่ื งสาย วงดนตรไี ทยประเภทหนง่ึ ซง่ึ เครอ่ื งดนตรสี ว นใหญใ นวงจะประกอบดวยเครอ่ื งดนตรที ่ี ใชส ายเปน ตน กาํ เนินของเสยี งดนตรี เชน ซอดวง ซออู จะเข แมว า เคร่อื งดนตรีที่นาํ มาบรรเลงน้ัน จะมีวิธีบรรเลงแตกตา งกัน เชน สี ดีด หรือตี ก็ตาม จึงเรียกวงดนตรีประเภทนี้วา \"วงเครอ่ื งสาย\" วงเครื่องสายอาจมีเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเปา เชน ขลยุ หรือเครอื่ งกาํ กับจงั หวะ เชน ฉงิ่ กลอง บรรเลงดว ยกถ็ อื วาอยใู นวงเคร่อื งสายเชน กันเพราะมีเปนจํานวนนอ ยท่นี าํ เขามารวม บรรเลงดว ยเพ่ือชวยเพิ่มรสในการบรรเลงดวยเพื่อชวยเพิ่มรสในการบรรเลงใหนาฟงมากยิ่งขึ้น วงเครื่องสายเกิดข้นึ ในสมัยอยธุ ยา ซึง่ มีเครอื่ งสี คือ ซอ เครื่องดีด คอื จะเข และ กระจับป ผสมในวง ปจจุบันวงเครื่องสายมี 4 แบบ คือ 1. วงเครอ่ื งสายไทยเครือ่ งเดี่ยว เปนวงเครื่องสายที่มีเครื่องดนตรีผสมเพียงอยางละ 1 ชิน้ เรยี กอกี อยา งหน่งึ วา วงเครื่องสายไทยวงเล็ก เครื่องดนตรีทผ่ี สมอยใู นวงเครื่องสายไทยเครอื่ งเดย่ี ว น้นี บั วา เปนส่งิ สาํ คัญและถือเปนหลักของวงเครื่องสายไทยทจ่ี ะขาดสิง่ หนง่ึ สิ่งใดเสียมิได เพราะแต ละส่งิ ลว นดําเนินทํานองและมหี นาทตี่ า ง ๆ กนั เมื่อผสมเปน วงข้นึ แลว เสียงและหนาท่ขี องเครื่อง ดนตรแี ตล ะอยา งกจ็ ะประสมประสานกนั เปน อนั ดี เครื่องดนตรที ่ผี สมอยูในวงเคร่ืองสายไทยเคร่อื ง เดี่ยวซงึ่ ถือเปนหลกั คอื 1. ซอดว ง เปนเคร่ืองสีทมี่ ีระดับเสียงสูงและกระแสเสียงดัง มีหนาที่ดําเนินทํานองเพลง

82 เปน ผนู าํ วง และเปน หลกั ในการดาํ เนนิ ทาํ นอง 2. ซออู เปนเครอ่ื งสีทม่ี รี ะดับเสยี งทมุ มหี นา ทด่ี ําเนนิ ทาํ นองหยอกลอ ย่วั เยา กระตนุ ให เกดิ ความครกึ ครน้ื สนกุ สนานในจาํ พวกดาํ เนนิ ทาํ นองเพลง 3. จะเข เปน เคร่ืองดดี ดาํ เนนิ ทาํ นองเพลงเชนเดียวกบั ซอดว ง แตม ีวิธีการบรรเลงแตกตา ง ออกไป 4. ขลุยเพยี งออซ่ึงเปนขลุย ขนาดกลาง เปนเครื่องเปาดําเนินทํานองโดยสอดแทรกดวย เสียงโหยหวนบาง เก็บบาง ตามโอกาส 5. โทนและราํ มะนา เปน เครื่องตที ข่ี ึงหนงั หนาเดยี ว และท้งั 2 อยางจะตองตีใหส อดสลบั รับกันสนทิ สนมผสมกลมกลนื เปนทํานองเดียวกัน มีหนาที่ควบคุมจังหวะหนาทับ บอกรสและ สําเนียงเพลงในภาษาตาง ๆ และกระตนุ เรง เรา ใหเ กดิ ความสนกุ สนาน 6. ฉ่งิ เปนเครื่องตรี มหี นา ที่ควบคุมจังหวะยอยใหการบรรเลงดําเนินจังหวะไปโดย สม่ําเสมอ หรือชาเร็วตามความเหมาะสม เครื่องดนตรีในวงเครื่องสายไทยเครื่องเดี่ยวอาจเพิ่มเครื่องที่จะทําใหเกิดความไพเราะเหมาะสมได อกี เชน กรับและฉาบเล็กสาํ หรบั ตีหยอกลอยว่ั เยา ในจาํ พวกกาํ กบั จงั หวะ โหมงสําหรับชวยควบคุมจังหวะใหญ 2. วงเคร่อื งสายไทยเครอ่ื งคู คําวา เครื่องคู ยอมมีความหมายชัดเจนแลววาเปนอยางละ 2 ช้นิ แตสําหรบั การผสมวงดนตรีจะตองพิจารณาใครค รวญถึงเสียงของเคร่ืองดนตรีทจี่ ะผสมกนั นน้ั วาจะบังเกิดความไพเราะหรือไมอีกดวย เพราะฉะนัน้ วงเคร่ืองสายไทยเครื่องคูจึงเพิ่มเครอื่ ง ดนตรใี นวงเคร่ืองสายไทยเคร่ืองเด่ียวขน้ึ เปน 2 ชิ้น แตเพียงบางชนิด คือ 1. ซอดว ง 2 คนั แตทําหนาท่ีผูนาํ วงเพยี งคันเดยี ว อกี คันหนึง่ เปน เพยี งผชู ว ย 2. ซออู 2 คนั ถา สเี หมอื นกนั ไดก ใ็ หด าํ เนินทาํ นองอยา งเดยี วกนั แตถ าสีเหมอื นกนั ไมไ ดก ็ใหคันหนงึ่ หยอกลอหาง ๆ อีกคนั หนึ่งหยอกลอ ยัว่ เยาอยางถ่ี หรือจะผลัดกันเปนบางวรรค บางตอนก็ได 3. จะเข 2 ตวั ดาํ เนนิ ทาํ นองแบบเดยี วกนั 4. ขลุย 2 เลา เลาหน่ึงเปนขลุยเพียงอออยางในวงเครื่องสายไทยเครื่องเดี่ยว สว นเลาท่ีเพ่ิมขน้ึ เปนขลุย หลีบซึง่ มีขนาดเลก็ กวา ขลยุ เพียงออ และมเี สียงสูงกวาขลุยเพยี งออ 3 เสยี ง มีหนาที่ดําเนินทํานองหลบหลีกปลีกทางออกไป ซึ่งเปน การยั่วเยา ไปในกระบวนเสียงสงู สําหรบั โทน รํามะนา และฉิง่ ไมเพ่ิมจํานวน สวนฉาบเลก็ และโหมง ถา จะใชก็คงมีจํานวนอยา งละ 1 ชน้ิ เทา เดมิ ตั้งแตโ บราณมา วงเครื่องสายไทยมีอยางมากก็เพียงเครื่องคูดังกลาวแลวเทานั้น ในสมยั หลงั ไดม ี ผูคดิ ผสมวงเปน วงเครื่องสายไทยวงใหญ ข้ึน โดยเพิม่ เครอื่ งบรรเลงจําพวกดาํ เนินทํานอง เชน ซอ ดว ง ซออู และขลุย ขึน้ เปนอยา งละ 3 ชิ้นบาง 4 ชิ้นบาง การจะผสมเครื่องดนตรีชนิดใดเขามาในวง

83 น้ันยอมกระทําได ถา หากเครื่องดนตรีน้นั มีเสียงเหมาะสมกลมกลืนกับเครือ่ งอ่ืน ๆ แตจะเพิ่มเติมใน สวนเครื่องกํากับจังหวะ เชน โทน รํามะนา ฉิ่ง ฉาบ และโหมง ไมได ไดแตเปลยี่ นเปน อยา งอน่ื ไป เชน ใชกลองแขกแทนโทน รํามะนา 3. วงเครอ่ื งสายผสม เปนวงเครื่องสายที่นําเอาเครื่องดนตรีตางชาติเขามารวมบรรเลงกับ เครื่องสายไทย การเรียกช่ือวงเคร่ืองสายผสมนน้ั นิยมเรียกตามช่ือของเคร่อื งดนตรตี างชาติท่ีนําเขา มารวมบรรเลงในวง เชน นาํ เอาขมิ มารวมบรรเลงกบั ซอดวง ซออู ขลยุ และเครื่องกาํ กบั จงั หวะตา ง ๆ แทนจะเข ก็เรียกวา \"วงเครื่องสายผสมขิม\" หรอื นาํ เอาออรแ กนหรือไวโอลนิ มารว มบรรเลงดว ยก็ เรียกวา \"วงเคร่ืองสายผสมออรแ กน\" หรอื \"วงเครื่องสายผสมไวโอลิน\" เครื่องดนตรีตางชาติท่นี ยิ ม นํามาบรรเลงเปนวงเครื่องสายผสมนั้นมีมากมายหลายชนิด เชน ขิม ไวโอลิน ออรแกน เปยโน หบี เพลงชกั แอกคอรเดยี น 4. วงเครอ่ื งสายปชวา คือ วงเครื่องสายไทยทัง้ วงบรรเลงประสมกับวงกลองแขก โดยไมใชโทนและรํามะนา และใชขลุยหลบี แทนขลุยเพยี งออกเพื่อใหเสยี งเขากับปช วาไดด ี เดมิ เรยี กวา วงกลองแขกเครื่องใหญ วงเครื่องสายปชวา น้ีเกิดขึ้นในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จอมเกลาเจา อยูหัวการบรรเลงเครื่องสายปช วานนั้ นักดนตรีจะตองมีไหวพริบและความเชี่ยวชาญ ในการบรรเลงเปนพิเศษ โดยเฉพาะฉิ่งกํากับจังหวะจะตอ งเปนคนท่ีมสี มาธิดที ่สี ดุ จึงจะบรรเลงได อยางไพเราะ เพลงที่วงเครื่องสายปชวานิยมใชบรรเลงเปนเพลงโหมโรง ไดแก เพลงเรื่องชมสมุทร เพลงโฉลก เพลงเกาะ เพลงระกํา เพลงสะระหมา แลวออกเพลงแปลง เพลงออกภาษา แลว กลบั มา ออกเพลงแปลงอีกคร้งั หนงึ่ วงมโหรี วงดนตรีไทยประเภทหนึง่ ซ่ึงประกอบดว ยเคร่ืองดนตรีผสมทั้งดีด สี ตี เปา เปน วงดนตรที ่ี ใชบรรเลงเพื่อขับกลอม ไมนิยมบรรเลงในการแสดงใด ๆ

84 วงมโหรีมี 5 แบบ คือ 1. วงมโหรเี ครื่องสี่ เปนวงมโหรีที่รวมเอาการบรรเลงพิณและการขับไม ซง่ึ มีมาแตโบราณ เขาดวยกัน เกดิ ขึ้นครงั้ แรกในสมยั อยุธยา มเี คร่ืองดนตรี 4 ชน้ิ คือ 1.1 ทับ (ปจ จุบนั เรียกวา โทน) เปนเครื่องควบคุมจังหวะ 1.2 ซอสามสาย 1.3 กระจบั ป 1.4 กรบั พวง (ผขู บั รองเปนผูตีกรบั พวง) วงมโหรีเคร่อื งส่ีน้ีเดมิ ผชู ายเปน ผบู รรเลง ตอมาเมื่อนยิ มฟงมโหรกี ันแพรหลาย ผมู บี รรดาศักด์จิ งึ นยิ มใหผ หู ญิงฝกหัดบรรเลงบางและไดร บั ความนยิ มสบื ตอมา 2. วงมโหรเี ครอ่ื งหก คอื วงมโหรีเคร่ืองสี่ซงึ่ เพิม่ เคร่ืองดนตรีอีก 2 อยา ง คือ รํามะนา สาํ หรับตกี าํ กบั จังหวะคกู ับทับ และขลยุ (ปจ จบุ ันเรียกวา ขลุยเพยี งออ) สาํ หรบั เปา ดาํ เนนิ ทาํ นอง และเปลย่ี นใชฉ ่งิ แทนกรับพวง นับเปน การบรรเลงท่มี ีเคร่ืองดนตรคี รบทัง้ ดีด สี ตี และเปา เกดิ ขึ้น ในตอนปลายสมัยอยุธยา 3. วงมโหรีเครอื่ งเดี่ยว หรือ มโหรเี ครื่องเล็ก คือ วงมโหรที ีไ่ ดเพิม่ เคร่อื งดนตรีและ เปลยี่ นแปลงมาโดยลาํ ดับต้งั แตส มยั รตั นโกสินทรต อนตน คร้งั แรกเพมิ่ ระนาดเอกและฆองวง (ภายหลังเรียกวา ฆองกลางหรือฆองมโหร)ี (ดู ฆอ งมโหรี ประกอบ) ตอมาจึงไดเพิ่มซอดวงและซอ อู สวนกระจับปนั้นเปลี่ยนเปนใชจะเขแทน เนื่องจากเวลาบรรเลงจะเขวางราบไปกับพื้น ซึง่ ตา งกับ กระจบั ปที่ตองต้ังดีด ทั้งนมที่ใชรองรับสายและบังคับเสียงก็เรียงลําดับมีระยะเหมาะสมกวา กระจบั ป เวลาบรรเลงจงึ ทาํ ใหใ ชน ว้ิ ดดี ไดส ะดวกและแคลว คลอ งกวา นอกจากนี้จะเขยังสามารถทํา เสียงไดดังและทําเสียงไดมากกวากระจับป ปจ จบุ ันวงมโหรเี ครือ่ งเด่ยี วประกอบดวยเครอื่ งดนตรดี งั นี้ 1.ซอสามสาย 1 คนั ทาํ หนาทคี่ ลอเสยี งผขู ับรอ ง และบรรเลงดาํ เนินทํานองรวมในวง 2. ซอดว ง 1 คัน ดําเนินทํานองโดยเก็บบาง หวานบาง 3.ซออู 1 คัน ดําเนินทํานองเปนเชิงหยอกลอยั่วเยาไปกับทํานองเพลง 4.จะเข 1 ตวั ดําเนินทํานองโดยเก็บบาง รัวบาง และเวนหางบาง 5.ขลยุ เพยี งออ 1 เลา ดําเนินทํานองเก็บบาง โหยหวนบาง 6.ระนาดเอก 1 ราง ดําเนินทํานองเก็บบาง กรอบาง ทาํ หนาท่ีเปน ผูนําวง 7.ฆอ งวง (เรยี กวา ฆอ งกลางหรือฆองมโหร)ี 1 วง ดําเนินทํานองเนื้อเพลงเปนหลักของวง

85 8.โทน 1 ลกู รํามะนา 1 ลูก ตีสอดสลับกนั ควบคุมจังหวะหนาทับ 9.ฉงิ่ 1 คู ควบคมุ จงั หวะยอย แบง ใหร จู งั หวะหนกั เบา 4. วงมโหรีเครือ่ งคู คือ วงมโหรีเครื่องเดยี่ วที่ไดเ พม่ิ ระนาดทุม และฆองวงเลก็ เขา ในวง ท้ังนีเ้ นื่องดว ยในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลาเจา อยูห วั วงปพาทยไดเพิ่มระนาดทุม และฆอ ง วงเล็กรวมเรียกวา วงปพ าทยเ ครือ่ งคู วงมโหรจี ึงเพิ่มเครื่องดนตรีดังกลา วบา ง นอกจากนัน้ ยงั เพ่มิ ซอ ดว งและซออูข ้นึ เปน อยางละ 2 คัน เพิม่ จะเขเปน 2 ตัวขลยุ น้นั เดิมมีแตข ลุยเพยี งออ จึงเพิ่มขลยุ หลีบ อกี 1 เลา สวนซอสามสายก็เพิ่มซอสามสายหลีบอีก 1 คนั และเพมิ่ ฉาบเลก็ อีก1 คดู วย ปจจบุ ันวงมโหรีเครื่องคูประกอบดวยเครอื่ งดนตรีดงั น้ี ซอสามสาย 1 คัน หนาท่ีเหมือนในวงมโหรเี คร่ืองเด่ียว ซอสามสายหลีบ 1 คนั บรรเลงรว มกบั เคร่ืองดาํ เนนิ ทํานองอืน่ ๆ ซอดว ง 2 คัน หนา ทเ่ี หมือนในวงมโหรเี คร่ืองเด่ียว ซออู 2 คนั หนาท่ีเหมือนในวงมโหรีเคร่ืองเดย่ี ว จะเข 2 ตวั หนา ทเี่ หมือนในวงมโหรีเครอื่ งเดย่ี ว ขลยุ เพยี งออ 1 เลา หนา ท่เี หมือนในวงมโหรเี ครือ่ งเดี่ยว ขลยุ หลีบ 1 เลา ดําเนินทํานองเก็บบาง โหยหวนบาง สอดแทรกทํานองเลนลอไปทางเสียงสูง ระนาดเอก 1 ราง หนา ท่เี หมือนในวงมโหรเี ครอ่ื งเดย่ี ว ระนาดทุม 1 ราง ดาํ เนนิ ทํานองเปนเชงิ หยอกลอยวั่ เยา ใหเ กิดอารมณครึกครืน้ ฆอ งวง 1 วง หนา ทเี่ หมอื นในวงมโหรีเครื่องเดี่ยว ฆอ งวงเลก็ 1 วง ดําเนินทาํ นองเกบ็ ถ่ี ๆ บาง สะบัดบาง สอดแทรกทํานองไปทางเสียงสูง โทน 1 ลูก ราํ มะนา 1 ลกู หนา ท่เี หมอื นในวงมโหรีเคร่ืองเดย่ี ว ฉ่ิง 1 คู หนา ทเ่ี หมือนในวงมโหรีเครอ่ื งเดย่ี ว ฉาบเล็ก 1 คู

86 วงปพาทย เปน วงดนตรีไทยประเภทหนงึ่ ทปี่ ระกอบดว ยเคร่อื งเปา คอื ป ผสมกบั เคร่อื งตี ไดแ ก ระนาดและฆองวงชนิดตา ง ๆ เปน หลัก และยงั มีเครอ่ื งกํากับจังหวะ เชน ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหมง ตะโพน กลองทัด กลองแขก และกลองสองหนา ปพาทยน ี้บางสมยั เรียกวา \"พิณพาทย\" วงปพาทยมี 8 แบบ คือ 1. วงปพ าทยเคร่อื งหา เปนวงปพาทยที่เปนวงหลัก มีจํานวนเครื่องดนตรีนอยช้ินที่สุด ดงั น้ี ปใ น 1 เลา ระนาดเอก 1 ราง ฆอ งวงใหญ 1 วง กลองทัด 2 ลูก ตะโพน 1 ลูก ฉง่ิ 1 คู ในบางกรณีอาจใชฉาบ กรับ โหมงดวย 2. วงปพาทยเ คร่ืองคู เปน วงปพ าทยท ป่ี ระกอบดวยเครอ่ื งทาํ ทํานองเปนคูเนื่องดว ยในรัช สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลาเจาอยูหัว ไดมผี ูคดิ เคร่ืองดนตรีเพ่ิมขน้ึ อกี 2 อยา ง คอื ระนาดทุมกับฆองวงเล็ก และนําเอาปนอกซึ่งใชในการบรรเลงปพาทยสําหรับการ แสดงหนังใหญส มยั โบราณมารวมเขา กับวงปพ าทยเ ครอื่ งหาทม่ี ีอยูเดิม

87 วงปพ าทยเ คร่อื งคมู เี ครื่องดนตรีดงั นี้ ป 1 คู คือ ปใ นและปน อก ระนาด 1 คู คือ ระนาดเอกและระนาดทมุ ฆอ งวง 1 คู คอื ฆองวงใหญแ ละฆอ งวงเลก็ กลองทัด 1 คู ตะโพน 1 ลกู ฉ่ิง 1 คู ฉาบเล็ก 1 คู ฉาบใหญ 1 คู โหมง 1 ใบ กลองสองหนา 1 ลูก (บางทีใชกลองแขก 1 คู แทน) ในบางกรณอี าจใชก รับดว ย 3. วงปพาทยเครอื่ งใหญ คอื วงปพาทยเครื่องคูท่ีเพิ่มระนาดเอกเหลก็ กับระนาด ทมุ เหล็ก ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระปนเกลาเจาอยหู ัวทรงประดษิ ฐข้นึ กลายเปนวงปพาทย ท่ีมีระนาด 4 ราง โดยตั้งระนาดเอกเหลก็ ทร่ี มิ ดานขวามอื และต้งั ระนาดทุม เหล็กท่ีรมิ ดานซา ยมือ ซึง่ นกั ดนตรีนยิ มเรยี กกันวา \"เพม่ิ หัวทาย\" วงปพ าทยเ ครือ่ งใหญในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวบางวงก็เพิ่มกลองทัด รวมเปน 3 ใบบาง 4 ใบ บาง สวนฉาบใหญนํามาใชในวงปพาทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูห วั วงปพาทยท ง้ั เคร่ืองหา เคร่ืองคู และเคร่ืองใหญ ถามีการบรรเลงเพลงภาษาจะ ใชเ ครือ่ งดนตรีกํากบั จงั หวะของภาษาน้นั ๆ ดว ย เชน ภาษาเขมร ใช โทน ภาษาจีน ใช กลองจนี กลองตอก แตว ภาษาฝรง่ั ใช กลองมรกิ ัน (อเมริกัน) หรอื กลองแตรก็ (side drum, snare drum) ภาษาพมา ใช กลองยาว ภาษามอญ ใช ตะโพน เปงมาง 4. วงปพ าทยน างหงส คือ วงปพาทยธรรมดาซึ่งใชบรรเลงทั่วไป แตเมื่อนํามาใชประโคม ในงานศพ จะนําวงบัวลอยซึ่งประกอบดวยปชวา 1 เลา กลองมลายู 1 คู และเหมง 1 ใบ ที่ใชประโคมในงานศพเขามาผสม (ดู วงบัวลอย ประกอบ) โดยตัดปใ น ตะโพน และ กลองทัด ออก ใชปชวาแทนปใน ใชกลองมลายูแทนตะโพนและกลองทัด สวนเหมง น้ันมเี สยี งไมเ หมาะกับวงปพาทยจึงไมน าํ มาใช ใชแตโหมงซ่งึ มีอยูเดมิ เรียกวา \"วงป

88 พาทยนางหงส\" วงปพาทยนางหงสใชบรรเลงเฉพาะในงานศพมาแตโบราณกอนวงป พาทยมอญ สาเหตทุ เ่ี รยี กวาปพาทยน างหงส ก็เพราะใชเพลงเร่อื งนางหงส 2 ชั้น เปน หลักสาํ คัญในการบรรเลง นอกจากนี้ยังมีวิวัฒนาการไปใชบรรเลงเพลงภาษาตาง ๆ เรียกวา \"ออกภาษา\" ดว ย 5. วงปพ าทยมอญ ประกอบดวยเครื่องดนตรีที่ไดอิทธิพลมาจากมอญ เชน ฆองมอญ ปม อญ ตะโพนมอญ และเปงมางคอก ปจจุบันวงปพาทยมอญมี 3 ขนาด ไดแ ก 5.1 วงปพาทยม อญเครอ่ื งหา ประกอบดวยปม อญ ระนาดเอก ฆองมอญ ตะโพนมอญ เปงมางคอก และเครอื่ งกํากบั จงั หวะ ไดแก ฉ่ิง ฉาบ โหมง 5.2 วงปพาทยมอญเครื่องคู มีลกั ษณะเดยี วกับวงปพาทยมอญเครื่องหา แต เพม่ิ ระนาดทุมและฆอ งมอญวงเลก็ 5.3 วงปพาทยม อญเครอื่ งใหญ มลี ักษณะเดียวกับวงปพ าทยมอญเครอ่ื งคู แตเ พิม่ ระนาดเอกเหลก็ และระนาดทุมเหลก็ วงปพาทยมอญนั้นที่จริงแลวใชบรรเลงในโอกาสตาง ๆ ไดทั้งงานมงคล เชน งานฉลองพระแกวมรกตในสมัยธนบุรี และงานอวมงคล เชน งานศพ แตตอ มา นิยมบรรเลงในงานศพ เนื่องจากทวงทํานองเพลงมอญมีลีลาโศกเศรา โหยหวน ซงึ่ เหมาะกับบรรยากาศของงาน จนบางทานนึกวาปพาทยมอญใชบรรเลงเฉพาะในงานศพ เทา น้นั

89 เร่ืองที่ 3 คณุ คา ความงามความไพเราะของเพลงและเคร่ืองดนตรไี ทย 1.วฒั นธรรมทางดนตรีพื้นบานภาคกลาง ดนตรพี น้ื บา นภาคกลางสว นใหญ ประกอบดวยเคร่ืองดนตรีประเภทตี และเปา เรียกรวมเปน เคร่อื งตเี ปา ซึ่งถอื เปนเคร่ืองประโคม ดั้งเดมิ ท่ีเกา แกท่สี ดุ และพัฒนาจนกลายเปนวงปพ าทยในปจจุบัน แตเดมิ วงปพ าทยนน้ั ใชปและ กลองเปนหลักตอมาใชระนาดและฆอ งวงและเพ่มิ เครื่องดนตรใี หม ีจาํ นวนมากเพือ่ ใหเสยี งดงั ขน้ึ การบรรเลงวงปพาทยไมนิยมบรรเลงเพื่อประกอบการละเลนตางๆ แตนิยมบรรเลงในพิธีกรรม การ แสดง และการประกวดประชันเพื่อใหเปนที่ยอมรับของคนในสังคม เพลงบรรเลงของวงปพาทย ประกอบดวยเพลง โหมโรง เพลง หนาพาทย เพลง เรื่อง เพลง หางเครื่อง และเพลง ภาษา เพลง บรรเลงทั้ง 5 ประเภทเปนการบรรเลงท่ีเปนแบบแผน ไมวาจะบรรเลงเดย่ี วหรอื หมู ลว นแตใชแ บบ แผนนี้ทง้ั ส้นิ เพ่ือเปนการอวดฝมือ ของนกั ดนตรีน่ันเอง ดนตรีพื้นบานภาคกลางถือเปนการถายเท ระหวา งวฒั นธรรมราษฎรก บั วฒั นธรรมหลวงซง่ึ เปน การผสมผสานจนเกดิ เปนเอกลกั ษณข องวง ดนตรพี ื้นบา นภาคกลางท่ีตา งจากภาคอนื่ ๆ 2.วฒั นธรรมทางดนตรพี ้ืนบา นภาคเหนือ เคร่อื งดนตรีพน้ื บา นภาคเหนอื ยคุ แรกสวนใหญ จะเปนเคร่ืองดนตรีประเภทตี แตเดมิ เรียกวา ทอนไมกลวง ตอ มาจึงมกี ารนําหนังมาหุมจนกลายเปน กลอง และไดพ ฒั นาเปนเคร่ืองดดี และสี ซ่งึ เกดิ การประดิษฐธ นเู พ่อื เปน เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ นการลาสัตว โดยการดีดสายหนงั ใหลูกดอกปก ลงไปในส่ิงตา งๆ ตามทตี่ องการ มนษุ ยจ งึ เกดิ การเลียนแบบเสยี ง ของการดีดสายหนงั จนเกิด เปน เครื่องดนตรี เชน พิณเพียะ ซึง ซอชนิดตา งๆ สะลอ เปน ตนจากนนั้ มนษุ ยไ ดป ระดิษฐเครื่องเปา ขึ้น เชน ขลุยและป ซง่ึ เกิดจากการฟง เสยี งกระแสลมท่พี ดั ผานปาก ปลองคูหาถ้ําหรือเสียงลมกระทบทิวไผตนไมตางๆเปนตน 3.วฒั นธรรมทางดนตรพี น้ื บา นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ วฒั นธรรมทางดนตรีพื้นบาน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือแบงออกเปน 3 กลมุ ดังน้ี - ดนตรีกลุม วัฒนธรรมหมอลํา เปนคนกลุมใหญท ่สี ุดในภาคอีสาน มกี ารขบั รอง และเปาแคนประกอบ พิณเปนเครื่องดนตรีที่ไดรับความนิยมรองลงมา จนกระทั่งปจจุบันนิยมเลน โปงลางกันอยางแพรหลายมากยิ่งขึ้น - ดนตรีกลุมวัฒนธรรมกันตรมึ เปนดนตรขี ับรองท่ีเรียกวา เจรียง ซง่ึ เปน เครื่อง ดนตรขี องชาวสรุ ินทร บรุ ีรมั ย และศรีสะเกษ -ดนตรีกลุมวัฒนธรรมโคราช เพลงโคราช เปนการแสดงเชนเดียวกับลิเกของภาค กลาง ซงึ่ เปนการขับรองโตตอบกันระหวางหมอเพลงชายกับหมอเพลงหญิง 4.วัฒนธรรมทางดนตรีพื้นบานภาคใต วัฒนธรรมทางดนตรีพื้นบานภาคใต ไดแก- วัฒนธรรมทางดนตรีทีเ่ กีย่ วกับสิ่งศักด์ิสิทธความเชื่อเร่ืองภูตผีปศาจ อํานาจเรนลับ เพื่อใหเกิด

90 คุณประโยชนอยางใดอยางหน่ึง ไดแก การเลนมะตือรีในหมูชาวไทยมุสลิมและการเลนตะครึมในหมู ชาวไทยพทุ ธ เปน ตน -วฒั นธรรมทางดนตรีที่เกี่ยวขอ งกบั ประเพณี ในบ้นั ปลายของชีวิตเมื่อถึงแกกรรมก็ อาศัยเคร่ืองดนตรเี ปน เคร่ืองไปสสู คุ ติ ดงั จะเหน็ จากการเลนกาหลอในงานศพเพ่ือออนวอนเทพเจา ใหน ํารางของผเู สยี ชวี ติ ไปสูภพภมู ิทด่ี ี -วัฒนธรรมทางดนตรีที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิต ชาวพื้นเมืองภาคใตนิยมประโคมปด และประโคมโพนเปนสัญญาณบอกกลาวแกชาวบาน เพื่อใหชาวบานทราบวาที่วัดมีการทําเรือพระ สําหรับใชชักลากในเทศการชักพระ -วัฒนธรรมทางดนตรีที่เกี่ยวของกับการเสริมสรางความสามัคคี เชน กรือโตะและบานอ ชาวบานจะรวมกันทําขึ้นมาเพื่อใชเลนสนุกรวมกัน และใชแขงขันกับหมูบา นอ่นื เปนตน

91 เร่อื งท่ี 4 ประวัตคิ ณุ คาภูมิปญ ญาของดนตรีไทย ดนตรไี ทย เปนศิลปะชั้นสูงแขนงหนึ่งซึ่งอยูคูกับคนไทยมาตลอดประวัติศาสตร และ ถือวาเปนมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณคาที่สืบทอดกันมาจนถึงทุกวันนี้ เนอ่ื งจากดนตรีไทยไมมี การบันทึกเปน ตัวโนต การเรียนดนตรีไทยจึงตองเรียนดวยการ \"จาํ \" เทาน้ัน ถงึ แมวาดนตรไี ทยจะ ไมใชต ัวโนตสาํ หรบั บรรเลง แตด นตรไี ทยก็มโี นต เหมอื นดนตรีสากลท่ัวไป เพียงแตดนตรไี ทยมีแต คีย เมเจอรเ ทา นนั้ คือ คีย หรอื Am เพราะดนตรีไทยไมมีชารปหรือแฟลต ประโยชนของดนตรไี ทย 1. เปนเครื่องมือที่สามารถตอบสนองความตองการในการประเทืองอารมณกระตุน ความรูสึกของเราอยางมาก 2. ทาํ ใหม นุษยอยูอยางมอี ารมณ ความรูส กึ มเี ครอื่ งมือประเทืองจิตใจ มีความ ละเอยี ดออ นและเกดิ ความสุขความสนุกสนาน 3. ทําใหโลกมีความสดใส มสี ีสัน 4. ทาํ ใหค นฟงรูสกึ ผอนคลาย จิตใจเบิกบาน คุณคา ในดนตรีท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรม และภูมปิ ญญาไทย 1.วัฒนธรรมทางดนตรีพื้นบานภาคกลาง ดนตรพี ้ืนบา นภาคกลางสว นใหญ ประกอบดว ยเคร่ืองดนตรีประเภทตี และเปา เรียกรวมเปน เครื่องตเี ปา ซงึ่ ถือเปนเครื่องประโคม ดั้งเดมิ ท่เี กาแกท่สี ดุ และพฒั นาจนกลายเปน วงปพ าทยในปจจบุ ัน แตเ ดมิ วงปพาทยน ้นั ใชป แ ละ กลองเปน หลกั ตอ มาใชระนาดและ ฆอ งวงและเพ่มิ เครื่องดนตรใี หมีจํานวนมากเพื่อใหเสียงดังขึ้น การบรรเลงวงปพาทยไมนิยม บรรเลงเพื่อประกอบการละเลนตางๆ แตนิยมบรรเลงในพิธีกรรม การแสดง และการประกวด ประชันเพื่อใหเปนที่ยอมรับของคนในสังคม เพลงบรรเลงของวงปพาทยประกอบดวยเพลง โหม โรง เพลง หนา พาทย เพลง เรื่อง เพลง หางเคร่อื ง และเพลง ภาษา เพลงบรรเลงทั้ง 5 ประเภทเปน การบรรเลงทีเ่ ปน แบบแผน ไมว า จะบรรเลงเดยี่ วหรือหมู ลว นแตใชแบบแผนนที้ งั้ สิ้นเพ่ือเปน การ อวดฝม ือ ของนกั ดนตรีนน่ั เอง ดนตรีพื้นบานภาคกลางถือเปนการถายเทระหวางวัฒนธรรมราษฎ กับวัฒนธรรมหลวงซึ่งเปนการผสมผสานจนเกดิ เปนเอกลักษณของวงดนตรีพื้นบานภาคกลางที่ตาง จากภาคอนื่ ๆ

92 2.วฒั นธรรมทางดนตรพี น้ื บา นภาคเหนอื เครื่องดนตรพี ้ืนบานภาคเหนือยุคแรกสว น ใหญจะเปน เคร่ืองดนตรีประเภทตี แตเดมิ เรยี กวา ทอ นไมก ลวง ตอมาจงึ มกี ารนําหนงั มาหมุ จน กลายเปนกลอง และไดพัฒนาเปน เคร่อื งดีดและสี ซึง่ เกิดการประดษิ ฐธ นูเพอ่ื เปนเคร่ืองมือท่ใี ชใ น การลาสตั ว โดยการดีดสายหนังใหล กู ดอกปก ลงไปในส่ิงตา งๆ ตามทตี่ องการ มนษุ ยจึงเกดิ การ เลยี นแบบเสยี งของการดดี สายหนังจนเกิด เปน เครื่องดนตรี เชน พิณเพียะ สะลอ ซงึ ซอชนดิ ตางๆ เปน ตน จากน้ันมนุษยไดประดษิ ฐเครื่องเปาข้นึ เชน ขลยุ และป ซง่ึ เกดิ จากการฟงเสยี งกระแสลมท่ี พัดผานปากปลองคูหาถ้ําหรือเสียงลมกระทบทิวไผตนไมตางๆเปนตน 3.วฒั นธรรมทางดนตรพี น้ื บา นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ วฒั นธรรมทางดนตรพี นื้ บาน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือแบงออกเปน 3 กลมุ ดังนี้ -ดนตรกี ลมุ วัฒนธรรมหมอลํา เปนคนกลุมใหญท ี่สุดในภาคอีสาน มกี ารขบั รอ งและ เปาแคนประกอบ พิณเปนเครื่องดนตรีที่ไดรับความนิยมรองลงมา จนกระทั่งปจจุบันนิยมเลน โปงลางกันอยางแพรหลายมากยิ่งขึ้น -ดนตรกี ลุมวัฒนธรรมกนั ตรึม เปนดนตรีขบั รองที่เรียกวา เจรยี ง ซง่ึ เปนเคร่ืองดนตรี ของชาวสรุ ินทร บุรรี ัมย และศรีสะเกษ -ดนตรีกลุมวัฒนธรรมโคราช เพลงโคราช เปนการแสดงเชนเดียวกับลิเกของภาค กลาง ซึงเปนการขับรองโตตอบกันระหวางหมอเพลงชายกับหมอเพลงหญิง 4.วฒั นธรรมทางดนตรพี น้ื บา นภาคใต วฒั นธรรมทางดนตรีพนื้ บานภาคใต ไดแ ก -วฒั นธรรมทางดนตรที ี่เกี่ยวกับสง่ิ ศกั ด์ิสิทธ ความเช่อื เรือ่ งภูตผปี ศาจ อํานาจเรนลบั เพือ่ ใหเ กดิ คุณประโยชนอยา งใดอยางหน่งึ ไดแก การเลน มะตอื รใี นหมชู าวไทยมสุ ลิมและการเลน ตะครึมในหมูชาวไทยพุทธ เปนตน -วัฒนธรรมทางดนตรที ีเ่ กี่ยวขอ งกับประเพณี ในบั้นปลายของชีวิตเมอื่ ถงึ แกก รรมก็ อาศยั เคร่ืองดนตรเี ปน เคร่ืองไปสสู คุ ติ ดงั จะเหน็ จากการเลนกาหลอในงานศพเพ่ือออนวอนเทพเจา ใหนาํ รา งของผเู สียชวี ิตไปสูภพภูมิทด่ี ี -วัฒนธรรมทางดนตรที ่เี ก่ยี วขอ งกับการดํารงชีวิต ชาวพื้นเมืองภาคใตนิยม ประโคมโพนเปนสญั ญาณบอกกลาวแกชาวบาน เพื่อใหชาวบานทราบวาที่วัดมีการทําเรือพระ สําหรับใชชักลากในเทศการชักพระ -วัฒนธรรมทางดนตรีที่เกี่ยวของกับการเสริมสรางความสามัคคี เชน กรือโตะและ บานอ ชาวบานจะรวมกันทาํ ขน้ึ มาเพ่อื ใชเ ลนสนกุ รวมกัน และใชแ ขงขันกบั หมบู านอ่ืน เปนตน

93 กจิ กรรม 1. ใหผ ูเรียนอธิบายลักษณะของดนตรีไทย เปนขอๆตามที่เรียนมา 2. ใหผเู รียนศกึ ษาดนตรีไทยในทอ งถ่นิ ของผูเรยี น แลว จดบันทกึ ไว จากน้นั นํามาอภิปราย ในชั้นเรยี น 3. ใหผ ูเรียนลองหัดเลน ดนตรีไทยจากผูรแู ลว นํามาเลนใหชมในชั้นเรียน 4. ผเู รียนมีแนวความคิดในการอนุรักษดนตรีไทยในทองถิน่ ของผเู รยี นอยา งไรบางให ผเู รยี นบันทกึ เปน รายงานและนาํ แสดงแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ กนั ในชน้ั เรยี น

94 บทที่ 3 นาฏศลิ ปไทย สาระสําคัญ 1. ความหมายและความเปนมาของนาฏศิลปไทย 2. นาฏศิลปไทยประเภทตาง ๆ 3. คุณคาและการอนุรักษนาฏศิลปไทย ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายประวัติความเปนมาของการแสดงนาฏศิลปไทยประเภทตาง ๆ ได 2. มีความรูเกี่ยวกับพื้นฐานความงามของนาฏศิลปไทยและแสดงออกไดอยางถูกตอง 3. แสดงความคดิ เหน็ ความรูสึก ตอการแสดงนาฏศิลปไทยได 4. เขาใจเห็นคุณคาของนาฏศิลปไทยและบอกแนวทางการอนุรักษนาฏศิลปไทยได ขอบขา ยเน้ือหา เร่ืองท่ี 1. ความเปนมาของนาฏศิลปไทย เร่ืองท่ี 2. ประวัตินาฏศิลปไทย เรื่องท่ี 3. ประเภทของนาฏศิลปไทย เรื่องที่ 4. นาฏยศัพท เร่ืองท่ี 5. รําวงมาตรฐาน เรื่องที่ 6. การอนุรักษนาฏศิลปไทย

95 เรอ่ื งท่ี 1 ความเปน มาของนาฏศลิ ปไ ทย นาฏศิลป คือ ศลิ ปะการรองรําทําเพลง ทมี่ นษุ ยเปนผูส รางสรรค โดยประดิษฐขน้ึ อยาง ประณีตและมีแบบแผน ใหค วามรู ความบนั เทิง ซง่ึ เปนพื้นฐานสาํ คญั ท่ีแสดงใหเ ห็นถงึ วฒั นธรรม ความรุงเรือง ของชาติไดเปนอยางดี ความเปนมาของนาฏศิลป นาฏศิลป หรอื ศิลปะแหงการแสดงละครฟอ นรํานนั้ มคี วามเปนมาทส่ี ําคญั 4 ประการคือ 1.เกิดจากการที่มนุษยตองการแสดงอารมณที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ใหปรากฏออกมาโดยมี จดุ ประสงคเ พื่อการสอ่ื ความหมายเปนสาํ คัญเรม่ิ ตัง้ แต 1.1 มนษุ ยแ สดงอารมณตามธรรมชาติออกมาตรง ๆ เชน การเสียใจกร็ อ งไห ดใี จก็ ปรบมือหรือสงเสียงหัวเราะ 1.2 มนุษยใชกริยาอาการเปนการสื่อความหมายใหชัดเจนขึ้น กลายเปนภาษาทา เชน กวักมือเขามาหาตัวเอง 1.3 มีการประดิษฐคิดทาทางใหมีลีลาที่วิจิตรบรรจงขึ้น จนกลายเปนทวงทีลีลาการ ฟอนราํ ท่งี ดงามมลี ักษณะท่เี รียกวา “นาฏยภาษา”หรอื “ภาษานาฏศิลป” ที่สามารถสื่อความหมาย ดวยศิลปะแหงการแสดงทาทางที่งดงาม 2. เกิดจากการทม่ี นษุ ยตองการเอาชนะธรรมชาตดิ วยวธิ ีตา ง ๆ ท่ีนําไปสูการปฏบิ ัติเพ่อื บูชา สิ่งทีต่ นเคารพตามลทั ธิศาสนาของตน ตอ มาจงึ เกดิ เปนความเช่อื ในเร่ืองเทพเจา ซงึ่ ถือวาเปน สิง่ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ทีเ่ คารพบูชา โดยจะเริม่ จากวิงวอนอธษิ ฐาน จนมีการประดิษฐเครื่องดนตรี ดีด สี ตี เปา ตาง ๆ การเลนดนตรี การรอ งและการราํ จึงเกิดข้ึนเพ่ือใหเ ทพเจาเกิดความพอใจมากยิ่งขึ้น 3. เกิดจากการเลนเลียนแบบของมนษุ ย ซ่งึ เปนการเรยี นรูในขน้ั ตนของมนุษย ไปสูการ สรา งสรรคศิลปะแบบตาง ๆ นาฏศิลปกเ็ ชนกันจะเหน็ วามนุษยน ยิ มเลียนแบบส่ิงตา ง ๆ ทั้งจาก มนุษยเองสังเกตจาก เด็ก ๆ ชอบแสดงบทบาทสมมุติเปนพอเปนแมใ นเวลาเลน กนั เชน การเลน ตกุ ตา การเลนหมอ ขาวหมอ แกง หรือเลยี นแบบจากธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มตา ง ๆ ทาํ ใหเ กดิ การ เลน เชน การเลนงูกินหาง การแสดงระบํามา ระบํากาสร ระบํานกยูง ( ทรงศักดิ์ ปรางควัฒนากุล : ม.ป.ป. ) 4. เกิดจากการที่มนษุ ยค ดิ ประดิษฐหาเครอ่ื งบนั เทงิ ใจ หลังจากการหยุดพักจากภารกจิ ประจําวัน เริ่มแรกอาจเปนการเลานิทาน นิยาย มีการนําเอาดนตรีและการแสดงทาทางตาง ๆ ประกอบเปนการรายรําจนถึงการแสดงเปนเรื่องราว

96 การแสดงโขน ตอน พระรามตามกวาง

97 เรอ่ื งท่ี 2 ประวัตนิ าฏศลิ ปไ ทย นาฏศิลปไ ทย คือ ศิลปะแหงการรายรําที่เปนเอกลักษณของไทย จากการสืบคนประวัติ ความเปนมาของนาฏศิลปไทย เปนเรื่องที่เกี่ยวของและสัมพันธกับประวัติศาสตรไทย และ วัฒนธรรมไทย จากหลักฐานที่ยืนยันวานาฏศิลปมีมาชานาน เชนการสืบคนในหลักศิลาจารึกหลักที่ 4 สมัยกรุงสโุ ขทัย พบขอความวา “ระบํารําเตนเลน ทกุ วนั ” แสดงใหเหน็ วาอยางนอยทสี่ ดุ นาฏศลิ ป ไทย มีอายไุ มนอ ยกวายคุ สุโขทยั ขนึ้ ไป สรุปทมี่ าของนาฏศิลปไ ทยไดด ังน้ี 1.จากการละเลนของชาวบานในทองถิ่น ซึ่งเปนกิจกรรมเพื่อความบันเทิงและความรื่นเริง ของชาวบาน ภายหลังจากฤดูกาลเกบ็ เก่ียวขาวแลว ซ่งึ ไมเ พียงเฉพาะนาฏศลิ ปไ ทยเทา นนั้ ทมี่ ี ประวตั เิ ชนนี้ แตนาฏศิลปทว่ั โลกก็มีกําเนิดจากการเลน พืน้ เมอื งหรอื การละเลน ในทองถิ่น เม่อื เกดิ การละเลน ในทองถน่ิ การขับรองโตตอบกันระหวางฝายหญิงและฝายชาย ก็เกิดพอเพลงและแม เพลงขนึ้ จงึ เกิดแมแบบหรือวิธีการที่พัฒนาสืบเน่ืองตอ ๆ กันไป 2. จากการพัฒนาการรองรําในทองถ่นิ สนู าฏศิลปใ นวังหลวง เมอ่ื เขาสวู งั หลวงก็มกี าร พัฒนารูปแบบใหงดงามยิ่งขึ้น มีหลักการ และระเบียบแบบแผน ประกอบกับพระมหากษัตริยไทย ยคุ สุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสนิ ทร ทรงเปนกวแี ละนักประพันธ ดงั นั้นนาฏศลิ ปรวมทงั้ การ ดนตรีไทย จงึ มีลักษณะงดงามและประณีต เพราะผแู สดงกําลงั แสดงตอ หนาพระที่น่งั และตอ หนา พระมหากษัตรยิ ผูท่มี ีความสามรถในเชิงกวี ดนตรี และนาฏศลิ ปเ ชนกนั อาจกลา วไดว า กษัตริยแทบ ทุกพระองคทรงเปยมลนดวยความสามารถดานกวี ศิลปะอยางแทจริง บางองคมีความสามารถดาน ดนตรีเปนพิเศษ โดยเฉพาะยุครตั นโกสินทร พระมหากษัตริยไ ทยไดแสดงใหโลกไดป ระจกั ษถ ึง ความสามารถดา นน้ี กวแี ละศลิ ปะ เชน รชั กาลที่ 2, รัชกาลท่ี 6 และพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห วั ภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระปรีชาสามารถดานดนตรีจนเปนที่ยอมรับของวงการดนตรีทั่วโลก

98 การแสดงชุดเจาเงาะรจนา การแสดงโขน

99 เอกลกั ษณข องนาฏศลิ ปไ ทย 1. มีทารําออนชอย งดงาม และแสดงอารมณ ตามลักษณะที่แทจริงของคนไทย ตลอดจนใช ลีลาการเคลอ่ื นไหวท่ดี สู อดคลองกนั 2. เครื่องแตงกายจะแตกตางกับชาติอื่น ๆ มีแบบอยางของตนโดยเฉพาะ ขนาดยืดหยุนได ตามสมควร เครื่องแตงกายบางประเภท เชนเครื่องแตงกายยืนเครื่อง การสวมใสจะใชตรึงดวยดา ย แทนทจี่ ะเย็บสาํ เร็จรปู เปนตน 3. มีเครื่องประกอบจังหวะหรือดนตรีประกอบการแสดง ซึ่งอาจมีแตทํานองหรือมีบทรอง ผสมอยู 4. ถามีคาํ รองหรือบทรอ งจะเปน คําประพันธ สว นมากแลวมลี กั ษณะเปน กลอนแปด สามารถนําไปรอ งเพลงชั้นเดียว หรือสองช้ันไดทกุ เพลง คํารองนที้ าํ ใหผสู อนหรือผรู ํากําหนดทา ราํ ไปตามบทรอง

100 เครอ่ื งแตง กายพระ เครอ่ื งแตงกายนาง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook