Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปศึกษา ต้น

ศิลปศึกษา ต้น

Description: ศิลปศึกษา ต้น

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนินชีวิต รายวิชา ศิลปศึกษา (ทช21003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจาํ หนาย หนงั สอื เรยี นเลมน้ีจัดพมิ พดวยเงินงบประมาณแผนดินเพ่ือการศึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน ลขิ สิทธ์เิ ปน ของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 16/2555

2 หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ติ รายวิชา ศลิ ปศกึ ษา (ทช21003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) ลขิ สิทธิ์เปนของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดับที่ 16/2555

3

4 สารบญั หนา คํานํา 2 คําแนะนําการใชห นงั สอื เรียน โครงสรางรายวิชา 9 บทท่ี 1 ทศั นศลิ ปไทย 34 37 เร่ืองท่ี 1 จดุ เสน สี แสง เงา รูปราง และรูปทรงท่ีใชใ นทัศนศิลปไ ทย เรื่องท่ี 2 ความเปนมาของทัศนศิลปไทยดาน 39 46 จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปตยกรรมไทย ภาพพิมพ เร่ืองที่ 3 ความงามและคุณคาของทัศนศิลปไทย เรื่องที่ 4 การนําความงามของธรรมชาติมาสรางสรรคผลงาน เรื่องที่ 5 ความคิดสรางสรรค ในการนําเอาวัสดุและสิ่งของตาง ๆ มาตกแตง รางกายและสถานที่ เร่ืองที่ 6 คุณคาของความซาบซึ้งของวัฒนธรรมของชาติ บทที่ 2 ดนตรีไทย 55 เร่ืองท่ี 1 ประวัตดิ นตรไี ทย 65 เร่ืองท่ี 2 เทคนิคและวิธีการเลนของเครื่องดนตรีไทย 83 เร่ืองท่ี 3 คุณคาความงามความไพเราะของเพลงและเครอ่ื งดนตรีไทย 85 เร่ืองท่ี 4 ประวัตคิ ุณคา ภมู ปิ ญญาของดนตรีไทย บทท่ี 3 นาฏศลิ ปไทย 89 เร่ืองท่ี 1 ความเปนมาของนาฏศิลปไทย 91 เร่ืองที่ 2 ประวัตินาฏศิลปไทย 95 เร่ืองท่ี 3 ประเภทของนาฏศิลปไทย 104 เร่ืองท่ี 4 นาฏยศัพท 107 เร่ืองท่ี 5 รําวงมาตรฐาน 111 เร่ืองท่ี 6 การอนุรักษนาฏศิลปไทย

บทท่ี 4 นาฏศลิ ปไ ทยกบั การประกอบอาชีพ 5 คณุ สมบัติของอาชีพนักแสดงที่ดี คณุ ลักษณะของผูประกอบอาชีพการแสดง 124 อาชีพการแสดงหนังตะลุง 124 อาชีพการแสดงลิเก 125 อาชีพการแสดงหมอลํา 130 134

6 คาํ แนะนําการใชห นังสอื เรยี น หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชา ศิลปศึกษา ทช21003 เปนหนังสือเรียนทีจ่ ัดทําขึน้ สําหรบั ผูเรียนท่เี ปน นักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสอื เรียนสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ติ รายวชิ า ศลิ ปศกึ ษา ผเู รยี นควรปฏบิ ตั ิดังน้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง และขอบขาย เนื้อหาของรายวิชาน้นั ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเนือ้ หาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามทีก่ ําหนด แลวตรวจสอบ กับแนวตอบกิจกรรมตามทีก่ ําหนด ถาผูเ รียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานัน้ ใหมให เขา ใจ กอนที่จะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่องของแตละเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในเรื่องนั้น ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนื้อหา แตละเรื่อง ผูเรียนสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพื่อน ๆ ที่ รวมเรียนในรายวชิ าและระดับเดียวกันไดหนังสอื เรียนเลมนม้ี ี 3บทคอื บทที่ 1 ทัศนศิลปไทย บทที่ 2 ดนตรีไทย บทที่ 3 นาฏศิลปไ ทย บทที่ 4 นาฏสิลปไทยกับการประกอบอาชีพ

7 โครงสรา งรายวชิ าศลิ ปศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน สาระสําคัญ มีความรูความเขา ใจ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ช่ืนชม เห็นคุณคาความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ ม ทางทศั นศลิ ปไทย ดนตรไี ทย นาฏศิลปไทย และวิเคราะหไดอยางเหมาะสม ผลการเรยี นรูที่คาดหวงั 1. อธิบายความหมายของธรรมชาติ ความงามความ ไพเราะของทัศนศิลปไทย ดนตรีไทย และนาฏศิลปไทย 2. อธิบายความรูพื้นฐานของ ทัศนศิลปไทย ดนตรีไทย และนาฏศิลปไทย 3. สรา งสรรคผ ลงานโดยใชความรูพ้นื ฐาน ดา น ทศั นศิลปไ ทย คนตรไี ทย และนาฏศิลปไ ทย 4. ชืน่ ชม เหน็ คุณคาของ ทศั นศิลปไ ทย ดนตรีไทย และนาฏศลิ ปไทย 5. วเิ คราะห วพิ ากย วจิ ารณ งานดานทศั นศิลปไ ทย คนตรีไทย และนาฏศิลปไ ทย 6. อนุรักษส บื ทอดภูมปิ ญ ญาดานทัศนศลิ ปไทย คนตรไี ทย และนาฏศลิ ปไ ทย ขอบขา ยเน้ือหา บทที่ 1 ทัศนศิลปไทย บทที่ 2 ดนตรไี ทย บทที่ 3 นาฏศิลปไทย บทที่ 4 นาฏศิลปไทยกับการประกอบอาชีพ สือ่ การเรียนรู 1. หนงั สือเรียน 2. กจิ กรรม

8 บทที่ 1 ทัศนศลิ ปไทย สาระสําคญั ศึกษาเรียนรู เขาใจ เห็นคุณคาความงาม ของทัศนศิลปไทย และสามารถอธิบายความงาม และความ เปนมาของทัศนศิลปไทย ไดอยางเหมาะสม ผลการเรียนรูทค่ี าดหวงั อธิบายความหมาย ความสําคญั ความเปนมา ของทัศนศิลปไทย เขา ใจถึงตน กาํ เนดิ ภูมิปญ ญาและการ อนรุ กั ษทัศนศิลปไทย ขอบขา ยเนอ้ื หา เรื่องท่ี 1 จดุ เสน สี แสง เงา รูปรา ง และรูปทรงที่ใชในทัศนศิลปไทย เรื่องที่ 2 ความเปนมาของทัศนศิลปไทยดาน - จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปตยกรรมไทย ภาพพิมพ เรื่องที่ 3 ความงามของทัศนศิลปไทย เร่ืองท่ี 4 สรางสรรคผลงานจากความงามตามธรรมชาติ เรื่องที่ 5 ความคิดสรางสรรค ในการนําเอาวัสดุและสิ่งของตาง ๆมาตกแตงรางกายและสถานที่ เรื่องท่ี 6 คุณคาของความซาบซึ้งของวัฒนธรรมของชาติ

9 เร่ืองท่ี 1 จดุ เสน สี แสง เงา รูปรา ง และรูปทรงท่ใี ชในทศั นศิลปไ ทย จดุ หมายถึง องคป ระกอบที่เล็กท่สี ดุ จุดเปนสิ่งที่บอกตําแหนงและทิศทางได การนาํ จุดมาเรยี งตอกัน ใหเ ปน เสน การรวมกันของจุดจะเกดิ นํา้ หนกั ทใี่ หป ริมาตรแกรปู ทรง เปนตน เสน หมายถึง จดุ หลายๆจดุ ทเ่ี รยี งชดิ ตดิ กนั เปนแนวยาว การลากเสนจากจุดหนงึ่ ไปยังจดุ หนึง่ ในทิศทางที่แตกตางกัน จะเปนทิศมุม 45 องศา 90 องศา 180 องศาหรือมุมใดๆ การสลับทิศทางของเสนที่ลาก ทาํ ใหเกดิ เปนลักษณะตา ง ๆ เสนเปนองคประกอบพื้นฐานที่สําคัญในการสรางสรรค เสน สามารถแสดงใหเกิดความหมายของภาพ และใหความรูสึกไดต ามลักษณะของเสน เสนที่เปนพ้นื ฐาน ไดแก เสนตรงและเสนโคง จากเสนตรงและเสนโคงสามารถนํามาสรางใหเกิดเปน เสนใหมท ใี่ หความรูส กึ ทีแ่ ตกตางกันออกไปได ดงั น้ี เสน ตรงแนวตง้ั ใหความรสู ึกแข็งแรง สงู เดน สงางาม นาเกรงขาม เสน ตรงแนวนอน ใหความรูสึกสงบราบเรียบ กวางขวาง การพักผอน หยดุ นง่ิ เสน ตรงแนวเฉยี ง ใหความรูสึกไมปลอดภัย การลม ไมห ยดุ นิง่ เสนตดั กนั ใหค วามรสู กึ ประสานกนั แขง็ แรง

10 เสน โคง ใหค วามรสู กึ ออนโยนนุมนวล เสน คด ใหความรูสกึ เคลอ่ื นไหวไหลเล่อื น รา เรงิ ตอ เน่ือง เสน ประ ใหความรูสึกขาดหาย ลึกลับ ไมส มบรูณ แสดงสว นทม่ี องไมเ ห็น เสน ขด ใหค วามรสู กึ หมนุ เวียนมนึ งง เสน หยัก ใหความรสู กึ ขัดแยง นากลวั ตน่ื เตน แปลกตา นกั ออกแบบนําเอาความรูสึกที่มีตอเสนที่แตกตางกันมาใชในงานศิลปะประยุกต โดยใชเสนมาเปล่ียน รูปรางของตวั อกั ษร เพอ่ื ใหเกิดความรสู กึ เคล่อื นไหวและทําใหสือ่ ความหมายไดดียง่ิ ข้ึน สี คอื สีท่นี าํ มาผสมกันแลวทําใหเกิดสใี หม ท่ีมีลักษณะแตกตา งไปจากสีเดิม แมส มี อี ยู 2 ชนิด คือ

11 1. แมสขี องแสง เกดิ จากการหกั เหของแสงผานแทง แกวปริซมึ มี 7 สี คือ มว ง คราม น้ําเงิน เขยี ว เหลอื ง แสด แดง สแี ดง สเี ขยี ว และสนี า้ํ เงิน อยใู นรปู ของแสงรังสี ซึ่งเปนพลงั งานชนดิ เดียวทีม่ ีสี คุณสมบัติของแสง สามารถนํามาใช ในการถายภาพ ภาพโทรทัศน การจัดแสงสใี นการแสดงตาง ๆ เปนตน 2. แมส วี ตั ถุธาตุ เปนสีที่ไดมาจากธรรมชาติ และจากการสังเคราะหโดยกระบวนทางเคมี มี 3 สี คอื สแี ดง สี เหลอื ง และสนี ้าํ เงนิ แมสีวัตถุธาตุเปนแมสีที่นํามาใชงานกันอยางกวางขวาง ในวงการศิลปะ วงการ อุตสาหกรรม ฯลฯ แมสวี ตั ถุธาตุ เมื่อนํามาผสมกนั ตามหลักเกณฑ จะทาํ ใหเกดิ วงจรสี ซง่ึ เปน วงสีธรรมชาติ เกดิ จากการผสมกนั ของแมส วี ัตถุธาตุ เปน สีหลกั ท่ีใชง านกนั ท่ัวไป ในวงจรสี จะแสดงสง่ิ ตาง ๆ ดังตอ ไปนี้ วงจรสี ( Colour Circle) สีขัน้ ท่ี 1 คือ แมสี ไดแ ก สแี ดง สเี หลอื ง สนี าํ้ เงิน สีขน้ั ที่ 2 คือ สีทีเ่ กิดจากสีข้ันที่ 1 หรือแมส ีผสมกนั ในอัตราสวนท่ีเทา กัน จะทําใหเกดิ สใี หม 3 สี ไดแก สแี ดง ผสมกบั สเี หลือง ไดส ี สม สแี ดง ผสมกบั สีนาํ้ เงิน ไดสมี ว ง สเี หลอื ง ผสมกบั สี น้ําเงนิ ไดส เี ขยี ว สีข้ันที่ 3 คอื สีที่เกิดจากสขี ้นั ที่ 1 ผสมกบั สีขัน้ ที่ 2 ในอตั ราสวนที่ เทากนั จะไดสีอ่ืน ๆ อกี 6 สี คือ สแี ดง ผสมกบั สสี ม

12 ไดส ี สม แดง สแี ดง ผสมกับสีมวง ไดส มี ว งแดง สเี หลอื ง ผสมกบั สีเขยี ว ไดส เี ขียวเหลือง สนี า้ํ เงิน ผสมกบั สีเขียว ไดสีเขยี วนา้ํ เงิน สนี า้ํ เงนิ ผสมกับสมี วง ไดสีมวงนาํ้ เงิน สเี หลอื ง ผสมกบั สสี ม ไดส ีสม เหลือง วรรณะของสี คอื สีทใ่ี หค วามรูสกึ รอน-เยน็ ในวงจรสีจะมีสีรอ น 7 สี และสเี ย็น 7 สี โดยจะมีสีมวงกับสี เหลอื ง ซ่ึงเปน ไดท ้งั สองวรรณะ สตี รงขา ม หรือสีตัดกนั หรือสีคปู ฏปิ ก ษ เปนสที ี่มีคา ความเขมของสี ตัดกนั อยา งรุนแรง ในทางปฏิบัติ ไมน ยิ มนาํ มาใชรว มกนั เพราะจะทาํ ใหแตละสีไมสดใสเทา ท่ีควร การนําสีตรงขามกันมาใชรวมกัน อาจกระทํา ไดด งั น้ี 1. มีพ้นื ทขี่ องสหี น่งึ มาก อีกสีหนง่ึ นอย 2. ผสมสีอนื่ ๆ ลงไปในสใี ดสีหน่ึง หรอื ท้งั สองสี 3. ผสมสีตรงขามลงไปในสีทั้งสองสี สีกลาง คือ สที ี่เขาไดก ับสที ุกสี สีกลางในวงจรสี มี 2 สี คอื สีนํ้าตาล กบั สเี ทา สีน้ําตาล เกดิ จากสตี รง ขามกันในวงจรสผี สมกัน ในอัตราสวนที่เทากนั สนี าํ้ ตาลมคี ณุ สมบัตสิ ําคญั คือ ใชผ สมกบั สีอืน่ แลวจะทาํ ใหส ี นั้น ๆ เขมขึ้นโดยไมเปลี่ยนแปลงคาสี ถาผสมมาก ๆ เขาก็จะกลายเปนสีน้ําตาล สีเทา เกิดจากสีทกุ สี ๆ สีใน วงจรสีผสมกนั ในอัตราสวนเทา กนั สเี ทา มีคณุ สมบัติท่สี ําคัญ คือ ใชผสมกับสีอืน่ ๆ แลวจะทาํ ให มืด หมน ทฤษฎีสีดังกลาวมีผลใหเราสามารถนํามาใชเปนหลักในการเลือกสรรสีสําหรับงานสรางสรรค ของเรา ได ซึ่งงานออกแบบมิไดถูกจํากัดดวยกรอบความคิดของทฤษฎีตามหลักวิชาการเทานั้น แตเราสามารถ คิดออก นอกกรอบแหง ทฤษฎนี น้ั ๆ คุณลกั ษณะของสมี ี 3 ประการ คือ

13 1. สแี ท หมายถึง สีทอ่ี ยูในวงจรสธี รรมชาติ ทง้ั 12 สี ท่ีเราเหน็ อยูทกุ วนั น้ีแบง เปน 2 วรรณะ โดยแบง วงจรสอี อกเปน 2 สว น จากสเี หลอื งวนไปถงึ สมี ว ง คือ 1. สรี อ น ใหค วามรสู กึ รนุ แรง รอน ต่ืนเตน ประกอบดว ย สีเหลอื ง สีเหลืองสม สสี ม สีแดงสม สแี ดง สมี ว งแดง สีมว ง 2. สเี ย็นใหความรูสึกเยน็ สงบ สบายตาประกอบดวย สเี หลือง สีเขียวเหลือง สเี ขียว สีเขียวน้ําเงิน สีนํ้าเงนิ สมี ว งน้ําเงิน สมี วง เราจะเห็นวา สเี หลอื ง และสีมว ง เปนสีท่อี ยไู ดทงั้ 2 วรรณะ คอื เปนสกี ลางและ เปน ไดทั้งสรี อน และสีเยน็ 2. ความจัดของสี หมายถึง ความสด หรือความบริสุทธ์ขิ องสีใดสีหนึ่ง สที ีถ่ กู ผสมดวย สีดาํ จนหมนลง ความจัด หรือความบริสุทธิ์จะลดลง ความจัดของสีจะเรียงลําดับจากจดั ทีส่ ดุ ไปจนหมนทีส่ ดุ 3. นาํ้ หนกั ของสี หมายถึง สีทีส่ ดใส สกี ลาง สที ึบของสแี ตละสี สที ุกสีจะมนี ํ้าหนักในตัวเอง ถาเราผสม สีขาวเขา ไปในสใี ดสีหนึง่ สนี น้ั จะสวา งขึ้น หรือมีน้ําหนักออนลงถาเพิ่มสีขาวเขาไปทีละนอยๆ ตามลําดับ เราจะ ไดน ํา้ หนักของสที ่เี รียงลาํ ดับจากแกสุด ไปจนถงึ ออ นสดุ นาํ้ หนกั ออนแกข องสที ไี่ ด เกิดจากการผสมดว ยสขี าว เทา และ ดํา นาํ้ หนักของสีจะลดลงดว ยการใชสีขาวผสม ซง่ึ จะทําให เกดิ ความรูสกึ นมุ นวล ออ นหวาน สบายตา เราสามารถเปรียบเทียบระหวางภาพสีกับภาพขาวดําไดอยางชัดเจนเมื่อนําภาพสีที่เราเห็นวามีสีแดงอยูหลายคา ท้งั ออ น กลาง แก ไปถายเอกสารขาว-ดาํ เมอ่ื นํามาดูจะพบวา สแี ดงจะมีนา้ํ หนกั ออน แกตั้งแตข าว เทา ดาํ น่ันเปนเพราะวา สแี ดงมีน้าํ หนกั ของสีแตกตางกันนัน่ เอง สตี า งๆ ทเี่ ราสัมผัสดวยสายตา จะทาํ ใหเกิดความรสู ึกข้นึ ภายในตอ เรา ทนั ทที ่ีเรามองเห็นสี ไมว า จะเปน การแตงกาย บานที่อยูอาศัย เคร่ืองใชต า งๆ แลว เราจะ ทาํ อยา งไร จึงจะใชสีไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับ หลกั จติ วิทยา เราจะตองเขาใจวา สใี ดใหค วามรสู ึก ตอมนุษยอยา งไร ซึ่งความรสู กึ เก่ียวกับสี สามารถจําแนกออก ไดด งั น้ี สแี ดง ใหความรสู กึ รอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคล่อื นไหว ตน่ื เตน เรา ใจ มีพลัง ความอุดมสมบูรณ ความมั่งคั่ง ความรัก ความสําคัญ สสี ม ใหความรูสึก รอน ความอบอุน ความสดใส มชี ีวิตชีวา วัยรุน ความคึกคะนอง การปลดปลอย ความเปร้ยี ว การระวัง สเี หลอื ง ใหความรูสึก แจมใส ความราเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวติ ใหม ความสด ใหม สเี ขยี วแก จะทําใหเกิดความรูสึกเศราใจความแกชรา สีนํ้าเงิน ใหความรสู กึ สงบ สุขุม สภุ าพ หนกั แนน เครงขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สฟี า ใหความรูส กึ ปลอดโปรงโลง กวา ง เบา โปรง ใส สะอาด ปลอดภัย ความสวาง ลมหายใจ ความเปน อิสรเสรีภาพ การชว ยเหลือ แบง ปน สีคราม จะทาํ ใหเกิดความรูสกึ สงบ สมี ว ง ใหความรสู ึก มีเสนห นาตดิ ตาม เรน ลบั ซอนเรน มีอํานาจ มีพลังแฝงอยู ความรัก ความเศรา ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์

14 สีน้ําตาล ใหค วามรูสกึ เกา หนัก สงบเงียบ สีขาว ใหค วามรสู กึ บริสุทธ์ิ สะอาด ใหม สดใส สีดาํ ใหความรสู กึ หนกั หดหู เศรา ใจ ทบึ ตัน สีชมพู ใหความรูสกึ อบอนุ ออนโยน นมุ นวล ออนหวาน ความรกั เอาใจใส วัยรนุ หนุมสาว ความ นารักความสดใส สีไพล จะทําใหเกิดความรูสึกกระชุมกระชวย ความเปนหนุมสาว สเี ทา ใหความรูสึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลับ ความหดหู ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สขุ มุ ถอมตน สที อง ใหความรสู กึ หรูหรา โออ า มีราคา สูงคา ส่งิ สาํ คญั ความเจริญรุงเรอื ง ความสุข ความร่ํารวย การ แผก ระจาย จากความรูสึกดังกลาว เราสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดในทุกเรื่อง 1. การใชส กี ลมกลนื กัน การใชสีใหกลมกลืนกนั เปน การใชส หี รือนา้ํ หนกั ของสใี หใกลเคียงกนั หรอื คลายคลงึ กนั เชน การใชสี แบบเอกรงค เปน การใชส สี เี ดยี วที่มีนา้ํ หนักออ นแกห ลายลําดบั 2. การใชส ีตดั กนั สีตดั กันคอื สีทอ่ี ยตู รงขา มในวงจรสี การใชสีใหตัดกันมีความจําเปนมาก ในงาน ออกแบบ เพราะชว ยใหเ กดิ ความนา สนใจ ในทนั ทที ่ีพบเห็น สตี ัดกันอยา งแทจรงิ มีอยูดวยกนั 6 คสู ี คือ 1. สเี หลอื ง ตรงขามกับ สมี ว ง 2. สสี ม ตรงขามกบั สนี ้ําเงิน 3. สีแดง ตรงขา มกับ สเี ขยี ว 4. สีเหลืองสม ตรงขา มกับ สีมวงน้ําเงิน 5. สีสมแดง ตรงขา มกับ นํา้ เงนิ เขียว 6. สีมวงแดง ตรงขามกับ สเี หลอื งเขยี ว การใชสตี ดั กนั ควรคํานงึ ถงึ ความเปนเอกภาพดวย วธิ ีการใชมีหลายวิธี เชน ใชส ีใหม ีปรมิ าณตางกนั เชน ใชสีแดง 20 % สเี ขยี ว 80% ในงานออกแบบ หรือการจัดภาพ หากเรารจู ักใชสใี หม ีสภาพโดยรวมเปน วรรณะรอน หรอื วรรณะเยน็ เราจะ สามารถควบคุม และสรางสรรคภาพใหเกิดความประสานกลมกลืน งดงามไดงายขึ้น เพราะสีมีอิทธิพลตอ มวล ปริมาตร และชองวาง สีมีคุณสมบตั ิทที่ ําใหเ กดิ ความกลมกลนื หรือขัดแยง ได สสี ามารถขับเนน ใหเกดิ จดุ เดน และการรวมกนั ใหเ กิดเปน หนว ยเดยี วกนั ได สรา งความรสู ึก สใี หค วามรสู ึกตอผูพ บเห็นแตกตา งกันไป ทง้ั นข้ี ้ึนอยูกบั ประสบการณ และภูมิหลงั ของ แตล ะคน สีบางสสี ามารถรักษาบําบัดโรคจิตบางชนิดได การใชสีภายใน หรือภายนอกอาคาร จะมผี ลตอการ สัมผัส และสรางบรรยากาศได

15 แสงและเงา แสงและเงา หมายถึง แสงทสี่ อ งมากระทบพ้ืนผิวท่ีมสี ีออนแกแ ละพื้นผิวสูงตํา่ โคงนูนเรียบหรือขรุขระ ทําใหปรากฏแสงและเงาแตกตางกัน ตวั กําหนดระดบั ของคา นํ้าหนกั ความเขมของเงาจะขึ้นอยูกับความเขมของแสง ในที่ที่มีแสงสวางมาก เงาจะเขมขึ้น และในท่ีที่มแี สงสวา งนอ ย เงาจะไมชดั เจน ในที่ทไี่ มม ีแสงสวางจะไมมีเงา และเงาจะอยูใน ทางตรงขามกับแสงเสมอ คาน้ําหนักของแสงและเงาที่เกิดบนวัตถุ สามารถจาํ แนกเปนลักษณะท่ี ตา ง ๆ ได ดงั น้ี 1. บริเวณแสงสวางจัด เปนบริเวณทอี่ ยใู กลแ หลงกาํ เนดิ แสงมากท่ีสุด จะมีความสวางมากที่สุด ใน วัตถุที่มผี ิวมันวาวจะสะทอนแหลงกาํ เนิดแสงออกมาใหเ หน็ ไดช ดั 2. บริเวณแสงสวาง เปนบริเวณที่ไดรับแสงสวาง รองลงมาจากบริเวณแสงสวาง จัด เนื่องจากอยหู า ง จากแหลง กําเนดิ แสงออกมา และเร่ิมมคี า นา้ํ หนกั ออน ๆ 3. บรเิ วณเงา เปน บริเวณทไี่ มไดร บั แสงสวาง หรือเปนบริเวณทถ่ี ูกบดบังจาก แสงสวาง ซ่ึงจะมีคา นํา้ หนกั เขม มากขนึ้ กวา บรเิ วณแสงสวาง 4. บรเิ วณเงาเขม จดั เปน บรเิ วณทอี่ ยูห า งจากแหลง กาํ เนิดแสงมากทส่ี ดุ หรอื เปนบรเิ วณทีถ่ กู บดบัง มาก ๆ หลาย ๆ ชน้ั จะมคี านํ้าหนักท่ีเขมมากไปจนถึงเขม ที่สุด 5. บรเิ วณเงาตกทอด เปนบริเวณของพื้นหลังที่เงาของวัตถุทาบลงไป เปนบริเวณเงาที่อยู ภายนอกวตั ถุ และจะมีความเขมของคาน้ําหนักขึ้นอยูกับ ความเขมของเงา น้ําหนักของพื้น หลัง ทิศทางและระยะของเงา ความสาํ คญั ของคา นา้ํ หนัก 1. ใหความแตกตางระหวา งรูปและพ้นื หรอื รปู ทรงกับที่วาง 2. ใหค วามรสู กึ เคลือ่ นไหว 3. ใหความรสู กึ เปน 2 มิติ แกรูปราง และความเปน 3 มติ แิ กรูปทรง 4. ทําใหเ กิดระยะความตืน้ - ลึก และระยะใกล - ไกลของภาพ 5. ทําใหเกิดความกลมกลืนประสานกันของภาพ

16 เรือ่ งท่ี 2 ความหมายและความเปน มาของทศั นศิลปไ ทย ศิลปะประเภททัศนศิลปที่สําคัญของไทย ไดแก จิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปต ยกรรม ซึง่ เปน ศิลปกรรมที่พบเหน็ ท่วั ไป โดยเฉพาะศิลปกรรมที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาหรือ พทุ ธศิลปที่มีประวัติความเปนมานับพันป จนมีรูปแบบที่เปนเอกลักษณไทย และเปนศิลปะไทย ที่ สะทอ นใหเ ห็นวิถีชวี ติ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเช่ือ และรสนิยมเกี่ยวกับความงามของคน ไทยศิลปะเหลานี้แตละสาขามีเนื้อหาสาระที่ควรคาแกการศึกษาแตกตางกันไป ศิลปะไทยเปน เอกลักษณของชาติไทย ซึ่งคนไทยทั้งชาติตางภาคภูมิใจอยางยิ่ง ความงดงาม ท่สี บื ทอดอันยาวนานมาต้งั แตอดีต บงบอกถงึ วฒั นธรรมทีเ่ กิดขน้ึ โดยมพี ฒั นาการบนพืน้ ฐานของ ความเปนไทย ลักษณะนิสัยที่ออนหวาน ละมุนละไม รักสวยรักงาม ที่มีมานานของสังคมไทย ทํา ใหศิลปะไทยมีความประณีตออนหวาน เปนความงามอยางวิจิตรอลังการที่ทุกคนไดเ ห็นตอ งตน่ื ตา ตื่นใจ อยางบอกไมถูก ลักษณะความงามนี้จึงไดกลายเปนความรูสึกทางสุนทรียภาพโดยเฉพาะคน ไทย เมื่อเราไดสืบคนความเปนมาของสังคมไทย พบวาวิถีชีวิตอยูกันอยางเรียบงาย มปี ระเพณี และศาสนาเปน เคร่ืองยึดเหนี่ยวจิตใจ สังคมไทยเปนสงั คมเกษตรกรรมมากอน ดังน้ัน ความผกู พัน ของจติ ใจจงึ อยูท ี่ธรรมชาติแมนํา้ และพ้ืนดนิ สง่ิ หลอ หลอมเหลานี้จึงเกิดบรู ณาการเปนความคิด ความเชื่อและประเพณีในทองถิ่น แลวถายทอดเปนวัฒนธรรมไทยอยางงดงาม ที่สําคัญวัฒนธรรม ชวยสงตอคุณคาความหมายของสง่ิ อนั เปนท่ยี อมรับในสงั คมหนงึ่ ๆ ใหค นในสังคมน้ันไดร บั รแู ลว ขยายไปในขอบเขตทีก่ วางขึ้น ซงึ่ สวนใหญก ารสื่อสารทางวฒั นธรรมน้ันกระทําโดยผา นสัญลกั ษณ และสัญลักษณน้ีคือผลงานของมนุษยน้นั เองท่ีเรยี กวา ศิลปะไทย ปจจุบนั คาํ วา \"ศิลปะไทย\" กําลังจะถูกลืมเมื่ออิทธิพลทางเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาแทนที่ สังคมเกาของไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งโลกแหงการสื่อสารไดกาวไปล้ํายุคมาก จนเกิดความแตกตาง อยางเห็นไดชัดเมื่อเปรียบเทียบกับสมัยอดีต โลกใหมยุคปจจุบันทําใหคนไทยมีความคิดหางไกล ตัวเองมากขึ้น และอทิ ธพิ ลดังกลาวน้ที ําใหค นไทยลมื ตัวเราเองมากขนึ้ จนกลายเปนสิง่ สบั สนอยูก ับ สังคมใหมอยางไมรตู วั มีความวุนวายดวยอํานาจแหงวฒั นธรรมสื่อสารที่รีบเรง รวดเรว็ จนลืมความ เปนเอกลักษณของชาติ เมื่อเราหันกลับมามองตวั เราเองใหม ทาํ ใหดหู างไกลเกนิ กวาจะกลบั มาเรียนรูวา พนื้ ฐาน ของชาติบานเมืองเดิมเรานั้น มีความเปนมาหรือมีวัฒนธรรมอยางไร ความรูสึกเชนนี้ ทําใหเราลืม มองอดีตตัวเอง การมวี ิถีชวี ิตกับสังคมปจจบุ นั จําเปนตองดิน้ รนตอสูกบั ปญ หาตา ง ๆ ที่วง่ิ ไป ขางหนาอยางรวดเร็ว ถาเรามีปจจุบันโดยไมมีอดีต เราก็จะมีอนาคตที่คลอนแคลนไมมั่นคง การ ดาํ เนนิ การนาํ เสนอแนวคดิ ในการจดั การเรยี นการสอนศลิ ปะในครง้ั น้ี จงึ เปน เสมือนการคน หาอดีต

17 โดยเราชาวศิลปะตองการใหอนุชนไดมองเห็นถึง ความสําคัญของบรรพบุรุษ ผูสรางสรรคศิลปะ ไทย ใหเราทําหนาที่สืบสานตอไปในอนาคตความเปนมาของศิลปะไทย ไทยเปนชาตทิ ่ีมีศลิ ปะและวัฒนธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณขี องตนเองมาชา นานแลว เร่ิมต้งั แตก อนประวัตศิ าสตร ศิลปะไทยจะวิวฒั นาการและสบื เนื่องเปนตวั ของตวั เองใน ทีส่ ดุ เทา ทที่ ราบราว พ.ศ. 300 จนถงึ พ.ศ. 1800 พระพทุ ธศาสนานําเขามาโดยชาวอินเดีย ครง้ั น้ัน แสดงใหเ ห็นอิทธิพลตอรูปแบบของศลิ ปะไทยในทกุ ๆ ดานรวมทง้ั ภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม โดยกระจายเปนกลุมศลิ ปะสมยั ตา ง ๆ เรมิ่ ตัง้ แตส มัยทวาราวดี ศรวี ิชัย ลพบรุ ี เม่อื กลุมคนไทยตง้ั ตัว เปน ปกแผน แลว ศลิ ปะดังกลา วจะตกทอดกลายเปนศิลปะไทย ชา งไทยพยายามสรางสรรคใ หม ี ลักษณะพิเศษกวา งานศิลปะของชาติอนื่ ๆ คือ จะมลี วดลายไทยเปนเครือ่ งตกแตง ซ่ึงทําใหล ักษณะ ของศิลปะไทยมีรปู แบบเฉพาะมีความออ นหวาน ละมนุ ละไม และไดสอดแทรกวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณแี ละความรสู กึ ของคนไทยไวในงานอยา งลงตัว ดงั จะเห็นไดจากภาพฝา ผนังตามวัดวาอารามตาง ๆ ปราสาทราชวงั ตลอดจนเครอ่ื งประดบั และเคร่อื งใชท ว่ั ไป ลักษณะของศลิ ปะไทย ศิลปะไทยไดรับอิทธิพลจากธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ มในสงั คมไทย ซงึ่ มลี ักษณะเดน คือ ความงามอยางนิ่มนวลมีความละเอียดประณตี ซงึ่ แสดงใหเ หน็ ถึงลกั ษณะนิสัยและจิตใจของคน ไทยที่ไดสอดแทรกไวในผลงานที่สรางสรรคขึ้น โดยเฉพาะศิลปกรรมที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ซึ่งเปนศาสนาประจําชาติของไทย อาจกลาวไดวาศิลปะไทยสรางขึ้นเพื่อสงเสริมพุทธศาสนา เปน การเชอ่ื มโยงและโนม นา วจิตใจของประชาชนใหเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนา ศิลปะไทยมาจากธรรมชาติ หางหงส ตดิ ตงั้ อยูป ลายจันทันมลี ักษณะคลายหางหงส รวงผงึ้ ใชป ระดับอยูใต ข่ือ ดานหนา ของโบสถ วหิ าร มีลกั ษณะเปน รปู คลายรงั ผึ้ง สาหรา ย สวนท่ีติดอยูกับเสาตอ จากรวงผึ้งลงมา บัวหัวเสา กลีบบัวประดับบนหัวเสา มีรูปแบบมาจากดอกบัว

18 จติ รกรรมไทย จติ รกรรมไทย เปนการสรางสรรคภ าพเขยี นท่มี ลี กั ษณะโดยทัว่ ไปมักจะเปน 2 มิติ ไมม ีแสง และเงา สีพืน้ จะเปน สเี รียบๆไมฉ ูดฉาดสที ่ีใชสวนใหญจะเปน สดี ํา สีนํา้ ตาล สเี ขยี ว เสนทีใ่ ชมักจะ เปน เสนโคงชว ยใหภาพดูออ นชอย นมุ นวล ไมแ ข็งกระดา ง จิตรกรรมไทยมกั พบในวดั ตางๆเรยี กวา “จติ รกรรมฝาผนัง” ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดสวุ รรณาราม จติ รกรรมไทย จัดเปนภาพเลาเรื่องทีเ่ ขยี นขึ้นดว ยความคิดจินตนาการของคนไทย มี ลักษณะตามอุดมคติของชางไทย คือ 1. เขียนสีแบน ไมค ํานึงถึงแสงและเงา นยิ มตัดเสนใหเห็นชัดเจน และเสน ท่ีใช จะแสดง ความรูสกึ เคล่ือนไหวนมุ นวล

19 2. เขยี นตวั พระ-นาง เปนแบบละคร มีลีลา ทา ทางเหมือนกัน ผดิ แผกแตกตา ง กนั ดว ยสี รางกายและเคร่ืองประดบั

20 3. เขียนแบบตานกมอง หรือเปนภาพต่ํากวาสายตา โดยมุมมองจากที่สูงลงสู ลาง จะเห็น เปน รูป เร่ืองราวไดต ลอด ภาพ 4. เขยี นตดิ ตอ กันเปน ตอน ๆ สามารถดจู ากซายไปขวาหรือลา งและบนไดท ่ัวภาพ โดยข้ัน แตล ะตอนของภาพดวยโขดหนิ ตน ไม กาํ แพงเมือง เปนตน

21 5. เขียนประดับตกแตงดวยลวดลายไทย มีสีทองสรางภาพใหเดนเกิดบรรยากาศ สุขสวาง และมีคุณคามาก ข้นึ การเขยี นลายไทยพน้ื ฐาน ขนั้ ท่ี 1 ตอ งฝก เขียนลายเสนกอ น เชน การเขยี นเสนตรงโดยไมตองใชไมบรรทัดชวย การ เขียนเสนโคงใหไดเปนวงกลมโดยไมตองใชวงเวียน เปนตน ขั้นท่ี 2 หลงั จากที่ฝกเขยี นเสนจนคลอ งและชํานาญแลว จึงเร่มิ หัดเขยี นลายไทย เชน กนก สามตวั หรือจะเขียนภาพตวั ละครในวรรณคดี เชน ตัวพระ ตวั นาง ตัวยกั ษ เปนตน ภาพหดั เขยี นลายไทย เมือ่ ไดฝก ฝนทกั ษะการเขยี นกนกสามตวั ที่เปนตนแบบของกนกชนดิ อน่ื ๆ คอื กนกเปลว กนกใบ เทศ และกนกหางโต จนคลองมือดีแลวก็คงจะเขาใจในโครงสรางของตัวกนก สว นสําคัญใน การเขียนอยูที่การแบงตัวลายและเขียนยอดลาย ถา แบง ตวั ลายและเขยี นยอดลายไดจ งั หวะสดั สว น ดี สะบดั ยอดพรว้ิ ดี ลายกนกนน้ั กด็ งู าม

22 ประตมิ ากรรมไทย ประติมากรรมเปนผลงานศิลปกรรมที่เปนรูปทรง 3 มิติ ประกอบจากความสูง ความกวาง และความนูน หรือความลึก รูปทรงนี้มีปริมาตรที่จับตองไดและกินระวางเนือ้ ที่ในอากาศ ตางจาก รูปทรง ปริมาตรทางจิตรกรรมทีแ่ สดงบนพืน้ เรียบเปนปริมาตรทีล่ วงตา ประติมากรรมเกิดขึน้ จาก กรรมวิธีการสรางสรรคแบบตางๆ เชน การปน และหลอ การแกะสลัก การฉลุหรือ ดุน ประติมากรรมทัว่ ไปมี 3 แบบคือ ประติมากรรม แบบลอยตัว สามารถดูได โดยรอบ ประติมากรรมนูน มีพื้นรองรับสามารถดูไดเฉพาะดานหนาและดานเฉียงเทานั้น และ ประติมากรรมแบบเจาะลึกลงไปในพื้น ประติมากรรมไทยเปนผลงานการสรางสรรคของบรรพบุรุษโดยประติมากรของไทยที่ สรางสรรคขึน้ เพือ่ รับใชสังคม ตอบสนองความเชือ่ สรางความภูมิใจ ความพึงพอใจ และคานิยม แหง ชาตภิ ูมขิ องไทยประติมากรรมไทยสวนใหญเนน เนอ้ื หาทางศาสนา มักปรากฏอยูต ามวัดและวัง มีขนาดตัง้ แตเล็กที่สุด เชน พระเครื่อง เครื่องรางของขลัง จนถึงขนาดใหญที่สุด เชน พระอัจนะ หรอื พระอฏั ฐารส ซึ่งเปนพระพุทธรูปขนาดใหญกลางแปลง มีทัง้ ประติมากรรมตกแตง ซึง่ ตกแตง ศิลปวัตถุ ศิลปสถาน เพือ่ เสริมคุณคาแกศิลปวัตถุหรือสถานทีน่ ัน้ จนถึงประติมากรรมบริสุทธิ์ซึ่ง เปนประติมากรรมที่มีคุณคาและคุณสมบัติเฉพาะ สมบูรณดวยตัวของประติมากรรมเอง เมื่อ พิจารณาภาพรวมของประติมากรรมไทยอาจแบงประติมากรรมออกเปน 3 ประเภทคือ ประติมากรรมรูปเคารพ ประติมากรรมตกแตง และประติมากรรมเพื่อประโยชนใชสอย ซึง่ จะขอ กลาวตามลําดับ

23 ยคุ สมยั ของประตมิ ากรรมไทย ทั้งประติมากรรมรูปเคารพ ประติมากรรมตกแตง และประติมากรรมเพื่อประโยชนใชสอย ผูกพันกับความเปลีย่ นแปลงของสังคมไทยตลอดมา นอกจากจะแสดงคุณคาทางทัศนศิลป แลวยัง สะทอนวัฒนธรรมอันดีงามของชาตใิ นแตละยุคแตละสมัยออกมาดวย ยุคสมัยของไทยนั้น อาจแบง ชวงศิลปะในเชิงประวัติศาสตรตามหลักฐานทางโบราณวัตถุสถานไดเปน 2 ชวงคือ 1. ชวงศิลปะกอนไทย หมายถึงชวงกอนที่คนไทยจะรวมตัวกันเปนปกแผน ยังไมมีราชธานี ของตนเองทแ่ี นน อน แบง ออกเปน 3 สมยั คือ - สมยั ทวารวดี - สมยั ศรวี ชิ ัย - สมัยลพบุรี 2. ชวงศิลปะไทย หมายถึงชวงทีค่ นไทยรวมตัวกันเปนปกแผนมีราชธานีทีแ่ นนอนแลว แบง ออก เปน 5 สมัยคือ สมยั เชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอูทอง สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร งานประติมากรรมสมัยตาง ๆ ของไทยเหลานีผ้ านการหลอหลอมและผสมผสานของวัฒนธรรม โดยดัง้ เดิมมีรากเหงามาจากวัฒนธรรมอินเดีย ตอมาผสมผสานกับวัฒนธรรมจีนและชาติทาง ตะวันตก แตเปนการผสมผสานดวยความชาญฉลาดของชางไทย ประติมากรรมของไทยจึงยังคง รักษารูปแบบทีเ่ ปนเอกลักษณของไทยไวไดอยาง เดนชัด สามารถถายทอดลักษณะความงดงาม ความประณีตวิจิตรบรรจง และลักษณะของความเปนชาติไทยที่รุงเรืองมาแตโบราณใหโลก ประจักษได พอจะกลาวถึงประติมากรรมในชวงศิลปะไทยได ดังนี้ - ประติมากรรมไทยสมัยเชียงแสน - ประติมากรรมไทยสมัยสุโขทัย - ประติมากรรมไทยสมัยอูทองและสมัยอยุธยา - ประติมากรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร ผลงานประติมากรรมไทย คุณคาของงานสวนใหญผูกพันและเกีย่ วของกับศาสนา สรางสรรคขึ้นจากความเชื่อ คตินิยม ความศรัทธา มีความสัมพันธกันอยางแยกไมออก ยอมมีคุณคา มีความงดงาม ตลอดจนเปนประโยชนใชสอยเฉพาะของตนเอง ซึง่ ในปจจุบันไดจัดใหมีการเรียนรู เกี่ยวกับการอนุรักษนิยมและฟนฟูศิลปะประเภทนี้ เพื่อมุง เนนใหคนรุน หลังมีความเขาใจ เกิดความ ชื่นชมหวงแหนเห็นคุณคาในความเปนศิลปวัฒนธรรมไทยรวมกัน พรอมทั้งสืบทอดตลอด

24 ภาพพระพทุ ธรปู ทรงเคร่ืองศลิ ปะอยธุ ยา ประติมากรรมไทยเปนผลงานศิลปะที่ถูกสรางสรรคขึ้นมาดวยความคิด ฝมือ ความศรัทธา จากภูมิปญญาที่เกิดจากการแกปญหาของคนในทองถิ่น โดยใชเครื่องมือและวสั ดจุ ากพื้นบา นทห่ี า ไดงา ยๆ เชน ดนิ เหนียว แกลบ ปูน กระดาษสา ผลงานประติมากรรมไทย แบงออกไดเปน 4 ประเภท สรุปได ดังน้ี 1.ประติมากรรมไทยที่เกิดขึ้นจากความเชื่อ ความศรัทธา คตินิยมเกี่ยวของกับศาสนา เชน พระพุทธรูปปางตางๆ ลวดลายของฐานเจดียหรือพระปรางคตางๆ 2.ประติมากรรมไทยพวกเครื่องใชในชีวิตประจําวัน เชน โอง หมอ ไห ครก กระถาง

25 3.ประตมิ ากรรมไทยพวกของเลน ไดแ ก ตกุ ตาดนิ ปน ตกุ ตาจากกระดาษ ตุกตาจากผา หนุ กระบอก ปลาตะเพียนสานใบลาน หนากาก วัสดจุ ากเปลอื กหอย ชฏาหวั โขน ปลาตะเพยี นสานใบลาน

26 หุนกระบอก 4.ประติมากรรมไทยพวกเครื่องประดับตกแตง เชน กระถางตนไม โคมไฟดินเผา สถาปต ยกรรมไทย สถาปต ยกรรมไทย หมายถงึ ศิลปะการกอสรางของไทย อันไดแก อาคาร บานเรือน โบสถ วิหาร วัง สถูป และสงิ่ กอสรางอน่ื ๆ ท่ีมีมูลเหตทุ ่ีมาของการกอสรา ง

27 อาคารบา นเรอื นในแตล ะ ทองถิน่ จะมีลักษณะผิดแผกแตกตางกันไปบางตามสภาพทาง ภูมิศาสตร และคตนิ ิยมของแตละทองถิน่ แตสิ่งกอสรางทางศาสนาพุทธ มกั จะมลี ักษณะทไ่ี มแตกตา งกนั มาก นกั เพราะมีความเชื่อ ความศรัทธาและแบบแผนพิธีกรรมที่เหมือน ๆ กัน สถาปตยกรรมที่ มกั นยิ ม นํามาเปนขอศึกษา สว นใหญจะเปน สถูป เจดยี  โบสถ วิหาร หรือพระราชวงั เนือ่ งจากเปน สิ่งกอสรางที่คงทน มีการพัฒนารูปแบบมาอยางตอเนื่องยาวนาน และไดรับการสรรคสรางจาก ชา งฝมอื ท่ี เชี่ยวชาญ พรอมทั้งมีความเปนมาที่สําคัญควรแกการศึกษา อกี ประการหนึ่งกค็ ือ ส่งิ กอ สรางเหลาน้ี ลวนมคี วามทนทาน มีอายุยาวนานปรากฏเปนอนสุ รณใ หเ ราไดศ กึ ษาเปนอยาง ดี สถาปต ยกรรมไทย สามารถจดั หมวดหมู ตามลกั ษณะการใชง านได 2 ประเภท คือ 1. สถาปตยกรรมท่ใี ชเปน ทอี่ ยูอาศัย ไดแก บา นเรือน ตาํ หนกั วังและพระราชวัง เปนตน บา นหรือ เรือนเปนที่อยูอาศัยของสามัญชน ธรรมดาทั่วไป ซึ่งมที ้งั เรอื นไม และเรือนปนู เรือนไมม อี ยู 2 ชนดิ คือ เรอื นเคร่ืองผูก เปนเรือนไมไ ผ ปดู วยฟากไมไผ หลังคามุงดวย ใบจาก หญาคา หรือใบไม อกี อยา งหนง่ึ เรยี กวา เรอื นเครือ่ งสบั เปน ไมจ ริงทง้ั เน้อื ออน และเน้อื แข็ง ตามแตละทองถิ่น หลังคามุง ดว ยกระเบ้ือง ดนิ เผา พ้นื และฝาเปนไมจรงิ ทัง้ หมด ลักษณะเรือน ไมของไทยในแตละ ทองถ่นิ แตกตางกัน และโดยทว่ั ไปแลว จะมี ลกั ษณะสาํ คญั รว มกันคอื เปนเรอื นไมชน้ั เดียว ใตถุน สงู หลังคาทรงจั่วเอียงลาดชัน

28 ตําหนัก และวัง เปนเรือนที่อยูของชนชัน้ สูง พระราชวงศ หรือที่ประทับชั้นรอง ของ พระมหากษัตริย สําหรับพระราชวัง เปนทีป่ ระทับของพระมหากษัตริย พระท่ีน่ัง เปนอาคารที่มีทอง พระโรงซง่ึ มที ป่ี ระทบั สาํ หรบั ออกวา ราชการ หรอื กจิ การอื่น ๆ ภาพสถาปตยกรรมวัดเบญจมบพิตร 2. สถาปต ยกรรมท่ีเก่ียวของศาสนา ซึง่ สวนใหญอยูในบริเวณสงฆ ที่เรยี กวา วัด ซ่งึ ประกอบไปดวยสถาปตยกรรมหลายอยาง ไดแ ก โบสถ เปนที่กระทําสังฆกรรมของ พระภิกษุ วหิ ารใชป ระดษิ ฐาน พระพทุ ธรูปสาํ คญั และกระทาํ สังฆกรรมดว ยเหมือนกนั กฎุ ิ เปน ที่ อยูของพระภกิ ษุ สามเณร หอ ไตร เปน ที่เก็บรักษาพระไตรปฎกและคัมภีรสําคัญทางศาสนา หอระฆงั และหอกลอง เปน ท่ใี ช เกบ็ ระฆังหรือกลองเพื่อตีบอกโมงยาม หรือเรียกชุมนุมชาวบาน สถูปเปน ท่ีฝงศพ เจดีย เปนท่ี ระลกึ อันเกีย่ วเนอ่ื งกบั ศาสนา ซึ่งแบง ได 4 ประเภท คือ 1. ธาตเุ จดีย หมายถึง พระบรมธาตุ และเจดยี ทบ่ี รรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุของพระพุทธเจา 2. ธรรมเจดีย หมายถงึ พระธรรม พระวนิ ยั คําสั่งสอนทุกอยางของพระพุทธเจา

29 3. บริโภคเจดยี  หมายถึง สิง่ ของเครอ่ื งใชข องพระพุทธเจา หรือ ของพระภิกษุสงฆไ ดแก เคร่ือง อัฐบริขารทั้งหลาย 4. อเุ ทสกิ เจดีย หมายถึง ส่งิ ทีส่ รางขนึ้ เพอื่ เปน ท่ีระลึกถึงองค พระพุทธเจา เชน สถูปเจดีย ณ สถานทที่ รงประสูติ ตรสั รู แสดงปฐมเทศนา ปรินิพพาน และรวมถงึ สัญลกั ษณอ ยา งอื่น เชน พระพุทธรปู ธรรมจกั ร ตนโพธ์ิ เปน ตน สถาปตยกรรมไทยแท ณท่นี ้ีจะเรียนรูเฉพาะเร่ืองราวท่ีเก่ียวกบั วัด โดยเนนไปที่เรื่องของ โบสถและสถปู เจดยี  ทมี่ ลี กั ษณะโดดเดน ทง้ั โครงสรา งและการตกแตงอนั เปนเอกลักษณของไทย โดยเฉพาะ

30 โบสถ หมายถึงสถานที่สําหรับพระสงฆใชประชุมทําสังฆกรรม เชนสวดพระปาฏิโมกข และอุปสมบทเปนตน ความงามทางศิลปะของโบสถมี 2 ประเภท 1.ความสวยงามภายในโบสถ ทุกสิ่งทุกอยางจะเนนไปที่สงบนิ่ง เพื่อใหผูเขามากราบ ไหวมีสมาธิ ความงามภายในจึงตองงามอยางเย็นตาและเย็นใจ ภายในโบสถทั่ว ๆ ไปจะไมอนุญาต ใหพุทธศาสนิกชนนําสิ่งของเขามาบูชา เคารพภายใน เครื่องสักการบูชา เชนดอกไมธูปเทียนจะบูชา เฉพาะดานนอกเทานั้นความงามที่แทจริงภายในโบสถจึงเนนที่องคพระพุทธรูปที่ประดิษฐานเปน พระประธานโดยเฉพาะ

31 2.ความสวยงามภายนอกเปนความงามทั้งโครงสรางและลวดลายประดับตกแตง ความงามภายนอกเนน สะดดุ ตา โดดเดน สสี นั แวววาวทง้ั สที องและกระจกสี แตย งั คงความ เปนเอกลกั ษณของการเคารพนบั ถือ

32 ในการสังเกตวาสถานที่ใดเรียกวาโบสถ จะมวี ธิ สี งั เกตคอื โบสถจ ะมีใบเสมา หรอื ซมุ เสมาลอมรอบ โบสถ ( บางทีเรียกใบเสมา ) ใบเสมา ซุมเสมาบรเิ วณรอบโบสถ

33 วหิ าร การสังเกตสถานท่ใี ดเรียกวาวิหาร เมื่อเขาไปอยูในบรเิ วณวดั สถานท่สี รางเปน วหิ าร จะไมมาใบเสมาลอมรอบ ในสมัยพุทธกาล วิหาร หมายถงึ ท่ีอยอู าศยั ( มีเศรษฐีถวายที่ดิน เพื่อสรางอาคารเปนพุทธบูชาแด พระพทุ ธเจาสําหรับเปนทีอ่ ยูและสอนธรรมะ ในปจจุบันวิหารจึงใชเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูป เพื่อใหประชาชนกราบไหว เปรียบเสมือนเปนที่อยูของพระพุทธเจา ) การวางแปลนของโบสถ วิหาร การกําหนดความสําคัญของอาคารทั้งสอง โบสถ จะมีความสําคัญ กวา วหิ าร โบสถจะมีโครงสรางใหญกวา สวนใหญจะวางแปลนใหอยูตรงกลาง โดยมวี ิหารสรา งประกบอยู ดานขาง โครงสรางของโบสถ – วหิ าร - ชอ ฟา - หนา บนั - ใบระกาและ หางหงส

34 สถูป-เจดีย คือสงิ่ กอ สรา งสําหรบั บรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุของพระพุทธเจา เมอ่ื สมยั พุทธกาลที่ ผานมา คําวาสถูปเปน ภาษาบาลีหมายถงึ มลู ดนิ ทีก่ องสงู ขน้ึ สันนิษฐานวามูลดินนั้นเกิดจากกองเถา ถานของ กระดูกคนตายที่ถูกเผาทับถมกันสูงขึ้นมาจากกองดิน เถาถานธรรมดาไดถุกพัฒนาตามยุคสมัยมีการ กอ อฐิ ปด ทบั มูลดิน เพื่อปองกนั ไมใหถ ูกฝนชะลาง ในที่สุดการกอ อฐิ ปดทับกส็ งุ ข้นึ และกลายเปน เจดยี  อยา งทีเ่ รา เหน็ ในปจ จุบนั สถปู สถูป-เจดยี  ในประเทศไทยไดรับอิทธิพลมาจากอินเดียและลังกา ตอมาชางไทยแตละยุคสมัยพัฒนา ปรับปรุงและกลายเปนรูปทรงของไทยตามอุดมคติในการสรางสรรคจินตนาการของชางไทย

35 เจดยี ยอมุม เจดยี  เจดียท รงระฆงั ลกู แกว ปลี หรอื ปลยี อด ปอ งไฉน เสาหาน องคร ะฆงั บัวปากระฆัง บรรลงั ก มาลยั เถา

36 เจดียท ม่ี รี ูปรา งมาจากทรงลงั กา สมยั อยุธยา ท้งั หมดนี้คือลักษณะของสถาปตยกรรมเกี่ยวกับสิ่งกอสรางของไทยโดยสังเขป ยังมี สถาปต ยกรรม ส่ิงกอ สรา งอีกมากมายท่ผี ูเรยี นจะตองเรียนรู คนควา ดวยตนเอง เพื่อนํามาเผยแพรใ หก ับสังคมไดรับ รูของ ดี ๆ ทเ่ี ปน เอกลกั ษณของไทยในอดตี

37 ภาพพมิ พ การพมิ พภาพ หมายถึง การถายทอดรูปแบบจากแมพิมพออกมาเปนผลงานที่มีลักษณะ เหมอื นกนั กบั แมพ ิมพท กุ ประการ และไดภ าพที่เหมือนกันมีจาํ นวนต้งั แต 2 ช้นิ ขึน้ ไป การพิมพภาพเปนงานที่พัฒนาตอเนื่องมาจากการวาดภาพ ซึ่งการวาดภาพไมสามารถ สรา ง ผลงาน 2 ช้นิ ท่ีมลี กั ษณะเหมือนกันทกุ ประการได จึงมกี ารพฒั นาการพมิ พขึ้นมา ชาตจิ นี เปน ชาติแรกที่นําเอาวิธีการพิมพมาใชอยางแพรหลายมานานนับพันป จากนน้ั จงึ ไดแ พรหลายออกไป ในภมู ิภาคตางๆของโลก ชนชาติทางตะวันตกไดพัฒนาการพิมพภาพ ขึ้นมาอยางมากมาย มีการ นําเอาเครื่องจักรกลตางๆเขามาใชในการพิมพ ทําใหการพิมพมีการ พฒั นาไปอยา งรวดเร็วใน ปจ จุบัน การพิมพภ าพมีองคป ระกอบท่สี ําคัญดงั นี้ 1. แมพ มิ พ เปนสง่ิ ท่ีสาํ คญั ทส่ี ุดในการพมิ พ 2. วัสดุทใ่ี ชพิมพล งไป 3. สที ใี่ ชใ นการพิมพ 4. ผูพิมพ ผลงานที่ไดจ ากการพมิ พ มี 2 ชนดิ คือ 1. ภาพพิมพ เปน ผลงานพมิ พท่ีเปน ภาพตางๆ เพื่อความสวยงามหรือบอกเลาเรื่องราวตาง ๆอาจมี ขอความ ตวั อักษรหรอื ตัวเลขประกอบหรอื ไมมกี ไ็ ด 2. สิง่ พมิ พ เปนผลงานพมิ พท่ใี ชบอกเลา เรื่องราวตางๆ เปน ตัวอกั ษร ขอความ ตวั เลข อาจ มี ภาพประกอบหรือไมม กี ไ็ ด

38 ประเภทของการพมิ พ การพิมพแบงออกไดหลายประเภทตามลักษณะตาง ดงั น้ี 1. แบงตามจุดมุงหมายในการ พิมพ ได 2 ประเภท คือ 1.1 ศิลปภาพพิมพ เปนงานพิมพภาพเพื่อใหเกิดความสวยงามเปน งานวิจิตรศิลป 1.2 ออกแบบภาพพิมพ เปนงานพิมพภาพประโยชนใชสอย นอก เหนือไปจากความสวยงาม ไดแก หนงั สอื ตางๆ บตั รภาพตางๆ ภาพโฆษณา ปฏทิ นิ ฯลฯ จัดเปน งาน ประยุกตศิลป 2. แบงตามกรรมวิธีในการพิมพ ได 2 ประเภท คอื 2.1 ภาพพมิ พตนแบบ เปนผลงานพิมพที่สรางจากแมพ มิ พและวธิ กี ารพิมพท ถ่ี กู สรา งสรรค และกําหนดขึ้นโดยศิลปนเจาของผลงาน และเจาของผลงาน จะตองลงนามรับรองผลงานทุก ช้ิน บอกลําดบั ทีใ่ นการพิมพ เทคนิคการพิมพ 2.2 ภาพพิมพจําลองแบบ ( REPRODUCTIVE PRINT ) เปนผลงานพิมพที่สรางจาก แมพ มิ พ หรือวิธี การพมิ พวธิ อี น่ื ซ่ึงไมใชวธิ ีการเดิมแตไ ดรูปแบบเหมือนเดิม บางกรณีอาจเปนการ ละเมดิ ลขิ สิทธผิ์ อู ่ืน 3. แบงตามจํานวนครั้งที่พิมพ ได 2 ประเภท คือ 3.1 ภาพพมิ พถาวร เปนภาพพมิ พทีพ่ ิมพอ อกมาจากแมพิมพใดๆ ที่ไดผลงานออกมามี ลกั ษณะเหมือนกันทุกประการ ตง้ั แต 2 ชนิ้ ขึ้นไป 3.2 ภาพพมิ พครงั้ เดยี ว เปนภาพพมิ พทีพ่ มิ พออกมาไดผ ลงานเพียงภาพเดยี ว ถาพิมพอีกจะได ผลงานท่ีไมเ หมอื นเดิม 4. แบงตามประเภทของแมพิมพ ได 4 ประเภท คอื 4.1 แมพ ิมพน นู เปนการพมิ พโ ดยใหส ตี ิดอยูบนผิวหนา ทีท่ ําใหนูนขึ้นมาของแมพิมพ ภาพท่ี ไดเกิดจากสีทตี่ ดิ อยูในสว นบนนนั้ แมพิมพนนู เปนแมพมิ พท ่ีทําขึ้นมาเปนประเภทแรก ภาพ พิมพช นดิ นไี้ ดแ ก ภาพพิมพแกะไม ในอดีตผูคนมักจะหาวิชาความรูไดจากในวัดเพราะวัดจะเปนศูนยกลางของ นักปราชญหรือผูรู ใชเปนสถานที่ในการเผยแพรวิชาความรูตางๆ จิตรกรรมฝาผนังที่เขียนตามศาลา โบสถ วิหารก็เปนอกี ส่งิ หน่งึ ที่เราจะหาความรูในเร่ืองตางๆ ไดโ ดยเฉพาะที่เกยี่ วกับพุทธประวัติ ชาดก วรรณคดแี ละนทิ านพ้ืนบา น ซง่ึ นอกจากจะไดค วามรูในเรอ่ื งศาสนา ประวัตศิ าสตร วรรณคดี แลว เรายังไดอรรถรสแหงความสนุกสนานเพลิดเพลินกับความสวยงามของภาพวาดเหลานี้อีกดวย 4.2 แมพมิ พรอ งลึก เปนการพิมพโ ดยใหส อี ยใู นรอ งท่ีทาํ ใหล ึกลงไปของแมพ มิ พโ ดยใชแ ผน โลหะทําเปน แมพมิ พ ( แผนโลหะท่ีนยิ มใชคอื แผน ทองแดง ) และทําใหล กึ ลงไปโดยใชน้าํ กรดกดั แมพิมพรอ งลกึ น้ีพัฒนาขึ้นโดย ชาวตะวนั ตก สามารถพิมพงานที่มีความ ละเอยี ด คมชัด

39 สงู สมัยกอ นใชในการพมิ พ หนังสอื พระคมั ภีร แผนท่ี เอกสารตางๆ แสตมป ธนบตั ร ปจ จุบัน ใชในการพิมพงานที่เปนศิลปะ และธนบตั ร 4.3 แมพ ิมพพื้นราบ เปนการพมิ พโดยใหสีตดิ อยูบนผิวหนา ที่ราบเรียบของแมพิมพ โดยไมตอ ง ขุดหรือแกะพน้ื ผวิ ลงไป แตใ ชส ารเคมเี ขาชว ย ภาพพิมพ ชนดิ นไ้ี ดแ ก ภาพพมิ พหิน การพิมพ ออฟเซท ภาพพิมพกระดาษ ภาพพมิ พค รัง้ เดียว 4.4 แมพ ิมพฉลุ เปน การพมิ พโ ดยใหส ีผา นทะลชุ อ งของแมพิมพลงไปสูผลงานทีอ่ ยู ดา นหลงั เปน การพิมพชนิดเดยี วทไ่ี ดร ูปทม่ี ดี านเดยี วกันกบั แมพ ิมพ ไมกลบั ซาย เปนขวา ภาพ พมิ พช นดิ นีไ้ ดแก ภาพพมิ พฉ ลุ ภาพพิมพตะแกรงไหม ในอดีตผูคนมักจะหาวิชาความรูไดจากในวัดเพราะวัดจะเปนศูนยกลางของนักปราชญหรือ ผรู ู ใชเปนสถานท่ีในการเผยแพรวิชาความรตู างๆ จิตรกรรมฝาผนงั ท่ีเขียนตามศาลา โบสถ วหิ ารก็ เปนอกี ส่ิงหนึง่ ท่ีเราจะหาความรูในเร่ืองตา งๆ ไดโดยเฉพาะทีเ่ ก่ยี วกบั พุทธประวัติ ชาดก วรรณคดี และนทิ านพน้ื บา น ซ่งึ นอกจากจะไดค วามรูในเร่ืองศาสนา ประวตั ศิ าสตร วรรณคดีแลว เรายงั ได อรรถรสแหง ความสนกุ สนานเพลิดเพลินกับความสวยงามของภาพพิมพต า ง ๆ เหลา น้ีอกี ดว ย ภาพพมิ พข องไทย เม่ือหลายรอ ยปท่ีผานมา

40 เร่อื งที่ 3 ความงามและคณุ คา ของทัศนศลิ ปไ ทย “ชีวิตสลาย อาณาจักรพินาศ ผลประโยชนของบุคคลมลายหายสิ้นไป แตศิลปะเทานั้นที่ ยังคงเหลือ เปนพยานแหงความเปนอัจฉริยะของมนุษยอยูตลอดกาล” ขอความขางตนนี้เปนความเห็นอันเฉียบคมของทาน ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ผูกอตั้ง มหาวิทยาลัยศิลปากร แสดงใหเห็นวางานศิลปะเปนสมบัติอันล้ําคาของมนุษยที่แสดงความเปน อัจฉริยะบง บอกถงึ ความเจริญทางดา นจิตใจ และสตปิ ญญาอันสงู กวา ซ่งึ มคี ณุ คา ตอชีวติ และสังคม ดงั น้ี คุณคาในการยกระดบั จติ ใจ คุณคาของศิลปะอยูที่ประโยชน ชวยขจัดความโฉด ความฉอฉลยกระดับวิญญาณ ความเปนคนเหน็ แกต น บทกวีของเนาวรัตน พงษไ พบูลย กวซี ีไรตข องไทย ไดใหความสาํ คัญของ งานศิลปะในการยกระดับวิญญาณความเปนคนก็คือ การยกระดับจิตใจของคนเราใหสูงขึ้นดวยการ ไดชื่นชมความงาม และความประณีตละเอียดออนของงานศิลปะ ตัวอยางเชน เมื่อเราทําพรมอัน สวยงาม สะอาดมาปูเต็มหอง ก็คงไมมีใครกลานํารองเทาที่เปอนโคลนมาเหยียบย่ํา ทําลายความงาม ของพรมไปจนหมดสิ้น สิ่งที่มีคุณคามาชวยยกระดับจิตใจของคนเราใหมั่นคงในความดีงามก็คือ ความงามของศิลปะนั่นเองดังนั้นเมื่อใดที่มนุษยไดชื่นชมความงามของศิลปะเมื่อนั้นมนุษยก็จะมี จติ ใจท่ีแชม ช่ืน และละเอยี ดออนตามไปดวย เวนแตบ คุ คลผูน ้นั จะมีสติวปิ ลาศ นอกจากนี้งานศิลปะบางชิ้นยังใหความงามและความรูสึกถึงความดีงาม และงาม จรยิ ธรรมอยางลึกซึง้ เปน การจรรโลงจิตใจใหผูดูเครง เครียดและเศราหมองของศิลปน ผูส รางสรรค และผูชืน่ ชมไดเปนอยา งดี ดงั นั้นจงึ มกี ารสง เสริมใหเด็กสรา งงานศิลปะ เพ่ือผอนคลายความ เครงเครยี ด และพัฒนาสุขภาพจิต ซึง่ เปนจุดเริ่มตนของพัฒนาการตาง ๆ อยา งสมบูรณ ความรูสึกทางความงามของมนุษยมีขอบเขตกวางขวางและแตกตางกันออกไปตาม ทัศนะของแตละบุคคล เราอาจรวมลักษณะเดนของความงามได ดังนี้ 1.ความงามเปนสิง่ ท่ปี รากฏขึ้นในจิตมนุษย แมเพยี งชั่วระยะเวลาหน่ึงแตจะกอ ใหเกดิ ความปติยินดี และฝงใจจําไปอีกนาน เชน การไดมีโอกาสไปเที่ยวชมสถานที่ตางๆที่มีธรรมชาติ และศิลปกรรมที่สวยสดงดงาม เราจะจําและระลึกถึงดว ยความปต สิ ขุ บางคร้ังเราอยากจะใหผูอื่น รบั รูดว ย 2.ความงามทําใหเราเกิดความเพลิดเพลิน หลงใหลไปกับรูปรางรูปทรง สีสัน จนลืม บางสิ่งบางอยางไป เชน ผลไมแกะสลักความงามของลวดลาย ความละเอียดออน อยากเก็บรักษา ไวจนลมื ไปวา ผลไมนนั้ มีไวสําหรับรับประทานมิใชมีไวดู

41 3.ส่ิงสิง่ หนงึ่ เปน ไดทง้ั สง่ิ ทส่ี วยงาม และไมง าม ไปจนถงึ นาเกลยี ด อปั ลักษณ แตถ า ไดรับการยกยองวาเปนสิ่งมีคา มีความงามจะตรงกันขามกับสิ่งอัปลักษณทันที 4.ความงามไมมีมาตราสวนใดมาชง่ั ตวง วัดใหแ นน อนได ทาํ ใหเราไมส ามารถกาํ หนด ไดว า สง่ิ นนั้ สงิ่ นมี้ คี วามงามเทาใด 5.ความงามของสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น เปนผลมาจากความคิด ทักษะฝมือ หรือภูมิปญญา ของมนุษย แตเมื่อสรางเปนวัตถุสิ่งของ ตางๆแลว กลับเปนความงามของสิ่งนั้นไป เชน ความงาม ของผา ความงามของรถยนต เปนตน การรับรูคาความงาม ความงามเปนเรื่องที่มีความสําคัญเพิ่มขึ้นตามลําดับ มนุษยรับรูคา ความงามใน 3 กลมุ คือ 1. กลุม ทเ่ี หน็ วามนุษยรบั รูคาความงามไดเ พราะสิ่งตางๆมคี วามงามอยูในตัวเอง เปน คุณสมบัติของวัตถุปรากฏออกมาเปนรูปรางรูปทรงสีสัน การอธิบายถึงความงามของงานทัศนศิลป จะไดผ ลนอ ยกวา การพาไปใหเ หน็ ของจรงิ แสดงใหเหน็ วาความงามมอี ยใู นตวั วัตถุ 2. กลุมที่เห็นวามนุษยรบั รคู า ความงามไดเ พราะจติ ของเราคิดและรสู ึกไปเอง โดยกลมุ นี้เห็นวาถาความงามมีอยูในวัตถุจริงแตละบุคคลยอมเห็นความงามนั้นเทากัน แตเนื่องจากความงาม ของวัตถุที่แตละบุคคลเห็นแตกตางกันออกไปจึงแสดงวาความงามขึ้นอยูกับอารมณและความรูสึก ของแตละบุคคล 3.กลุมท่เี หน็ วามนุษยรับรูคาความงามไดเพราะเปนสภาวะที่เหมาะสมระหวางวัตถุกับ จิต กลุมนีเ้ ห็นวาการรบั รคู าความงามน้ันมิใชอยางใดอยา งหน่ึง แตเปนสภาวะทส่ี มั พนั ธก นั ระหวา ง มนุษยกับวตั ถุ การรับรูทสี่ มบูรณตองประกอบดวยวตั ถุท่ีมีความงาม ความเดนชัดและผรู บั รูตองมี อารมณและความรูสึกทดี่ ี พรอมท่จี ะรับรสคณุ คาแหงความงามนน้ั ดวย จะเหน็ ไดวา ศลิ ปกรรมหรือทัศนศลิ ปเ ปนส่งิ ทมี่ นุษยสรา งขน้ึ จึงมีการขัดเกลาตกแตง ใหส วยงามเปนวัตถสุ ุนทรีย เปนส่ิงทม่ี คี วามงาม ผดู รู บั รูคาความงามไดในระดบั พน้ื ๆใกลเ คียงกัน เชน เปนภาพเขียน ภาพปนแกะสลัก หรือเปนสงิ่ กอ สรางท่ีสวยงาม แตการรับรใู นระดับที่ลกึ ลงไป ถึงขั้นชอบ ประทับใจ หรือชื่นชมนั้น เปนเรื่องของแตละบุคคล การรบั รูคุณคา ทางศลิ ปะมหี ลายกระบวนการ ดงั น้ี 1.สิ่งสุนทรยี  หมายถึง งานทัศนศิลปที่เกิดจากศิลปนที่ตั้งใจสรางงานอยางจริงจัง มีการ พัฒนางานตามลาํ ดับ ประณตี เรยี บรอย ทง้ั ในผลงาน กรอบ และการตดิ ต้ังทีท่ าํ ใหง านเดนชัด 2.อารมณรวม หมายถึง สิ่งสุนทรียนั้นมีความงามของเนื้อหาเรื่องราว รูปราง-รปู ทรง สีสนั ที่สามารถทําใหผูดูสนใจ เพลิดเพลินไปกับความงามของผลงานนั้น มีอารมณรวมหรือคลอย ตาม เชน เมอื่ เห็นงานทศั นศิลปแ ลว เกดิ ความรสู ึกประทบั ใจและหยุดดอู ยูระยะหนึ่ง เปนตน 3.กําหนดจิต เปนขนั้ ตอเน่ืองจากการมอี ารมณรวม กลาวคือในขณะทีเ่ กดิ อารมณรว ม

42 เพลิดเพลนิ ไปกับงานทศั นศิลป ผูดสู ว นใหญจะอยูใ นระดับทเี่ หน็ วาสวยกพ็ อใจแลว แตถ ามีการ กําหนดจิตใหหลุดออกจากอารมณรวมเหลานั้นวาเรากําลังดูงานทัศนศิลปที่สรางสรรคอยางตั้งใจ จริงใจ แตล ะจดุ ของผลงานแสดงถึงทกั ษะฝม อื ของศิลปน จติ ของเราจะกลบั มาและเรม่ิ ดใู นสว น รายละเอียดตางๆ ทําใหไดรสชาติของความงามที่แปลกออกไป กระบวนการทั้ง 3 ขนั้ ตอนขางตนยกตวั อยา งใหเขา ใจงายยิ่งขน้ึ ก็คอื พระอุโบสถวดั เบญจมบพิธ ออกแบบโดยเจาฟากรมพระยานริศรานุวัติวงศ อัจฉริยะศิลปนของไทย เปน สถาปตยกรรมที่สรางข้นึ เพื่ออุทิศใหแ กพระพุทธศาสนา การกอสรางจงึ เต็มไปดวยความประณีต บรรจง เปน สงิ่ สนุ ทรยี  เปนที่เชิดหนาชูตาของเมืองไทยแหงหนึ่งที่ชาวไทยและชาวตางประเทศมา เที่ยวชมอยูตลอดเวลาดวยความงามของสถาปตยกรรมและบรรยากาศที่รมรื่น ทําใหแขกผูมาเยือน เกดิ ความเพลดิ เพลนิ ประทับใจ และใชเวลาผอ นคลายอรยิ าบทอยูนานพอสมควร ผูมาเยือนบางคน ฉุกคิดไดว าขณะนีก้ าํ ลงั อยูต อหนาสถาปตยกรรมทีง่ ดงามและมีชือ่ เสยี ง ควรจะดูอยา งพินจิ พิเคราะห ดใู หละเอียดทีละสวน ซ่ึงออกแบบไดกลมกลืนทั้งรูปรา งและวัสดุซ่ึงทําดวยหนิ ออนที่ สวยงามแปลกไปกวาโบสถแหงอื่นกลุมคนที่กาํ หนดจิตในสวนใหญจะเปน ผทู ่ีมีรสนยิ มหรอื มี พื้นฐานทางศิลปะพอสมควร

43 เรอ่ื งที่ 4 การนาํ ความงามของธรรมชาตมิ าสรา งสรรคผ ลงาน ความคิดสรา งสรรค เปน ส่ิงที่เกิดจากความคิดสรา งสรรค เปนการดําเนนิ การในลักษณะ ตา ง ๆเพอ่ื ให เกิดสิ่งแปลกใหมที่ไมเคยปรากฏมากอน ส่งิ ทม่ี ีชีวติ เทาน้ันท่จี ะมีความคิดอยา ง สรางสรรคได ความคิด สรางสรรคเปนความคิดระดับสูง เปนความสามารถทางสติปญญาแบบ หนง่ึ ที่จะคิดไดหลายทิศทาง หลากหลายรูปแบบโดยไมมีขอบเขต นําไปสกู ระบวนการคิดเพื่อ สรางส่ิงแปลกใหม หรอื เพอ่ื การพัฒนา ของเดิมใหดีขึ้นทําใหเกดิ ผลงานทมี่ ลี ักษณะเฉพาะตน เปน ตวั ของตวั เอง อาจกลาวไดว า มนษุ ยเปนส่งิ มีชวี ติ เพยี งชนิดเดยี วในโลก ที่มีความคิด สรา งสรรค เน่อื งจากตั้งแตในอดีตที่ผานมา มีแตมนุษยเ ทานัน้ ท่ีสามารถสรา งส่ิงใหม ๆ ขึน้ มาเพอ่ื ใชประกอบในการดํารงชีวิต และสามารถพัฒนาสิง่ ตาง ๆใหด ขี ึน้ กวา เดมิ รวมถึงมีความสามารถในการพัฒนาตน พัฒนาสังคม พัฒนาประเทศ และรวมถงึ พฒั นาโลกท่ี เราอยู ใหมลี ักษณะท่ีเหมาะสมกับมนษุ ยมากทสี่ ุด ในขณะท่สี ตั วช นิดตาง ๆ ทม่ี ีวิวฒั นาการมา เชน เดยี วกบั เรา ยังคงมีชีวิตความเปนอยูแบบเดิมอยางไมมีการเปลี่ยนแปลง มากกวาครึ่งหนึ่งของการพบที่ยิ่งใหญ ของโลกไดถูกกระทําขึ้นมาโดยผาน \"การคนพบโดยบังเอิญ\"หรือการคนพบบางสิ่งขณะที่กําลัง คนหาบางสิ่งอยู การพัฒนาความคิดสรางสรรคของมนุษยจะทําให เกดิ การเปลย่ี นแปลง การ สรางสรรคอาจไมจําเปนตองยิ่งใหญถึงขนาดการพัฒนาบางสิ่งขึ้นมาใหกับโลก แตมอี าจเกยี่ วของ กับพัฒนาการบางอยางใหใหมขึ้นมา อาจเปนสิ่งเล็ก ๆ นอ ย ๆ เพื่อตัวของเราเอง เม่ือ เรา เปลี่ยนแปลงตัวเราเอง เราจะพบวาโลกก็จะเปลี่ยนแปลงไปพรอมกับเรา และในวถิ แี หง การ เปล่ียนแปลงท่เี ราไดม ปี ระสบการณกับโลก ความคิดสรางสรรคจึงมีความหมายที่คอนขางกวาง

44 และสามารถนําไปใชประโยชนกับการผลิต การสรางสรรคสงิ่ ประดษิ ฐใ หม ๆกระบวนการวิธกี ารที่ คิดคนขึ้นมาใหม คาดหวงั วา ความคิดสรางสรรคจะชวยใหการดําเนินชีวิตและสังคมของเราดีขึ้น เราจะมีความสุข มากขึ้น โดยผา นกระบวนการที่ไดป รับปรงุ ข้นึ มาใหมน ี้ทัง้ ในดานปริมาณและ คณุ ภาพ จุดมงหมายของการคิดสรา งสรรค งานศิลปะโดยเฉพาะงานศิลปะสมัยปจจุบัน ศิลปนจะสรางสรรคงานศิลปะในรูปแบบที่หลาก หลายมากขึ้นทําใหมีขอบขายกวางขวางมาก แตไ มวา จะเปน ไปในลักษณะใดก็ตาม งานศิลปะทุก ประเภท จะใหค ุณคา ท่ีตอบสนองตอมนุษย ในดานที่เปนผลงานการแสดงออกของอารมณ ความ รูสกึ และความคิด เปนการส่ือถงึ เรื่องราวทีส่ ําคัญ หรือเหตุการณท ี่ประทบั ใจ เปน การตอบสนอง ตอความพึงพอใจ ทั้งทางดานจิตใจและความสะดวกสบายดานประโยชนใชสอยของศิลปวัตถุ องคประกอบของการสรางสรรคงานศิลปะ การสรางสรรคจะประสบความสําเร็จเปนผลงาน ได นอกจากตองอาศัยความคิดสรางสรรค เปน ตวั กาํ หนดแนวทาง และรูปแบบแลว ยังตองอาศัยสามารถที่ยอดเยี่ยมของศิลปน ซงึ่ เปน ความ สามารถเฉพาะตน เปนความชํานาญท่ีเกดิ จากการฝก ฝนและ ความพยายามอันนาทึ่ง เพราะฝมอื อัน เยี่ยมยอด จะสามารถสรางสรรคผลงานที่มีความงาม อันเยีย่ มยอด ได นอกจากนี้ยงั ตองอาศัยวัสดุ อุปกรณตาง ๆ มาใชในการ สรางสรรคเชนกัน วสั ดุอปุ กรณในการสรางสรรค แบงออกเปน วตั ถุดบิ ทีใ่ ชเปน สื่อในการแสดงออก และเครื่องมือที่ใชสรางสรรคใหเกิดผลงาน ตามความชํานาญ ของศิลปนแตละคน แนวทางในการสรางสรรคงานศิลปะของศิลปนแตละคน อาจมีที่มาจากแนว ทางที่ตางกัน บางคนไดรับแรงบันดาลใจจากความงาม ความคิด ความรสู กึ ความประทับใจ แต

45 บางคนอาจสรางสรรคงานศิลปเพ่ือแสดงออกถึงฝม ืออันเยี่ยมยอดของตนเอง เพื่อประกาศความเปน เลิศอยางไมมีที่เปรียบปานโดยไมเนนที่เนื้อหาของงาน และบางคนอาจสรางสรรคงานศิลปจาก การใชว ัสดุท่ีสนใจ โดยไมเ นน รปู แบบและแนวคดิ ใด ๆ เลยก็ได เร่ืองที่ 5 ความคดิ สรา งสรรค ในการนําเอาวัสดุและสิง่ ของตาง ๆมาตกแตงรา งกายและสถานที่ ความคิดสรางสรรค คือ กระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดได หลากหลายและแปลกใหมจากเดิม โดยสามารถนําไปประยุกตทฤษฎี หรือหลักการไดอยาง รอบคอบและมีความถูกตอง จนนําไปสูการคิดคนและสรางสิ่งประดิษฐทีแ่ ปลกใหมห รือรปู แบบ ความคิดใหม นอกจากลักษณะการคิดสรางสรรคดังกลาวนี้แลว ยังมีสามารถมองความคิด สรางสรรคในหลาย ซึ่งอาจจะมองในแงที่เปนกระบวนการคิดมากกวาเนื้อหาการคิด โดยที่สามารถ ใชลักษณะการคิดสรางสรรคในมิติที่กวางขึ้น เชนการมีความคิดสรางสรรคในการทํางาน การเรียน หรือกิจกรรมที่ตองอาศัยความคิดสรางสรรคดวยอยางเชน การทดลองทางวิทยาศาสตร หรือการ เลนกีฬาทต่ี อ งสรา งสรรครปู แบบเกมใหหลากหลายไมซา้ํ แบบเดมิ เพื่อไมใ หคตู อสรู ทู ัน เปนตน ซึง่ อาจกลาวไดวาเปนลักษณะการคิดสรางสรรคในเชิงวิชาการ แตอยางไรก็ตาม ลักษณะการคิด สรางสรรคตางๆ ที่กลาวนั้นตางก็อยูบนพื้นฐานของความคิดสรางสรรค โดยที่บุคคลสามารถ เช่อื มโยงนําไปใชในชวี ติ ประจําวันไดด ี ในการสอนของอาจารยเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค ควรจัดการเรียนการสอนที่ใชวิธีการ ที่เหมาะสม ดงั น้ี 1. การสอน หมายถงึ การสอนเก่ียวกับการคิดเหน็ ในลกั ษณะความคดิ เห็นทขี่ ัดแยง ในตัว มันเอง ความคิดเห็นซึ่งคานกับสามัญสํานึก ความจริงที่สามารถเชื่อถือหรืออธิบายได ความเห็น

46 หรอื ความเช่ือที่ฝง ใจมานาน ซ่งึ การคิดในลักษณะดงั กลาว นอกจากจะเปนวิธีการฝกประเมนิ คา ระหวางขอมูลที่แทจริงแลว ยังชวยใหคิดในสิ่งที่แตกตางไปจากรูปแบบเดิมที่เคยมี เปนการฝกมอง ในรูปแบบเดิมใหแตกตางออกไป และเปนสงเสริมความคิดเห็นไมใหคลอยตามกัน (Non – Conformity) โดยปราศจากเหตุผล ดงั นน้ั ในการสอนอาจารยจ งึ ควรกาํ หนดใหนกั ศกึ ษารวบรวม ขอ คดิ เห็นหรือคําถาม แลวใหนกั ศึกษาแสดงทกั ษะดว ยการอภิปรายโตวาที หรอื แสดงความคดิ เห็น ในกลมุ ยอยก็ได 2. การพจิ ารณาลักษณะ หมายถงึ การสอนใหน กั ศึกษา คดิ พจิ ารณาลักษณะตาง ๆ ท่ีปรากฏ อยู ทัง้ ของมนุษย สัตว สิง่ ของ ในลักษณะทแ่ี ปลกแตกตา งไปกวา ท่เี คยคิด รวมทัง้ ในลกั ษณะที่คาด ไมถ งึ 3. การเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย หมายถึง การเปรียบเทียบสิ่งของหรือสถานการณการณที่ คลายคลึงกัน แตกตางกันหรือตรงกันขามกัน อาจเปนคําเปรียบเทียบ คําพังเพย สุภาษิต 4. การบอกสิ่งที่คลาดเคลื่อนไปจากความเปนจริง หมายถึง การแสดงความคิดเห็น บงชี้ถึง สง่ิ ทีค่ ลาดเคลื่อนจากความจรงิ ผดิ ปกตไิ ปจากธรรมดาท่วั ไป หรือสิง่ ที่ยงั ไมสมบรู ณ 5. การใชคําถามยั่วยุและกระตุนใหตอบ หมายถึงการตั้งคําถามแบบปลายเปดและใชคําถาม ทีย่ ่ัวยุ เรา ความรูส ึกใหชวนคิดคนควา เพื่อความหมายทลี่ ึกซึง้ สมบูรณทีส่ ดุ เทา ท่จี ะเปนได 6. การเปลี่ยนแปลง หมายถงึ การฝกใหคิดถึงการเปลี่ยนแปลงดัดแปลงการปรับปรุงสิ่ง ตาง ๆ ท่ีคงสภาพมาเปนเวลานานใหเปนไปในรปู อ่ืน และเปด โอกาสใหเปล่ียนแปลงดวยวธิ ีการตาง ๆ อยางอสิ ระ 7. การเปลี่ยนแปลงความเชื่อ หมายถึง การฝกใหนักศกึ ษาเปน คนมคี วามยืดหยุน ยอมรับ ความเปลี่ยนแปลง คลายความยึดมั่นตาง ๆ เพื่อปรับตนเขากับสภาพแวดลอมใหม ๆ ไดดี 8. การสรางส่ิงใหมจ ากโครงสรางเดิม หมายถึง การฝก ใหนกั ศกึ ษารจู กั สรา งสิง่ ใหม กฎเกณฑใหม ความคิดใหม โดยอาศัยโครงสรางเดิมหรือกฎเกณฑเดิมที่เคยมี แตพยายามคิดพลิก แพลงใหตางไปจากเดิม 9. ทักษะการคนควาหาขอมูล หมายถึง การฝก เพ่อื ใหนักศกึ ษารจู ักหาขอ มลู 10. การคนหาคําตอบคําถามที่กํากวมไมชัดเจน เปน การฝกใหน ักศกึ ษามคี วามอดทนและ พยายามท่ีจะคนควาหาคาํ ตอบตอ ปญหาทก่ี าํ กวม สามารถตคี วามไดเปนสองนยั ลกึ ลบั รวมทง้ั ทา ทาย ความคิด 11. การแสดงออกจากการหยั่งรู เปน การฝกใหรจู กั การแสดงความรูสึก และความคดิ ที่ เกดิ จากสงิ่ ทเ่ี รา อวัยวะรับสัมผัสท้งั หา 12. การพฒั นาตน หมายถงึ การฝก ใหรจู กั พจิ ารณาศึกษาดคู วาม ลมเหลว ซ่งึ อาจเกดิ ขึ้น โดยตั้งใจหรือไมต้งั ใจ แลว หาประโยชนจากความผดิ พลาดนน้ั หรอื ขอบกพรองของตนเองและผอู ่ืน ทั้งนี้ใชความผิดพลาดเปนบทเรียนนําไปสูความ-สําเรจ็

47 13. ลักษณะบุคคลและกระบวนการคิดสรางสรรค หมายถึง การศึกษาประวัติบุคคลสําคัญ ทั้งในแงลักษณะพฤติกรรมและกระบวนการคิดตลอดจนวิธีการ และประสบการณของบุคคลนั้น 14. การประเมินสถานการณ หมายถึง การฝกใหหาคําตอบโดยคํานึงถึงผลที่เกิดขึ้นและ ความหมายเก่ียวเน่ืองกัน ดว ยการตั้งคาํ ถามวาถา สงิ่ เกิดขึ้นแลวจะเกดิ ผลอยางไร 15. พัฒนาทักษะการอานอยางสรางสรรค หมายถึง การฝก ใหร ูจกั คดิ แสดงความคดิ เห็น ควรสง เสรมิ และใหโอกาสเด็กไดแสดงความคดิ เห็นและความรสู กึ ตอเรื่องท่ีอานมากกวา จะมงุ ทบทวนขอตางๆ ที่จําไดหรือเขาใจ 16. การพัฒนาการฟงอยางสรางสรรค หมายถงึ การฝก ใหเกิดความรูสึกนึกคิดในขณะท่ี ฟง อาจเปนการฟงบทความ เรื่องราวหรือดนตรี เพื่อเปนการศึกษาขอมูล ความรู ซึ่งโยงไปหาสิง่ อ่นื ๆ ตอไป 17. พัฒนาการเขียนอยางสรางสรรค หมายถึง การฝกใหแสดงความคิด ความรูสึก การ จนิ ตนาการผา นการเขยี นบรรยายหรอื พรรณนาใหเ ห็นภาพชดั เจน 18. ทักษะการมองภาพในมิติตางๆ หมายถึง การฝกใหแสดงความรูสึกนึกคิดจากภาพใน แงม มุ แปลกใหม ไมซ้าํ เดมิ ศลิ ปะกับการตกแตง ทีอ่ ยอู าศัย มนษุ ยเหมอื นสตั วทว่ั ไปที่ตองการสถานทปี่ กปอง คุมครองจากสิ่งแวดลอมรอบกาย ไม วา มนุษยจะอยแู หง ใด สถานทอ่ี ยางไร ทอี่ ยูอาศยั จะสรางขน้ึ เพอื่ ปองกันภยั อันตรายจากสง่ิ แวดลอ ม ภายนอกทีอ่ ยูอาศัยเปน หนง่ึ ในปจ จัยท่มี ีความสําคัญและจาํ เปน สาํ หรับการดํารงชวี ติ ของมนษุ ย มนุษยจึงมีการพัฒนาที่อยูอาศัยเพื่อสนองความตองการและความพอใจของแตละบุคคลมนุษยทุก คนมีการพัฒนาการในชีวิตของตนเอง มนุษยจึงนําพัฒนาการเหลานี้มาใชใหเปนประโยชน การ พฒั นาทอ่ี ยูอาศัยจงึ เปนหนึง่ ในปจ จยั ทีส่ ําคญั สาํ หรบั มนษุ ยท ่อี ยอู าศัยในปจ จุบนั ถูกพฒั นาให ทันสมัยกวาในอดีตเนื่องจากตองปรับปรุงใหเหมาะสมกับสภาพการณและสิ่งแวดลอมของโลกที่ เปลย่ี นแปลง แตใ นการปรับปรงุ น้ัน ควรคาํ นึงถึงสภาพทางภูมิศาสตร และวฒั นธรรมทอ งถน่ิ ควบคู กันไปการพัฒนาที่อยูอาศัยนั้นจึงจะเหมาะสมและสนองความตองการอยางแทจริง ทอ่ี ยอู าศยั โดยเฉพาะบา นในปจ จุบนั จะมีรูปแบบที่เรียบงายใกลชิดธรรมชาติและ คํานึงถึงประโยชนใชสอยเปนหลัก และเนนในเร่อื งเทคโนโลยีตา งๆ เพ่ิมมากขึ้น เพราะเกิดการ เปลี่ยนแปลงตามรสนยิ มการบรโิ ภค นอกจากนี้ในการจัดตกแตงภายในจะมีการผสมผสานการ ตกแตง แบบตะวนั ตกและตะวนั ออกเขา ดว ยกนั ทําใหเกิดผลงานการตกแตงในรูปแบบที่ใชงานได

48 สะดวกตามรปู แบบตะวันตก ปจจัยอีกประการหนึ่งในการจัดตกแตงภายในบานคือการนําหลักการ ทางศิลปะมาผสมผสานเขากับการตกแตง เพือ่ ใหการดาํ รงชวี ติ ภายในบา นสะดวกท้ังกายและใจ และแสดงออกถึงความงดงาม และมีรสนิยมของผูเปนเจาของบาน องคประกอบทางศิลปะจึงถูก นํามาเก่ียวขอ ง องคประกอบทางศิลปะที่นํามาใชในการจัดแตงแตงที่อยูอาศัย ไดแ ก 1. ขนาดและสดั สวนนาํ มาใชในการจัดท่อี ยอู าศัย ไดแ ก 1.1 ขนาดของหอง ในการกําหนดขนาดของหองตา ง ๆ จะข้ึนอยกู บั กจิ กรรมท่ีทาํ หากเปน หอ งทใ่ี ชก ิจกรรมมาก เชน หองอาหาร หองครัว หรือหองรบั แขก ควรกําหนดขนาดของหองใหม พี ้ืนท่ี รองรับกิจกรรมนัน้ ๆ ใหเหมาะสม ไมเล็กจนเกินไป เพราะจะทาํ ใหค ับแคบและไมส ะดวกตอ การทํา กจิ กรรม 1.2 จํานวนของสมาชิกในครอบครัว ในการกําหนดขนาดของหองตาง ๆ ควรคํานึงถึง จํานวนของสมาชิกวามีมากนอยเพียงใด เพื่อจะไดกําหนดขนาดของหองใหเหมาะสมกับสมาชิก 1.3 เคร่ืองเรอื น ในการกาํ หนดขนาดของเคร่ืองเรอื น ควรกาํ หนดใหม ขี นาดพอดกี บั หองและสมาชิก หรือขนาดพอเหมาะกับสมาชิกไมสูงหรือเตี้ยขนใชงานไมสะดวก ในการออกแบบ เคร่ืองเรอื น หรือจัดพนื้ ท่ภี ายในบา นจะมีเกณฑมาตรฐานทใี่ ชกนั โดยทั่วไป ดงั นี้ หอ งรบั แขก -โซฟา ขนาด 0.05 x 0.6เมตร สูง 0.38 – 0.40 เมตร หอ งอาหาร - โตะอาหารมีหลายแบบไดแกขนาด 0.75 x 1.00 เมตร จนถงึ 1.10 x2.40 เมตร หองครัว - ควรมขี นาด 0.50 x 0.55 เมตรสูง 0.80 x 0.90 เมตร ความยาวขน้ึ อยูกบั หอง หอ งนํา้ - ควรมขี นาด 2.00 – 3.00 เมตรซง่ึ แลว แตข นาดของหอง สว นสุขภณั ฑในหอ งจะมี ขนาดมาตรฐานโดยทั่วไป หอ งนอน - เตียงนอนเด่ียว มขี นาด 0.90-1.0 x 2.00 เมตร สูง 0.50 เมตรเตยี งนอนคู มีขนาด 1.80 x 2.00เมตร สงู 0.40 - 0.50 เมตร ตูเ ส้อื ผา ขนาด 0.50 – 0.80x 2.50 เมตร

49 2. ความกลมกลืน(Harmony) ความกลมกลืนของศลิ ปะที่นาํ มา ใชใ นการจัดตกแตงที่อยไู ดแ ก 1. ความกลมกลืนของการตกแตงที่อยูอาศัย การนําธรรมชาติมาผสมผสานในการตกแตง จะ ทําใหเกิดความสัมพันธที่งดงามการใชตนไมตกแตงภายในอาคารจะทําใหเกิดบรรยากาศที่รมรื่น เบิกบานและเปนธรรมชาติ 2. ความกลมกลืนของเครื่องเรือนในการตกแตงภายในการเลอื กเครื่องเรอื นเครอ่ื งใชท่ี เหมาะสมและสอดคลองกับการใชสอย จะทําใหเกิดความสัมพันธในการใชงาน การเลือกวสั ดุทใี่ ช ประกอบเครอ่ื งเรือนภายในครวั ควรเปนวัสดุที่แขง็ แรง ทนทาน ทนรอ นและทนรอยขดู ขดี ไดด ี เชน ฟอรไ มกา แกรนิตหรือกระเบือ้ งเคลือบตาง ๆ 3. ความกลมกลืนของสี ในการตกแตง ซึ่งตองใชดวยความระมัดระวังเพราะหากใชไม ถกู ตอ งแลว จะทําใหความกลมกลืนกลายเปนความขัดแยง การใชสีกลมกลืนภายในอาคาร ควร คาํ นึงถึงวัตถุประสงคข องหองผใู ช เครื่องเรือนและการตกแตง การใชสีกลมกลืนควรใช วจิ ารณญาณ เลือกสีใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการใช 3. การตดั กัน ในการตัดกันโดยทั่วไปของการจัดตกแตงที่อยูอาศัยนิยมทําในรูปแบบของการขัดกันในการใช เคร่ืองเรอื นในการตกแตง เพอ่ื สรา งจดุ เดนหรือจุดสนใจในการตกแตง ไมใ หเ กดิ ความกลมกลนื มาก เกนิ ไป การออกแบบเครื่องเรือนแบบรวมสมัย จึงไดรับความนิยมเนื่องจากสรางความโดดเดนของ การตกแตงไดเปนอยางดี 4. เอกภาพ ในการตกแตงสง่ิ ตา ง ๆ หากขาดเอกภาพงานที่สําเร็จจะขาดความสมบูรณในการตกแตงภายใน การรวมกลมุ กิจกรรมเขา ดว ยกนั การรวมพ้ืนท่ีในหองตาง ๆ ใหเหมาะสมกับกิจกรรมจึงเปนการใช เอกภาพในการจดั พ้ืนทีท่ ่ีชัดเจน การจัดเอกภาพของเคร่ืองเรือนเคร่อื งใชก เ็ ปนสง่ิ สาํ คญั หากเคร่ือง เรือนจัดไมเปนระเบียบยอมทําใหผูอาศัยขาดการใชสอยที่ดีและขาดประสิทธิภาพในการทํางาน 5. การซ้ํา การซ้ําและจังหวะเปน สงิ่ ท่สี ัมพันธกันการซ้ําสามารถนํามาใชในงานตกแตงไดหลายประเภท เพราะการซ้ําทําใหเกิดความสอดคลองของการออกแบบการออกแบบตกแตงภายในการซ้ําอาจ นํามาใชในการเชื่อสายตา เชน การปูกระเบื้องปูพน้ื ทเ่ี ปนลวดลายตอ เน่ือง หรอื การติดภาพประดับ ผนงั ถึงแมการซา้ํ จะทาํ ใหง านสอดคลอง หรือตอเนื่อง แตก็ไมควรใชในปริมาณที่มากเพราะจะทํา ใหดูสบั สน

50 6. จงั หวะ การจดั จงั หวะของท่ีอยูอ าศัยทาํ ไดหลายลกั ษณะ เชน การวางผังบริเวณหรือการจัดแปลนบานให มลี กั ษณะทีเ่ ช่อื มพืน้ ท่ตี อเน่ืองกันเปนระยะ หรือจังหวะ นอกจากนีก้ ารจัดพนื้ ทีใ่ ชสอยภายในอาคาร นับเปนสงิ่ สาํ คญั เพราะจะทําใหเกิดระเบียบและสะดวกตอการทํางาน และทําใหการทํางาน และทาํ ใหการทํางานมีประสทิ ธิภาพยิ่งขึน้ การจัดพ้ืนทีใ่ ชสอยภายในอาคารทีน่ ยิ มไดแก การจัดพ้ืนท่กี าร ทํางานของหองครัว โดยแบงพื้นที่การทํางานใหเปนจังหวะตอเนื่องกัน ไดแก พน้ื ทข่ี องการเก็บ การปรงุ อาหาร การลาง การทําอาหาร และการเสิรฟอาหาร เปน ตน 7. การเนน ศลิ ปะของการเนนทน่ี ํามาใชในทอี่ ยอู าศยั ไดแก 1. การเนนดว ยสกี ารเนนดว ยสไี ดแ ก การตกแตงภายในหรือภายนอกอาคารดวยการใชสี ตกแตง ทก่ี ลมกลนื หรือโดดเดน เพอื่ ใหสะดุดตาหรอื สดชื่นสบายตา ซึ่งขึน้ อยูกับวตั ถุประสงคของ การจดั น้ัน 2. การเนนดว ยแสงการเนน ดวยแสงไดแ ก การใชแ สงสวา งเนน ความงามของการตกแตง และ เครื่องเรือนภายในบานใหดูโดดเดน การใชโคมไฟหรือแสงสวางตาง ๆ สามารถสรางความงามและ ใหบ รรยากาศท่สี ดชนื่ หรือสนุ ทรียไ ดอยางดี ในการใชแสงไฟควรคํานึงถึงรูปแบบของโคมไฟ ที่ ถูกตองและเหมาะสมกับขนาและสถานที่ ตลอดจนความกลมกลืนของโคมไฟและขนาดของหอง 3. เนน ดวยการตกแตง การเนนดว ยการตกแตง ไดแ ก การใชว สั ดุ เคร่ืองเรือน เคร่ืองใชห รอื ของ ตกแตง ตา ง ๆ ตกแตงใหสอดคลองสวยงามเหมาะสมกับรูปแบบและสถานที่ตกแตงนั้น ๆ 8. ความสมดุล การใชความสมดุลในการจัดอาศัยไดแก จัดตกแตงเคร่ืองเรือน หรือวสั ดุตาง ๆ ใหมคี วามสมดุล ตอการใชงาน หรอื เหมาะสมกบั สถานท่ี เชน การกําหนดพื้นทีใ่ ชส อยที่สะดวกตอ การทํางาน หรือ การจัดทิศทางของเครื่องเรือนใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอม และการทํางาน โดยเฉลี่ยกิจกรรมให เหมาะสมและสมดุล 9. สี สีมีความสัมพันธกับงานศิลปะ และการตกแตงสถานที่ เพราะสมี ีผลตอสภาพจิตใจและอารมณ ของมนุษย สใี หผูอ ยูอาศยั อยูอยางมีความสขุ เบิกบานและรื่นรมย ดังนัน้ สีจึงเปน ปจจยั สําคญั ของ การจดั ตกแตง ที่อยูอาศัยในการใชส ตี กแตงภายใน ควรคาํ นึงถงึ ส่ิงตาง ๆ ดังตอ ไปน้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook