Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore abcjournal11-2-62E

abcjournal11-2-62E

Published by Kitsanathon Sintala, 2019-08-24 05:02:13

Description: abcjournal11-2-62E

Search

Read the Text Version

วัตถปุ ระสงค์ วารสารวจิ ยั เพือ่ การพฒั นาเชงิ พืน้ ทเี่ ปน็ วารสารทางวิชาการซึง่ ไมเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การเคลือ่ นไหวทางการเมืองมีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ การตพี ิมพ์ ผลงานวิจัยที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาพื้นทีใ่ นระดบั จังหวัด กลุ่มจงั หวัด ต�ำ บล หมู่บ้าน หรือชุมชน เผยแพร่แก่นักวิชาการ และบคุ คลทั่วไป มุ่งส่งเสริมให้นกั วิชาการในหน่วยงานราชการ หรืออาจารย์ในมหาวิทยาลยั ได้เสนอผลงานทางวิชาการสู่สาธารณะ เจ้าของ สำ�นกั งานกองทุนสนบั สนุนการวิจัย คณะทีป่ รึกษา ดร.สีลาภรณ์ บัวสาย ศาสตราจารย์ นพ.สทุ ธิพนั ธ์ จิตพิมลมาศ ดร.กิตติ สจั จาวฒั นา ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ปิยะวัติ บุญ-หลง บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.ชิตณรงค์ ศิริสถิตย์กลุ รองบรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นพ.อดุ มศักดิ์ แซ่โง้ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา มิง่ ฉาย กองบรรณาธิการ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา ประเทพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์ ดร.ยศ สันตสมบัติ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย์ วิโชค มุกดามณี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์ ดร.สัญชัย จตุรสิทธา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อารี วิบูลย์พงศ์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.ก้าน จันทร์พรหมมา มหาวิทยาลัยขอนแก่น รองศาสตราจารย์ ดร.สุจินต์ สิมารักษ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ มหาวิทยาลยั นเรศวร รองศาสตราจารย์ ดร.เสมอ ถาน้อย มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.อาวรณ์ โอภาสพฒั นกิจ นกั วิชาการอิสระ คุณเบญจมาศ ตีระมาศวณิช คณะจดั ท�ำ วารสาร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เยาวเรศ ศิริสถิตย์กลุ ดร.ธนิดา เจริญสขุ อาจารย์กาญจนา หฤหรรษพงศ์ ดร.วรรัตน์ หวานจิตต์ เจ้าหนา้ ที่สนบั สนุน นายโกสินธุ์ ศิริรกั ษ์ นางวนั ฤดี รตั นพนั ธ์ นางสาวสุจินดา ย่องจีน วารสารวิจยั เพือ่ การพัฒนาเชิงพื้นที่ สถาบนั วิจยั และนวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์ 222 ต�ำ บลไทยบุรี อำ�เภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80160 โทรศัพท:์ 075 673 567, 083 782 7276 โทรสาร: 075 673 553 E-mail: [email protected] ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่านไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของ ส�ำ นักงานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย สถาบนั วิจยั และนวตั กรรม มหาวิทยาลยั วลยั ลกั ษณ์ และกองบรรณาธิการ

บทบรรณาธิการ สถาบันวิจัยและพัฒนา หรือหน่วยจัดการงานวิจัยใน ชื่ออื่นๆ ของมหาวิทยาลัย มีความสำ�คัญในการประสาน งานวิจัย ให้ตอบสนองกับนโยบายของชาติ ยุทธศาสตร์ของ มหาวทิ ยาลยั และความตอ้ งการของสงั คม โดยการด�ำ เนนิ การ ในลักษณะแผนงาน หรือชุดโครงการ มีประสิทธิภาพในการ แก้ไขปัญหาและพัฒนาที่ย่ังยืน จากการบูรณาการศาสตร์ ระดมกำ�ลังของหน่วยงานและบุคลากร ได้มากกว่าโครงการ วิจัยเดี่ยว บทความจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ที่ เผยแพร่ในวารสารฉบับนี้ เป็นผลจากการจัดสรรทุนโดย สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ให้กับ 24 มหาวิทยาลัย ประเภททุนโครงการวิจัยท้าทายไทย และโครงการวิจัยตอบ สนองนโยบายเป้าหมายรัฐบาล ตามระเบียบวาระแห่งชาติ แสดงถึงการเชื่อมโยงโจทย์ใหญ่ที่มีความสำ�คัญ กับภาคี เครอื ขา่ ยและหนว่ ยงานภาครฐั ในพนื้ ที่ มหี นว่ ยจดั การงานวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั เปน็ ขอ้ ตอ่ ทสี่ �ำ คญั สามารถแสดงถงึ แนวทาง และทิศทางในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย ที่ตอบโจทย์การ พฒั นาประเทศ ไดเ้ ป็นรูปธรรมชดั เจน รองศาสตราจารย์ ดร. ชิตณรงค์ ศิริสถิตย์กุล บรรณาธิการ

วารสารวิจยั เพือ่ การพฒั นาเชิงพื้นที่ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม - เมษายน 2562 สารบัญ 93...................................... การพัฒนาพืน้ ทีเ่ พือ่ เพิม่ มลู คา่ ของหว่ งโซ่เศรษฐกิจปลาสลิดบางบ่อตามยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภยั เป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อม จงั หวัดสมทุ รปราการ อุไรพรรณ เจนวาณิชยานนท์ อิสยา จันทรว์ ิทยานชุ ิต รตั นา ทิมเมือง วฒุ ิพงษ์ ทองกอ้ น ชชั วาลย์ ชา่ งท�ำ และ ธนาชัย สุนทรอนนั ตชัย 108.................................................. กระบวนการ ระบบ และรปู แบบวัฒนธรรมการออม ชมุ ชนบ้านท่าดินแดงออก จังหวัดพทั ลุง วนั ชยั ธรรมสจั การ อศั วลกั ษ์ ราชพลสทิ ธ์ิ องั คณา ธรรมสจั การ และ พรนคพ์ เิ ชฐ แหง่ หน 123......................................................................... การสือ่ สารเพื่อใชป้ ระโยชน์จากงานวิจัย: เกษตรอินทรีย์มีชีวิต เลา่ เรื่องผ่านวิธีคิด คนยโสธร ศภุ างค์ นนั ตา พฒุ พิ งษ์ รบั จนั ทร์ จณญั ญา วงศเ์ สนา จงศริ ิ และ สมยศ พรมงาม 135............................................................................................. วถิ แี หง่ ลนี : แนวคดิ บรหิ ารจดั การระดบั โลกกบั การยกระดบั การด�ำ เนนิ งาน กรณศี กึ ษาธรุ กจิ ชมุ ชนกลมุ่ ผลติ เหด็ อนิ ทรยี ์ บา้ นลพิ อน หวั หาร-บอ่ แร่ จงั หวดั ภเู กต็ กติ ตศิ กั ด์ิ จติ ตเ์ กอ้ื 156............................................................................................................... การพฒั นาศนู ยผ์ ลติ น้�ำ เชอ้ื สกุ รในชมุ ชนส�ำ หรบั ผสมเทยี มในเกษตรกรรายยอ่ ย ต�ำ บลเมอื งจงั จงั หวดั นา่ น วนิ ยั แกว้ ละมลุ ขจร นติ วิ รารกั ษ์ และ วชิ ยั ทนั ตศภุ ารกั ษ์ 170.............................................................................................................................. กระบวนการขบั เคลอ่ื นความปลอดภยั ทางถนนดว้ ยพลงั ภาคเี ครอื ขา่ ยจงั หวดั ภเู กต็ ศวิ พงศ์ ทองเจอื

การพัฒนาพืน้ ที่เพือ่ เพิ่มมลู ค่าของห่วงโซ่เศรษฐกิจ ปลาสลิดบางบอ่ ตามยุทธศาสตร์สง่ เสริมสินค้าเกษตร ปลอดภัยเปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม จังหวดั สมทุ รปราการ บทความวิจัย อุไรพรรณ เจนวาณิชยชาัชนวนาทล์1ยอ์ ชิส่ายงาทำ�จ4นั แทลระ์วิทธยนาานชชุัยิตส1 นุ รทัตรนอานทนั ิมตเชมยัือ5ง2,* วฒุ ิพงษ์ ทองก้อน3 1มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อำ�เภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ 10540 วนั ที่รับบทความ: 2คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ อำ�เภอบางพลี จงั หวัดสมุทรปราการ 10540 4 ธนั วาคม 2561 3คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ อำ�เภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ 10540 4คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ อำ�เภอบางพลี วนั แกไ้ ขบทความ: จงั หวัดสมุทรปราการ 10540 29 มนี าคม 2562 5คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ อำ�เภอบางพลี จงั หวดั สมทุ รปราการ 10540 *ผ้เู ขียนหลัก อีเมล: [email protected] วนั ตอบรับบทความ: 29 มนี าคม 2562 บทคดั ย่อ ตอบโจทย์พื้นที่ เกิดโครงการวิจยั ด้านการพฒั นา พื้นที่ที่ตอบโจทย์ปัญหาความต้องการของพื้นที่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบ และเพิ่มมูลค่าของห่วงโซ่เศรษฐกิจปลาสลิด บริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยหัวเฉียว บางบ่อท้ังด้านต้นน้ำ� กลางน้ำ� และปลายน้ำ� เฉลิมพระเกียรติให้มีความเข้มแข็งและสามารถ จำ�นวน 15 โครงการ มีการบูรณาการงานวิจัย สนับสนุนระบบการวิจัยนวัตกรรมเพื่อพัฒนา กับการบริการวิชาการและ/หรือการเรียนการ พื้นที่ที่มีประสิทธิภาพสูง และเพื่อเพิ่มมูลค่าของ สอนในทุกโครงการวิจัย อาจารย์และนักศึกษา หว่ งโซเ่ ศรษฐกจิ ปลาสลดิ บางบอ่ ตามยทุ ธศาสตร์ เกิดการเรียนรู้และมีประสบการณ์การทำ�งาน ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัยเป็นมิตรกับ ในชุมชน ชุมชนได้รับการพัฒนาในมิติต่างๆ เพิ่ม สิ่งแวดล้อมของจังหวัดสมุทรปราการ ผลวิจัย มากขึ้น สอดคล้องกับผลผลิตและผลลัพธ์ที่ต้ัง ด้านการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัย เป้าหมายไว้ ตลอดจนการสร้างสัมพนั ธภาพอันดี ท�ำ ให้มีนกั จดั การงานวิจยั ในองค์กร จ�ำ นวน 6 คน ระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ นกั วิจัย จ�ำ นวน 80 คน เปน็ นักวิจยั รุ่นใหม่ที่ไม่มี และเกิดข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่พื้นที่สามารถ ประสบการณว์ จิ ยั เชงิ พนื้ ที่ จ�ำ นวน 65 คน เกดิ การ นำ�ไปใช้งานได้ เปลี่ยนแปลงระบบและกลไกการบริหารจัดการ งานวิจัยของมหาวิทยาลัยท้ังระดับมหาวิทยาลัย คำ�สำ�คัญ: จังหวัดสมุทรปราการ การพัฒนา และระดับคณะที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ พื้นที่ ปลาสลิดบางบ่อ ระบบบริหารจัดการงาน และนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้จริง ผลวิจัยด้านการ วิจยั นักจดั การงานวิจัย วารสารวิจยั เพื่อการพฒั นาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 93-107

Economic Value Added of Bangbo Snakeskin Gourami Supply Chain according to the Strategy of Green Agriculture and Environmental Friendliness, Samut Prakan Province Research Article Uraipan Janvanichyanont1, Isaya Janwithayanuchit1, Rattana Timmaung2,*, Wuthipong Thongkon3, Chatchawan Changtam4 and Tanachai Suntonanantachai5 Received: 1Huachiew Chalermprakiet University, Bang Plee District, Samut Prakan Province, Thailand 10540 4 December 2018 2Faculty of Communication Arts, Huachiew Chalermprakiet University, Bang Plee District, Samut Prakan Province, Thailand 10540 Revised: 3Faculty of Arts, Huachiew Chalermprakiet University, Bang Plee District, Samut Prakan Province, 29 March 2019 Thailand 10540 4Faculty of Science and Technology, Huachiew Chalermprakiet University, Bang Plee District, Accepted: Samut Prakan Province, Thailand 10540 29 March 2019 5Faculty of Law, Huachiew Chalermprakiet University, Bang Plee District, Samut Prakan Province, Thailand 10540 *Corresponding author’s E-mail: [email protected] Abstract the community’s need, 15 innovative research projects were implemented in order to increase The research study aims at developing and the value of Snakeskin Gourami economic chain strengthening the research management system upstream, midstream and downstream. All of Huachiew Chalermprakiet University in order research projects are integrated into community to effectively provide supports for area-based services and teaching which provide an innovative research system and to increase the opportunity for staff and students to learn and value of Snakeskin Gourami economic chain. This work in the community. At the same time, the responds to Samut Prakarn province’s strategic community has been developing in various plan to promote agricultural products that are dimensions which are consistent with intended safe and environmentally friendly. After the output and outcome. This study also promotes implementation of research management system, the relationship between the university and the institution has developed 6 research managers networks in the area leading to applicable policy and 80 researchers. Out of 80 researchers, recommendations to meet the needs in the area. 65 are new with no experience in area-based research. This research has also created an Keywords: Samut Prakan province, Area effective change in the system and management development, Bangbo Snakeskin Gourami, mechanism of the university’s research both at Research management system, Research university level and at faculty level. Regarding managers Area Based Development Research Journal ===== Vol. 11 No. 2 pp. 93-107

95 ABC JOURNAL สถานการณ์ที่เป็นอยู่เดิม และมหาวิทยาลัยในฐานะสถาบันการศึกษาที่ต้ังอยู่ในจังหวัด สมุทรปราการจึงควรมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาของพื้นที่ ดังน้ัน มหาวิทยาลัยจึงได้ดำ�เนินการวิจัยและบริการวิชาการในพื้นที่ จังหวัดสมุทรปราการเป็นจังหวัดที่มีการพัฒนาภาคการ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2556 ท�ำ ให้เกิดผลงานวิจัยและงานบริการวิชาการ เกษตร ประมง และอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปแบบครบวงจร จ�ำ นวนหนงึ่ แตง่ านวจิ ยั สว่ นใหญเ่ ปน็ ลกั ษณะงานวจิ ยั โครงการเดยี่ ว สัตว์น้ำ�จืดที่สำ�คัญของการพัฒนาตามยุทธศาสตร์การพัฒนา และแก้ไขปัญหาได้เพียงบางส่วนเท่านั้น ประกอบกับสำ�นักงาน จงั หวดั ไดแ้ ก่ “ปลาสลดิ บางบอ่ ” ซงึ่ เปน็ สตั วน์ ้�ำ ทมี่ คี วามส�ำ คญั ทาง กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้จัดสรรทุนวิจัยเชิงพื้นที่แก่ เศรษฐกิจเปน็ อันดับ 4 ของประเทศไทย รองจากปลานิล ปลาดุก สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติจึงเห็น และปลาตะเพยี น (กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ 2558) ถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหาของพื้นที่ เพื่อให้ครอบคลุมห่วงโซ่ การเพาะเลี้ยงและแปรรูปปลาสลิดเป็นอาชีพที่สำ�คัญอยู่คู่กับวิถี เศรษฐกิจของปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการ โดยบูรณาการ ชีวิตของเกษตรกรใน 4 อำ�เภอ ของจังหวัดสมุทรปราการ ได้แก่ ความรู้ระหว่างศาสตร์ร่วมกัน และทำ�ให้เกิดงานวิจัยในลักษณะ อ�ำ เภอเมอื ง อ�ำ เภอบางบอ่ อ�ำ เภอบางพลแี ละอ�ำ เภอบางเสาธง โดย ของชดุ โครงการ เฉพาะอำ�เภอบางบ่อที่มีการเพาะเลี้ยงมากที่สุด และมีการแปรรูป ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยหัวเฉียว เปน็ “ปลาสลิดแดดเดียว” และ “ปลาสลิดหอม” ที่มีรสชาติอร่อย เฉลิมพระเกียรติเป็นระบบบริหารจัดการงานวิจัยแบบรวมศูนย์ มีชือ่ เสียงเป็นทีร่ ู้จักทว่ั ประเทศ ผลงานวิจัยในศาสตร์ที่อาจารย์มีความเชี่ยวชาญมีจำ�นวนเพิ่มมาก จากการส�ำ รวจวธิ กี ารเพาะเลยี้ งและแปรรปู ปลาสลดิ บางบอ่ ขึ้น เป็นไปตามเป้าหมายทีส่ �ำ นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา พบปัญหาด้านวิธีการเพาะเลี้ยงคือ พื้นที่การเลี้ยงปลาสลิดบางบ่อ (สกอ.) ก�ำ หนด แต่ผลงานวิจยั ที่น�ำ ไปใช้ประโยชน์ยงั มีจำ�นวนน้อย ในปัจจบุ นั แตกต่างจากในอดีต เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นโรงงาน ไม่มีผลงานที่จดสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ไม่มีนวัตกรรมจาก อตุ สาหกรรมและโรงไฟฟา้ ท�ำ ใหไ้ มเ่ หมาะสมกบั การเลีย้ งปลาสลดิ งานวิจัยและไม่มีผลงานที่สามารถนำ�ไปต่อยอดเชิงพาณิชย์ได้ แบบธรรมชาติ มโี อกาสพบสารพษิ ตกคา้ งในตวั ปลา เกษตรกรไมไ่ ด้ อีกท้ังผลงานวิจัยเชิงนวัตกรรมและตอบโจทย์ปัญหาเชิงพื้นที่ยังมี พฒั นาวิธีการเลี้ยงให้ได้มาตรฐาน GAP ส่งผลให้ไม่สามารถส่งออก จ�ำ นวนน้อย เนือ่ งจากไม่มีกระบวนการพฒั นาโจทย์วิจัยที่ยกระดบั ปลาสลดิ ไปขายตา่ งประเทศได้ นอกจากนปี้ รมิ าณการผลติ ปลาสลดิ และตอบโจทยป์ ญั หาความตอ้ งการของพนื้ ทใี่ นการแกป้ ญั หาชมุ ชน บางบ่อยงั มีแนวโน้มลดลง และปัญหาด้านการแปรรูปปลาสลิดคือ นอกจากนี้กฎระเบียบและหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารงานวิจัย ผปู้ ระกอบการแปรรปู มี 2 กลมุ่ คอื กลมุ่ ผแู้ ปรรปู อยา่ งเดยี ว ซงึ่ จะซอื้ ไม่มีความทันสมัย การพัฒนาระบบการติดตามความก้าวหน้าใน ปลาจากในพื้นที่และนอกพื้นที่ เช่น จังหวดั สมทุ รสาคร สุพรรณบรุ ี การดำ�เนินการวิจัยยังขาดความต่อเนื่อง ไม่มีระบบการติดตาม และฉะเชงิ เทรา มาแปรรปู เปน็ ปลาสลดิ แดดเดยี วและปลาสลดิ หอม ความก้าวหน้าและไม่มีการประเมินผลลัพธ์การบรู ณาการงานวิจยั และกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาสลิดแล้วนำ�มาแปรรูปเอง ซึ่งท้ัง การเรียนการสอนและการบริการวิชาการ จำ�นวนนักวิจัยเชิงพื้นที่ สองกลุ่มมีกระบวนการแปรรูปที่แตกต่างกนั ท�ำ ให้มีรสชาติไม่คงที่ รุ่นใหม่มีจำ�นวนน้อย และไม่ได้นำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์เพื่อ ผแู้ ปรรปู ยงั ไมม่ กี ารรวมกลมุ่ เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพใหไ้ ดม้ าตรฐานตาม แก้ปัญหาและยกระดับพื้นที่มากนัก ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องมีระบบ หลกั การทดี่ ใี นการผลติ อาหาร (Good Manufacturing Practice: GMP) บริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิด ไม่มีการสร้างแบรนด์ที่ชัดเจนและเป็นเอกลักษณ์ของปลาสลิด งานวิจยั ที่ตอบสนองต่อความต้องการและแก้ไขปญั หาของพื้นที่ได้ บางบอ่ ไมม่ กี ารใชอ้ งคค์ วามรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ขา้ มา ช่วยพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของปลาสลิดแปรรูปให้ทันสมัยและมีอายุ การเกบ็ รกั ษาได้นาน รวมท้ังการแสดงคณุ ค่าทางโภชนาการต่างๆ กระบวนการทใ่ี ชใ้ นการเปลย่ี นแปลง เพื่อให้ผู้บริโภคมัน่ ใจ (ศิริวรรณ ตนั ตระวาณิชย์ และคณะ, 2561) และการยอมรบั ของชมุ ชนเปา้ หมาย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติเป็นมหาวิทยาลัย เอกชน ก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ตั้งอยู่ในจังหวัดสมุทรปราการ มีปณิธานในการดำ�เนินงานคือ “เรียนรู้เพื่อรับใช้สังคม” หนึ่งใน ภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยคือการผลิตผลงานวิจัย ซึ่งในช่วง เนื่องจากมหาวิทยาลัยไม่มีหน่วยงานสนับสนุนด้านการวิจัย หลายปีที่ผ่านมามหาวิทยาลัยมีนโยบายมุ่งเน้นส่งเสริมสนับสนุน เชิงพื้นที่ ดังน้ันการดำ�เนินกระบวนการวิจัยครั้งนี้ จึงดำ�เนินงาน งานวิจัยด้านจีน ด้านอาหาร และด้านภาคตะวันออก จากปัญหา ผ่านทีมนักจัดการงานวิจัย โดยมีรองอธิการบดีที่ได้รับมอบหมาย สถานการณป์ ลาสลดิ ของจงั หวดั สมทุ รปราการดงั ทกี่ ลา่ วไวข้ า้ งตน้ จากอธิการบดี และอาจารย์จากสาขาวิชาต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องร่วมกัน วารสารวิจัยเพือ่ การพัฒนาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 96 เป็นคณะทำ�งาน มีสำ�นักพัฒนาวิชาการเป็นหน่วยงานสนับสนุน มหาวทิ ยาลยั กบั ชมุ ชนในพืน้ ที่ ตลอดจนไดก้ รอบโจทยว์ จิ ยั ทพี่ ฒั นา นำ�กระบวนการและเครื่องมือต่างๆ ที่ได้เรียนรู้จาก สกว. มา มาจากปญั หาของพื้นทีอ่ ย่างแท้จริง และสามารถน�ำ ไปใช้ประโยชน์ ประยุกต์ใช้ โดยมีเป้าหมายสำ�คัญทั้งในแง่ของการวิจัยเพื่อตอบ ในพื้นทีไ่ ด้ โจทย์ผลลัพธ์เชิงพื้นที่ และการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง เพื่อ นำ�ไปสู่การปรับปรุงระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัย การศึกษาดูงาน ของมหาวิทยาลัยให้เหมาะสมกับการวิจัยเชิงพื้นที่ บนพื้นฐานของ การทำ�งานอย่างมีส่วนร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง นักจัดการงานวิจัยนำ�นักวิจัยในโครงการย่อยไปศึกษา ซึ่งครอบคลุมกระบวนการต้ังแต่ต้นน้ำ� กลางน้ำ� และปลายน้ำ� ดูงาน ณ กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� ตำ�บลแพรก ดังนี้ หนามแดง อ�ำ เภออมั พวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม และวสิ าหกจิ ชมุ ชน ผู้ใหญ่เจ้ยปลาสลิด ตำ�บลยกกระบัตร อำ�เภอบ้านแพ้ว จังหวัด 1) กระบวนการบริหารจดั การงานวิจยั : ตน้ น้ำ� สมุทรสาคร (ภาพที่ 2) จากการลงพื้นที่ทำ�เวทีชาวบ้าน รวมท้ัง การศึกษาดูงาน ทำ�ให้เข้าใจและตระหนักถึงปัญหาและความ การพฒั นากรอบโจทย์วิจยั ต้องการของชุมชน และได้กรอบโจทย์วิจัยที่ชัดเจนสอดคล้องกับ ความต้องการของพื้นที่ ในส่วนของนกั วิจัยได้ความรู้ รวมท้ังแง่มุม การพฒั นากรอบโจทยว์ จิ ยั โดยใชก้ ระบวนการแบบมสี ว่ นรว่ ม ในการพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยที่ชัดเจนและได้เครือข่ายจาก นักจัดการงานวิจัยนำ�นักวิจัยจากคณะ/สาขาวิชาต่างๆ ลงพื้นที่ ผู้ใช้จริงในพื้นที่ จัดทำ�เวทีชาวบ้าน มีภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุก ภาคสว่ น อาทิ ผเู้ พาะเลยี้ งปลาสลดิ ผแู้ ปรรปู ผขู้ าย ผบู้ รโิ ภค ผแู้ ทน การประกาศทนุ และชี้แจงกรอบโจทย์ หนว่ ยงานภาครฐั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ�บล คลองดา่ น ประมงจงั หวดั เกษตรจงั หวดั เกษตรและสหกรณจ์ งั หวดั กระบวนการนี้ได้จัดทำ�ประกาศทุนที่สอดคล้องกับกรอบ และผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำ บลคลองด่าน ณ โจทย์วิจัย จดั ประชุมเพื่อชี้แจงท�ำ ความเข้าใจ ตอบข้อซักถามจาก วัดแจ่มราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัดสีล้ง) ตำ�บลคลองด่าน อำ�เภอ นักวิจัยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์การวิจัย ประเด็นวิจัยและจำ�นวนเงิน บางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ (ภาพที่ 1) การเริ่มต้นงานวิจัยโดย ทุนวิจัย เพื่อทำ�ให้เกิดความเข้าใจก่อนยื่นข้อเสนอโครงการ และ การมีส่วนร่วม ท�ำ ให้เกิดความสมั พนั ธ์อนั ดีระหว่างคณะผู้วิจยั ของ ข้อเสนอเชิงหลักการ (ภาพที่ 3) ภาพที่ 1 การพฒั นากรอบโจทย์วิจัย ณ วัดแจ่มราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัดสีล้ง) วารสารวิจัยเพื่อการพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

97 ABC JOURNAL ภาพที่ 2 การศึกษาดูงาน ณ จงั หวดั สมทุ รสาคร ภาพท่ี 3 การประชมุ ชแ้ี จงกรอบโจทยแ์ ละท�ำ ความเขา้ ใจแกน่ กั วจิ ยั การพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจยั กระบวนการนีจ้ ดั เวทีให้นกั วจิ ยั นำ�เสนอขอ้ เสนอโครงการ วิจยั ตอบข้อซักถามของคณะกรรมการซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญและผู้ใช้ (ภาพที่ 4) ที่ร่วมกนั พิจารณาให้ข้อคิดเหน็ และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อ นำ�ไปปรับปรุงให้ข้อเสนอโครงการวิจัยมีความสมบูรณ์ ตอบโจทย์ ต่อการใช้ประโยชน์และความต้องการของพื้นที่ โดยให้ผู้ที่มีส่วน เกีย่ วข้องมีส่วนร่วมตั้งแต่เริ่มต้นโครงการวิจยั การพัฒนาหน่วยงานสนับสนุนด้วยการศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพอื่ ใหก้ ารบรหิ ารจดั การดา้ นการวจิ ยั ของหนว่ ยสนบั สนนุ มีความเข้มแขง็ จึงจดั ให้มีการศึกษาดงู าน ณ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา ซึ่งมีการบริหารจัดการงานวิจัยและมีแนวปฏิบัติที่ดี (ภาพที่ 5) ท�ำ ให้นกั จดั การงานวิจยั ได้รบั ความรู้และประสบการณ์ ตรง สามารถน�ำ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ งานวิจยั ของมหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2) กระบวนการบริหารจัดการงานวิจัย: กลางน้ำ� การจัดอบรมเพือ่ พัฒนานักวิจยั เชิงพืน้ ทีร่ ุน่ ใหม่ มหาวทิ ยาลยั ไดจ้ ดั กจิ กรรมพฒั นานกั วจิ ยั เชงิ พืน้ ทรี่ นุ่ ใหม่ ภาพที่ 4 การน�ำ เสนอข้อเสนอโครงการวิจัยและตอบข้อซักถาม โดยการจดั บรรยายพเิ ศษประเดน็ ตา่ งๆไดแ้ ก่การบรรยายเรอื่ ง“การ ของคณะกรรมการ ซึ่งเป็นผู้เชีย่ วชาญและผู้ใช้ วารสารวิจยั เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 98 การจัดเวทีติดตามความก้าวหน้าเพื่อพัฒนาคุณภาพ งานวิจยั การติดตามความก้าวหน้าเพื่อพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ดำ�เนินงานผ่านการรายงานความก้าวหน้าผลการศึกษาวิจยั ระยะ 6 เดอื น (ภาพที่ 6) เพอื่ สรา้ งบรรยากาศดา้ นการวจิ ยั ทำ�ใหร้ บั ทราบ ถึงปญั หาอปุ สรรคทีเ่ กิดขึ้นระหว่างการดำ�เนินการวิจยั หาแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาและวางแผนการวิจัยให้บรรลตุ ามเป้าหมาย ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม แ ล ก เ ป ลี่ ย น เ รี ย น รู้ เ พื่ อ ส ร้ า ง บรรยากาศด้านการวิจยั ภาพท่ี 5 ศกึ ษาดงู านการวจิ ยั เชงิ พน้ื ท่ี ณ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นักจัดการงานวิจัยจัดกิจกรรมถอดบทเรียนซึ่งเป็นการ นครราชสมี า ทบทวนหลงั การปฏิบตั ิงาน (After Action Review; AAR) (ภาพที่ 7) โดยใช้กระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ แบบสภากาแฟ (World Café) (วากเนอร์, 2552) เพื่อถอดบทเรียน 5 ประเด็น ได้แก่ 1) การ พฒั นากรอบโจทย์วิจัย 2) การพิจารณาข้อเสนอโครงการ 3) การ ควบคมุ คณุ ภาพงานวจิ ยั 4) การพฒั นาคณุ ภาพงานวจิ ยั และ 5) การ สร้างการรับรู้ของผู้ใช้ระหว่างทางและการพัฒนานักวิจัยเชิงพื้นที่ โดยผลการด�ำ เนินการดงั กล่าว ท�ำ ให้นักจัดการงานวิจยั ได้ข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงกระบวนการบริหารจัดการงานวิจัย ทง้ั ในระยะเวลาทเี่ หลอื อยรู่ ะหวา่ งการวจิ ยั และการก�ำ หนดแนวทาง การบริหารจดั การงานวิจัยที่จะน�ำ ไปใช้ในอนาคต วจิ ยั เพอื่ พฒั นาพนื้ ทใี่ นยคุ ไทยแลนด์ 4.0” โดย ดร.กติ ติ สจั จาวฒั นา ภาพท่ี 6 การตดิ ตามและน�ำ เสนอรายงานความกา้ วหนา้ งานวจิ ยั รองผู้อำ�นวยการหน่วยบูรณาการวิจัยและความร่วมมือเพื่อ ระยะ 6 เดอื น และรบั ฟงั ขอ้ เสนอแนะจากผทู้ รงคณุ วฒุ ิ เมอ่ื วนั ท่ี พัฒนาเชิงพื้นที่ ส�ำ นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย การบรรยาย 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2560 เรื่อง “การบริหารจัดการงานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อความสำ�เร็จและ ยั่งยืน” โดย ผศ.ดร.พัชรศักดิ์ อาลัย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครปฐม รวมทั้ง การบรรยาย เรื่อง “แนวทางการเขียน บทความวิจัยเชิงพื้นที่” โดย ดร.นพ.อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว สำ�นักวิชา แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และรองบรรณาธิการ วารสารวจิ ยั เพอื่ การพฒั นาเชงิ พนื้ ที่ ส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การ วิจัย เพื่อเสริมสร้างให้นักวิจัยเชิงพื้นที่รุ่นใหม่มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนกั ถึงประโยชน์ของการสร้างงานวิจยั เชิงพื้นที่ ตลอดจน สามารถผลิตผลงานวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อใช้ประโยชน์ในพื้นที่ และ ประโยชน์ทางวิชาการ วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

99 ABC JOURNAL สมุทรปราการ ผู้แทนพัฒนาชุมชนจังหวัดสมุทรปราการ ผู้แทน ผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำ บลคลองด่าน ร่วมรับ ฟังการท�ำ โครงการวิจยั ของมหาวิทยาลยั จากผลของการประชุมร่วมกัน ทำ�ให้ภาคีเครือข่ายที่ เกีย่ วข้องท้ังในระดับจังหวัด และระดับท้องถิ่น รบั รู้ถึงกระบวนการ ดำ�เนินการวิจัยของมหาวิทยาลัยที่มีความเกี่ยวข้องกับภารกิจ อำ�นาจหน้าที่ของหน่วยงาน เกิดเครือข่ายความร่วมมือและ สมั พนั ธภาพอนั ดรี ะหวา่ งนกั วจิ ยั กบั ภาคเี ครอื ขา่ ย น�ำ ไปสกู่ ารหารอื เพื่อเตรียมการวิจัยในพื้นที่ และการน�ำ ผลการวิจยั ไปขยายผลและ ใช้ประโยชน์ในอนาคต นำ�เสนอโครงการวิจัยในพิธีเปิด “ศูนย์เรียนรู้และ แปรรูปปลาสลิดกลุ่มจังหวดั ภาคกลางตอนกลาง” ภาพที่ 7 การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบสภากาแฟ นักจัดการงานวิจัยได้เข้าร่วมนำ�เสนอโครงการวิจัย เพื่อสร้างบรรยากาศด้านการวิจยั เมือ่ วนั ที่ 11 มกราคม นวตั กรรมพฒั นาพืน้ ที่ เพือ่ เพมิ่ มลู คา่ ของหว่ งโซเ่ ศรษฐกจิ ปลาสลดิ พ.ศ. 2561 บางบ่อตามยุทธศาสตร์ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัยเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ ในพิธีเปิด “ศูนย์เรียนรู้และ แปรรปู ปลาสลดิ กลมุ่ จงั หวดั ภาคกลางตอนกลาง” ตำ�บลคลองดา่ น อำ�เภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ โดยผู้ว่าราชการจังหวัด สมุทรปราการเป็นประธานในพิธีเปิด เป็นการสร้างการรับรู้และ เป็นการประชาสมั พันธ์โครงการวิจัยสู่สาธารณชนในพื้นที่ 3) กระบวนการบริหารจัดการงานวิจัย: ปลายน้�ำ การจดั เวทีน�ำ เสนอผลงานวิจยั 12 เดือน การสรา้ งการรบั รขู้ องผใู้ ชแ้ ละผเู้ กยี่ วขอ้ งระหวา่ งทาง นักจัดการงานวิจัยดำ�เนินการพัฒนาระบบการประเมิน คุณภาพงานวิจัยในระยะ 12 เดือน โดยจัดเวทีเพื่อวิพากษ์และให้ นกั จดั การงานวจิ ยั เชญิ ภาคเี ครอื ขา่ ยทงั้ หนว่ ยงานราชการ ขอ้ เสนอแนะตอ่ ผลงานวจิ ยั มกี ารน�ำ เสนอและรายงานผลการศกึ ษา ในระดับจังหวัด และระดับท้องถิ่น ภาคเอกชน และชุมชน เช่น วิจยั ฉบับสมบรู ณ์ (ภาพที่ 8) นายชัยพจน์ จรูญพงศ์ หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดสมุทรปราการ นายบญุ รัตน์ บุ้นมัจฉา พาณิชย์จังหวัดสมทุ รปราการ นายสมบูรณ์ การสง่ เสริมสนับสนนุ การเผยแพร่ผลงาน โพธิกะ ประมงอำ�เภอบางบ่อ นายอนนั ตชยั คุณานันทกลุ ประธาน กรรมการบริหารบริษัท ประชารัฐรักสามัคคีสมุทรปราการ มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนให้คณาจารย์เผยแพร่ผลงาน (วิสาหกิจเพือ่ สงั คม) จำ�กดั นายณรงค์เดช วงศ์ประเสริฐ รองนายก เช่น การให้เงินรางวัล และสนับสนุนค่าตีพิมพ์ผลงานในวารสาร องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บลคลองดา่ น นายปรชี า สมานมติ ร ประธาน วิชาการ รวมทั้งจัดการประชมุ น�ำ เสนอผลงานทางวิชาการในระดบั สหกรณ์เคหสถานปลาสลิดบางบ่อ จำ�กัด ผู้แทนเกษตรและ ชาติและระดับนานาชาติ หัวข้อ “งานวิชาการรบั ใช้สังคม” เมือ่ วันที่ สหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการ ผู้แทนเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2561 เพื่อให้มีเวทีส�ำ หรับนกั วิจัยในการนำ�เสนอ ผู้แทนประมงจังหวัดสมุทรปราการ ผู้แทนอุตสาหกรรมจังหวัด ผลการวิจัยทีไ่ ด้ด�ำ เนินการ วารสารวิจัยเพื่อการพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 100 การส่งเสริมด้านการนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ใน ถ่ายทอดความรู้จากผลงานวิจัยสู่ประชาคมที่เกี่ยวข้อง นำ�เสนอ พื้นที่ ผลงาน และอภิปรายปัญหาอุปสรรคของงานวิจัย จัดนิทรรศการ แสดงผลงานวิจัย ผลักดันให้เกิดชุมชนต้นแบบ ณ ชุมชนหมู่ที่ 11 การส่งเสริมการนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์เพื่อแก้ ตำ�บลคลองด่าน โดยจัดเวทีชุมชนเพื่อวางแผนการนำ�ผลงานวิจัย ปัญหาและยกระดับพื้นที่ถือเป็นกระบวนการบริหารจัดการงาน ไปใช้ประโยชน์อย่างมีส่วนร่วมและต่อเนื่อง รวมท้ังติดตามและ วิจยั เชิงพื้นทีท่ ีม่ ีความสำ�คญั เพือ่ แก้ไขสถานการณ์ของผลงานวิจยั ประเมนิ ผลการน�ำ ผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชนข์ องชมุ ชนตน้ แบบอยา่ ง ที่ไม่สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในชุมชนหรือในพื้นที่ได้ โดยจัดเวที เป็นระยะเพือ่ ปรบั ปรงุ การด�ำ เนินการของชมุ ชนต้นแบบ (ภาพที่ 9) ภาพที่ 8 การประเมินคณุ ภาพงานวิจัย เมื่อวนั ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ภาพที่ 9 การจดั เวทีถ่ายทอดความรู้จากผลงานวิจัยสู่ประชาคมทีเ่ กีย่ วข้อง วารสารวิจยั เพือ่ การพัฒนาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

101 ABC JOURNAL นักจัดการงานวิจัยนำ�กระบวนการและเครื่องมือต่างๆ ที่ได้เรียนรู้ อย่างต่อเนือ่ ง ประการที่ห้า การวิจยั เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม จาก สกว. ไปใช้ประโยชน์เพื่อตอบโจทย์และสร้างกระบวนการให้ จะทำ�ให้เกิดประเด็นคำ�ถามของการวิจัยที่เป็นปัญหาในพื้นที่ ชุมชนยอมรับงานวิจัยเชิงพื้นที่ โดยเฉพาะให้พื้นที่มีส่วนร่วมตั้งแต่ ประชาชนได้รับการแก้ไขปัญหา การจัดสรรทรัพยากรที่กระจาย การบริหารจัดการวิจัยต้นน้ำ� กลางน้ำ� และปลายน้ำ� ตลอดจน อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม รวมท้ังทราบข้อมูลข่าวสารที่ส่งผลให้ นกั จดั การงานวจิ ยั ไดค้ วามรแู้ ละทกั ษะทนี่ �ำ ไปสกู่ ารปรบั ปรงุ พฒั นา คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนดีขึ้น และประการสุดท้าย ความเป็น ระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยใน ประชาธปิ ไตยจะเพมิ่ มากขึน้ เนือ่ งจากการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน รปู แบบใหม่ ก่อให้เกิดการพัฒนาที่มาจากชุมชนเอง ลดการพึ่งพิงจากสังคม ภายนอก ประชาชนตัดสินใจร่วมกัน ก่อให้เกิดการพึ่งตนเองได้ใน ระยะยาว (วราภรณ์ บญุ เชียง, มปป) ความรูห้ รือความเชีย่ วชาญทีใ่ ช้ ดังนั้น การวิจัยเชิงพื้นที่ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติจึงดำ�เนินการบนพื้นฐานของแนวคิดการวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาและตอบ มหาวิทยาลัยนำ�แนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วน สนองความต้องการของพื้นที่ ร่วม (Participatory Action Research : PAR) มาใช้เป็นกระบวนการ มหาวทิ ยาลยั ใชค้ วามรคู้ วามเชยี่ วชาญ ขอ้ มลู และองคค์ วามรู้ ในการวิจัย ผ่านการจดั เวทีประชาคมแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้เข้าถึง เพื่อแก้ไขปัญหาด้านการเพาะเลี้ยงและแปรรูปปลาสลิดบางบ่อ ปัญหาจากความต้องการที่แท้จริง อีกทั้งเพื่อให้เกิดการระดม ใหแ้ กก่ ลมุ่ สมาชกิ สหกรณเ์ คหะสถานปลาสลดิ บางบอ่ จ�ำ กดั ทคี่ ณะ ความคดิ ในแนวทางการแก้ไขปญั หาและอปุ สรรค ตลอดจนรว่ มกนั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ พัฒนาเพื่อเพิม่ มลู ค่าของห่วงโซ่เศรษฐกิจปลาสลิดบางบ่อ จงั หวัด โดยด�ำ เนนิ การตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2556 ผา่ นรปู แบบของการวจิ ยั ทชี่ มุ ชน สมุทรปราการต้ังแต่ต้นน้�ำ กลางน้ำ� และปลายน้�ำ มสี ว่ นรว่ ม ทง้ั ผลการวจิ ยั เกยี่ วกบั ปลาสลดิ เชน่ การส�ำ รวจการผลติ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เป็นการวิจัยที่ผสม และการตลาดปลาสลิด ตำ�บลคลองด่าน อำ�เภอบางบ่อ จังหวัด ผสานการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory research) กบั การวิจยั สมุทรปราการ (ศิริวรรณ ตันตระวาณิชย์ และคณะ, 2561) การ เชิงปฏิบัติการ (Action research) รวมทั้งวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาการปนเปื้อนโลหะหนักในน้ำ� ดินตะกอนและปลาสลิดในบ่อ (Qualitative research) เข้าด้วยกนั เพือ่ ให้ได้ความรู้ใหม่ในการแก้ไข เลีย้ งปลาสลดิ ต�ำ บลคลองดา่ น (สรุ ยี พ์ ร หอมวเิ ศษวงศา และคณะ, ปัญหาทีเ่ กิดขึ้นในชมุ ชน โดยนักจดั การงานวิจยั นกั วิจยั ชุมชนและ 2559) การศึกษาลกั ษณะสัณฐานวิทยาและความหลากหลายของ แกนนำ�ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการวิจัยทุกข้ันตอน ต้ังแต่ร่วมคิด ปลาสลดิ ในประเทศไทย (พรพมิ ล กาญจนวาศ และคณะ, 2559) การ ร่วมตดั สินใจ ร่วมท�ำ ร่วมตรวจสอบและร่วมรบั ประโยชน์ควบคู่ไป ศึกษาบรรจุภัณฑ์สุญญากาศสำ�หรับปลาสลิดแดดเดียว (ชัยรัตน์ กับกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง เตชวุฒิพร และคณะ, 2561) การศึกษาการสกดั เจลาตินจากเกล็ด (People-centered development) และแกป้ ญั หาโดยใช้กระบวนการ ปลาสลิดที่เป็นชิ้นส่วนเหลือใช้หลังกระบวนการแปรรูปปลาสลิด เรียนรู้ (Problem-learning process) ทั้งนี้ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Jirapong et al., 2016) และการศึกษาเกีย่ วกับผลของความเข้มข้น แบบมีส่วนร่วมมีหลกั การทีส่ ำ�คัญ 6 ประการ คือ ประการที่หนึ่ง ของเกลอื ตอ่ คณุ ภาพทางประสาทสมั ผสั และอายกุ ารเกบ็ รกั ษาของ การให้ความส�ำ คญั และเคารพต่อภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ประการทีส่ อง ปลาสลิดตากแห้ง (Kanjanavas, et.al, 2016) การให้คนในชุมชนได้เข้ามาเป็นนักวิจัย ร่วมกันคิด วางแผนและ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มต่างๆ ใน ตดั สนิ ใจตลอดกระบวนการวจิ ยั เพอื่ จะไดเ้ รยี นรแู้ ละมปี ระสบการณ์ พืน้ ที่ อาทิ ความรว่ มมอื กบั ส�ำ นกั งานพาณชิ ยจ์ งั หวดั สมทุ รปราการ การทำ�งานร่วมกับชุมชน และเกิดความเข้าใจชุมชนมากยิ่งขึ้น และกรมทรพั ย์สินทางปัญญา การจัดเวทีถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับ ประการที่สาม การปรับปรุงความสามารถและศักยภาพของชาว การขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ให้แก่กลุ่มสมาชิกสหกรณ์ บ้านด้วยการส่งเสริม ยกระดับและการพัฒนาตนเองให้สามารถ เคหะสถานปลาสลิดบางบ่อ จำ�กัด การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ วิเคราะห์และสังเคราะห์สถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนโดยมี กลุ่มแม่บ้านในชุมชนเกี่ยวกับการแปรรูปปลาสลิดเป็นผลิตภัณฑ์ กระบวนการให้ความรู้ที่เหมาะสม ประการที่สี่ การเรียนรู้ร่วมกัน ต่างๆ เพื่อเพิ่มรายได้ให้ชุมชน ตลอดจนโครงการพัฒนาสุขภาพ และผสมผสานความรู้จากทฤษฎีและการปฏิบัติของนักวิชาการ ของชุมชนในพื้นที่ชุมชนคลองด่านซึ่งเป็นพื้นที่เป้าหมาย เนื่องจาก กับภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดความรู้ใหม่ ความรู้ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติทำ�งานร่วมกับหน่วยงาน ที่ประชาชนได้รับจึงเกิดจากการลงมือปฏิบัติให้ความเข้าใจที่เป็น ภาคีต่างๆ ในพื้นที่ ทำ�ให้มหาวิทยาลัยมีต้นทุนด้านความรู้และ นามธรรมมาสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมและพัฒนาความรู้ที่ได้รับ ความเชี่ยวชาญในประเด็นของการวิจัยคร้ังนี้ และมีความสัมพันธ์ วารสารวิจยั เพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 102 อันดีกับชุมชนและหน่วยงานภาครัฐท้ังในระดับชุมชน และระดับ มหาวิทยาลัย และระดับคณะที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ จังหวัด ทำ�ให้สามารถต่อยอดงานวิจัยนวัตกรรมพัฒนาพื้นที่เพื่อ นำ�ไปใช้ประโยชน์ได้จริงตามรูปแบบที่พัฒนา และนำ�ไปสู่การ เพิ่มมูลค่าของห่วงโซ่เศรษฐกิจปลาสลิดบางบ่อ ส่งผลให้เกิดการ ปรับยุทธศาสตร์ (University reprofiling) สู่การเป็นมหาวิทยาลัย พฒั นาอย่างต่อเนื่อง เพื่อสังคมและชุมชน และการพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัย ภายใต้การวิจัยดังกล่าว ทำ�ให้มหาวิทยาลัยมีโครงการวิจัยเชิง พื้นที่และตอบโจทย์ปัญหาความต้องการของชุมชน จำ�นวน 15 ทีเ่ ปลสี่ยถนาแนปกลารงณไปใ์ จหามก่ เดิม โครงการ ซึ่งมากกว่าเป้าหมายที่ต้ังไว้ มีนักวิจัยเชิงพื้นที่รุ่นใหม่ จ�ำ นวน 65 คน ทีไ่ ด้มีโอกาสเรียนรู้งานวิจัย มีการบูรณาการข้าม ศาสตร์ที่ครอบคลุมการเพิ่มมูลค่าของห่วงโซ่เศรษฐกิจปลาสลิด บางบ่อ ท้ังต้นน้ำ� กลางน้ำ� และปลายน้ำ� นอกจากน้ัน มีการนำ� 1) ดา้ นระบบบริหารจดั การงานวิจัยของมหาวิทยาลัย โครงการวิจัยทั้งหมดไปบูรณาการกับการเรียนการสอน หรือการ ผลการดำ�เนินงานวิจัยครั้งนี้ นำ�มาสู่การปรับปรุงระบบ บริการวิชาการ ซึง่ ถือเปน็ หนึง่ ในภารกิจของมหาวิทยาลัย ส่งผลให้ และกลไกบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัย จากเดิมการ อาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษาเกดิ การเรยี นรแู้ ละมปี ระสบการณก์ ารทำ�งาน บรหิ ารจดั การงานวจิ ยั เนน้ การรวมศนู ยท์ สี่ ว่ นกลาง ไมม่ หี นว่ ยงานที่ ในชมุ ชนเพิ่มมากขึ้น มีบทบาทในการทำ�งานวิจยั เชิงพื้นที่โดยตรง ตลอดจนอาจารย์และ เจ้าหน้าที่ไม่เข้าใจแนวทางการทำ�งานวิจัยเชิงพื้นที่ มหาวิทยาลัย 2) ด้านการพัฒนาพืน้ ที่ หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติจึงดำ�เนินการปรับปรุงและพัฒนาระบบ จากการจัดสรรทุนวิจัยของมหาวิทยาลัยให้แก่นักวิจัย บริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัย ซึ่งครอบคลุมการทำ�งาน เพื่อดำ�เนินโครงการวิจัยที่ตอบโจทย์การพัฒนาพื้นที่ ครอบคลุม วิจัยเชิงพื้นที่ โดยกำ�หนดให้มีกลไกที่สำ�คัญ 2 ระดับ คือ “คณะ ประเด็นการวิจัยที่สำ�คัญท้ังการศึกษาข้อมูลและสร้างความเข้าใจ กรรมการบริหารจัดการงานวิจัยระดับมหาวิทยาลัย” โดยร่วมมือ ในเอกลักษณ์ของปลาสลิดบางบ่อ การได้มาซึ่งข้อมูลคุณภาพ กับภาคีเครือข่าย ในการบริหารจัดการงานวิจัยที่เป็นการบูรณา รสชาติ โภชนาการและความปลอดภัยของปลาสลิดบางบ่อ และ การศาสตร์ ท้ังต้นน้�ำ กลางน้�ำ และปลายน้ำ� และ “คณะกรรมการ พัฒนาระบบรับรองคุณภาพของปลาสลิดบางบ่อ สร้างตราสินค้า บริหารจัดการงานวิจัยระดับคณะ” ในการบริหารจัดการงานวิจัย และแนวทางการพัฒนาอื่นๆ อันเป็นการสร้างองค์ความรู้ที่ส�ำ คัญ ทีเ่ ป็นความ “เชี่ยวชาญเฉพาะศาสตร์” ซึ่งบริหารจัดการทั้งต้นน้ำ� เพื่อให้ผู้ใช้ประโยชน์ในพื้นที่ได้นำ�ไปใช้ต่อไป โดยการดำ�เนิน กลางน้ำ� และปลายน้ำ� โดยมีสำ�นักพัฒนาวิชาการเป็นหน่วยงาน โครงการ ปรากฏผลการวิจัยตามกระบวนการต้นน้�ำ กลางน้ำ� และ สนบั สนนุ กลางท�ำ หนา้ ทสี่ นบั สนนุ สง่ เสรมิ และประสานงานระหวา่ ง ปลายน้�ำ ดงั นี้ กลไกระดบั มหาวทิ ยาลยั และกลไกระดบั คณะ เชน่ การอบรมพฒั นา เพื่อค้นหากรอบโจทย์วิจัย การให้คำ�ปรึกษาด้านการวิจัย การทำ� ดา้ นต้นน้ำ� สัญญาทนุ วิจยั และการบริหารงานวิจัย เป็นต้น (ภาพที่ 10) สถานการณ์ใหม่ที่เปลี่ยนแปลงด้านระบบบริหารจัดการ จากงานวจิ ยั เรอื่ ง “การศกึ ษาเปรยี บเทยี บลกั ษณะสณั ฐาน งานวิจัยของมหาวิทยาลัยทำ�ให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดีในการบริหาร วิทยาของปลาสลิดบางบ่อกับปลาสลิดแหล่งอื่นในประเทศไทย” จดั การงานวจิ ยั เชงิ พนื้ ทดี่ า้ นการจดั การตน้ น้�ำ กลางน้�ำ และปลายน้�ำ ท�ำ ใหเ้ กดิ ขอ้ คน้ พบเกยี่ วกบั สณั ฐานวทิ ยาของปลาสลดิ บางบอ่ เทยี บ อาทิ ด้านต้นน้ำ� มหาวิทยาลัยได้เรียนรู้กระบวนการค้นหาและ กับปลาสลิดแหล่งอื่นในประเทศไทย กล่าวคือ ด้านสัณฐานวิทยา พัฒนากรอบโจทย์วิจัยผ่านทักษะความรู้และเครื่องมือที่ได้รับจาก ภายนอกพบว่า ปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการที่เพาะเลี้ยงใน สกว. ที่ส่งเสริมให้ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วม อ�ำ เภอบางบ่อ อ�ำ เภอบางเสาธง และอ�ำ เภอเมือง รวมท้ังปลาสลิด เพิ่มขึ้น ด้านกลางน้ำ� มหาวิทยาลัยได้ดำ�เนินกระบวนการติดตาม จากอำ�เภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ความก้าวหน้าของงานวิจัยอย่างเป็นระบบผ่านการจัดเวทีน�ำ เสนอ คือเปน็ ปลาสลิดลายเสือ ล�ำ ตวั มีสีด�ำ เข้ม เรียวยาวซึ่งแตกต่างจาก ความก้าวหน้า ทำ�ให้ได้งานวิจัยที่มีคุณภาพ ด้านปลายน้ำ� ปลาสลดิ ในจงั หวดั สมทุ รสาคร และจงั หวดั สมทุ รสงคราม ทมี่ ลี ำ�ตวั มหาวิทยาลัยมีกระบวนการในการส่งเสริมการนำ�ผลการวิจัยไป สีเทาอมเหลือง อวบอ้วน ส่วนองค์ประกอบภายในพบว่าปลาสลิด ใช้ประโยชน์ในชุมชนเพิ่มขึ้น จากแนวปฏิบัติที่ดีข้างต้น นำ�ไปสู่ บางบ่อมีไขมันชนิดโอเมก้า 3 มากกว่าปลาจากแหล่งอื่น และพบ การออกแบบระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัยระดับ โปรตนี ในปรมิ าณใกลเ้ คยี งกนั (เพญ็ พกั ตร์ มลู ธยิ ะ และคณะ, 2561) วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

103 ABC JOURNAL ภาพที่ 10 ระบบและกลไกการบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัย จากงานวิจยั เรือ่ ง “ผลของอาหาร แพลงก์ตอน คุณภาพน้�ำ และดิน บ่อพักน้ำ�ของเกษตรกรในพื้นที่ให้เป็นบ่อบึงประดิษฐ์แบบน้ำ� ต่อคุณลักษณะทางโภชนาการแร่ธาตุในปลาสลิดจากแหล่งต่างๆ ไหลท่วมผิวช้ันกรองอย่างอิสระ โดยทำ�การปลูกพืชผสมระหว่าง ในประเทศไทย” ไม่พบการเชื่อมโยงของอาหาร แพลงก์ตอน ธปู ฤาษี บวั และหญ้าแห้ว ด้วยความหนาแน่น 16 ต้น/ตารางเมตร คุณภาพน้ำ�และดินที่มีต่อคุณลักษณะทางโภชนาการและแร่ธาตุ หรือปกคลุมผิวน้�ำ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง (เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์ และ ในปลาสลิดทีเ่ ด่นชดั (มธุรส อ่อนไทย และคณะ, 2561) จากข้อมูล คณะ, 2561) ดงั กล่าวสามารถน�ำ ไปใช้ประโยชน์ต่อการบ่งบอกถึงอตั ลกั ษณ์ของ ปลาสลิดบางบ่อที่แตกต่างจากพื้นที่อื่น สามารถนำ�ไปเป็นข้อมูล ดา้ นกลางน้ำ� ในการขึ้นทะเบียนสิง่ บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ปลาสลิดบางบ่อต่อไป ดา้ นวธิ กี ารเพาะเลยี้ ง จากงานวจิ ยั เรอื่ ง “การเปรยี บเทยี บ การวิจัยเพี่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแดดเดียวบางบ่อ ผลผลิตปลาสลิดทีเ่ ลี้ยงด้วยวิธีดั้งเดิม วิธีผสมผสาน และวิธีด้ังเดิม สู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ทำ�ให้ได้ข้อค้นพบด้านคุณภาพ เสริมหญ้าเนเปียร์” พบว่า วิธีด้ังเดิมเสริมหญ้าเนเปียร์สามารถลด คุณลักษณะทางชีวภาพ กายภาพ และเคมีของปลาสลิดแดดเดียว ต้นทุนการเพาะเลี้ยงได้เนื่องจากไม่ต้องซื้ออาหารเม็ด โดยมีอัตรา กล่าวคือ ไม่พบความผิดปกติในลักษณะทางกายภาพ ไม่พบการ การเจริญเติบโตใกล้เคียงกนั (เกษม พลายแก้ว และคณะ, 2561) ปนเปื้อนของสารวัตถุกันเสีย สีสังเคราะห์และสารฆ่าแมลง DDT งานวิจัยเรื่อง “การบำ�บัดตะกั่วและแคดเมียมในน้�ำ ที่ใช้เพาะเลี้ยง ค่าปริมาณน้�ำ อิสระ (ค่า Aw) 0.97-0.99 สูงกว่าเกณฑ์ที่มีค่า Aw ปลาสลิดบางบ่อโดยใช้บึงประดิษฐ์แบบน้ำ�ไหลท่วมผิวชั้นกรอง 0.85 และความเค็มเปอร์เซ็นต์ของเกลือที่ 1.6-3.20 ทั้งนี้ จุดที่ อย่างอิสระ” พบว่าระบบบึงประดิษฐ์ทีเ่ หมาะสม คือ การปรบั ปรุง ต้องควบคมุ กระบวนการผลิตปลาสลิดแดดเดียว คือ กระบวนการ วารสารวิจัยเพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 104 ตากปลา เพื่อช่วยลดค่า Aw ให้น้อยลงและควบคมุ ปริมาณเชื้อให้ ความดนั โลหติ เบาหวาน และอาการปวดเมอื่ ยกระดกู และกลา้ มเนอื้ เป็นไปตามมาตรฐาน โดยผู้ประกอบการจำ�นวน 2 ราย ที่มีความ จากการนั่งขอดเกล็ดปลา โดยปัจจัยที่มีผลทำ�ให้เกิดปัญหาภาวะ เป็นไปได้ในการขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) ใน สุขภาพคือ ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพยังไม่ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นอาหารแปรรูปจากปลาสลิดแดดเดียว (จำ�รูญศรี เพยี งพอ สว่ นปจั จยั เสยี่ งหรอื สงิ่ คกุ คามทางสขุ ภาพทเี่ กยี่ วเนอื่ งจาก พุ่มเทียน และคณะ, 2561) และพบว่ามหาวิทยาลัยหัวเฉียว การท�ำ งาน ได้แก่ ลกั ษณะงานทีท่ ำ�ส่วนใหญ่ ประกอบด้วย การยืน เฉลิมพระเกียรติมีศักยภาพ สามารถเป็นหน่วยปฏิบตั ิการด้านการ ตากปลา นงั่ ขอดเกลด็ ตดั หวั ปลา และยกหรือขนลงั ปลา ยกสิง่ ของ ตรวจวิเคราะห์คุณภาพปลาสลิดตามเกณฑ์ข้อกำ�หนดเบื้องต้นได้ ทีม่ ีน้�ำ หนกั เป็นประจ�ำ ลักษณะงานในท่าทางเดิมซ้�ำ ๆ ตลอดระยะ สว่ นการรา่ งเกณฑม์ าตรฐานดา้ นเอกลกั ษณ์ คณุ คา่ อาหารจากการ เวลาทำ�งาน นอกจากนี้ ยังพบอาการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุจาก แปรรปู และความปลอดภยั อาหารของผลติ ภณั ฑป์ ลาสลดิ แดดเดยี ว การทำ�งาน โดยเสนอแผนพัฒนาสุขภาพแก่โรงพยาบาลส่งเสริม น้ัน สามารถกำ�หนดเบื้องต้นได้เพียงหัวข้อคุณลักษณะที่ต้องการ สุขภาพตำ�บล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อบรรจุลงใน ของผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแดดเดียว (ปิยาภรณ์ สุภัคดำ�รงกุล และ แผนพัฒนาสุขภาพในปีต่อไป ซึ่งลักษณะโครงการมีทั้งแบบเชิงรุก คณะ, 2561) ในพืน้ ทแี่ ละแบบตงั้ รบั เพอื่ สง่ เสรมิ ปอ้ งกนั รกั ษา และฟนื้ ฟสู ขุ ภาพ ผลงานวจิ ยั ทสี่ ามารถน�ำ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ อาทิ บรรจภุ ณั ฑ์ ในการเกิดโรคเรื้อรัง และโรคหรือการบาดเจ็บจากการทำ�งาน สำ�หรบั การเก็บปลาสลิดแดดเดียว โดยใช้แผ่นดดู ซบั ของเหลวร่วม (สรุ วิทย์ นนั ตะพร และคณะ, 2561) กับซองบรรจุผิวมะกรูดในสภาวะสุญญากาศ เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ทำ�ให้คงคุณภาพปลาสลิดแดดเดียวได้นานขึ้น ดา้ นปลายน้�ำ เมื่อเปรียบเทียบกับบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แผ่นดูดซับของเหลวเพียงอย่าง เดียว โดยบรรจุภัณฑ์ต้นแบบมีลักษณะเป็นแบบ Single serve ที่ การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ตราสญั ลกั ษณ์ และกลยทุ ธ์การ สามารถนำ�ไปใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ (ชวนพิศ จิระพงษ์, 2561) ใน สื่อสารและสื่อโฆษณาของแต่ละแบรนด์เพื่อเป็นโมเดลตัวอย่าง ขณะทกี่ ารศกึ ษาเพือ่ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ไล่แมลงวนั จากสมนุ ไพรไทย และนำ�ไปทดลองผลิตใช้จริง โดยบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์ ทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสารสกัดกาบใบตะไคร้ (ความเข้มข้น ของแต่ละแบรนด์ได้รับการปรับเปลี่ยน มีรูปแบบที่สวยงาม 500 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร) ที่มีฤทธิ์ในการไล่แมลงวันและไม่ น่าเชื่อถือ มีสื่อโฆษณาที่สื่อสารอัตลักษณ์ปลาสลิดบางบ่อให้เป็น เป็นพิษต่อเซลล์เม็ดเลือดขาวของคน โดยมีต้นทุนการผลิตใน ทีร่ ู้จักมากขึ้น (ศรญั ญ์ทิตา ชนะชัยภวู พัฒน์ และ นฐั พล สง่าแสง, ราคา 73.40 บาทต่อผลิตภณั ฑ์สมุนไพร 100 มิลลิลิตร (อิสสริยา 2561) นอกจากน้ันยังได้มมุ มองของผู้บริโภคในด้านการรับรู้ ความ เอยี่ มสวุ รรณ และคณะ, 2561) นอกจากนน้ั ยงั ไดต้ อู้ บแหง้ ปลาสลดิ เข้าใจในเอกลกั ษณ์ของปลาสลิดบางบ่อ ขณะที่การศึกษาแนวทาง ที่สามารถใช้งานได้จริง ต้นทนุ ราคาอยู่ที่ 37,000 บาท แต่คณุ ภาพ การพฒั นาสงิ่ บง่ ชีท้ างภมู ศิ าสตรป์ ลาสลดิ บางบอ่ พบความสมั พนั ธ์ ของปลาที่ตากยังไม่ได้ตามมาตรฐานเพราะมีปริมาณเชื้อและค่า ของปลาสลิดกับแหล่งภูมิศาสตร์ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถ Aw สูง อาจเนื่องจากเงื่อนไขด้านอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ น�ำ ไปใชใ้ นการขนึ้ ทะเบยี นสงิ่ บง่ ชที้ างภมู ศิ าสตรไ์ ด้ (น้�ำ ผงึ้ มศี ลิ และ ภายในตู้ยงั ไม่เหมาะสม (สภุ า ศิรินาม และคณะ, 2561) คณะ, 2561) ข้อมลู ศกั ยภาพของกลุ่มสมาชิกเกษตรกรผู้เลี้ยงและ/ การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อเป็นศูนย์ หรือผู้ประกอบการแปรรูปปลาสลิดด้านการตลาด เกณฑ์ประเมิน รวมความรู้ปลาสลิดและผลิตภัณฑ์แปรรูปของพื้นที่จังหวัด ตัวชี้วัดคุณสมบัติเกษตรกรผู้ประกอบการ 4.0 (Smart Farmer สมุทรปราการ ทำ�ให้ได้ลักษณะข้อมูลที่จัดเก็บการทำ�งานที่มี 4.0) ในธุรกิจปลาสลิดและแนวทางพัฒนาศักยภาพเกษตรกรสู่ ความสอดคล้องกับการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับปลาสลิด และ การเป็นเกษตรกรผู้ประกอบการ 4.0 โดยผู้วิจยั ได้จดั ท�ำ แผนธรุ กิจ ผลิตภัณฑ์แปรรูปปลาสลิด โดยผู้ทดลองใช้ส่วนใหญ่พึงพอใจใน ทองมว้ นกา้ งปลาไฮแคลเซยี มทพี่ ฒั นาจากของเหลอื ในกระบวนการ ระดับดี ตลอดจนได้เว็บไซต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในรูปแบบ แปรรูปการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ตราสัญลักษณ์และ Responsive web design จ�ำ นวน 1 เวบ็ ไซต์ (www.zalidproducts. กลยุทธ์การสื่อสารให้ตรงตามความต้องการของตลาดเป้าหมาย com:8081) (วรนุช ปลีหจินดา และคณะ, 2561) เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้แก่ผู้เพาะเลี้ยงและ การวิจัยด้านปัญหาภาวะสุขภาพของเกษตรกรและ ผู้ประกอบการแปรรูปปลาสลิดที่เข้ามามีส่วนร่วม (พรรณราย ผู้เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงปลาสลิดบางบ่อโดยใช้แบบสอบถาม การ แสงวิเชียร และคณะ, 2561) สัมภาษณ์ และการตรวจร่างกาย พบปัญหาภาวะสุขภาพท้ังที่ การศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ชุมชนการ เกยี่ วเนอื่ งและไมเ่ กยี่ วเนอื่ งจากการทำ�งาน สงู สดุ 3 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ เพาะเลี้ยงปลาสลิดในตำ�บลคลองด่าน จังหวัดสมุทรปราการ วารสารวิจยั เพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

105 ABC JOURNAL แบบมีส่วนร่วม โดยผ่านศูนย์การเรียนรู้และแปรรูปปลาสลิด และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งกลุ่มผู้แปรรูปให้ความสนใจน�ำ ไป ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลางในตำ�บลคลองด่าน จังหวัด ใช้ประโยชน์ สมทุ รปราการ ได้กำ�หนดรปู แบบการจดั การเรียนรู้จำ�นวน 8 หวั ข้อ นอกจากนั้นแล้ว การวิจัยช่วยให้ได้ข้อมลู ทีแ่ สดงถึงคุณภาพ ทีเ่ น้นกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ และจัดทำ�เสนอให้คณะ คุณลักษณะทางชีวภาพ กายภาพ และเคมีของปลาสลิดแดด กรรมการศูนย์การเรียนรู้ ซึ่งควรมาจากตัวแทนท้องถิ่น ประกอบ เดียวตำ�บลคลองด่าน อำ�เภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ เกิด ด้วย ผู้บริหาร กรรมการและเจ้าหน้าที่ (นิก สุนธรธัย และคณะ, การพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานในการตรวจสอบรับรองคุณภาพปลา 2561) สลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์ ของปลาสลิดบางบ่อ ทำ�ให้ผู้ประกอบการเห็นถึงความสำ�คัญ ของมาตรฐานความสะอาดและปลอดภัยในข้ันตอนการแปรรูป ผลขกอรงะกทาบรแเปลละคีย่ วนาแมปยลั่งงยืน ปลาสลิดเป็นปลาสลิดตากแห้ง เกิดการเปลี่ยนแปลงในการผลิต อาหารปลอดภัย ถกู สุขลักษณะ คุณภาพดี และสร้างความมน่ั ใจให้ ผู้บริโภคมากขึ้น น�ำ ไปสู่แนวทางการผลกั ดันให้ปลาสลิดแดดเดียว บางบ่อ จังหวดั สมุทรปราการ ได้คณุ ภาพตามมาตรฐาน มผช. ซึง่ การวิจัยคร้ังนี้ ทำ�ให้เกิดผลกระทบและความยั่งยืนของการ มีผู้ประกอบการที่สามารถพฒั นาต่อยอดได้ จ�ำ นวน 2 ราย เปลีย่ นแปลง โดยเฉพาะการนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์เพือ่ ตอบ ในแง่ของภาวะสุขภาพของเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาสลิดและ โจทย์พื้นทีต่ ามห่วงโซ่เศรษฐกิจปลาสลิดบางบ่อ และยงั ผลักดนั ให้ ผู้เกี่ยวข้อง พบว่านำ�ไปสู่การจัดทำ�แผนพัฒนาสุขภาพ กิจกรรม เกดิ ชมุ ชนตน้ แบบดา้ นการเพาะเลยี้ งปลาสลดิ และแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ โครงการ และรูปแบบการดูแลส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้องค์กร ปลาสลิด 1 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนหมู่ที่ 11 ต�ำ บลคลองด่าน อำ�เภอ ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่นำ�ไปใช้ประโยชน์ในการลดปัญหา บางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งสามารถพัฒนาให้เป็นศูนย์เรียน สุขภาพที่เกิดจากการทำ�งานและมีส่วนช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตแก่ รู้ด้านการเพาะเลี้ยงและแปรรูปปลาสลิด นำ�ไปสู่การพัฒนาเป็น เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาสลิดบางบ่อและผู้ทีเ่ กีย่ วข้อง ชุมชนนวัตกรรมปลาสลิด และการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง ด้านปลายน้�ำ พบว่า ท�ำ ให้เกิดการพัฒนาเกณฑ์การประเมิน อนรุ ักษ์ปลาสลิดบางบ่อ ตัวชี้วัดคุณสมบัติเกษตรกรผู้ประกอบการ 4.0 ในธุรกิจปลา ท้ังนี้ เมื่อพิจารณาผลกระทบและความย่ังยืนของการ สลิด เพื่อนำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการต่อยอดและเพิ่มศักยภาพ เปลี่ยนแปลงที่สำ�คัญ พบว่า ในด้านต้นน้ำ�ซึ่งเน้นการเพาะเลี้ยง ผู้ประกอบการแต่ละระดับ เพื่อให้เกิดการลดต้นทุน เพิ่มรายได้ เกิดนวัตกรรมการเพาะเลี้ยงปลาสลิดโดยใช้วิธีผสมผสานและวิธี เพมิ่ ขดี ความสามารถในการประกอบธรุ กจิ ท�ำ ใหม้ ชี วี ติ ความเปน็ อยู่ ด้ังเดิมเสริมหญ้าเนเปียร์ที่สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้จริง ทำ�ให้ ที่ดีขึ้น พัฒนาสู่แผนธรุ กิจปลาสลิดและแผนกลยทุ ธ์ทางการตลาด ลดต้นทุนการผลิตประมาณ 3,200 บาทต่อไร่ เกษตรกรผู้เลี้ยง นอกจากนั้น ยังได้ข้อมูลเอกลักษณ์ของปลาสลิดบางบ่อ จังหวัด ปลาสลิดในพื้นที่ จึงมีทางเลือกในการเพาะเลี้ยงปลาสลิดเพิ่มขึ้น สมุทรปราการ ที่เกิดจากการยอมรับร่วมกันของผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ซึง่ กลุ่มเกษตรกรเพาะเลี้ยงปลาสลิดในพื้นทีไ่ ด้น�ำ วิธีการเพาะเลี้ยง สายโซ่การผลิต ที่นำ�ไปสู่การขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ดงั กลา่ วไปใชจ้ รงิ ในปจั จบุ นั นอกจากนน้ั แลว้ ยงั เกดิ ผลงานตน้ แบบ ปลาสลิดบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ ตลอดจนเกิดเว็บไซต์ ของการปรบั ปรงุ บอ่ พกั น้ำ�โดยใชร้ ะบบบงึ ประดษิ ฐแ์ บบน้ำ�ไหลทว่ ม ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จัดเก็บข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงปลา ผวิ ชนั้ กรองอยา่ งอสิ ระ เพอื่ บ�ำ บดั ตะกว่ั และแคดเมยี มในน้�ำ ทใี่ ชเ้ พาะ สลิดและร้านจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์แปรรูปปลาสลิดของตำ�บลคลอง เลี้ยงปลาสลิด ซึง่ สามารถขยายผลเพือ่ น�ำ ไปใช้ในพื้นทีจ่ ริงต่อไปได้ ด่าน อ�ำ เภอบางบ่อ จงั หวัดสมทุ รปราการ รวมถึงรูปแบบกิจกรรม ด้านกลางน้ำ� พบว่า สร้างนวัตกรรมและการใช้ประโยชน์ และแนวทางการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ปลาสลิดอย่างเป็นระบบ ต่างๆ แก่กลุ่มผู้แปรรูปปลาสลิด โดยเฉพาะนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ สามารถเปน็ แหล่งเรียนรู้ให้แก่ชุมชนและประชาชนทวั่ ไปได้ ต้นแบบสำ�หรับการถนอมคุณภาพและยืดอายุการวางจำ�หน่าย เ พื่ อ ใ ห้ ผ ล ก า ร วิ จั ย มี ค ว า ม เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น และนวัตกรรมด้านบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์เชิงอัตลักษณ์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติซึ่งเห็นความสำ�คัญของ ที่สะท้อนที่มา “ปลาสลิดบางบ่อ” ซึ่งมีผู้ประกอบการจำ�นวน ความร่วมมือจึงให้ภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมผ่าน 4 ราย นำ�ไปใช้งาน รวมทั้งได้แผนกลยุทธ์การสื่อสารแบรนด์ที่ คณะกรรมการบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่ได้พัฒนา ผู้ประกอบการน�ำ ไปใช้เพือ่ สร้างความเชื่อมน่ั ต่อผู้บริโภค ตลอดจน ระบบและกลไก เพื่อนำ�ไปสู่การสร้างการรับรู้ และการน�ำ ผลงาน เกิดการคิดค้นนวัตกรรมสมุนไพรที่มีฤทธิ์ในการไล่แมลงวัน วิจัยไปใช้ประโยชน์ ตลอดจนใช้กลไกที่มหาวิทยาลัยมีส่วนร่วม วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 106 เป็นคณะกรรมการชุดต่างๆ ในการวางแผนยุทธศาสตร์ระดับ กิตติกรรมประกาศ จังหวัดหรือคณะทำ�งานต่างๆ เช่น คณะทำ�งานสิ่งบ่งชี้ทาง ภูมิศาสตร์ปลาสลิดบางบ่อ คณะอนุกรรมการพัฒนาเกษตรและ สหกรณ์จังหวัดสมุทรปราการ ความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง งานวจิ ยั นีไ้ ดร้ บั การสนบั สนนุ จากส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ กับสำ�นักงานสหกรณ์ การวิจัย ประเภททุนโครงการวิจัยท้าทายไทยและโครงการวิจัย จังหวัดสมุทรปราการในโครงการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จังหวัด ตอบสนองนโยบายเป้าหมายรัฐบาลตามระเบียบวาระแห่งชาติ สมุทรปราการ เป็นต้น เพื่อเป็นกลไกที่เสริมการทำ�งานและ ปี 2559 สัญญาทุนเลขที่ RDG61A0016 มหาวิทยาลัยหัวเฉียว ผลักดันงานวิจัยของมหาวิทยาลัยให้สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ เฉลิมพระเกียรติขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิจาก สกว. ประกอบด้วย อย่างยั่งยืน สอดคล้องกับปณิธานของมหาวิทยาลัย ซึ่งแม้จะเป็น ดร.สีลาภรณ์ บัวสาย ดร.กิตติ สัจจาวัฒนา อาจารย์สปุ ราณี จงดี สถาบันอุดมศึกษาเอกชน แต่ก็ไม่ละทิ้งบทบาทของการเป็นแหล่ง ไพศาล และที่ปรึกษาโครงการวิจัย ประกอบด้วย ศาสตราจารย์ เรียนรู้และเปน็ แหล่งพึ่งพิงแก่ชมุ ชนในพื้นที่ และพร้อมทีจ่ ะปรับตวั ดร.วราวฒุ ิ ครูส่ง ศาสตราจารย์ ดร. ยุบล เบญ็ จรงค์กิจ และรอง ให้ก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบท้ังต่อมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ศกั ดิ์ชัย ชโู ชติ ส�ำ หรบั ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ใน และต่อชุมชนในพื้นที่ เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยรับใช้พื้นที่ การด�ำ เนินการวิจัย ขอขอบคณุ นกั วิจัย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับงาน อย่างแท้จริง วิจยั ทุกท่านทีใ่ ห้การสนับสนนุ จนกระท่งั โครงการวิจัยส�ำ เรจ็ ลุล่วง บรรณานุกรม กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2558). สถิติผลผลิตการเลี้ยงสัตว์น้�ำ จืด ประจำ�ปี 2556. เอกสารฉบับที่ 5/2558. สืบค้นเมือ่ 28 มกราคม 2560, จาก https://www.fisheries.go.th/strategy- /document-public. เกษม พลายแก้ว, ศิริวรรณ ตนั ตระวาณิชย์, สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา, บณุ ฑริกา ทองดอนพุ่ม, วัลวิภา เสืออุดม, พรชนก ประชุมพันธ์ุ, ... ปรีชา สมานมิตร. (2561). การเปรียบเทียบผลผลิตปลาสลิดที่เลี้ยงด้วยวิธีด้ังเดิม วิธีผสมผสาน และวิธีดั้งเดิมเสริมหญ้าเนเปียร์. (รายงานวิจยั ฉบบั สมบูรณ์). กรุงเทพฯ: ส�ำ นกั งานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั . จ�ำ รญู ศรี พุ่มเทียน, ปิยาภรณ์ สุภคั ดำ�รงกลุ , เกษม พลายแก้ว, สุรีย์พร เอีย่ มศรี, ยิง่ เจริญ คูสกลุ รตั น์, สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ และ อมุ า รัตนเทพี. (2561). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปลาสลิดแดดเดียวบางบ่อสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน. (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: สำ�นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจยั . ชวนพิศ จิระพงษ์, อลิษา สนุ ทรวัฒน์, ชัยรัตน์ เตชวุฒิพร, พรพิมล กาญจนวาศ และ ปิยนนั ท์ น้อยรอด. (2561). การเปลี่ยนแปลงคุณภาพ ปลาสลิดแดดเดียวภายใต้บรรจุภัณฑ์แอคทีฟ: กรณีศึกษาของแผ่นดูดซับของเหลวร่วมกับการใช้ผิวมะกรูด. (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจัย. ชัยรตั น์ เตชวฒุ ิพร, พรพิมล กาญจนวาศ, อลิษา สุนทรวฒั น์ และ ชวนพิศ จิระพงษ์. (2561). บรรจภุ ณั ฑ์สญุ ญากาศสำ�หรับปลาสลิดแดดเดียว. (รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์). สมุทรปราการ: มหาวิทยาลยั หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. เทอดพงศ์ ศรีสขุ พนั ธุ์, ยิ่งเจริญ คสู กุลรัตน์, ชฎาภรณ์ ประสาทกุล และ ปรีชา สมานมิตร. (2561). การบำ�บดั ตะกัว่ และแคดเมียมในน้�ำ ทีใ่ ช้ เพาะเลี้ยงปลาสลิดบางบ่อโดยใช้บึงประดิษฐ์แบบน้ำ�ไหลท่วมผิวช้ันกรองอย่างอิสระ. (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: สำ�นักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย. นิก สนุ ธรธัย, สกุ ฤตาวฒั น์ บ�ำ รงุ พานิช, ใจบุญ แย้มยิ้ม, กชพร ขวัญทอง และ อญั ชลุ ี สุภาวุฒิ. (2561). การพฒั นารูปแบบการจัดการเรียนรู้ศนู ย์ การเรียนรู้และแปรรูปปลาสลิดของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ในต�ำ บลคลองด่าน จงั หวดั สมทุ รปราการ แบบมีส่วนร่วม. (รายงานวิจัย ฉบบั สมบรู ณ์). กรงุ เทพฯ: ส�ำ นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. น้ำ�ผึ้ง มีศิล, นวลใย วัฒนกูล และ ศิรินทร์พร ธารมตั ิ. (2561). เอกลักษณ์ของปลาสลิดในมมุ มองของผู้ที่เกีย่ วข้องกบั สายโซ่การผลิตของจังหวดั สมุทรปราการและแนวทางการพัฒนาสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ปลาสลิดบางบ่อ. (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทุน สนบั สนนุ การวิจยั . ปยิ าภรณ์ สภุ ัคดำ�รงกลุ , จ�ำ รญู ศรี พุ่มเทียน, ศิริวรรณ ตนั ตระวาณิชย์, สรุ ีย์พร หอมวิเศษวงศา, อลิศรา พรายแก้ว, เกษม พลายแก้ว, ... รังสรรค์ วงษ์บุญหนัก. (2561). การศึกษาความเป็นไปได้ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติในการเป็นหน่วยงานรับรองมาตรฐานคุณภาพ อาหารปลาสลิดแดดเดียวบางบ่อ. (รายงานวิจยั ฉบับสมบรู ณ์). กรุงเทพฯ: ส�ำ นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

107 ABC JOURNAL พรพิมล กาญจนวาศ, ชุตาภา คุณสุก, อลิษา สุนทรวัฒน์, สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ, เดชาวุธ นิตยสุทธิ และ วิภาวรรณ วิทยกฤตศิริกุล. (2559). การศึกษาลักษณะสณั ฐานวิทยาและความหลากหลายของปลาสลิดในประเทศไทย. (รายงานวิจยั ฉบับสมบรู ณ์). สมทุ รปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. พรรณราย แสงวิเชียร, ชตุ ิระ ระบอบ, พิมสิริ ภู่ตระกลู , แววมยรุ า คำ�สขุ , มรกต ก�ำ แพงเพชร, บรรเจิดศกั ดิ์ สณั หภกั ดี, ... ณภทั ร ศรีนวล. (2561). การสรา้ งความสามารถการแขง่ ขนั ของผปู้ ระกอบการปลาสลดิ บางบอ่ ในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 ดว้ ยแผนธรุ กจิ เพอื่ เพมิ่ มลู คา่ ผลติ ภณั ฑป์ ลาสลดิ แปรรูปตามความต้องการของผู้บริโภค. (รายงานวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์). กรงุ เทพฯ: ส�ำ นักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจัย. เพ็ญพกั ตร์ มูลธิยะ, ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ, พชั รี กัมมารเจษฎากลุ , ปัญจพร นิม่ มณี และ อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ. (2561). การศึกษา เปรียบเทียบลักษณะสัณฐานวิทยาของปลาสลิดบางบ่อกับปลาสลิดแหล่งอื่นในประเทศไทย. (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: สำ�นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั . มธรุ ส อ่อนไทย, กรรณิการ์ แก้วกิ้ม, วลั วิภา เสืออดุ ม, ตติภรณ์ ภัทรานุรกั ษ์โยธิน และ ครรชิต จดุ ประสงค์. (2561). ผลของอาหาร แพลงก์ตอน คณุ ภาพน้�ำ และดนิ ตอ่ คณุ ลกั ษณะทางโภชนาการแรธ่ าตใุ นปลาสลดิ จากแหลง่ ตา่ งๆ ในประเทศไทย. (รายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ)์ . กรงุ เทพฯ: สำ�นกั งานกองทุนสนับสนนุ การวิจยั . วรนุช ปลีหจินดา, ยวุ ธิดา ชิวปรีชา และ เปรมรตั น์ พูลสวสั ดิ์. (2561). การพัฒนาระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์เพือ่ เปน็ ศนู ย์รวมความรู้ปลาสลิด และผลิตภัณฑ์แปรรูปของพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ. (รายงานวิจัยฉบับสมบรู ณ์). กรงุ เทพฯ: สำ�นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย. วราภรณ์ บญุ เชียง. (ม.ป.ป.) การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR) มิติใหม่ของรูปแบบวิธีวิจัยเพือ่ การ พฒั นาชุมชนระดับท้องถิ่น. สืบค้นเมือ่ 26 ธนั วาคม 2560, จาก http://www.crc.ac.th/2015/pdf/การวิจยั เชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม.pdf. วากเนอร์, โยส. (บรรณาธิการ). (2552). คู่มือสานเสวนาและการปฏิบตั ิงานร่วมกนั . กรงุ เทพฯ: มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท ประเทศไทย. ศรญั ญ์ทิตา ชนะชยั ภูวพฒั น์ และ นฐั พล สง่าแสง. (2561). การพัฒนาบรรจภุ ณั ฑ์ ตราสญั ลักษณ์ แผนกลยทุ ธ์การสื่อสารปลาสลิดบางบ่อ โดย กระบวนการสือ่ สารอย่างมีส่วนร่วมของกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงและผู้ประกอบการ. (รายงานวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์). กรงุ เทพฯ: ส�ำ นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจัย. ศิริวรรณ ตนั ตระวาณิชย์, ชชั วาลย์ ช่างท�ำ , ยคุ ลธร สถาปนศิริ, วิภาพรรณ ชนะภกั ดิ,์ พิมพ์ภคั ภทั รนาวิก และ ดิเรก พนิตสภุ ากมล. (2561). การ ส�ำ รวจการผลิตและการตลาดปลาสลิด ต�ำ บลคลองด่าน อ�ำ เภอบางบ่อ จงั หวดั สมทุ รปราการ. (รายงานวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์). สมทุ รปราการ: มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ. สภุ า ศิรินาม, รงั สรรค์ โกญจนาทนิกร และ ณฐั พร นันทจิระพงศ์. (2561). การพัฒนาตู้อบแห้งปลาสลิด. (รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพฯ: สำ�นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจัย. สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา, กรรณิการ์ แก้วกิ้ม, อัจจนา ขำ�ทิพย์, นันท์นภัส ลายทิพย์, เกษม พลายแก้ว และ ชัชวาลย์ ช่างทำ�. (2559). การ ปนเปื้อนโลหะหนักในน้�ำ ดินตะกอนและปลาสลิดในบ่อเลี้ยงปลาสลิด ต�ำ บลคลองด่าน อ�ำ เภอบางบ่อ จงั หวดั สมุทรปราการ. (รายงานวิจยั ฉบบั สมบรู ณ์). สมุทรปราการ:มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ. สรุ วิทย์ นันตะพร, ภาวดี ช่วยเจริญ, ชมพนู ุท สินธพุ ิบูลยกิจ, กรวิภา วิกัยนภากุล, ศราวธุ สทุ ธิรตั น์, ศิรินันท์ จนั ทร์หนัก, ... ธัญพร เจเถือ่ น. (2561). การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพของเกษตรกรและผู้เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงปลาสลิดบางบ่อแบบมีส่วนร่วม. (รายงานวิจัยฉบับ สมบูรณ์). กรุงเทพฯ: ส�ำ นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั . อิสสรยิ า เอีย่ มสวุ รรณ, สวุ รรณา เสมศร,ี ฐรณิ ี หอระตะ, วชิ าญ จนั ทรว์ ทิ ยานชุ ิต, อรญั ญา จตุ วิ บิ ลู ย์สขุ , ภรู ติ ธนะรงั สฤษฎ์ และ คม สคุ นธสรรพ์. (2561). การพฒั นาผลิตภัณฑ์ไล่แมลงวันจากสมนุ ไพรไทย. (รายงานวิจยั ฉบบั สมบูรณ์). กรุงเทพฯ: ส�ำ นกั งานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . Jirapong, C., Soontornwat, A., Kanjanavas, P., & Techavuthiporn, C. (2016). Extraction and characterization of gelatin from Snakeskin gourami (Trichogasterpectoralis) scale. International Congress on, Chemical, Biological and Environmental Sciences (ICCBES2016). Osaka, Japan. Kanjanavas, P., Techavuthiporn, C., Soontornwat, A., & Jirapong, C. (2016). Change in physicochemical and microbiological quality of salted Sapet-siam fish. International conference on life science and biological engineering (LSBE2016). Kyoto, Japan. วารสารวิจัยเพือ่ การพัฒนาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

กระบวนการ ระบบ และรูปแบบวฒั นธรรมการออม ชมุ ชนบา้ นทา่ ดินแดงออก จังหวดั พัทลงุ บทความวิจยั วนั ชยั ธรรมสัจการ1,* อศั วลักษ์ ราชพลสิทธิ2์ องั คณา ธรรมสัจการ3 พรนค์พิเชฐ แหง่ หน4 1คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ อำ�เภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา 90110 วนั ที่รับบทความ: 2ศนู ยก์ ารศกึ ษาทางเลอื กเพอ่ื การสง่ เสรมิ อาชพี การพฒั นาองคก์ รและชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยนื โรงเรยี นบา้ นในสวน 8 มกราคม 2562 ต�ำ บลวังใหม่ อำ�เภอป่าบอน จังหวดั พัทลุง 93170 3คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา อ�ำ เภอเมืองสงขลา จังหวดั สงขลา 90000 วนั แกไ้ ขบทความ: 4มลู นิธิหลวงปู่สงฆ์จนั ทสโรเพื่อการวิจัย อำ�เภอเมืองชุมพร จังหวัดชมุ พร 86000 13 เมษายน 2562 *ผเู้ ขียนหลัก อีเมล: [email protected] วันตอบรับบทความ: 18 เมษายน 2562 บทคัดย่อ ที่มีบทบาทสำ�คัญในการเสริมความรู้ความ สามารถ การเป็นมนุษย์ทีส่ มบรู ณ์ 2) องค์ความรู้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา และภมู ปิ ญั ญา เปน็ ทรพั ยท์ มี่ คี ณุ คา่ ตอ่ การดำ�เนนิ กระบวนการระบบและรปู แบบวฒั นธรรมการออม ชีวิตในชุมชน เช่น การปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์ ของชุมชนบ้านท่าดินแดงออก อำ�เภอป่าบอน และ 3) วิธีการถ่ายทอด เป็นกระบวนการสือ่ สาร จังหวัดพัทลุง เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ ท้ัง ระหวา่ งกนั เพอื่ ใหร้ บั รถู้ งึ คณุ คา่ การออม เชน่ การ การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการกึ่งโครงสร้าง ปฏิบัติให้เห็นเป็นตัวอย่าง การเล่าเรื่อง การฝึก การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกต จากผู้ให้ ให้ปฏิบัติ และรูปแบบวัฒนธรรมการออม มี 5 ขอ้ มลู หลกั ทเี่ ปน็ ผนู้ �ำ ชมุ ชน คณะท�ำ งานแผนแมบ่ ท รปู แบบ ได้แก่ 1) การออมทรพั ย์แบบปศสุ ัตว์ เช่น ชมุ ชน ปราชญ์ชาวบ้าน แกนน�ำ เดก็ และเยาวชนที่ การเลยี้ งววั หมู ไก่ ปลาดกุ 2) การออมทรพั ยแ์ บบ เข้าร่วมกิจกรรม จำ�นวน 23 คน วิเคราะห์ข้อมูล กสกิ รรม เชน่ ท�ำ นา สวนยางพารา สวนผสมผสาน เชงิ เนือ้ หา และน�ำ เสนอในลกั ษณะพรรณนาความ 3) การออมทรัพย์แบบอสังหาริมทรัพย์และวัตถุ ผลวิจัยพบว่า กระบวนการออมทรัพย์ มี 4 ทีม่ ีมูลค่า เช่น ที่ดิน ทองคำ� พระเครือ่ งและวัตถุ ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสร้างความตระหนัก เกิด โบราณ 4) การออมทรัพย์แบบปัญญา เช่น เข้า จากการกล่อมเกลาจากครอบครัว 2) ปฏิบัติการ รว่ มประชมุ ฝกึ อบรม ศกึ ษาดงู าน อา่ นหนงั สอื และ ออมทรัพย์ เกิดขึ้นได้หลากหลายตามบริบทของ 5) การออมทรพั ยแ์ บบเงนิ เหรยี ญและธนบตั ร เชน่ ครอบครัว เช่น ออมความรู้จากโรงเรียน หลัก เกบ็ เงินในกระปกุ ออมสิน การเล่นแชร์ เงินสจั จะ คำ�สอนทางศาสนา 3) การขยายกิจกรรมออม ซงึ่ ความรนู้ จี้ ะเปน็ ขอ้ มลู เพอื่ ใชส้ ง่ เสรมิ พฤตกิ รรม ทรัพย์ เช่น ปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ และ 4) การ การออมของคนในชุมชนต่อไป ถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาการออม เช่น นำ�ความรู้ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน ระบบ คำ�สำ�คัญ: จังหวัดพัทลุง บ้านท่าดินแดงออก วฒั นธรรมการออม มี 3 ระบบ ได้แก่ 1) สถาบนั กระบวนการออมทรพั ย์ ระบบวฒั นธรรมการออม ทางสังคม เช่น ครอบครวั วัด โรงเรียน เป็นหน่วย รูปแบบวฒั นธรรมการออม วารสารวิจัยเพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 หน้า 108-122

Process, System and Styles of Savings Culture in Banthadindang-og Community, Phatthalung Province Research Article Wanchai Dhammasaccakarn1,*, Atsawaluk Ratchapolsit2, Angkana Dhammasajjakan3, Pornpichet Hanghon4 Received: 8 January 2019 1Faculty of Liberal Arts, Prince of Songkla University, Hat Yai, Songkhla Province, Thailand 90110 2Alternative Education Center for Career Promotion, Sustainable Community and Organization Development, Revised: Bannaisuan School, Wangmai Sub-district, Pabon District, Phatthalung Province, Thailand 93170 13 April 2019 3Faculty of Management Science, Songkhla Rajabhat University, Muang District, Songkhla Province, Thailand 90000 Accepted: 4Luangpusong Jantasaro for Researce Foundation, Muang Districe, Chumphon Province, Thailand 86000 18 April 2019 *Corresponding author’s E-mail: [email protected] Abstract a valuable asset when living in a community; such as, knowledge on plantation and animal The objectives of this research are to study farming. Thirdly, transfer of knowledge and the processes, systems and styles of savings wisdom is important as a communication process culture for children and youth in Banthadindang-og among community members in order to recognize community, Pabon district, Phatthalung province. thevalueofsaving;forexample,bydemonstrating, Data are collected by interviews (informal, semi- storytelling and training. Part III: saving culture structured and in-depth) and observations from styles, consists of 5 styles. The first style is 23 key informants who are community leaders, through animal husbandry such as raising cow, community master plan staff, villagers, and pigs, chickens, and catfish. The second style children and youth leaders, who have participated is agricultural savings such as farming, rubber in the activity. Content analysis is then conducted plantation, and eclectic gardening. The third and results are presented in descriptive format. style is by possessing real estate and valuable The findings of the Part I - saving process - objects savings, such as land, gold, amulets and reveal 4 steps: 1) raising awareness by parents ancient objects. The fourth style is intellectual and family; 2) saving practice, depending on savings such as attending meetings, training individuals’ context, such as children learning on courses, study visits, and reading. The fifth style savings from the school and religious doctrine; involves monetary savings, such as collecting 3) expansion of savings in multi-dimensional coins and banknotes in a piggy bank, playing activities, such as planting trees and animal share, and promise money savings. For further husbandry; and 4) knowledge transfer, such as promotion of saving behavior, the knowledge and sharing knowledge with friends. Part II: saving findings from the study will be disseminated to culture systems refer to the 3 major domains. the community. Firstly, social institution, such as family, temple, school, plays an important role in disseminating Keywords: Phatthalung province, Banthadindang knowledge and nurturing a complete human -og community, Savings process, Savings being. Secondly, knowledge and wisdom is culture systems, Saving culture styles Area Based Development Research Journal ===== Vol. 11 No. 2 pp. 108-122

110 ABC JOURNAL บทน�ำ พิจารณาของนักวิชาการซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ที่แตกต่าง กันตามข้อค้นพบ “วัฒนธรรม” เป็นคำ�ซึ่ง พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่น ส�ำ หรบั สถานการณก์ ารออมในประเทศไทย ผลวจิ ยั พบวา่ อยู่ นราธปิ พงศป์ ระพนั ธท์ รงบญั ญตั ขิ นึ้ และมหี ลกั ฐานทางการครง้ั แรก ในสถานการณ์น่าเปน็ ห่วง โดยเฉพาะเมือ่ พิจารณาจากความยง่ั ยืน ในปี พ.ศ. 2483 โดยทรงแปลมาจากภาษาองั กฤษคอื Culture ซงึ่ เปน็ ของกองทนุ การออม พบวา่ ประเทศไทยมดี ชั นคี วามยง่ั ยนื ของระบบ ค�ำ ที่มาจากภาษาลาตินว่า Cultula อันหมายถึง การเพาะปลูกหรือ บ�ำ นาญ (The Allianz Pension Sustainability Index, PSI) อยูใ่ นระดบั การปลูกฝงั (เสถียรโกเศศ, 2525) โดยพระราชบัญญัติวัฒนธรรม ต่ำ�ที่สุดของเอเชียและของโลก จาก 50 ประเทศ (อนพัทย์ หนองคู แห่งชาติ พ.ศ. 2485 (พระราชบญั ญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2485) และ พรวรรณ นันทแพทย์, 2559) ซึง่ มีผลท�ำ ให้ผู้เกษียณอายจุ าก ใหค้ วามหมาย “วฒั นธรรม หมายถงึ ลกั ษณะทแี่ สดงถงึ ความเจรญิ การทำ�งานมีความเสี่ยงที่จะมีเงินไม่พอใช้จ่ายในการดำ�เนินชีวิต งอกงาม ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความกลมเกลียวก้าวหน้า ข้อมลู ดงั กล่าวสะท้อนให้เหน็ สถานการณ์การออมของประชากรใน ของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน” และในปัจจุบนั พระราช ระบบ ในขณะทขี่ อ้ มลู ดา้ นการออมของประชากรนอกระบบทอี่ าศยั บัญญตั ิวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2553 (พระราชบญั ญตั ิวัฒนธรรม อยใู่ นชมุ ชนตา่ งๆ มกี ารศกึ ษาวจิ ยั คอ่ นขา้ งนอ้ ย ชมุ ชนบา้ นทา่ ดนิ แดง แหง่ ชาต,ิ 2553) ใหค้ วามหมาย “วฒั นธรรม หมายถงึ วถิ กี ารด�ำ เนนิ ออก หมู่ที่ 4 ตำ�บลวงั ใหม่ อ�ำ เภอป่าบอน จงั หวัดพทั ลงุ เป็นชุมชน ชีวิต ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม จารีตประเพณี พิธีกรรม และ ทมี่ อี งคก์ รการเงนิ หลากหลาย มที ง้ั กลมุ่ ออมทรพั ย์ กองทนุ หมบู่ า้ น ภมู ิปัญญา ซึ่งกลุ่มชนและสังคมได้ร่วมสร้างสรรค์ สง่ั สม ปลกู ฝงั การเลน่ แชรใ์ นหมชู่ าวบา้ น อกี ทงั้ ในโรงเรยี นมกี จิ กรรมการออมของ สืบทอด เรียนรู้ ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลง เพือ่ ให้เกิดความเจริญ เด็กนักเรียนโดยการสนับสนุนของผู้บริหารและคณะครู นอกจาก งอกงาม ทงั้ ดา้ นจติ ใจและวตั ถุ อยา่ งสนั ตสิ ขุ และยง่ั ยนื ” จงึ สรปุ ไดว้ า่ นี้ ได้มีการจัดตั้ง “ศูนย์การจัดการศึกษาทางเลือก เพื่อการส่ง วฒั นธรรม หมายถงึ ทกุ สิง่ ทกุ อยา่ งทมี่ นษุ ยค์ ิดประดษิ ฐ์ขึน้ เพือ่ ชว่ ย เสริมอาชีพ การพัฒนาองค์กร และชุมชนอย่างยั่งยืน” ภายใต้ชื่อ ในการด�ำ รงชีวิต อาจเป็นวตั ถุสิ่งของ ความรู้ เทคนิควิธีการ ตลอด “โรงเรียนบ้านในสวน” อันเป็นโรงเรียนที่จัดต้ังขึ้นตามแนวคิดการ จนกฎระเบียบข้อบังคับ ความประพฤติ ขนบธรรมเนียมประเพณี จดั การศกึ ษาทางเลอื ก เพอื่ เปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ และเยาวชนในพนื้ ที่ ได้ ค่านิยม จริยธรรม ศาสนา ความเชือ่ ศิลปหตั ถกรรม เปน็ ต้น สิง่ มสี ทิ ธเิ์ ลอื กเรยี นรแู้ ละมสี ถานทเี่ พอื่ การเรยี นรตู้ ามทตี่ นเองประสงค์ ทั้งหลายเหล่านี้จะเป็นวัฒนธรรมได้ก็ต่อเมื่อคนส่วนใหญ่ในกลุ่ม อยากจะเรยี นรู้ และจดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งระบบวฒั นธรรมการออม สงั คมเดียวกันเห็นชอบและรบั ไปใช้ร่วมกัน จึงเปน็ แบบแผนวิถีชีวิต ของเด็กและเยาวชน ดำ�เนินการโดยศูนย์จัดการศึกษาทางเลือก ความเปน็ อยู่ของคนในสงั คมหนึ่งๆ ซึ่งคนในสังคมอืน่ อาจจะเหน็ ว่า โรงเรยี นบา้ นในสวน ดงั นน้ั งานวจิ ยั นจี้ งึ เปน็ การถา่ ยทอดวฒั นธรรม ดีหรือไม่กต็ าม การออมของชุมชน ซึง่ ช่วยให้เกิดความรู้ความเข้าใจในวิถีการออม “การออม” เป็นการควบคุมพฤติกรรมการใช้จ่าย มีความ ที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาในชุมชน อันจะเป็นข้อมูลสำ�คัญในการส่ง ประหยัดระมัดระวังการใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมแก่ฐานะของ เสริมพฤติกรรมการออมในประชาชนนอกระบบ ซึ่งเป็นประชากร ตนเอง เป็นความพยายามหักห้ามใจหรือการควบคุมสติอารมณ์ กลุ่มใหญ่ของประเทศ และเชือ่ ว่าจะมีความเสีย่ งด้านการออมและ ของจิตใจ (กุลิสรา กฤตวรกาญจน์, 2549) ซึ่งพจนานุกรม ฉบับ มีปัญหาการมีเงินไม่พอใช้จ่ายในการดำ�เนินชีวิตมากกว่ากลุ่ม ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (ฉบับออนไลน์) ให้ความหมายของ ประชาชนในระบบ คำ�ว่า “ออม” หมายถึง เกบ็ หอมรอมริบ เช่น ออมทรพั ย์ ออมสิน, ถนอมหรือสงวน เช่น ออมแรง ลักษณะการออมมีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับบริบทแวดล้อมของบุคคลในชุมชนแห่งนั้น ซึ่งมีความคิด วิธีดำ�เนินการวิจยั ความเชื่อ ค่านิยม เปน็ เช่นไรย่อมส่งผลต่อรูปแบบการออมเป็นเช่น นั้น สามารถสรปุ ได้ว่าลกั ษณะการออมมี 2 รปู แบบ ได้แก่ การออม ในรูปของสินทรัพย์ทางการเงิน และการออมในรูปของสินทรัพย์ที่ 1) พนื้ ทวี่ จิ ยั และผใู้ หข้ อ้ มลู หลกั ไดแ้ ก่ ชมุ ชนบา้ นทา่ ดนิ แดง ไม่ใช่เงิน หรือการออมในรูปของสินทรัพย์ถาวร (วันดี หิรัญสถาพร ออกหมทู่ ี่4ต�ำ บลวงั ใหม่อ�ำ เภอปา่ บอนจงั หวดั พทั ลงุ เปน็ ชมุ ชนชนบท และคณะ, 2558; ศริ ริ ตั น์ ศรพี นม, 2559; วโิ รจน์ เจษฎาลกั ษณ์ และ ทมี่ จี �ำ นวนประชากรในชมุ ชนทงั้ หมด 1,114 คน จ�ำ นวน 298 ครวั เรอื น ธนภรณ์ เนือ่ งพลี, 2561) นอกจากนี้ จากการทบทวนวรรณกรรม โดยเลือกผู้ให้ข้อมลู หลกั แบบเจาะจง เฉพาะผู้น�ำ ชุมชน ผู้รู้ และผู้ที่ เกี่ยวกับรูปแบบการออม พบว่า การนิยามหรือให้ความหมาย มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั กระบวนการเสรมิ สรา้ งระบบวฒั นธรรมการออม ของรูปแบบการออมนั้น ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ในการเลือก แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้นำ�ชุมชนและคณะทำ�งานแผนแม่บท วารสารวิจยั เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 111 ชุมชน จำ�นวน 5 คน 2) ปราชญ์ชาวบ้าน ทีเ่ ป็นผู้รู้และอาศยั อยู่ใน กึง่ โครงสร้าง การสมั ภาษณ์เชิงลึก และการสังเกต โดยท�ำ การจด ชุมชนมายาวนาน อาทิ ผู้สงู อายุที่สามารถให้ข้อมลู ได้ ปราชญ์ชาว บันทึกภาคสนาม และแบบสามเส้าด้านข้อมลู คือ ตรวจสอบแหล่ง บ้านด้านยาสมนุ ไพร และผู้ปกครอง จำ�นวน 14 คน และ 3) แกนน�ำ ของข้อมูลบุคคล ได้แก่ การสมั ภาษณ์เชิงลึกข้อมลู ชดุ เดียวกันจาก เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมสร้างระบบวัฒนธรรมการ ผู้ให้ข้อมลู หลักที่แตกต่างกัน เช่น ผู้วิจยั สัมภาษณ์ผู้ปกครอง และ ออม จ�ำ นวน 4 คน รวม 23 คน สัมภาษณ์เยาวชน แล้วนำ�ข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน เพื่อหาความ 2) เครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) การ สอดคล้องและความต่างในประเดน็ ทีส่ นใจ และเพือ่ เป็นการยืนยนั สมั ภาษณแ์ บบไมเ่ ปน็ ทางการ เปน็ การพดู คยุ มกี ารกำ�หนดประเดน็ ผลจากการสมั ภาษณ์ ไว้ล่วงหน้า มีบรรยากาศการพูดคุยเป็นกันเอง ไม่เคร่งครัดกับ 5) การวิเคราะห์ขอ้ มลู ได้แก่ 1) การจัดระเบียบข้อมูล เป็น ข้ันตอนและการตอบคำ�ถาม 2) การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง กระบวนการจัดการเพื่อทำ�ให้ข้อมูลมีความพร้อมในการวิเคราะห์ เป็นการสัมภาษณ์ที่มีการเตรียมคำ�สำ�คัญ เนื้อหาเฉพาะมาใช้ใน พร้อมแสดงและนำ�เสนออย่างเป็นระบบ สำ�หรับการจัดระเบียบ การสัมภาษณ์ เปิดโอกาสให้ผู้ถูกสัมภาษณ์พูดเนื้อหาอื่น แต่มี ข้อมูลการวิจัยในคร้ังนี้มีการนำ�ข้อมูลเกี่ยวกับการวิจัย จำ�แนก ความเกี่ยวข้องกับประเด็นที่ผู้วิจัยต้องการ 3) การสัมภาษณ์เชิง ประเดน็ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั ด้วยเทคนคิ การกรอกขอ้ มลู ลึก เป็นการซักถามพูดคุยแบบมีจุดมุ่งหมาย โดยใช้ประเด็นหรือ ลงตาราง ซึง่ มีการจดั แบ่งออกเปน็ ประเดน็ หลกั ส�ำ คญั และประเดน็ แนวคำ�ถามกว้างๆ เพื่อกระตุ้นให้ผู้ถูกสมั ภาษณ์เล่าเรื่องราวอย่าง ย่อยก่อนการแสดงข้อมูล 2) การแสดงข้อมูล เปน็ กระบวนการน�ำ มีเป้าหมาย ตัวอย่างค�ำ ถาม เช่น “ทุกวนั นี้ในครอบครวั ของท่าน มี เสนอข้อมูล ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของการพรรณนา อันเป็นผลมา การออมหรือไม่? ท่านเข้าใจว่าการออมหมายถึงอะไร?” “ท่านได้ จากการเชื่อมโยงข้อมูลที่จัดระเบียบแล้วเข้าด้วยกัน ตามกรอบ ถา่ ยทอดเรอื่ งการออมใหก้ บั ลกู หลานหรอื ไม่ อยา่ งไร?” เปน็ ตน้ และ แนวคิดในการวิเคราะห์ เพื่อบอก “เรื่องราว” ของสิ่งที่ศึกษาตาม 4) การสังเกตจากการลงพื้นทีภ่ าคสนาม เปน็ การใช้ประสาทสัมผัส ความหมายที่ข้อมูลซึ่งได้ถูกจัดระเบียบไว้ดีแล้ว “พูด” ออกมา โดยเฉพาะการเหน็ และการฟัง เฝ้าติดตามดสู ิ่งทีเ่ กิดขึ้นอย่างใส่ใจ สำ�หรับการวิจัยครั้งนี้ได้นำ�ข้อมูลที่บันทึกไว้มาพรรณนาบอกเป็น และมรี ะเบยี บวธิ ี เพอื่ วเิ คราะหแ์ ละหาความสมั พนั ธข์ องสงิ่ ทเี่ กดิ ขึน้ เรื่องราว เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงระบบวัฒนธรรมการออมสำ�หรับ กบั สงิ่ อนื่ ในประเดน็ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทำ�ใหเ้ หน็ กจิ กรรมการออมทเี่ กดิ ขึน้ เด็กและเยาวชน และ 3) การหาข้อสรุป การตีความ และการตรวจ ในครวั เรือนและชมุ ชน สอบความถูกต้องตรงประเดน็ ของผลการวิจยั เป็นกระบวนการหา 3) เทคนิคการเข้าถึงข้อมูล ได้แก่ 1) การสร้างความ ขอ้ สรปุ และตคี วามหมายหรอื ผลขอ้ คน้ พบทไี่ ดจ้ ากการแสดงขอ้ มลู สมั พนั ธก์ บั กลมุ่ ผใู้ หข้ อ้ มลู เปน็ ขน้ั ตอนแรกทผี่ วู้ จิ ยั ลงพนื้ ทภี่ าคสนาม รวมถึงการตรวจสอบว่าข้อสรปุ /ความหมายที่ได้นั้นมีความถกู ต้อง และแนะนำ�ตัวเพื่อทำ�ความสนิทสนมกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลก่อนการ ตรงประเดน็ และน่าเชือ่ ถือเพียงใด ข้อสรปุ และสิง่ ที่ตีความออกมา สัมภาษณ์ 2) การสมั ภาษณ์เชิงลึก โดยมีแนวทางการสัมภาษณ์เชิง นั้นอาจจะอยู่ในรูปของคำ�อธิบาย กรอบแนวคิด หรือทฤษฎีของ ลึกทีส่ ร้างขึ้น และผู้วิจยั ต้ังคำ�ถามเพิ่มเติมเพือ่ ให้ได้ข้อมลู ทีเ่ ป็นมมุ เรื่องที่ทำ�การวิเคราะห์ มองของผู้ให้ข้อมูลที่สมบูรณ์ ครอบคลุมเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ ของการวิจัย ขณะสัมภาษณ์มีการบันทึกเสียงเพื่อให้ได้ข้อมูลจาก การสัมภาษณ์ครบถ้วนและบันทึกภาพเหตุการณ์ และ 3) การ ผลการวิจยั สงั เกต ผู้วิจยั สงั เกตการณ์การด�ำ เนินชีวิตตามปกติของคนในชมุ ชน พร้อมกับบันทึกเหตุการณ์ที่พบเห็น หลายคร้ังที่สังเกตในขณะที่ ไปสัมภาษณ์ ซึ่งทุกอย่างดำ�เนินการแบบปกติ เป็นธรรมชาติ ไม่ กระบวนการเสริมสร้างระบบวัฒนธรรมการออมของชุมชน เคร่งครดั และไม่เป็นทางการ แห่งนี้ สามารถจ�ำ แนกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ กระบวนการออมทรัพย์ 4) การตรวจสอบขอ้ มูล ได้แก่ 1) ตรวจสอบความตรงของ ระบบวฒั นธรรมการออม และรูปแบบวัฒนธรรมการออม ดังนี้ ขอ้ มลู ดว้ ยการน�ำ เทปบนั ทกึ เสยี งจากการสมั ภาษณเ์ จาะลกึ มาถอด ข้อความคำ�สัมภาษณ์ รวมถึงข้อมูลที่ได้จากการสังเกต และการ สว่ นที่ 1 กระบวนการออมทรัพย์ แบ่งเป็น 4 ข้ันตอน ดงั นี้ บนั ทึกภาคสนาม ดูความแตกต่างและความตรงของข้อมูลในแต่ละ 1.1) การสรา้ งความตระหนกั ระยะแรกเดก็ และเยาวชน ชดุ การสมั ภาษณ์ และ 2) ตรวจสอบข้อมูลด้วยวิธีการแบบสามเส้า จะถกู กลอ่ มเกลาจากสถาบนั ครอบครวั เมอื่ เรมิ่ โตขึน้ จะเรยี นรผู้ า่ น ด้านวิธีการรวบรวมข้อมูล คือ การใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลต่างกนั ทางสถาบนั การศกึ ษา สถาบนั ศาสนา และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ของ เพือ่ รวบรวมข้อมลู เรือ่ งเดียวกนั ซึง่ ผู้วิจยั ใช้วิธีเปรียบเทียบระหว่าง ชุมชน เช่น กลุ่มสจั จะออมทรพั ย์เพือ่ การผลิต ธนาคารออมสิน ดัง ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการสมั ภาษณแ์ บบไมเ่ ปน็ ทางการ การสมั ภาษณแ์ บบ ค�ำ กล่าวบางส่วนดังนี้ วารสารวิจยั เพื่อการพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

112 ABC JOURNAL “…แม่เฒ่าบอกว่า อย่าขี้คร้าน ขยันทำ�งาน ไม่เล่นการพนัน (พระธรรม นามวินัย, นามสมมุติ อย่านอนตื่นเที่ยงตืน่ สาย เป็นคำ�ที่ผมฟงั ติดหูตั้งแต่เล็กจนโต...” สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559) (สีแก้ว ยอดทอง, นามสมมุติ สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 10 ตลุ าคม 2559) 1.3) การขยายกิจกรรมออมทรพั ย์ หลงั จากฝึกปฏิบัติ จนเรมิ่ มคี วามช�ำ นาญ กอ่ ใหเ้ กดิ การออมทรพั ยแ์ บบปญั ญาของเดก็ “…แม่ให้ผมเอาเงินไปฝากกลุ่มออมทรัพย์ทุกวันที่ 25 ของ และเยาวชนในหลากหลายมิติ อาทิ การออมทรัพย์แบบกสิกรรม ทุกเดือน...” เช่น การปลูกต้นไม้ การออมทรัพย์แบบปศุสัตว์ เช่น การเลี้ยงไก่ (สีสัน นวลทอง, นามสมมุติ เลี้ยงวัว เป็นต้น อันเป็นการออมทรัพย์ในเชิงปริมาณที่ขยายเพิ่ม สัมภาษณ์เมื่อวนั ที่ 29 ตุลาคม 2559) ขึ้นจากวิถีชีวิตของชุมชน ที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่งผลให้เด็กๆ เกิดกระบวนการเรียนรู้จากสภาพแวดล้อม นำ�ไป “…คณุ ครูให้หนูเก็บเงินทุกวัน วนั ละ 1 บาท...” สู่การขยายผลกิจกรรมการออมตามบริบทของพื้นที่ ดังคำ�กล่าว (เก้าแสน ทองนุ่ม, นามสมมุติ บางส่วนดังนี้ สมั ภาษณ์เมื่อวันที่ 29 ตลุ าคม 2559) “…เดก็ บา้ นเราเมอื่ เหน็ ผใู้ หญท่ �ำ อะไรเขากท็ �ำ อยา่ งนน้ั เหน็ เขา “…ตั้งแต่แรกตั้งกลุ่มเมือ่ ปี พ.ศ. 2543 กลุ่มจะเปิดบัญชีเงิน เลี้ยงไก่ชน เด็กกเ็ ลี้ยงไก่ชน พ่อแม่บางบ้านก็ฝึกให้ลกู เลี้ยงววั โดย ฝากใหเ้ ดก็ แรกเกดิ ทกุ คน...สว่ นพอ่ แมจ่ ะฝากตอ่ ใหล้ กู หรอื ไมก่ เ็ ปน็ จะแบ่งความรบั ผิดชอบให้ลูกดแู ลวัวคนละ 1 ตัว หรือ มากกว่าน้ัน เรื่องของพ่อแม่...” ตามจ�ำ นวนวัว และขนาดของครอบครวั ...” (ประสาน สุขใจ, นามสมมุติ (แก้วด�ำ รง คงมน่ั , นามสมมตุ ิ สมั ภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 21 กนั ยายน 2559) สมั ภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 10 ตุลาคม 2559) 1.2) ปฏิบัติการออมทรัพย์ หลังจากครอบครัวสร้าง “…เมอื่ กอ่ นตอนเราเดก็ ๆ แมแ่ กใหเ้ ราเลีย้ งหมู และแบง่ กนั วา่ ความตระหนกั ให้รู้คณุ ค่าของการออมแบบปญั ญา ปฏิบตั ิการออม ของใคร เงินทีไ่ ด้ส่วนหนึง่ แม่กเ็ กบ็ ไว้ให้เรา หลงั จากทีข่ ายหมูได้...” ทรัพย์ของเด็กและเยาวชนจึงมีความหลากหลายตามบริบทของ (จ�ำ นง แก้วแดง, นามสมมตุ ิ ตนเอง สว่ นใหญม่ คี รวั เรอื นเปน็ ผสู้ นบั สนนุ เนอื่ งจากทกุ อยา่ งทเี่ กดิ สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 10 ตลุ าคม 2559) กระบวนการเรียนรู้กับเด็กๆ ล้วนแล้วแต่เป็นการออมทั้งสิ้น บาง คนออมความรู้จากการเรียนทีโ่ รงเรียน บางคนออมจากหลักธรรม “…เรียนไปตะลูกเหอ (เถอะลูกเอ๋ย) เรียนไปไม่เสียหาย มี ค�ำ สอนโดยสถาบนั ทางศาสนา บางคนผปู้ กครองกเ็ ปดิ บญั ชเี งนิ ฝาก ความรู้เหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน ความรู้มีค่ามากกว่าเงิน คนมี ของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตให้กบั เด็กๆ ความรู้ท�ำ อะไรกไ็ ด้ อยู่ทีไ่ หนกไ็ ด้...” (ตาหลวง ทองแก้ว, นามสมมตุ ิ “…วัยเดก็ ถ้าเราสอนอะไรลงไป เขาจะรบั ได้ง่ายกว่าเมื่อสอน สัมภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 23 ตลุ าคม 2559) ตอนเขาเป็นผู้ใหญ่ แต่อย่างว่าแหละ กว่าจะเป็นผู้ใหญ่เขาก็ผ่าน อะไรอีกมาก...” “…ปลูกไว้เถอะ ต้นไม้ 10, 20 ปี กโ็ ตแล้ว เดี๋ยวนี้ไม้ราคาแพง (ธรรมศิลป์ ดินแดง, นามสมมตุ ิ ปจั จบุ นั ต้นเปน็ หมืน่ เมือ่ ก่อนเขาให้กนั ฟรีๆ ถ้าปลกู ไว้ตั้งแต่อายยุ งั สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 28 กรกฎาคม 2559) น้อยก็ได้ใช้แน่...” (ณรงค์ทิพย์ แก้วการุญ, นามสมมตุ ิ “…ทนี่ จี่ ะสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นออมเงนิ ทกุ วนั แตบ่ างคนกไ็ มม่ เี งนิ สัมภาษณ์เมื่อ 13 ตุลาคม 2559) เหลอื ออมไดท้ กุ วนั เชอื่ วา่ นสิ ยั การออมจะตดิ ตวั เดก็ ไปบา้ งกย็ งั ด.ี ..” (ประชาไทย น้�ำ ขาว, นามสมมตุ ิ 1.4) การถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาการออม สมั ภาษณ์เมือ่ วันที่ 22 กนั ยายน 2559) หลังจากขยายกิจกรรมการออมมากขึ้น ก่อให้เกิดองค์ความรู้และ ภูมิปัญญาในด้านต่างๆ เด็กและเยาวชนเริ่มเข้าใจลึกซึ้งกับการ “…คุณธรรม 6 ประการ ขยัน ประหยดั ซือ่ สัตย์ เสียสละ มี ออมทรพั ย์ และน�ำ องคค์ วามรไู้ ปแลกเปลยี่ นเรยี นรซู้ งึ่ กนั และกนั กบั วินัย กตญั ญ.ู ..” เพือ่ นๆ เกดิ การชกั นำ�รนุ่ นอ้ งให้ปฏบิ ตั ิตาม จนกลายเปน็ วฒั นธรรม วารสารวิจัยเพือ่ การพฒั นาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 113 ต่อเนือ่ งจากรุ่นสู่รุ่น ดังค�ำ กล่าวบางส่วนดังนี้ ไม่สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพให้ตนเองได้ ต้องพึง่ พาครอบครวั ท�ำ ใหก้ ระบวนการออมทรพั ยต์ อ้ งประสบกบั ปญั หา อกี ทง้ั ความคาด “…นึกถึงตอนเราเป็นเด็ก พอเราทำ�อะไรแล้วได้เงิน เพื่อนๆ หวังของสังคมในชุมชนที่ให้ความหมายว่า คนที่เรียนจบปริญญา เราก็ชักชวนกนั ท�ำ งาน เพือ่ หาเงิน นั่นแหละเมื่อก่อนพวกนี้เดินตาม จะต้องประกอบอาชีพรับราชการ พนักงานบริษัท มีชุดแต่งกายที่ หลังตาหมด เราทำ�ก่อสร้าง รับจ้างเหมาทำ�บ้านกัน ไม่เกี่ยงงาน สง่างาม และหากบุคคลใดที่สำ�เร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี เขาจ้างอะไรท�ำ หมด...” แลว้ กลบั มาประกอบอาชพี เกษตรกรรมในชมุ ชนกจ็ ะถกู สงั คมตตี รา (ตาหลวงหิน ดินทองแดง, นามสมมุติ วา่ เปน็ คนไมด่ ี ไมเ่ กง่ สง่ ผลใหช้ มุ ชนขาดบคุ คลทมี่ คี วามสามารถมา สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 25 สิงหาคม 2559) ชว่ ยสรา้ งสรรคก์ ระบวนการออมทรพั ยข์ องชมุ ชนใหเ้ ขม้ แขง็ มากขึน้ “… สิ่งไหนถ้าเราได้ทำ�เองกับมือ เราบอกเพื่อนสอนเพื่อนได้ “…พอเรากลบั มาอยู่บ้านกม็ ีคนพดู เสียดสี มองด้วยสายตาที่ หมด ท�ำ กับข้าว ท�ำ บ้าน ท�ำ ก่อสร้าง ปลูกผกั ปลูกต้นไม้ เลี้ยงววั ดถู ูกเรา ว่าเรียนมาแล้วไม่มีงานท�ำ ไม่มีน้�ำ ยา...” เลี้ยงหมู ถ้าเราไม่ทำ�เองไม่รู้...” (ประสิทธิ์ ด�ำ ปลอด, นามสมมุติ (กรรณิกา ลายทอง, นามสมมุติ สมั ภาษณ์เมือ่ วันที่ 21 กันยายน 2559) สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 19 ตลุ าคม 2559) “…กไ็ ม่รู้จะท�ำ อะไร ทีด่ ินของตัวเองก็ไม่มี...” สภาพปัญหาและอุปสรรคที่มีผลต่อกระบวนการออม (ดวงราตรี มาลาค�ำ , นามสมมุติ จ�ำ แนกประเด็นตามปัจจยั แวดล้อม ดงั นี้ สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 28 ตลุ าคม 2559) 1) ด้านบุคคล พบว่า ศักยภาพของบุคคลมีผลสำ�คัญ อย่างยิ่ง จากการสังเกตมีบุคคลบางกลุ่มขาดโอกาสทางการ “…ที่นีไ่ ม่ค่อยมีอะไรท�ำ กเ็ ข้าไปท�ำ งานในเมือง...” ศึกษา เนื่องด้วยความยากจน ครอบครัวไม่สามารถสนับสนุนทุน (แก้วแดง ดวงตา, นามสมมุติ การศึกษาได้ จึงมีพฤติกรรมอันไม่พึงปรารถนา และไม่สามารถ สัมภาษณ์เมือ่ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2559) เข้าสู่กระบวนการออมทรพั ย์ที่ดีได้ จึงต้องผนั ชีวิตไปอยู่ในแวดวงที่ กฎหมายไม่ให้การยอมรับ 3) ด้านทรัพยากร พบว่า ทรัพยากรพื้นฐานของชุมชน มีอิทธิพลสำ�คัญต่อการกำ�หนดทิศทางของกระบวนการออม “…ถา้ ยอ้ นกลบั ไปไดผ้ มกจ็ ะไมเ่ ลน่ การพนนั ตอนนนั้ พอ่ พาผม ทรัพย์ ทั้งนี้ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม หาก ไปเล่นไก่ ผมก็มีความสขุ เพราะเวลาไก่ชนะพ่อจะเอาเงินให้ผมคร้ัง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมก็จะส่งผลกระทบ ละ 300 – 500 บาท...” ตอ่ กระบวนการผลติ สนิ คา้ ทางการเกษตร นอกจากนที้ รพั ยากรทดี่ นิ (กานต์กวี ดำ�สดุด, นามสมมตุ ิ ซึง่ มีอยู่จ�ำ กดั ต่อจำ�นวนประชากร จึงท�ำ ให้กลุ่มคนจ�ำ นวนหนึง่ ต้อง สัมภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 29 สิงหาคม 2559) อพยพย้ายถิ่นไปทำ�งานในเมืองต่างๆ ที่มีการจ้างงาน ท�ำ ให้ชุมชน ขาดกำ�ลังสำ�คัญที่จะพัฒนาหมู่บ้านของตนให้เข้มแข็งโดยเฉพาะ “….ใจจริงเรากไ็ ม่อยากเล่นการพนนั แต่มนั กค็ ือความหวงั ใน กลุ่มคนวัยแรงงาน การหาเงนิ ของเรา ไมร่ จู้ ะทำ�อะไรดี เรยี นกไ็ มไ่ ดเ้ รยี น ทำ�การเกษตร ก็รายได้น้อย...” “…ลงกรีดยางตั้งแต่ตีสี่ ได้วันละ 100 บาทเท่านั้น ลำ�บาก (สมศรี นิลดำ�, นามสมมตุ ิ มากเลยปีนี้...” สัมภาษณ์เมือ่ วันที่ 19 กนั ยายน 2559) (แก้วสีแดง ดาวใจ, นามสมมุติ สมั ภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 29 กันยายน 2559) 2) ด้านโครงสร้างทางสังคม พบว่า โครงสร้างทาง สงั คมเป็นอปุ สรรคอย่างหนึ่งต่อกระบวนการออมทรพั ย์ เนือ่ งจาก 4) ด้านการมีส่วนร่วม พบว่า การมีส่วนร่วมมีอิทธิพล ประชาชนส่วนใหญ่ท�ำ การเกษตร บางครัวเรือนมีชีวิตความเป็นอยู่ สำ�คัญต่อกระบวนการออมทรัพย์เป็นอย่างยิ่ง ที่ผ่านมาชาวบ้าน ลำ�บากกว่าในอดีต บางคนต้องย้ายถิ่นไปยังแหล่งชุมชนอื่นที่ มักจะไม่ค่อยให้ความสำ�คัญกับกระบวนการมีส่วนร่วม เนื่องจาก สามารถประกอบอาชีพเลี้ยงครอบครัวได้ ประกอบกับสังคมที่มี ปตกระตส�่ำ บเปกน็ับตภน้ าวจะงึ วทิก�ำ ฤใหตก้ ทราะงบเศวนรษกาฐรกริจวรม่วกมลกมุ่ ันหรเชอื ่นสรรา้ างคกราะยบาวงพนการารา ความเปน็ พลวตั ท�ำ ใหช้ าวบา้ นตอ้ งมกี ารปรบั ตวั เมอื่ บณั ฑติ ทจี่ บมา วารสารวิจัยเพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

114 ABC JOURNAL มีส่วนร่วมทำ�ได้ยากมาก กระบวนการออมทรัพย์ในรูปแบบสัมมา เรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้ที่จะครองเรือน และเป็น อาชีพจึงเป็นไปค่อนข้างลำ�บาก มีคนเพียงจำ�นวนหนึ่งของชุมชน ศูนย์กลางการประสานงานเครือข่ายทางสังคมที่ช่วยให้ผู้คนมี เท่าน้ันทีส่ ามารถดำ�เนินการได้ ส่วนใหญ่จะมีฐานะอยู่ในระดับดี โอกาสพบปะพูดคุยและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ผ่านพิธีกรรม และประเพณีต่างๆ ภายในวดั “…ถ้าเป็นการรวมตัวกนั เล่นการพนนั น้ันมีมาก...” (ไชยพงษ์ คงศรี, นามสมมุติ “…คนจะได้พบญาติพี่น้องก็ตอนงานบุญประเพณีในวัด สมั ภาษณ์เมื่อวันที่ 27 กนั ยายน 2559) บางคนไปอยู่กรงุ เทพฯนานๆ กว่าจะได้กลบั มาสกั ครั้ง...” (ไชยพงษ์ คงศรี, นามสมมุติ “…ปจั จบุ ันต่างคนต่างอยู่ ไม่เหมือนเมื่อก่อน...” สัมภาษณ์เมื่อวนั ที่ 27 กนั ยายน 2559) (แก้วเดือน สังข์ดำ�, นามสมมุติ สมั ภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 28 พฤศจิกายน 2559) 2.1.3) สถาบันการศึกษา เป็นสถาบันที่ถ่ายทอด ความรู้ ความคิดให้แก่สมาชิกในสังคมเพื่อให้สมาชิกได้รบั รู้ ความ สว่ นที่ 2 ระบบวัฒนธรรมการออม ระบบวฒั นธรรมการ สามารถ วัฒนธรรม และคุณธรรมเพื่อให้เกิดประโยชน์ในสังคม ออมสำ�หรับเด็กและเยาวชนเขตพื้นที่ชุมชนในอดีต เป็นโครงสร้าง ส่วนรวม ซึ่งจะเป็นหน่วยย่อยของสังคมที่ช่วยสรรค์สร้างบุคลากร ทางสังคมที่ประกอบด้วย สถาบันทางสังคม องค์ความรู้และ ในสงั คมใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพทง้ั ในมติ ขิ องรา่ งกาย สมอง อารมณ์ และ ภูมิปัญญา และวิธีการถ่ายทอด ซึ่งอธิบายได้ดงั นี้ การขับเคลื่อนสังคม 2.1) สถาบันทางสังคม พบว่า เป็นสถาบันซึ่งมีบทบาท หน้าที่ในการกล่อมเกลาบุคลากรของชาติให้มีศักยภาพพร้อมด้วย “…การศึกษาช่วยให้คนมีความรู้ ความสามารถในการ ความรู้ ความสามารถ และการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีคุณธรรม ท�ำ งาน...” จริยธรรม ที่สามารถนำ�พาสังคมให้มีความสงบสุขร่มเย็น ท้ังนี้ (สายใย ทองคำ�, นามสมมุติ สถาบันทางสังคมถือได้ว่าเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำ�คัญของระบบ สัมภาษณ์เมือ่ วันที่ 27 กันยายน 2559) วัฒนธรรมการออม ซึ่งมีสถาบันย่อยเป็นกลไกการขับเคลื่อน กระบวนการพฒั นาการออมทรพั ยส์ �ำ หรบั เดก็ และเยาวชนในชมุ ชน 2.1.4) สถาบันเศรษฐกิจ เป็นสถาบันที่เกี่ยวข้องกับ ได้แก่ สถาบนั ครอบครัว สถาบนั การศึกษา สถาบนั เศรษฐกิจ และ การผลิต การบริโภค การตลาด เพื่อสนองความต้องการปัจจัย 4 สถาบนั การเมืองการปกครอง โดยมีรายละเอียดดงั นี้ ของสมาชิกในสังคม ซึ่งมีสถาบันครัวเรือนเป็นกลุ่มผู้ผลิตและ 2.1.1) สถาบันครอบครัว เป็นสถาบันแรกที่มีการ ผู้จัดการตลาดหลัก นอกจากกลุ่มออมทรัพย์เพือ่ การผลิต การน�ำ ถ่ายทอดวัฒนธรรม มีความเกี่ยวพันกันทางสายโลหิต โดยท่ัวไป เงินมารวมกันและหมุนเวียนกันใช้จ่ายตามความจำ�เป็น (แชร์) สถาบันครอบครัว มีบทบาทหน้าที่ในการรักษาอัตราก�ำ ลังคนของ เป็นสถาบันการเงินของชุมชนที่จะทำ�หน้าที่สนับสนุนส่งเสริมการ ประเทศ โดยการกำ�เนิดสมาชิกใหม่ พร้อมให้การศึกษาเพื่อการ ออมทรัพย์ พัฒนาศักยภาพของคนเป็นสถาบันแรก และมีความส�ำ คัญยิ่งต่อ การขับเคลื่อนประเทศให้มีความเจริญด้วยการผลิตและกระตุ้น “…ในชุมชนเรามีกลุ่มองค์กรการเงินชุมชน ได้แก่ กลุ่มออม เศรษฐกิจของประเทศ ทรพั ย์เพื่อการผลิต กองทนุ หมู่บ้านละล้าน แชร์...” (สายใย ทองค�ำ , นามสมมุติ “…เรามีพ่อแม่เป็นครคู นแรกทีใ่ ห้การอบรมสง่ั สอนเรา...” สมั ภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 27 กันยายน 2559) (สายใย ทองค�ำ , นามสมมตุ ิ สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 27 กนั ยายน 2559) 2.1.5) สถาบันการเมืองการปกครอง เป็นหน่วย ทางสังคมที่มีบทบาทหน้าที่ในการรักษาความสงบสุขแก่ชุมชน แต่ 2.1.2) สถาบันศาสนา เป็นสถาบันที่ช่วยยกระดับ สำ�หรับชุมชนแห่งนี้ฝ่ายปกครองมีบทบาทในการจัดการด้านการ จิตใจของมนษุ ย์ในสงั คมให้สูงขึ้น ช่วยสร้างความคิด ความเชื่อ ให้ ปกครองน้อยมาก เนื่องด้วยฝ่ายปกครองที่มีตำ�แหน่งอย่างเป็น สงั คมมีความเปน็ ปกึ แผน่ มีรากฐานทางศลี ธรรม คา่ นิยม แบบแผน ทางการไม่ได้รับการยอมรับจากชาวบ้าน เนือ่ งด้วยพฤติกรรมที่ไม่ ความประพฤติที่ช่วยให้สังคมเกิดความสงบสุข มีหน้าที่จัดการ เหมาะสมบางอย่าง วารสารวิจัยเพื่อการพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 115 2.2) องคค์ วามรแู้ ละภมู ปิ ญั ญา พบวา่ เปน็ ทรพั ยส์ นิ อนั “…มกี ารท�ำ นาขา้ ว การท�ำ สวนยางพารา การท�ำ สวนสบั ปะรด มคี า่ อยา่ งยงิ่ ตอ่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ ของผคู้ นในชมุ ชนและสงั คม ซงึ่ ชมุ ชน การปลูกพืชผักสวนครัว และการปลกู ไม้ยืนต้น...” แห่งนี้มีองค์ความรู้ ภมู ิปัญญาหลายด้าน ดังนี้ (แก้วเดือน สังข์ด�ำ , นามสมมตุ ิ 2.2.1) การเลี้ยงสัตว์ เป็นองค์ความรู้ของชุมชนที่มี สัมภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 28 พฤศจิกายน 2559) ส่วนช่วยในการส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนนับต้ังแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีความสอดคล้องกับบริบทพื้นที่และวิถีชีวิตของ 2.3) วิธีการถ่ายทอด เป็นกระบวนการสื่อสารระหว่าง ผู้คนในชมุ ชน ได้แก่ การเลี้ยงไก่ การเลี้ยงวัว การเลี้ยงหมู และการ กันและกันของคนในชุมชน ส�ำ หรบั การสร้างการรบั รู้ถึงคณุ ค่าของ เลยี้ งปลา ซงึ่ เดก็ และเยาวชนไดเ้ รยี นรแู้ ละซมึ ซบั ภมู ปิ ญั ญาดงั กลา่ ว การออมทรพั ย์ ทง้ั นใี้ นกระบวนการถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ ภมู ปิ ญั ญา จากวถิ ชี วี ติ ประจ�ำ วนั ของพอ่ แมผ่ ปู้ กครอง และผคู้ นในชมุ ชนทง้ั จาก การออมทรัพย์สำ�หรับเด็กและเยาวชนในชุมชนมีวิธีการต่างๆ ที่ การได้เห็น ได้ฟงั และทดลองปฏิบตั ิด้วยตนเอง หลากหลาย ประกอบด้วย การปฏิบตั ิให้เหน็ เป็นตวั อย่าง การเล่า เรือ่ งและการใช้สือ่ ประกอบ (นิทาน หนงั สือ บทเพลง ภาพประกอบ “…ทีน่ ี่กม็ ีการเลี้ยงวัว เลี้ยงหมู เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา อย่างอื่นก็ และวดิ โี อ) และการฝกึ ใหป้ ฏบิ ตั ิ (ทดลอง ศกึ ษาคน้ ควา้ พฒั นา สรปุ ไม่มีอะไร เขากท็ �ำ กนั มานานแล้ว จากรุ่นปู่ย่า ตายาย...” ข้อค้นพบ) ดังนี้ (สายใย ทองค�ำ , นามสมมุติ 2.3.1) การปฏิบัติให้เห็นเป็นตัวอย่าง วิธีการดัง สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 27 กันยายน 2559) กลา่ วนคี้ นในชมุ ชนจะมกี ารด�ำ เนนิ กจิ กรรมตามลกั ษณะของวถิ ชี วี ติ ไดแ้ ก่ การประกอบอาชพี เกษตรกรรม และอาชพี อนื่ ๆ ทหี่ ลากหลาย “…เราตอ้ งสงั เกตอาการของหมบู อ่ ยๆ ถ้าหมปู ่วยกเ็ รียกหมอ ตามความถนัดและโอกาสของแต่ละครัวเรือน ซึ่งเป็นกลไกอย่าง มาดู ถ้าอาการเลก็ น้อยก็รกั ษาเอง...” หนึ่งที่คอยให้การสนับสนุนค่านิยมการออมทรัพย์สำ�หรับเด็กและ (ประชาไทย น้�ำ ขาว, นามสมมุติ เยาวชน อาจกล่าวได้ว่าวิธีการถ่ายทอดภูมิปญั ญาแบบการปฏิบัติ สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 22 กนั ยายน 2559) ใหเ้ หน็ เปน็ ตวั อยา่ ง มคี วามส�ำ คญั อยา่ งยงิ่ ตอ่ การเสรมิ สรา้ งคา่ นยิ ม การออมสำ�หรับเด็กและเยาวชนในชุมชน ซึ่งตามพัฒนาการด้าน “…การเลี้ยงไก่เราทำ�ที่เอาไว้บนเนินสูงๆ อย่าให้เป็นพื้นที่ที่ ร่างกาย เมื่อถึงจุดหนึ่งเด็กและเยาวชนจะแสวงหาบุคคลต้นแบบ มีน้ำ�ท่วม...ต้องเฝ้าระวังช่วงโรคไข้หวัดนกระบาด ต้องสังเกตอยู่ ในการดำ�เนินชีวิต ซึ่งบุคคลดังกล่าวจะมีความพิเศษสามารถเป็น เรือ่ ยๆ...” แนวทางส�ำ หรับบุคคลอื่นได้ (ไชยพงษ์ คงศรี, นามสมมุติ สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 27 กันยายน 2559) “…เมื่อก่อนเราเห็นคนเฒ่าคนแก่เขาทำ� เราก็ทำ�ตาม เวลา พ่อกับแม่ไปทำ�นา เราก็ตามไปด้วย พ่อแม่ไปกรีดยางเราก็ตามไป “…เราเลี้ยงวัว เราก็ให้เขาไปเลี้ยงวัวด้วย ให้เขาเห็นความ ด้วย...” สำ�คัญของวัว...” (กานต์กวี ด�ำ สดุด, นามสมมุติ (กรรณิกา ลายทอง, นามสมมุติ สัมภาษณ์เมื่อวนั ที่ 29 สิงหาคม 2559) สมั ภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 19 ตุลาคม 2559) “….เราเห็นมาต้ังแต่เด็กๆ คนเมื่อก่อนเขาเลี้ยงวัว เลี้ยงไก่ 2.2.2) การปลกู พชื เปน็ กลไกทางความคดิ ของชมุ ชน เลี้ยงหมู ท�ำ นา กรีดยาง เราก็ท�ำ ตามเขา...” ทมี่ สี ว่ นชว่ ยในการสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชนนบั ตง้ั แตอ่ ดตี (สมศรี นิลด�ำ , นามสมมุติ จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีความสอดคล้องกับบริบทพื้นที่และวิถีชีวิตของ สมั ภาษณ์เมื่อวันที่ 19 กนั ยายน 2559) ผคู้ นในชมุ ชน ไดแ้ ก่ การท�ำ นาขา้ ว การท�ำ สวนยางพารา การท�ำ สวน สับปะรด การปลูกพืชผักสวนครวั และการปลูกไม้ยืนต้น 2.3.2) การเล่าเรือ่ งและการใชส้ ือ่ ประกอบ (นิทาน หนังสือ บทเพลง ภาพประกอบ และวิดีโอ) เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ “…เขาจะไถต้ังเอาไว้สองสัปดาห์ก่อน แล้วค่อยไถซ้ำ�อีกที...” ชุมชนใช้เป็นเครื่องมือสำ�หรับการถ่ายทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญา (ดวงราตรี มาลาคำ�, นามสมมุติ ด้านการออมทรัพย์ให้แก่เด็กและเยาวชนในชุมชน ซึ่งภายใต้ สมั ภาษณ์เมือ่ วันที่ 28 ตลุ าคม 2559) กระบวนการดังกล่าว มีเนื้อหาสาระที่สอดแทรกการสร้างค่านิยม วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

116 ABC JOURNAL การออมในรปู แบบตา่ งๆ อาจกลา่ วไดว้ า่ วธิ กี ารถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญา ออมทรัพย์ในแต่ละช่วงวัยและรูปแบบก็จะมีความสอดคล้องกับ ด้านการออมทรัพย์ โดยการเล่าเรือ่ งมีความสำ�คญั อย่างยิง่ ต่อการ บคุ คลในแตล่ ะชว่ งวยั อาจกลา่ วไดว้ า่ การฝกึ ภาคปฏบิ ตั สิ ำ�หรบั การ เสริมสร้างค่านิยมการออม ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างการเรียนรู้ ออมทรัพย์นั้นเป็นวิธีการที่ส�ำ คัญอย่างยิ่งต่อการสร้างค่านิยมการ ให้เด็กและเยาวชนได้เป็นอย่างดี วิธีการดังกล่าวช่วยให้เด็กและ ออมใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชนในชมุ ชน ทง้ั นีก้ ารฝกึ ปฏบิ ตั จิ ะชว่ ยใหเ้ ดก็ เยาวชนซึมซับถึงวิธีการ คุณค่า ประโยชน์ และมองเห็นรูปแบบ และเยาวชนมีความเข้าใจและเห็นคุณค่ามากกว่าวิธีการถ่ายทอด การออมทรัพย์ ภมู ิปญั ญาการออมประเภทอื่น เป็นวิธีการฝึกความอดทน และวิธี การเรียนรู้เพือ่ การพฒั นากิจกรรมการออมทรัพย์ได้เปน็ อย่างดี “…เขาเล่าให้เราฟงั เล่าแบบนิทาน คนแก่ๆ เขาชอบสอนเรา แบบน้ัน...” “…ครูให้เราออมเบี้ยทุกๆ วัน ให้เราทำ�เอง ปลูกผัก เลี้ยง (สีสัน นวลทอง, นามสมมุติ ปลา...” สัมภาษณ์เมือ่ วันที่ 29 ตลุ าคม 2559) (สีสนั นวลทอง, นามสมมตุ ิ สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 29 ตลุ าคม 2559) “…ครูให้คนออกมาเล่าเรื่องหน้าช้ันเรียน แล้วครูก็สอน เล่า เรื่องนิทานให้เราฟงั ...” “…อยู่ทีบ่ ้านแม่ให้เลี้ยงวัว เกบ็ ยาง ท�ำ นา...” (เก้าแสน ทองนุ่ม, นามสมมุติ (เก้าแสน ทองนุ่ม, นามสมมตุ ิ สมั ภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 29 ตลุ าคม 2559) สัมภาษณ์เมือ่ วันที่ 29 ตุลาคม 2559) 2.3.3) การฝึกให้ปฏิบัติ (ทดลอง ศึกษาค้นคว้า สว่ นที่ 3 รปู แบบวฒั นธรรมการออม ได้แก่ การออมทรพั ย์ พัฒนา สรุปข้อค้นพบ) วิธีการดังกล่าวนี้เป็นขั้นตอนสุดท้ายของ แบบปศุสัตว์ การออมทรัพย์แบบกสิกรรม การออมทรัพย์แบบ กระบวนการถ่ายทอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญาด้านการออมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ การออมทรัพย์แบบปัญญา และการออมทรัพย์ เป็นข้ันตอนทีจ่ ะต้องฝกึ ภาคปฏิบัติ ซึง่ เป็นวิธีการทีเ่ ดก็ และเยาวชน แบบเงินเหรียญ ธนบตั ร โดยมีรายละเอียดดังนี้ จะต้องนำ�องค์ความรู้และภูมิปัญญาการออมทรัพย์รูปแบบต่างๆ 3.1) การออมทรัพย์แบบปศุสัตว์ ได้แก่ การเลี้ยงวัว มาทดลองปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหเ้ กดิ ผลกบั ตนเอง ซงึ่ ทกุ ภาคสว่ นของสถาบนั การเลี้ยงไก่ และการเลี้ยงหมู (ภาพที่ 1) ซึง่ ในระยะแรกของการเกิด ทางสงั คมในชมุ ชนจะคอยใหค้ �ำ แนะน�ำ ปรกึ ษาแกเ่ ดก็ และเยาวชน ถงึ ชมุ ชนแห่งนี้ บรรพบรุ ษุ มีความจ�ำ เปน็ ต้องเลี้ยงววั และควายส�ำ หรบั หลักการออมในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจของเดก็ และเยาวชน การไถนา ใช้เป็นพาหนะ และเป็นอาหาร ซึ่งการเลี้ยงวัวเลี้ยงควาย แต่ละบุคคล ซึ่งเป็นการปฏิบัติตามวิถีชีวิตประจำ�วัน ที่มีความ น้ันไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด มีเพียงการซื้อพ่อพันธ์ุแม่พันธ์ุ สมั พันธ์กันอย่างแยกไม่ออก ต้ังแต่เกิด เจริญเติบโต และตาย การ เพราะวัวและควายสามารถเสาะหาอาหารตามหัวไร่ปลายนาได้ ภาพที่ 1 การออมทรัพย์แบบปศุสัตว์ (ก) การเลี้ยงววั (ข) การเลี้ยงไก่พื้นบ้าน (ค) การเลี้ยงหมู วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 117 เป็นวิธีการเลี้ยงแบบธรรมชาติและประหยัดค่าใช้จ่ายมากที่สุด 3.2) การออมทรพั ยแ์ บบกสิกรรม ได้แก่ การปลูกข้าว สำ�หรับการเลี้ยงหมูก็จะเป็นการเลี้ยงแบบธรรมชาติเพื่อใช้สำ�หรับ การทำ�สวนยางพารา การปลูกไม้ยืนต้นประเภทใช้งาน การปลูก การบริโภคภายในชุมชนโดยการอาศัยเศษวัสดุเหลือใช้จาก ผลไม้ท้องถิ่น และการปลูกพืชผักสวนครัว (ภาพที่ 2) การปลูก การเกษตร และเศษอาหารภายในครวั เรือน และเกษตรกรสามารถ ข้าวเป็นอาชีพเริ่มแรกของการก่อต้ังชุมชนแห่งนี้ โดยข้าวที่ปลูกใน ขยายพนั ธไ์ุ ดเ้ อง เปน็ วธิ กี ารพงึ่ ตนเองและการออมทรพั ยอ์ ยา่ งยง่ั ยนื เขตพื้นที่ชุมชนเป็นข้าวเล็บนก และข้าวสังข์หยด เป็นพันธุ์ข้าวพื้น ที่ต้ังอยู่บนพื้นฐานของความพอเพียง เมืองที่มีการปลูกสืบทอดกันมาในอดีต ทั้งนี้ตามครัวเรือนต่างๆ อาจกล่าวได้ว่าการออมทรัพย์รูปแบบปศุสัตว์เป็นวิธีการ ในชุมชนจะมียุ้งฉางข้าว ที่แสดงให้เห็นถึงสถานะทางเศรษฐกิจ ออมทรัพย์อย่างหนึ่งทีใ่ ห้ผลกำ�ไรในเชิงเศรษฐกิจคืออัตราดอกเบี้ย และความมั่นคงทางอาหารของครัวเรือนนั้น แต่ปัจจุบันสังคมให้ ที่มีกำ�ไรสูงกว่าสถาบันการเงินในระบบ และเป็นวิธีการบริหาร ค่านิยมกับเงินเหรียญธนบัตรมากกว่าการออมทรัพย์ในลักษณะ จดั การการเงนิ ทตี่ ง้ั อยบู่ นหลกั การของความพอเพยี ง ความมเี หตผุ ล ดังกล่าว จึงมีการปลูกข้าวและขายส่งพ่อค้าคนกลางที่เข้ามารับ สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทและสอดคลอ้ งกบั วถิ กี ารด�ำ เนนิ ชวี ติ ของผคู้ นใน ซื้อข้าวในชุมชน นอกจากนี้ชาวบ้านในชุมชนท�ำ สวนยางพารา ซึ่ง ชมุ ชน อย่างไรก็ตามปญั หาการออมทรพั ย์แบบปศุสัตว์ ได้แก่ การ เป็นรายได้หลักของประชากรในชุมชน โดยเฉลี่ยต่อไร่เกษตรกรจะ จัดการตลาด คือ ลักษณะการค้าขายจะเป็นการค้าขายในตลาด ได้รับผลผลิตจำ�นวน 49 บาทต่อวัน และผลผลิตที่ได้จากน้ำ�ยาง ทอ้ งถนิ่ ไมม่ ตี ลาดทชี่ ดั เจน ทง้ั นใี้ นกระบวนการผลติ ชาวบา้ นยงั ขาด สด เมื่อครบกำ�หนดการทำ�ลายสวน เกษตรกรจะนำ�ไม้ยางพารา ทกั ษะความรู้ความสามารถ และเงินทนุ สำ�หรบั การพฒั นากิจกรรม ไปขายซึ่งราคารับซื้อหน้าโรงงาน กิโลกรัมละ 1 บาท หรือขึ้นลง การออมทรพั ยแ์ บบปศสุ ตั วใ์ หไ้ ดม้ าตรฐานสากล และสามารถนำ�ไป ตามราคาตลาดไม่มีความแน่นอน อย่างไรก็ตามถือได้ว่าวิธีการ สู่ตลาดทีก่ ว้างขึ้น ดงั กลา่ วนเี้ ปน็ การออมทรพั ยอ์ ยา่ งหนงึ่ ทชี่ าวบา้ นในชมุ ชนถอื ปฏบิ ตั ิ กนั มานับร้อยปีต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน บางสวนจะปลกู ยางพารา “…เลี้ยงววั เมือ่ ก่อนกป็ ล่อยตามทุ่งนา...” และเขตแดนระหวา่ งทดี่ นิ จะปลกู พืชแซมท�ำ เปน็ รวั้ กนั้ อาณาเขต ซงึ่ การิน นภารตั น์, นามสมมุติ ไม้ที่นิยมปลกู ได้แก่ สะเดา ตะเคียน พะยอม ต�ำ เสา และไม้ยืนต้น สมั ภาษณ์เมื่อวนั ที่ 19 ตุลาคม 2559) ชนิดต่างๆ ซึ่งไม้เหล่านี้จะมีราคาสูงเพราะเป็นไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้ ตะเคียนเมือ่ อายคุ รบ 20 ปี มีขนาดล�ำ ต้นโดยรอบประมาณ 1 เมตร “…คนเมื่อก่อนเขาไม่ต้องใช้เงิน เขาเก็บสะสมทรัพย์เอากับ และมีความสูงประมาณ 20 เมตร จะมีราคาขายส่งอยู่ที่ต้นละ วัว...” 20,000-30,000 บาท นอกจากนี้การปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อ (เก้าแสน ทองนุ่ม, นามสมมุติ บริโภคภายในครัวเรือนถือเป็นการประหยัดและออมทรัพย์ได้อีก สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 29 ตลุ าคม 2559) วิธีการหนึง่ เนือ่ งจากชมุ ชนแห่งนี้มีพื้นที่ส�ำ หรับการเพาะปลกู และ ภาพที่ 2 การออมทรัพย์แบบกสิกรรม (ก) การท�ำ นา (ข) การทำ�สวนยางพารา (ค) การปลกู ไม้ยืนต้นแซมในสวนยางพารา (ง) การปลูก สบั ปะรดเสริม วารสารวิจยั เพือ่ การพัฒนาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

118 ABC JOURNAL สถานทจี่ บั สตั วน์ ้�ำ เพือ่ บรโิ ภคไดต้ ลอดท้ังปี โดยทชี่ าวบา้ นไม่จ�ำ เปน็ การประกอบอาชีพและการใช้จ่ายในชีวิตประจำ�วันได้เมื่อถึงช่วง ตอ้ งใชเ้ งนิ ซือ้ สนิ คา้ และอาหารจากทอี่ ืน่ ใด อาจกลา่ วไดว้ า่ การออม วิกฤติ เช่น ฤดูฝนที่ชาวบ้านไม่สามารถประกอบอาชีพได้ นอกจาก ทรัพย์แบบกสิกรรมเป็นวิธีการออมเงินอย่างหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ นกี้ ารเกบ็ สะสมพระเครอื่ งหรอื วตั ถมุ งคลยงั เปน็ วธิ กี ารเกบ็ ออมเงนิ และเชื่อมโยงกับบริบททางสงั คมและวิถีชีวิตของผู้คนในชมุ ชน อย่างหนึ่งที่ได้รับความนิยมส�ำ หรบั คนบางส่วนในชมุ ชน ในท้องถิ่น อยา่ งไรกต็ ามการออมทรพั ยแ์ บบกสกิ รรมกย็ งั คงมปี ญั หา ภาคใตย้ งั มนี ายทนุ กลมุ่ หนงึ่ ทใี่ หก้ ารสนบั สนนุ การสะสมพระเครือ่ ง และอุปสรรคเช่นกัน นั่นก็คือปัญหาเกี่ยวกับการถือครองที่ดิน โดยจะตีราคาเป็นมูลค่าทางการเงินตามเรื่องเล่าและความศรัทธา ของชาวบ้านภายในชุมชน หากบุคคลใดมีการถือครองที่ดินมากก็ ของคนในชมุ ชนท้องถิน่ จึงท�ำ ให้ผู้คนในชมุ ชนกลุ่มหนึง่ เกิดค่านิยม จะสามารถดำ�เนินการออมทรัพย์ในลักษณะดังกล่าวได้มาก หาก และท�ำ การเกบ็ สะสมพระเครอื่ ง รวมถงึ การสะสมวตั ถโุ บราณกเ็ ฉก บุคคลใดมีการถือครองที่ดินในจำ�นวนน้อยก็สามารถทำ�การออม เช่นเดียวกนั ชาวบ้านบางส่วนสะสมสิ่งของโบราณซึง่ มีความหมาย ในลักษณะดังกล่าวได้น้อยเช่นกัน นอกจากนี้ปัญหาคุณภาพดินที่ และคุณค่าทางจิตใจซึ่งไม่มีกฎเกณฑ์การซื้อขายในราคาที่ตายตัว เสอื่ มโทรม บางพนื้ ทไี่ มส่ ามารถปลกู พชื ชนดิ ใดไดเ้ ลย หรอื หากปลกู แต่จะใช้ความรู้สึกและความพึงพอใจระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ได้ อตั ราการเจริญเติบโตของพืชกม็ ีน้อย และใช้ระยะเวลานานกว่า กิจกรรมการออมทรัพย์ในรูปแบบอสังหาริมทรัพย์ และ จะได้เก็บเกี่ยวผลผลิต ไม่คุ้มค่ากับการลงทุน รวมถึงการตลาดที่ วัตถุที่มีมูลค่า เป็นความเชื่อและค่านิยมที่ถูกถ่ายทอดกันมาจาก ไมม่ คี วามแนน่ อน ชาวบา้ นไมส่ ามารถควบคมุ กลไกทางตลาดได้ จงึ รนุ่ สรู่ นุ่ นบั ระยะเวลารว่ มรอ้ ยปตี งั้ แตม่ กี ารรเิ รมิ่ กอ่ ตงั้ ชมุ ชน ส�ำ หรบั ทำ�ให้เปน็ อุปสรรคต่อการออมทรัพย์ในลกั ษณะดังกล่าวได้เช่นกัน ความเชอื่ ในวธิ กี ารออมทรพั ยด์ งั กลา่ วนน้ั จงึ เปน็ ทมี่ าของสาเหตแุ หง่ การออม ที่คอยสนับสนุนให้เกิดการเก็บออมในรูปแบบดังกล่าว “…เราปลูกยางถึงราคามันจะตก แต่เราขายไม้ได้ ถ้าปลกู พืช อย่างไรกต็ ามปัญหาการออมทรัพย์แบบอสังหาริมทรัพย์ และวตั ถุ อย่างอื่นเราขายไม่ได้เลย...” ทมี่ มี ลู คา่ ตอ้ งอาศยั ความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ และความชำ�นาญ (กานต์กวี ดำ�สดุด, นามสมมุติ เฉพาะตวั เพราะการออมทรพั ยใ์ นลกั ษณะดงั กลา่ วตอ้ งอาศยั เงนิ ทนุ สัมภาษณ์เมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม 2559) คอ่ นขา้ งมาก รวมถงึ การจดั การตลาดทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะ หากบคุ คล ใดไมม่ คี วามช�ำ นาญหรอื ความพรอ้ มกไ็ มส่ ามารถท�ำ การออมทรพั ย์ “…ไม้ตะเคียน ไม้พะยอม เมือ่ ต้นโตเตม็ ทีร่ าคาซื้อขายไม่น้อย ในลักษณะดงั กล่าวได้ ทั้งนี้ยงั มีความเสี่ยงต่อการถกู ลกั ขโมย อาจ กว่า 2 ถึง 3 หมื่นบาทแน่นอน...” จะเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรพั ย์สินได้เช่นเดียวกัน (กานต์กวี ดำ�สดุด, นามสมมตุ ิ สมั ภาษณ์เมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม 2559) “…ที่ดินเป็นสิ่งจำ�เป็น มีผืนดินเอาไว้ได้ให้ลูกหลานอยู่อาศัย ได้มีทีท่ �ำ มาหากิน...” “…ต้นไม้ ปลกู ทิง้ ปลกู ขว้างเอาไว้แตพ่ อใหญ่ขึ้นมา ครบ 20 ปี (สีสนั นวลทอง, นามสมมุติ กไ็ ด้ปีละ 2,500 บาท ดีกว่าไม่ทำ�อะไรปล่อยให้ดินว่างอยู่เฉยๆ...” สัมภาษณ์เมื่อวนั ที่ 29 ตุลาคม 2559) (การิน นภารตั น์, นามสมมุติ สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2559) “…ได้เบี้ยมากเ็ อาไปซื้อทองสะสมเอาไว้ เวลาขดั สนจะได้เอา ทองมาขายเพือ่ ใช้จ่าย...” 3.3) การออมทรัพย์แบบอสังหาริมทรัพย์และวัตถุที่ (แก้วแดง ดวงตา, นามสมมตุ ิ มีมูลค่า ได้แก่ การสะสมที่ดิน การสะสมทองคำ� การสะสมพระ สัมภาษณ์เมื่อวนั ที่ 27 พฤศจิกายน 2559) เครื่อง และการสะสมวตั ถุโบราณ การสะสมที่ดินเปน็ ค่านิยมอย่าง หนึ่งทีส่ ืบทอดกนั มาจากรุ่นสู่รุ่น ที่ดินเปน็ ทรพั ย์สินทีม่ ีค่ามากทีส่ ดุ “…การสะสมพระ บางครงั้ ผมไดม้ าองค์ละ 4 พนั ผมปล่อยไป อยา่ งหนงึ่ เพราะทดี่ นิ มจี �ำ นวนจ�ำ กดั ทกุ คนในสงั คมมคี วามตอ้ งการ 7 พนั ผมสะสมพระท้องถิน่ หลวงปู่ทวด อะไรอย่างนี้...” เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย และเพื่อการผลิตอาหารชนิดต่างๆ ดังนั้นการ (ประสิทธิ์ ด�ำ ปลอด, นามสมมุติ เก็บออมทรัพย์ผ่านกระบวนการสะสมที่ดินจึงถูกสืบทอดกันมา สัมภาษณ์เมือ่ วนั ที่ 21 กันยายน 22559) ตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั ชาวบา้ นสว่ นหนงึ่ ยงั มกี ารสะสมทองคำ�รปู พรรณ เพราะมีความเชื่อว่าทองคำ�สามารถให้มูลค่าเพิ่มเมื่อเวลา 3.4) การออมทรพั ยแ์ บบปญั ญา ชาวบา้ นมคี วามเชอื่ วา่ ผ่านไป ทองจะราคาเพิ่มขึ้นและสามารถขายได้ราคาที่สูงขึ้น อีกท้ัง บุคคลที่มีปัญญาและมีความสามารถจะเป็นผู้ที่ไม่ตกอยู่ในความ ทองค�ำ ยงั สามารถน�ำ ไปจ�ำ น�ำ เพอื่ น�ำ เงนิ มาเปน็ ทนุ หมนุ เวยี นสำ�หรบั ลำ�บากและสามารถใช้สติปัญญาและศักยภาพท�ำ มาหาเลี้ยงชีพได้ วารสารวิจัยเพื่อการพฒั นาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 119 การออมทรพั ย์แบบปัญญามีวิธีการสะสมทีห่ ลากหลาย ได้แก่ การ “…เราพยายามสอนเขาให้มีทักษะ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยว เข้าร่วมประชุม การฝึกอบรม การศึกษาดูงาน และการอ่านหนงั สือ กบั การเอาตวั รอดในสังคมและการใช้ชีวิตอยู่ในชมุ ชน...” (ภาพที่ 3) ซึ่งเปน็ กิจกรรมที่ชุมชนจัดขึ้น ท้ังนี้กระบวนการดงั กล่าว (แก้วเดือน สงั ข์ด�ำ , นามสมมุติ เป็นเครื่องมือช่วยกล่อมเกลาบ่มเพาะ ให้คนในชุมชนมีสติปัญญา สัมภาษณ์เมือ่ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2559) ความรู้ความสามารถ และศักยภาพที่พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง สถานภาพที่อยู่ในนามธรรมสู่รูปธรรมอย่างชัดเจน โดยใช้ความรู้ 3.5) การออมทรัพย์แบบเงินเหรียญและธนบัตร ความสามารถทีม่ ีอยู่ท�ำ มาหาเลี้ยงตนเองและครอบครวั ได้แก่ การเก็บสะสมเงินเหรียญ ธนบัตรในกระปกุ ออมสิน กองทนุ อาจกล่าวได้ว่าการออมทรัพย์แบบปัญญามีความส�ำ คัญ หมุนเวียนการเงินชาวบ้าน (แชร์) กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง เป็นอย่างยิ่ง เพราะคนที่มีปัญญาจะมีความสามารถเก็บสะสม กลุ่มสัจจะออมทรัพย์เพื่อการผลิต การสะสมเงินทุนด้วยวิธีการ เงินหรือการออมทรัพย์ประเภทอื่นได้หลายรูปแบบ คนในชุมชนที่ หยอดกระปุกออมสิน เป็นวิธีการเก็บออมเงินอย่างหนึ่งในวิถีชีวิต มีความสามารถเก็บออมทรัพย์ได้หลายประเภทนั้นโดยส่วนใหญ่ ประจำ�วันของชาวบ้าน ซึ่งเป็นการรวบรวมเงินข้ันตอนแรกก่อนที่ แลว้ จะเปน็ ผทู้ มี่ คี วามรคู้ วามสามารถ เปน็ คนทมี่ คี วามขยนั มนั่ เพยี ร จะนำ�เงินดังกล่าวไปเก็บออมไว้กับแหล่งเงินทุน ส่วนใหญ่จะได้รับ และมกี ารศกึ ษาเรยี นรอู้ ยตู่ ลอดเวลา อยา่ งไรกต็ ามปญั หาการออม ความนิยมกับกลุ่มเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะการสนับสนุนจาก ทรัพย์แบบปัญญาที่เกิดขึ้นในชุมชน เช่น ครอบครัวต้องเสียค่าใช้ โรงเรียนและธนาคาร เช่น ธนาคารออมสิน เป็นต้น ส่วนการเก็บ จ่ายในการส่งบุตรหลานเล่าเรียน บางคนต้องเสียทรัพย์สินแต่ผล ออมผ่านกองทุนหมนุ เวียนการเงินชาวบ้าน (แชร์) เปน็ วิธีการที่ชาว ที่ได้ไม่คุ้มค่า สำ�เร็จการศึกษามาแล้วหางานทำ�ไม่ได้ บางคนออก บ้านในชมุ ชนให้ความนิยมมากทีส่ ุด เพราะกองทนุ ดงั กล่าวมีอัตรา ไปศึกษาในเมืองคบเพื่อนไม่ดี ติดสารเสพติด ในที่สุดกลับมาอยู่ ดอกเบี้ยค่าตอบแทนที่สูง มีความคุ้มค่าแก่การลงทุน แม้ว่าการ บ้านเป็นภาระของครอบครัว ไม่สามารถดำ�เนินชีวิตตามแบบวิถี ออมในลกั ษณะดงั กล่าวน้ันจะมีความเสีย่ งสงู แต่กระบวนการกู้ยืม ของชุมชนได้เนื่องจากไปเรียนแบบชีวิตในเมืองมา กรีดยางไม่เป็น มีขั้นตอนที่ไม่สลับซับซ้อน ผู้เปน็ สมาชิกกลุ่มสามารถเข้าถึงเงินทนุ ทำ�การเกษตรไม่ได้ ดังกล่าวได้ง่าย ส�ำ หรับการเก็บออมในรูปแบบของกองทุนหมู่บ้าน และชุมชนเมือง เป็นเงินที่รัฐบาลให้การสนับสนุน โดยส่วนใหญ่ “…มีปัญญาเหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน...เราต้องเรียนรู้อยู่ ชาวบ้านจะใช้กลุ่มองค์กรดังกล่าวเป็นแหล่งเงินทุนสำ�หรับการ ตลอดเวลา ไม่ขี้เกียจ หนกั เอาเบาสู้...” กู้ยืมเพื่อการประกอบอาชีพและการใช้จ่ายในการดำ�เนินชีวิต และ (ธรรมศิลป์ ดินแดง, นามสมมตุ ิ เมื่อสิ้นปีก็จะมีเงินปันผลกำ�ไรจากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่ม สมั ภาษณ์เมือ่ วันที่ 28 กรกฎาคม 2559) นับว่าเป็นการเก็บออมอย่างหนึ่ง ท้ังนี้การเป็นสมาชิกกลุ่มสัจจะ ภาพที่ 3 การออมทรัพย์แบบปญั ญา (ก) การฝึกอบรม (ข) การเรียนรู้นอกสถานที่ (ค) การประชมุ ระดมความคิดเห็น วารสารวิจยั เพือ่ การพัฒนาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

120 ABC JOURNAL ออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นกระบวนการหนึ่งที่สำ�คัญยิ่งต่อการ อภิปรายและสรุปผล เสริมสร้างค่านิยมการออม เพราะกิจกรรมทกุ อย่างของกลุ่มสัจจะ ออมทรพั ยน์ นั้ ลว้ นแลว้ แตเ่ กดิ ขนึ้ จากการออมทรพั ยท์ งั้ สนิ้ จากเดมิ การรวมกล่มุ ครัง้ แรกมสี มาชิกเพียง 30 คน ณ เวลาปจั จบุ นั สมาชิก 1) กระบวนการออม พบว่า มีการดำ�เนินงาน 4 ข้ันตอน กลุ่มได้ขยายตัวเพิ่มขึ้นเป็น 400 คน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการให้ ได้แก่ การสร้างความตระหนัก ปฏิบัติการออมทรัพย์ การขยาย ความส�ำ คญั ของการเกบ็ ออม นอกจากนีย้ งั มกี ารเกบ็ ออมเงนิ ไวก้ บั กิจกรรมออมทรัพย์ และการถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาการ ธนาคาร ซึง่ มีการออมหลากหลายรปู แบบ เช่น การออมผ่านสลาก ออมทรัพย์ สอดคล้องกับแนวคิดกระบวนการเสริมสร้างระบบ ออมสิน การออมทรัพย์เงินฝากประจำ� เปน็ ต้น ทั้งนี้การออมทรัพย์ วัฒนธรรมการออมของ สัมพันธ์ เตชะอธิก และคณะ (2540) รูปแบบดังกล่าวสร้างความเชื่อมั่นให้กับชาวบ้านมาเป็นระยะเวลา อธิบายว่า การทำ�งานกับองค์กรชุมชนที่เป็นพื้นที่ทำ�งานใหม่ มี ยาวนาน และเป็นแหล่งเงินทุนเพื่อใช้สำ�หรับการประกอบอาชีพ แนวทางการพัฒนาความเข้มแข็ง 5 ข้ันตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ขั้น ที่ดีอีกทางหนึ่ง การศึกษาเรียนรู้ปญั หาชมุ ชนแบบมีส่วนร่วม เปน็ การศึกษาโดยให้ การออมทรัพย์ในรูปแบบเงินเหรียญและธนบัตร เป็น ชาวบ้านที่สนใจปัญหาของชมุ ชนเข้าร่วมท�ำ การศึกษาในครอบครัว กระบวนการเก็บออมข้ันสุดท้าย ภายหลังการเก็บออมทรัพย์ใน ต่างๆ โดยอาจแบ่งเปน็ ระดบั กลุ่ม ประมาณ 5–10 ครวั เรือน ท�ำ การ รปู แบบตา่ งๆ จนน�ำ มาสกู่ ารสรา้ งผลผลติ ทใี่ หค้ า่ ตอบแทนในรปู แบบ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ปญั หาและจ�ำ แนกประเดน็ เปน็ หมวดหมู่ เปน็ การ ของเงินเหรียญ ธนบัตร ทั้งนี้การออมทรัพย์ในลกั ษณะดงั กล่าวกม็ ี เรยี นรรู้ ว่ มกนั จงึ ท�ำ ใหก้ ลมุ่ เกดิ ความตระหนกั และมคี วามศรทั ธาเหน็ ความส�ำ คัญยิ่งเมื่อกล่าวถึงสถานการณ์ทางสงั คม ณ เวลาปจั จุบัน อกเห็นใจซึ่งกนั และกนั น�ำ ไปสู่การตั้งเป้าหมายร่วมกนั ข้ันตอนที่ 2 นี้ เพราะเงินเป็นเครื่องมือของการแลกเปลี่ยนทรัพย์สินทุกสิ่ง ข้ันการเรียนรู้และคิดค้นกิจกรรมแก้ไขปัญหา เมื่อได้รู้ปัญหาและ ทุกอย่างที่คนในสังคมได้ให้ความหมายเอาไว้ อย่างไรก็ตาม กลุ่มเป้าหมายเรียบร้อยแล้ว การเปิดโอกาสให้มีการอบรมศึกษา ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการออมทรัพย์ในลักษณะดังกล่าว เช่น กลุ่ม ดูงานในรูปแบบการเรียนรู้จากพื้นที่และชาวบ้านที่มีประสบการณ์ แชร์ กลุ่มออมทรัพย์ สมาชิกโดยส่วนใหญ่จะท�ำ การสะสมเงินทุน แก้ไขปญั หามาก่อนในทีต่ ่างๆ จะเปน็ การเปิดโอกาสให้ชาวบ้าน ได้ ไว้เพื่อกู้มากกว่าการออม ซึ่งมีสมาชิกเพียงไม่กี่คนเท่าน้ันที่ได้รับ มองเหน็ ลทู่ างตา่ งๆ ในการแกไ้ ขปญั หา ซงึ่ จำ�เปน็ ตอ้ งอาศยั กจิ กรรม ผลประโยชน์จากกระบวนการออมในลักษณะดังกล่าว ท้ังนี้เงินที่ หลายอย่างประกอบกนั สิง่ ที่ส�ำ คัญคือแนวคิดการพึง่ ตนเอง การมี กู้ยืมไปก็มักจะนำ�ไปใช้ในสิ่งที่ไม่ก่อให้เกิดการต่อยอด คือ การนำ� สว่ นรว่ ม และการรวมกลมุ่ ชว่ ยเหลอื กนั ขนั้ ตอนที่ 3 ขนั้ การวางแผน เงินไปใช้จ่ายในชีวิตประจ�ำ วนั และการซื้อสินค้าฟุ่มเฟือย เปน็ ต้น กิจกรรมแก้ไขปัญหา เมื่อได้แนวคิดและมองเห็นแนวทางกิจกรรม แล้ว ก็ทำ�การวางแผนกิจกรรมในรายละเอียดว่าจะมีการจัดการ “…ทุกๆ วันเราจะให้เด็กนักเรียนฝากเงินที่โรงเรียนเป็น องค์กรของตัวเองอย่างไร จะมีกิจกรรมอะไรบ้างอยู่ในพื้นที่ ต้อง ประจำ�…” ใช้งบประมาณมากน้อยเพียงใด เทคนิคปฏิบัติมีอะไรบ้าง ต้องใช้ (การิน นภารัตน์, นามสมมุติ เวลาในแต่ละกิจกรรมอย่างไร เมื่อครอบครัวมีความชัดเจนในการ สัมภาษณ์เมื่อวนั ที่ 19 ตลุ าคม 2559) วางแผนกิจกรรม และเสริมสร้างองค์ความรู้ ความสามารถเพิ่มขึ้น แลว้ จงึ ตกลงใจด�ำ เนนิ การได้ ขน้ั ตอนที่ 4 ขน้ั การรวมกลมุ่ ปฏบิ ตั ริ ว่ ม “…เล่นแชร์มันคุ้มกว่าเอาเงินไปฝากธนาคาร ดอกเบี้ย กัน เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทั้งทางความคิดเทคนิค ก็ดี...” ต่างๆ ตลอดจนช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ผู้นำ�กลุ่มจะเริ่มเกิด (สมศรี นิลดำ�, นามสมมุติ ขึ้นในตอนนี้ และควรมีกิจกรรมระดมทุนในรูปกลุ่มออมทรัพย์เป็น สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 19 กนั ยายน 2559) รายเดือนเพื่อเกาะเกี่ยวและหนุนช่วยกันทางการเงินและค่าใช้จ่าย ในชีวิตยามขาดแคลนหรือเจ็บป่วย การรวมกลุ่มเป็นองค์กรชุมชน “…บางคนสมัครเพื่อหวังที่จะกู้มากกว่าการออม แต่เราก็มี ควรนำ�เอาองค์ประกอบขององค์กรชุมชนมาร่วมดำ�เนินการให้ กลยุทธ์คือให้เขาฝากก่อน 6 เดือน แล้วค่อยปล่อยกู้ และให้กู้เงิน ครอบคลมุ และข้ันตอนที่ 5 ขั้นการติดตามแก้ไขปัญหาและพฒั นา ได้เท่ากับเงินทีเ่ ขาฝากเพียงเท่าน้ัน...” อชางวคบ์กา้ รนใหต้มอ้ ีคงวทา�ำ มกเาขร้มตแดิ ขต็งามมาสกมขาึ้นชกิ เจข้าอหงอนง้าคทก์ ี่จราอกยภา่ างยสนมอ�่ำ กเสแมลอะผเพู้นอื่�ำ (สีสัน นวลทอง, นามสมมตุ ิ สมั ภาษณ์เมือ่ วันที่ 19 ตุลาคม 2559) ช่วยเหลือและพัฒนาให้เกิดความเข้มแข็งมากขึ้น เนื่องจากการทำ� กจิ กรรมต่างๆ ย่อมมปี ญั หาเกดิ ขึน้ จากสาเหตหุ ลายประการ การมี วารสารวิจยั เพื่อการพฒั นาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 121 เวทีการประชมุ การติดตาม การสงั เกตในพื้นทีอ่ ย่างสม่�ำ เสมอย่อม เรียนรู้และร่วมกนั แก้ปัญหา ท�ำ ใหส้ มาชกิ และองคก์ รชาวบา้ นแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ ไดท้ นั ทว่ งทแี ละ 3) รูปแบบการออมทรพั ย์ พบว่า มี 5 รูปแบบ ได้แก่ การ พฒั นาให้ดีขึ้นเรือ่ ยๆ ได้ ออมทรพั ยแ์ บบปศสุ ตั ว์ การออมทรพั ยแ์ บบกสกิ รรม การออมทรพั ย์ นอกจากนี้ กระบวนการออมทรัพย์ยังส่งผลต่อวิถีชีวิตของ แบบอสงั หารมิ ทรพั ยแ์ ละวตั ถทุ มี่ มี ลู คา่ การออมทรพั ยแ์ บบปญั ญา คนในชุมชนในลักษณะของการเป็นแหล่งทุนในชุมชน อันเนื่องมา และการออมทรัพย์แบบเงินเหรียญและธนบัตร ซึ่งสอดคล้องกับ จากผู้คนในชุมชนได้นำ�เงินสัจจะออมทรัพย์มารวมกันจัดตั้งเป็น แนวคิดวัฒนธรรมการออมของ ศิริรตั น์ ศรีพนม (2559) อธิบายว่า กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อใช้เป็นแหล่งทุนให้สมาชิกที่มีความจำ�เป็นเร่ง การออมสามารถจำ�แนกได้หลายรูปแบบ ประกอบด้วย การออม ด่วนด้านการเงินมากู้ยืมไปใช้เพื่อการประกอบอาชีพหรือใช้จ่าย ในรูปของสินทรัพย์ทางการเงินในระบบ หมายถึง การออมโดยการ ในครัวเรือน ภายหลังเมื่อกลุ่มเติบโตขึ้น หลายแห่งได้ปรับตัวเป็น ถือสินทรัพย์ทางการเงินที่อยู่ภายใต้การควบคมุ ของกฎหมาย การ ธนาคารหมู่บ้านหรือสถาบันการเงินชุมชน วันชัย ธรรมสัจการ ออมประเภทนี้ ได้แก่ การออมเป็นเงินสด เงินที่ฝากไว้กับสถาบัน และ พรนค์พิเชฐ แห่งหน (2561) ศึกษาเรื่อง กระบวนการปรับ การเงิน การซื้อหลักทรัพย์ทางการเงิน การให้กู้ยืมโดยการทำ� เปลี่ยนกองทุนการเงินชุมชนสู่ธนาคารหมู่บ้านในจังหวัดสงขลา: สัญญาเงินกู้ถูกกฎหมาย กรมธรรม์ประกันชีวิต เงินทุนสำ�รอง บทเรียนในอดีตและปัจจุบันเพื่ออนาคต พบว่า กระบวนการออม เลี้ยงชีพ เปน็ ต้น การออมในรูปสินทรัพย์นอกระบบ หมายถึง การ ของชุมชนที่จัดต้ังเป็นกลุ่มออมทรัพย์จนเติบโตเข้มแข็งขึ้นน้ัน ถือสินทรพั ย์ทีไ่ ม่อยู่ภายใต้การคุ้มครองของกฎหมาย เช่น การเล่น เป็นกระบวนการเสริมสร้างพลังชุมชนที่ครอบคลุมกระบวนการ แชร์ การให้กู้ยืมโดยไม่มีสัญญากู้ยืม การออมในรูปของการปรับ ร่วมมือของผู้คนในชุมชน 5 ประการ ได้แก่ การร่วมวางแผน ร่วม พฤติกรรมการใช้เงิน หมายถึง การปรับลดการเป็นหนี้ของบุคคล ปฏิบัติ ร่วมเปลี่ยนแปลง ร่วมรับผล และร่วมปรับตัว โดยที่กลุ่ม และครัวเรือน การควบคุมการใช้จ่ายที่มีประสิทธิภาพ หรือแม้แต่ ออมทรพั ยห์ รือกองทนุ การเงนิ ประเภทอนื่ กต็ าม เมอื่ เตบิ โตเขม้ แขง็ การซ่อมแซมรกั ษาทรัพย์ให้มีสภาพคงที่ มีสภาพการใช้งานได้ตาม จนสามารถยกระดบั เปน็ ธนาคารหมู่บ้านหรือสถาบนั การเงินชมุ ชน ปกตไิ มส่ นิ้ เปลอื ง เปน็ ตน้ และสอดคลอ้ งกบั กลุ สิ รา กฤตวรกาญจน์ จะผ่านกระบวนการปรับตัว 3 ระยะ ได้แก่ ระยะเตรียมการ ระยะ (2549) อธิบายว่า การออมมีหลายรปู แบบขึ้นอยู่กับการนิยามของ ดำ�เนินการ และระยะประเมินผล ซึง่ ท้ัง 3 ระยะ จะเกิดพลงั ชุมชน แต่ละบุคคลและชุมชนท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งสรุปได้ดังนี้ ประการแรก หรอื พลงั แหง่ การรว่ มมอื รว่ มแรงรว่ มใจกนั ทงั้ 5 ประการขา้ งตน้ ยก การออมที่ดิน เป็นทรัพย์ที่บุคคลส่วนใหญ่นิยมถือครองเพราะ ตวั อยา่ งเชน่ ในระยะเตรยี มการ ทง้ั บคุ คลทที่ ำ�หนา้ ทคี่ ณะกรรมการ คาดการณ์ว่าในอนาคตที่ดินจะมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และยังเป็นหลัก กลมุ่ และสมาชกิ ตอ้ งมารว่ มประชมุ วางแผนกนั เพอื่ ยกระดบั กลมุ่ ไป ประกันความม่ันคงให้แก่ตนเองและครอบครัว การออมในรูป สู่ธนาคารหมู่บ้านหรือสถาบันการเงินชุมชน มีการจัดทำ�ระเบียบ แบบอาคารและสิ่งก่อสร้างเพื่อที่อยู่อาศัย เป็นที่ทราบกันดีว่าการ ข้อบังคับร่วมกัน หลังจากยกระดับกลุ่มแล้วทุกคนก็ต้องร่วมกัน ซื้ออาคารหรือที่อยู่อาศัยเป็นการออมอีกรูปแบบหนึ่งที่ผู้มีเงิน ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ ร่วมเปลี่ยนแปลง ร่วมรับผลกระทบ ออมเหลือจากการบริโภคนิยม ซึ่งการออมรูปแบบนี้จะขึ้นอยู่กับ ทีเ่ กิดจากการเปลี่ยนแปลง และร่วมปรับตวั ไปด้วยกัน จะเหน็ ได้ว่า ผู้ออมว่ามีเงินเหลือออมมากน้อยเพียงใด และเพียงพอกบั การออม กระบวนการต่างๆ เหล่านี้ล้วนหล่อรวมขึ้นมาจากชุมชน ก่อให้เกิด รปู แบบนหี้ รอื ไม่ การออมในรปู แบบทรพั ยส์ นิ ประเภททนุ หรอื ทใี่ ชใ้ น กระบวนการเรียนรู้ การซึมซับ การขัดเกลาทางสังคมไปสู่คนรุ่น การผลิต ทรพั ย์สินประเภทนี้ ได้แก่ เครื่องจักร หรือเครือ่ งมือต่างๆ ใหม่ หลาย ๆ แห่งมีปริมาณงานมากขึ้นกน็ ำ�เอาคนหนุ่มสาวเข้ามา ซึ่งการนำ�เงินมาซื้อทรัพย์สินประเภทนี้ถือได้ว่าเป็นการออมอีก ชว่ ยท�ำ งาน วถิ ชี วี ติ เหลา่ นซี้ มึ ซบั ไปยงั เดก็ และเยาวชนทกี่ �ำ ลงั เตบิ โต ชนิดหนึ่งเพราะว่าเป็นการสะสมทุนอย่างหนึ่ง การเพิ่มของสินค้า เป็นผู้ใหญ่ในอนาคต อนั มีพื้นฐานมาจากการออม คงเหลือถือว่าเป็นการออมเพราะสินค้าเป็นส่วนหนึ่งของรายได้ 2) ระบบวัฒนธรรมการออม พบว่า มี 3 ระบบ ได้แก่ และการสะสมโลหะทีม่ ีค่า ได้แก่ ทองค�ำ อัญมณีต่างๆ เป็นต้น สถาบนั ทางสงั คม องค์ความรู้และภมู ิปญั ญา และวิธีการถ่ายทอด องค์ความรู้ภูมิปัญญาการออมทรัพย์ของชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับ แนวคิดวฒั นธรรมชมุ ชนของ บ�ำ รุง บุญปัญญา (2549) ที่อธิบายว่า ข้อเสนอแนะ การพฒั นาต้องเน้นระบบการรวมกลุ่ม การร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกัน และกนั เพอื่ คงความเปน็ ชมุ ชนไว้ โดยอยใู่ นระบบการจดั การองคก์ ร เช่น สหกรณ์ สหพนั ธ์ เพื่อสร้างความเข้มแขง็ ในการช่วยเหลือกัน 1) เชิงนโยบายและการนำ�ไปปฏิบัติ รัฐควรมีนโยบาย และสร้างอ�ำ นาจในการต่อรองกับภายนอก สร้างเครือข่ายระหว่าง ส่งเสริมค่านิยมการออมให้เป็นนโยบายสาธารณะ โดยต้องศึกษา ชุมชน และสร้างความร่วมมือกับคนอื่นในสังคมเพื่อแลกเปลี่ยน และส่งเสริมการออมให้สอดคล้องกับวิถีที่ชุมชนปฏิบัติ และต้อง วารสารวิจยั เพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

122 ABC JOURNAL เข้าใจว่า ชุมชนมีกระบวนการออมอย่างไร มีวัฒนธรรมการออม กิตติกรรมประกาศ แบบไหน และมีรูปแบบการออมอะไรบ้าง จึงจะสามารถส่งเสริม การออมใหป้ ระสบความส�ำ เรจ็ ได้ ทงั้ นตี้ อ้ งใหช้ าวบา้ นเปน็ ผกู้ �ำ หนด ทิศทาง เป้าหมายการออมของตนเองตามบริบทพื้นทีข่ องชุมชน งานวิจัยนี้ สำ�เร็จลุล่วงด้วยดีจากผู้ให้ข้อมูล ขอขอบคุณ 2) เชิงการวิจัย ควรนำ�ผลการวิจัยไปทดลองวิจัยนำ�ร่อง แกนน�ำ ชมุ ชนทกุ คน ตลอดจนเดก็ และเยาวชนทเี่ ปน็ ผใู้ หข้ อ้ มลู สำ�คญั ในชุมชน เพื่อเป็นการขยายผล และนำ�ผลมาปรับปรุงเพื่อพัฒนา ขอขอบคุณศูนย์การจัดการศึกษาทางเลือก โรงเรียนบ้านในสวน ไปสู่รูปแบบการส่งเสริมการออม ที่สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ใน ทใี่ หค้ วามอนเุ คราะหส์ ถานที่ และขอขอบคณุ กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม วงกว้างต่อไป ที่สนบั สนุนงบประมาณการท�ำ วิจยั ในคร้ังนี้ บรรณานกุ รม กุลิสรา กฤตวรกาญจน์. (2549). การพัฒนาพฤติกรรมการออมในเยาวชนโดยใช้กลยทุ ธ์การสือ่ สารเพือ่ การพฒั นา: กรณีศึกษาเยาวชนระดบั อาชีวศึกษาในจงั หวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. บ�ำ รุง บุญปัญญา. (2549). 3 ทศวรรษ แนวคิดวฒั นธรรมชุมชน: บทนิพนธ์คัดสรร ว่าด้วยประชาธิปไตยชาวบ้าน เศรษฐกิจชมุ ชนและการพัฒนา บทเส้นทางที่เปน็ ไท. กรุงเทพฯ: โครงการหนังสือดอกติ้วป่า. พระราชบญั ญตั วิ ฒั นธรรมแหง่ ชาต.ิ (2485). ประกาศประธานสภาผแู้ ทนราษฎร. ลงวนั ที่ 4 สงิ หาคม พ.ศ. 2480 และวนั ที่ 16 ธนั วาคม พ.ศ. 2484. พระราชบญั ญตั ิวัฒนธรรมแห่งชาติ. (2553). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม 127, ตอนที่ 69 ก, หน้า 29–35. วันชัย ธรรมสจั การ และ พรนค์พิเชฐ แห่งหน. (2561). กระบวนการปรับเปลี่ยนกองทุนการเงินชมุ ชนสู่ธนาคารหมู่บ้านในจงั หวดั สงขลา: บทเรียน ในอดีตและปัจจบุ นั เพือ่ อนาคต. วารสารการจัดการ, 7(Special), 74–88. วนั ดี หริ ญั สถาพร, พรทพิ ย์ บญุ ทรง, นงลกั ษณ์ ลคั นทนิ ากร และ สรุ ชั ฎา เมฆขลา. (2558). พฤตกิ รรมการออมของนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลรัตนโกสินทร์ บพิตรพิมขุ จกั รวรรดิ. (รายงานวิจัยฉบบั สมบูรณ์). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์. วโิ รจน์ เจษฎาลกั ษณ์ และ ธนภรณ์ เนือ่ งพล.ี (2561). พฤติกรรมและปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อการออมของผสู้ งู อายใุ นอำ�เภอเมือง จงั หวดั นนทบรุ .ี วารสาร วิชาการ Veridian E-Journal สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11(1), 3061–3074. ศิริรัตน์ ศรีพนม. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออมเงินของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ครูจันทบุรี จำ�กัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหา บัณฑิต). ชลบรุ ี: มหาวิทยาลยั บูรพา. สัมพันธ์ เตชะอธิก, วิเชียร แสงโชติ, มานะ นาคำ�, และ อกนิษฐ์ ป้องภัย. (2540). การพัฒนาความเข้มแขง็ ขององค์กรชาวบ้าน. กรงุ เทพฯ: เจริญ วิทย์การพิมพ์. เสถียรโกเศศ. (2525). วัฒนธรรมและประเพณีต่างๆ ของไทย. กรุงเทพฯ: สำ�นักพิมพ์คลงั วิทยา. อนพทั ย์ หนองคู และ พรวรรณ นันทแพทย์. (2559). การวิเคราะห์รปู แบบการออมส�ำ หรบั วยั สูงอายุในประเทศไทยและต่างประเทศ. วารสาร วิชาการการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอดุ มศึกษาแห่งประเทศไทย, 5(1), 145–153. วารสารวิจยั เพือ่ การพฒั นาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

การสือ่ สารเพื่อใชป้ ระโยชนจ์ ากงานวิจยั : เกษตรอินทรีย์ มีชีวิต เลา่ เรื่องผา่ นวิธีคิดคนยโสธร บทความวิจยั ศภุ างค์ นนั ตา* พุฒิพงษ์ รับจนั ทร์ จณัญญา วงศ์เสนา จงศิริ และ สมยศ พรมงาม สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฎสุรินทร์ อ�ำ เภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ วนั ที่รบั บทความ: 32000 15 ตุลาคม 2561 *ผ้เู ขียนหลกั อีเมล: [email protected] วนั แกไ้ ขบทความ: 11 มกราคม 2562 วันตอบรบั บทความ: 14 มกราคม 2562 บทคัดย่อ รวม 45 คน กลุ่มอาจารย์และนักศึกษาสาขา วิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ งานวจิ ยั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคค์ อื 1) เพอื่ เสรมิ สรา้ ง จำ�นวน 20 คน ผลวิจัยพบว่า เกิดกระบวนการ กระบวนการเรียนรู้น�ำ ไปสู่การสื่อสารเพื่อพัฒนา เรียนรู้ด้านการสือ่ สารเพื่อพฒั นาท้องถิน่ ระหว่าง ทอ้ งถนิ่ 2) เพอื่ ใหส้ มาชกิ ชมุ ชนและนกั ศกึ ษาสาขา สมาชกิ ชมุ ชนและนกั ศกึ ษาสาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ วิชานิเทศศาสตร์มีส่วนร่วมวางแผนผลิตและ ผ่านโครงงานการผลิตสือ่ ชมุ ชน 3 รูปแบบ ได้แก่ สร้างสรรค์สื่อชุมชนจากองค์ความรู้ด้านการ สื่อกลอนลำ� สื่อเฉพาะกิจ-หนังสือเล่ม และ พฒั นาเกษตรอินทรีย์ 3) เพือ่ ให้สมาชิกชมุ ชนและ สื่อสารคดีวิทยุกระจายเสียง นำ�ไปสู่การเผยแพร่ นกั ศกึ ษาสาขาวชิ านเิ ทศศาสตรม์ สี ว่ นรว่ มเผยแพร่ ข้อค้นพบจากผลงานวิจัยของสำ�นักงานกองทุน ข้อค้นพบจากผลงานวิจัยของสำ�นักงานกองทุน สนบั สนนุ การวิจยั ผ่านสือ่ ชมุ ชนในประเดน็ เกษตร สนบั สนนุ การวิจยั ผ่านสือ่ ชมุ ชนในประเดน็ เกษตร อินทรีย์ เป็นการกระตุ้นให้สมาชิกชุมชนหันกลับ อนิ ทรยี ์ โดยใชก้ ระบวนการดาํ เนนิ การสอื่ สารแบบ มาให้ความสำ�คัญกับเกษตรอินทรีย์อีกครั้ง ก่อ มีส่วนร่วมในขั้นเตรียมการก่อนการผลิต ขั้นการ ให้เกิดแนวทางการบูรณาการระหว่างงานวิจัย ผลิต และข้ันหลงั การผลิต ใช้วิธีสุ่มกลุ่มตวั อย่าง การเรียนการสอน และการบริการวิชาการของ แบบเจาะจง ประกอบด้วยกลุ่มเกษตรกรทำ�นา มหาวิทยาลัย บากเรือ อ�ำ เภอมหาชนะชยั กลุ่มเกษตรกรทำ�นา นาโส่ อ�ำ เภอกดุ ชมุ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนขา้ วคณุ คา่ คำ�สำ�คัญ: จังหวัดยโสธร การสื่อสารเพื่อใช้ ชาวนาคุณธรรม อำ�เภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร ประโยชนจ์ ากงานวจิ ยั เกษตรอนิ ทรยี ์ การเลา่ เรอื่ ง วารสารวิจยั เพื่อการพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หนา้ 123-134

Communication for Research Utilizing: Living Organic Farming - Story Telling Through the Thinking of Yasothorn People Research Article Supang Nunta*, Phutthiphong Rabchan, Chananya Wongsena Jongsiri and Somyot Promngam Received: 15 October 2018 Department of Communication Arts, Faculty of Management Science, Surindra Rajabhat University, Muang District, Surin Province, Thailand 32000 Revised: *Corresponding author’s E-mail: [email protected] 11 January 2019 Accepted: 14 January 2019 Abstract province. The second sampling group was 20 lectures and students in Communication Arts The research project aims to 1) enhance program Surin Rajabhat University. The study the learning process that leads to communication identifies three patterns of learning process for local development; 2) provide an opportunity for local communication and development for community members and students in among community members and the students in Communication Arts program to participate in Communication Arts. These include the Klon-lam planning and creating the community medias media (the local poetic work), the specialization for a developing a body knowledge in organic media (a book), and the radio documentary farming; and 3) help distribute Thailand media. The three media forms establish ways to Research Fund’s findings on organic farming by publicize in the community the organic farming using community medias. The methodology used research findings under Thailand Research Fund. in this project is participatory communication Such mechanism raise awareness of community at preparation stage, production stage and members on organic farming and contributes post production stage. The purposive sampling to an integration of research, pedagogy, and include, firstly, a total of 45 members from three university academic services. communities, namely Bak-Ruea farmers group in Mahachanachai district, Na-So farmers group in Keywords: Yasothorn province, Communication Kut Chum district, and Krachai rice-community for research utilizing, Organic farming, Story enterprise group in Pa Tio district, Yasothorn telling Area Based Development Research Journal ===== Vol. 11 No. 2 pp. 123-134

125 ABC JOURNAL บทน�ำ และท้องถิ่น เป็นต้น ผ่านกระบวนการเรียนรู้ระหว่างนักศึกษากับ สมาชิกชุมชนซึ่งมีบทบาทและส่วนร่วมในการผลิตโครงงานสื่อ ชมุ ชน 3 โครงงาน ไดแ้ ก่ สือ่ กลอนล�ำ เกษตรอนิ ทรยี ์ มดี หี มอ่ งใด๋ สอื่ การสื่อสารเพื่อใช้ประโยชน์จากงานวิจัยในชุมชนและพื้นที่ เฉพาะกิจ-หนังสือเล่ม ถอดองค์ความรู้คู่มือชาวบ้าน เล่าเรื่องผ่าน มงุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ การสอื่ สารผลงานวจิ ยั ของส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ เกษตรยโสธร และสือ่ สารคดีวิทยุกระจายเสียง การวิจัย (สกว.) ที่น�ำ ไปใช้ประโยชน์ในชมุ ชนและในพื้นทีเ่ ป้าหมาย ท้ังนี้โครงงานสื่อชุมชนในประเด็นเกษตรอินทรีย์สามารถ โดยใช้กลไกของสถาบันการศึกษาผ่านการพัฒนากระบวนการ ขยายผลองค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ให้แก่กลุ่มเป้าหมายได้นำ� เรียนรู้ด้านนิเทศศาสตร์มุ่งสู่ศตวรรษที่ 21 ดังน้ันโครงการ “การ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1) กลุ่มเกษตรกรเห็นความแตกต่าง สื่อสารเพือ่ ใช้ประโยชน์จากงานวิจยั เกษตรอินทรีย์มีชีวิต เล่าเรือ่ ง ระหวา่ งการท�ำ เกษตรเคมแี ละเกษตรอนิ ทรยี ์ น�ำ ไปสกู่ ารปรบั เปลยี่ น ผ่านวิธีคิดคนยโสธร” จึงเป็นหนึ่งในรูปแบบของการดำ�เนินงาน วิถีเกษตรอินทรีย์ที่สร้างความม่ันคงทางอาหารและสอดคล้องกับ ที่ก่อให้เกิดการสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและพื้นที่อย่าง การผลติ ดง้ั เดมิ ของชมุ ชน และ 2) กลมุ่ ผบู้ รโิ ภคมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ แท้จริง ด้วยฐานความรู้จากผลงานวิจัยที่ผู้เรียนด้านนิเทศศาสตร์ และตระหนักถึงความสำ�คัญของเกษตรอินทรีย์ในมิติด้านระบบ ต้องทำ�ความเข้าใจกลวิธีการสื่อสารเพื่อให้เกิดประโยชน์ในทุกมิติ นิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม ด้านสุขภาพ ด้านความเปน็ ธรรม ของสงั คม สอดคล้องกบั บริบทความต้องการของชุมชนและเหมาะ สมกับสภาวะของโลกในยุคปจั จบุ ัน จากการลงพื้นที่ศึกษาหาแหล่งข้อมูลจากสถานที่จริงใน สถานการณท์ ี่เป็นอย่เู ดิม จังหวัดยโสธร ซึ่งเป็นพื้นที่เป้าหมายหนึ่งของการเผยแพร่งานวิจัย ของสกว. โดยมุ่งเน้นประเด็นเนื้อหาการขยายผลองค์ความรู้ด้าน เกษตรอินทรีย์ ทำ�การคัดเลือกองค์ความรู้ เรียบเรียง กล่ันกรอง ศกั ยภาพดา้ นพนื้ ที่ จงั หวดั ยโสธรยงั คงเปน็ สงั คมเกษตรกรรม เพื่อนำ�เสนอเนื้อหาผ่านสื่อที่หลากหลายรูปแบบอันเกิดจากความ แบบชนบทคนอีสาน มีจุดแขง็ คือคนในชมุ ชนเกื้อหนนุ ซึง่ กนั และกัน ร่วมมือระหว่างเจ้าของพื้นที่และนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ผู้นำ�ชุมชนเข้มแข็ง ทำ�ให้เกิดการส่งเสริมเครือข่ายกลุ่มเกษตร ทั้งนี้โดยอาศัยการนำ�ฐานข้อมูลจากผลงานวิจัยของสกว. ซึ่งมีข้อ อินทรีย์ในหลายพื้นที่ เช่น กลุ่มเกษตรกรทำ�นาบากเรือ อำ�เภอ ค้นพบในประเด็นร่วมคือ องค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ ผลงาน มหาชนะชัย กลุ่มเกษตรกรทำ�นานาโส่ อ�ำ เภอกุดชุม กลุ่มวิสาหกิจ วิจัยดังกล่าว ได้แก่ “การฟื้นฟูผักพืชสวนครัวในระบบอินทรีย์เพื่อ ชุมชนข้าวคุณค่าชาวนาคุณธรรม อำ�เภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร ความปลอดภัยด้านอาหารในชุมชน บ้านดอนผึ้ง ตำ�บลบากเรือ พื้นทีจ่ งั หวัดยโสธรมีความโดดเด่นและชัดเจนด้านองค์ความรู้ และ อำ�เภอมหาชนะชัย จงั หวดั ยโสธร” (ศุภัคนันท์ เครือแสง และคณะ, ภมู ิปัญญาชาวบ้านในการท�ำ เกษตรอินทรีย์ ได้แก่ การปลูกพืชผัก 2556) และ “โครงการปรับวิถีการผลิตข้าวเพือ่ ความม่นั คงในชีวิต สวนครวั ในระบบอนิ ทรยี เ์ พอื่ ใชป้ ระกอบอาหารใหก้ ลายเปน็ ยา การ ชมุ ชนจังหวัดยโสธร” (ฐาปนพงศ์ เรืองไชย และคณะ, 2556) มา ผลิตข้าวปลอดภัยเพื่อขยายผลนำ�ไปสู่สิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่ดี พิจารณาใช้ประโยชน์ในแง่ของการสือ่ สารซึ่งเป็นผลงานทีส่ ามารถ การปรบั เปลยี่ นพืน้ ทีส่ กู่ ารผลติ ข้าวอนิ ทรีย์ การผลิตเกษตรอินทรีย์ นำ�ไปสู่การพัฒนาสือ่ ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และขยายผลใน ในพื้นที่แปลงใหญ่ ตลอดจนการทำ�เกษตรอินทรีย์ภายใต้เงื่อนไข ชุมชนและพื้นทีไ่ ด้อย่างแท้จริง คณุ ธรรม ตามหลกั ศีล 5 ลด ละ เลิก อบายมุข ความโดดเด่นของ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ 3 ด้านคือ 1) เพื่อเสริมสร้าง องค์ความรู้และภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนา กระบวนการเรียนรู้นำ�ไปสู่การสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่นระหว่าง พื้นที่ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์ วิถียโสธร สมาชกิ ชมุ ชนและนกั ศึกษาสาขาวชิ านิเทศศาสตร์ 2) เพือ่ ให้สมาชิก ระหว่างปี พ.ศ. 2559-2562 ชุมชนและนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์มีส่วนร่วมวางแผนผลิต แม้ว่าจะมีการกำ�หนดยุทธศาสตร์จังหวัดในการส่งเสริม และสร้างสรรค์สื่อชุมชนจากองค์ความรู้ด้านการพัฒนาเกษตร การผลิตข้าวอินทรีย์ของจังหวัดยโสธร แต่จากการลงส�ำ รวจพื้นที่ อนิ ทรยี ์ 3) เพือ่ ใหส้ มาชกิ ชมุ ชนและนกั ศกึ ษาสาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ เบื้องต้นพบว่า กลุ่มเกษตรอินทรีย์มีการกระจุกอยู่เพียงบางกลุ่ม มีส่วนร่วมเผยแพร่ข้อค้นพบจากผลงานวิจยั สกว. ผ่านสือ่ ชมุ ชนใน บางพื้นที่ เช่น อำ�เภอกุดชุม อำ�เภอเลิงนกทา อำ�เภอมหาชนะชัย ประเด็นเกษตรอินทรีย์ เป้าหมายและรปู ธรรมทีต่ ้องการขบั เคลือ่ น อำ�เภอคำ�เขื่อนแก้ว และอำ�เภอค้อวัง ทำ�ให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้เห็นผลจากโครงการวิจยั นี้คือ การบรู ณาการการเรียนการสอน ประสบการณ์ หรือความรู้ที่ได้จากการทําเกษตรกรรมของแต่ละ ในรายวิชาด้านนิเทศศาสตร์ ได้แก่ การสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่น พืน้ ทยี่ งั กระจายไมท่ ว่ั ถงึ ประกอบกบั ณ ปจั จบุ นั พืน้ ทสี่ ว่ นใหญเ่ กดิ การผลิตรายการโทรทัศน์ การผลิตงานประชาสัมพันธ์เพื่อสังคม การเปลยี่ นแปลงจากการท�ำ เกษตรกรรม เดมิ ทเี่ คย “เฮด็ อยู่ เฮด็ กนิ ” วารสารวิจัยเพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 126 (ปลูกอยู่ ปลูกกิน) กลายเป็นวิถีคล้ายชุมชนเมือง เมื่อมีงานวิจัย ผลิตดั้งเดิมของชมุ ชน รวมท้ังการสร้างความมนั่ คงทางอาหารของ เชงิ พนื้ ทขี่ อง สกว. ซงึ่ ไดศ้ กึ ษาคน้ หาแนวทางสง่ เสรมิ วถิ กี ารผลติ ขา้ ว ครอบครวั เพือ่ ความมน่ั คงในชีวิตชมุ ชน และได้พัฒนารปู แบบการฟื้นฟูพืชผกั นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประเด็น สวนครวั ในระบบอินทรยี เ์ พือ่ ความปลอดภยั ดา้ นอาหารในชมุ ชนจงึ เกษตรอนิ ทรยี เ์ พอื่ ใชป้ ระโยชนจ์ ากผลงานวจิ ยั ดงั นี้ มณฑา ชมุ่ สคุ นธ์ ทำ�ให้ประชาชนผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้รบั ประโยชน์ และคณะ (2557) พบวา่ ผลการเรยี นรขู้ องเกษตรกรกลมุ่ ขา้ วอนิ ทรยี ์ อย่างไรก็ตามพบว่าจุดอ่อนของพื้นที่คือ องค์ความรู้และ ภายหลงั ใชโ้ มดลู การเรยี นรเู้ รอื่ งการจดั การหลงั การเกบ็ เกยี่ วมกี าร ภูมิปัญญาชาวบ้านที่ถูกฟื้นฟูขึ้นมาใหม่ยังไม่ได้มีการเผยแพร่ไปยัง เปลยี่ นแปลงทง้ั ในดา้ นความรู้ ความคดิ เหน็ และทกั ษะกระบวนการ กลุ่มสมาชิกชุมชนทั่วไป ขาดการสื่อความหมายถึงประโยชน์และ ปฏิบตั ิมากกว่าก่อนใช้โมดูล ในขณะที่ ยพุ ิน เถือ่ นศรี และ นิชภา ความสำ�คัญของเกษตรอินทรีย์ รวมถึงการถ่ายทอดขยายผลให้ โมราถบ (2559) พบว่า ผลลัพธ์ของการจัดการความรู้เพื่อการ เกิดความต่อเนื่องไปยงั สังคมท้องถิ่นอืน่ ๆ ซึ่งมีวิถีชีวิตเกษตรกรรม พัฒนาเครือข่ายผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ ทําให้ได้กลไกในการบริหาร ของคนอีสานที่คล้ายคลึงกัน เกิดการรับรู้เฉพาะกลุ่มคนที่สนใจ จัดการเครือข่ายของผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ และการจัดทาํ ฐานข้อมูล ด้านเกษตรอินทรีย์พืชผักปลอดสารเคมีเท่านั้น ทำ�ให้ผู้นำ�ชุมชน ด้านการผลิตและการตลาดข้าวอินทรีย์ให้เป็นปัจจุบัน เป็นปัจจัย ทีมวิจัยเชิงพื้นที่และสมาชิกชุมชนส่วนหนึ่งพร้อมด้วยทีมงานสาขา สำ�คัญที่จะทำ�ให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสาร วิชานิเทศศาสตร์ ได้พูดคุยหารือในประเด็นของพื้นที่ดังกล่าว จึง ในการวางแผนการผลติ ใหส้ มั พนั ธก์ บั ฤดกู าลและความตอ้ งการของ ประสานความร่วมมือเพื่อตอบโจทย์และค้นหารูปแบบวิธีการ ผบู้ รโิ ภค ทง้ั นผี้ บู้ รโิ ภคมคี วามพงึ พอใจทจี่ ะจา่ ยส�ำ หรบั สนิ คา้ อนิ ทรยี ์ สื่อสารเผยแพร่องค์ความรู้เกษตรอินทรีย์ที่มีคุณค่าแก่ชุมชนคน ในราคาทสี่ งู กวา่ สนิ คา้ เกษตรโดยทว่ั ไป ดงั นนั้ กระบวนการผลติ ตาม ยโสธรและขยายผลองค์ความรู้ไปสู่สังคมท้องถิ่นอื่นๆ ต่อไป ทั้งนี้ มาตรฐานทคี่ �ำ นงึ ถงึ สงิ่ แวดลอ้ ม และความปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพยอ่ ม โดยอาศัยการน�ำ ฐานข้อมลู จากผลการวิจัยของ สกว. มาพิจารณา สง่ ผลตอ่ การยอมรบั จากผบู้ รโิ ภค รวมถงึ การขยายตลาดของสนิ คา้ ใชป้ ระโยชนด์ ว้ ยเครอื่ งมอื การสอื่ สารเพอื่ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรู้ เกษตรอินทรีย์ (วริพัสย์ เจียมปัญญารัช, 2560) และขยายผลในชมุ ชนและพน้ื ทไ่ี ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ องคค์ วามรจู้ ากงานวจิ ยั องค์ความรู้จากงานวิจัยที่ค้นพบในพื้นที่ต่างๆ ดังกล่าวอาจ มีดังนี้ ยังไม่ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง และกระจายไปไม่ถึงกลุ่ม 1) การปลูกพืชผักสวนครัวในระบบอินทรีย์ นับเป็นองค์ เป้าหมาย หากไม่ถูกนำ�ไปใช้ขยายผลต่อชุมชนท้องถิ่นและสังคม ความรู้และภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีอยู่แล้วในชุมชนและก่อให้เกิด อื่น ดังน้ันการดำ�เนินโครงการ “การสื่อสารเพื่อใช้ประโยชน์จาก ประโยชน์อย่างยิ่ง เช่น การท�ำ น้�ำ หมกั ชีวภาพเพือ่ เพิ่มผลผลิต วิธี งานวิจยั : เกษตรอินทรีย์มีชีวิต เล่าเรื่องผ่านวิธีคิดคนยโสธร” ของ การปลูกผักตามความเชื่อ เทคโนโลยีกับการบริหารจัดการน้ำ�ใน สาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สรุ นิ ทร์ จงึ เปรยี บเสมอื น แปลงเกษตรอินทรีย์ สุขภาพดีเพราะเกษตรอินทรีย์ ซึง่ องค์ความรู้ สอื่ กลางการสอื่ สารในการน�ำ ความรจู้ ากผลงานวจิ ยั ของสกว. ผา่ น ดังกล่าวสามารถขยายผลการฟื้นฟูพืชผักสวนครัวในระบบอินทรีย์ การเลา่ เรือ่ งของนกั ศกึ ษาและสมาชิกชมุ ชนเพือ่ ใหเ้ กดิ การเผยแพร่ โดยการจดั ทําแปลงสาธติ พืชผกั สวนครวั ในระบบอนิ ทรยี ์ในบริเวณ ขยายผลในงานพฒั นาชมุ ชนและสังคมท้องถิ่นต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมประจำ�ตำ�บลดอนผึ้ง และผลจากการดําเนิน กิจกรรมด้านสาธารณสุขผ่านกระบวนการฟื้นฟูพืชผักสวนครวั ส่ง ผลให้เกิดการดูแลสุขภาพด้วยการกินอาหารเป็นยาด้วยพืชผักใน กระบวนการทใ่ี ชใ้ นการเปลย่ี นแปลง ระบบอินทรีย์จํานวน 19 ราย เกิดการขยายผลในกลุ่ม อสม. 50 และการยอมรบั ของชมุ ชนเปา้ หมาย ราย และครวั เรือนเป้าหมาย 100 ราย สามารถฟนื้ ฟกู ารปลกู พืชผกั สวนครวั ในระบบอินทรีย์ได้ 68 ครัวเรือน 2) การสง่ เสรมิ การผลติ ขา้ วของจงั หวดั ยโสธร ควรสง่ เสรมิ ตามลักษณะกลุ่มเป้าหมายแต่ละประเภท ต้ังแต่กลุ่มที่มีการ กระบวนการดำ�เนินโครงการ “การสื่อสารเพื่อใช้ประโยชน์ ผลิตข้าวปลอดภัย กลุ่มปรับเปลี่ยนการผลิตสู่ข้าวอินทรีย์ และ จากงานวิจัย: เกษตรอินทรีย์มีชีวิต เล่าเรื่องผ่านวิธีคิดคนยโสธร” กลุ่มการผลิตข้าวอินทรีย์ การส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัย เพอื่ การสอื่ สารผลงานวจิ ยั ของ สกว. ผวู้ จิ ยั ไดใ้ ชก้ ระบวนการสอื่ สาร ของชุมชนสามารถขยายผลการดำ�เนินงานร่วมกับกิจกรรมอื่นๆ เชิงปฏิบตั ิการแบบมสี ว่ นร่วมในการวิจยั โดยผูเ้ ข้าร่วมกระบวนการ ในพื้นที่การผลิตเดียวกัน เช่น การทำ�ไร่นาสวนผสม เกษตรผสม วจิ ยั ใชว้ ธิ สี มุ่ ตวั อยา่ งแบบเจาะจง ประกอบดว้ ย กลมุ่ เกษตรกรท�ำ นา ผสาน การเลี้ยงปลาในนาข้าว เกษตรทฤษฏีใหม่ เป็นต้น ท�ำ ให้มี บากเรือ อำ�เภอมหาชนะชัย กลุ่มเกษตรกรทำ�นานาโส่ อำ�เภอ การผลิตที่มีความหลากหลายในแปลงนาที่สอดคล้องกับวิถีการ กดุ ชมุ กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชนข้าวคณุ ค่าชาวนาคณุ ธรรม อำ�เภอปา่ ติว้ วารสารวิจยั เพือ่ การพัฒนาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

127 ABC JOURNAL จังหวัดยโสธร จำ�นวน 45 คน กลุ่มอาจารย์และนักศึกษาสาขา 3) ลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูล โดยมีพื้นที่เป้าหมาย คือ วิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จำ�นวน 20 คน มี อ�ำ เภอมหาชนะชยั อำ�เภอกุดชุม และ อำ�เภอป่าติ้ว จงั หวดั ยโสธร รายละเอียดดงั ต่อไปนี้ ซึ่งแต่ละพื้นที่มีคุณลักษณะสำ�คัญที่แตกต่างกันดังกลุ่มตัวอย่าง 1) การพัฒนาโครงการ เริ่มกระบวนการจากการทบทวน ต่อไปนี้ ได้แก่ 1) กลมุ่ เกษตรกรท�ำ นาบากเรือ ต�ำ บลบากเรือ อ�ำ เภอ วรรณกรรมผลงานวิจัยของ สกว. ในพื้นที่เป้าหมายจังหวดั ยโสธร มหาชนะชัย เป็นกลุ่มที่อยู่ภายใต้เครือข่ายผู้ผลิตเกษตรอินทรีย์- การเตรียมทีมงานดำ�เนินโครงการ โดยการประชุมชี้แจงร่วมกันใน แฟร์เทรด ได้รับการสนบั สนนุ การด�ำ เนินงานจากสหกรณ์กรีนเนท ประเดน็ ข้อค้นพบจากงานวิจยั ท้ัง 2 เรื่อง มุ่งทำ�ความเข้าใจเนื้อหา จ�ำ กดั 2) กลุ่มเกษตรกรท�ำ นานาโส่ ต�ำ บลนาโส่ อ�ำ เภอกดุ ชมุ เป็น ข้อมูลด้านเกษตรอินทรีย์ หลังจากน้ันวางแผนแบ่งหน้าที่ ทีมงาน 1 ใน 5 กลุ่มเกษตรกรต้นแบบเกษตรอินทรีย์ โดยกลุ่มเกษตรกร ระหวา่ งอาจารยท์ ปี่ รกึ ษาโครงการ และนกั ศกึ ษาสาขานเิ ทศศาสตร์ ได้ปรับเปลี่ยนระบบการผลิตจากการใช้สารเคมีมาเป็นการผลิต เพื่อพัฒนาโครงงานต่อไป เมื่อชี้แจงโครงการแล้วได้จัดอบรมเชิง ในระบบเกษตรอินทรีย์ที่ผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ปฏิบัติการเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษา ได้แก่ การหาแหล่ง แห่งประเทศไทย มีการจำ�หน่ายข้าวอินทรีย์ท้ังในประเทศและ ขอ้ มลู การคดั เลือกประเดน็ การสมั ภาษณ์ การเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ ตา่ งประเทศ และ 3) กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนขา้ วคณุ คา่ ชาวนาคณุ ธรรม เทคนิคการนำ�เสนอภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว การนำ�เสนอละคร ต�ำ บลกระจาย อ�ำ เภอปา่ ติว้ จงั หวดั ยโสธร เปน็ กลมุ่ ทมี่ งุ่ เนน้ การนํา เทคนิคการมีส่วนร่วมกบั ชุมชนและการจดั กระบวนการกลุ่ม ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริมาใช้ในการบริหาร 2) ลงพื้นที่ศึกษาชุมชน โดยมีกระบวนการเตรียมการ จัดการกลุ่ม ภายใต้เงื่อนไขคุณธรรม โดยสมาชิกกลุ่มดำ�เนินชีวิต สร้างความเข้าใจถึงจุดมุ่งหมายของโครงการระหว่างนักศึกษา ตามหลักศีล 5 ลด ละ เลิก อบายมุข และสมาชิกคอยช่วยเหลือ และสมาชิกชุมชน (จัดเวทีชาวบ้าน) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ชุมชน ซึง่ กันและกนั ในพื้นที่ได้รับทราบว่ามีการดําเนินโครงการเพื่อให้สมาชิกชุมชน ผวู้ จิ ยั ใชเ้ ครอื่ งมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดแ้ ก่ การจดั เวที และนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ มีส่วนร่วมวางแผนผลิตและ ชาวบ้าน การสมั ภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สมั ภาษณ์เปน็ รายบคุ คล สร้างสรรค์สื่อชุมชนที่มีอยู่ในการพัฒนาองค์ความรู้ด้านเกษตร สนทนากลมุ่ ยอ่ ยจากกลมุ่ เกษตรกร กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู อินทรีย์ และมีส่วนร่วมเผยแพร่ข้อค้นพบจากผลงานวิจยั สกว. ผ่าน กบั กลุ่มเกษตรกร ดังภาพที่ 1 สือ่ ชุมชนในประเดน็ ด้านเกษตรอินทรีย์ ภาพที่ 1 กระบวนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู กบั กลมุ่ เกษตรกรท�ำ นาบากเรอื กลมุ่ เกษตรกรท�ำ นานาโส่ และกลมุ่ ขา้ วคณุ คา่ ชาวนาคณุ ธรรม วารสารวิจัยเพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 128 4) กระบวนการพัฒนาโครงงานนักศึกษา เกิดจาก - สื่อสารคดีวิทยกุ ระจายเสียง-เกษตรอินทรีย์มีชีวิต กระบวนการมีส่วนร่วมวางแผนผลิตและสร้างสรรค์สื่อชุมชน เล่าเรื่องผ่านวิธีคิดคนยโสธร ด้วยวิธีการศึกษาจากข้อค้นพบของ (ภาพที่ 2) ประกอบด้วย งานวิจยั ในประเด็นต่างๆ รวมถึงการสมั ภาษณ์พดู คยุ สงั เกตการณ์ 4.1) ขน้ั การผลิตชิน้ งานสือ่ 3 โครงงาน ได้แก่ แบบมีส่วนร่วมกับกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ร่วมกับสมาชิกชุมชน - สื่อกลอนล�ำ -เกษตรอินทรีย์ มีดีหมอ่ งใด๋ ด้วยการมี แลว้ นำ�มาเปน็ ขอ้ มลู ในการเขยี นบทสารคดี บนั ทึกเสยี ง ตดั ต่อเสียง สว่ นรว่ มระหว่างสมาชกิ ชมุ ชนกลมุ่ เกษตรกร ต�ำ บลบากเรือ อ�ำ เภอ บรรยาย เสียงประกอบ ให้สอดคล้องกับเนื้อหา มหาชนะชัย เป็นผู้แต่งกลอนลำ�ภาษาอีสาน เนื้อหาชี้ให้เห็นข้อดี 4.2) ขั้นหลังการผลิต ประกอบด้วยการปรับปรุงแก้ไข ของการทำ�เกษตรอินทรีย์เมื่อเปรียบเทียบกับการทำ�เกษตรเคมี เนื้อหา การออกแบบเพื่อนำ�เสนอโครงงาน และตรวจทานความ นักศึกษาเป็นผู้บันทึกภาพเคลื่อนไหว บันทึกเสียง เรียบเรียงภาพ ถกู ต้องกับเจ้าของพื้นที่เกษตรอินทรีย์เพือ่ เตรียมเผยแพร่ เพื่อตดั ต่อ บรรยายใต้ภาพ ให้สอดคล้องกบั เนื้อหา 4.3) ทดลองเผยแพรส่ อื่ ชมุ ชน ผา่ นสอื่ กลอนล�ำ -เกษตร - สอื่ เฉพาะกจิ -หนงั สอื เลม่ ถอดองคค์ วามรคู้ มู่ อื ชาวบา้ น อนิ ทรยี ์ มดี หี มอ่ งใด๋ สอื่ เฉพาะกจิ -หนงั สอื เลม่ ถอดองคค์ วามรคู้ มู่ อื เล่าเรื่องผ่านเกษตรยโสธร ด้วยวิธีการสัมภาษณ์พูดคุย สนทนา ชาวบ้าน เล่าเรื่องผ่านเกษตรยโสธร และสื่อสารคดีวิทยุกระจาย กลมุ่ ยอ่ ยกบั กลมุ่ เกษตรกรท�ำ นาบากเรอื กลมุ่ เกษตรกรทำ�นานาโส่ เสียง-เกษตรอินทรีย์มีชีวิต เล่าเรือ่ งผ่านวิธีคิดคนยโสธร และกลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนขา้ วคณุ คา่ ชาวนาคณุ ธรรม แลว้ นำ�มาเรยี บ 5) สรุปบทเรียน ติดตามประเมินผลโครงงาน โดยอาจารย์ เรียงเป็นการเล่าเรื่อง (คอลัมน์) เนื้อหาสะท้อนวิธีคิดของตัวอย่าง ที่ปรึกษาโครงการได้ติดตามการผลิตชิ้นงานสื่อทั้ง 3 โครงงาน เกษตรกร จ.ยโสธร ในการดำ�เนินแนวทางเกษตรอินทรีย์ หลังจากน้ันทีมงานโครงการ “การสื่อสารเพือ่ ใช้ประโยชน์จากงาน ภาพที่ 2 กระบวนการพฒั นาโครงงานผ่านการผลิตสือ่ และเผยแพร่สือ่ วารสารวิจยั เพื่อการพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

129 ABC JOURNAL วจิ ยั : เกษตรอนิ ทรยี ม์ ชี วี ติ เลา่ เรอื่ งผา่ นวธิ คี ดิ คนยโสธร” ทง้ั หมดได้ บรรลเุ ป้าหมายตามที่ได้ต้ังไว้ เพียงแต่ลักษณะของการสื่อสารเพื่อ ร่วมกันสรุปบทเรียนในประเด็นการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ การพฒั นานั้นจะมีลกั ษณะทีแ่ ปรผนั ไปตามลกั ษณะการดำ�เนินงาน นำ�ไปสู่การสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิน่ พฒั นาในแต่ละกระบวนทัศน์ บทบาทการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการวจิ ยั ของกลมุ่ เกษตรกร งานวิจัยนี้ใช้แนวคิดการสื่อสารเพื่อการพัฒนาเป็นกรอบใน กลุ่มอาจารย์และนักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์ คือ ร่วมเป็นคณะ การวางแผนการสื่อสารเพื่อใช้ประโยชน์จากงานวิจัย เริ่มต้ังแต่ ทำ�งานในการสื่อสารผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในประเด็นเกษตร วางแผนพิจารณาองค์ประกอบ ด้านผู้ส่งสาร เนื้อหาสาร ช่องทาง อินทรีย์ โดยร่วมกันออกแบบ การเก็บรวบรวมข้อมูลจากชุมชน การสื่อสาร และผู้รับสาร เพื่อให้สอดคล้องกับรูปแบบสือ่ เพื่อการ การบันทึกภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว การตัดต่อภาพและเสียง เผยแพร่องค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ไปยังกลุ่มเป้าหมาย สังเคราะห์เนื้อหาเผยแพร่สื่อสารผลงานวิจัยตามวัตถุประสงค์ที่ 3) แนวคิดการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม ดังที่ รุจิภา จิตต์ ตงั้ ไว้ คนื ขอ้ มลู จากผลการวจิ ยั และรว่ มรบั ประโยชนจ์ ากการสอื่ สาร ตั้งตรง และ พชั นี เชยจรรยา (2558) ระบวุ ่า กลยุทธ์การสือ่ สาร ผลงานวิจยั ในคร้ังนี้ เพื่อพัฒนาแบบมีส่วนร่วมที่สามารถนำ�มาใช้ในงานพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย 1) กลยุทธ์ความเหมาะสมกับบริบทของภาษา 2) กลยุทธ์การปรบั ประสานเนื้อหา 3) กลยทุ ธ์บูรณาการ ภูมิปญั ญา ความรหู้ รือความเชี่ยวชาญทีใ่ ช้ ท้องถิ่นกับความรู้สากล ดังน้ันการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเป็นการ สอื่ สารทตี่ อ้ งการสรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกนั ระหวา่ งผสู้ ง่ และผรู้ บั สาร มีการสลับบทบาทผู้ส่งและผู้รับหมุนเวียนไป (Role shifting) เป็น การดำ�เนินโครงการ “การสื่อสารเพื่อใช้ประโยชน์จากงาน การเปดิ โอกาสใหค้ กู่ ารสอื่ สารทง้ั สองฝา่ ยมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการ วจิ ยั : เกษตรอนิ ทรยี ม์ ชี วี ติ เลา่ เรอื่ งผา่ นวธิ คี ดิ คนยโสธร” ไดใ้ ชก้ รอบ สื่อสาร แนวคิดหรือความรู้เพือ่ เปน็ แนวทางในการศึกษาดังนี้ อย่างไรก็ตาม พวงชมพู ไชยอาลา แสงรุ่งเรืองโรจน์ (2556) 1) แนวคิดการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เสนอว่าการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมจำ�เป็นต้องมี 3 ขั้นตอนหลักที่ (Participatory Action Research: PAR) เป็นกลวิธีที่ให้ผล นักพัฒนาต้องค�ำ นึงถึง ได้แก่ 1) ขั้นวางแผน วิเคราะห์ศักยภาพของ อย่างมีประสิทธิภาพอีกวิธีหนึ่งในการสื่อสารเพื่อการพัฒนา ดังที่ ชุมชนในการดำ�เนินงานพัฒนาร่วมกัน โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิง วรรณดี สุทธินรากร (2557) ระบุว่าการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมี ปฏิบัติการที่เปิดโอกาสให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่การระบุ ส่วนร่วมมีนัยยะสำ�คัญ 3 ประการ คือ 1) การวิจัยเพือ่ ให้ได้ความรู้ ปญั หา การคน้ หาวธิ แี กไ้ ข และการดำ�เนนิ การแกไ้ ข 2) ขนั้ ปฏบิ ตั งิ าน 2) การปฏิบัติการเพื่อใช้ความรู้และสะท้อนผลการปฏิบัติที่มา นำ�การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเข้ามาใช้เพื่อชักนำ�ให้ชุมชนเข้ามามี จากการใช้ความรู้ และ 3) การมีส่วนร่วมที่มีความหมายของการ ส่วนร่วมในงานพัฒนา 3) ขั้นการตรวจสอบและการประเมินผล เป็นเจ้าของการเปลี่ยนแปลง ซึ่งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสำ�หรับ ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ตรวจสอบและประเมินผลจากสายตา การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมมีหลายวิธี ดังน้ันผู้วิจัยและ ของคนในชุมชนร่วมกับนักพัฒนา เพื่อเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน นำ� สมาชิกชุมชนซึ่งเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมได้พิจารณาให้มีความเหมาะสม ไปสู่การพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการทำ�งานด้านพัฒนาด้วย กับประเด็นเกษตรอินทรีย์ และร่วมมือกันในการสร้างวิธีการเก็บ ตนเองในที่สดุ รวบรวมขอ้ มลู ทเี่ หมาะสม ไดแ้ ก่ การจดั เวทชี าวบา้ น การสมั ภาษณ์ งานวจิ ยั นไี้ ดแ้ นวคดิ การสอื่ สารแบบมสี ว่ นรว่ ม น�ำ มาวางแผน แบบมีโครงสร้าง สัมภาษณ์เป็นรายบุคคล สนทนากลุ่มย่อยจาก ร่วมกันกับชุมชนและถอดบทเรียนร่วมกัน หลังจากมีการผลิตสื่อ กลุ่มเกษตรกรท้ัง 3 กลุ่ม ตลอดจนการร่วมกันวางแผนผลิตสือ่ กบั เพือ่ น�ำ ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการเผยแพร่ต่อไป ชมุ ชน 4) แนวคิดเกษตรอินทรีย์ และการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ 2) แนวคิดการสื่อสารเพื่อการพัฒนา ดังที่ กาญจนา วิถียโสธร หรือยโสธรโมเดล นอกเหนือจากผลงานวิจัยของ สกว. แก้วเทพ (2548) สะท้อนให้เหน็ ว่าบทบาทของการสือ่ สารเพือ่ การ งานวิจยั นีศ้ ึกษาข้อมลู ทตุ ยิ ภมู เิ พิม่ เติมโดยพบว่า การพฒั นาเกษตร พัฒนา ไม่ว่ากระบวนทัศน์การพัฒนาจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร อนิ ทรยี ใ์ นบรบิ ทของจงั หวดั ยโสธร หรือยโสธรโมเดล ครอบคลมุ ทง้ั ก็ตาม การสื่อสารก็ยังคงเข้าไปมีบทบาทในการพัฒนาอย่าง ด้านพืชปศุสตั ว์ และสตั ว์น้�ำ ประกอบกบั จังหวดั ยโสธรมีศกั ยภาพ หลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังน้ันการขับเคลื่อนแนวคิดไปสู่การปฏิบัติ ใน เป็นต้นแบบการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ของประเทศตลอดห่วงโซ่ บทบาทนักพัฒนาจึงจำ�เป็นต้องวางแผนการสื่อสารไม่ว่าจะเป็นผู้ ตง้ั แตก่ ารผลติ การแปรรปู จนถงึ การตลาด (โตะ๊ ขา่ วเกษตร, 2559) ส่งสาร เนื้อหาสาร ช่องทางการสื่อสาร ท้ังนี้เพื่อให้งานที่พัฒนา ด้วยการเจรจาธุรกิจเพื่อขยายโอกาสทางการตลาดผลผลิตจาก วารสารวิจยั เพื่อการพัฒนาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 130 เกษตรอินทรีย์ (มนตรี ตรีชาลี, 2560) ตลอดจนมีการใช้ QR code และประเมินผลจากสายตาของคนในชุมชน ร่วมกับคณะผู้วิจัย ในการกำ�กับสินค้า เพิ่มความหลากหลายของชนิดสินค้าเกษตร ทีมอาจารย์นกั ศึกษา อินทรีย์ป้อนเข้าสู่ตลาดภายในประเทศ และผลักดันการส่งออกไป 2) การนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ผลการดำ�เนินงาน ยงั ตลาดต่างประเทศ (ส�ำ นักงานจังหวดั ยโสธร, 2559) วิจัยนี้ ก่อให้เกิดการนำ�ผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ได้แก่ 1) ด้าน ดงั น้ันการสือ่ สารทีม่ ีประสิทธภิ าพเพือ่ ส่งเสริมการท�ำ เกษตร สาธารณะ โดยสื่อสารคดีวิทยุกระจายเสียงได้ถูกส่งไปเผยแพร่ อินทรีย์ของชุมชนจึงต้องมีการศึกษาสภาพของชุมชนและศึกษา ผ่านวิทยุชุมชนในจังหวัดยโสธร และจังหวัดใกล้เคียงในเขตภาค ปญั หาการท�ำ เกษตรอนิ ทรยี ท์ ผี่ า่ นมาจนน�ำ มาสกู่ ารสรา้ งเนอื้ หาสาร อีสานเพื่อสื่อสารไปยังกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มผู้บริโภค และการ ที่เหมาะสม และสามารถจูงใจให้เกษตรกรหนั มาทำ�เกษตรอินทรีย์ ใช้ QR code เพจเกษตรอินทรีย์มีชีวิต เล่าเรื่องผ่านวิธีคิดคนยโสธร ได้ เนื้อหาสารเหล่าน้ันต้องสามารถตอบสนองต่อสภาพปัญหา ได้รวบรวมคลิปสื่อกลอนล�ำ สื่อสารคดีวิทยุกระจายเสียง เพือ่ เผย ของเกษตรกรได้อย่างดี ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยจากสารเคมีของ แพร่ให้แก่ผู้สนใจทว่ั ไป 2) ด้านวิชาการ สือ่ ท้ัง 3 รปู แบบ ได้แก่ สือ่ ผู้บริโภค เกษตรกร และสิ่งแวดล้อมของชมุ ชน ทั้งยงั ส่งผลต่อการ กลอนล�ำ สื่อหนงั สือเล่ม สือ่ สารคดีวิทยกุ ระจายเสียง ถกู น�ำ มาใช้ พัฒนาท้องถิ่นให้เป็นชุมชนอินทรีย์ที่ย่ังยืนต่อไป (ชมภูนุช หุ่นนาค เพื่อเป็นตัวอย่างในการพัฒนาโครงงานด้านวิทยุกระจายเสียงและ และคณะ, 2560) วิทยุโทรทัศน์ของนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ในประเดน็ ดงั กลา่ วนบั เปน็ การตอกย้ำ�ถงึ ความ ราชภฏั สรุ นิ ทร์ และน�ำ ไปเปน็ แนวทางในการผลติ สอื่ เพอื่ เผยแพรผ่ ล สำ�คัญในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านเกษตรอินทรีย์ให้แก่ งานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนา และโครงการพันธกิจสัมพันธ์ กลุ่มเป้าหมายท้ังกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มผู้บริโภคผ่านช่องทางการ ด้วยการบูรณาการระหว่างงานวิจัย การเรียนการสอน และการ สือ่ สารภายใต้งานวิจัย บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ ินทร์ การน�ำ ผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชน์ เกดิ จากการพฒั นาโครงงาน สือ่ ชุมชนผ่านช่องทาง การเผยแพร่สือ่ ทีม่ ีความเหมาะสมกับชุมชน สถานการณใ์ หม่ พื้นที่ จ�ำ นวน 3 โครงงาน ได้แก่ ทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ 2.1) สอื่ กลอนล�ำ เกษตรอนิ ทรยี ์ มดี หี มอ่ งใด๋ กลอนล�ำ เปน็ สื่อคลิปวิดีโอ You Tube เผยแพร่ส�ำ หรับเกษตรกรชาวอีสานที่ สามารถสื่อสารเนื้อหาเกษตรอินทรีย์ผ่านบทกลอนลำ�ภาษาอีสาน จึงสอดคล้องและมีความใกล้ชิดกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนอีสาน ผลการดำ�เนินงานโครงการ “การสื่อสารเพื่อใช้ประโยชน์ และสามารถเผยแพร่ให้แก่เกษตรกรในวงกว้างจากคลิปวิดีโอ You จากงานวิจัย: เกษตรอินทรีย์มีชีวิต เล่าเรื่องผ่านวิธีคิดคนยโสธร” Tube ท้ังภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มีความยาว 4.05 นาที ปรากฏให้เหน็ ภาพสถานการณ์ใหม่ที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมดังนี้ ดงั ภาพที่ 3 1) เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างเจ้าของพื้นที่ 2.2) สื่อเฉพาะกิจ-หนังสือเล่ม ถอดองค์ความรู้คู่มือ และคนนอกพนื้ ที่ นน่ั หมายถงึ สมาชกิ กลมุ่ เกษตรกร และทมี ผวู้ จิ ยั ชาวบ้าน เล่าเรื่องผ่านเกษตรยโสธร มีช่องทางการเผยแพร่ให้แก่ อาจารย์ นกั ศกึ ษา มีส่วนรว่ มวางแผนผลติ และสรา้ งสรรค์สือ่ ชมุ ชน กลมุ่ เกษตรกรและผบู้ รโิ ภคทมี่ คี วามสนใจ ไดแ้ ก่ ศนู ยข์ า้ วคณุ ธรรม ที่มีอยู่ กระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นโดยการเรียนรู้จากการ วดั ป่าสวนธรรม ต�ำ บลกระจาย อ�ำ เภอป่าติ้ว จงั หวัดยโสธร (เปน็ ลงมือทําผ่านรูปแบบการทำ�โครงงานสือ่ เปน็ การเสริมสร้างทักษะ สถานที่จัดอบรม และเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ให้แก่ การแสวงหาความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์นอกห้องเรียน พื้นทีจ่ ังหวดั ยโสธร และจังหวดั ใกล้เคียง) ตลาดนัดสีเขียว จงั หวัด จากการนำ�นักศึกษาลงพื้นที่เพื่อศึกษาชุมชน โดยนักศึกษาเรียน ยโสธร เปน็ ต้น ท้ังนี้การเผยแพร่สื่อในวงกว้างสามารถใช้ QR code รู้กลวิธีเชื่อมโยงเนื้อหาการสื่อสารเพื่อพัฒนาท้องถิ่นแล้วนำ�มา เพื่อให้ผู้บริโภคเข้าถึงเนื้อหาสื่อได้ง่ายขึ้น ดังภาพที่ 4 และภาพที่ 5 ถ่ายทอดประเด็นเกษตรอินทรีย์ในมุมมองต่างๆ ผ่านการน�ำ เสนอ 2.3) สื่อสารคดีวิทยุกระจายเสียง-เกษตรอินทรีย์ ดว้ ยวธิ กี ารเขยี น การน�ำ เสนอดว้ ยภาพและเสยี ง โดยผา่ นการแนะน�ำ มีชีวิต เล่าเรื่องผ่านวิธีคิดคนยโสธร มีช่องทางการเผยแพร่ให้แก่ และกลั่นกรองจากอาจารย์ทีป่ รึกษา และการตรวจสอบข้อมูลจาก กลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภค ผ่านวิทยชุ ุมชนและสถานีวิทยกุ ระจาย เจ้าของพื้นที่ ในขณะที่สมาชิกกลุ่มเกษตรกรได้เรียนรู้ในการสลับ เสียงท้องถิน่ ซึ่งเป็นช่องทางทีเ่ กษตรกรในพื้นที่จงั หวดั ยโสธร และ บทบาทเป็นได้ท้ังผู้ส่งสารและผู้รับสาร มีส่วนร่วมในกระบวนการ พื้นที่ใกล้เคียงยังคงใช้เป็นสื่อกลางในการรับข่าวสารข้อมูลอย่าง สือ่ สารและเกดิ ทกั ษะในการเปน็ นกั วจิ ยั ทอ้ งถนิ่ สามารถตรวจสอบ สม่�ำ เสมอ วารสารวิจัยเพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

131 ABC JOURNAL ภาพที่ 3 ตัวอย่างคลิปวิดีโอสื่อกลอนลำ� ภาคภาษาไทย ภาพที่ 4 การเผยแพร่สื่อในวงกว้างโดยใช้ QR code ภาพที่ 5 ตัวอย่างสือ่ เฉพาะกิจ – หนังสือเล่ม ผลกระทบและความยัง่ ยืน ของการเปลี่ยนแปลง ผลการด�ำ เนนิ งานโครงการ “การสอื่ สารเพอื่ ใชป้ ระโยชนจ์ าก งานวจิ ยั : เกษตรอนิ ทรยี ม์ ชี วี ติ เลา่ เรอื่ งผา่ นวธิ คี ดิ คนยโสธร” พบวา่ เกดิ ผลกระทบตอ่ ชมุ ชนพืน้ ที่ และผลกระทบตอ่ กระบวนการจดั การ เรียนการสอนด้านนิเทศศาสตร์ในมุมมองของการสื่อสารเพื่อการ พัฒนาดังต่อไปนี้ 1) ผลกระทบจากการตอ่ ยอดและขยายผลจากงานวิจยั ได้แก่ 1.1) กระตุ้นให้สมาชิกชุมชนในพื้นที่หันกลับมาให้ความ สำ�คัญกับเกษตรอินทรีย์อีกครั้ง ดังค�ำ บอกเล่าจาก นางศุภัคนันท์ เครือแสง (หวั หน้าโครงการวิจัยเรือ่ ง “การฟืน้ ฟผู ักพืชสวนครัวใน ระบบอินทรีย์เพื่อความปลอดภัยด้านอาหารในชุมชน บ้านดอนผึ้ง ตำ�บลบากเรือ อำ�เภอมหาชนะชยั จงั หวดั ยโสธร) ระบวุ ่า ชุมชนเกิด การเรียนรู้การทำ�เกษตรอินทรีย์ในรูปแบบกลุ่ม ส่งผลต่อสุขภาพ ของคนในชมุ ชนดีขึ้น 1.2) เกิดการสร้างอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ขยับขยายจาก ฐานเกษตรอินทรีย์ไปยังสมาชิกกลุ่มหัตถกรรมทอผ้า ทำ�เสื่อกก เสือ่ ผืน ซึง่ เปน็ เครือข่ายกลุ่มอาชีพเชือ่ มโยงกับกลุ่มเกษตรอินทรีย์ ของต�ำ บลบากเรือ 1.3) เกิดการใช้กุศโลบายชาวนา ที่เดินคู่ขนานไปกับ แนวคิดเกษตรอินทรีย์ ดังที่พ่อวิจิตร บุญสูง (ผู้นำ�ก่อต้ังเครือข่าย วารสารวิจัยเพื่อการพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 132 คุณค่าข้าวคุณธรรม) อธิบายว่า การยกระดับคุณภาพชีวิตของ ต้องแก้ไขให้คนอื่นช่วยอ่านและเกลาภาษาให้ อาจารย์ให้ลองอ่าน เกษตรกร ต้องใช้จุดแข็งด้านศีลธรรมเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ บทสารคดีวิทยุกน็ �ำ เทคนิคที่เคยเรียนมาใช้ ต้องเว้นช่วงเว้นจงั หวะ ให้แก่ชาวนา โดยเจ้าของแปลงนาต้องเป็นผู้ถือศีล 5 เคร่งครัดใน เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจได้ง่าย” การลด ละ เลิก อบายมขุ 3 ประการ คือ การงดเสพสรุ า ของมึนเมา (นางสาวภารตี มาณีสม ไม่สูบบุหรี่ และไม่เล่นการพนัน นับเป็นกระบวนการที่ถูกต่อยอด นักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ชั้นปีที่ 3) จากคณุ ธรรมตามศีล 5 ที่ชาวนากลุ่มนี้มีอยู่แล้วแต่เดิม และสงั คม ควรสนบั สนนุ ให้ขยายตัวไปสู่ชุมชนต่างๆ เพือ่ ก่อให้เกิดการพฒั นา “หากเรียนเฉพาะในห้องเรียนก็นึกภาพไม่ออกว่า ชุมชนเป็น อย่างยง่ั ยืน อย่างไร การจะเข้าถึงชุมชนและท�ำ ความรู้จักกับชาวบ้าน เราต้อง 2) เกิดข้อค้นพบการสะท้อนการเรียนรู้ของนักศึกษา พูดภาษาเดียวกนั กับชาวบ้าน คือ ภาษาลาว เขาถึงจะกล้าคยุ ด้วย และการท�ำ งานเพือ่ ผลิตสือ่ รว่ มกบั ชมุ ชน ดังภาพที่ 6 และภาพ เป็นข้อได้เปรียบที่ดีสำ�หรับการทำ�งานกับชุมชน เห็นชาวบ้านคิด ที่ 7 พบว่าข้อสะท้อนการเรียนรู้ของนักศึกษา ดงั ตวั อย่างข้อความ กลอนล�ำ เอง แลว้ กร็ อ้ งเองสดๆ พวกเรานกั ศกึ ษารอ้ งกลอนล�ำ ไมไ่ ด้ ต่อไปนี้ แต่กต็ ้อง ร�ำ ต้องเล่นได้เหมือนพีป่ ้า น้าอา ที่ก�ำ ลังแสดงกลอนลำ� พวกเราสัมภาษณ์พดู คยุ เฉยๆ ยงั ไม่พอ ต้องกินต้องอยู่ง่ายเหมือน “เมื่อสัมภาษณ์พูดคุยกับปราชญ์ชาวบ้าน คุณพ่อเอี่ยม ชาวบ้าน” สมเพ็ง แล้วต้องเอากลับไปเขียนส่งอาจารย์ ใช้วิธีเล่าเรื่องเหมือน (นางสาวบุปผา กองสุข สารคดี แต่อาจยังเขียนได้ไม่ดีนัก เนื้อความบางจดุ ยงั เป็นภาษาพดู นกั ศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ช้ันปีที่ 3) ภาพท่ี 7 การเรยี นรแู้ ละการท�ำ งานเพอ่ื ผลติ สอ่ื รว่ มกบั ชมุ ชนของ ภาพท่ี 6 การสะทอ้ นการเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษาสาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ กลมุ่ นกั ศกึ ษาสาขานเิ ทศศาสตร์ วารสารวิจัยเพื่อการพฒั นาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

133 ABC JOURNAL 3) คุณค่าที่ได้รับจากการวิจัยในคร้ังนี้ คือ สามารถใช้ เปน็ พนื้ ฐานส�ำ คญั อยา่ งยงิ่ ทจี่ ะสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นดา้ นนเิ ทศศาสตรม์ ี กลไกการพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ด้านนิเทศศาสตร์ในยุค ความรคู้ วามเขา้ ใจในวธิ กี ารสอื่ สารเพอื่ การพฒั นาสงั คมตามสภาวะ ศตวรรษที่ 21 ที่ตอบโจทย์การเรียนการสอนในมุมมองของการ การเปลี่ยนแปลงของโลกในยคุ ปัจจุบัน สื่อสารเพื่อการพัฒนาด้วยกระบวนการวิจัย การทำ�งานร่วมกับ ชุมชน การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนและ พื้นที่อย่างแท้จริง บนฐานความรู้จากผลงานวิจัยที่ผู้เรียนด้าน กิตติกรรมประกาศ นเิ ทศศาสตร์ ตอ้ งท�ำ ความเขา้ ใจกลวธิ กี ารสอื่ สารเพอื่ น�ำ องคค์ วามรู้ จากงานวิจัยไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในทุกมิติของสังคม งานวิจัยชิ้นนี้สำ�เร็จลุล่วงได้ด้วยการสนับสนุนทุนวิจัยจาก สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภายใต้ชุดโครงการ ขอ้ เสนอแนะ การสื่อสารเพื่อใช้ประโยชน์จากงานวิจัยในชุมชนและพื้นที่ ประจำ� ปี 2559 สญั ญาทนุ เลขที่ RUG59A0002 อีกท้ังได้รบั ความร่วมมือ อย่างดียิ่งจาก นางศภุ ัคนนั ท์ เครือแสง หัวหน้าโครงการวิจยั เรื่อง 1) กระบวนการสือ่ สารเพือ่ ใช้ประโยชน์จากงานวิจยั ในชมุ ชน การฟื้นฟูผักพืชสวนครัวในระบบอินทรีย์เพื่อความปลอดภัยด้าน และพื้นที่ควรพิจารณาออกแบบให้สอดคล้องกับบริบทความ อาหารในชุมชน บ้านดอนผึ้ง ตำ�บลบากเรือ อำ�เภอมหาชนะชัย ต้องการของชุมชน ภายใต้การมีส่วนร่วมของคนในและคนนอก จังหวัดยโสธร ตลอดจนกลุ่มเกษตรกรทำ�นาบากเรือ นายวิจิตร ชุมชน จึงจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมายอย่างชัดเจน บุญสูง ผู้นำ�กลุ่มและสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวคุณค่าชาวนา 2) การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้นอกห้องเรียนให้แก่ คุณธรรม กลุ่มเกษตรกรทำ�นานาโส่ จังหวัดยโสธร ซึ่งได้ให้ข้อมูล ผู้เรียนด้านนิเทศศาสตร์ ด้วยการศึกษาบริบทพื้นที่จริงของชุมชน อนั เป็นประโยชน์ต่อการวิจยั และมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตสื่อ บรรณานกุ รม กาญจนา แก้วเทพ. (2548). ก้าวต่อไปของการสื่อสารเพือ่ การพัฒนาชมุ ชน. กรุงเทพฯ: ซีโน ดีไซน์. ชมภนู ชุ หุ่นนาค, ศิริวฒั น์ เปลี่ยนบางยาง และ วรรณารัตน์ อัศวเดชาชาญยุทธ์. (2560). การสร้างชุมชนเข้มแขง็ ด้วยกระบวนการจัดการความรู้ ในการท�ำ เกษตรอินทรีย์ในจงั หวดั นครปฐม. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 28(2), 158-166. ฐาปนพงศ์ เรืองไชย, สุขสนั ต์ กุณฑียะ และ สมนึก พวงพันธ์. (2556). โครงการปรบั วิถีการผลิตข้าวเพื่อความมน่ั คงในชีวิตชุมชนจังหวัดยโสธร. (รายงานวิจัยฉบบั สมบรู ณ์). กรุงเทพฯ: ส�ำ นักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั . โต๊ะข่าวเกษตร. (2559). สานต่อยโสธรโมเดล อีก 10 จังหวัดสู่เมืองเกษตรอินทรีย์. สืบคนเมื่อ 25 กรกฎาคม 2559, จาก http://www. komchadluek.net/news/agricultural/232743. พวงชมพู ไชยอาลา แสงรุ่งเรืองโรจน์. (2556). การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม: กลไกในขับเคลือ่ นแนวคิดสู่การปฏิบตั ิภายใต้กระบวนทศั น์การพฒั นา แบบทางเลือก. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 30(2), 23-42. มณฑา ชุ่มสุคนธ์, จุฬารตั น์ วฒั นะ และ สมสดุ า ผู้พฒั น์. (2557). โมดูลการเรียนรู้ที่ยึดหลกั พทุ ธวิธี การสอนสาํ หรบั เกษตรกรกลุ่มข้าวอินทรีย์ เรื่องการจดั การหลังการเกบ็ เกีย่ ว. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 13(2), 168-175. มนตรี ตรีชาลี. (2560). ยโสธรเมืองเกษตรอินทรีย์ เมืองวิถีแห่งอีสาน. สืบคนเมื่อ 10 มกราคม 2559, จาก https://www.kasetkaoklai.com/ home/2017/01/ยโสธร-เกษตรอินทรีย์. ยพุ ิน เถือ่ นศรี และ นชิ ภา โมราถบ. (2559). การพฒั นาเครือขา่ ยเกษตรกรผ้ปู ลกู ขา้ วอินทรยี ใ์ นจงั หวดั อตุ รดติ ถ์: กรณศี กึ ษา ต�ำ บลวงั กะพี้ อ�ำ เภอ เมือง จังหวัดอตุ รดิตถ์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั ลําปาง, 5(2), 116-132. รจุ ิภา จิตต์ต้ังตรง และ พัชนี เชยจรรยา. (2558). กลยุทธ์สือ่ บุคคลเพื่อสร้างเครือข่ายการสื่อสารอย่างมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาเกษตรอินทรีย์. วารสารการสือ่ สารและการจัดการนิด้า, 1(3), 59-80. วรรณดี สุทธินรากร. (2557). การวิจัยเชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วมและกระบวนการทางส�ำ นึก. กรุงเทพฯ: ส�ำ นกั พิมพ์สยาม. วรพิ สั ย์ เจยี มปญั ญารชั . (2560). ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ ความยงั่ ยนื ของเกษตรกรอนิ ทรยี ข์ องไทย บทเรยี นจากเกษตรกรรายยอ่ ย. วารสารสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 20, 199 -215. วารสารวิจัยเพือ่ การพัฒนาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 134 ศภุ ัคนนั ท์ เครือแสง และคณะ. (2556). โครงการการฟืน้ ฟูผักพืชสวนครัวในระบบอินทรีย์เพื่อความปลอดภัย ด้านอาหารในชมุ ชน บ้านดอนผึ้ง ตำ�บลบากเรือ อ�ำ เภอมหาชนะชยั จงั หวดั ยโสธร (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์). กรงุ เทพฯ: ส�ำ นกั งานกองทนุ สนับสนุนการวิจยั . ส�ำ นกั งานจังหวัดยโสธร. (2559). ยโสธรโมเดลต้นแบบเกษตรอินทรีย์. สืบค้นเมือ่ 24 พฤษภาคม 2559, จาก http://www.organicyasothon. com/contact-us/. วารสารวิจยั เพือ่ การพัฒนาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

วิถีแห่งลีน: แนวคิดบริหารจดั การระดับโลกกบั การยกระดับ การดำ�เนินงาน กรณีศึกษาธุรกิจชมุ ชนกลุม่ ผลิตเห็ดอินทรีย์ บา้ นลิพอน หวั หาร-บ่อแร่ จังหวดั ภเู ก็ต บทความวิจยั กิตติศกั ดิ์ จิตต์เกื้อ สาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏภเู ก็ต อ�ำ เภอเมือง วนั ที่รบั บทความ: จงั หวัดภูเกต็ 83000 7 พฤศจิกายน 2561 ผเู้ ขียนหลกั อีเมล: [email protected] วนั แกไ้ ขบทความ: 28 ธนั วาคม 2561 วนั ตอบรับบทความ: 7 มกราคม 2562 บทคดั ย่อ โดยสร้างอุปกรณ์ช่วยคีบก้อนเชื้อเห็ด สามารถ ลดจำ�นวนคร้ังและความถี่ในการยกก้อนเชื้อเห็ด “สขุ ภาพดี ดว้ ยเหด็ อนิ ทรยี ”์ คอื ค�ำ ขวญั ของ ต่อจำ�นวนก้อนเชื้อเห็ด 2,000 ก้อน จากเดิมใช้ กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน หมทู่ ี่ 8 ต�ำ บลศรสี นุ ทร อ�ำ เภอ เวลา 88.37 ชั่วโมง ลดลงเหลือ 35.36 ชวั่ โมง 3) ถลาง จังหวัดภูเก็ต เป้าหมายหลักของการรวม มีวิธีการทำ�งานใหม่เพื่อช่วยบรรจุส่วนผสมก้อน กลุ่มชมุ ชนฯ เพือ่ สร้างอาชีพเสริมจากการแปรรปู เชื้อเหด็ ในถงุ พลาสติก สามารถลดความเมื่อยล้า จากเหด็ และการเพาะเห็ดนางฟ้า ผู้วิจยั และกลุ่ม จากการปฏิบัติงานโดยทำ�การประเมินปัจจัย ชุมชนร่วมกันค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นในการพัฒนา เสี่ยงท่าทาง การท�ำ งาน การเคลื่อนไหวส่วนบน งานให้เป็นไปตามเป้าหมายและมาตรฐานที่ ของร่างกาย ก่อนการปรับปรุงมีค่าความเสี่ยง เกี่ยวข้อง และพบปญั หาทีค่ วรแก้ไขอย่างเร่งด่วน ระดับ 7 หลังการปรับปรุงมีค่าความเสี่ยง คอื ความเมอื่ ยลา้ ทเี่ กดิ จากการเคลอื่ นไหวรา่ งกาย ลดลงเหลือระดับ 6 และการประเมินท่ัวท้ัง ในการปฏิบัติงานในแต่ละวัน ส่งผลให้เกิดการ ร่างกาย จากเดิมมีค่าความเสี่ยงระดับ 8 หลัง บาดเจ็บของกล้ามเนื้อของผู้ปฏิบัติงานและ การปรับปรุงมีค่าความเสี่ยงระดับ 4 และ 4) มี ผลผลิตที่ได้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย รวมถึงหา แผนธุรกิจลีนแคนวาสเพื่อช่วยการดำ�เนินงาน แนวทางการบริหารจัดการด้านสถานที่เนื่องจาก สำ�หรับธุรกิจเกิดใหม่ของชุมชนในรูปแบบ ต้องใช้เวลาค้นหาอุปกรณ์เครื่องมือจากการจัด สตาร์ทอัพ จากความรู้ ความเข้าใจแนวคิดลีน วางไม่เป็นระเบียบ ผู้วิจัยจึงน�ำ การวิจัยเชิงปฏิบัติ เป็นสิ่งสำ�คัญที่ยืนยันถึงการใช้ประโยชน์จากการ การแบบมีส่วนร่วม และประยุกต์ใช้เครื่องมือ ประยุกต์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ผสานกับ 5ส โดยน�ำ หลกั การและวิถีแห่งลีนเพื่อขจัดความ กระบวนการทางสงั คมใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมายของ สญู เปลา่ เปลย่ี นเปน็ คณุ คา่ ผา่ นการลงมอื ท�ำ เขา้ มา กลุ่มชมุ ชนฯ ทมี่ ุ่งหวงั ยกระดบั การด�ำ เนินงานของ ดำ�เนินงานวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี ผลวิจัย กลุ่มธรุ กิจชุมชนฯ เปน็ “ศนู ย์เรียนรู้การผลิตเห็ด พบวา่ 1) มพี นื้ ที่ 5ส ทเี่ หมาะสมมมี าตรฐานส�ำ หรบั อินทรีย์” ทีส่ ำ�คญั แห่งหนึง่ ของประเทศไทย สถานที่แปรรปู ของกลุ่มชมุ ชนฯ 2) มีกระบวนการ และวธิ กี ารท�ำ งานทไี่ ดป้ รบั ปรงุ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ คำ�สำ�คัญ: จังหวัดภูเก็ต หมู่บ้านวิทยาศาสตร์ การท�ำ งานด้านเวลาเพือ่ ช่วยจดั เรียงก้อนเชื้อเหด็ และเทคโนโลยี เห็ดอินทรีย์ ลีน 5ส การยศาสตร์ วารสารวิจยั เพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบบั ที่ 2 หน้า 135-155

The LEAN Way: Global Management Concepts Enhance the Operation Case Study of the Organic Mushroom Community Business, Ban Liphon Hua Han – Bor Rae, Phuket Province Research Article Kittisak Jitkue Received: Program in Industrial Technology, Faculty of Science and Technology, Phuket Rajabhat University, 7 November 2018 Muang District, Phuket Province, Thailand 83000 Corresponding author’s E-mail: [email protected] Revised: 28 December 2018 Accepted: Abstract employed. The results are four folds. Firstly, a 7 January 2019 suitable and standardized 5S area for product “Living a healthy life with organic processing is implemented in the community. mushrooms” is the slogan of the Community Secondly, the adjusted process and working Enterprise, Moo 8, Sri Sunthon sub-district, method improves efficiency of operation time- Thalang district, Phuket province. The Community wise, particularly by using clippers to sort Enterprise has been formed under a major mushrooms. It reduces times and frequency objective to generate extra income by growing and of 2,000 mini mushroom cubes lifting from processing mushrooms.When the community’s 88.37 hours to 35.36 hours. Thirdly, the newly business expands, however, the members face introduced operation method in packing problems regarding overall operation and daily mushrooms in plastic bags can accommodate routines, resulting in members not achieving the workers and reduce physical fatigue. their preset goals. According to the findings from According to the Rapid Upper Limp Assessment research carried out by the researcher and the (RULA), the risk value before improvement was members of the community, some problems 7, which was then reduced to 6. Also, the Rapid demand for immediate solutions. To name but Entire Body Assessment (REBA) implies that a few, problems may concern physical fatigue the risk value before improvement was 8, but of community members after the long working then dropped to 4. Fourthly, the community has hours at work leading to muscle pain and developed LEAN Canvas business that helps the injury; hence low productivity. Another major start-up business development. In conclusion, problem deals with work space management LEAN knowledge and understanding is crucial in order to facilitate the work process and save for practical application of scientific and social time on looking for untidy tools. In this regard, procedures to meet the goals of the community the researcher applied the participatory to upgrade itself to ‘the important learning center operation-based methodology in attempt to of organic mushroom production’ in Thailand. solve the problems. The LEAN concept and 5S (clearing up, organizing, cleaning, standardizing Keywords: Phuket province, Science and and training & discipline), which aim to transform technology village, Organic mushroom, LEAN, waste to value through active working, are 5S, Ergonomics Area Based Development Research Journal ===== Vol. 11 No. 2 pp. 135-155

137 ABC JOURNAL บทน�ำ กลมุ่ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ ควบคกู่ บั กระบวนการพฒั นางานตา่ งๆ เช่น การจดั การวัตถุดิบ การเขี่ยเชื้อเห็ด การเพาะเห็ด การแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากเห็ด เป็นต้น โดยได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก ตลอดระยะเวลากวา่ 8 ปี ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2553 ถงึ ปจั จบุ นั กลมุ่ วิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญทั้งภายในมหาวิทยาลัยและภายนอก สมาชกิ ของชมุ ชน หมทู่ ี่ 8 ต�ำ บลศรสี นุ ทร อ�ำ เภอถลาง จงั หวดั ภเู กต็ อย่างต่อเนื่อง ผลจากการพัฒนาปรับปรุงระบบงานและผลลัพธ์ที่ ราว 29 ครัวเรือน ได้รวมกลุ่มกนั ประกอบอาชีพร่วมกับทดลองทำ� ได้น้ัน ท�ำ ให้กลุ่มชุมชนและผู้น�ำ ชมุ ชนได้รับการประกาศเกียรติคุณ อาชีพเสริมด้านเกษตรต่างๆ เช่น การเลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ปลูกผัก จเดานิ กทหาลงามยาหเยนยี่ ่วมยชงมานขอทคำ��ำ ใแหน้มะีผนู้ส�ำ นแใจลทกั้เงปภลายี่ยนในเรแยี ลนะรภอู้ ายยา่นงอสกมจ�่ำ ังเสหมวัดอ จนได้รับรางวลั หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ “อยู่ดี กินดี” ใน ปี พ.ศ. 2554 ต่อมากลุ่มชมุ ชนฯ ได้ร่วมวิเคราะห์เพือ่ หาแนวทาง นอกจากนีก้ ลมุ่ ชมุ ชนฯ ยงั ไดร้ บั โอกาสการสนบั สนนุ การด�ำ เนนิ งาน ในการพฒั นาการรวมกลุ่มอาชีพสู่ความยง่ั ยืน โดยมีเป้าหมายหลกั เสริมเพิม่ เติม ทั้งจากภาครฐั และเอกชนในรปู แบบของงบประมาณ เพื่อเพิ่มการพบปะพูดคุยของชุมชนให้มากขึ้น เนื่องจากในปัจจุบัน วัสดุและอุปกรณ์สำ�หรับนำ�มาพัฒนาศักยภาพการดำ�เนินงาน สงั คมบรเิ วณโดยรอบถกู ปรบั เปลยี่ นสภาพแวดลอ้ มกลายเปน็ ชมุ ชน นอกจากนี้ยังได้รับการสนับสนุนให้จัดกิจกรรมเพื่อให้ความรู้ เมือง ทำ�ให้การพบปะระหว่างคนในละแวกเดียวกันมีค่อนข้างน้อย ฝึกอาชีพแก่พนักงานในองค์กร เยาวชน ชุมชนอื่นๆ รวมทั้งการ การช่วยเหลือเกื้อกูลและการมีนำ�้ ใจระหว่างกันลดลง ดังน้ันหาก สนับสนุนเข้าแข่งขันประกวดการด�ำ เนินงานของกลุ่ม รางวัลที่เป็น เกิดการรวมกลุ่มเพื่อทำ�อาชีพหรือร่วมจัดกิจกรรมที่สร้างสรรค์ ความภมู ิใจ คือ รางวลั ชมเชย 1 ใน 10 ระดบั ประเทศของการแขง่ ขนั จะเป็นการส่งเสริมให้เกิดความสามัคคี ความรักระหว่างกันได้อีก แผนธรุ กจิ ชมุ ชน เมอื่ ปี พ.ศ. 2559 จากผลจากการด�ำ เนนิ งานทผี่ า่ น ทางหนึ่ง และการเพาะเห็ดเป็นอาชีพหนึ่งที่ชุมชนสามารถท�ำ ได้ไม่ มา ท�ำ ใหก้ ลมุ่ ชมุ ชนฯ มคี วามภาคภมู ใิ จและพรอ้ มทจี่ ะเรยี นรตู้ อ่ การ ยาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ เห็ดนางฟ้าสด ผู้บริโภคมีความต้องการสงู พัฒนาระบบการด�ำ เนินงานของตนเองต่อไป (ภาพที่ 1) สามารถนำ�มาทำ�เป็นส่วนประกอบของอาหารหลายชนิด อีกทั้ง สำ�หรับผู้วิจัย นอกจากจะทำ�หน้าที่ประสานงานการดำ�เนิน นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศนิยมรับประทานต้มยำ�กุ้ง ซึ่งมีส่วน งานกับกลุ่มชุมชนและผู้นำ�ชุมชนคือ คุณคณุตน์ ศิโรทศ ซึ่งเป็น ประกอบของเหด็ นางฟ้า จึงทำ�ให้ปริมาณความต้องการเหด็ นางฟ้า ประธานหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำ�อำ�เภอถลาง สดจากร้านค้า ร้านอาหารต่างๆ รวมถึงโรงแรมทีม่ ีจำ�นวนมากกว่า จงั หวดั ภเู กต็ ตง้ั แตเ่ รมิ่ การลงพืน้ ทสี่ ำ�รวจความตอ้ งการและดำ�เนนิ 2,000 แห่ง เพิม่ สงู ขึ้น แต่ในขณะเดียวกนั การเพาะเห็ดเพื่อบริโภค งานตามภารกิจตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จนถึงปจั จุบนั เป็น หรอื จ�ำ หนา่ ยในพืน้ ทยี่ งั มไี มเ่ พยี งพอ มากกวา่ รอ้ ยละ 80 น�ำ เขา้ จาก ระยะเวลากว่า 4 ปี เพื่อให้ชมุ ชนสามารถด�ำ เนินงานตามเป้าหมาย ต่างจังหวัด ข้อมูลการสำ�รวจจากตลาดสดหลักในจังหวัดภูเก็ตมี ทรี่ ว่ มกนั ตง้ั ไว้ และอกี ฐานะหนงึ่ ของผวู้ จิ ยั คอื อาจารยผ์ สู้ อน ดงั นน้ั ความต้องการสูงถึงวนั ละประมาณ 4-5 ตัน ในขณะทีเ่ กษตรกรใน จงึ น�ำ ประเดน็ ปญั หาตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ มาแลกเปลยี่ นกบั คณาจารยแ์ ละ จังหวัดภูเก็ตสามารถผลิตได้เพียง 1 ตัน ทำ�ให้ราคาขายปลีกของ นกั ศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหการ รวมถึงด�ำ เนินการบรู ณา เหด็ นางฟา้ สดตอ่ กโิ ลกรมั คอ่ นขา้ งสงู เฉลยี่ ประมาณ 80 -120 บาท การการเรียนการสอนกบั รายวิชาต่างๆ เช่น การเพิม่ ผลผลิต การ ต่อกโิ ลกรมั เมือ่ เปรยี บเทยี บกบั ราคาในจงั หวดั อืน่ ๆ หรืออาจกลา่ ว ควบคมุ คณุ ภาพ การจดั การแบบลนี และซกิ ซซ์ กิ มา่ โดยมเี ปา้ หมาย ได้ว่าเห็ดนางฟ้าสดในจงั หวัดภูเกต็ มีราคาสูงที่สดุ ในประเทศไทย เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาสภาพความเป็นจริงในบริบทของชุมชน กลุ่มชมุ ชน หมู่ที่ 8 ต�ำ บลศรีสนุ ทร อำ�เภอถลาง จังหวดั ภเู กต็ และร่วมเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา ผู้วิจัยยังได้นำ�ประเด็นปัญหา ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนให้เป็นหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และ อุปสรรคที่เกิดขึ้นมาบูรณาการกับงานที่ควรดำ�เนินงานและเร่งหา เทคโนโลยี ประจ�ำ อ�ำ เภอถลาง จงั หวัดภูเกต็ ภายใต้ชือ่ “หมู่บ้าน แนวทางแกไ้ ขผา่ นงานวจิ ยั และไดน้ ำ�เสนอใหค้ ณาจารยใ์ นสาขาวชิ า ผลติ เหด็ อินทรีย์ บา้ นลิพอน หวั หาร-บอ่ แร่” และได้รบั งบประมาณ ร่วมกันด�ำ เนินงานวิจยั อย่างต่อเนื่อง โดยมีงานวิจยั จ�ำ นวน 7 เรื่อง สนับสนุนจากสำ�นักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึง่ จัดท�ำ และเผยแพร่ในงานประชุมวิชาการและเผยแพร่ในวารสาร ปี พ.ศ. 2557 เป็นปีที่ 1 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีพี่เลี้ยงและ ระหว่างปี พ.ศ. 2558 ถึง พ.ศ. 2561 สรปุ ดังตารางที่ 1 ในเดือน ผู้ประสานงานคือ คณะทำ�งานภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ผู้วิจยั ได้น�ำ ผลการด�ำ เนินงานเสนอเปน็ กรณี และมีคลินิกเทคโนโลยีเป็นเจ้าภาพหลักในการดำ�เนินงานร่วมกับ ศึกษาการสร้างผลกระทบที่ดีต่อสังคมโดยมหาวิทยาลัย (Social ชุมชนอย่างต่อเนื่อง impact creation) ในงานประชุมสัมมนาวิชาการ Engagement ตลอดระยะเวลาการดำ�เนินงานของกลุ่มชุมชนฯ ที่ได้รับงบ Thailand ครั้งที่ 5 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัด ประมาณสนบั สนนุ ดังกล่าว ต้ังแต่ปีที่ 1 ถึงปีที่ 4 (ระหว่างปี พ.ศ. กรุงเทพมหานคร 2557 ถงึ ปี พ.ศ. 2560) ในชว่ งแรกกลมุ่ ชมุ ชนเนน้ การบรหิ ารจดั การ วารสารวิจยั เพื่อการพฒั นาเชิงพื้นที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562

ABC JOURNAL 138 การอบรมปฏิบัติการสร้างความรู้ ความเข้าใจการเพาะเหด็ และแนะนำ� อาชีพเสริมแก่ประชาชนท่วั ไปและ เยาวชน หน่วยงานภาคเอกชนให้การสนับสนนุ กลุ่มชุมชนฯ เข้าเยีย่ มชมศึกษาดงู าน อย่างต่อเนือ่ ง ประชาสมั พนั ธ์ผ่านเคเบิ้ลทีวีท้องถิน่ และ รายการ Science Hit กระทรวงวิทย์ ฯ ปี พ.ศ. 2558 ออกอากาศช่อง ททบ. 5 ในรายการ “คนไทยหัวใจไม่ท้อ” ปี พ.ศ. 2559 ภาพที่ 1 กิจกรรมการดำ�เนินงานของกลุ่มชุมชนฯ ระหว่างปี พ.ศ. 2557 – พ.ศ. 2559 วารสารวิจัยเพือ่ การพฒั นาเชิงพืน้ ที่ ===== ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook