Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NNFE-255907

NNFE-255907

Published by Napaporn Nitthiyanon, 2021-06-25 11:33:36

Description: NNFE-255907

Search

Read the Text Version

. ค่มู อื การทาวจิ ัยอยา่ งง่ายของครู กศน. สถาบนั พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคเหนอื สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา สืบเนื่องจาก การจัดอบรมหลักสูตร การวิจัยอย่างง่ายสาหรับครู กศน. โดยจัดการเรียนรู้ด้วย บทเรียนออนไลน์ ในปีงบประมาณ 2556 และผลจากการทาวิจัย เรื่อง แนวทางการพฒั นาผู้เรียนโดยการวิจัย อย่างง่ายของครู กศน. ในปีงบประมาณ 2557 พบว่า ครู กศน. มีความรู้เก่ียวกับการวิจัยอย่างง่ายอยู่ใน ระดบั หนึง่ และมีบางเรื่องท่ียังไม่ชดั เจนในทางปฏิบัติ การจัดทาเอกสารคู่มือที่ใหค้ วามรู้และนาไปสู่การปฏบิ ัตไิ ด้ จึงเป็นเรื่องท่ีสาคัญและจาเป็น อีกท้ังเป็นความต้องการของครูผู้ปฏิบัติ ท่ีจะได้ศึกษาทบทวน เพ่ือเพ่ิมพูน ความรูแ้ ละใชเ้ ป็นแนวทางในการนาความรไู้ ปปฏิบัตอิ ย่างจรงิ จัง เป็นรปู ธรรมมากขน้ึ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ เห็นความสาคัญเกี่ยวกับการวิจัยอย่างง่าย และมุ่งพัฒนาครู กศน.ให้มี ความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในการทาวิจัยอย่างง่าย เพื่อให้สามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ ในการพัฒนาตนเองและพัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจัดทาคู่มือการทาวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.ขึ้น โดยเขียนเน้ือหาเกี่ยวกับกระบวนการทาวิจัยอย่างง่ายไว้อย่างละเอียด พร้อมตัวอย่างรายงานการวิจัย อย่างง่าย ให้ศึกษาแลว้ เข้าใจและนาไปปฏิบัตไิ ด้ ขอขอบคุณ ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ที่ได้ร่วมกันจัดทาคู่มือการทาวิจัยอย่างง่ายของครู กศน. เล่มน้ีให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ได้ด้วยดี และหวังว่าเอกสารเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อครู กศน.และ ผ้สู นใจจะศกึ ษาเพอื่ พฒั นาความรูแ้ ละนาไปใชอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพตามความตอ้ งต่อไป สถาบัน กศน.ภาคเหนอื พฤษภาคม 2559 คู่มอื การทาวิจัยอย่างงา่ ยของครู กศน. ก

คู่มือการทาวิจัยอยา่ งงา่ ยของครู กศน. ข

สารบัญ คานา หนา้ สารบญั คาแนะนาการใชค้ มู่ ือการทาวจิ ยั อยา่ งงา่ ยของครู กศน. ก โครงสรา้ งค่มู อื การทาวจิ ยั อย่างง่ายของครู กศน. ค แบบทดสอบกอ่ นเรยี น จ ตอนท่ี 1 วจิ ยั อย่างงา่ ย งา่ ยจริงหรอื ฉ ซ เรื่องที่ 1 ปญั หาทพ่ี บ ในการจดั การเรยี นรขู้ องครู กศน. 1 เรอ่ื งท่ี 2 ความสาคัญและประโยชน์ของการทาวิจัยอยา่ งง่าย 2 เรื่องที่ 3 สภาพปญั หาจากการทาวจิ ัยอย่างงา่ ยของครู กศน.ที่ผ่านมา 5 ตอนที่ 2 การวิจยั อย่างง่าย ตามบรบิ ทของ กศน. 8 เรื่องที่ 1 ความหมายของการวิจยั อยา่ งงา่ ยตามบรบิ ท ของ กศน. 11 เร่ืองที่ 2 องคป์ ระกอบ สาระสาคัญและรปู แบบโดยรวมของการวจิ ัยอย่างง่าย 12 ตอนที่ 3 กระบวนการทาวจิ ัยอยา่ งง่าย 13 เรื่องท่ี 1 การกาหนดและวเิ คราะห์ปญั หา และการสร้างกรอบความคิด 17 18 (สมมตฐิ าน) การวิจัยอย่างงา่ ย เรือ่ งท่ี 2 การตงั้ ชอ่ื เร่ือง การเขียนวัตถุประสงค์ การกาหนดขอบเขต 29 และการสรา้ งเครื่องมอื วจิ ัย 34 เรื่องท่ี 3 การลงมอื ปฏบิ ตั งิ านวิจยั อย่างง่ายและการเกบ็ ข้อมลู 37 เร่อื งที่ 4 การวเิ คราะหแ์ ละแปลผลขอ้ มลู 41 เรอ่ื งท่ี 5 การเขียนสรปุ ผลและการอภปิ รายผลการวจิ ัยอย่างง่าย 43 และข้อเสนอแนะ 44 ตอนท่ี 4 รูปแบบการเขยี นรายงาน และการเผยแพร่ผลการวิจัยอย่างงา่ ย 67 เรื่องที่ 1 รปู แบบการเขียนรายงานการวจิ ัยอย่างงา่ ย เรื่องที่ 2 การเผยแพร่ผลการวิจยั อยา่ งงา่ ย คมู่ อื การทาวิจัยอย่างงา่ ยของครู กศน. ค

แบบทดสอบหลงั เรียน 71 บรรณานกุ รม 75 คณะผูจ้ ัดทา 77 คู่มอื การทาวจิ ยั อยา่ งงา่ ยของครู กศน. ง

คาแนะนาการใชค้ ่มู อื การทาวจิ ยั อยา่ งงา่ ยของครู กศน. คู่มือการทาวิจัยอย่างง่ายของครู กศน. เป็นเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีท้ังหมด 4 ตอน ประกอบด้วย ตอนท่ี 1 วิจยั อย่างง่าย งา่ ยจริงหรอื ตอนท่ี 2 การวจิ ยั อยา่ งง่าย ตามบรบิ ทของ กศน. ตอนที่ 3 กระบวนการทาวิจัยอย่างง่าย ตอนท่ี 4 รูปแบบการเขยี นรายงาน การนาเสนอและการเผยแพรผ่ ลการวิจัยอยา่ งงา่ ย โดยมีวตั ถุประสงคใ์ ห้ครู กศน. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการทาวจิ ัยอย่างงา่ ยในการจัดการเรียน การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียน และสามารถเขียนกรอบการวจิ ัยอย่างง่าย ปฏิบัตกิ ารวิจัย เขียนรายงานผลการวิจัย และนาผลการวิจัยอย่างง่ายไปใช้ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ซึ่งครู กศน. ควรทากจิ กรรมและศกึ ษาตามส่งิ ทก่ี าหนด ประกอบด้วย 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนครบทกุ ข้อ และตรวจผลการทดสอบกับเฉลยท้ายเล่ม เพ่ือตรวจสอบ ความรพู้ ื้นฐานของตนเอง 2. ศกึ ษาวตั ถุประสงคแ์ ละเนื้อหาในแต่ละตอนอยา่ งละเอยี ดให้เข้าใจ 3. ปฏิบตั กิ จิ กรรมทกี่ าหนดใหใ้ นตอนที่ 4 เพอ่ื สรปุ เป็นความรู้ ความเข้าใจ เน้อื หาทงั้ หมด 4. เมื่อศึกษาเนื้อหาครบทั้ง 4 ตอนแล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจผลการทดสอบกับ เฉลยท้ายเลม่ โดยครู กศน.ต้องมีความซอื่ สัตย์ตอ่ ตนเอง 5. หากผลการทดสอบได้คะแนนน้อยกว่า ร้อยละ 75 ให้กลับไปทบทวนบทเรียนแต่ละตอน อีกครัง้ และลองทาแบบทดสอบหลงั เรยี นอีกครง้ั จะทาใหค้ รู กศน.มคี วามรู้ ความเข้าใจมากขนึ้ คมู่ ือการทาวจิ ัยอยา่ งงา่ ยของครู กศน. จ

โครงสร้างคมู่ อื การทาวจิ ยั อยา่ งง่ายของครู กศน. สาระสาคญั การจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู กศน. อาจมีปญั หาเกิดข้ึนมากมาย ทั้งปญั หาท่ีครู กศน. แก้ไข ได้เองบ้างไม่ได้บ้าง การวิจัยอย่างง่ายช่วยแก้ปัญหาได้ และมีประโยชน์ต่อผู้เรียน ครูผู้สอน รวมถึงประโยชน์ ในการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาด้วย การวิจัยอย่างง่ายตามบริบทของ กศน.เป็นการวิจัยขนาดเล็ก ทที่ าเพอ่ื แก้ปัญหาและพฒั นาผู้เรียน ให้มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนดขี ึ้น โดยมีข้ันตอนกระบวนการ และลักษณะ สาคัญคล้ายคลึงกับการวิจัยในช้นั เรยี น ตรงที่เปน็ กระบวนการแสวงหาความจริง อย่างมีแบบแผน และเป็นระบบ ซ่ึงประกอบไปด้วย การกาหนดและวิเคราะห์ปัญหา การสร้างกรอบความคิด การตั้งช่ือเร่ือง การเขียน วัตถุประสงค์ การกาหนดขอบเขตของปัญหา การสร้างเครื่องมือ การลงมือปฏิบัติการวิจัย การวิเคราะห์ และแปลผลข้อมูล การเขียนสรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ในข้ันตอนสุดท้าย เปน็ การเขียนรายงาน การวิจยั อย่างง่าย เพ่ือส่อื สารสิง่ ท่ีไดด้ าเนินการไปแล้ว ใหผ้ ู้อื่นได้รับรู้ ประกอบด้วย 8 หวั ข้อ ไดแ้ ก่ 1) ชอ่ื เร่ือง 2) ช่ือผู้วิจัย 3) ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 4) วัตถุประสงค์ของการวิจัย 5) วิธีดาเนินการวิจัย 6) ผลการวจิ ัย 7) สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 8) เอกสารอา้ งองิ วัตถุประสงค์ เพื่อใหค้ รู กศน. 1. เข้าใจสภาพปญั หาและวธิ กี ารพฒั นาผเู้ รยี นโดยการวจิ ัยอย่างงา่ ยของครู กศน. 2. เหน็ ความสาคญั และประโยชน์ของการวจิ ัยอยา่ งง่าย 3. มคี วามรู้ ความเข้าใจและปฏิบตั ิการทาวิจยั อยา่ งง่ายไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 4. เขียนรายงานและรวู้ ธิ กี ารเผยแพรผ่ ลการวจิ ยั อยา่ งงา่ ย ขอบข่ายเน้อื หา ตอนท่ี 1 วิจยั อย่างงา่ ย งา่ ยจรงิ หรอื เรื่องที่ 1 ปัญหาท่พี บ ในการจดั การเรียนรู้ของครู กศน. เรื่องที่ 2 ความสาคญั และประโยชน์ของการทาวิจัยอยา่ งงา่ ย เร่ืองท่ี 3 สภาพปัญหาจากการทาวจิ ัยอยา่ งง่ายของครู กศน.ทผี่ า่ นมา ตอนที่ 2 การวิจัยอยา่ งงา่ ย ตามบรบิ ทของ กศน. เรอ่ื งที่ 1 ความหมายของการวจิ ยั อย่างง่ายตามบริบท ของ กศน. เร่ืองท่ี 2 องคป์ ระกอบ สาระสาคัญและรปู แบบโดยรวมของการวจิ ัยอยา่ งงา่ ย ค่มู อื การทาวจิ ัยอย่างงา่ ยของครู กศน. ฉ

ตอนที่ 3 กระบวนการทาวจิ ยั อย่างง่าย เรอื่ งที่ 1 การกาหนดและวเิ คราะห์ปัญหา และการสรา้ งกรอบความคิด (สมมตฐิ าน) การวิจัยอย่างงา่ ย เร่ืองที่ 2 การตง้ั ช่ือเร่อื ง การเขียนวตั ถปุ ระสงค์ การกาหนดขอบเขต และการสร้างเครือ่ งมอื วิจัย เร่ืองที่ 3 การลงมือปฏบิ ตั งิ านวจิ ยั อยา่ งงา่ ยและการเก็บข้อมูล เรื่องท่ี 4 การวิเคราะหแ์ ละแปลผลข้อมูล เรอื่ งท่ี 5 การเขยี นสรปุ ผลและการอภปิ รายผลการวิจยั อยา่ งงา่ ยและข้อเสนอแนะ ตอนที่ 4 รูปแบบการเขียนรายงาน การนาเสนอและการเผยแพรผ่ ลการวิจยั อยา่ งงา่ ย เรือ่ งท่ี 1 รูปแบบการเขียนรายงานการวจิ ยั อย่างง่าย เรือ่ งท่ี 2 การเผยแพรผ่ ลการวิจัยอยา่ งง่าย คมู่ ือการทาวจิ ยั อย่างงา่ ยของครู กศน. ช

แบบทดสอบกอ่ นเรียน คาสั่ง จงเลือกคาตอบทีถ่ กู ตอ้ งที่สดุ เพยี งขอ้ เดียว 1. ข้อใดกล่าวถึงการวิจยั อย่างงา่ ย ตาม พรบ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ไดถ้ ูกต้องท่ีสดุ ก. ครูต้องเชีย่ วชาญในการวจิ ยั อย่างง่าย ข. การวจิ ยั อยา่ งง่ายเป็นเครอื่ งประเมินวิทยฐานะครู ค. การวจิ ยั อยา่ งง่ายเป็นสว่ นหน่ึงของการเรียนการสอน ง. ครูทุกคนต้องดาเนินการวิจัยอย่างง่ายเพื่อพัฒนาตนเอง 2. ข้อใดไมใ่ ชจ่ ดุ มงุ่ หมายของการวจิ ัยอย่างง่าย ก. พัฒนาผู้เรียน ข. แก้ปัญหาผู้เรยี น ค. ประเมนิ ตดั สนิ ผูเ้ รียน ง. หาสาเหตขุ องพฤตกิ รรม 3. ลักษณะงานวิจยั ตรงกบั ข้อใดมากท่สี ุด ก. สามารถพิสจู นไ์ ด้ทุกข้ันตอน ข. หาคาตอบไดด้ ้วยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ ค. มขี ั้นตอนและระบบการศึกษาอย่างสมบูรณ์ ง. เปน็ การศึกษาความสมั พันธข์ องสงิ่ ที่ตอ้ งการศึกษา 4. การวิจัยอยา่ งง่ายจดั เป็นการวิจยั รูปแบบใด ก. การวิจัยเชงิ ปริมาณ ข. การวิจัยเชงิ ปฏิบตั ิการ ค. การวิจัยเพอ่ื สรา้ งทฤษฎี ง. การวจิ ัยเพื่อพฒั นาเครอื่ งมอื 5. ประโยชน์สงู สุดของการวจิ ัยอย่างง่าย คือข้อใด ก. การไดแ้ นวทางในการแก้ปญั หา ข. ประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนินงานต่าง ๆ ค. การไดท้ ฤษฎกี ารศกึ ษาท่ตี รงกับสภาพ ง. การเพิม่ พนู ข้อมลู พื้นฐานสาหรบั การวางแผน คู่มอื การทาวจิ ยั อยา่ งง่ายของครู กศน. ซ

6. การวจิ ยั ท่มี ุ่งแกป้ ัญหาอยา่ งเร่งดว่ นใชเ้ วลาไมม่ ากนัก คือการวจิ ัยแบบใด ก. การวิจยั ตอ่ ยอด ข. การวิจยั เชงิ ประเมิน ค. การวจิ ยั เชิงบรรยาย ง. การวิจยั เชงิ ปฏิบตั กิ าร 7. คากล่าวในขอ้ ใด ไม่ถูกตอ้ ง ก. การวิจยั ทุกอยา่ งล้วนมุง่ เพอ่ื แก้ปญั หาทง้ั สน้ิ ข. การวิจัยเป็นข้อมูลรากฐานในการวางแผนและบรหิ ารการศึกษา ค. การวิจยั เพื่อความเป็นเลิศทางวชิ าการสว่ นใหญ่จะปรากฏในระดับมหาวิทยาลยั ง. การวจิ ยั ทางการศึกษาของไทยเป็นสง่ิ สร้างเสริมความเปน็ ไทยทางการศึกษาของประเทศไทย 8. ปญั หาในขอ้ ใด ควรนามาเป็นหัวข้อในการทาวิจัยอยา่ งงา่ ยเพ่ือแกป้ ญั หาและพฒั นาผูเ้ รยี นมากทส่ี ุด ก. ผ้เู รียนไม่มีความพงึ พอใจตอ่ การจัดระบบการเรยี นแบบประจาชัน้ เรียน ข. นักศึกษาโครงการ EP ของ กศน. อาเภอเมอื งเชียงใหม่ ลาออกกลางคนั จานวน 15 คน จาก 25 คน ค. การขาดแคลนงบประมาณในการจดั ซอื้ สอ่ื การเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ของ กศน. อาเภอสนั ป่าตอง ง. นกั ศึกษา กศน. ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ของ กศน. ตาบลบ้านแม อาเภอสันป่าตอง จานวน 4 คน จาก 40 คน ไม่เขา้ เรยี นวชิ าภาษาอังกฤษ 9. การเลือกหวั ขอ้ ปญั หาที่จะทาการวจิ ยั อยา่ งง่ายเพ่ือแก้ปัญหาและพฒั นาผเู้ รียน ข้อใดควรให้นา้ หนกั ความสาคญั มากทสี่ ุด ก. ควรเลอื กเร่อื งทีค่ รสู นใจ ข. ควรเลอื กเรอ่ื งทไ่ี ม่มใี ครทามากอ่ น ค. ควรเลอื กเรอ่ื งท่ผี ูเ้ รยี นใหค้ วามสนใจ ง. ควรเลือกเรื่องทคี่ รูผู้สอน มคี วามรู้พนื้ ฐานดีพอสาหรับท่จี ะทาวิจัยในเรอ่ื งน้ัน 10. ในขน้ั ตอนการเขียนความจริงเก่ียวกบั ปัญหา ครคู วรเขียนในลกั ษณะใด ก. เขยี นความจริงที่คาดคะเนวา่ เปน็ เชน่ นั้น ข. เขยี นความจริงที่เกยี่ วข้องที่นึกไดใ้ นขณะนน้ั ค. เขยี นเฉพาะความจรงิ ทีส่ ามารถตรวจสอบได้ ง. เขยี นเฉพาะความจริงทไี่ ด้พิจารณาแลว้ วา่ เก่ียวขอ้ งกับปัญหาจรงิ ๆ คู่มอื การทาวจิ ยั อยา่ งง่ายของครู กศน. ฌ

11. การเขียนอธิบายความจรงิ เก่ียวกบั ปญั หาและคาอธิบายเกยี่ วกับสาเหตุปญั หา มวี ัตถุประสงค์หลกั เพ่อื ประโยชน์ในขอ้ ใด ก. การต้ังช่อื เรอ่ื งการวจิ ัย ข. แนวทางวิเคราะหข์ อ้ มูลการวิจัย ค. การกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั ง. การแสวงหาปัญหาทแ่ี ท้จริงและการออกแบบวธิ ีการแกไ้ ขปัญหา 12. กรณีทีพ่ บว่า “นกั ศึกษาค้นคว้าไมเ่ ป็น” สาเหตุแท้ของปญั หาตรงกับข้อใด ก. นักศกึ ษาภาษาไมด่ ี ข. นกั ศึกษาไม่รู้เทคนิคการคน้ คว้าข้อมูล ค. หอ้ งสมดุ มหี นังสอื ไมต่ รงกับความต้องการของนกั ศกึ ษา ง. ครูไม่ให้ความสาคัญในการฝกึ การคน้ คว้าให้กบั นักศกึ ษา 13. หากครผู ูส้ อนต้องการขอ้ มลู เกย่ี วกบั ครอบครัวและส่ิงแวดลอ้ มของผูเ้ รียน ข้อใดนา่ จะเป็นเครอ่ื งมือ เกบ็ ขอ้ มูลไดด้ ีและมีความเชอื่ ถือมากท่ีสุด เพราะอะไร ก. แบบสอบถามแบบเลือกตอบ เน่อื งจากประหยัดเวลา ข. การสงั เกต เนอ่ื งจากสามารถทาไดโ้ ดยผถู้ ูกสังเกตไม่ร้ตู วั ค. การสมั ภาษณแ์ บบมีโครงสรา้ ง เนื่องจาก สะดวกและรวดเรว็ ต่อการบนั ทกึ ข้อมูล ง. การสัมภาษณแ์ บบไม่มีโครงสรา้ ง เนอ่ื งจากสามารถปรบั เปลีย่ นคาถาม เพือ่ ให้ผถู้ กู สัมภาษณ์ แสดงความคดิ เห็นไดอ้ ยา่ งอสิ ระ 14. ขอ้ ใดเป็นการสรุปผลการวิจยั ท่ถี กู ตอ้ ง ก. สอดคล้องกับมาตรฐานการวิจยั ข. สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั ค. สรุปผลการวิจยั ทสี่ ามารถอธบิ ายได้ ง. สรปุ ผลในประเดน็ การวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง 15. การอภิปรายผลการวจิ ัย ควรสอดคลอ้ งกับหวั ขอ้ ใดมากทสี่ ุด ก. งานวิจยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ข. วัตถปุ ระสงค์การวิจัย ค. กรอบแนวคิดการวจิ ยั ง. ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หาการวิจยั คู่มือการทาวจิ ยั อยา่ งงา่ ยของครู กศน. ญ

16. ข้อใดเปน็ หวั ใจสาคัญของการเขียนรายงานวจิ ยั อยา่ งงา่ ย ก. ผลการวจิ ยั ข. ขอ้ เสนอแนะ ค. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย ง. ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา 17. เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย จะปรากฏในส่วนใดของการรายงานวิจัยอยา่ งงา่ ย ก. ช่ือเรื่อง ข. เอกสารอ้างองิ ค. วิธดี าเนนิ การวิจยั ง. วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัย 18. “ในวิชาภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครูให้นักศึกษาอ่านคาท่ีควบกล้าด้วย คว พบว่ามี นักศึกษา 3 คน ออกเสียง คาวา่ ควาย เป็น คาว่า ฟาย และคาวา่ เคว้งคว้าง เป็น เฟ้งฟ้าง จาก ใจความดงั กลา่ ว นาไปเขียนไวใ้ นส่วนใดของรายงานวิจยั อย่างงา่ ย ก. ช่อื เรื่อง ข. ผลการวจิ ัย ค. ขอ้ เสนอแนะ ง. ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา 19. หวั ขอ้ ใดเปน็ สว่ นสาคญั ทขี่ าดไม่ไดใ้ นรายงานการวจิ ัยอย่างงา่ ย ก. สารบญั ข. เอกสารท่เี ก่ียวข้อง ค. สมมตฐิ านของการวิจัย ง. วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย 20. ข้อใดเปน็ การเผยแพร่ผลงานวจิ ัยอย่างงา่ ยในวงกว้าง ก. การเผยแพรท่ างเว็บไซต์ ข. การรายงานวิจยั ฉบบั เต็ม ค. การเผยแพรด่ ว้ ยโปสเตอร์ ง. การจัดเวทนี าเสนองานวจิ ยั *************** ค่มู ือการทาวิจัยอย่างงา่ ยของครู กศน. ฎ

คู่มือการทาวิจัยอยา่ งงา่ ยของครู กศน. ฏ

ตอนที่ วิจัยอย่างงา่ ย งา่ ยจริงหรือ สาระสาคัญ การทาวิจัย ไม่ว่าจะเป็นวิจัยอย่างเต็มรูปแบบหรือวิจัยอย่างง่าย สามารถนามาเป็นเคร่ืองมือ ในการพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนของครู และมีประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนมาก เพราะการทาวิจัย สามารถแก้ปัญหาของผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะปัญหาที่เกิดจาก การจัด กระบวนการเรียนรู้ แตท่ ี่ผ่านมา ครผู สู้ อนส่วนใหญ่มกั ประสบกับปัญหาหลาย ๆ อย่างในการทาวิจัย ครูผู้สอนหลายคนมี ความตั้งใจแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในตวั ผู้เรียน เพราะมองเห็นประโยชน์ของการทาวิจัยวา่ สามารถชว่ ยแก้ปัญหาได้ แต่พอคิดว่าจะต้องลงมือทาวิจัย ก็พบกับปัญหาว่า ไม่รู้จะเริ่มต้นจากตรงไหน ทาอย่างไร และหลาย ๆ คน คิดว่าการทาวิจัยเป็นเร่ืองวิชาการท่ีหนัก เครียด ยุ่งยาก และคนท่ีจะทาวิจัยได้ ต้องเก่ง ต้องมีความรู้ เพราะต้องใช้กลุ่มประชากร ใช้สถิติ ใช้ทฤษฎีต่าง ๆ เพ่ือออกแบบเคร่ืองมือ รวมถึงการรายงานผลการวิจัย ในท่ีสุดผู้สอนหลาย ๆ คน ก็เก็บความคิดท่ีจะเริ่มลงมือทาวิจัยนี้ไว้ โดยไม่กล้าทดลองทาสักครั้ง ซึ่งทั้งหมดนี้ ลว้ นเป็นปัญหาท่ีเกดิ จากความไม่เขา้ ใจในกระบวนการวิจยั ทถี่ ูกต้อง ความจริงแล้ว การทาวิจัย โดยเฉพาะวิจัยอย่างง่าย ไม่ได้ยากอย่างท่ีคิด เพียงแต่ตอ้ งเข้าใจภาพรวม ขั้นตอนและกระบวนการต่าง ๆ ของการวิจัย และที่สาคัญ คือ ต้องเปลี่ยนความคิดของตัวเอง มองเห็น ประโยชน์ของการวิจัยว่า งานวิจัยสามารถช่วยพัฒนางานด้านต่าง ๆ ในภารกิจของการเป็นครู กศน. ซ่ึงการ เปลย่ี นแปลงความคิดนี้ จะเปน็ จุดเร่ิมตน้ ที่สาคัญ ของการเป็นนกั วิจยั มอื อาชีพท่ีมคี ณุ ภาพ วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือใหค้ รู กศน. 1. ร้แู ละเข้าใจถงึ ขอบขา่ ยสภาพและปญั หาต่าง ๆ ของผเู้ รียน ท่สี ามารถนามาเปน็ หัวขอ้ ในการวิจยั 2. รู้ เขา้ ใจถึงความสาคญั และประโยชน์ของการทาวิจยั อยา่ งงา่ ย ในการแก้ปญั หาและพัฒนาผูเ้ รียน 3. รสู้ าเหตุ และสภาพปญั หาจากการลงมอื ทาวิจยั อย่างง่ายของครู กศน. ขอบขา่ ยเน้ือหา เร่อื งท่ี 1 ปญั หาทพี่ บ ในการจัดการเรียนร้ขู องครู กศน. เรอ่ื งท่ี 2 ความสาคญั และประโยชนข์ องการทาวจิ ยั อย่างง่าย เรอ่ื งท่ี 3 สภาพปัญหาจากการทาวิจยั อย่างง่ายของครู กศน. ทผ่ี ่านมา ค่มู ือการทาวจิ ัยอยา่ งง่ายของครู กศน. 1

เรอ่ื งที่ 1 ปญั หาทีพ่ บ ในการจดั การเรยี นรขู้ องครู กศน. ครู กศน. ถือเป็นครูพันธุ์พิเศษ แตกต่างจากครูในสังกัดอ่ืน ๆ เพราะมีหน้าท่ีและภารกิจ ที่มากมาย นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน ได้แก่ การจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง (การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชพี การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ติ การศึกษาพฒั นาสังคมและชุมชน) การศึกษาตาม อัธยาศัย การศึกษาสาหรับผู้ไม่รู้หนังสือ ซึ่งกลุ่มผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมายก็ครอบคลุมในทุกกลุ่ม ทุกวัย ตงั้ แต่ ก่อนแรกเกิด วัยเด็ก วัยรุ่น วัยทางาน ผู้สูงวัย จนกระท่ังวัยชรา รวมถึงทุกเพศ ทุกสถานะ ทุกอาชีพ รวมทั้ง ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส พระภิกษุสงฆ์ ผู้ถูกควบคุมความประพฤติ เป็นต้น แต่ทั้งน้ี ในคานิยามของคาว่า “ครู” หน้าท่ีภารกิจหลักที่สาคัญ ก็คงไม่พ้นจากเรื่องการจัดการเรียนการสอน หรือท่ีหน่วยงานของ กศน. เรียกว่า การจัดกระบวนการเรียนรู้ ซ่ึงสามารถจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การเรียนรู้แบบพบกลุ่ม ซึ่งก็คล้าย ๆ การจัด การเรียนการสอนของครูในระบบโรงเรียน โดยเน้นกิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้และสรุปความรู้ร่วมกัน การเรียนรู้ดว้ ยตนเองซึ่งเน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นควา้ ด้วยตวั เอง โดยครูมีหน้าที่เสมือนผู้อานวยความสะดวกและ ใหค้ าแนะนาในการศกึ ษาหาความรู้จากส่ือต่าง ๆ การเรียนรู้แบบทางไกล ที่ครูและผู้เรียนจะสื่อสารกันทางส่ือ อิเล็กทรอนิกส์ เน้นเรียนรู้ผ่านสื่อการเรียนการสอนแบบ e-learning เป็นต้น (สานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั , 2553 : 26 - 31) ไมว่ า่ จะเป็นรปู แบบการจดั การเรียนรู้แบบไหน เชื่อว่า “ครู กศน.” แต่ละคน ย่อมเคยพบปัญหาที่หลากหลายตามบริบทท่ีแตกตา่ งกัน แล้วท่านเคยพบปัญหาเหล่านี้ บ้างไหม - ผเู้ รียนมาสมคั รเรยี นดว้ ยตนเอง แล้วไมม่ าเรียน - ผู้เรียนมาเรยี นไมค่ รบ 75% ของเวลาเรียนทก่ี าหนด - ผเู้ รยี นไม่มีมารยาท พูดไม่สภุ าพ มีพฤตกิ รรมก้าวร้าว - ผ้เู รียนมาเรยี นโดยไมม่ ีอุปกรณก์ ารเรยี นมาด้วย เช่น ดินสอ ปากกา สมุด แลว้ มาขอยืมเพ่อื น หรอื ครผู สู้ อนในห้องเรียน - ผเู้ รยี นไมม่ ีความม่นั ใจในตัวเอง รู้สึกแปลกแยก ไมก่ ล้าพูดคุยกบั เพ่ือนในห้องเรยี น ไม่กลา้ แสดงออกในเรื่องทีด่ ี เช่น การนาเสนองานหน้าห้อง การรว่ มแสดงความคิดเห็นในกลมุ่ - ผ้เู รียนไมส่ ่งงานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย - ผู้เรยี นบางคน มปี ัญหาเรอ่ื งการอา่ นออกเสียงคาบางคา เขียนสะกดคาไมถ่ ูกตามหลกั ภาษาไทย - ผเู้ รยี นไมก่ ลา้ บอกผู้อ่ืนให้ร้วู า่ เรียน กศน. - ผู้เรียนแต่งกายไม่เรยี บรอ้ ย - ผู้เรียนมพี ฤตกิ รรมอยู่ไม่นงิ่ ลกุ จากที่นง่ั บ่อยครง้ั รบกวนเพ่อื นขณะพบกลุ่ม - ผู้เรยี นมีผลการเรียนออ่ น บางรายไมช่ อบเรียนวิชาบงั คับพ้ืนฐาน เชน่ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรห์ รอื ภาษาองั กฤษ คู่มอื การทาวจิ ัยอยา่ งง่ายของครู กศน. 2

และท่ีพบมากท่ีสุดในทุกพ้ืนท่ี คือ ผู้เรียนขาดสอบปลายภาคเรียน หรือไม่มาร่วมกิจกรรมพัฒนา ผเู้ รียน เชน่ กิจกรรม กพช. กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ หรือกิจกรรมอาสายุวกาชาด ซ่ึงนอกเหนือจากน้ี คาดวา่ ครู กศน. หลาย ๆ คน อาจเคยประสบกับปญั หาทนี่ อกเหนือไปจากปัญหาทเี่ กิดกับตวั ผู้เรียน เช่น - ไม่มีหอ้ งเรียน ไมม่ โี ต๊ะ ไม่มเี ก้าอี้ หรือกระดาน - ขาดแคลนวัสดุ สือ่ การเรียนการสอน คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน หรือสื่อที่มอี ย่ไู ม่มคี ณุ ภาพ ฯลฯ - การบรหิ ารเวลา ไมส่ ามารถปฏบิ ตั งิ านตามแผนการเรียนรู้ เน่ืองจากมภี ารกจิ เร่งด่วนมากมาย - หลักสูตรกว้างเกินไป เน้ือหาสาระแต่ละรายวิชามากเกินไป ไม่รู้จะสอนเนื้อหาอะไรดี จะใช้ รปู แบบใดจดั การเรยี นรจู้ ึงดี จะวัดและประเมินผลอยา่ งไรดี ปญั หาต่าง ๆ เหล่านี้ รวมไปถึงปัญหาอนื่ ๆ เช่น ปัญหาที่เกิดขึ้นจากผู้บริหาร บางปัญหาตามที่ได้ กล่าวและไม่ได้กล่าวไว้ในข้างต้น อาจเป็นปัญหาที่เกิดมาจาก ผู้เรียนหรือผู้ปกครอง บางปัญหาอาจเกิดจาก ครูผู้สอนเอง เกิดจากกระบวนการจัดการเรียนรู้ และบางปัญหาครูผู้สอนสามารถแก้ไขเองได้ แต่บางปัญหาก็ เกินอานาจหน้าที่ของครูผู้สอน เพราะอาจเป็นเรื่องของนโยบาย หรืออาจต้องใช้งบประมาณ หรือต้องใช้ ระยะเวลา และปัญหาหลาย ๆ เรื่อง ไม่สามารถใช้กระบวนการวิจัยเข้าไปแก้ปัญหาได้ ซ่ึงแน่นอน จากปัญหา เหล่าน้ี ครูผู้สอนไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้เอง ดังนั้น หากเร่ิมต้นจะลงมือทาวิจัย ครูผู้สอนทุกท่านจะต้องรู้ และทาความเข้าใจสภาพของปัญหาท่ีจะหยิบข้ึนมาเป็นหัวข้อวิจัย รวมถึงต้องกาหนดเป้าหมายการทาวิจัยได้ อย่างชัดเจนกอ่ น ซ่งึ ในคมู่ ือเล่มนี้ จะกาหนดกรอบหรือขอบข่ายของปัญหาของผู้เรียน เฉพาะท่ีเกิดขึ้นระหว่าง การจัดการเรยี นรู้เทา่ นัน้ ตามแผนผงั ของกระบวนการจดั การเรยี นรู้ ดังนี้ หลักสตู ร ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการจัดการเรียนรู้ หรือ แผนการเรียนรู้ กระบวนการสอนผู้เรียนท่ีหลากหลาย อาจมีสาเหตุมาจาก หลาย ๆ อย่าง ท่ีครูผู้สอนมีความเห็นว่า ต้องใช้กระบวนการ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ วิจัยปฏิบัติการ เข้ามาแก้ปัญหาอย่างมีระบบ รวมถึง การทดลองใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ จัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ท่ีดีข้ึน ตามศักยภาพ ของผู้เรยี น พฒั นาปรบั ปรงุ แก้ไข คมู่ อื การทาวจิ ยั อย่างง่ายของครู กศน. 3

การพิจารณาปัญหาเพื่อนามาเป็นหัวข้อวิจัย เน้นย้าว่า ครูผู้สอนควรต้องพิจารณาอย่างถ้วนถี่ว่า เป็นปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับผู้เรียนโดยตรงหรือไม่ เป็นปัญหาที่ครูผู้สอนสามารถแก้ไขไดโ้ ดยไม่ต้องใชเ้ วลา และ งบประมาณมากเป็นพิเศษหรือไม่ หรือเป็นปัญหาท่ีสามารถแก้ได้ตามกระบวนการบริหารปกติ และถ้าหาก ระดับของปัญหาบางปัญหาใหญ่เกินไป ที่ตอ้ งเก่ียวข้องกับบุคคลจานวนมาก ต้องใชเ้ วลามาก งบประมาณมาก ถือเปน็ ปญั หาที่ไม่เหมาะจะนามาทาวิจัยอย่างงา่ ย ในทางตรงกันข้าม ปญั หาเล็ก ๆ ท่ีแก้ไขได้โดยวิธีการปกติ งา่ ย ๆ ดว้ ยการใชค้ าส่ัง การขอความร่วมมือ หรือการวา่ กล่าวตกั เตือน หรือกาหนดเป็นระเบยี บสถานศึกษา ออกมา ก็แกป้ ัญหาได้ ปัญหาลักษณะนี้ ก็ไม่เหมาะทจี่ ะนามาทาวจิ ยั อยา่ งงา่ ยเช่นเดียวกนั ค่มู ือการทาวิจยั อยา่ งงา่ ยของครู กศน. 4

เรอ่ื งที่ 2 ความสาคญั และประโยชนข์ องการทาวิจยั อยา่ งงา่ ย ครู กศน. หลาย ๆ ท่าน ทั้งทเ่ี คยมีประสบการณแ์ ละไม่มปี ระสบการณ์ในการทาวิจัยมา อาจทราบ ว่า การวิจัยอย่างง่ายเพ่ือพัฒนาผู้เรียน มีความสาคัญและมีประโยชน์ต่อทั้งผู้วิจัย คือ ครูผู้สอนและผู้เรียนเอง รวมไปถึงมีความสาคัญและมีประโยชน์ต่อสถานศึกษาด้วย เนื่องจากการวิจัย เป็นหนึ่งในตัวช้ีวัดการประเมิน คุณภาพของสถานศึกษา ท้ังการประเมินภายนอกและการประเมินภายใน ซ่ึงสามารถสรุปความสาคัญและ ประโยชนข์ องการทาวิจยั ไว้ ดงั นี้ ความสาคัญของการทาวจิ ยั กฎหมายตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มีแนวคิดเรื่องการปฏิรูปการทางาน ของครูให้มีความเป็นครูวิชาชพี รวมทั้งการที่ครูต้องทาวจิ ัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ไดม้ ีการกล่าวถึง อย่างแพร่หลาย เพราะในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้ ได้กาหนดแนวทางการสนับสนุนให้ ครูผ้สู อนใชก้ ระบวนการวิจัยเพื่อการพฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรียน ไว้ในหมวดท่ี 4 ว่าดว้ ยแนวการจัดการศึกษา มาตรา 24 (5) มีใจความสาคญั ดังนี้ “ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวย ความสะดวกเพ่ือใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ รวมทงั้ สามารถใชก้ ารวิจยั เป็นสว่ นหนง่ึ ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผ้สู อนและผู้เรียนอาจเรยี นรไู้ ปพรอ้ มกนั จากสอื่ การเรยี นการสอนและแหล่งวทิ ยาการประเภทต่าง ๆ” และมาตรา 30 กล่าวว่า “ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอน สามารถใช้กระบวนการวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนในแต่ละ ระดับการศึกษา” จากข้อความในพระราชบัญญัติดังกล่าวข้างต้น ทาให้ครูต้องศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล และ พัฒนาผ้เู รียนตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ตามท่ีกาหนดไวใ้ นพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับน้ี เช่นกัน ในมาตรา 22 มีความเป็นจริงเป็นจังในแนวปฏิบัติเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้วย การใช้กระบวนการวิจัยใน ความหมายของการแก้ปัญหาแบบใหม่ การหาคาตอบแบบใหม่ โดยวิธีการท่ีเชื่อถือได้หรือวิธีการที่ยอมรับใน ศาสตร์น้ัน ๆ มากขน้ึ คู่มอื การทาวิจัยอย่างงา่ ยของครู กศน. 5

ครูผู้สอนยุคปฏิรูปการเรียนรู้ตื่นตัวกับการพัฒนาตนเอง เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ คอ่ นข้างมาก การทาวิจัยจงึ เปน็ การพฒั นาวิชาชีพของครคู อ่ นข้างชดั เจน นอกจากนี้ มาตรา 49 หมวด 6 กาหนดว่า ให้มีการประเมินการจัดการศึกษา เพื่อให้มีการ ตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคานึงถึงจุดมุ่งหมายและหลักการ และแนวทางการจัดการศึกษาใน แตล่ ะระดบั จากขอ้ กาหนดของกฎหมาย ตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ ดังกล่าวข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แสดงทรรศนะเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อแกป้ ญั หาหรือพัฒนาผู้เรียนไว้ว่า การวจิ ัยของผู้สอนเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ของผเู้ รียน ท่ีเรยี กกนั วา่ การวิจยั ในชนั้ เรยี น หรอื อกี นัยหน่งึ เรียกว่า การวิจัยอย่างง่าย จัดไดว้ ่าประสบปัญหา ต่าง ๆ น้อยกว่าการวิจัยโดยทั่วไป กล่าวคือ มีการให้ความสาคัญโดยตรง เป็นกฎหมายตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ทาแลว้ ใชเ้ ฉพาะกิจทนั ที ไม่มปี ัญหาเร่อื งทรัพยากร เพราะใช้งบประมาณน้อย เนื่องจากเป็น เรื่องใกล้ตัว ปัญหาการขาดความรู้ในเรื่องที่จะทา และทาแล้วแตไ่ ม่ได้นามาใชก้ ็มีน้อยลง เพราะผู้สอนรู้เนื้อหา หรอื ปญั หาของผูเ้ รียนเป็นอย่างดี ผลของการวิจัยจะได้องค์ความรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียน สอดคล้องกับคากล่าวที่ว่า การศึกษาจะต้อง เป็นไปหรือการสร้างสิ่งใหม่ ๆ ให้กับผู้เรียน ให้กับสังคมอยู่ตลอดเวลา กระบวนการของการศึกษาจึงต้องเน้น ไปทก่ี ารสรา้ งและพัฒนาความคิดสร้างสรรค์การวจิ ัยค้นคว้าอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าศูนย์กลางการศึกษาจะอยู่ที่ใด ก็ตาม (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2547 : ง อ้างในสุรชัย โกศิยะกุล, 2550) สอดคล้องกับสถาบัน กศน.ภาคเหนือ (2552 : 12) กล่าวว่า การวจิ ัยอย่างง่าย มีความสาคัญต่อครู กศน. เช่นเดียวกับครูทั่ว ๆ ไป นอกจากจะต้อง เป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติแล้ว ยังเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้ รายวิชาการวิจัย อย่างง่าย ซ่ึงครูจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองการวิจัยอย่างง่าย เพ่ือจะสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ สาหรับผูเ้ รียนได้ ดงั นน้ั ผเู้ ก่ยี วขอ้ งกับการวิจยั อย่างงา่ ยของ กศน. จึงควรประกอบไปด้วย 1. ผเู้ รยี นและผูร้ ่วมกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ กศน. ตาม พรบ. การศึกษามาตรา 24 (5) การวจิ ยั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของกระบวนการเรียนรู้ 2. ผู้สอนหรอื ผู้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ตาม พรบ. การศกึ ษา มาตรา 30 สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ ให้ผูส้ อนสามารถวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ 3. ผู้ บ ริ ห า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ต า ม พ ร บ . การศึกษา มาตรา 49 หมวด 6 ว่าด้วยการประกันคุณภาพ การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาต้องส่งเสริมผู้สอนให้ สามารถวิจัย เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน และผรู้ บั บริการในแตล่ ะระดบั แต่ละกิจกรรม คู่มอื การทาวิจยั อย่างงา่ ยของครู กศน. 6

ประโยชนข์ องการวิจยั อยา่ งงา่ ย การวิจัยอย่างง่ายที่กล่าวในมิติน้ี คือการวิจัยท่ีปฏบิ ัติการหรือทดลองในห้องเรียน ซึ่งมีประโยชน์ ดว้ ยกนั หลายประการ ดงั น้ี 1. ทาให้เกิดการพัฒนาอย่างถูกต้องในระบบการเรียนการสอน ซ่ึงจะเกิดผลดีแก่ผู้เรียน โดยที่ ผเู้ รียนได้รับการชว่ ยเหลือและพฒั นาการเรียนรูอ้ ย่างเต็มศกั ยภาพ และเปน็ ระบบท่นี ่าเชอ่ื ถอื 2. ทาให้เกิดการพฒั นาวิชาชีพครู โดยข้อค้นพบท่ีได้จะมาจากกระบวนการค้นควา้ ท้ังเป็นระบบ และเช่ือถอื ได้ ท่เี ป็นพืน้ ฐานความรดู้ า้ นการวจิ ัย สามารถพัฒนาไปสู่การวจิ ัยในระดับสูง เป็นนักวจิ ัยมืออาชีพ ส่งผลใหผ้ เู้ รียนเกิดการพฒั นาการเรียนรู้ ควบคู่ไปกับครทู ่ีเกิดการพัฒนาการเรยี นการสอน 3. จัดเป็นการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน และยังปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนโดยระเบียบวิธีการวิจัย อันเป็นการส่งเสริมการพัฒนาเครื่องมือการเรียนรู้ท่ีจะ เป็นประโยชน์ต่อการจดั การศึกษา 4. ส่งเสริมบรรยากาศการทางานแบบประชาธิปไตย ทั้งนี้เพราะทุกฝ่ายเกิดการแลกเปล่ียน เรียนรู้ ประสบการณ์และเกิดการยอมรับในการค้นพบร่วมกัน ทั้งยังเป็นการสนับสนุนความก้าวหน้าของ การวิจยั ทางการศึกษา 5. ถือได้ว่าเป็นการแสดงความก้าวหน้าของวิชาชีพครู โดยวิธีการเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการ ปฏิบัติ และทาใหอ้ าชีพครกู ลายเปน็ วชิ าชีพ 6. สง่ เสริมการประกนั คุณภาพการศกึ ษาท่เี ช่ือมน่ั ได้ คู่มือการทาวจิ ยั อยา่ งง่ายของครู กศน. 7

เรอ่ื งท่ี 3 สภาพปญั หาจากการทาวจิ ัยอย่างงา่ ยของครู กศน. ทผี่ า่ นมา ตามที่ได้กล่าวไว้ ในข้างต้นว่า ท่ีผ่านมา ครู กศน. ประสบกับปัญหาของการทาวิจัยอย่างง่าย อยู่ หลาย ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการติดในภาพลักษณ์ของการทาวิจัยว่าเป็นเร่ืองท่ียาก วุ่นวาย ซับซ้อน เป็นงาน วชิ าการท่ีตอ้ งใชค้ วามรู้เฉพาะ ประกอบกับการขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจที่ดเี กี่ยวกับการทาวิจยั อยา่ งง่าย จึง ทาให้เกิดความกลัว ความวิตกกังวลและไม่ม่ันใจว่าจะสามารถทาได้ จึงทาให้ ครู กศน. ทาวิจัยอย่างง่ายกัน น้อยมาก และกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบต่อภาพลักษณด์ า้ นการพฒั นาทางด้านวิชาการ และคุณภาพผเู้ รียนของ กศน. อยา่ งหลกี เลย่ี งไม่ได้ จากผลการวิจัยของสถาบัน กศน. ภาคเหนือ ปีงบประมาณ 2558 เรื่อง แนวทางการพัฒนาผู้เรียน โดยการวิจัยอย่างง่ายของครู กศน. กล่าวถึงสภาพการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาผู้เรียนของครู กศน. โดยใช้ เครื่องมือ คือ แบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม 3 ด้าน คือ ด้านการวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ ด้านการ ออกแบบและสรา้ งเคร่อื งมอื วิจยั และดา้ นการสรปุ และรายงานผลการวิจัย ปรากฏผล ดังนี้ 1. ด้านการวิเคราะหป์ ญั หา สาเหตุ พบวา่ ครู กศน. ได้ปฏิบัติการวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุ อยู่ในระดับ มาก ซ่ึงหมายถึง มกี ารปฏบิ ัตทิ ุกครั้ง โดยวเิ คราะหป์ ัญหา สาเหตทุ ่ีเกิดขน้ึ กบั ผูเ้ รยี น หลายวิธีการ แตกต่างกันไป ได้แก่ การวิเคราะห์จากการสังเกต การสอบถาม การใช้แบบฝึก ก่อนเรียน บันทึกหลังการสอน ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับสภาพปัญหาของผู้เรียนแต่ละคน แต่ละกลุ่ม ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน แต่ก็ยังไม่แน่ใจว่าเป็นปัญหาและ สาเหตุที่แท้จริงหรือไม่ และยังไม่เข้าใจวิธีการนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาใช้ใน การกาหนดกรอบแนวคิดในการศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคท์ จี่ ะศึกษาได้ 2. ด้านการออกแบบและสร้างเครื่องมอื วิจัย พบวา่ ครู กศน. ได้ปฏิบัติการออกแบบและสร้างเคร่ืองมือวิจัย อยู่ในระดับ ปาน กลาง ซ่ึงหมายถึง มีการปฏิบัติเป็นบางคร้ัง โดยเฉพาะประเด็นเรื่อง มีการ ออกแบบนวตั กรรมประเภทสอ่ื การสอนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตง้ั ไว้ และมี การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้านความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหา/ความสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ ซึ่งทั้ง 2 ประเด็นนี้ครู กศน. ส่วนใหญ่ปฏิบัติค่อนข้างน้อย เน่อื งจาก ครู กศน. ยังไม่เข้าใจหลักและวิธกี ารออกแบบสื่อ จึงศึกษาจากส่ือท่ีมี อยู่แล้ว หรือสอบถามผู้รู้ แล้วทดลองสร้างส่ือและนาไปทดลองใช้กับผู้เรียน มีเพียงครูบางคนเท่านั้น ที่นาส่ือไปให้ผู้ให้คาปรึกษาตรวจสอบและปรับแก้ไข ก่อนนาไปใชจ้ ริงกับผูเ้ รยี น คู่มือการทาวจิ ยั อยา่ งง่ายของครู กศน. 8

แตผ่ ูใ้ หค้ าปรกึ ษาส่วนใหญก่ ลับมองเห็นในประเดน็ อ่นื ซ่งึ ครู กศน. ปฏบิ ัติคอ่ นขา้ งน้อย 2 ประเด็น คือ ครู กศน. มีการนาแผนและนวัตกรรมประเภทสื่อการสอนไปใช้ดาเนินการ และ ครู กศน. มีการรวบรวม ข้อมูลการดาเนินงานไว้เป็นระบบ ท้ังน้ี ครู กศน. อาจไม่ได้รายงานความก้าวหน้าหรือปรึกษาผู้ให้คาปรึกษา อย่างต่อเน่ือง จึงทาให้ผู้ให้คาปรึกษาไม่เห็นความก้าวหน้าของการปฏิบตั ิการทาวิจัยอย่างง่ายของครู กศน. ใน ประเดน็ ดงั กลา่ ว 3. ด้านการสรปุ และรายงานผลการวิจัย พบว่า ครู กศน. ได้ปฏิบัติการสรุปและรายงานผลการวิจัย อยู่ในระดับ ปานกลาง ซึ่งหมายถึง มีการ ปฏิบัติเป็นบางครั้ง โดยผู้ให้คาปรึกษาส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเก่ียวกับการปฏิบัติในเร่ือง การอภิปรายผล โดยอา้ งอิงกรอบแนวคิดทฤษฎีและผลการค้นพบของผู้อืน่ และการเผยแพร่รายงานผลการวจิ ัย อยู่ในระดับน้อย สูงกวา่ ระดับมาก ซ่ึงหมายถึงไม่ได้ปฏิบตั ิ เนื่องจากการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ ตามหลักสูตรการวจิ ัย อย่างง่ายของครู กศน. ไม่มีเน้ือหาความรู้เกี่ยวกับการอภิปรายผลโดยอ้างอิงกรอบแนวคิดทฤษฎีและผลการ ค้นพบของผู้อ่ืน สาหรับการเผยแพร่รายงานผลการวิจัยนั้น อาจเนื่องมาจากครู กศน.ยังไม่แน่ใจว่าผลงานวิจัย อยา่ งงา่ ยของตนเองทาถูกตอ้ งเพยี งพอที่จะนาไปเผยแพร่ได้หรอื ไม่ จากสภาพปัญหาในการทาวิจัยอย่างง่ายของครู กศน. ท้ังสภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้นในการจัดการ เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน และสภาพปัญหาจากการปฏิบัติงานในการทาวจิ ัยอย่างง่าย ทาให้ครู กศน.ส่วนใหญ่เห็นว่า การทาวิจัยอยา่ งง่ายเป็นเร่ืองยาก และสร้างภาระให้กับครูผู้สอน เนื่องจากครูผู้สอนยังไม่เข้าใจกระบวนการทา วิจยั อยา่ งงา่ ย ทเี่ กดิ จากการปฏิบตั ิงานการสอนอย่างถ่องแท้และยังไม่เข้าใจชดั เจนถึงรายละเอียดในทางปฏิบตั ิ ของแต่ละข้ันตอนในการทาวิจัยอย่างง่าย ดังน้ัน ในตอนท่ี 3 ของคู่มือเล่มน้ี ได้นาเสนอรายละเอียดของ กระบวนการทาวิจัยอย่างง่ายให้ครู กศน. ได้เรียนรู้และทาความเข้าใจ เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติการทาวิจัย อย่างง่ายได้ชดั เจนยงิ่ ขนึ้ นอกจากนี้ จากการจัดอบรมหลักสูตร การวิจัยอย่างง่ายสาหรับครู กศน. และการทาวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาผู้เรียนโดยการวิจัยอย่างง่ายของครู กศน. ท่ีผ่านมาในปีงบประมาณ 2557 และ 2558 ไดร้ วบรวมสภาพปญั หาและขอ้ จากัดในการทางานวจิ ัยอย่างงา่ ยของครู กศน. สรุปได้ ดงั นี้ สภาพปญั หาจากการจดั อบรมหลกั สตู รการวจิ ยั อย่างง่ายสาหรับครู กศน. 1. ช่อื เรอื่ งวิจยั อย่างง่าย การกาหนดช่อื เร่อื งยังไม่ชดั เจน เช่น ช่ือเร่อื งไม่สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ หรอื ปญั หาการวจิ ยั 2. ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา การวิเคราะห์ปัญหายังไม่ชดั เจน ไม่ได้ชี้ให้เห็นว่าปัญหาจริง ๆ น้ันดจู ากอะไร (การสังเกตของ ครู ผลการเรียน หรือจากการสารวจ แบบสอบถาม สัมภาษณ์) การบรรยายถึงการเรียนการสอนของครูท่ีผ่านมา ไม่ได้ขยายความให้เห็นว่าเป็นปัญหา ตลอดจนไม่มีข้อมูลเชิงปริมาณสนับสนุน เพื่อแสดงน้าหนักของปัญหาที่ คมู่ ือการทาวจิ ัยอย่างงา่ ยของครู กศน. 9

นามาทาวิจัยอย่างง่าย เช่น ร้อยละของการสอบไม่ผ่าน และข้อมูลย้อนหลังอีกก่ีภาคเรียน นอกจากน้ี ยังไม่ได้ วิเคราะห์วิธีการสอนของครู ส่ือท่ีใช้ เพ่ือแสดงให้เห็นว่าปัญหาที่ปรากฏจริง ๆ นั้น เกิดจากการเรียนการสอน ในขัน้ ตอนใด และเหตุใดจงึ เลอื กใช้วธิ ีการแกป้ ญั หาดังกล่าว 3. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั กาหนดวัตถุประสงค์หลายข้อ แล้วไม่สามารถหาคาตอบได้ครบทุกข้อ และงานวิจัยอย่างง่าย บางเรอ่ื ง มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พียงเพ่อื สารวจสภาพปญั หาการจัดการเรียนการสอนเทา่ นัน้ 4. วิธีดาเนินการวิจัย กล่มุ เป้าหมาย (ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง) ครยู ังสบั สนระหวา่ งกลุ่มเปา้ หมาย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครอ่ื งมือ ไม่ระบุรายละเอียดการพัฒนาแบบฝึกว่าสร้างอย่างไรหรืออ้างอิงแบบฝึกว่านามาจาก แหล่งข้อมลู ใดหรอื มีอยแู่ ล้ว การวิเคราะหข์ ้อมลู ใช้สถิติวิเคราะหข์ ้อมลู ไมเ่ หมาะสม 5. ผลการวจิ ยั การแปลผลไมส่ อดคล้องกับปัญหาการวิจัย ผลการวจิ ัยตอบจดุ ประสงค์ไม่ครบทกุ ขอ้ 6. ขอ้ เสนอแนะ การเสนอแนะเพื่อการศึกษายังไมส่ ามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้ นอกจากนี้ครู กศน. ให้ข้อเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงเอกสารประกอบการเรียนรู้สาหรับการวิจัย อย่างง่ายไว้ว่า ควรเพิ่มเติมเน้ือหาและตัวอย่างให้มาก ๆ ให้แนะนาแหล่งค้นคว้า ศึกษาเพ่ิมเติม มีตัวอย่าง งานวิจัยอย่างง่ายท่ีสมบูรณ์และสามารถนาไปเป็นแนวทางการทาวิจัยอย่างง่ายได้ ซึ่งปัญหาและข้อจากัด ท้ังหลายเหล่าน้ี จะลดน้อยหรือหมดไป หากครู กศน. ได้ศึกษาคู่มือเล่มน้ี พร้อมท้ังพยายามทาความเข้าใจ คดิ วเิ คราะห์และลงมอื ทาวิจยั อยา่ งง่ายไปพร้อม ๆ กัน ค่มู ือการทาวิจยั อย่างงา่ ยของครู กศน. 10

ตอนที่ การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย ตามบริบทของ กศน. สาระสาคญั การวิจัยอย่างง่าย ตามบริบทของ กศน. ในคู่มือเล่มน้ี เป็นการทาวิจัยอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาและ พัฒนาผู้เรียน โดยเน้นปัญหาที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้เป็นจุดเร่ิมต้น และครูผู้สอนพยายามท่ีจะหาวิธีการ การใชแ้ บบฝกึ หรอื ส่อื การเรียนการสอน หรอื วธิ กี ารเรยี นการสอนที่อาจเรยี กวา่ นวตั กรรม เพอ่ื แก้ปญั หาให้กับ ผู้เรียน จากน้ันจึงมีการสังเกตและตรวจสอบผลของการแก้ปัญหาหรือการพัฒนาที่ได้ดาเนินการไป แล้วจึงมี การบันทึกและสะท้อนการแก้ปัญหาหรือการพัฒนานั้น ๆ ออกมาตามแบบรายงาน ดังนั้น การวิจัยอย่างง่าย ในบริบทของ กศน. ตามคู่มือนี้ จึงเป็นการวิจัยขนาดเล็ก ท่ีมีวตั ถุประสงค์ คือ เพ่ือแก้ปญั หาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน เฉพาะด้านการเรียนการสอน หรือในกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน รวมถึงเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีข้ึน ซึ่งหมายถึง การหาวิธีการหรือแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้เรียนอ่อนให้สามารถ เรียนทันเพื่อน หรือการปรับปรุง เสริมผู้เรียนให้สามารถร่วมเรียนรู้กับเพ่ือน ๆ ในกลุ่มได้ดีตามศักยภาพ ของเขา โดยใชก้ ระบวนการทางวจิ ยั วัตถปุ ระสงค์ เพือ่ ใหค้ รู กศน. 1. รู้ เขา้ ใจ ถึงองค์ประกอบ สาระสาคญั และรปู แบบโดยรวมของการวจิ ยั อย่างงา่ ย 2. มีเจตคติทีด่ ตี ่อการทาวิจัยอยา่ งงา่ ยเพือ่ พฒั นาผู้เรยี น ขอบขา่ ยเนอื้ หา เร่ืองที่ 1 ความหมายของการวจิ ยั อยา่ งง่ายตามบรบิ ท ของ กศน. เร่ืองท่ี 2 องค์ประกอบ สาระสาคัญและรูปแบบโดยรวมของการวจิ ัยอย่างงา่ ย คมู่ อื การทาวิจยั อยา่ งง่ายของครู กศน. 11

เร่ืองที่ 1 ความหมายของการวจิ ยั อย่างง่าย ตามบรบิ ทของ กศน. ความหมาย การวิจัยอย่างง่าย ตามบริบทของ กศน. เป็นการกาหนดนิยาม องค์ประกอบ และรูปแบบ ของการทาวจิ ัยอย่างง่ายให้เหมาะสมกับบริบทโดยรวมของ กศน. ไม่ว่าจะเปน็ ลักษณะรูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ บทบาทหน้าที่และภารกิจของครูผู้สอน กศน. รวมถึงกลุ่มเป้าหมายหรือผู้เรียน กศน. ที่มีความ หลากหลายในมิติต่าง ๆ โดยบูรณาการแนวความคิด และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของการวิจัยอย่างง่าย เขา้ ไป เพอ่ื ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลอยา่ งสงู สดุ ในการแกป้ ญั หาหรือพฒั นาผเู้ รียนของครู กศน. กล่าวได้ว่า การวิจัยอย่างง่ายของ กศน. จะหมายถึง กระบวนการแสวงหาความรู้ ความจริง โดยวธิ ีการท่ีเช่ือถือได้ มีระเบียบแบบแผน เป็นระบบ ซ่ึงคาตอบของปัญหาหรือข้อเท็จจริงท่ีตอ้ งการรู้ อาจมา จากการศึกษาค้นคว้า การรวบรวมข้อมูล การทดลอง หรือการประดิษฐ์ คิดค้น วิธีการ นวัตกรรมหรือส่ิงอืน่ ใด ที่ใชร้ ะเบยี บวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผนวกกบั ความร้แู ละประสบการณ์ของครูผู้สอนผู้สอน เป็นเครือ่ งมือในการ คิดและการดาเนินการ โดยท่ีความจริงและข้อค้นพบที่ได้ ต้องมีความสัมพันธ์กับสภาพปัญหาท่ีปรากฏอยู่ ในขณะน้ัน และการวิจัยอยา่ งง่ายของคูม่ ือเล่มน้ี จะเน้นการคน้ หาปัญหาที่เกิดข้ึนกับผู้เรียน แล้วครูผู้สอนลงมือ แก้ปญั หา พฒั นาไปอยา่ งเปน็ ระบบ จากนั้นนาเสนออย่างงา่ ย ๆ ไม่สลบั ซบั ซ้อน ซง่ึ เป็นรูปแบบหนึ่งของการวิจัย ปฏิบัติการ (Action Research) ซ่ึงเป็นการวิจัยที่มุ่งแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนเฉพาะหน้าเป็นครั้ง ๆ ไป เป็นการ แสวงหาความรู้ ความจริงโดยวิธีการหรือนวัตกรรม เพ่ือให้ได้ทางเลือกในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดต่อผเู้ รยี นในเร่อื งใดเรื่องหนง่ึ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ดังนั้น การวิจัยอย่างง่ายในมิติท่ีกล่าวถึงครั้งนี้ จึงเป็นลักษณะของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่เป็นงานในหน้าที่ของครูผู้สอนผู้สอนกับผู้เรียน หรือเป็นหน้าที่ท่ีครูผู้สอนผู้สอนต้องพิจารณาและตรวจสอบ อยู่ตลอดเวลาว่า ผู้เรียนเกิดประสบการณ์การเรียนรู้ ตรงตามเป้าหมายที่ตอ้ งการหรือไม่ มีพฤตกิ รรม มีปัญหา หรืออุปสรรคใดเกิดข้ึนมาบ้าง และได้ปรับปรุงแก้ไข ให้กิจกรรมการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน นับเป็นการปฏิบัติการให้ได้มาซ่ึงการพัฒนาการเรียนรู้ หรือการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีมุ่ง ผลสัมฤทธิ์ ให้เกดิ ข้นึ กบั ผเู้ รยี นตอ่ ไป คู่มอื การทาวจิ ัยอย่างง่ายของครู กศน. 12

เรือ่ งท่ี 2 องคป์ ระกอบ สาระสาคญั และรปู แบบโดยรวมของการวจิ ัยอย่างง่าย การวิจัยอย่างง่าย มีองค์ประกอบ สาระสาคัญและรูปแบบ คล้าย ๆ กับการวิจัยในช้ันเรียน แต่อาจมีความแตกต่างกันตรงกลุ่มประชากรหรือกลุ่มเป้าหมาย ด้านอายุ อาชีพ ความรู้พื้นฐานรวมไปถึง เง่ือนไขตัวแปรอื่น ๆ ที่ไม่สามารถควบคุมได้เหมือนชั้นเรียนในระบบ แต่หากเน้นไปในเร่ืองของกระบวนการ การทาวิจัย เร่ิมจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน เพือ่ กาหนดเป็นปัญหาหรือหัวข้อของการวจิ ัยแล้ว ก็แทบ จะไม่มีความแตกต่างกัน ซ่ึงสามารถอธิบายถึงกระบวนการและขั้นตอนการวิจัยอย่างง่ายเพ่ือทาความเข้าใจ ตามวงจร ได้ดังน้ี เขียนรายงานผล สงั เกตอาการผดิ ปกติ ทางการเรยี น/ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรยี น เพ่อื ระบุปัญหาแท้ ลงมอื แกไ้ ข วิเคราะห์/ซักถาม และจดบนั ทึกผล ผู้เรยี นถึงสาเหตุแท้ ของปญั หา หาวธิ แี กไ้ ขท่ีตรงกับ สาเหตแุ ทข้ องปัญหา จากวงจรขา้ งต้น สามารถสรปุ ขั้นตอนและกระบวนการหลกั ๆ ของการวจิ ัยอยา่ งง่าย ไดด้ ังน้ี 1. ขั้นตอนการสังเกตความผิดปกติของผู้เรียน และตั้งเป็นข้อสงสัยคาดว่าจะเป็นปัญหา ซ่ึงต้อง อาศัยความใส่ใจและประสบการณ์ของครูผู้สอนผู้สอนโดยตรง หรือครูผู้สอนผู้สอนอาจจะหาแนวทางมาจาก การศึกษา การอ่านงานวจิ ัย หรอื วารสารต่าง ๆ รวมถึงการพูดคยุ กบั เพื่อนครูผสู้ อนดว้ ยกนั แล้วไปสงั เกตผู้เรียน 2. ขั้นตอนของการกาหนดปัญหา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ว่าส่ิงผิดปกติที่พบเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับ ผู้เรียน ซึ่งในขั้นตอนน้ี ครูผู้สอนจะต้องใช้ความสามารถในการจาแนกแยกแยะความแตกต่างระหว่าง ปัญหา คมู่ อื การทาวิจยั อย่างงา่ ยของครู กศน. 13

และสาเหตุของปัญหา ซึ่งอาจใช้วิธีวิเคราะห์จากข้อมูลเบ้ืองต้นท่ัวไป เพ่ือหาข้อเท็จจริงหรือความจริงเก่ียวกับ ปญั หา และจากนั้น ให้เขยี นอธบิ ายเก่ยี วกบั สาเหตุของปัญหา เพื่อหาสาเหตแุ ทจ้ รงิ ของปัญหาทีเ่ กดิ กับผเู้ รียน 3. ขน้ั ตอนการหาวธิ ีแก้ไขที่ตรงกบั สาเหตทุ ่แี ทจ้ ริงของปญั หา คือ เมอื่ ครผู ้สู อนผูส้ อนทราบสาเหตุ ที่แท้จริงของปัญหาแล้ว ครูผู้สอนผู้สอนจะต้องศึกษาหรือค้นหาวิธีการแก้ไขท่ีตรงกับปัญหาแท้จริง โดยการ สร้างกรอบแนวคิด หรือต้ังสมมติฐานว่า วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบน้ี ใช้แบบฝึกแบบนี้ หรือนวัตกรรมนี้ จะช่วยแก้ปัญหาน้ัน ๆ หรือสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ ซ่ึงอาจเป็นวิธีการท่ีคนอื่นเคยทามาแล้ว หรืออาจคิดค้น วิธีการใหม่ที่เป็นนวัตกรรมก็ได้ จากนั้นจึงกาหนดเป็นแผนปฏิบัติวิจัยคร่าว ๆ หรือในการทาวิจัยเต็มรูปแบบ จะเรียกว่า การเขียนโครงร่าง ซึ่งมีรายละเอียดและองค์ประกอบที่สามารถตอบคาถามวา่ จะทาอะไร อย่างไร กับใคร ทีไ่ หน เมื่อไหร่ เปน็ ตน้ 4. ข้ันการลงมือแก้ไขและการจดบันทึกผลนี้ เป็นข้ันตอนการลงมือทาวิจัยหรือการปฏิบัติ ตามแผน หรือตามโครงร่างวิจัย ซ่ึงโดยปกติแล้วขั้นตอนนี้ สามารถบูรณาการให้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียน การสอนได้ เช่น การให้ผู้เรียนทาแบบฝึกท่ีคิดข้ึนมาใหม่ การทดลองใช้กระบวนการจัดเรียนเรียนรู้แบบใหม่ หรอื การลองพูดคุย สัมภาษณ์กลุ่มประชากรทั้งหมด และกลุ่มตัวอย่าง (กลุ่มที่มีปญั หา) แล้วครูผู้สอนจดบันทึก ความเปลี่ยนแปลงทค่ี ้นพบโดยละเอียด 5. ข้ันตอนสุดท้ายน้ี เปน็ การเขียนสรุปผลท่ีไดจ้ ากการวจิ ัย ซ่ึงส่วนใหญ่จะเขียนเฉพาะประเด็นท่ี สาคัญ ๆ โดยไม่จาเป็นต้องอ้างทฤษฎี หรือข้อมูลวิจัยจากนักวิจัยแต่อย่างใด ซ่ึงรายงานผลดังกล่าวนี้ จะมี ประโยชน์สาหรบั การนาไปเผยแพร่ หรือปรับปรุงเพื่อพัฒนาแก้ไขต่อไป เพ่ือให้การทาวิจัยอย่างง่าย สามารถทาได้ง่าย ๆ จึงขอสรุปเนื้อหา สาระและลักษณะท่ีสาคัญ ๆ ของการวจิ ัยอย่างงา่ ยตามบรบิ ท กศน. ในประเดน็ ต่าง ๆ ได้ตามตาราง ดังน้ี ประเดน็ การวจิ ัยอย่างง่าย ตามบรบิ ท กศน. 1. ใครทา 2. ทาอะไรและเพื่อใคร ครผู สู้ อน 3. เริม่ ทไ่ี หนและอย่างไร เป็นการหาวิธีการหรือแนวทางแก้ปัญหาผู้เรียน บางคน หรือทั้งกลุ่ม ในเร่ือง บางเรื่อง หรือเป็นการทดลองใช้วิธีการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนการสอน แบบฝึก หรือส่ือการเรียน นวัตกรรมใหม่ ๆ เพ่ือการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรยี น สังเกตเห็นผู้เรียนบางคนมีพฤติกรรมผิดปกติ ที่คาดวา่ จะเป็นปัญหาหรืออาจดู จากผลการเรียน ผลการสอบของผ้เู รียน ทงั้ น้ี ต้องวเิ คราะห์ปญั หาทพี่ บให้แคบ ที่สดุ หรอื เป็นปัญหาทแ่ี ทจ้ รงิ ใหไ้ ด้ คู่มือการทาวิจัยอย่างงา่ ยของครู กศน. 14

ประเดน็ การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย ตามบรบิ ท กศน. 4. ทาทไ่ี หน พนื้ ท่ีหรอื ขอบเขตการวิจัย คือ ในหรือนอกหอ้ งเรียน ตามแหลง่ ขอ้ มูล เชน่ บ้านหรอื ชุมชนของกลุ่มตวั อยา่ ง 5. ทาเพือ่ อะไร แก้ปัญหาผู้เรียนบางคน หรือท้ังกลุ่ม ในเรื่องบางเรื่อง หรือทดลองใช้ นวัตกรรม/เทคนิค/กระบวนการเรียนการสอนใหม่ ๆ หรืออีกนัยหน่ึงคือ การพฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียน คณุ ภาพการเรียนการสอนที่ตอ่ เนื่อง 6. การออกแบบการวิจยั ไม่จาเป็นต้องเขียนเป็นโครงร่างการวิจัย เช่นเดียวกับการวิจัยเต็มรูปแบบ หรอื วิธีวจิ ยั หรอื โครงร่างวจิ ยั แต่ควรกาหนดเป็นแผนคร่าว ๆ เช่น ปฏิทินการวิจัยคร่าวๆ อย่างไม่เป็น ทางการ เอกสารเชิงหลักการ (Concept Paper) หรือร่างกรอบการวิจัย ไม่ต้องกาหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี แต่ใช้ประสบการณ์ของครูผู้สอนผู้สอน มากาหนดเป็นวงจรวิจัยแบบ PAOR (Plan Act Observe Reflect and Revise (วางแผน ปฏิบตั ิการ สังเกต สะท้อนผลและกระทาซ้า) 7. เคร่อื งมอื วจิ ยั ไม่จาเป็นต้องมีเครื่องมือวิจัยท่ีซับซ้อน อาจมีแบบคาถาม แบบทดสอบ หรือ แบบสัมภาษณ์ รวมถึงการสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน นอกจากน้ี หากครูผู้สอนผู้สอนสามารถคิดค้นนวัตกรรมใหม่ เช่น แบบฝึก หรือวิธีการจัด การเรียนรู้ หรือส่ืออ่ืน ๆ ที่เน้นการแก้ปัญหาของผู้เรียนก็สามารถดาเนินการได้ และครูผู้สอนผู้สอนต้องเป็นกลไกสาคัญในการคิดและดาเนินการสร้าง เครื่องมอื วิจัย 8. การกาหนดวิธีการแกไ้ ข ไม่ต้องอิงทฤษฎี หรือมีผลการวิจัยรองรับ แต่สามารถใช้วิธีการเชิงปรนัย ปัญหา อธิบายตรวจสอบผลการวิจัยได้ 9. กล่มุ เปา้ หมาย ระบุประชากร ซ่ึงหมายถึง จานวนผเู้ รยี นทั้งหมด และกล่มุ ตวั อย่าง คอื ผู้เรยี น ท่ีมีปัญหา หรอื มพี ฤตกิ รรมที่ต้องการทาวิจยั ไม่มีความจาเปน็ ตอ้ งสุม่ ตัวอย่าง หรอื กาหนดตัวแปร เน่ืองจากเป้าหมาย คือ กล่มุ ผู้เรยี นทม่ี ปี ัญหารายคนหรือ ทงั้ กลุ่ม 10. ระยะเวลาการวิจยั ควรใช้ระยะเวลาในการวิจยั สน้ั ๆ เช่น 1-2 สัปดาห์ และเกบ็ ข้อมูลเสร็จภายใน 2-3 วัน ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ ว่าแต่ละปัญหาจะใช้ ระยะเวลามากหรือนอ้ ยเพียงใดจึงจะสามารถแก้ปัญหาได้ คูม่ อื การทาวิจัยอย่างงา่ ยของครู กศน. 15

ประเดน็ การวิจัยอย่างง่าย ตามบริบท กศน. 11. การเก็บและวเิ คราะห์ ขอ้ มูล ครูผสู้ อนผวู้ ิจัยเปน็ ผ้เู ก็บขอ้ มูลจากการสังเกต พูดคุยกบั ผู้เรยี น หรืออาจมี เครอื่ งมอื ง่าย ๆ เช่น แบบสอบถาม แบบทดสอบ หรอื แบบสัมภาษณ์ หรอื 12. การอภปิ ราย นวัตกรรมใหม่ ๆ และการวเิ คราะหเ์ นอื้ หา ไมเ่ น้นการวิเคราะห์ดว้ ยสถิตชิ ั้นสูง แปลความหมายข้อค้นพบ จากการวจิ ยั ครูผู้สอนผู้วิจัยสามารถเขียน ตามกระบวนการและหัวข้อที่กาหนด หรืออาจ มีการถกอภิปรายถึงวิธีการแก้ปัญหา และผลท่ีเกิดขึ้นระหว่างเพ่ือนครูผู้สอน 13. ทาเมอ่ื ไหร่ ด้วยกัน โดยไม่ต้องอภิปรายภายใต้กรอบทฤษฎี หรือใช้ความคิดเห็น ของนักวิจัยประกอบการอภปิ ราย 14. การเขียนรายงานผล ทาวจิ ัยควบคูก่ ับการสอนตามปกติ ใหถ้ ือเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการเรยี นการสอน 15. จานวนเรอื่ ง/ปี หรอื หากตอ้ งการเกบ็ ขอ้ มูลตามพืน้ ที่ ขอบเขตวิจยั อาจดาเนนิ การนอกเวลาได้ 16. ประโยชน์ เขียนรายงานผลแบบไม่เป็นทางการ ความยาวควรอยู่ระหว่าง 5 -7 หน้า 17. ตัวอย่างช่ืองานวจิ ัย ไม่ควรเกิน 10 หน้า โดยมีองค์ประกอบของการเขียนรายงานผลท่ีสาคัญ ๆ อย่างง่าย ประมาณ 8 หัวข้อ สามารถทาได้หลาย ๆ เร่อื ง ต่อภาคเรียน สามารถแก้ปญั หาหรอื พฒั นาผู้เรยี น และนาไปเปน็ ผลงานของครผู สู้ อนผ้สู อน และมาตรฐานของครูผู้สอนผสู้ อนและสถานศกึ ษา - การแก้ปัญหาการออกเสียง คว ไม่ชัด ของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนตน้ กศน. ตาบลน้าบ่อหลวง - การแกป้ ัญหาการเรยี นคณิตศาสตร์ทีม่ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตา่ โดยรูปแบบ พบกลมุ่ ของนกั ศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย กศน. ตาบลสันกลาง คู่มือการทาวิจยั อย่างง่ายของครู กศน. 16

ตอนท่ี กระบวนการทาวจิ ยั อย่างงา่ ย สาระสาคัญ โดยท่ัวไปแล้ว การวิจัยจะแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ การวิจัยแบบเป็นทางการ (Formal Research) ซ่ึงหมายถึง การวิจัยท่ีมีระเบียบแบบแผน มีขั้นตอนท่ีชดั เจน เป็นระบบ มีลักษณะเหมือนงานวิจัย ทางการศกึ ษาหรือการวิจยั เชงิ วชิ าการ ทป่ี ระกอบไปด้วย 5 บทตามที่ครูผู้สอนหลาย ๆ คน อาจคุ้นเคยมาแล้ว และการวิจัยแบบไม่เป็นทางการ (Informal Research) ซึ่งเป็นการวิจัยท่ีมุ่งเน้นหาคาตอบจากข้อมูลท่ีเป็น ประสบการณ์จริงในช้ันเรียน ไม่อ้างอิงทฤษฎีมากนัก ไม่ใช้ข้อมูลทางสถิติท่ียุ่งยากซับซ้อน ดาเนินการวิจัย กับกลุ่มเป้าหมายโดยตรง คือ ผู้เรียน ที่ครูผู้สอนพบว่ามีปัญหา ในแตล่ ะภาคเรียนครูผู้สอนสามารถทาวจิ ัยได้ หลายเร่ือง ตามปัญหาที่พบในขณะที่สอน และใช้ระยะเวลาในการวิจัยไม่นาน ไม่ต้องทาครบ 5 บท ซึ่งเป็น ลักษณะของการวิจัยอย่างง่ายน่ันเอง แต่ท้ังนี้ ต้องมีการดาเนินงานเป็นขั้นตอน โดยอาจกาหนดเป็นร่างกรอบ การวิจัย หรือปฏิทินการวิจัยหรือแผนการวิจัยคร่าว ๆ ท่ียึดหลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย การวางแผนวจิ ัย (Planning) ปฏิบัติตามแผน (Acting) เก็บรวบรวมข้อมูล (Observing) และ สะท้อนความรู้ ข้อค้นพบ ข้อสังเกต (Reflecting) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า กระบวนการ PAOR รวมถึงต้องมีสาระ และกระบวนการทางวิจัยครบถ้วน คือ ต้องมีการสารวจและวิเคราะห์ปัญหา มีการวางแผนกาหนดรูปแบบ วิธีการแก้ปัญหา เคร่ืองมือวิจัยหรือนวัตกรรม มีวิธีการดาเนินงาน มีสรุปผลการดาเนินงาน รวมไปถึง การอภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหค้ รู กศน. 1. รู้ และเขา้ ใจกระบวนการทาวิจยั อยา่ งง่าย 2. ปฏบิ ัตกิ ารวจิ ัยอยา่ งง่ายตามกระบวนการและขน้ั ตอนได้อย่างถูกต้อง ขอบข่ายเนื้อหา เร่ืองที่ 1 การกาหนดและวิเคราะหป์ ญั หา และการสร้างกรอบความคิด (สมมติฐาน) การวิจัยอย่างง่าย เร่ืองที่ 2 การตง้ั ช่อื เรือ่ ง การเขยี นวตั ถุประสงค์ การกาหนดขอบเขตและการสรา้ งเครือ่ งมือวจิ ัย เรอ่ื งที่ 3 การลงมอื ปฏบิ ตั ิงานวจิ ยั อย่างง่ายและการเกบ็ ข้อมลู เรอื่ งที่ 4 การวเิ คราะหแ์ ละแปลผลข้อมูล เร่ืองท่ี 5 การเขยี นสรุปผลและการอภปิ รายผลการวจิ ยั อยา่ งงา่ ยและขอ้ เสนอแนะ ค่มู อื การทาวิจยั อย่างง่ายของครู กศน. 17

เร่อื งท่ี 1 การกาหนดและวเิ คราะหป์ ญั หา และการสรา้ งกรอบความคิด (สมมติฐาน) การวจิ ัยอยา่ งง่าย การกาหนดและวิเคราะหป์ ัญหาการวจิ ัยอย่างงา่ ย การค้นหาปัญหา เพ่อื ทาการวจิ ยั อย่างงา่ ย อาจมีรูปแบบการวิจัยและกรอบการวจิ ัยที่หลากหลาย ตามสภาพปัญหาท่พี บ เนอ่ื งจากในกระบวนการสอนของครู มีปจั จัยและตัวแปรหลายอย่างท่ีมีความสัมพันธก์ ัน อย่างต่อเนื่อง กล่าวคือ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู จะเริ่มจากการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตร กาหนดแนวการสอน เขียนแผนการสอน ซ่ึงในการเขียนแผนการสอนจะต้องมีการกาหนดสาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ กาหนดกิจกรรมหรือวิธีการจัดการเรียนรู้ ส่ือหรือแหล่งการเรียนรู้ รวมไปถึงวิธีการวัด และประเมินผลไว้อย่างคร่าว ๆ ซ่ึงปัญหาท่ีพบในห้องเรียนอาจมีสาเหตุของปัญหามาจากผู้เรียน ผู้สอน หลักสูตร แผนการเรียนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ หรือแม้แต่การประเมินผล ตามท่ีได้กล่าวไว้ใน เบื้องต้นแล้วว่า กรอบของการทาวิจัยอย่างง่ายในคู่มือเล่มน้ี จะกาหนดกรอบของการแก้ปัญหาให้แคบลง เฉพาะปญั หาด้านการเรยี นการสอน เพ่อื การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของผ้เู รียนเทา่ นนั้ ตามปกติ การได้มาซึ่งปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ หรือการจัดการเรียน การสอน สามารถเริ่มต้นได้จากหลาย ๆ วิธีการ เช่น การพิจารณาจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ข้อมูลพ้ืนฐานทั่วไปของผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรมผิดปกติของผู้เรียนในกลุ่ม หรือจากการบันทึกหลัง การสอน ซ่ึงส่ิงเหลา่ นอ้ี าจไดแ้ นวความคดิ มาจากประสบการณ์ของครูผูส้ อนโดยตรง หรืออาจไดแ้ นวความคดิ มา จากการอ่านทฤษฎี หนังสือ หรือวารสารต่าง ๆ ที่เก่ียวกับการวิจัย งานวิจัยทางการศึกษาหรือการวิจัย เชิงวิชาการ หรอื แม้แตก่ ารแลกเปลย่ี นเรียนรจู้ ากผอู้ ืน่ หรอื เพอ่ื นครูดว้ ยกัน หลังจากน้ัน ครูผู้สอนก็นาแนวความคิดนั้น ๆ มาสังเกตผู้เรียนในกลุ่มของตนเอง ซ่ึงผู้เรียนอาจมี เพียงคนเดยี ว สองคน สามคน หรือมากกวา่ น้ัน แต่ไม่ควรมากเกินคร่ึงห้อง ที่ยังไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตง้ั ไว้ เชน่ ยงั ขาดทักษะการอา่ น การเขียน การฟัง การสื่อสาร การคิดคานวณ ฯลฯ หรือไม่เข้าใจเนื้อหา หรือไม่ผ่าน จุดประสงค์ตามแผนการเรียนรู้ของรายวิชาต่าง ๆ ของแต่ละบทเรียน ส่ิงเหล่าน้ี ถือเป็นปัญหาวิจัยด้าน การเรียนการสอนที่ครูผู้สอนพบได้บอ่ ย ๆ ในการจัดกิจกรรมพบกลุ่ม หรือนอกจากน้ี อาจพบปัญหาพฤติกรรม ของผูเ้ รยี นขาดความรบั ผิดชอบ ขาดความตระหนัก ฯลฯ ก็อาจพจิ ารณานาปัญหามาทาวจิ ัยอยา่ งง่ายไดเ้ ช่นกนั ตามที่ได้กลา่ วไวข้ ้างต้นว่า ลกั ษณะของปัญหาทเี่ กิดขึ้นในกลุ่มผู้เรียน กศน. จะมีหลากหลาย และ มักจะเกดิ ขึ้นในลกั ษณะกว้าง ๆ หรือเกดิ ในลักษณะคลมุ เครือท่ีมองดเู ผิน ๆ อาจเกี่ยวโยงไปแทบทุกส่วน ดงั นั้น ครูผู้วิจัยต้องรู้จักวิธีที่จะลดความกว้างและความคลุมเครือ เพื่อให้ได้ภาพของปัญหาที่ชัดเจนข้ึน วิธีการหน่ึง ที่ควรจะทา คือ การเขียนรายละเอียดของความจริงเก่ียวกับปัญหา (Facts) และการเขียนคาอธิบายเก่ียวกับ สาเหตุของปัญหา (Explanations) นั้นออกมา แล้วหาความสัมพันธ์ท่ีเกี่ยวข้อง ระหว่างความจริงและ คาอธิบาย บางครั้งอาจพบวา่ เปน็ ปญั หาทม่ี สี าเหตุจากตวั แปรอื่น ๆ ทเี่ ขา้ ใจงา่ ย ไมจ่ าเปน็ ต้องทาวิจัย หรืออาจ คู่มือการทาวจิ ัยอยา่ งง่ายของครู กศน. 18

มีสาเหตุอื่น นอกเหนือหรือไกลเกนิ กวา่ ที่ครูผู้สอนจะควบคุมหรือเปล่ียนแปลงได้ เป็นตน้ ลักษณะของปญั หาแท้ ท่ีพบ อาจมีหลากหลายและมีสาเหตทุ ่หี ลากหลายเช่นกัน ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี แสดงวิธีการเขียนความจริงเกี่ยวกับ ปัญหา และการอธิบายเกีย่ วกบั สาเหตขุ องปญั หาใหเ้ ขา้ ใจได้มากข้นึ ตวั อยา่ ง ผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของ กศน. ตาบลน้าบ่อหลวง มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาคณิตศาสตร์ต่า จากการจัดวิธีการเรียนรู้แบบ บรรยายในการพบกลุ่ม โดยมีจานวนผู้เรียนที่สอบไม่ผ่าน และมีจานวนผู้เรียนท่ี สอบผา่ น แต่ไดร้ ะดบั คะแนนนอ้ ยมาก จากตัวอย่างของปัญหานี้ ครูผู้สอนอาจตั้งข้อสงสัยว่า การจัดการเรียนรู้แบบบรรยายที่ใช้กัน ในการพบกลุ่ม เป็นวธิ ีการท่ีน่าจะทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ดีท่ีสุด เพราะผู้เรียนสามารถซักถาม ข้อสงสัยในจุดท่ียังไม่เข้าใจจากครูผู้สอนได้ดีกว่าวิธีการอ่ืน ๆ เช่น การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนทางไกล เปน็ ต้น เนอ่ื งจากมีครูผู้สอนอยู่ด้วย ดังน้ัน เม่ือผู้เรียนยังมีปัญหาเช่นน้ี ครูผู้สอนจึงควรจะทาวิจัยเพื่อหาสาเหตุ และข้อแก้ไข เพ่ือนามาปรับปรุงในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ผลดีขึ้น แต่ปัญหาคือ จะทาวิจัยเร่ืองอะไรดี และปัญหานี้ เก่ียวข้องกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนหรือไม่ ครูผู้สอนจะสามารถแก้ไขปัญหาน้ีได้เอง หรือไม่ น่ีคือคาถามและปัญหาของครูผู้สอนส่วนใหญ่ ดงั น้ัน วธิ ีการท่ีจะลดความกวา้ งของปัญหาและสามารถ วิเคราะหจ์ นกระทั่งพบสาเหตุแทจ้ ริงได้ ครูผู้สอนควรตอ้ งดาเนนิ การ ดงั นี้ การเขยี นความจริงเกีย่ วกบั ปัญหา (Facts) จากตัวอย่างท่ีให้ การเขียนความจริงเกี่ยวกับปัญหา โดยท่ัวไปแล้ว ครูผู้สอนสามารถเขียนได้ ตามความเป็นจริงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องท่ีครูผู้สอนนึกได้ และควรเขียนเป็นข้อ ๆ เพื่อพิจารณาได้สะดวก จึงได้ ยกตัวอย่าง ไว้ดังน้ี 1. รูปแบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนใช้วิธีแบบไหน ก็เขียนลงไป อาจเป็นไปได้ว่าครู ถนัดสอนแบบบรรยาย และเคยเรียนมาด้วยวิธีการแบบน้ี แต่อาจลืมนึกถึงพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน แต่ละคน หรือรปู แบบการบรรยายอาจไมน่ า่ สนใจ หากเปน็ เชน่ น้ปี ัญหากอ็ ยูท่ ี่ตัวผู้สอนและวธิ ีการสอน 2. จานวนผู้เรียนท่ีคิดว่ามปี ญั หาในการเรียนรายวิชาน้ี ซง่ึ คาดว่า คงใช่ผู้เรียนท้งั หมดท่ีมีปญั หานี้ 3. อายุของผเู้ รียนท่มี ีปัญหา สมมุตวิ ่าความจริงท่ีพบคือ ผู้เรียนท่ีอยู่ในวยั เด็กมีผลการเรียนดีกวา่ กอ็ าจทาวจิ ยั ในหัวข้อ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างอายุผเู้ รียนกบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น คูม่ ือการทาวจิ ยั อยา่ งงา่ ยของครู กศน. 19

4. การมีงานทาของผู้เรียน เนื่องจากผู้เรียน กศน. ส่วนใหญ่มีท้ังผู้เรียนที่ทางานและไม่ทางาน รวมถึงอาจมีช่วงเวลาทางานที่ต่างกัน ดังน้ัน ผู้ที่ทางานอาจมีเวลาทบทวนบทเรียนน้อย และทาให้ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนต่าเช่นกนั 5. ตาราท่ีใช้ในการสอนใช้เล่มใด อาจนามาวิเคราะห์ดูว่า มีเนื้อหาท่ียากง่าย หรือมากน้อย เหมาะสมกับลักษณะผู้เรียน และระยะเวลาเรียนหรือไม่ 6. จานวนผเู้ รียนในห้องเรยี นท้งั หมด หรอื จานวน และสถิตกิ ารมาเรียนของผู้เรียน 7. สภาพแวดล้อมทางบา้ นของผูเ้ รยี น 8. เพศของผเู้ รยี นทม่ี ปี ัญหา 9. พน้ื ฐานความรู้เดิมทางคณิตศาสตร์ของผเู้ รียน 10. ความสนใจในการเรียนคณิตศาสตร์ของผู้เรียนท่ีมีปัญหา รวมถึงการซักถาม การส่งงาน ส่งการบา้ น เปน็ ต้น 11. ผลการเรียนในวชิ าอน่ื ของผ้เู รียนทีม่ ีปญั หาในการเรยี นคณติ ศาสตร์ ทั้งหมดนี้ คือตัวอย่าง การเขียนความจริงเกี่ยวข้องกับประเด็นของปัญหา จะเห็นว่าความจริง เหล่านี้ จะเป็นส่ิงท่ีช่วยเปิดช่องความคิดของครูผู้สอน ให้คิดต่อไปถึงหัวข้อที่ควรทาวิจัย นอกจากน้ี ยังทาให้ ครูผู้สอนรู้ได้คร่าว ๆ ว่า ในบางเรื่อง ครูผู้สอนสามารถแก้ไขได้เองหรือไม่ หรือเง่ือนไขบางอย่างอาจมีส่วน เกี่ยวข้อง หรอื ไม่มสี ่วนเกยี่ วข้องกบั ปญั หานน้ั ๆ ซ่ึงจะทาใหม้ องปญั หาและสาเหตไุ ด้แคบลง คาอธิบายเกย่ี วกบั สาเหตุปัญหา (Explanations) เช่นเดียวกับในเร่ืองของความจริง (Facts) ของปัญหาตามท่ีได้กล่าวมาแล้ว การเขียนคาอธิบาย เก่ียวกับส่ิงท่ีเห็นวา่ น่าจะเป็นสาเหตุของปัญหาลงไป จะเปน็ อีกวิธหี น่ึง ที่ช่วยให้สามารถคิดหัวข้อที่จะทาวิจัย ได้แคบลงและดขี ้นึ จากกรณีตวั อย่างท่ีกลา่ วมาแล้ว สามารถเขยี นคาอธบิ ายเกยี่ วกับสาเหตุปญั หา ได้ดงั นี้ 1. ครูผู้สอนอาจสอนเร็วเกินไป ทาให้ผู้เรียนบางคนตามไม่ทัน หรือครูผู้สอนอธิบายและ ยกตวั อยา่ งนอ้ ย ทาให้ผ้เู รียนที่มพี ื้นฐานทางคณิตศาสตร์นอ้ ยหรือไมด่ ี ไม่เขา้ ใจเนอ้ื หาที่ครสู อน 2. ตารา หนังสือหรือคู่มือ มีเนื้อหาท่ีรวบรัดเกินไป ไม่มีคาอธิบายท่ีละเอียดพอ รวมท้ัง ยงั มีตัวอยา่ ง และแบบฝกึ หดั นอ้ ย 3. การบา้ นหรือแบบฝึกท่ใี ห้ผูเ้ รยี นทาดว้ ยตวั เองยากเกินไป จึงทาให้เจตคติของผู้เรียนท่ีมีต่อการ เรยี นวชิ าคณิตศาสตร์ไม่ดี 4. ผู้เรียนส่วนใหญ่มีงานทา เมื่อมาเรียน กศน. จึงมีเวลามาเรียนไม่มากนัก การทบทวนบทเรียน และทาการบา้ นตามทผ่ี ู้สอนมอบหมายจงึ ทาไดไ้ มเ่ ตม็ ที่ 5. ครสู อนโดยวิธกี ารบรรยายและใช้เสียงท่ีเบาเกนิ ไป ไมม่ ีสอื่ อ่ืน ๆ ทาให้ผู้เรยี นขาดความสนใจ 6. ครูผู้สอนขาดความสนใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล เนื่องจากมีผู้เรียนจานวนมาก และมีความรู้ พืน้ ฐานต่างกนั ค่มู อื การทาวิจยั อยา่ งง่ายของครู กศน. 20

คาอธิบายถงึ สาเหตตุ ่าง ๆ ของปญั หาเหล่านี้ ไม่จาเปน็ ตอ้ งอธิบายความจริงในแตล่ ะข้อท่ีไดเ้ ขียน ไว้แล้ว แต่ควรเป็นคาอธิบายโดยทวั่ ๆ ไป ซง่ึ เป็นอะไรกไ็ ดท้ ค่ี รูผู้สอนคิดว่าเปน็ สาเหตขุ องปัญหา และเม่ือเขียน ได้แล้ว จึงนามาพิจารณาเปน็ ข้อ ๆ ในภายหลัง ถ้าข้อไหนไม่ตรงประเด็น หรือไม่น่าเป็นสาเหตุของปัญหาก็ตัด ออกไปได้ ซ่ึงวิธีการเช่นน้ี จะทาให้ครูผู้สอนสามารถหาหัวข้อปัญหาที่จะนาไปสู่การทาวิจัยได้ง่ายขึ้นเช่นกัน ท้งั น้ี สว่ นใหญ่ปัญหาแท้ทเ่ี หมาะสาหรับการทาวิจยั อย่างง่าย ควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. เปน็ ปัญหาท่ีสะสมและต่อเนอ่ื งมาอยา่ งยาวนาน 2. เปน็ ปัญหาของผูเ้ รยี นบางคน 3. เป็นปัญหาทางการเรียน หรอื พฤตกิ รรมทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การเรยี น 4. ปญั หานนั้ สามารถอธิบายเชิงพฤตกิ รรมได้ 5. ปัญหานน้ั สามารถหาสาเหตไุ ด้ 6. เปน็ ปญั หาทค่ี รูผสู้ อนสามารถแก้ไขไดเ้ อง วธิ ีการระบปุ ัญหา สามารถทาได้ ดงั น้ี 1. บรรยายสภาพการเรยี นการสอนก่อนพบปัญหา 2. ระบวุ า่ พบปัญหาได้อย่างไร โดยใคร 3. เปน็ ปญั หาของผเู้ รียนกคี่ น จากทง้ั หมด 4. เปน็ ปัญหาเฉพาะวิชาน้ี หรอื ทกุ วชิ า 5. เป็นปญั หาเฉพาะการใชก้ ระบวนการหรือวธิ ีการเรียนการสอนแบบนี้ หรอื ในทกุ กระบวนการ 6. บรรยายลกั ษณะของปัญหา คูม่ อื การทาวิจยั อย่างง่ายของครู กศน. 21

ตัวอย่างท่ี 1 ตวั อย่างท่ี 2 ผู้เรียนในระดับประถมศึกษา ของ กศน. ตาบล ผูเ้ รยี นในระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ของ กศน. นา้ บ่อหลวง ออกเสียง คว ไมไ่ ด้ ตาบลสันกลาง จานวน 3 คน เขา้ มาพบกล่มุ สาย 1) ในวิชาภาษาไทย ระดบั ประถมศึกษา ให้ผู้เรียนอ่าน 1) ในการสอนทุกสัปดาห์ กาหนดให้ผู้เรียนมาตรง คาท่ีควบกล้าด้วย คว พบว่า มีผู้เรียน 3 คน ออกเสียง เวลา คือ 09.00 น. “ควาย” เป็น “ฟาย” “ความ” เป็น “ฟาม” และ 2) ผู้เรียน 3 คน เข้าห้องสาย คอื 10.00 น. ทงั้ 3 คน “เคว้งควา้ ง” เป็น “เฟง้ ฟา้ ง” 3) เปน็ ปญั หาของผเู้ รียน 3 คน จาก 40 คน 2) ครผู ู้สอนสงั เกตการออกเสียงของผเู้ รียน 3 คน เมอื่ 4) เปน็ ปญั หาทุกวชิ า ให้อา่ นเด่ยี ว 5) การเข้าห้องสายทุกครั้ง รบกวนการเรียนการสอน 3) เปน็ ปญั หาผ้เู รยี น 3 คน จาก 40 คน อกี ทง้ั ผเู้ รยี นไม่ได้แสดงอาการรับรู้ 4) เป็นปัญหาในทกุ วิชาทมี่ ีคา “คว” 5) การออกเสียง “คว” ของผู้เรียน 3 คนน้ี ออกเสียง เปน็ “ฟ” ทุกคร้ัง จากการวิเคราะห์หาความจริงเก่ียวกับปัญหา และการอธิบายเกี่ยวกับสาเหตุของปัญหา ครูผู้สอน อาจพบความจรงิ และสาเหตทุ หี่ ลากหลายเก่ียวกบั ปญั หา ซึ่งสาเหตแุ ท้อาจมลี กั ษณะ ดงั น้ี 1. ใน 1 ปัญหามีหลายสาเหตุ 2. เป็นสาเหตุที่สามารถอธบิ ายเชงิ พฤตกิ รรมได้ 3. เป็นสาเหตุของผู้เรยี นบางคน บางเรื่อง 4. เปน็ สาเหตทุ ี่ครผู ู้สอนสามารถแก้ไขไดเ้ อง คู่มือการทาวจิ ยั อยา่ งงา่ ยของครู กศน. 22

จากตัวอย่างของปัญหาท่ีเกิดข้ึน ครูผู้สอนอาจมีการตั้งคาถามในการวิจัยอย่างง่ายไว้ในใจก่อนที่ จะลงมือวิเคราะห์หรือเลือกปญั หาเพื่อทาวิจัยอย่างง่าย รวมถึงการสร้างเคร่ืองมือเก็บข้อมูล เช่น จะทาอย่างไร ใหผ้ ู้เรียนสามารถออกเสียง คว ไดช้ ัดเจนขึ้น หรือจะทาอย่างให้ผู้เรียนมาเรียนเร็วขึ้น มีวธิ ีใดสามารถแก้ปัญหา ผู้เรียนท่ีออกเสียง คว ได้ดีขึ้น หรือมีวิธีใดที่สามารถแก้ปัญหาผู้เรียนมาสาย และจะทาอย่างไรให้ผู้เรียนหรือ สมาชกิ ในบ้านชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนออกเสียง คว ไดช้ ัดขึ้น หรือจะทาอย่างไรให้ผู้เรียนหรือสมาชิกในบา้ นช่วยเหลือ ผูเ้ รยี นไม่ให้มาสาย อย่างน้ี เป็นตน้ หลังจากท่ีครูผู้สอนสามารถวิเคราะห์ปัญหาและหาสาเหตุแท้ได้แล้ว ครูผู้สอนสามารถพิจารณา เลือกเพียง 1 สาเหตุแท้ ท่ีครูผู้สอนคิดว่าจะสามารถแก้ไขด้วยตนเองได้ จากนั้นให้นาสาเหตุแท้น้ัน ๆ ไปสังเคราะห์ด้วยตนเองโดยการศึกษาหรือพิจารณาข้อมูลพ้ืนฐานทั่วไปของผู้เรียน หรือถามผู้เรียนเพื่อให้ได้ ต้นตอแท้ของสาเหตุแท้น้ัน ๆ ท้ังน้ี ปัญหาและสาเหตุที่จะนาไปทาวิจัยอย่างง่ายได้ ครูผู้สอนต้องคานึงถึง ความสนใจของตัวเองอย่างแท้จริง รวมถึงองค์ประกอบด้านอื่น ๆ เช่น ความรู้ความสามารถของครูผู้สอน ระยะเวลา และงบประมาณด้วย หากเห็นว่ามีอุปสรรคหลายประการ ก็ไม่ควรจะเลือกมาเป็นหัวข้อสาหรับ การวจิ ัยอยา่ งงา่ ยเชน่ กัน ตวั อย่างท่ี 1 1) สังเกตการออกเสยี งไมถ่ กู ตอ้ งของผูเ้ รียน ทง้ั 3 คน 2) ซกั ถามผู้เรยี นแตล่ ะคน (ใน 3 คน) ว่าท่บี ้านออกเสียงอยา่ งไร 3) ลองใหอ้ า่ นคาอืน่ ทมี่ ี คว 4) สังเกตปากและกลอ่ งเสียงตลอดจนอวัยวะอื่นของผู้เรียนในขณะออกเสยี ง สรปุ สาเหตุของผเู้ รยี นแต่ละคน คนท่ี 1 ............................................................................................................. .......................................................................................................................... คนท่ี 2 ............................................................................................................ .......................................................................................................................... คนที่ 3 ............................................................................................................ ........................................................................................................................... ตัวอย่างดังกล่าว พบว่า ผู้เรียน 2 คน มีสาเหตมุ าจากที่บ้าน ส่วนคนท่ี 3 สาเหตมุ าจากลิ้นไก่ส้ัน ครูผู้วิจัยควรแก้ไขที่ผู้เรียน 2 คนแรก (เพราะแก้เองได้) ส่วนคนที่ 3 ควรปรกึ ษาผู้ปกครองเพ่ือให้แพทยแ์ กไ้ ขตอ่ ไป คู่มอื การทาวจิ ยั อยา่ งงา่ ยของครู กศน. 23

ตัวอย่างที่ 2 ครูผู้สอนบันทึกเวลาท่ีผู้เรียนท้ัง 3 คนมาเรียน ตลอดระยะเวลารวม 2 สัปดาห์ เมือ่ สน้ิ ชว่ั โมง ไดซ้ กั ถามผูเ้ รียนท้ัง 3 คน ถึงสาเหตุท่ีมาสาย สรปุ ไดว้ ่า คนท่ี 1 บา้ นไกล (ระบสุ ถานท)่ี คนที่ 2 ต่ืนสาย (บ้านไม่ไกล) คนท่ี 3 ตอ้ งช่วยพ่อแม่ทางานบา้ น การสร้างกรอบความคดิ การวจิ ัยอยา่ งงา่ ย (สมมติฐานการวจิ ยั ) การทาวิจัยอย่างง่าย นอกจากจะสามารถกาหนดปัญหาได้แล้ว ครูผู้ทาวิจัยจะต้องสามารถ วิเคราะห์และสังเคราะห์ความคิดหรือปัญหานั้น ๆ มากาหนดเป็นกรอบความคิด หรือต้ังเป็นสมมติฐานในการ วิจัยอยา่ งง่ายได้ดว้ ย ซึง่ การวจิ ยั อยา่ งงา่ ยส่วนใหญ่จะใช้แนวคดิ หรือทฤษฎที ีไ่ มย่ ุ่งยากซับซ้อนมากนัก บันทึกหลังการสอน นับเป็นแหล่งที่มาของปัญหาในการวิจัยอย่างง่าย ที่สาคัญมากแหล่งหน่ึง เนื่องจากครูผู้สอนจะพบเห็นปัญหาขณะปฏิบัติการสอนและบันทึกไว้ทุกคร้ังหลังเสร็จสิ้นการสอน เช่น ครูผู้สอนเห็นว่าผู้เรียนบางคนเรียนรู้ได้ช้า เป็นผลมาจากพื้นฐานการเรียนรู้แตกต่างกัน ครูผู้สอนเห็นได้จาก การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนขณะเรียน สังเกตชิ้นงานหรือการบ้าน (กรต.ของผู้เรียน) ว่ามี ข้อบกพร่องในส่วนใด เช่น การเขียนคาสะกดผิดบ่อย ๆ ของผู้เรียนหลายคนในกลุ่มผู้เรียน ปัญหาการสรุป ความคดิ รวบยอดของเนื้อหาในบทเรียนของผู้เรียน ที่ยังไม่ตรงตามเนื้อหา และจุดประสงค์การเรียนรู้ของสาระ วิชา การเรียนรู้ช้าไม่ทันเพื่อน ผู้เรียนขาดปฏิสัมพันธ์กับครูผู้สอนและเพ่ือนในกลุ่ม ฯลฯ ถ้าครูผู้วิจัยเลือก ปัญหาได้เหมาะสมก็จะเอื้อต่อความสาเร็จของการวิจัยอย่างง่าย ดังนั้น การกาหนดปัญหาและการสร้างกรอบ ความคิดการวิจัย ควรบันทึกไว้ท่ีเดียวกันในบันทึกหลังสอนท่ีครูผู้สอนเพื่อกันลืม ในที่น้ีจะขอยกตัวอย่าง การสร้างกรอบความคิดการวิจัยอยา่ งง่าย จากปญั หาที่ครผู ้สู อนบันทกึ ไว้ในบันทกึ หลังการสอน ดังน้ี คมู่ ือการทาวจิ ัยอย่างงา่ ยของครู กศน. 24

ตัวอยา่ งที่ 1 ครูผู้สอนได้บันทึกหลังการสอนพบว่า ผู้เรียนจานวนหน่ึงมักเขียนคาสะกดผิดบ่อย ๆ ครูผู้สอนได้พบ ปัญหาน้ีจากช้ินงานที่ครูผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนทา เมื่อครูผู้สอนพบปัญหาว่าผู้เรียนมักเขียนสะกดคาผิด ๆ หากจะทาวิจัยในเรื่องนี้ ครูผู้วิจัยควรบันทึกคาถามการวิจัยต่อจากท่ีบันทึกหลังสอนว่า “ทาอย่างไรผู้เรียน จึงเขยี นคาสะกดได้ถูกต้อง” “มวี ิธีการสอนให้ผู้เรียนเขียนการสะกดคาอย่างไร” จากน้ัน ครูผู้วจิ ัยนาคาถาม การวิจัยมาสร้างกรอบความคิด (สมมติฐานการวิจัย) โดยบันทึกต่อจากคาถามการวิจัยว่า การแก้ ปัญหา การเขียนสะกดคาผิดของผู้เรียนต้องแก้ด้วยการสอนเสริม และการสอนเสริมน้ัน ควรมีวิธีการอย่างไร มีหลักการสอน (ทฤษฎีการสอน) อะไรบ้างเข้ามาเก่ียวข้อง จากปัญหานี้ ผู้เรียนมีความเหมาะสมกับวิธีการ สอนแบบใด เช่น การสอนแบบอภิปราย การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบตวิ เตอร์ การสอนแบบปฏิบัติการ เป็นต้น ครูผู้วิจัยต้องศึกษารูปแบบการสอนแบบต่าง ๆ และเลือกรูปแบบการสอนที่เหมาะสมกับปัญหา ของผู้เรียน จากนน้ั จึงกาหนดนวัตกรรม (สอ่ื การสอน) ท่ีจะนามาใชใ้ นการบรรจุคาต่าง ๆ ที่ผู้เรียนมักเขียนและ สะกดผิดแล้วย้อนกลับไปศึกษาหลักการสอนภาษาไทย ว่าการสอนภาษาไทยมีวิธีการสอนอย่างไร (การนา วธิ ีการสอนของเด็ก ป.1 มาสอนผู้ใหญ่กไ็ มผ่ ดิ หากการสอนน้นั เกิดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผเู้ รียนดขี ้ึน) จากตัวอย่างท่ี 1 ครูผู้วิจัยได้เรียนรู้การกาหนดปัญหา และการสร้างกรอบความคิดการวิจัย อย่างงา่ ยตามกระบวนการ ดังนี้ 1. การกาหนดปัญหาการวจิ ยั ปญั หาผู้เรยี นมกั จะเขียนคาและสะกดคาผิด 2. สรา้ งกรอบความคิดการวจิ ยั (สมมตฐิ านการวจิ ัย) โดยใช้แนวคดิ /ทฤษฎี ดังน้ี 2.1 แนวคดิ เกย่ี วกบั การสอนเสริมแบบปฏิบตั กิ าร 2.2 ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบต่อเน่ืองของธอร์นไดค์ 2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการสรา้ งแบบเรยี นหรอื แบบฝึกหัดเสริมทักษะ คมู่ อื การทาวจิ ัยอย่างง่ายของครู กศน. 25

การสร้างกรอบความคิดการวิจัย (สมมติฐานการวจิ ัย) เป็นการรวบรวมแนวคิดและทฤษฎีท่ีจะใช้ ในการวิจัยของครูผู้วจิ ัยโดยไม่รู้ตวั การเขียนกรอบความคิดการวิจัยโดยนาข้อ 2.1, 2.2 และ 2.3 มาเรียงร้อย ถอ้ ยคาให้เป็นเร่ืองราวในการวจิ ัยได้ ดังน้ี ตวั อยา่ งการเขยี นกรอบความคิดการวิจัย ปัญหาผเู้ รยี นเขียนสะกดคาผิด กรอบความคดิ การวิจยั จากปัญหาของผู้เรียนท่ีมักจะเขียนสะกดคาผิด (ยกตัวอย่างคาท่ีเขียน สะกดผิดพอสังเขป) ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดและทฤษฎี เพื่อนามาเป็นแนวทางในการ แก้ปัญหาการเขียนสะกดคาของผู้เรียน โดยใช้การสอนเสริม และใช้แบบฝึกหัด เสริมทักษะการเรียนภาษาไทยท่ีผู้เรียนทากิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้การแนะนา ช่วยเหลือจากครูผู้วิจัยอย่างใกล้ชิด โดยการทดลองปฏิบัติฝึกการใช้ทฤษฎี ผ่านการสังเกต การฝึกปฏิบัติภายใต้สภาพการควบคุมที่วางไว้ ใช้กฎแห่งการ ฝึกหัดของธอร์นไดค์ ท่ีกระทาบ่อย ๆ ด้วยความเข้าใจ จะทาให้การเรียนรู้น้ัน คงทนถาวร ถ้าไม่กระทาซ้าบ่อย ๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวรและในที่สุด อาจลืมได้ กฎแห่งการฝึกหัดถูกใช้เป็นพันธะ หรือตัวเชื่อมสิ่งเร้า คือ แบบฝึกหัด เสริมทักษะและครูผู้วิจัยจะตอบสนองที่เข้มแข็งขึ้นเม่ือได้ทาบ่อย ๆ ครูผู้วิจัย ได้สร้างแบบฝึกหัดเสริมทักษะการเขียนสะกดคาภาษาไทย ประกอบกับ การควบคุมกระบวนการจัดการเรียนการสอน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน สามารถเขียนสะกดคาไดถ้ กู ตอ้ ง คมู่ อื การทาวจิ ัยอย่างง่ายของครู กศน. 26

ตวั อย่างท่ี 2 ครผู ู้สอนได้บนั ทึกหลังสอนพบว่า ผู้เรียนไมส่ ามารถสรปุ ความคิดรวบยอดของบทเรียน ให้ตรงกับเน้ือหา และจุดประสงค์ของการเรียนรู้รายวิชา ครูผู้สอนได้พบปัญหานี้จากการต้ังประเด็นคาถาม เพื่อทบทวนความรู้ ให้ผู้เรียนตอบทุกครั้ง ก่อนสิ้นสุดการสอน แต่ผู้เรียนไม่สามารถสรุปความคิด เร่ืองราวท่ีเรียนผ่านมาได้ อันดับ แรกครูผวู้ ิจยั ตอ้ งตั้งคาถามในวจิ ัยว่า “เหตุใดผู้เรียนจึงไม่สามารถสรุปประเด็นการเรียนรู้ได้” “การสอนที่ทา ให้ผู้เรียนสามารถสรุปประเด็นเน้ือหาการเรียนรู้ควรเป็นอย่างไร” โดยบันทึกปัญหาท่ีผู้เรียนไม่สามารถสรุป ประเดน็ การเรียนรู้ในบทเรยี นลงในบนั ทกึ หลังสอน จากน้นั จงึ สร้างกรอบความคิด (สมมติฐานการวจิ ัย) เพื่อใช้ ในการวจิ ยั อยา่ งงา่ ย โดยบันทึกลงในแบบบนั ทึกหลังสอนท่เี ดยี วกันเพือ่ กันลืมว่า การแกป้ ญั หาการสรุปประเดน็ การเรียนรู้ของผู้เรียนต้องแก้ด้วยการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมน้ัน ควรมีวิธีการอย่างไร มีหลัก การสอน (ทฤษฎกี ารสอน) อะไรบ้างเขา้ มาเกยี่ วข้อง จากปัญหานี้ผู้เรียนมีความเหมาะสมกับวิธกี ารสอนแบบใด เช่น การสอนแบบอภิปราย การสอนแบบบรรยาย การสอนแบบติวเตอร์ การสอนแบบปฏิบัติการ การสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นต้น ครูผู้วิจัยต้องศึกษารูปแบบการสอนแบบต่าง ๆ และเลือกรูปแบบการสอน ทเ่ี หมาะสมกับปญั หาของผเู้ รยี น จากนั้นจึงกาหนดนวัตกรรม (กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม/กระบวนการ เรียนรู้แบบอภิปราย) ควรมีก่ีขั้นตอน กาหนดส่ือการสอน (ถ้ามี) ที่จะนามาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ หากครูผู้วิจัยเลือกวิธีการสอนแบบอภิปราย ครูผู้วิจัยต้องย้อนกลับไปศึกษาการสอนแบบอภิปรายว่า มีข้ันตอนการสอนอย่างไร มีก่ีขั้นตอน มีการกาหนดประเด็นคาถามเพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น อย่างไร ที่สามารถทาใหผ้ ูเ้ รียนสรปุ ประเดน็ เนอ้ื หาการเรยี นได้ครบถ้วน จากตัวอย่างท่ี 2 ครูผู้วิจัยได้เรียนรู้การกาหนดปัญหาและการสร้างกรอบความคิดการวิจัย อย่างงา่ ยตามกระบวนการ ดงั น้ี 1. การกาหนดปัญหาการวิจยั ผู้เรยี นไมส่ ามารถสรปุ ความคดิ รวบยอดของบทเรยี นให้ตรงกับเน้ือหาและจดุ ประสงคข์ องการเรยี นรรู้ ายวชิ า 2. การสร้างกรอบความคดิ (สมมตฐิ านการวจิ ัย) โดยใช้แนวคิด/ทฤษฎี ดังน้ี 2.1 แนวคดิ เกยี่ วกับการเรยี นรูแ้ บบมสี ่วนร่วม 2.2 แนวคดิ เกย่ี วกบั การสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั 2.3 การสอนแบบอภิปราย ค่มู ือการทาวิจัยอยา่ งงา่ ยของครู กศน. 27

การสรา้ งกรอบแนวคดิ (สมมุตฐิ านการวิจยั ) เป็นการรวบรวมแนวคิดและทฤษฎที ่จี ะใช้ในการวิจยั ของครูโดยไม่รู้ตวั การเขียนกรอบความคิดในการวิจัยโดยนาข้อ 2.1, 2.2 และ 2.3 มาเรียงร้อยถ้อยคาให้เป็น เร่อื งราวในการวิจยั ได้ ดงั นี้ ตวั อยา่ งการเขยี นกรอบความคดิ การวิจยั ปญั หาผู้เรยี นไมส่ ามารถสรุปความคิดรวบยอด ของเนอื้ หาการเรยี นได้ กรอบความคิดการวจิ ัย จากปัญหาที่ผู้เรียนไม่สามารถสรุปความคิดรวบยอดของเนื้อหาการเขียนรายวิชา ได้ ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดและทฤษฎี เพื่อนามาเป็นแนวทางการแก้ปัญหาให้กับ ผู้เรียนโดยการใช้แนวคิดให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ใช้ รูปแบบการสอนแบบอภิปราย ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นในประเด็น ที่ครูต้ังข้ึนตามเนื้อหาท่ีเรียนเป็นการปฏิสัมพันธ์ 2 ทาง ระหว่างครูผู้สอนกับ ผู้เรียนและผู้เรียนกับผู้เรียน การอภิปรายแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระ ตามความเข้าใจของผู้เรียน การจัดกระบวนการแบบนี้ เน้นให้ผู้เรียน เป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ สร้างความสัมพันธ์กันในห้องเรียน ก่อให้เกิด การช่วยเหลือการเรียนระหว่างผู้เรียนด้วยกัน สามารถสร้างข้อสรุปความคิด รวบยอดของเนื้อหาการเรียนให้ผู้เรียนได้ และเข้าใจโครงสร้างของเนื้อหา การเรียนรู้ในแตล่ ะวิชาได้ คู่มือการทาวิจยั อย่างงา่ ยของครู กศน. 28

เร่อื งที่ 2 การตง้ั ชอื่ เรอื่ ง การเขียนวัตถปุ ระสงค์ การกาหนดขอบเขตและการสรา้ ง เคร่อื งมอื วิจยั การต้ังชื่อเรอ่ื ง ช่ือเร่ืองที่จะวิจัยต้องตรงกับปัญหาที่ศึกษา มีความเฉพาะเจาะจง ใช้ภาษาท่ีกะทัดรัด มีความ ชดั เจน จากตัวอย่างที่ 1 หนา้ 25 นามาตั้งเป็นชื่อเรือ่ ง ไดด้ ังน้ี “ ”การศึกษาการพฒั นาทกั ษะการเขียนคาสะกดของผู้เรยี น ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น โดยใช้แบบฝกึ หดั เสริมทกั ษะ “ ”การศึกษาการใช้แบบฝึกหดั เสริมทกั ษะการเขียนคาสะกดโดยใชร้ ปู แบบการเรียนรู้แบบต่อเนื่องของธอร์นไดค์ “ ”การแกป้ ัญหานักศกึ ษาขาดทกั ษะการเขยี นทถี่ กู ต้อง จากตัวอย่างที่ 2 หนา้ 27 นามาตงั้ เป็นชอ่ื เร่อื ง ไดด้ ังน้ี “ ”การศกึ ษาการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบอภิปรายในการสร้างความคิดรวบยอดรายวชิ าของผ้เู รยี น “ ”การศึกษาการสรา้ งความคิดรวบยอดรายวชิ าโดยใชก้ ระบวนการมีสว่ นรว่ มของผเู้ รียน “ผลการใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบอภิปรายทม่ี ีต่อความสามารถในการสรุปความคดิ รวบยอด ”รายวิชาของนักศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ค่มู อื การทาวจิ ยั อยา่ งง่ายของครู กศน. 29

การเขียนวตั ถปุ ระสงค์หรือจุดมุ่งหมายของการวิจัย วัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายของการวิจัย เป็นส่วนที่ชี้ให้ทราบว่าผู้วิจัยต้องการศึกษาอะไร อาจเขยี นโดยไม่แยกเป็นรายขอ้ หรอื แยกเป็นรายข้อก็ได้ เช่น จากตัวอยา่ งท่ี 1 หน้า 25 เขียนวตั ถุประสงค์ ได้ดงั น้ี “ ”เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเขยี นคาสะกด ของนักศกึ ษามัธยมศกึ ษาตอนต้น “ ”เพอื่ ศกึ ษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของผู้เรยี นโดยใชแ้ บบฝึกหดั เสริมทกั ษะ จากตวั อยา่ งที่ 2 หนา้ 27 เขยี นวตั ถปุ ระสงค์ ได้ดงั น้ี “ ”เพ่ือศกึ ษาการใชร้ ปู แบบการสอนแบบอภิปรายทสี่ ่งผลต่อการสร้างขอ้ สรุปความคดิ รวบยอดบทเรียนรายวิชา การศึกษาวิจัย ตอ้ งศึกษาให้ครบตามวัตถปุ ระสงคห์ รือจดุ มุ่งหมายของการวิจัยที่ผู้วจิ ัยกาหนด เช่น ผู้วิจัยกาหนดวัตถุประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายท่ีทาการศึกษาไว้ 2, 3, หรือ 4 ข้อ ผู้วิจัยต้องศึกษาให้ครบถ้วนทุกข้อ (การวิจยั อย่างง่ายควรศึกษาเพยี งขอ้ เดยี ว) การกาหนดขอบเขตของการวิจัย การวจิ ัยทุกเรอื่ งจะมขี อบเขตของการศึกษา การระบุขอบเขตของการวจิ ัยจะช่วยให้เข้าใจงานวิจัย นั้นชัดเจนข้ึน การระบุขอบเขตของการวิจัยมักพิจารณาในดา้ นประชากร กลุ่มตัวอย่าง ตวั แปรหรือประเดน็ ที่ ศึกษา แต่ในกรณีการทาวิจัยอยา่ งง่าย ไม่จาเปน็ ตอ้ งระบุประชากร กลุ่มตวั อย่าง กลุ่มทดลอง หรือกลุ่มควบคุม ไม่มีการสุ่มตัวอย่าง หรือกาหนดตัวแปร เน่ืองจากกลุ่มประชากรหรือกลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มผู้เรียนท่ีมีปัญหา รายคนหรอื ท้ังกลุ่ม 1. ขอบเขตการวิจัย ตามปกติแล้ว จะหมายถึง พื้นที่ท่ีจะดาเนินการวิจัย ซ่ึงก็คือ พื้นท่ีในหรือนอกห้องเรียน ตามแหล่งข้อมูล ในกรณีที่ต้องมีการสังเกตหรือสัมภาษณ์ผู้ปกครอง พ้นื ท่ีการวิจัย อาจต้องขยายไปท่ีบา้ นหรือ ชุมชน ส่งิ แวดล้อมของผเู้ รยี นดว้ ย โดยมีวตั ถุประสงค์หลัก คอื เพ่ือแกป้ ญั หาและพฒั นาผเู้ รยี น 2. กลุ่มเปา้ หมาย (ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง) 1) ในการวิจัยแบบเป็นทางการ ประชากร หมายถึง กลุ่มเป้าหมายกลุ่มหน่ึง หรือหลายกลุ่ม ท่จี ะเป็นแหลง่ ขอ้ มลู ที่ครผู ู้วจิ ัยตอ้ งนามาศกึ ษา เพือ่ ใหไ้ ดค้ าตอบท่ีตอบปัญหาของการวิจัยได้ ดงั นั้น ในการวิจัย คู่มอื การทาวจิ ัยอยา่ งงา่ ยของครู กศน. 30

อย่างง่าย ประชากร ก็จะหมายถึง กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาหรือมีความผิดปกติท้ังหมด ที่ครูผู้วิจัยต้องการศึกษา น่ันเอง เช่น จานวนนักศึกษาท่ีตอ้ งลงเรียนวชิ าภาษาอังกฤษ ท้ังหมด 40 คน หรือนักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียน ในภาคเรยี นท่ี 2/2558 ของ กศน. ตาบลหนึ่ง จานวน 60 คน 2) กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ตัวแทนซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของประชากร ที่ครูผู้วิจัยเลือกมา การกาหนดประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง เพ่ือเป็นหน่วยวิเคราะห์ที่ดีน้ัน จะต้องดาเนินการให้ถูกต้องตามหลัก ของสถติ ิ เพ่ือให้ไดก้ ลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นตวั แทนของประชากรอย่างแท้จริง และมีจานวนเพียงพอท่ีจะเป็นตวั แทน ของประชากรในการทาวิจัยได้ แต่การทาวิจัยอย่างง่าย ไม่จาเป็นต้องระบุกลุ่มตัวอย่าง เน่ืองจากใช้จานวน ประชากรกลุ่มเปา้ หมายที่มีปัญหาเต็มจานวนในการวิจัย เช่น ผู้เรียนที่เขียนคาสะกดผิด จานวน 20 คน หรือ หากประชากรทัง้ หมด ทม่ี ปี ัญหาเหมือนกันจะใชเ้ ปน็ กลุม่ ตวั อย่างทั้งหมดกไ็ ด้ เน่ืองจากเป็นกลุ่มไมใ่ หญ่มากนกั 3. ตัวแปรท่ีศึกษา ตามปกติการทาวิจัยอย่างง่าย ไม่จาเป็นต้องมีตัวแปร ท้ังตัวแปรต้นหรือ ตวั แปรหลัก และตัวแปรอิสระหรือตวั แปรตาม ซึ่งตัวแปรทัง้ สองประเภทน้ี จาเปน็ ตอ่ การวิจัยแบบเป็นทางการ การได้ตัวแปร จะได้มาจากการวิเคราะห์ปัญหาของการวิจัย ซ่ึงแปรต้นจะนาไปสู่แหล่งข้อมูล และตัวแปรตาม จะนาไปสู่การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้ หรือหากเป็นการวิจัยอย่างง่าย ท่ีต้องการเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพของส่ิงใดสิ่งหน่ึง ให้มีค่าความเชอ่ื มั่นสูง เช่น ประสิทธภิ าพของส่ือการสอน แบบฝึก วิธีการเรียน การสอน อาจต้องมีความจาเป็นในการกาหนดกลุ่มประชากร ท่ีเป็นกลุ่มทดลอง รวมถึงการกาหนดตัวแปรที่มี การควบคมุ ดว้ ย ทงั้ นี้ ไดก้ ลา่ วไว้ในตอนต้นแล้ว ตามปกติแล้ว ในข้ันตอนของการลงมือทาวิจัย เป็นขั้นตอนการปฏิบัติให้ได้วิธีวิจัย ได้แก่ ตัวแปร และขอบเขตของการวิจัยอย่างง่าย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง รวมไปถึงเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยอย่างง่าย ท่ีอาจหมายถึง เคร่ืองมือการเก็บข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ รวมไปถึงนวัตกรรมต่าง ๆ ที่อยู่ใน รูปแบบของกิจกรรมการเรียนรู้ วิธกี ารเรียนการสอน แบบฝึก หรือส่ือต่าง ๆ เปน็ ต้น ซ่ึงบางอย่างก็ไม่จาเป็นต้อง กาหนดข้ึนมาเพื่อการวจิ ัยอยา่ งง่าย การสร้างเครอ่ื งมอื วิจัย ในการดาเนินงานวิจัย เครื่องมือการวิจัย เป็นส่ิงสาคัญในการเก็บ รวบรวมข้อมูล สง่ิ ทีต่ ้องการศึกษา เพราะในการวิจัยมีความจาเปน็ ต้องมีการ รวบรวมข้อมูล เพื่อนามาวิเคราะห์ หาคาตอบตามวตั ถุประสงค์ของการวิจัย ซ่งึ เครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั มหี ลายประเภท แต่ไม่ว่าจะเปน็ เครื่องมอื การวจิ ยั แบบใด ล้วนมจี ดุ มุ่งหมายเดียวกนั คอื ต้องการได้ข้อมลู ทต่ี รงตามขอ้ เทจ็ จรงิ เพ่ือทาให้ผลงานวิจัยเชื่อถือได้ และเกิดประโยชน์มากท่ีสุด โดยทั่วไปแล้ว เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัยอย่างงา่ ย จาแนกออกเป็นเครื่องมือสาหรับการวจิ ัย อย่างง่ายและเคร่ืองมอื เกบ็ รวบรวมข้อมลู ดังน้ี ค่มู อื การทาวจิ ัยอยา่ งง่ายของครู กศน. 31

1. เคร่ืองมือวิจัยอย่างง่าย เป็นอุปกรณ์หรือสิ่งที่นาไปใช้ในการดาเนินการ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ พัฒนาผู้เรียน ซึ่งต้องมีวิธีการสร้างหรือจัดทาอย่างถูกต้อง และต้องหาประสิทธิภาพของเคร่ืองมือ โดยท่ัวไป แล้วตวั ผูว้ ิจยั หรอื ครผู ู้วิจัยจะตอ้ งเป็นผอู้ อกแบบและพฒั นาเคร่ืองมอื นีข้ ึ้นมาเอง นวตั กรรม ถือเปน็ ส่วนหน่ึงของเคร่ืองมือวิจัย โดยเฉพาะการทาวิจัยอย่างงา่ ย ท่ีมีวตั ถุประสงค์ เพอื่ การพฒั นาการจดั การเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซ่ึงโดยท่ัวไป หมายถึงกระบวนการ หรือ วิธีการใหม่ ๆ เพลง เกม รวมไปถึงเทคนิคการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน การทาเวทีชาวบ้าน ส่ือ แบบฝึก ใบงาน อุปกรณ์การเรียนการสอนต่าง ๆ หรือแม้กระทั่งแบบทดสอบท่ีเป็นชุดของคาถามหรืองาน ปฏิบัติชุดใด ๆ ท่ีสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นส่ิงเร้าหรือชักนาให้กลุ่มตวั อย่างตอบสนองออกมา ท้ังนี้ เพ่ือการแก้ปัญหา ให้กับผเู้ รียน 2. เครื่องมือเก็บข้อมูล เป็นเครื่องมือใช้รวบรวมข้อมูล ท่ีผู้วิจัยต้องใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ ท้ังการดู การฟัง หรือประสาทสัมผัสอ่ืน ๆ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งเป็นผลจากการใช้เคร่ืองมือวิจัย หรือ การได้ขอ้ มูลจากตัวแปรต้น เครือ่ งมือเก็บข้อมูลสามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ทีน่ ยิ มใชก้ นั มาก ดงั นี้ 1) แบบทดสอบ (Test) มักเรียกกันว่า “ข้อสอบ” เป็นเคร่ืองมือใช้วัดพฤติกรรมประเภท ความรู้ หรือการวัดผลท่ีระบุผลท่ีวัดถูกหรือผิด ใช่หรือไม่ใช่ สามารถให้เป็นคะแนนได้ เช่น แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิ แบบทดสอบวัดความถนัด วัดบุคลิกภาพ ข้อสอบแบบอัตนัย ข้อสอบแบบปรนัย แบบเลือกตอบ ซึ่งการจะเลือกใช้แบบทดสอบแบบใด ตอ้ งเลอื กใหเ้ หมาะสมกับลักษณะของการวดั ข้อมูลน้ัน 2) แบบสอบถาม (Questionnaires) เป็นเครื่องมือการวิจัยท่ีนิยมนามาใช้รวบรวมข้อมูล งานวิจัยเชิงปริมาณ มีลักษณะคล้ายแบบทดสอบ แต่มีคาตอบไม่แน่นอนว่า ข้อใดตอบอย่างไรจึงจะดี เป็นการ ถามข้อเท็จจริง เช่น เพศอะไร อายุเท่าไหร่ จบการศึกษาระดับใด เป็นต้น นอกจากน้ี ยังมีคาถามประเภท ความรู้สึก การประเมินสภาพ การประเมินการปฏิบัติ โดยทั่วไปจะวัดโดยการประมาณค่า หรือให้คะแนน เปน็ ระดับ ซึ่งมีสองแบบใหญ่ ๆ คอื แบบสอบถามปลายปิด และแบบสอบถามปลายเปดิ การสรา้ งแบบสอบถามทด่ี ี ควรมขี ้นั ตอน ดงั น้ี - ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเร่ืองที่จะวิจัย และประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา แล้ว ยกร่างแบบสอบถาม - นาไปใหผ้ มู้ ีความรู้ชว่ ยตรวจสอบ และใหข้ ้อเสนอแนะ - ปรับปรงุ แก้ไขตามข้อเสนอแนะ - นาไปทดลองใช้ก่อนเพือ่ ความเชื่อมั่นว่ากลุ่มตัวอย่าง (กลุ่มเล็ก ๆ ไม่ต้องทุกคน) เข้าใจ คาถามและวธิ ีการตอบคาถาม แลว้ นาผลการทดลองมาปรับปรงุ แก้ไขอกี คร้ังหนง่ึ กอ่ นนาไปใชจ้ รงิ - นาไปเก็บรวบรวมข้อมลู กับกลมุ่ ตัวอย่างทงั้ หมด 3) การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นเครื่องมือการวจิ ัยท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลงานวิจัย ทุกประเภท ทุกสาขา แต่ที่นิยมคือ ใช้กับการวิจัยเชิงคุณภาพ ซ่ึงเป็นวิธีการเก็บข้อมูลท่ีผู้เก็บข้อมูลออกไป ค่มู ือการทาวจิ ัยอยา่ งงา่ ยของครู กศน. 32

สอบถามด้วยตัวเอง โดยใช้คาพูดเป็นตวั กลางในการสื่อสาร ในการสัมภาษณ์ผู้สอบถามจะต้องเตรียมคาถามไว้ ล่วงหน้ากอ่ นไปสมั ภาษณ์ นอกจากนี้ แบบสมั ภาษณ์จะมลี ักษณะอื่น ๆ อกี ดังนี้ - การสัมภาษณ์ เป็นการรวบรวมข้อมูลในลักษณะเผชญิ หน้ากันระหว่างผู้สัมภาษณ์ และ ผู้ถูกสัมภาษณ์ โดยผ้สู ัมภาษณ์เปน็ ผู้ซกั ถาม และผู้ถูกสมั ภาษณ์เป็นผูใ้ ห้ข้อมลู หรือตอบคาถามของผู้สัมภาษณ์ - แบบสัมภาษณ์มีทั้งแบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง คือ ผู้สัมภาษณ์ใช้คาถาม ปลายเปิด เป็นคาถามกว้าง ๆ ปรับเปล่ียนได้ ให้ผู้ถูกสัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ และแบบ สมั ภาษณแ์ บบมโี ครงสรา้ ง ที่ผสู้ ัมภาษณ์กาหนดประเดน็ คาถาม หรือรายการคาถามเรียงลาดับไวแ้ ล้ว ก่อนที่จะ สัมภาษณ์ ตวั อย่างการสมั ภาษณแ์ บบไม่มโี ครงสรา้ ง เช่น ครูผู้วิจัยสัมภาษณ์ผู้เรียนเกี่ยวกับปัญหาในการ เรยี นการสอน ครูผู้วจิ ยั จะต้ังคาถามอยา่ งไรก็ได้ เพ่อื ให้ผู้เรียนแสดงความคดิ เห็นตอ่ เรอ่ื งทีค่ รูผวู้ ิจยั อยากรู้ 4) การสังเกต (Observation) แบบสังเกตเป็นเคร่ืองมือการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่ใช้ไดก้ ับ งานวจิ ัยทุกประเภท โดยเฉพาะงานวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ งานวจิ ยั เชงิ ทดลอง เปน็ การเก็บขอ้ มูลโดยผู้เก็บข้อมูลเฝ้าดู พฤติกรรมหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น โดยผู้สังเกตอาจอยู่ร่วมในเหตุการณ์ด้วย หรืออาจไม่มีส่วนร่วมก็ได้ แบบสังเกตแบ่งเป็น แบบสังเกตท่ีมีโครงร่างการสังเกต เป็นแบบท่ีกาหนดไว้ล่วงหน้าแล้วว่า จะสังเกตอะไร สงั เกตอย่างไร เมอ่ื ใดและจะบันทึกผลการสงั เกตอยา่ งไร กับแบบสังเกตท่ีไม่มีโครงร่างการสังเกต ซ่ึงเป็นแบบที่ ไม่ได้กาหนดเหตุการณ์ พฤติกรรม หรือสถานการณ์ที่จะสังเกตไว้ชัดเจน เป็นการสังเกตไปเร่ือย ๆ พบอะไร ก็บนั ทึกไว้ ซึ่งแบบสังเกตแบบนี้จะได้ข้อมูลท่ีละเอยี ดมากกว่า แต่ผู้สังเกตต้องมีประสบการณ์สูง อาจส้ินเปลือง ค่าใชจ้ ่าย และใชเ้ วลานาน นอกจากน้ี ยังมีเคร่ืองมือการเก็บข้อมูลอีกหลายแบบ เช่น บันทึกภาคสนาม ที่ใช้สาหรับ การบนั ทึกชว่ ยจาชวั่ คราวที่ผู้วจิ ัยใช้บันทึกการทางาน เชน่ บันทึกขอ้ มลู การทาเวทีชาวบา้ น บันทึกการสัมภาษณ์ เป็นต้น การเลือกใช้เครื่องมือแบบใดก็ตาม พิจารณาจากลักษณะของข้อมูลที่ต้องการนามาวิเคราะห์ เพื่อใช้ ตอบคาถามการวิจยั ไดด้ ีที่สุด คู่มอื การทาวจิ ัยอย่างง่ายของครู กศน. 33

เรอ่ื งที่ 3 การลงมือปฏบิ ัตงิ านวจิ ยั อยา่ งง่ายและการเก็บขอ้ มูล การลงมอื ปฏิบตั งิ านวจิ ยั อย่างง่าย ขั้นตอนการปฏิบัติงานวิจัย หรือเรียกให้เข้าใจได้ง่าย ๆ ว่า ข้ันตอนการลงมือวิจัย หรือการลงมือ ทาจริง เป็นขัน้ ตอนทไี่ มย่ ุง่ ยากและซบั ซ้อนมากนกั เนื่องจากทุกอย่างไดเ้ ตรียมไว้เรียบร้อยแล้ว ในกระบวนการ เร่อื งท่ี 2 กอ่ นหน้าน้ี และเน่อื งจากการวิจยั อยา่ งงา่ ย มเี ป้าหมายสาคัญอยทู่ ี่การพฒั นางานดา้ นการจัดการเรียน การสอนของครูผู้สอน ดังน้ัน ลักษณะของการวิจัยจึงเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการหรือการวิจัยเชิงทดลอง คือ การวิจัยควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานจริง หรือการทดลองในระหว่างการสอนจริง โดยมีครูผู้สอนเป็นท้ังผู้ผลิต งานวิจัยและบริโภคงานวิจัย หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ในวงจรของการวิจัย คือ ครูผู้สอนเป็นนักวิจัยในชั้นเรียน ครูผู้วิจัยจะตั้งคาถามท่ีมีความหมายในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน แล้วจะวางแผนการปฏิบัติงานวิจัย หลังจากน้ัน ครูผู้วิจัยจะดาเนินการจัดการเรียนการสอนไปพร้อม ๆ กับการจัดเก็บข้อมูลตามระบบข้อมูลท่ีได้ วางแผนการวิจัยไว้ หลังจากน้ัน นาข้อมูลที่ได้จากการวิจัยมาวิเคราะห์สรุปผล นาผลที่ได้ไปใช้ในการพัฒนา การจดั การเรยี นการสอนให้มีคณุ ภาพย่ิง ๆ ขน้ึ ต่อไป โดยปกติ การทาวิจัยแบบเป็นทางการเต็มรูปแบบ (Formal Research) ไม่ว่าจะเป็นการวิจัย ทางการศึกษา การวจิ ัยเชิงวิชาการ หรือการวิจัยประเภทใดก็ตาม จะต้องมีการวางแผนวิจัยพร้อมท้ังทาปฏิทิน ปฏิบัติงาน ซ่ึงจะต้องระบุวิธีการเก็บข้อมูล กิจกรรม เครื่องมือวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง รวมถึง การกาหนดหรือควบคมุ ตัวแปรต่าง ๆ ไวอ้ ยา่ งครอบคลุมแลว้ สถาบนั พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ภาคเหนือ (2552 : 26) ได้สรปุ ขน้ั ตอนการทาวิจยั อยา่ งงา่ ยได้ 2 ระยะใหญ่ ๆ คอื 1. ข้ันตอนการคิด ซึง่ ประกอบไปดว้ ย - คดิ วัตถปุ ระสงค์ท่ตี ้องการ - เลอื กวธิ ีวิเคราะหท์ ี่เหมาะสมมาใชห้ าคาตอบตามวัตถปุ ระสงค์ที่ต้องการ - ข้อมลู ที่จาเปน็ ตอ้ งนามาใชว้ เิ คราะหต์ ามวิธีท่ีเลอื กไว้ 2. ขัน้ ตอนการลงมอื ทาจริง ประกอบไปด้วย - เก็บรวบรวมขอ้ มูลที่จาเป็นต้องนามาใช้ในการวเิ คราะห์ - นาขอ้ มลู ที่เกบ็ รวบรวมได้มาวเิ คราะห์ดว้ ยวธิ วี ิเคราะห์ท่เี ลอื กไว้ - คาตอบตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่ต้องการ คมู่ ือการทาวจิ ยั อย่างงา่ ยของครู กศน. 34

ในบางตารา นักวิจัยหลายท่าน ได้เรียกข้ันตอนการทาวิจัยอย่างง่ายแบบน้ีว่า ข้ันเตรียมกับ ข้ันดาเนินการ ซ่ึงในการปฏิบัติงานวิจัยอย่างง่ายน้ี ได้กาหนดกรอบของการวิจัยไว้ชัดเจนแล้วว่า เป็นเร่ืองของ ครูผู้สอน คือ กระบวนการจัดการเรียนการสอน และผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนเท่าน้ัน ซ่ึงสามารถแสดงได้ตาม แผนผังความสมั พนั ธ์ ดงั นี้ ครผู สู้ อน รปู แบบ/วิธกี ารจดั การ ผูเ้ รยี น ผลสัมฤทธิ์ เรยี นการสอน จากกรอบความสมั พนั ธ์ของการทาวจิ ยั อย่างง่ายเพอื่ แกป้ ัญหาและพัฒนาผู้เรียนน้ี สามารถอธิบาย ขั้นตอนของการทาวิจัยไดก้ วา้ ง ๆ ดังนี้ 1. ขน้ั เตรียม ครูผู้สอนกาหนดจุดมุ่งหมายของการฝึกปฏิบตั ิ รายละเอียดของขั้นตอนการทางาน เตรียมส่ือตา่ ง ๆ เชน่ วัสดุอุปกรณ์ เครอื่ งมอื ใบงานหรือคูม่ อื การปฏิบัตงิ าน 2. ขั้นดาเนินการ ครูผู้สอนให้ความรู้และทักษะที่เป็นพื้นฐานในการปฏิบัติ มอบหมายงานท่ี ปฏบิ ตั ิเป็นกลุม่ หรอื รายบคุ คล กาหนดหัวขอ้ การรายงาน หรือการบันทึกผลการปฏิบัตงิ านของผูเ้ รยี น การเก็บข้อมูล การเก็บข้อมูล เริ่มจากครูผู้วิจัยย้อนไปศึกษาปฏิทินการปฏิบัติงาน ท่ีเขียนระบุไว้ในโครงร่าง การวิจัยหรือแผนการวจิ ัย แล้ววิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ระหว่างขั้นตอนการดาเนินการวิจัย ระยะเวลา เคร่ืองมือ และแหล่งข้อมูล หมายความว่า หลังจากท่ีครูผู้วิจัยมีกลุ่มเป้าหมาย หรือประชากรที่ต้องการวิจัยแล้ว มีการ เตรียมเคร่ืองมือที่มีความน่าเชื่อถือ และคาดว่าจะสามารถเก็บข้อมูลเพ่ือนามาใช้ในการแก้ปัญหาได้ ครูผู้วิจัย ก็สามารถลงมือวิจัย หรือเก็บข้อมูลได้ทันที ซ่ึงวิธีการเก็บข้อมูลจะเป็นอย่างไร ก็ขึ้นอยู่กับเครื่องมือเก็บข้อมูล ท่ีครูผู้วิจัยสร้างข้ึนมา แต่ทั้งนี้ อาจต้องมีการกาหนดระยะเวลาของการทาวิจัยในรูปแบบแผนวิจัยหรือปฏิทิน การวจิ ยั ไวด้ ว้ ย ตามตัวอย่าง ต่อไปน้ี ตวั อยา่ งแผนวิจยั อย่างงา่ ย/ ปฏิทินการลงมือทาวิจยั อยา่ งง่าย รายการ/กิจกรรม ระยะเวลา เคร่ืองมือทใ่ี ช้ แหลง่ ขอ้ มูล เก็บข้อมูลพนื้ ฐานผเู้ รียน 1-2/5/59 แบบสอบถาม - ผู้เรยี น การสัมภาษณ์ - ผู้ปกครอง ทดสอบความรูภ้ าษาไทย 4/5/59 แบบทดสอบ - ผู้เรยี น ทดสอบทักษะการอ่านออกเสียง 4/5/59 แบบทดสอบการอ่าน - ผู้เรยี น การสังเกต คมู่ ือการทาวจิ ยั อย่างง่ายของครู กศน. 35

ดงั นน้ั สามารถสรุปได้วา่ ในกระบวนการข้นั ตอนของการปฏิบตั ิงานวิจัยหรือการลงมือทาวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูลนี้ กระบวนการและวิธีการก็ข้ึนอยู่กับเคร่ืองมือเก็บข้อมูลที่ครู ผู้วิจัยเลือกใช้ ส่วนระยะเวลาในการเก็บข้อมูล สาหรับการวจิ ัยอย่างงา่ ย ไม่ควรจะมีระยะเวลานาน และเน้นย้าว่าให้สามารถ บูรณาการร่วมกับการสอนได้ด้วย จากตัวอย่างของปฏิทินการวิจัยอย่างง่ายข้างต้น สามารถอธิบายขั้นตอน การเก็บขอ้ มูลได้ ดงั น้ี 1. วิธีการเกบ็ ข้อมูลพืน้ ฐานผเู้ รยี น จากตวั อยา่ งได้ใช้เคร่ืองมือในการเก็บ ข้อมูลอยู่ 2 ประเภท คือ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ และแหล่งข้อมูล คือ ผู้เรียนและผู้ปกครอง ดังน้ัน วิธีการเก็บข้อมูล อาจให้ท้ังผู้เรียนและ ผู้ปกครองกรอกแบบสอบถามเอง ท้ังน้ี ครูผู้วิจัยต้องช้ีแจงหรืออธิบายให้ ผู้เรียนและผู้ปกครองเข้าใจและสามารถตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริง และถกู ต้องตามวตั ถุประสงคไ์ ด้ ซ่งึ แบบสอบถามนี้ อาจเป็นแบบเลือกตอบโดย มีช่องให้ทาเครื่องหมาย หรือเป็นแบบให้ตอบว่าใช่หรือไม่ใช่ หรืออาจเป็น แบบสอบถาม แบบให้กรอก ท้ังน้ี ขึ้นอยู่กับข้อมูลท่ีครูผู้วิจัยต้องการ นอกจากน้ี ครูผู้วิจัยยังสามารถอธิบายคาถามในแบบสอบถามเป็นข้อ ๆ ได้เช่นกัน ส่วนการสัมภาษณ์ ครูผู้วิจัยต้องสัมภาษณ์เอง ส่วนจะเป็น การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างหรือไม่มีโครงสร้าง ก็ข้ึนอยู่กับการเลือกใช้ ของครูผู้วิจัย ทั้งนี้ ในกระบวนการสัมภาษณ์ ครูผู้วิจัยอาจมีเครื่องมือวิจัย อย่างง่าย เช่น เคร่ืองบันทึกเสียง รวมถึงแบบบันทึกภาคสนาม เพื่อความ สะดวกและรวดเร็วในการเก็บขอ้ มูล 2. การทดสอบความรภู้ าษาไทย ใชเ้ คร่ืองมือ คอื แบบทดสอบ ซง่ึ สามารถบรู ณาการเข้ากับแผนการเรียนการสอนและกระบวนการจัด การเรียนรู้ไดด้ ว้ ย จากน้ันกบ็ ันทึกผลทไี่ ด้ คู่มือการทาวิจยั อยา่ งง่ายของครู กศน. 36


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook