Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการเรียนรู้

Description: ทักษะการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

คู่มือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ เพ่อื เพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นส�ำหรับนกั ศึกษา หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายวิชา ทกั ษะการเรยี นรู้ (ทร 11001) ระดับประถมศึกษา สำ� นกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดกาฬสินธุ์ สำ� นกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำ� นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำ� นำ� สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ในฐานะผรู้ บั ผดิ ชอบในการจดั การศกึ ษาใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมายประชาชน ทวั่ ไปทอ่ี ยนู่ อกระบบโรงเรยี น โดยใชห้ ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในการจัดการศึกษาให้กบั กลุ่มเปา้ หมายดงั กล่าว และเพอ่ื เปน็ การตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน กศน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ใหส้ งู ขนึ้ สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ จงึ ไดจ้ ดั ทำ� คมู่ อื พฒั นาทกั ษะการเรยี น รู้ เพ่ือเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนส�ำหรับนักศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ซง่ึ จะทำ� ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ถงึ สอื่ ไดส้ ะดวก รวดเรว็ อนั จะสง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ดขี ้ึน คู่มือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ เพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนส�ำหรับนักศึกษา หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีเอกสารสรุปเนื้อหาท่ีต้องรู้และแนวข้อสอบจาก การนำ� หนงั สอื เรียนของส�ำนกั งาน กศน. มาสรปุ เนอ้ื หา ประเดน็ สำ� คญั และจดั ท�ำแนวข้อสอบที่สอดคล้องตาม ผงั การออกขอ้ สอบในแตล่ ะรายวชิ าของสำ� นกั งาน กศน. สำ� หรบั คมู่ อื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ เพอ่ื เพม่ิ ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนส�ำหรับนักศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ ได้จดั ทำ� รายวิชาบงั คับ จ�ำนวน 42 รายวชิ า ทัง้ น้ี สำ� นักงาน กศน.จังหวดั กาฬสินธุ์ ไดเ้ ชญิ ผู้เช่ียวชาญด้านเน้ือหา นกั วชิ าการศกึ ษา ครูผสู้ อน และผูเ้ กีย่ วข้อง มาสรปุ คมู่ ือพฒั นาทกั ษะ การเรียนรู้ เพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนส�ำหรับนักศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ในรายวชิ าดังกลา่ ว ส�ำนักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธุ์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์กับผู้เรียน กศน. หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสมควร จึงขอขอบคุณผู้เช่ียวชาญ ด้านเนอ้ื หา นักวชิ าการศกึ ษา ครูผสู้ อน และผเู้ กีย่ วขอ้ งมา ณ โอกาสนี้ (นางสาวนพกนก บรุ ุษนันทน)์ ผู้อ�ำนวยการสำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ มิถุนายน 2560 2 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จังหวัดกาฬสินธุ์

สารบัญ หน้า 2 คาํ นํา 3 สารบัญ 5 คาํ แนะนาํ การใชค ่มู อื 6 บทท่ี 1 การเรียนรูดว ยตนเอง 9 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และกระบวนการของการเรียนรดู วยตนเอง 11 เรอ่ื งท่ี 2 การกําหนดเปาหมายและการวางแผนการเรียนรดู ว ยตนเอง เรอ่ื งท่ี 3 ทกั ษะพน้ื ฐานทางการศกึ ษาหาความรู ทกั ษะการแกปญ หา 16 และเทคนคิ การเรยี นรดู ว ยตนเอง 18 เรื่องท่ี 4 ปจ จยั ท่ที ําใหการเรยี นรูดว ยตนเองประสบความสําเร็จ กิจกรรมทายบทที่ 1 21 21 บทที่ 2 การใชแ หลงเรียนรู 24 เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของแหลง เรยี นรู 26 เรอ่ื งที่ 2 การเขาถึงและการเลือกใชแ หลงเรยี นรู 27 เรื่องที่ 3 บทบาทหนาทแ่ี ละการบริการของแหลง เรยี นรู 28 เรอ่ื งที่ 4 กฎ กตกิ า เงื่อนไขตาง ๆ ในการขอใชบรกิ ารแหลงเรียนรู 31 เรื่องท่ี 5 ทกั ษะการใชข อ มูลสารสนเทศจากหองสมุดประชาชน กิจกรรมทายบทท่ี 2 33 33 บทที่ 3 การจัดการความรู 34 เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั และหลักการของการจัดการความรู 35 เรือ่ งที่ 2 กระบวนการจัดการความรู 37 เร่ืองที่ 3 กระบวนการจดั การความรดู วยตนเอง 39 เรื่องที่ 4 กระบวนการจัดการความรูดวยการปฏบิ ัติการกลุม 40 เรื่องที่ 5 การสรางองคความรู พัฒนา ตอ ยอดและเผยแพรองคค วามรู กจิ กรรมทายบทที่ 3 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 3 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 42 บทท่ี 4 การคดิ เปน 42 เรือ่ งที่ 1 ความเชื่อพืน้ ฐานทางการศกึ ษาผใู หญ/ การศกึ ษานอกระบบ 45 เรอ่ื งท่ี 2 ปรชั ญาการคิดเปน 47 เรอ่ื งท่ี 3 กระบวนการและขัน้ ตอนการแกปญ หาอยางคนคิดเปน 49 เรอ่ื งที่ 4 ฝกทกั ษะการคิดเปน 50 กจิ กรรมทายบทท่ี 4 52 บทท่ี 5 การวจิ ยั อยางงาย 52 เรอ่ื งที่ 1 ความหมายและประโยชนของการวิจยั อยางงาย 54 เร่ืองท่ี 2 กระบวนการและขนั้ ตอนของการวจิ ัยอยางงาย 56 เร่ืองที่ 3 การเขยี นโครงการวิจยั 57 กจิ กรรมทายบทท่ี 5 61 บทที่ 6 ทกั ษะการเรยี นรูและศกั ยภาพหลักของพน้ื ที่ในการพัฒนาอาชพี 61 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั ของศกั ยภาพหลักของพนื้ ทใ่ี นการพฒั นาอาชีพ 62 เร่ืองท่ี 2 การวเิ คราะหศ ักยภาพหลักของพ้นื ทใี่ นการพฒั นาอาชีพ 67 เรื่องท่ี 3 ตวั อยางอาชพี ทส่ี อดคลองกับศกั ยภาพของพ้ืนท่ี 74 กจิ กรรมทายบทที่ 6 75 แนวข้อสอบชุดท่ี 1 88 แนวขอ้ สอบชุดที่ 2 98 แนวขอ้ สอบชดุ ท่ี 3 111 แนวขอ้ สอบชุดท่ี 4 125 บรรณานกุ รม 126 คณะผูจัดทาํ เอกสารสรุปเน้อื หาทต่ี ้องรู้ ส�ำนักงาน กศน. 127 คณะผูจ ัดทํา แนวขอ้ สอบ สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ 4 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ

ค�ำแนะนำ� การใช้คู่มือ คมู่ อื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ เพอื่ เพมิ่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสำ� หรบั นกั ศกึ ษา หลกั สตู รการศกึ ษา นอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เปน็ คมู่ อื ทจ่ี ดั ทำ� ขน้ึ สำ� หรบั ผเู้ รยี นทเ่ี ปน็ นกั ศกึ ษา การศึกษานอกระบบ ในการศกึ ษาคมู่ อื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ เพอื่ เพม่ิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นสำ� หรบั นกั ศกึ ษาหลกั สตู ร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 รายวิชา ทักษะการเรียนรู้ รหสั วิชา ทร 11001 ระดบั ประถมศึกษา ผเู้ รยี นควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา้ งรายวชิ าใหเ้ ขา้ ใจในหวั ขอ้ สาระสำ� คญั ผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั และขอบขา่ ย เน้อื หา 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแต่ละบทอย่างละเอียดจากหนังสือแบบเรียน สรุปเน้ือหาท่ี ต้องรู้ และท�ำแบบทดสอบแล้วตรวจสอบกับแนวค�ำตอบ ถ้าผู้เรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและ ทำ� ความเข้าใจในเน้ือหานัน้ อีกครัง้ เพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจก่อนที่จะศกึ ษาเรอื่ งต่อไป 3. ค่มู ือเล่มนม้ี เี น้ือหาประกอบด้วย 2 ส่วน คอื 1. สว่ นท่เี ปน็ สรปุ เนือ้ หาที่ต้องรู้ 1. การเรียนรดู้ ้วยตวั เอง 2. การใช้แหล่งเรียนรู้ 3. การจัดการความรู้ 4. การคิดเปน็ 5. การวจิ ัยอย่างง่าย 6. ทักษะการเรยี นรแู้ ละศักยภาพหลักของพน้ื ท่ีในการพฒั นาอาชีพ 2. แนวขอ้ สอบ ดังมรี ายละเอยี ดดังนี้ แนวข้อสอบ ชดุ ที่ 1 แนวขอ้ สอบ ชดุ ท่ี 2 แนวข้อสอบ ชดุ ที่ 3 แนวข้อสอบ ชุดท่ี 4 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 5 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธ์ุ

1 บทที่ 1 การเรียนรูด วยตนเอง การเรียนรูเร่ืองราวตาง ๆ ไมใชเร่ืองที่ติดตัวมาแตเกิด แตการเรียนรูเรื่องราว หรือ ทกั ษะในเร่อื งนั้น ๆ มาจากการเรยี นรู หรอื การฝก ฝนทักษะและประสบการณทั้งส้ิน การเรียนรู จึงเปนกระบวนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสูพฤติกรรมใหม ซึ่งคนทุกคนสามารถ เรียนรู และพัฒนาตนเองได เรอื่ งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และกระบวนการของการเรียนรูดวยตนเอง ความหมายของการเรียนรูด วยตนเอง การเรียนรูดวยตนเอง หมายถึง กระบวนการเรียนรู ที่ผูเรียนมีความคิดริเริ่มดวย ตนเอง เรียนรูในส่ิงท่ีตรงกับความตองการ ความสนใจ และความถนัดของตนเอง โดยมี เปาหมายการเรียนรู การแสวงหาและเขาถึงแหลงขอมูลในการเรียนรู มีวิธีการเรียนรู ทีเ่ หมาะสมและมกี ารประเมินผลการเรียนรขู องตนเอง ความสําคญั ของการเรียนรดู วยตนเอง สังคมปจจุบัน เปนสังคมท่ีตองมีความรู มีการเปล่ียนแปลงความรูอยางรวดเร็ว มีความรูใหมเกิดขึ้นทุกวัน การนําความรูไปปฏิบัติ ทําใหเกิดส่ิงใหม ๆ เปนนวัตกรรม สราง อาชีพทีห่ ลากหลาย การเรียนรดู ว ยตนเองจึงมคี วามสาํ คญั ทาํ ใหเ กิดสังคมแหง การเรียนรู ความสาํ คญั ของการเรยี นรูดวยตนเอง แบงเปน 2 สวน คือ 1. ความสาํ คัญตอตวั ผูเรยี น 1) ทาํ ใหคนมีการพัฒนาทางปญ ญา จากคนท่ีไมมคี วามรู มาเปนผรู ู และทาํ เปน 2) ทาํ ใหค นสามารถปรบั และประยุกตใชความรูไปสสู ถานการณใ หม ทําใหประสบ ความสาํ เร็จในการปฏิบัติงาน 3) ทําใหคนสามารถดาํ รงชวี ิตอยใู นสงั คมทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงอยตู ลอดเวลา อยา งมีศกั ยภาพเปนผูแ กปญหาเปน และมคี วามสุข 6 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์

2 2. ความสําคญั ตอ สังคม สังคมปจจุบัน เปนสังคมที่มีการเปล่ียนแปลง มีความรูใหม ๆ ขอมูลขาวสาร มากมายเกดิ ขึน้ ตลอดเวลา ซ่ึงสง ผลตอการดาํ เนนิ ชีวิตของคนในสังคม สามารถแสวงหาความรู และนําความรูท่ไี ดไปปรบั ใชใ หเ กดิ ประโยชนและอยูรอดในสังคมได ถาคนเราสามารถเรียนรูได ดว ยตนเอง ก็จะเกิดสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต เปนสังคมท่ีมีการพัฒนาใหเจริญกาวหนา ตอไป ลักษณะและองคป ระกอบการเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูดวยตนเอง จะชวยใหผูเรียนประสบผลสําเร็จ ผูเรียนจะตองมีการ แลกเปลี่ยนประสบการณ สรา งความรรู วมกนั นําเสนอความรู และนําไปประยุกตใช หรือลงมือ ปฏบิ ตั ิ ลักษณะชองการเรยี นรดู วยตนเอง การเรยี นรูดวยตนเอง จําแนกออกเปน 2 ลักษณะสาํ คญั ดงั น้ี 1. ลักษณะที่เปนลักษณะสวนบุคคลของผูเรียน ในการเรียนรูดวยตนเอง จัดเปน องคประกอบภายใน ที่จะทําใหผูเรียนมีแรงจูงใจอยากเรียนตอ โดยผูเรียนที่มีคุณลักษณะใน การเรียนรดู วยตนเอง จะมคี วามรับผิดชอบตอความคดิ และการกระทาํ เกี่ยวกับการเรยี น และมี การจดั สภาพการเรียนรทู ี่สง เสริมกัน 2. ลักษณะที่เปนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดเรียนดวยตนเอง ประกอบดวย ข้ันตอนการวางแผนการเรียน การปฏิบัติตามแผน และการประเมินผลการเรียนจัดเปน องคประกอบภายนอกที่สงผลตอการเรียนดวยตนเองของผูเรียน ซ่ึงการจัดการเรียนรูแบบน้ี จะไดป ระโยชนจากการเรยี นมากทีส่ ดุ องคป ระกอบของการเรียนรูด ว ยตนเอง องคประกอบการเรียนรูดว ยตนเอง มดี งั นี้ 1. การวิเคราะหความตองการของตนเอง เร่ิมจากใหผูเรียนแตละคนบอกความ ตองการและความสนใจในการเรียนกับเพื่อนอีกคน ซ่ึงทําหนาที่เปนท่ีปรึกษา แนะนํา และ เพื่อนอกี คนทําหนา ทีจ่ ดบันทึก และใหก ระทําเชน นีห้ มนุ เวียนทั้ง 3 คน แสดงบทบาทครบท้ัง 3 ดาน คือ ผูเสนอความตองการ ผูใหคําปรึกษา และผูคอยจดบันทึกการสังเกตการณ เพอ่ื ประโยชนในการเรยี นรวมกนั และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 7 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ

3 2. การกําหนดจุดมุงหมาย โดยเริ่มจากบทบาทของผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนควร ศึกษาจุดมุงหมายของวิชา แลวเขียนจุดมุงหมายในการเรียนของตนใหชัดเจน เนนพฤติกรรม ท่คี าดหวงั วดั ได มีความแตกตา งของจดุ มงุ หมายในแตละระดบั 3. การวางแผนการเรียน ใหผูเรียนกําหนดแนวทางการเรียน ตามวัตถุประสงค ทร่ี ะบุไวจัดเนอ้ื หาใหเหมาะสมกับสภาพความตอ งการ และความสนใจของตนมากที่สุด 4. การแสวงหาแหลงวิทยาการ ทัง้ ท่ีเปน วสั ดแุ ละบุคคล - แหลงวิทยาการที่เปนประโยชนในการศึกษาคนควา เชน หองสมุด พพิ ธิ ภัณฑ ฯลฯ - ทักษะตาง ๆ ที่มีสวนในการแสวงหาแหลงวิทยาการไดอยางสะดวก รวดเร็ว เชน ทักษะการตัง้ คาํ ถาม ทักษะการอาน ฯลฯ 5. การประเมินผล ควรประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง ตามท่ีกําหนด จุดมุงหมายของการเรียนไว และใหสอดคลองกับวัตถุประสงคเกี่ยวกับความรู ความเขาใจ ทักษะ ทัศนคติ คา นยิ ม 8 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์

4 เรือ่ งท่ี 2 การกาํ หนดเปา หมายและการวางแผนการเรียนรดู วยตนเอง การกาํ หนดเปา หมายหรือจดุ มุงหมายการเรยี นรู เปา หมายของชีวิต คือ การคิดถึงภาพของตัวในอนาคตในหลาย ๆ ดาน ไปพรอม ๆ กัน ท้งั เปาหมายทจี่ บั ตอ งไดแ ละจบั ตองไมได การวางเปาหมายชวี ติ ทําใหม ที ิศทางในการคิดอยางมี จดุ มุงหมาย ไมเสียเวลา มีแผนที่จะเดนิ ทางไปสคู วามสําเร็จทตี่ องการในอนาคต ความหมายของการกาํ หนดเปาหมายการเรยี นรู การกําหนดเปาหมายการเรียนรู คือ การกําหนดจุดหมายปลายทางของผูเรียนวา ตองบรรลุถึงจุดหมายอะไรบาง ภายหลังการเรียนรูดวยตนเอง ซ่ึงสามารถกําหนดได ท้ังดาน ทักษะทางปญญา เชน ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช เปนตน ทางพฤติกรรม อารมณและความรูสึก เชน เจตคติ คานิยม คุณธรรม จริยธรรม เปนตน และดานทักษะ ความสามารถ เชน การปฏบิ ัติ การแสดงออก เปนตน ประโยชนข องการกําหนดเปา หมายการเรียนรู เม่ือผูเ รียนมีจุดมุงหมายปลายทางการเรยี นรูของตนเอง จะสามารถวางแผนการเรียนรู และกําหนดแผนการเรียนรู ใหสอดคลองกับเปาหมายท่ีตองการ ผูเรียนสามารถเลือกวิธีการ เรียนรู ชอ งทางหรือแหลง เรยี นรูแ ละส่ือท่ีเหมาะสม ทําใหสามารถดําเนินกิจกรรมการเรียนรูได อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ หลกั การในการกําหนดเปา หมายการเรียนรู มดี ังน้ี 1. ระบุส่ิงท่ีเราตอ งการใหเ กิด ตอ งการใหเปน ใหชัดเจน 2. ตองสามารถระบุ และวัดผลลพั ธไดอยางชัดเจน 3. ตองมคี วามมงุ มัน่ และลงมือปฏบิ ัติจริง 4. ตอ งสมเหตสุ มผล และเปนสงิ่ ทม่ี โี อกาสเปน ไปได 5. มรี ะยะเวลาเปน กรอบกําหนดสิ่งทต่ี องทําใหส ําเรจ็ ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 9 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธุ์

5 การวางแผนการเรียนรูด วยตนเอง การเรยี นรูด วยตนเอง เปนคุณลักษณะท่ีสําคัญ ชวยใหผูเรียนมีความตั้งใจ มีแรงจูงใจ สูง มีความคดิ รเิ ร่มิ สรา งสรรค สามารถทํางานรว มกับผูอ่ืนได นําประโยชนของการเรียนรูไปใช ใหเ กดิ ประโยชนตอ การดาํ เนนิ ชีวติ ความหมายของการวางแผนการเรียนรู การวางแผนการเรียนรู คอื การกาํ หนดแนวทางการเรียนรูของตนเองขึ้นมา เพ่ือให บรรลุจุดมุงหมายท่ีกําหนดไว โดยตองกําหนดเวลาเรียนรูของตนเอง วากิจกรรมมีอะไรบาง และจะส้นิ สดุ เมือ่ ใด และมกี ารวางแผนการเรียนรู ดังนี้ 1. เนอื้ หาการเรยี นรมู อี ะไรบา ง 2. ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง ท่ีเกิดจากการเรียนรู 3. กจิ กรรมการเรยี นร/ู เรียนรูดว ยวธิ กี ารใด 4. สอ่ื และแหลงเรยี นรูอ ยูทไ่ี หนบา ง 5. การวดั ประเมนิ ผล/มวี ธิ ีวดั ประเมินผลการเรยี นรู อยางไร ประโยชนของการวางแผนการเรียนรดู ว ยตนเอง 1. ชว ยใหผูเรียนสามารถระบเุ ปาหมาย หรือผลงานการเรยี นรไู ดอ ยางชดั เจน 2. ชว ยในการกาํ หนดและระบุกิจกรรม หรืองานท่ีผูเ รียนทาํ ไดอยา งชดั เจน 3. ชว ยใหก ารเรียนรูเปนไปอยางมีประสิทธภิ าพ ตามกรอบทกี่ าํ หนดไว หลกั การวางแผนการเรยี นรูด วยตนเอง 1. การวางแผนการเรยี นรูของผเู รียน ควรเริ่มตนจากการกาํ หนดจุดมุง หมายใน การเรียนรูด วยตนเอง 2. ผูเรียนเปนผกู าํ หนดการวางแผนการเรียนของตนเอง 3. ผเู รียนเปน ผูจดั การเนือ้ หาใหเ หมาะสมกบั ความตอ งการ และความสนใจของ ตนเอง 4. ผเู รียนเปน ผูระบวุ ธิ กี ารเรียนรู เพื่อใหเ หมาะสมกับตนเองมากท่ีสดุ 5. ผูเ รียนกําหนดและแสวงหาแหลงเรยี นรูดวยตนเอง 10 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ

6 กระบวนการวางแผนการเรยี นรดู ว ยตนเอง 1. วิเคราะหและกําหนดความตองการหรือความสนใจในการเรียนรูของตนเอง 2. กาํ หนดจุดมงุ หมายในการเรยี นรู หรือสิ่งท่ตี องการใหเกดิ กับตนเองภายหลังการ เรยี นรู 3. วางแผนการเรียนรู โดยผูเรียนกําหนดแนวทางการเรียนของตนเอง เร่ืองเวลา เรียน เน้ือหา กิจกรรมการเรียนรูในแตละชว ง ตัง้ แตเรม่ิ ตนจนส้ินสดุ 4. เลือกรปู แบบกิจกรรมการเรยี นรู แหลงเรียนรู และสื่อการเรยี นรู 5. ในกรณีบางเร่ืองไมส ามารถเรยี นรูไดดวยตนเองท้งั หมด ตองมผี ูชว ยเหลอื ซงึ่ อาจเปน ครู เพือ่ นท่พี บกลุมรวมกัน ฯลฯ ผูเ รยี นจะตอ งกาํ หนดบทบาทของผูชวยเหลือการ เรียนรใู หชดั เจน 6. กําหนดวิธกี ารตรวจสอบตนเอง วธิ กี ารประเมินผลการเรยี นของตนเอง รว มกบั ครู เชน การทดสอบ การสงั เกต การสอบถาม เรอื่ งท่ี 3 ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู ทกั ษะการแกป ญหา และเทคนคิ การเรียนรดู ว ยตนเอง ทกั ษะพน้ื ฐานทางการศกึ ษาหาความรู การเรียนรูดวยตนเอง จะตองมีทักษะที่สําคัญหลาย ๆ ดาน เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจมากที่สดุ ทกั ษะทีส่ ําคญั และจาํ เปน ตอการเรียนรู ไดแก ทักษะการอา น การอาน คือ การรับรูความหมาย จากถอยคําที่อานในหนังสือ หรือสิ่งพิมพตาง ๆ การอาน มีหลายประเภท เชน 1. การอานสํารวจ เปนการอานอยางรวดเร็ว เพื่อรูลักษณะโครงสรางของ ขอเขยี น สาํ นวนภาษา เนื้อเรือ่ งโดยสงั เขป 2. การอานขาม เปนการอานอยางรวดเร็ว โดยเลือกอานขอความเฉพาะบาง ตอนทตี่ รงกบั ความตอ งการ เชน การอานคาํ นาํ สาระสังเขป บทสรปุ 3. การอา นผาน เปน การอา นแบบกวาดสายตาอยางรวดเรว็ ไปยังขอ เขียนที่เปน เปา หมาย เชน คําสําคญั ตวั อักษร หรอื สัญลกั ษณ แลว อา นรายละเอยี ดเฉพาะทีต่ องการ ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 11 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ

7 4. การอานจับประเดน็ เปนการอานทําความเขาใจสาระสําคัญ โดยตองสังเกต คาํ หรอื ประโยคสาํ คญั และยอสรุปบันทกึ ประโยคสาํ คัญไว 5. การอานสรุปความ เปนการอานตีความหมายส่ิงท่ีอาน ใหเขาใจชัดเจน แยกสว นประเดน็ หลัก ประเด็นรอง ท่ีสําคัญหรอื ไมสาํ คญั ได 6. การอา นวเิ คราะหความหมายขอ ความ หลักการอา นทีด่ ี มดี งั น้ี 1. ตง้ั จุดหมายในการอานแตละครั้งใหชัดเจน 2. อา นหน่ึงรอบ แลว สรุปโดยไมเปดหนงั สือ 3. ควรมีการบันทึกสาระสําคัญ ทําสัญลักษณ หรือทําเปน Mind Mapping จะทาํ ใหเขาใจงา ยขน้ึ 4. มีสมาธิ ใชสติอยูกับหนังสือ ไมรับรูจากส่ือตาง ๆ เชน ปดทีวี คอมพิวเตอร อินเทอรเ น็ต เปน ตน ทักษะการฟง การฟง คือ การรับรูความหมายจากเสียงที่ไดยิน เปนการรับรูขอมูล โดยใช ประสาทสัมผัสทางหู การฟงเพ่ือใหเกิดการเรียนรูส่ิงตาง ๆ จําเปนตองใชความคิดพิจารณา ไตรต รอง และเอาใจใสเปนพิเศษ จึงจะชว ยใหการฟง มีประสทิ ธภิ าพ หลกั การฟง ทดี่ ี มดี งั นี้ 1. ฟง อยางมีจดุ มงุ หมาย ผฟู งทดี่ ีควรต้ังจดุ มุง หมายในการฟง 2. มีความพรอ มในการฟง ไดแก 1) ความพรอ มทางกาย คือ มสี ขุ ภาพสมบูรณ แขง็ แรงไมเ จบ็ ปวย 2) ความพรอมทางใจ คือ มีสมาธิ จดจอในการฟง ไมใ จลอย วติ กกังวล 3) ความพรอมทางสติปญ ญา คอื เตรียมตัวใฝห าความรเู ปน พืน้ ฐาน 3. ฟงอยางกระตอื รอื รน คอื สนใจและเลง็ เหน็ ประโยชนจ ากการฟงอยา งแทจริง ไมใ ชจ าํ ใจฟง หรอื ถกู บังคบั ใหฟ ง 4. ฟงอยางไมมีอคติ เพราะความลําเอียง ทําใหแปลเจตนาในการฟงผิด ความหมาย หรอื คลาดเคล่อื นจากท่เี ปนจริงได 12 ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธุ์

8 ทกั ษะการสังเกต การสงั เกต คือ การดูสิง่ ทีเ่ กิดขน้ึ เก่ยี วกับพฤติกรรม หรอื ปรากฏการณต า ง ๆ ท่เี กิดข้ึน โดยใชป ระสาทสัมผสั คอื ตาดู หูฟง กายสัมผสั วธิ กี ารสังเกต แบงออกเปน 2 แบบ คือ 1. การสังเกตทางตรง เปนการสังเกตโดยผูถูกสังเกตไดสัมผัสกับบุคคล หรือ เหตกุ ารณน ัน้ โดยตรง 2. การสังเกตทางออม เปนการสังเกต ที่ผูสังเกตไมไดเฝาดูพฤติกรรม หรือ เหตุการณน ้ันดว ยตนเอง แตอาศัยถามจากผูอ นื่ ที่ไดสงั เกตมา หลักการสงั เกตท่ดี ี มดี งั นี้ 1. กําหนดจุดมุงหมายของการสังเกตใหชัดเจน วาตองการสังเกตอะไร สังเกต ใคร สังเกตอยางไร 2. วางแผนข้ันตอนการสังเกตใหเปนระบบ และเตรียมสถานการณไวลวงหนา ใหเรียบรอย เตรียมอุปกรณ เคร่ืองมือ เคร่ืองใชตาง ๆ ที่จําเปนใหพรอม เชน ปากกา ดินสอ กลอ งถายรูป เปน ตน 3. ศึกษาและกาํ หนดชว งเวลา ที่จะสงั เกตใหเหมาะสม 4. สงั เกตทีละเรอ่ื ง ทีละประเดน็ จะไดไมสับสน และไมค วรรีบรอน 5. ควรบนั ทึกขอ มลู จากการสังเกตใหเ ร็วทีส่ ดุ เพราะปลอยไวน านอาจลืมได 6. ตรวจสอบความถกู ตอง ความนา เชือ่ ถือของขอ มลู ทส่ี ังเกตได ทกั ษะการจํา การจํา คือ ความสามารถของสมองในการเก็บขอมูล และเรียกขอมูลออกมาใช ซ่งึ อาจเปนระยะสั้น ๆ หรือยาวนานตลอดชวี ติ ก็ได การจาํ เปน ความสามารถเฉพาะตัวที่ตอ งการการฝกฝน เชน การโยงส่ิงท่ีตอ งจาํ ไป หาส่งิ ที่จํางา ยและตดิ ตากวา การแตงประโยคเดด็ ชวยจํา การจําขอ ความเปนภาพ เปนตน ทักษะการจดบนั ทกึ การบันทกึ คือ การเขยี นขอความที่ไดร ับรไู วเปนลายลกั ษณอกั ษร เพราะถา ใชก าร จาํ อยางเดียวผูเ รียนอาจรับเนื้อหาไดไ มครบถวนสมบูรณ การจดบันทกึ จงึ จาํ เปน มากสาํ หรับการ เรียนรู ทักษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 13 สำ� นักงาน กศน.จังหวดั กาฬสินธ์ุ

9 การจดบันทึกท่ีดี ควรจดสั้น ๆ เฉพาะสวนท่ีสําคัญ เปนวลี คําสัญลักษณ หรือ ตัวยอ จดเปนหวั ขอโดยใชห มายเลข หรอื สัญลกั ษณนาํ หนา และจดเฉพาะคําสําคญั ทกั ษะการแกป ญ หา ทักษะการแกปญหา เปนความสามารถในการจัดการกับปญหา ที่เกิดข้ึนในชีวิตได อยางมีระบบไมเกิดความเครียดทางกาย และจิตใจ จนอาจลุกลามเปนปญหาใหญโตเกิน แกปญ หา ขนั้ ตอนการแกปญหา แบงเปน 7 ข้นั ตอน ดังน้ี 1. ทําความเขา ใจสถานการณท่เี ปน ปญหา โดยรวบรวมขอมูลท่เี กีย่ วของ และทาํ ความเขาใจกับเหตกุ ารณ สถานการณนน้ั 2. กําหนดปญหาใหถูกตองและชัดเจน อาจใชวิธีการเลาเร่ือง หรือการเขียน บรรยายสภาพปญหา ดวยถอยคําสน้ั ๆ และระบุเปาหมาย ท่ีตองการใหเกิดภายหลัง จากที่ได แกไ ขปญ หาน้นั แลว 3. วิเคราะหส าเหตุสําคัญ อาจจะใชวิธีการตา ง ๆ ประกอบดวย การตรวจหาสาเหตุ การเลอื กสาเหตทุ ่ีสําคญั ทีน่ ํามาสปู ญ หาน้ัน และการระบุสาเหตแุ ทจ ริงของปญ หา 4. หาวิธีการแกปญหาใหไดมากที่สุด จากน้ันจึงวิเคราะหความเปนไปได และลด จํานวนวิธีการแกไขปญ หาจนคาดวา จะเหลอื วธิ ีท่เี กิดประสิทธผิ ลมากทส่ี ุด 5. เลือกวิธีการแกไขปญหาที่ดีที่สุด โดยการเปรียบเทียบทางเลือกของการแกไข ปญหาท้งั หมด แลวประเมินและเลอื กทางเลือกทดี่ ีท่ีสดุ 6. การวางแผนการปฏบิ ตั ิ เปนการกําหนดไววาจะตองทําอะไรบาง แตละข้ันตอน มกี ระบวนการเพื่อแกป ญหานั้นอยา งไร 7. ติดตามประเมินผล เปนการตรวจสอบความคืบหนาของการแกปญหา อยางสม่ําเสมอเพ่ือท่ีจะไดทราบวา มีปญหาและอุปสรรคใดบางท่ีแกไขไปแลว หรือยังคงอยู และควรปรบั วิธีการแกป ญ หา หรอื ไม อยา งไร 14 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธ์ุ

10 เทคนคิ ในการเรยี นรูด วยตนเอง เทคนิคที่นยิ มใชในการเรียนรูดว ยตนเอง เชน 1. การบันทึกการเรียนรู คือ บันทึกที่ผูเรียนจัดทําขึ้นเพ่ือใชบันทึกขอมูล ความคิด เรอ่ื งราวตา ง ๆ ทไ่ี ดเรียนรู เพ่ือเปนแนวทางในการศึกษาเพิ่มเติมใหกวางไกลออกไป หรือการ นาํ ไปประยุกตใชใ นชวี ิตประจําวัน 2. การทํารายงาน เปนการนําขอมูลความรูท่ีไดไปศึกษาคนความาวิเคราะห สงั เคราะหใหถูกตอง และเรียบเรียงอยางมีแบบแผน ความยาวของรายงานข้ึนอยูกับขอบเขต ของหวั ขอรายงาน 3. ทําสัญญาการเรียนรู เปนการทําขอตกลงที่ผูเรียนไดทําไวกับครู วาเขาตอง ปฏิบัติอยางไรบางในการเรียนรูของตนเอง เพ่ือใหบรรลุเปาหมายการเรียนรูที่กําหนดไว สําหรบั ครู สัญญาการเรียนรู มไี วเ พ่ือตดิ ตาม ตรวจสอบความกา วหนา การเรยี นของผูเรียน 4. สรางหองสมุดของตนเอง เปนการรวบรวมรายชื่อ ขอมูลแหลงความรูตาง ๆ ทค่ี ิดวาจะเปนประโยชนตรงกบั ความสนใจ เพ่อื ใชศึกษาคนควา ตอ ไป 5. หาแหลงความรใู นชุมชน ไวเปนแหลงคนควาหาความรูท่ีตองการ แหลงความรู ในชุมชนมีหลายประเภท อาจเปนผูรู ผูชํานาญในอาชีพตาง ๆ หองสมุดประชาชน หองสมุด โรงเรียน ศนู ยการเรียนชุมชน เปน ตน 6. หาเพือ่ นรวมเรยี น หรือคูหเู รียนรู ซงึ่ ควรเปนผทู มี่ คี วามสนใจ ทีจ่ ะเรียนรูในเรื่อง เดียวกันหรอื คลา ยกนั และตอ งสามารถติดตอแลกเปลีย่ นเรียนรูรวมกัน ประสานงานกันไดดวย วิธกี ารตา ง ๆ ไดอ ยางสะดวก รวดเร็ว 7. เรียนรูจากการฝกฝนและปฏิบัติจริง ซ่ึงจะกอใหเกิดความรูและประสบการณ ทักษะความชํานาญท่ีเปนประโยชน โดยเฉพาะในรายวิชา หรือเรื่องท่ีผูเรียนมีจุดมุงหมายให ตนเองทําได ปฏบิ ัติได ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 15 สำ� นักงาน กศน.จังหวดั กาฬสินธุ์

11 เร่ืองที่ 4 ปจ จยั ท่ีทาํ ใหก ารเรยี นรดู วยตนเองประสบความสําเรจ็ ปจ จัยท่เี กีย่ วของกับการเรียนรดู วยตนเอง ทีม่ สี วนทาํ ใหก ารเรียนรูด วยตนเอง ประสบ ความสําเร็จ คอื ปจ จัยภายในตัวผูเรยี น และปจจัยภายนอก ปจจยั ภายในตวั ผเู รยี น ปจ จัยภายในตวั ผเู รียน ไดแก 1. แรงจูงใจในตัวผูเรยี น เปน การเรยี นรตู ามความสนใจ ความพอใจของตนเอง 2. การรับรูความสามารถของตนเอง มีผลตอความมั่นใจในตนเองวาสามารถ เรยี นรไู ด 3. ความพรอมในการเรียนรูดวยตนเอง คนที่มีความพรอมในการเรียนรูจะมี คุณลักษณะ 8 ประการ คอื 1) เปด โอกาส และแสวงหาโอกาสในการเรยี นรู 2) มีทศั นคติท่ดี ีตอ ตนเอง มคี วามเช่อื ม่ันวาตนเองเปน ผูท ีม่ ีศักยภาพ คือ เปนคน มองวา ตนเองแสวงหาได เรยี นรไู ดและแกปญ หาได 3) มีความคดิ ริเริ่ม และเรียนรูไดดว ยตนเอง 4) มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบตอตนเอง รับผิดชอบตอการเรียนรูของ ตนเอง 5) รกั การเรยี น สนใจ ใฝร ู ใฝเ รียนตอ ส่ิงที่อยูรอบตวั เสมอ คือ สนใจ ใหความใส ใจกบั เร่ืองใหม ๆ เรื่องทต่ี นยงั ไมร ู หรอื รูนอย เปน ตน 6) มีความคิดเชิงบวก คิดริเร่ิมสรางสรรค คือ คิดวาสิ่งท่ีตนเองทําเปนเร่ืองท่ีดี เปน ส่งิ ทมี่ ปี ระโยชนตอ ตนเองและสังคม 7) สามารถใชท กั ษะการศกึ ษาหาความรู ไดอยา งดี เชน ทกั ษะการอาน ทักษะการ เรยี น ทักษะการจดบนั ทกึ เปน ตน 8) สามารถใชทักษะการแกปญหาไดอยางดี เชน เม่ือเจอปญหาจะไมทอใจ สามารถวิเคราะหปญหา สาเหตุของปญหา แสวงหาวิธีการ และดําเนินการแกปญหาไดอยาง เปน ระบบ 16 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์

12 4. มีเจตคติที่ดีตอการเรียนรูดวยตนเอง คือ เห็นวาการเรียนรูตลอดชีวิตเปนสิ่ง สาํ คัญการเรยี นรูทาํ ใหเ กิดการพัฒนาปญ ญา และนาํ ไปสกู ารพฒั นางาน พฒั นาคุณภาพชีวติ ปจ จยั ภายนอก 1. บรรยากาศแวดลอมตัวผูเรียน จะตองเปนบรรยากาศท่ีเอื้ออํานวยตอการสราง ความคิดรเิ รม่ิ สรา งสรรค และการเรียนรู 1) ตัวบุคคล เชน ครูผูสอน เพ่ือน ครอบครัว ท่ีมีสวนชวยใหแรงจูงใจและการ สนบั สนุนดานตาง ๆ 2) ดานสังคม ส่ิงแวดลอม เชน กลุม องคกรชุมชน นโยบาย หรือโครงการพัฒนา ตาง ๆ 2. การมีแหลงเรียนรูท ่ีหลากหลาย มคี วามพรอมและสะดวกสาํ หรบั การเรยี นรู 3. การมีเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย และมีจํานวนเพียงพอ สามารถเขาถึงและ ใชไดสะดวกและรวดเรว็ อยางไรก็ตาม ความสําเร็จของการเรียนรูดวยตนเองนั้น อยูท่ีตัวผูเรียนที่ตองมีวินัย ความมงุ มน่ั และนสิ ัยใฝเรียน ใฝรู ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 17 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสินธ์ุ

13 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 1 กจิ กรรมท่ี 1 1. ใหผเู รยี นอธบิ ายความหมายของคําวา “การเรยี นรดู วยตนเอง” …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหผ ูเรยี นอธิบายความสาํ คัญและความจาํ เปน ของการเรียนรูด ว ยตนเอง …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ใหผ ูเรยี นบอกลกั ษณะการเรยี นรูดว ยตนเอง …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 18 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ

14 4. ใหผเู รียนอธิบายองคประกอบของการเรียนรูดวยตนเอง อยางนอย 3 ขอ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… กจิ กรรมท่ี 2 ใหผเู รยี นยกตัวอยางการกําหนดเปาหมาย และการวางแผนการเรียนรดู วยตนเอง มา 1 รายวชิ า …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… กจิ กรรมที่ 3 ใหผ เู รียนเลอื กใชทักษะพ้นื ฐานที่ถนดั และดีท่ีสุดสําหรบั ตนเองในการเรียนรดู วยตนเอง พรอ มยกตัวอยาง …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 19 สำ� นักงาน กศน.จังหวดั กาฬสินธุ์

15 กิจกรรมที่ 4 ใหผเู รียนบอกปจ จัยทท่ี ําใหการเรยี นรูดวยตนเองประสบความสาํ เร็จ และยกตัวอยางประกอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 20 ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธ์ุ

16 บทที่ 2 การใชแ หลงเรียนรู ปจ จุบนั มีความรูใหมเกิดข้ึนตลอดเวลา มนุษยจึงจําเปนตองเรียนรูสิ่งใหม ๆ ท่ีเกิดขึ้น เพ่อื ใหสามารถปรบั ตัว และดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข โดยเฉพาะการเรียนรูจากสิ่งแวดลอม ในชมุ ชน จะเปนแหลงใหความรู และประสบการณทเี่ ออ้ื ตอ การเรียนรู เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญของแหลง เรียนรู ความหมายของแหลง เรยี นรู แหลงเรียนรู หมายถึง สถานท่ี แหลงขาวสารขอมูล สารสนเทศ แหลงความรูทาง วทิ ยาการ ภมู ปิ ญ ญาชาวบาน และประสบการณ ที่สนบั สนุนสง เสริม ใหผูเรยี นเกดิ การเรียนรู ความสาํ คญั ของแหลง เรียนรู แหลง เรยี นรูมคี วามสาํ คัญ ดงั ตอ ไปนี้ 1. เปน แหลง ท่มี สี าระเนื้อหา ที่เปน ขอมูลความรู ใหมนุษยเกิดโลกทัศนท่ีกวางไกล กวาเดิม 2. เปนสื่อการเรียนรูสมัยใหม ท่ีใหท้ังสาระ ความรู กอใหเกิดทักษะ และชวยให เกดิ การเรียนรไู ดเร็วและมากยิ่งขน้ึ 3. เปนแหลงชวยเสริมการเรียนรูของการศึกษาประเภทตาง ๆ ทั้งการศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั 4. เปน แหลง การเรยี นรตู ลอดชวี ติ ทบ่ี คุ คลทุกเพศ ทุกวัย ทกุ ระดับความรู สามารถ เรียนรไู ดด ว ยตนเองตลอดเวลา ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 21 สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธุ์

17 5. เปนแหลงที่มนุษยสามารถเขาไปปฏิสัมพันธ ในการหาความรูจากแหลงกําเนิด หรือแหลงตนตอของความรู เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ พันธุไม พันธุสัตว สภาพชีวิตความ เปนอยูต ามธรรมชาติ ของสัตว เปน ตน 6. เปนแหลงท่ีมนุษยสามารถเขาไปปฏิสัมพันธ ใหเกิดประสบการณตรง หรือลง มือปฏบิ ตั ไิ ดจรงิ เชน การประดิษฐเครื่องใชตาง ๆ การซอมเคร่ืองยนต เปนตน ชวยกระตุนให เกดิ การสนใจ ความใฝร ู 7. เปนแหลงท่ีมนุษยสามารถเขาไปปฏิสัมพันธ ใหเกิดความรูเก่ียวกับวิทยาการ ใหม ๆ ท่ไี ดรับการคิดคนข้ึน และยังไมมีของจริงใหเห็น เชน การดูภาพยนตร วีดิทัศน หรือสื่อ อื่น ๆ ในเรอื่ งเกีย่ วกับการประดิษฐค ิดคนสิง่ ตาง ๆ ข้ึนมาใหม 8. เปน แหลง สงเสรมิ ความสัมพันธอ ันดี ระหวางคนในทองถ่ินกับผูศึกษา ในการทํา กิจกรรมรว มกัน ชว ยสรางความรูส ึกวา เปนสวนหนึ่งของการมสี วนรวม เกิดความตระหนัก และ เหน็ คุณคา ของแหลงเรียนรู 9. เปนสิ่งที่ชวยเปล่ียนทัศนคติ คานิยม ใหเกิดการยอมรับสิ่งใหม แนวความคิดใหม เกดิ จินตนาการ และความคดิ สรา งสรรคก บั ผูเรียน 10. เปนการประหยดั เงนิ ของผูเรยี น หากใชแ หลงเรยี นรูของชุมชนใหเกิดประโยชน สูงสดุ ประเภทของแหลง เรียนรู 1. ประเภทของแหลงเรยี นรู แบงตามลักษณะกายภาพและวัตถุประสงค เปน 5 กลมุ ดงั น้ี 1) กลุมบริการขอมูล ไดแก หองสมุด อุทยานวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อ การศกึ ษา ศูนยก ารเรียน สถานประกอบการ 2) กลุมงานศลิ ปวัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร ไดแก พพิ ิธภัณฑ อุทยานประวัติศาสตร อนุสรณสถาน อนสุ าวรยี  ศูนยว ฒั นธรรม หอศิลป ศาสนสถาน 3) กลุมขอมูลทองถิ่น ไดแก ภูมิปญญา ปราชญชาวบาน ส่ือพ้ืนบาน แหลง ทอ งเทย่ี ว 4) กลุมสื่อ ไดแก วิทยุ วิทยุชุมชน หอกระจายขาว โทรทัศ น เคเบิลทีวี สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกสอ ินเทอรเน็ต หนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส (e-book) 22 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธุ์

18 5) กลุมสันทนาการ ไดแก ศูนยกีฬา สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร ศนู ยน นั ทนาการ 2. ประเภทของแหลง เรยี นรู จําแนกตามลักษณะ มี 6 ประเภท ดังนี้ 1) แหลงเรียนรูประเภทบุคคล หมายถึง บุคคลท่ีมีความรู ความสามารถ ในดาน ตาง ๆ ท่ีสามารถถายทอดความรู ท่ีตนมีอยูใหผูสนใจ หรือผูตองการเรียนรู ไดแก บุคคลที่มี ทักษะ ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพตาง ๆ รวมท้ังผูอาวุโส ที่มีประสบการณ พัฒนาเปน ภมู ิปญญาทองถิ่น ปราชญชาวบา น ภมู ิปญญาชาวบา น และภมู ิปญญาไทย 2) แหลงเรียนรูประเภทธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ และ ใหป ระโยชนตอ มนุษย เชน ดิน น้ํา อากาศ พืช สัตว ปาไม แรธ าตุ เปนตน แหลงเรียนรูประเภท น้ี เชน อุทยาน วนอุทยาน เขตรักษาพันธุสัตวปา สวนพฤกษศาสตร ศูนยศึกษาธรรมชาติ เปนตน 3) แหลง เรยี นรปู ระเภทวตั ถแุ ละสถานท่ี หมายถึง อาคาร ส่ิงกอสราง วัสดุอุปกรณ และ สิ่งตาง ๆ เชน หองสมุด ศาสนสถาน ศูนยการเรียน พิพิธภัณฑ สถานประกอบการ ตลาด นิทรรศการ สถานที่ทางประวัติศาสตร เปน ตน 4) แหลงเรียนรูประเภทส่ือ หมายถึง ส่ิงท่ีติดตอใหถึงกัน หรือชักนําใหรูจักกัน ทําหนาที่เปนส่ือกลางในการถายทอดเนื้อหา ความรู ทักษะและเจตคติ ไปสูทุกพ้ืนที่ของโลก อยางท่วั ถงึ และตอ เนื่อง ทงั้ สือ่ ส่ิงพิมพ และส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส ทม่ี ที ้ังภาพและเสียง 5) แหลงเรียนรูประเภทเทคนิค ส่ิงประดิษฐคิดคน หมายถึง ส่ิงท่ีแสดงถึง ความกาวหนาทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมดานตาง ๆ ซ่ึงเปนสิ่งประดิษฐคิดคน หรือทําการ พัฒนาปรับปรุง ชวยใหมนุษยเรียนรูถึงความกาวหนา เกิดจินตนาการ แรงบันดาลใจในการ สรา งสรรคทัง้ ความคิด และสิ่งประดษิ ฐตา ง ๆ 6) แหลงเรยี นรูประเภทกจิ กรรม หมายถึง การปฏิบัติการดานวัฒนธรรม ประเพณี ตา ง ๆ การปฏบิ ัตงิ านของหนว ยราชการ ตลอดจนความเคล่ือนไหว เพ่อื แกป ญ หา และปรับปรุง พัฒนาสภาพตาง ๆ ในทอ งถิ่น การเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ เหลานี้ จะทําใหเกิดการ เรียนรูที่เปนรูปธรรม เชน ประเพณีงานทอดกฐิน งานบุญ การรณรงคปองกันยาเสพติด การสงเสริมการเลือกต้งั ตามระบอบประชาธิปไตย การรณรงคความปลอดภัยของเด็กและสตรี ในทองถ่ิน เปน ตน ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 23 สำ� นกั งาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ

19 เรือ่ งที่ 2 การเขาถงึ และการเลือกใชแ หลงเรยี นรู การเขาถงึ และการเลอื กใชแ หลงเรยี นรู แหลงเรียนรูรอบตัวเรามีหลากหลายประเภท การท่ีจะเขาถึงแหลงเรียนรูตามที่ ตอ งการ และนําความรูไปปฏิบัติ เพื่อประโยชนของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ผูเรียนตอง ทราบความตองการของตนเองกอน เปน อนั ดับแรก 1. เลือกใชแหลงเรียนรูท่ีอยูใกลบาน และชุมชนกอน เพ่ือประหยัดคาใชจายและ เวลาที่ใช ในการเดินทาง นอกจากนี้ แหลงเรียนรูในชุมชนใหความรูเก่ียวของกับวิถีชีวิต มากกวา แหลง เรยี นรทู ั่วไป 2. ควรศกึ ษาการดาํ เนนิ งานของแหลงเรียนรนู ัน้ ๆ ดังนี้ 1) องคความรทู ่มี ใี นแหลง เรียนรูนัน้ คอื อะไร 2) กลุมเปา หมายของแหลงเรียนรู คอื ใคร 3) รปู แบบ เทคนิค วธิ ีการในการจดั การเรียนรู มีวิธีการอยางไร 4) แหลงเรียนรูน้ัน ดําเนินการโดยมวี ัตถุประสงค เพื่ออะไร 5) อนื่ ๆ เชน คา ใชจ าย คาธรรมเนียมการใชแหลงเรยี นรู กฎเกณฑ ระเบยี บ ในการใชแหลง เรียนรู เปน ตน 3. ควรศกึ ษาขอ ดี ขอ เสยี ขอ จาํ กดั ของแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ 4. ควรวางแผนการเรียนรู หรอื วางแผนการใชแหลง เรียนรู ดังนี้ 1) วางแผนการเดินทาง กรณแี หลง เรยี นรอู ยูไ กล 2) วางแผนเตรียมการ เรื่องวัสดุ เครื่องมือ อุปกรณการเรียนรู เชน ดินสอ ปากกา กลองถายรูป เทปบนั ทึกเสยี ง เปนตน 5. ควรพัฒนาทกั ษะในการใชสื่อการเรยี นรปู ระเภทตาง ๆ เนื่องจากปจจุบัน มีการ ใชสื่อท่ีหลากหลายขึ้น นอกจากครูผูสอนและหนังสือแลว ยังมีส่ือประเภทอ่ืน ๆ อีก เชน ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส คอมพิวเตอร อนิ เทอรเน็ต 6. ควรเรียนรแู บบบรู ณาการความรทู ี่เก่ียวของตาง ๆ เขากับความรูท่ีไดจากแหลง เรียนรู 24 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธุ์

20 7. ควรจดบนั ทึก เกบ็ รวบรวมขอ มลู สือ่ การเรียนรู แลวนํามาจัดหมวดหมูอยางเปน ระบบ 8. ควรสรุปองคความรู ที่ไดจากการเรียนรูในแหลงเรียนรู และประเมินตนเองวา ตรงกับวัตถปุ ระสงคท ี่ต้ังไวหรือไม ประโยชนของแหลง เรยี นรู การเรียนการสอนโดยใชแ หลงเรียนรู มีประโยชนหลายดา น ดงั น้ี 1. เปนแหลงรวมขององคความรูอันหลากหลาย พรอมจะใหผูเรียนเขาไปศึกษา คนควา ดว ยกระบวนการจัดการเรียนรู ท่ีแตกตางกันของแตละบุคคล และเปนการสงเสริมการ เรียนรตู ลอดชีวิต 2. เปน แหลงเช่อื มโยงใหส ถานศกึ ษา และชมุ ชนมีความสมั พันธและใกลชดิ กัน ทําใหคนในชมุ ชนมีสว นรวมจัดการศกึ ษาแกบุตรหลานของตน 3. เปนแหลงเรียนรูท่ีทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีความสุข เกิดความ สนกุ สนาน และมคี วามสนใจท่ีจะเรยี น ไมเ กดิ ความเบื่อหนา ย 4. ทาํ ใหผูเ รียนเกดิ การเรียนรจู ากการไดคิด ไดปฏิบัติ และสรางความรูดวยตนเอง ขณะเดยี วกัน ก็สามารถเขา รว มกิจกรรมและทํางานรว มกับผอู ืน่ ได 5. ทําใหผ ูเรยี นไดร บั การปลูกฝงใหร ู และรกั ทองถ่นิ ของตนเอง มองเห็นคุณคาและ ตระหนักถึงปญหาในชุมชนของตน พรอมที่จะเปนสมาชิกที่ดีของชุมชนทั้งในปจจุบันและ อนาคต ทักษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 25 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธุ์

21 เร่ืองที่ 3 บทบาทหนาทแ่ี ละการบรกิ ารของแหลง เรียนรู บทบาทและหนาท่ขี องหองสมุด หอ งสมุดประชาชน มีบทบาทหนา ทแี่ ละบรกิ าร ดงั นี้ 1. บทบาทและหนา ทที่ างการศึกษา หองสมุดประชาชนเปน แหลงใหก ารศกึ ษานอก ระบบโรงเรยี น มหี นา ท่ใี หการศึกษาแกประชาชนทว่ั ไป ทกุ ระดบั การศกึ ษา 2. บทบาทและหนาที่ทางวัฒนธรรม หองสมุดประชาชนเปนแหลงสะสมมรดกทาง ปญ ญาของมนุษย ถา ยทอดเปน วัฒนธรรมทองถิ่นทีห่ องสมุดตัง้ อยู 3. บทบาทและหนาที่ทางสังคม หองสมุดประชาชนเปนสถาบันสังคม ไดรับเงิน อุดหนนุ จากรฐั บาลและทอ งถิน่ มาดําเนนิ กจิ กรรม จงึ มหี นาท่ีแสวงหาขาวสารขอมูล ที่มีประโยชน มาบริการประชาชน 4. สวนการใหบริการ หองสมุดประชาชนใหบริการภายในหองสมุดและภายนอก หอ งสมดุ บริการท่ีสําคัญมี ดังน้ี 1) บริการอา น เปนบริการ เพ่ือใหผูใชไดคนควา หาความรูภายในหองสมุด จาก วัสดหุ อ งสมดุ ทุกชนิด ตามความตอ งการ และความสนใจของแตละคน โดยการอา น ดู และฟง 2) บรกิ ารยืม – คืน คือ การอนุญาตใหผูใช ที่เปนสมาชิกของหองสมุด ยืมวัสดุ ออกจากหองสมุดได ตามระเบียบการใหบรกิ ารยืม - คืน ทห่ี องสมดุ ไดกําหนดไว 3) บริการหนังสอื อา งองิ 4) บริการเอกสารสนเทศ หรือบริการตอบคําถามและชวยคนควา มีทั้งบริการ ตอบคาํ ถาม ทัว่ ๆ ไป และคาํ ถามวิชาการทต่ี อ งใชเ วลาคนควา 5) บริการใหข อ มูลเก่ยี วกับเอกสารการวิจัย หรือบรรณานุกรม ประกอบหลักสูตร การศึกษาพ้ืนฐานและการศึกษาอ่ืน ๆ 6) บรกิ ารสอนการใชหองสมุด ฝกปฏิบัติงานเก่ียวกับการใชหองสมุดแกนักเรียน นักศกึ ษาและผูส นใจทัว่ ไป 7) บริการสืบคนสารนิเทศ คือ การสืบคนขอ มูล ขาวสาร ขอเท็จจริงตาง ๆ อยาง ละเอยี ดลึกซ้ึง โดยมุงเนนใหผูใชไดรับสารนิเทศอยางสะดวก ถูกตอง รวดเร็ว ตามความตองการ โดยการสืบคนขอ มลู ภายในหองสมุด หรือสบื คน ขอมลู แบบออนไลน 26 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ

22 8) บริการหองสมุดเคลื่อนท่ี (Mobile Library Service) คือ การจัดทําหองสมุด เคลอื่ นทไ่ี ปใหบรกิ ารตามสถานทีต่ า ง ๆ หรือทองถ่ินหางไกล ท่ีประชาชนมาใชหองสมุดไมสะดวก เปนการใหบรกิ ารภายนอกหองสมดุ เรื่องท่ี 4 กฎ กตกิ า เง่ือนไขตาง ๆ ในการขอใชบริการแหลงเรยี นรู แหลงเรียนรูตาง ๆ ไมวาจะเปนศูนยการเรียนรูชุมชน หรือหองสมุด เปนหนวยงาน บริการท่ีเก่ียวของกับผูใชจํานวนมาก ดังน้ัน เพื่อใหเกิดความเปนธรรมแกผูรับบริการ แหลง เรียนรูจึงตองมีระเบียบ เพ่ือใหทุกคนปฏิบัติ อันจะทําใหเกิดความเสมอภาค ในขณะเดียวกัน ผูรับบริการก็จะตองมีมารยาทใหเกียรติแกสถานที่ดวย มารยาทในการใชแหลงเรียนรู จึงเปน ส่ิงจําเปน ที่จะตองไดรับความรวมมือจากผูเขาใชบริการ เพ่ือใหบรรยากาศในแหลงเรียนรูมี ความเรียบรอย นา เขาใชบรกิ าร ระเบยี บและมารยาทการใชแหลง เรยี นรู หมายถงึ ขอ บังคบั ใหปฏบิ ตั ิ หรือขอ พึงปฏิบัติ ซึ่งเกิดจากจิตสํานึกท่ีดี ในการปฏิบัติตนของผูใชบริการ เพื่อความสงบ เรียบรอย เมื่อเขาใช บรกิ าร กฎ กตกิ า การเขาใชบ ริการหองสมุด มีขอควรปฏบิ ตั ิ ดังน้ี 1. สมคั รเปนสมาชิกหองสมุดประชาชน โดยไมเสียคาใชจาย และนําบัตรประจําตัวไป ดวยทกุ ครั้ง 2. แตง กายสุภาพเรียบรอย 3. ไมค วรคยุ หรือสง เสียงดงั ในหอ งสมดุ 4. ใชหองสมุดเพื่อการศึกษา คนควาอยางแทจริง หามใชเพื่อการอื่น เชน รบั ประทานอาหาร นอนหลับ หรอื ทํากิจกรรมกลุมโดยไมไ ดร ับอนุญาต เปน ตน 5. ไมค วรนาํ กระเปา หรอื สมั ภาระเขา ไปในหอ งสมดุ 6. กอนนําหนังสือออกจากหองสมุด ตองใหเจาหนาที่ตรวจหลักฐานการยืมกอน ทุกครัง้ 7. หนังสอื ทอี่ า น หรอื ใชแลว ใหน ําไปเกบ็ บนชั้นพกั หนงั สอื ท่เี ตรยี มไวให 8. เมอ่ื ลุกจากทนี่ ง่ั อานหนงั สือ ควรเล่ือนเกา อเี้ ก็บใหเรยี บรอย ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 27 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธ์ุ

23 เรื่องที่ 5 ทักษะการใชข อ มูลสารสนเทศจากหอ งสมดุ ประชาชน หองสมุดเปนแหลงรวบรวมความรู ทุกประเภท ทุกแขนง เปน ขุมทรพั ยแ หงความรู ที่มี คณุ คามหาศาล ผทู ี่ใชหอ งสมุดเปนประจาํ จะเปน คนทีม่ ีความรอบรู ในเรื่องตาง ๆ ท่ีลึกซ้ึงและ กวางไกลทันเหตุการณ หองสมดุ ยังชว ยปลกู ฝง นสิ ัยรักการอาน เกิดทักษะในการแสวงหาความรู ดว ยตนเอง ทาํ ใหเ ปน บุคคลแหง การเรยี นรู อยา งไรก็ตาม แมว า จะใชหอ งสมุดเปน ประจาํ มีการสืบคนขอมูลตาง ๆ อยูเสมอ ก็จะ ไมไดประโยชนอยางเต็มที่ หากผูสืบคนไมมีระบบจัดเก็บขอมูล ไมมีการนําขอมูลเหลานั้นมา นาํ เสนอในรปู แบบ ทเี่ รยี กกันวา รายงาน การเตรยี มตัวกอ นไปหองสมดุ กอ นไปใชบริการหอ งสมุด ควรเตรยี มตวั ดังน้ี 1. วางแผนการใชเวลาของตนเอง 2. เตรียมปากกา สมดุ จดขอ มูล 3. เตรยี มประเดน็ ความรทู ่ตี องการ 4. เตรียมบตั รประชาชน บตั รสมาชิกหอ งสมุดไปดวย การเรยี นรใู นหอ งสมดุ การเรยี นรใู นหองสมุด ควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ปฏิบตั ติ นตามระเบยี บของหองสมดุ และมีมารยาทในการใชหอ งสมดุ 2. เลือกหนังสือที่ตองการ หากไมทราบวาอยูท่ีใด ใหถามบรรณารักษ หรือ เจาหนาทีห่ อ งสมุด 3. จดบนั ทกึ ความรทู ี่ได 4. จดช่ือหนังสือ ช่ือผูแตงหนังสือ ป พ.ศ. ที่พิมพ สถานที่พิมพ จํานวนหนา เลขหนาท่ีอา น เพ่อื ใชอ า งอิงความรู 28 ทักษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ

24 วิธกี ารสบื คน ขอ มูลสารสนเทศจากหอ งสมดุ การเขา ถงึ ขอมูลรวมของส่ือตาง ๆ ท่ีใหบ ริการในหองสมุด สามารถสืบคนได 2 วิธี คือ การสบื คน ดว ยคอมพวิ เตอร การสบื คน ดว ยตบู ัตรรายการ 1. การสืบคนดวยคอมพิวเตอร หองสมุดประชาชนจัดเครื่องคอมพิวเตอรไวบริการ สืบคนส่ือทต่ี องการและสนใจ โดยใชโปรแกรมบริการงานหองสมุด หรือ PLS (Public Library Service) ที่สามารถคนหาไดจากชื่อหนังสือ/ส่ือ ช่ือผูแตงหรือผูจัดทํา และหัวเรื่อง หรือคํา สําคัญ ทเ่ี ปน สาระหลกั ของส่อื การเตรยี มตวั กอ นการคน หา 1. ผูคนตองทราบวาตนเอง ตองการคนหาขอมูลเกี่ยวกับเรื่องใด และตองมี ขอมูลประกอบในการคนหา เชน ช่ือผูแตง ช่ือส่ิงพิมพ หากไมรูชื่อผูแตง ช่ือส่ิงพิมพ ควรกาํ หนดคาํ คน หรอื หัวเรื่องท่จี ะใชคนหา เปนตน 2. ตองรจู กั วิธกี ารใชฐ านขอมูล หรอื เครอ่ื งมือที่ใชคนหา และรูจักวิธีการจัดการ ผลลพั ธ เชน การบนั ทกึ การส่งั พิมพ การสง ขอมลู ทาง E-mail การจดั การรายการบรรณานกุ รม เปน ตน 3. ตองรูจักวิธีการใชหองสมุดและการหาหนังสือบนชั้น ผูคนตองรูวิธีการใช หองสมุด 4. เรียนรู กฎ กติกา มารยาทในการใชแหลงสารสนเทศ ฐานขอมูล หรือ เคร่อื งมือคน หา เนื่องจากปจ จบุ นั มีผูใชบรกิ ารบางสวน ยงั ใชห องสมุดไมเ ปน ไมรจู กั ระเบยี บฯ วิธกี ารสืบคน ขอ มูลโดยท่ัวไป เปน การคน หาสารสนเทศอยา งงา ย ๆ ไมซับซอน โดยใชค ําโดด ๆ หรือผสมเพียง 1 คาํ สบื คนขอมลู โดยสว นใหญการคน หาแบบงา ยจะมที างเลือกในการคนหา ไดแ ก 1. ชื่อผูแตง เปนการคนหาโดยใชชื่อของบุคคล กลุมบุคคล หรือช่ือหนวยงาน/ องคก รที่เปน ผแู ตง หรือเขียนหนงั สอื บทความ งานวิจัย วิทยานพิ นธ หรือทรัพยากรสารสนเทศ นนั้ ๆ ซึ่งมีหลกั การคน หางาย ๆ ดงั นี้ ช่ือผแู ตง คนไทย เปน การคนหาชือ่ บุคคล ใหตัดคํานําหนาช่ือออก หรือหาก เปนบุคคลท่ีมีบรรดาศักด์ิหรือฐานันดรศักดิ์ ใหคนดวยช่ือ และตอทายดวยบรรดาศักด์ิหรือ ฐานนั ดรศกั ดิ์ เชน ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 29 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธ์ุ

ชื่อออก) 25 - นางสาวอษุ า เทยี นทอง ช่ือทใ่ี ชคน อุษา เทยี นทอง (ใหต ัดคํานําหนา - ม.ร.ว. คกึ ฤทธิ์ ปราโมช ชือ่ ทีใ่ ชค น คกึ ฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (ใหเอาบรรดาศกั ด์ิ หรือฐานันดรศกั ดิ์ มาตอ ทา ยชอ่ื ) ผูแ ตง ที่เปนหนวยงาน/องคก ร ใหค นหาตามชอ่ื หนวยงาน หรือชื่อองคกรนั้น เชน การคนหาชื่อหนวยงาน ท่ีมีท้ังหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหคนหาโดยใชช่ือ หนวยงานใหญก อน แลว ตามดว ยชอ่ื หนว ยงานยอย ถาเปน ชอื่ ยอ เม่ือคน หาใหใ ชช ่ือเต็ม เชน - สาํ นกั วิทยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน ชอ่ื ท่ีใชคน คือ มหาวิทยาลัยขอนแกน. สาํ นกั วิทยบริการ - ททท. ชื่อทใ่ี ชคน คอื การทอ งเท่ียวแหง ประเทศไทย 2. ชื่อเร่ือง เปนการคนหาขอมูล ดวยช่ือเร่ือง เชน ชื่อหนังสือ นวนิยาย ชื่อ งานวิจยั การคนโดยใชช่ือเร่ืองน้ี เปนการคนหาแบบเจาะจง ดังนั้น ผูคนตองรูจักช่ือเรื่อง เชน เรื่อง การดูแลสขุ ภาพผสู ูงอายุ อนิ เทอรเ น็ตสําหรับผเู ริม่ ตน เปนตน 3. คําสําคัญ เปนการคนหาดวยคํา หรือวลีที่กําหนดขึ้นมา เพ่ือใชแทนเร่ืองท่ี ตองการคนหา โดยทั่วไปคําสําคัญจะมีลักษณะ ส้ัน กะทัดรัด ไดใจความ มีความหมาย เปนคาํ นามหรอื เปน ศัพทเ ฉพาะในแตล ะสาขาวชิ า เชน หนังสือ เรื่อง สมุนไพรในอุทยานแหงชาติภาคใต คําสําคัญที่ใชคน ไดแก “สมนุ ไพร”หรือ “อุทยานแหงชาติ” หรือ “ภาคใต” 2. การสืบคนดวยตูบัตรรายการ โดยหองสมุดประชาชนจัดทําบัตรรายการของสื่อ ความรูทกุ ประเภท ทกุ ชนิด ลงในบัตรรายการใสไวในลิ้นชักของตูบัตรรายการ โดยจัดแยกเปน หมวดหมูไว ระบบหมวดหมูที่ใชกันมาก คือ ระบบทศนิยม ดิวอ้ี ซ่ึงมีการจัดหมวดหมูหนังสือ ดงั น้ี 000 เบด็ เตล็ดหรือความรทู ่ัวไป 100 ปรัชญา 200 ศาสนา 300 สงั คมศาสตร 400 ภาษาศาสตร 500 วิทยาศาสตร 30 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ

26 600 วิทยาศาสตรประยุกตและเทคโนโลยี 700 ศลิ ปกรรมและการบันเทิง 800 วรรณคดี 900 ประวัตศิ าสตรแ ละภมู ศิ าสตร กิจกรรมทา ยบทท่ี 2 1. ใหผเู รียนสาํ รวจ และศึกษาแหลง เรียนรูท ่มี ใี นชุมชน (ตําบล/อาํ เภอ) ของผเู รยี น แลวสรุปความรูท่ไี ดจากแหลงเรยี นรนู ้นั ๆ ที่ ช่อื แหลงเรยี นรู ประเภทแหลงเรียนรู ความรูที่ไดจ ากแหลง เรียนรู 1 2 3 4 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 31 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์

27 2. ใหผเู รียนบอกกฎ กติกาการใชห องสมดุ ประชาชน และแหลงเรียนรูอนื่ ๆ อยางนอ ย 4 ขอ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. ใหผเู รยี นบอกประเภทของแหลงเรยี นรู และขอแตกตางของแหลงเรียนรูแ ตล ะประเภท ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 4. ใหผ เู รยี นยกตวั อยาง ประเภทของแหลง เรียนรทู เี่ กีย่ วขอ งกับอาชพี ในชมุ ชนของตน ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 32 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสินธ์ุ

28 บทที่ 3 การจัดการความรู ในปจจุบันและอนาคต โลกปรับตัว เขาสูการเปนสังคมแหงการเรียนรู ซึ่งความรู กลายเปนปจจัยสําคัญ ในการพัฒนาคน ทําใหคนสามารถ แสวงหาความรู พัฒนาและสราง องคความรูอยางตอเน่ือง เพื่อนําพาตนเอง สูความสําเร็จ การจัดการความรู จึงมีลักษณะ กจิ กรรมเปน วงจรเรยี นรู ตอ เน่ืองสม่ําเสมอ เปา หมายการจัดการความรูคือ การพัฒนางาน และ พัฒนาคน เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และหลักการของการจัดการความรู ความหมายของการจดั การความรู การจัดการความรู (Knowledge Management) หมายถึง การจัดการกับความรู ประสบการณ ท่มี อี ยูใ นตวั คน และนาํ ความรูมาแบงปน ใหเกิดประโยชนตอตนเองและองคกร ดว ยการผสมผสานความสามารถของคนเขาดวยกันอยางเหมาะสม มีเปาหมายเพ่ือการพัฒนา งาน พัฒนาคน และพฒั นาองคกรใหเปน องคก รแหงการเรยี นรู ความสําคัญของการจดั การความรู การจดั การความรทู ่มี ีอยูในตวั บุคคล โดยเฉพาะบคุ คลที่มีประสบการณในการปฏิบัติงาน จนประสบผลสําเร็จ กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวางคนกับคน หรือกลุมกับกลุม จะกอใหเกิดการยกระดับความรู ท่ีสงผลตอเปาหมายของการทํางาน น่ันคือ เกิดการพัฒนา ประสิทธิภาพของงาน คนเกิดการพัฒนาและสงผลตอเน่ืองไปถึงองคกร เปนองคกรแหงการ เรยี นรู ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 33 สำ� นักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ

29 หลกั การของการจดั การความรู การจดั การความรเู พอ่ื ใหบรรลุเปาหมายเรื่องใดเรอ่ื งหนงึ่ มีหลักการสาํ คัญ 4 ประการ คือ 1. ใหค นหลากหลาย ท้ังดานทักษะ วธิ ีคิด มาทาํ งานรว มกันอยา งสรางสรรค 2. รวมกันพัฒนาวิธกี ารทาํ งานรปู แบบใหม ๆ 3. ทดลองและเรียนรู เพื่อใหไ ดวิธีการทํางานแบบใหม 4. นาํ เขา ความรจู ากภายนอกอยางเหมาะสม โดยผนวกกบั ความรูเดิม เปนความรู ใหมท่ตี นเองตอ งการ เร่ืองท่ี 2 กระบวนการจดั การความรู กระบวนการจัดการความรู เปนกระบวนการแบบหน่ึง ที่จะชวยใหองคกรเขาใจถึง ขั้นตอนทที่ าํ ใหการจดั การความรู หรอื พฒั นาการของความรู ที่จะเกิดข้นึ ภายในองคกร รูปแบบการจดั การความรู การจัดการความรมู ี 2 รปู แบบ คอื รูปแบบปลาทู และรปู แบบปลาตะเพยี น 1. รูปแบบปลาทู (โมเดลปลาท)ู ประกอบดวย การจัดการความรู 3 สวน คือ สวน หวั เปนการกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน สวนตัว เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรู และสวนหาง เปน ความรูท่ไี ดจ ากการแลกเปล่ียนเรยี นรู 2. รูปแบบปลาตะเพยี น (โมเดลปลาตะเพยี น) เปนการจัดการความรูของกลุมหรือ องคกร ปลาตัวใหญ เสมือนวิสัยทัศน พันธกิจขององคกร ปลาตัวเล็กทั้งหลาย เสมือน เปาหมายของการจัดการความรู ทม่ี งุ ตอบสนองเปา หมายใหญข ององคก ร ซ่งึ มีทศิ ทางเดียวกัน กระบวนการจดั การความรดู ว ยการปฏบิ ตั ิการกลมุ กระบวนการจดั การความรใู นองคกร มี 7 ขน้ั ตอน ดงั นี้ 1. การบงชค้ี วามรู เปน การพจิ ารณาวา เปา หมายการทาํ งานคอื อะไร 2. การสรา งและแสวงหาความรู เปนการจัดบรรยากาศ และวัฒนธรรมเพ่ือเอื้อให แลกเปล่ียนเรียนรซู ง่ึ กนั และกัน 34 ทักษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธุ์

30 3. การจัดความรูใหเ ปน ระบบ เปนการจัดทําสารบัญ และจัดเก็บความรู เพ่ือให นาํ มาใช ไดง าย และรวดเร็ว 4. การประมวลและกล่นั กรองความรู เปน การปรับปรงุ ความรู ใหอานแลวเขาใจ งา ย 5. การเขาถึงความรู เปนการเผยแพรความรู เพ่ือใหผูอื่นเขามาใชงานไดงาย สะดวก เชน เว็บบอรด จัดบอรด เปนตน 6. การแบงปนแลกเปล่ียนความรู หากเปนความรูเดนชัด อาจทําเปนเอกสาร สาํ หรบั ความรูท ่ีฝง ลกึ อาจทาํ ในลกั ษณะเปน ชมุ ชนแหง การเรยี นรู 7. การเรียนรู การเรียนรูของบุคคลทําใหเกิดความรูใหม ๆ ซึ่งจะไปเพิ่มองค ความรขู ององคก รใหม ากข้ึนเรื่อย ๆ เปน วงจรแหงการเรยี นรู เรือ่ งที่ 3 กระบวนการจดั การความรดู ว ยตนเอง ทกั ษะในการจัดการความรดู ว ยตนเอง การเรียนรูเพ่ือใหเกิดการจัดการความรูดวยตนเอง ตองเริ่มจากการคิด แลวลงมือ ปฏิบัติ การปฏิบัติจะทําใหจดจําไดแมนยํากวา และมีการบันทึกความรูระหวางปฏิบัติไวใช ทบทวน หรือใหผูอ่ืนนําไปปฏิบัติตามได ขั้นสุดทาย ใหยอนกลับไปทบทวนกระบวนเรียนรู เพ่ือตรวจหาจุดบกพรองและปรบั ปรงุ พฒั นาจุดบกพรอ งน้ันใหได ทกั ษะในการจัดการความรดู ว ยตนเอง สามารถฝกได ดังนี้ 1. ฝกสงั เกต เพ่อื เขาใจเหตุการณ 2. ฝก ตง้ั คําถาม ดวยคําถามวา ทําไม อยา งไร เพื่อหาคาํ ตอบเอง หรือใหผอู ่ืนตอบ จะทําใหไดขยายความคิด ความรู ใหล กึ และกวา งขึ้น 3. ฝกแสวงหาคําตอบ และรแู หลง ขอ มูลที่จะคนควา 4. ฝกบนั ทกึ เพ่ือการเขา ใจของตนเอง และใหผูอ่ืนเรียนรูได ท้ังที่บันทึกเปนภาพ จดบันทกึ หรอื บนั ทึกแบบอืน่ ๆ 5. ฝกการเขียน เพ่ือเปน งานเขียน (เอกสาร) สําหรับใหผูอ่ืนศึกษา กระจายไปใน วงกวาง ทกั ษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 35 สำ� นกั งาน กศน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ

31 ตัวอยา งการจดั การความรดู วยตนเองของพอจนั ทรท ี ประทมุ ภา กระบวนการ คําอธบิ าย ตวั อยางการปฏบิ ตั ิ 1. ความรูหลกั ที่ เปน การกําหนดความรูหลกั พอ จนั ทรที ประทุมภา มปี ญ หาการทาํ เกษตร จาํ เปนตองาน/ เปน การคนหาความรู เพอ่ื เชิงเด่ียว จงึ คดิ หาทางทาํ เกษตรแนวอ่ืน แลว หา กิจกรรม แกป ญ หาและพัฒนาตนเอง ความรหู ลัก เรอ่ื ง การทาํ เกษตรผสมผสาน 2. เสาะแสวงหา เปนการเสาะแสวงหาความรู พอจนั ทรท ี ประทมุ ภา ไปแสวงหาความรจู าก เฉพาะ จากผูม ปี ระสบการณ พอ ผาย สรอ ยสระกลาง ปราชญช าวบา น ความรู โดยแลกเปลย่ี นเรียนรู เรื่อง การทําเกษตรผสมผสาน เชือ่ มโยงกบั ประสบการณเดมิ ของตน เพ่อื ใหเกดิ ความรู ใหม 3. ประยกุ ตใช นาํ ความรูท ี่เสาะแสวงมา เม่อื พอ จันทรที ประทมุ ภา เขา ใจหลักการ ความรู ประยกุ ตใ ชใหเหมาะสม จัดการพ้นื ท่เี พ่ือทําเกษตรผสมผสานแลวจึง วางแผนจดั การในพื้นท่ขี องตน 4. การแลกเปล่ียน แลกเปล่ยี นความรูกับบุคคล พอ จันทรท ี ประทุมภา แลกเปล่ยี นความรูกับ ความรู อนื่ ท่ีสนใจ เกษตรกรคนอ่ืน ๆ ทีส่ นใจเรอ่ื งน้ี และเปน วทิ ยากรใหความรกู ับผทู ่ีสนใจ 5. พฒั นาความรู วธิ ีการตอยอดพัฒนาความรู พอจนั ทรท ี ประทมุ ภา เปนผมู ีความรเู รอ่ื ง มี 2 รูปแบบ เกษตรผสมผสานจากการปฏบิ ัตแิ ละแลกเปลีย่ น 1) การศกึ ษาดวยตนเอง ความรอู ยางตอ เนอ่ื ง ทาํ ใหมคี วามรเู พม่ิ มากขน้ึ จากเอกสาร หรอื สอ่ื ตา ง ๆ เรือ่ ย ๆ จนเปนปราชญช าวบานแหง เมอื งโคราช 2) การแลกเปลย่ี นเรยี นรู ระหวา งคนหนงึ่ ไปอกี คน หนึง่ เพื่อเตมิ เตม็ ความรูเ ดิม 36 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์

32 เร่ืองที่ 4 กระบวนการจดั การความรูดวยการปฏบิ ตั กิ ารกลมุ ในชุมชนมีปญหาซับซอน ท่ีคนในชุมชนตองรวมกันแกไข การจัดการความรูจึงเปน เรื่องท่ีทุกคนตองใหความรวมมือ และใหขอเสนอแนะเชิงสรางสรรค การรวมกลุม เพอ่ื แกปญหาหรือรวมมือกันพัฒนาโดยแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน เรียกวา “ชุมชนนักปฏิบัติ” (Community of Practice : CoPs) หรืออาจจะเรียกวา “ชุมชนแหง การเรียนรู” หรือ “ชุมชน ปฏบิ ัติการ” รปู แบบของ CoPs ทใี่ ชในการจัดการความรู กระบวนการจัดการความรูโดยใชกระบวนการกลุม เปนกระบวนการท่ีคนในกลุม เรียนรูจากประสบการณการทํางานรวมกัน เมื่อบุคคลท่ีประสบความสําเร็จนําความรูมา แลกเปล่ียนกัน ทาํ ใหค นท่ีไมร แู ละคนที่รูบา งไดเพ่มิ พนู ความรู และนาํ ความรไู ปปฏิบตั ไิ ด การดึงความรูที่ฝงลึกอยูในตัวบุคคลออกมา แลวสกัดเปนขุมความรู จําเปนตองมีคน กลาง ท่สี งเสรมิ ใหเกิดกระบวนการแลกเปลย่ี นเรียนรู 4 คน ไดแก 1. คุณเอือ้ (เออื้ ระบบ) เปน ผูนําระดบั สูงขององคกร มีหนาที่ ทําใหการจัดการความรู เปนวิถีเดียวกับการปฏิบัติงานตามปกติขององคกร และเปดโอกาสใหทุกคนขององคกร นาํ วิธกี ารทํางานของตน มาแบงปนและแลกเปล่ียนกับเพ่ือนรวมงาน ประการสุดทาย คุณเอื้อ ตอ งหากศุ โลบายทจี่ ะทาํ ใหว ิธกี ารนน้ั ถูกนําไปใชกนั มากขึ้น 2. คุณอาํ นวย (ผูอาํ นวยความสะดวก) เปน ผูกระตุน ใหเกดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรู และ อาํ นวยความสะดวกตอการแลกเปล่ียนเรยี นรู โดยเฉพาะตอ งทําหนา ทีเ่ ช่ือมโยงคนสองประเภท เขาหากัน คือ คนท่ีมีความรู ประสบการณ และคนที่ตองการเรียนรูและใชความรูเหลานั้น รวมทงั้ ตดิ ตามประเมนิ ผล ความเปลีย่ นแปลงทต่ี องการ 3. คุณกิจ (ผูปฏิบัติงาน) ซ่ึงเปนผูจัดการความรูตัวจริง เน่ืองจากเปนผูกําหนด เปาหมาย คน หา แลกเปลีย่ นเรยี นรูภ ายในกลมุ และพรอ มจะดดู ซบั ความรูจากภายนอกมาปรับ ใช ใหบรรลุเปาหมายทตี่ ง้ั ไว และหมนุ เวยี น ตอ ยอดความรอู ยางตอ เน่อื งไมมีที่สน้ิ สดุ 4. คุณลิขิต (ผูจดบันทึก) ทําหนาท่ีบันทึก และจัดเก็บความรูใหเปนคลังความรูของ องคกร ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 37 สำ� นกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสินธุ์

33 การทํา CoPs เพอ่ื จัดการความรู ชุมชนนักปฏิบัติ เกิดจากกลุมคนท่ีมีเครือขายสัมพันธท่ีไมเปนทางการ ซ่ึงจะเอ้ือตอ การเรยี นรูและสรางความรูใหม ๆ โดยเนน เรียนรูรวมกันจากประสบการณการทํางานเปนหลัก เพ่ือนํามาใชพัฒนางาน การปฏิสัมพันธกันระหวางบุคคล ทําใหเกิดการถายทอด แลกเปลี่ยน ความรูฝ งลึก สรา งความรู ความเขาใจไดมากกวาการอา นหนงั สอื หรือการฝกอบรม 1. บนั ทกึ การเลา เรื่อง การถอดความรูฝงลึก ดวยกิจกรรมเร่ืองเลาเราพลัง การเลาเรื่อง เปนเทคนิค ของการใช เร่อื งเลาในกลุมเพ่ือน แบงปนความรู หรือสรางแรงบันดาลใจ ในการพัฒนาการ ปฏิบัติงาน โดยใชภาษางาย ๆ ในชีวิตประจําวัน เลาเฉพาะเหตุการณ บรรยากาศ ตัวละคร ท่ีเก่ียวของกับผูเลา ในขณะท่ีเกิดเหตุการณตามจริง เลาใหเห็นบุคคล พฤติกรรม การปฏิบัติ การคิด ความสัมพนั ธ ขอ สําคัญ ผูเลา ตองไมตคี วามระหวา งเลา ไมใ สค วามคิดของผูเลาระหวาง เลา เร่ืองเม่ือเลา จบแลว ผูฟงสามารถซักถามผูเลาได 2. บนั ทกึ ขมุ ความรู เปน การเกบ็ ความรู ท่ไี ดจากการฟง เรือ่ งเลา แลว นาํ มาเรยี บเรียง จากบนั ทึกของ ผฟู ง หลาย ๆ คน และตรวจสอบใหส อดคลองกัน การบันทึกขุมความรู ควรบันทึกเปนประโยค ทข่ี ้นึ ตนดว ยกรยิ า เปน วิธกี ารปฏิบตั ิ เปนขอความทอี่ า นแลว เขา ใจงา ย 3. บนั ทึกแกนความรู ขุมความรทู ไ่ี ดจ ากเรอื่ งเลา นาํ มาจดั กลมุ ประเภทเดียวกันไวดวยกันแลวต้ังช่ือ ใหม ใหค รอบคลมุ ขุมความรูนั้น 38 ทักษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ

34 เรอ่ื งที่ 5 การสรางองคค วามรู พฒั นา ตอ ยอดและเผยแพรองคค วามรู ในการพัฒนาความรู ยกระดับความรู เพื่อใหเกิดการตอยอดความรูนั้น ความรูจะ เปล่ียนสถานภาพสลบั กนั ไปตลอดเวลา บางคร้งั ความรูทช่ี ดั แจง ซ่ึงอยูในกระดาษ หรือส่ืออ่ืน ๆ ก็แปรสภาพเปนความรูท่ีฝงลึกที่อยูในตัวบุคคล และบางคร้ังความรูท่ีฝงลึกอยูในตัวบุคคล ก็แปรสภาพเปนความรูชัดแจง คอื มกี ารถายทอดความรูออกมา และถูกบันทึกเปนลายลักษณ อักษร เพือ่ ใหค นอ่นื ไดศ กึ ษา การสรางองคค วามรูเพอ่ื พฒั นาตอ ยอดและยกระดับความรู การดําเนินการจดั การความรู ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ดังน้ี 1. กําหนดความรูห ลกั ท่จี ําเปน 2. เสาะหาความรทู ีต่ อ งการ 3. ปรับปรุง ดัดแปลงใหเหมาะกับงานของตนเอง 4. ประยุกตใชความรู 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู และสกัดขุมความรอู อกมาบันทกึ ไว 6. การบันทกึ ขมุ ความรู และแกนความรู เพือ่ ใชป ระโยชน การจดั ทาํ สารสนเทศองคค วามรู สารสนเทศองคความรู เปนการรวบรวมขอมูลที่เปนประโยชนตอการพัฒนางาน พัฒนาคน เพ่ือแบงปน แลกเปลย่ี นเรียนรู และนํามาใชประโยชน ดว ยวธิ กี ารตาง ๆ ดังนี้ 1. บนั ทกึ เรอ่ื งเลา เปนเอกสารรวมเร่อื งเลา ท่บี อกวธิ ีการทํางานใหป ระสบ ความสาํ เรจ็ 2. บันทกึ การถอดบทเรยี น หรือการถอดองคค วามรู เปนการดงึ ความรูฝ ง ลกึ ของ ผปู ฏบิ ัตดิ วยเทคนิค การสนทนากลมุ การทาํ Mind Mapping ฯลฯ แลว บนั ทึกไวเปนเอกสาร 3. วีซดี เี ร่ืองสน้ั เปน การใชเคร่อื งอิเลก็ ทรอนกิ สบ ันทึกเรือ่ งสัน้ ไวบนแผนวีซดี ี 4. คูมือการปฏิบัติงาน เปนเอกสารที่แสดงวิธีการทํางานใหเห็นชัดเจน และมี ตวั อยา งประกอบ อานแลว ปฏิบตั ิได 5. อินเทอรเนต็ เปนสารสนเทศเพื่อการสือ่ สารผา นเว็บไซตตา ง ๆ โดยการบันทึก ความรู ในรปู แบบของเวบ็ เพ็จ เวบ็ บอรด ฯลฯ สามารถเขา ถึงขอ มลู ไดส ะดวก รวดเร็ว ทกั ษะการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 39 ส�ำนักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธุ์

35 กจิ กรรมทายบทที่ 3 1. ใหผเู รียนบอกความหมาย ความสําคัญของการจัดการความรู …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหผ ูเรยี นบอกหลกั การของการจดั การความรู วา มีอะไรบาง …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ใหผเู รยี นบอกวิธีการ การจดั การความรู และนําความรไู ปใชใ นชีวิตประจาํ วัน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 40 ทักษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ

36 4. ใหผเู รียน วเิ คราะหปญหาของตนเอง และเขยี นแผนการพัฒนาตนเอง ดังน้ี 1) ปญหาของผเู รยี น คอื อะไร ทาํ ไมถึงเกิดปญ หาน้ัน …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2) ความรูหลักทจี่ าํ เปน ของผูเรียน คืออะไร ใชแ กป ญหาของผเู รยี นไดอยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3) ผเู รยี นมีวธิ ีเสาะแสวงหาความรู ดวยการแลกเปลย่ี นเรียนรจู ากผอู ืน่ ทไี่ หน อยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 4) ผูเ รยี นนําความรทู ่ีไดรบั ไปแกป ญหา หรอื ประยกุ ตใ ชอ ยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ทักษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 41 สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสินธ์ุ

37 บทท่ี 4 การคิดเปน โลกปจจุบนั เปน โลกแหงการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วในทุก ๆ ดาน ทั้งเรื่องขาวสาร ขอ มูล ความรู การเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา ธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม ซึ่งการเปล่ียนแปลง อยางรวดเร็วเชนน้ี ถาไมสามารถปรับตัวใหทันเหตุการณ ไมเปล่ียนแปลง ก็จะเกิดปญหา ขึ้นกบั ตนเอง ครอบครัว สังคมและชมุ ชน วิธีการหน่ึงที่จะชวยใหชีวิตอยูอยางมีความสุขได คือ “การคดิ เปน” การคดิ เปน เปนการใชทักษะการคิดที่ใชขอมูลอยางนอย 3 ดาน มาสัมพันธเช่ือมโยง กัน เพือ่ การตดั สินใจสูการกระทาํ โดยปกติแลวการกระทาํ ของคนน้ัน เกิดมาจากการคิด ถาคิด ดีก็ทําดี การคิดที่มีขอมูลประกอบการตัดสินใจ จะทําใหการคิดนั้นมีความรอบคอบ มีเหตุผล มคี วามพอประมาณ ไมโ ลภ ไมเบยี ดเบยี นผูอ่นื การคิดดีนําไปสูการปฏิบัติท่ีดี ถาในสังคมผูคน ปฏิบตั ดิ ีตอกัน สังคมก็อยรู ว มกันอยางมีความสขุ เร่ืองท่ี 1 ความเช่ือพื้นฐานทางการศกึ ษาผูใหญ/การศึกษานอกระบบ ความเชื่อพน้ื ฐานทางการศึกษาผใู หญ/ การศกึ ษานอกระบบ เช่ือวาคนมีความแตกตาง กันอยางหลากหลาย ทั้งรูปลักษณะภายนอก ภูมิหลัง พ้ืนฐานทางครอบครัว ฯลฯ ความตอ งการของคนจึงไมเทาเทยี มกนั ไมเหมอื นกนั แตสิ่งหนึ่งทีท่ ุกคนตอ งการคือ “ความสุข” ความสุขของแตละคนจะเกิดข้ึนไดตอเมื่อมนุษยกับสภาวะแวดลอมท่ีเปนวิถีชีวิตของตน สามารถปรับเขา หากันไดอ ยางกลมกลนื จนเกิดความพอดีและพึงพอใจ ความสุขของแตละคน จึงไมจําเปนตองเหมือนกัน เม่ือมนุษยตองการความสุข เปนเปาหมายสูงสุดของชีวิต การคิด ตัดสินใจเลือกกระทําหรือไมกระทําใด ๆ ลวนตองใชเหตุผล หรือขอมูลมาประกอบการคิด อยางนอย 3 ดาน คือ ขอ มลู เกี่ยวกับตนเอง ขอ มลู เก่ยี วกบั สงั คม และขอ มลู ทางวชิ าการ ทฤษฎีการเรยี นรูส าํ หรบั ผใู หญ ทฤษฎีการเรยี นรูสําหรบั ผูใ หญน้นั กลา วไดวา เร่ิมมีการศึกษาคนควา และพัฒนาการ มาจาก แนวความคิดของเดิม ของธอรนไดค (Edward L. Thorndike. 1982) จากการเขียน เกี่ยวกับ \"การเรียนรูของผูใหญ\" ซึ่งมิไดทําการศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรูของผูใหญโดยตรง 42 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา : ทร 11001 ส�ำนักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธุ์

38 แตศ ึกษาถึงความสามารถในการเรยี นรู โดยเนน ใหเห็นวา ผใู หญน ัน้ สามารถเรียนรไู ด ซ่ึงเปนสิ่ง ท่ีมีความสําคัญมาก จากสงครามโลกครั้งที่สอง มีนักการศึกษาผูใหญจํานวนมาก ไดศึกษา คนควา จนไดพ ยานหลักฐานทางวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นอีกวา ผูใหญสามารถเรียนรูได รวมทั้งได พบวา กระบวนการเก่ียวกับดานความสนใจและความสามารถนั้น แตกตางออกไปจากการ เรียนรขู องเดก็ เปนอนั มาก นอกจากวิธีการทางวิทยาศาสตรแลว ยังมีแนวความคิดทางดานที่เปนศิลป ในการ เรียนรู ซ่ึงเปนการคนหาวิธีการในการรับความรูใหม ๆ และการวิเคราะหถึงความสําคัญของ ประสบการณ ซง่ึ สง่ิ เหลานจ้ี ะเกีย่ วขอ งกบั วา “ผใู หญเรยี นรอู ยางไร” (How Adult Learn) ลนิ เดอรแ มน (Edward C. Linderman) ไดเ ขียนหนงั สือชอ่ื “ความหมายของการศกึ ษาผูใหญ” แนวความคิดของลินเดอรแมนนั้น ไดรับอิทธิพลคอนขางมาก จากนักปรัชญาการศึกษาผูท่ีมี ช่ือเสียง คือ จอหน ดิวอ้ี (John Dewey) โดยไดเนนเกี่ยวกับการเรียนรูของผูใหญวา ควรเรมิ่ ตนจากสถานการณต า ง ๆ (Situations) มากกวาเรม่ิ จากเนอื้ หาวิชา ซ่ึงวิธีการเรียนการ สอนโดยทว่ั ๆ ไป มกั จะเรม่ิ ตน จากครูและเนื้อหาวิชาเปนอันดับแรก และมองดูผูเรียนเปนสวน ที่สอง ในการเรียนแบบเดิม ผูเรียนจะตองปรับตัวเองใหเขากับหลักสูตร แตในการศึกษา ผใู หญนนั้ หลักสตู รควรจะไดสรางขน้ึ มาจากความสนใจ และความตองการของผูเรียนเปนหลัก สําคัญ ผูเรียนจะพบวา ตัวเองมีสถานการณเฉพาะเกี่ยวกับหนาที่ การงาน งานอดิเรก หรือ สันทนาการ ชีวิตครอบครัว ชีวิตในชุมชน สถานการณตาง ๆ นี้ จะชวยใหผูเรียนไดปรับตัว และการศึกษาผใู หญค วรเรมิ่ จากจุดนี้ สวนดานตําราและผูสอนนั้น ถือวามีหนาท่ีและบทบาท รองลงไป แหลงความรทู มี่ ีคุณคาสงู สดุ ในการศกึ ษาผูใหญ คือประสบการณของผูเรียนเอง และ มีขอคิด ท่ีสําคัญวา “หากการศึกษา คือชีวิตแลว ชีวิตก็คือ การศึกษา” (If Education is Life, then Life is Education) สรุปไดวา ประสบการณน้ัน คือตําราที่มีชีวิตจิตใจ สําหรับ นกั ศึกษาผใู หญ จากแนวความคิดของลินเดอรแมน ทําใหไดขอสันนิษฐานท่ีสําคัญ ๆ และเปน กุญแจสําคัญ สําหรับการเรียนรูของผูใหญ รวมท้ังการวิจัยในระยะตอ ๆ มา ทําใหโนลส (M.S.Knowles.1954) ไดพ ยายามสรปุ เปนพืน้ ฐานของทฤษฎีการเรียนรูสําหรับผูใหญสมัยใหม ซ่งึ มสี าระสําคญั ดังตอไปน้ี ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 43 ส�ำนักงาน กศน.จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ

39 1. ความตอ งการและความสนใจ ผูใหญจ ะถกู ชักจูงใหเกดิ การเรยี นรูไดดี ถาตรงกับ ความตองการ และความสนใจ ในประสบการณทผ่ี า นมา เขาจะเกิดความพึงพอใจ เพราะฉะนั้น ควรเรมิ่ ตนในสิ่งเหลานี้อยา งเหมาะสม โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมทั้งหลาย ท่ีตองการใหผูใหญ เกิดการเรียนรู 2. สถานการณท ีเ่ กี่ยวของกบั ชวี ติ ผูใหญ การเรียนรูของผูใหญจะไดผลดี ถาหาก ถือเอาตัวผูใหญเปนศูนยกลางในการเรียนการสอน ดังนั้น การจัดหนวยการเรียนที่เหมาะสม เพื่อการเรียนรูของผูใหญ ควรจะยึดถือสถานการณทั้งหลาย ที่เก่ียวของกับชีวิตผูใหญเปน หลกั สาํ คัญ มิใชต วั เนื้อหาวชิ าทั้งหลาย 3. การวเิ คราะหป ระสบการณ เน่ืองจากประสบการณ เปนแหลงการเรียนรู ที่มี คุณคามากทส่ี ุดสาํ หรับผูใหญ ดังนั้น วิธีการหลักสําหรับการศึกษาผูใหญก็คือ การวิเคราะหถึง ประสบการณของผูใหญ แตละคนอยางละเอียด วามีสวนไหนของประสบการณ ที่จะนํามาใช ในการเรยี นการสอนไดบาง แลวจึงหาทางนาํ มาใชใ หเกดิ ประโยชนต อ ไป 4. ผูใหญต องการเปน ผูนาํ ตนเอง ความตองการท่อี ยูใ นสว นลกึ ของผใู หญ คือ การมีความรูสึกตองการท่ีจะสามารถนําตนเองได เพราะฉะน้ัน บทบาทของครูจึงควรอยูใน กระบวนการสบื หา หรือคน หาคําตอบรวมกบั ผูเรียน มากกวาการทําหนาที่สงผาน หรือเปนส่ือ สาํ หรบั ความรู แลวทําหนา ทปี่ ระเมนิ ผลวา เขาคลอยตามหรอื ไมเพียงใด 5. ความแตกตางระหวา งบุคคล ความแตกตางระหวางบุคคลจะเพิ่มมากข้ึนเร่ือย ๆ ในแตละบุคคล เมื่อมีอายุเพ่ิมมากขึ้น เพราะฉะน้ัน การสอนผูใหญจะตองเตรียมการดานน้ี อยางดพี อ เชน รปู แบบของการเรียนการสอน เวลาท่ีใชส อน สถานทส่ี อน เปนตน 44 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จังหวัดกาฬสินธ์ุ

40 เร่อื งท่ี 2 ปรัชญาการคดิ เปน ดร.โกวิท วรพิพฒั น อดตี ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร และเคยเปนอธิบดีกรมการศึกษา นอกโรงเรียน ไดอธิบายถึง คุณลักษณะที่พึงประสงคของคน ในการดํารงชีวิตอยูในสังคม ที่มี การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รุนแรง และซับซอน ไววา “คิดเปน” มาจากความเชื่อพ้ืนฐาน เบื้องตนท่ีวา คนมีความแตกตางกันเปนธรรมดา แตทุกคนมีความตองการสูงสุดเหมือนกัน คือ ความสุขในชวี ิต คนจะมคี วามสุขในชวี ติ ได ตองมีการปรับตัวเอง และสังคมสิ่งแวดลอม ใหเขา หากันอยา งกลมกลนื จนเกิดความพอดี นําไปสูความพอใจ และมีความสุข คนท่ีจะทําไดเชนนี้ ตอ งรจู กั คดิ รจู ักใชสติปญญา รูจักตัวเอง และธรรมชาติสังคมส่ิงแวดลอมเปนอยางดี สามารถ แสวงหาขอ มลู ทเ่ี ก่ียวของอยา งหลากหลายและพอเพียง นํามาพิจารณาขอดี ขอเสียของแตละ เร่ือง เพ่อื นาํ มาใชเ ปน ขอมูลในการตัดสินใจ อาจกลาวไดวา “คดิ เปน ” เปนแนวคิดที่สอดคลอง กบั ยุทธศาสตร ทส่ี อนใหบุคคลสามารถพนทุกข และพบความสุขไดดวยการคนหาสาเหตุของ ปญหา สาเหตขุ องทุกข ซ่งึ สง ผลใหบคุ คลผูน ้ัน สามารถอยใู นสงั คมไดอยา งมีความสุข คนคดิ เปน เม่อื ไดน ําทางเลือกที่ไดคิดวิเคราะหไวอยางดีท่ีสุดไปปฏิบัติแลว หากยังไม พอใจ ไมม คี วามสุข กย็ ังมีสติ ไมเ ดือดรอน กระวนกระวาย ไมตโี พยตพี าย แตจะพยายามศึกษา ปญหา ทบทวนใหม ศึกษาขอมูลเพ่ิมเติม ใหละเอียดลึกซ้ึงมากข้ึน กลับเขาสูกระบวนการคิด ใหม เพอ่ื เลอื กทางปฏิบัติใหม จนกวา จะพอใจ โดยมีแผนภูมปิ ระกอบการคิด ดังนี้ ขอมูลจาก http://www. http://folkmelody.blogspot.com/2012/11/blog-post_23 ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 45 สำ� นกั งาน กศน.จังหวดั กาฬสนิ ธุ์

41 การคิดแบบคิดเปน เปนการใชขอมูลประกอบการคิดอยางรอบดาน นํามาสูการ ตดั สนิ ใจเลอื กที่จะเชอื่ เลอื กทีจ่ ะกระทํา โดยสามารถอธิบายเหตุผลของตนเองได ซ่ึงความคิด ของแตล ะคน ไมจําเปนตอ งเหมือนกันเสมอไป การจัดการศึกษานอกระบบ จึงตองสงเสริมให ผเู รียนคดิ และตดั สินใจดวยตนเองที่สาํ คัญ คือ การยอมรบั และเคารพการตดั สนิ ใจในเรื่องน้ัน ๆ ซ่ึงเปน รากฐานของประชาธิปไตยในระดับ พนื้ ฐานดวย ขอมูลท่นี ํามาใชป ระกอบการคดิ การคดิ เพ่ือแกปญหาตาง ๆ นั้น จําเปนตองใชขอมูลมาประกอบการคิด อยางนอย 3 ประการไดแ ก 1. ขอมูลเก่ียวกับตนเอง หมายถึง การรูจักตนเองอยางถองแท เท่ียงธรรม โดยพจิ ารณา ความพรอมดา นการเงิน สขุ ภาพอนามัย ความรู อายุ และวัย รวมท้ังการมีเพ่ือน ฝูงและอ่นื ๆ 2. ขอมูลเก่ียวกับสังคม หมายถึง สังคมและส่ิงแวดลอม หมายถึง คนอื่น นอกเหนอื จากเราและครอบครัว จะเรียกวา บุคคลที่ 3 กไ็ ด คือ ดวู า สงั คมเขาคดิ อยา งไรกับการ ตัดสินใจของเราเขาเดือดรอนไหม เขารังเกียจไหม เขาช่ืนชมดวยไหม เขามีใจปนใหเราไหม รวมตลอดถึงเศรษฐกิจและสังคมน้ัน ๆ เหมาะกับเร่ืองที่เราตัดสินใจหรือไม รวมท้ัง ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี คุณธรรม และคานิยมของสงั คม 3. ขอมูลเกี่ยวกับวิชาการ หมายถึง ความรูทางวิชาการ เปนความรูทาง วิทยาศาสตร หรอื ความรูวิชาการ ในเรอ่ื งทเี่ ราจะตองใชป ระกอบการตัดสนิ ใจ ขอมลู ทั้ง 3 ประการน้ี ตองใชประกอบกัน จึงจะชวยใหเกิดการวิเคราะหพิจารณาที่ดี ที่ถูกตองมากกวาการใชขอมูลเพียงดานใดดานหน่ึงเทาน้ัน ซึ่งปกติมักจะตัดสินใจกัน ดวย ขอมูลดานเดียว ซ่ึงอาจมีการพิจารณาวา เหมาะสมกับตนเองแลว เหมาะสมกับคนสวนใหญ แลว หรือเหมาะสมตามตํารา หรือจากคําแนะนําทางวิชาการแลว อาจเปนเหตุใหตัดสินใจ ผิดพลาดได 46 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ

42 เรอ่ื งที่ 3 กระบวนการและขน้ั ตอนการแกป ญ หาอยา งคนคดิ เปน การแกไขปญหาของคนคิดเปนน้ัน มีกระบวนการคิดเพื่อแกปญหาตามข้ันตอน ดงั ตอ ไปน้ี 1. สาํ รวจปญ หา 2. หาสาเหตขุ องปญหา 3. วเิ คราะหหาวิธีแกไขปญหา 4. ตัดสนิ ใจเลือกวธิ ีแกปญหา 5. ลงมือปฏิบตั เิ พอื่ แกปญ หา 6. การประเมินผลการแกปญหา กระบวนการแกปญหาของคนคิดเปน ทักษะการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา : ทร 11001 47 สำ� นกั งาน กศน.จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ

43 จากแผนภูมิจะเห็นไดวา กระบวนการ และขั้นตอนการแกปญ หาอยา งคนคิดเปน จะเร่ิมตน ดว ยการรจู กั ปญ หาท่ีแทจริง จากน้ัน จึงเนนการวิเคราะหหาสาเหตุของปญหา จาก ขอมูลที่หลากหลายอยางนอย 3 ดาน คือ ตนเอง สังคมส่ิงแวดลอม และวิชาการ แลวจึง วิเคราะหทางเลอื ก ในการแกปญ หา กอนลงมือปฏิบัติ เมื่อปฏิบัติแลวพอใจก็มีความสุข ถายัง ไมพอใจก็ตองกลับไปเร่ิมตน ตามข้ันตอนแรกกอน จนกวาจะพอใจกับการตัดสินใจแกปญหา ของตนเอง 48 ทักษะการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา : ทร 11001 ส�ำนกั งาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ

44 เรอื่ งท่ี 4 ฝก ทกั ษะการคดิ เปน “คดิ เปน” เรือ่ งน้ี นอกจากจะตองทาํ ความเขา ใจกบั หลกั การและแนวคิดแลว การเปน ผูที่มีทักษะการคิดเปนไดน้ัน ตองฝกฝนกระบวนการคิดและฝกปฏิบัติ โดยใชเหตุการณจริงใน ชวี ิตประจําวัน รวมทงั้ มกี ารแลกเปล่ียนความคิด วิธีการพูดคุย ถกเถียงกับเพื่อนฝูง ญาติมิตรดวย การมีประสบการณในการแกไขปญหาตาง ๆ แลวเกิดความพอใจและมีความสุข นั่นเทากับวา ไดเร่ิมตนเปนคนคิดเปนแลว เพื่อใหเกิดผลดีแกตนเอง ผูฝกปฏิบัติควรหมั่นฝกปฏิบัติตาม กระบวนการอยา งตอ เนอ่ื ง เพ่ือเพิ่มพูนทกั ษะใหม ากย่งิ ขน้ึ จงึ จะแกไขปญหาตาง ๆ ไดดี ไมเกิด ขอ ผดิ พลาดบอย และสามารถคิดไดร วดเรว็ ยง่ิ ข้นึ โดยสรุปคือ การสอนแบบคิดเปน ไมมีการสอนแบบสําเร็จรูปวา อะไรถูก อะไรผิด ขึ้นอยูกับบริบทและส่ิงแวดลอม แตละคนจะมีบริบทไมเหมือนกัน แตเมื่อนํามาถกเถียงกัน นาํ มาอภปิ รายกัน จะเกดิ ความรูแตกฉานยง่ิ ข้ึน คนท่คี ิดเปน จะเปน ผทู ีร่ จู กั ปรบั ตนเอง และสภาพแวดลอ มใหเ ขากันไดอยางดี เปนคน ท่ีอยู ในสังคมไดอ ยา งมคี วามสุข และมสี มรรถภาพของการเปนคนคดิ เปน ดงั น้ี 1. สามารถเผชิญปญหาและแกป ญ หาในชวี ิตประจําวันไดอยา งมรี ะบบ 2. สามารถแสวงหาและใชขอมลู หลาย ๆ ดา นในการคิดแกไขปญ หา 3. รูจักช่ังนํ้าหนัก คุณคา และตัดสินใจหาทางเลือก ใหสอดคลองกับคานิยม ความสามารถและสถานการณ หรือเง่ือนไขสวนตัว และระดับความเปนไปไดของทางเลือก ตา ง ๆ ทักษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 49 สำ� นักงาน กศน.จังหวดั กาฬสินธ์ุ

45 กิจกรรมทายบทที่ 4 1. ใหผ เู รยี นนําความรคู วามเขา ใจเกยี่ วกับกระบวนการแกป ญหาของคนคดิ เปน มาฝกแกปญหา ในกรณดี งั ตอ ไปนี้ นายสมหวงั ประกอบอาชีพทํานาขาว มีรายไดหลักจากการขายขาวในแตละป เพียง พอทจ่ี ะนํามาเปนคาใชจายในครอบครวั แตในปนีเ้ กดิ ปญหานา้ํ แลง และมีแมลงมารบกวนมาก ซง่ึ คาดการณแ ลววาจะทําใหรายไดตองลดลงจํานวนมาก ถาผูเรียนเปนนายสมหวัง จะมีวิธีคิด แกไขปญหาในเร่ืองน้ีอยางไร โดยใหแสดงขอมูลทั้ง 3 ดาน และทางเลือกในการตัดสินใจ แกป ญหา พรอ มระบเุ หตผุ ลประกอบ ขอมลู เกี่ยวกับตนเอง ขอมูลดานสิ่งแวดลอ ม ขอ มูลดานวชิ าการ ............................................ ............................................... ................................................... ............................................ ............................................... ................................................... ............................................ ............................................... ................................................... ............................................ ............................................... ................................................... ............................................ ............................................... ................................................... ............................................ ............................................... ................................................... ............................................ ............................................... ................................................... ............................................ ............................................... ................................................... ............................................ ............................................... ................................................... ทางเลอื กในการตัดสนิ ใจแกปญหาและเหตุผลประกอบ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 50 ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา : ทร 11001 สำ� นักงาน กศน.จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook