Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม best Practice

เล่ม best Practice

Published by jan_comsun, 2021-07-07 07:08:44

Description: เล่ม best Practice

Search

Read the Text Version

คำนำ เอกสารฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอการจัดการเรียนรู้ Active Learning ร่วมกับภาคีเครือข่าย ที่ประสบความสำเร็จด้วย BEST PRACTICE วิถีพอเพียง เคียงคู่ โรงเรียนสะอาด (Clean school by Sufficiency way) ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานทัว่ ไปของโรงเรียน รายละเอียดการถอดบทเรียน บทเรียนการ ดำเนินงาน Active Learning ร่วมกับภาคีเครือข่าย โรงเรียนประชารฐั CONNEXT ED สนับสนุนโดย บริษัท ซีพี-เมจิ จำกัด และมลู นิธิรกั ษไ์ ทย สนบั สนนุ โดย บริษัทซันโทน่ี เปบ๊ ซโ่ี คเบเวอเรจ ประเทศไทย จำกัด พร้อม หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่จังหวัดสระบุรี อาทิ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรีเขต 2 เทศบาลตำบลหนิ กอง และอำเภอหนองแค โรงเรียนหินกอง(พิบูลอนุสรณ์) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต ๒ ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ในการจัดทำเอกสารฉบับนี้ เพื่อเผยแพร่การนำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรบั ใช้ใหเ้ หมาะสมกับชีวติ ประจำวันและสภาพแวดล้อมน้ัน ๆ และหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ เอกสารฉบับ นจี้ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาการศึกษาตอ่ ไป โรงเรยี นหินกอง(พิบูลอนสุ รณ)์

สารบัญ เรอื่ ง หน้า สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป 1 1 สว่ นที่ 2 รายละเอียดจากการถอดบทเรยี นของโรงเรยี นท่คี ดั เลือก 1 2.1 ช่ือ โครงการ/กระบวนการ 1 1 2.2 ขอ้ มลู พื้นฐานของโรงเรยี น 3 2.2.1 ขอ้ มูลทวั่ ไป 10 2.2.2 ศักยภาพของโรงเรยี น 10 2.2.3 ข้อจำกัดของโรงเรียน 11 2.3 ประเภทท่โี รงเรียนดำเนินการและประสบผลสำเรจ็ ในการจัดการเรียนรู้ 12 13 Active Learning ร่วมกับภาคีเครอื ขา่ ย 60 2.4 ปญั หาและความจำเป็น 69 2.5 เปา้ หมายการดำเนินงาน 69 70 2.6 รูปแบบและวธิ ีการดำเนินงาน 72 2.7 ผลลพั ธ์/ผลสำเรจ็ 72 2.8 บทเรียนการดำเนนิ งาน เรียนรู้ Active Learning รว่ มกบั ภาคีเครอื ขา่ ย 74 - ปญั หาทพี่ บระหวา่ งดำเนนิ งานและวิธแี ก้ปัญหา 74 - ปจั จัยความสำเร็จ 75 76 - ขอ้ จำกัดในการดำเนินงาน 77 - ความเป็นต้นแบบ จุดแขง็ และจุดเด่นของการดำเนนิ งาน เรียนรู้ Active Learning 78 82 ร่วมกบั ภาคเี ครอื ข่าย 83 2.9 แนวทางพฒั นาตอ่ ไป 86 2.10 ข้อคดิ ในการดำเนนิ งานให้ประสบความสำเร็จ ภาคผนวก - นโยบายโครงการ“ซพี ี-เมจิ อ่ิมสุข ปลูกอนาต ส่งเสริมอาชีพนกั เรยี น” - รายงานสถติ กิ ารส่งั ซอ้ื นมเมจิ ฐานการเรยี นรู้ “หินกองพบิ ลู ฯ More Milk” - ผลงานของสถานศึกษา - ผลงานครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา - ปา้ ยประชาสมั พันธใ์ นโรงเรยี น - VTR กจิ กรรมทเี่ กี่ยวข้อง

แบบ 2.1.3 1 แบบถอดบทเรยี นการจัดการเรียนรู้ Active Learning ร่วมกับภาคเี ครือข่าย ท่ปี ระสบผลสำเรจ็ คำชี้แจง สำหรับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้เก็บรวบรวมข้อมลู โรงเรียนทีไ่ ด้รับการคัดเลือก ซึ่งเปน็ โรงเรียนที่ประสบผลสำเร็จและมีความโดดเด่นในการจัดการเรียนรู้ Active Learning ร่วมกับภาคี เครือข่าย สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป 1.1 สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษาสระบุรี เขต 2 ผรู้ ับผิดชอบ....นายนนทศิ ักดิ์ ผาผาย......ตำแหน่ง......ศกึ ษานเิ ทศก์......... E-mail…………………………………………………เบอร์โทร.....๐๘๘-๘๖๓๒๕๘๓...... 1.2 โรงเรียน หินกอง(พบิ ูลอนสุ รณ)์ ชื่อผู้ประสานงานของโรงเรียน....นางสาวพรรณวดี ปามุทา...ตำแหน่ง....ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น E-mail……[email protected]……. เบอร์โทร.....081-9915908..... ส่วนท่ี 2 รายละเอียดจากการถอดบทเรียนของโรงเรียนที่คัดเลอื ก 2.1 ชอ่ื BEST PRACTICES วิถีพอเพียง เคยี งคโู่ รงเรยี นสะอาด (Clean school by Sufficiency way) 2.2 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของโรงเรียน 2.2.1 ข้อมลู ท่วั ไป สถานที่ตั้ง โรงเรียนหินกอง(พิบูลอนสุ รณ์) 114/1 หมู 6 ตำบลห้วยขมน้ิ อำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี รหสั ไปรษณีย์ ๑๘230 โทรศัพท์ : ๐36-379325 ID Line : 0968833072 Facebook : โรงเรยี นหนิ กอง พิบลู อนุสรณ์ Website : https://data.bopp-bec.info/web/home.php?School_ID=1019600106 ชือ่ –สกุล ผู้อาํ นวยการสถานศึกษา นางสาวพรรณวดี ปามุทา โรงเรยี นหนิ กอง(พบิ ลู อนสุ รณ์) เปน็ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เปดิ สอนตง้ั แต่ช้ันอนุบาล 2 ถงึ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ในปีการศกึ ษา 256๔ มนี ักเรยี นจำนวน 9๗9 คน ผอู้ ำนวยการโรงเรียน 1 คน รองผู้อำนวนการโรงเรียน 2 คน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๔๘ คน โรงเรียนมีการ บริหารจัดการอย่างเป็นระบบ โดยใช้หลักการบริหารแบบกระจายอำนาจ มีลักษณะเป็นโรงเรียนเล็กใน โรงเรียนใหญ่ ซึ่งแต่ละระดับชั้นต้องรับผิดชอบการบรหิ ารจัดการเรยี นการสอน การบริหารงบประมาณ การบริหารการจัดกจิ กรรมต่าง ๆ ในสายชน้ั เพอื่ ความคล่องตัวในการปฏิบัติ กระชบั ทนั เหตกุ ารณ์ ครูเกิด ความรัก สามัคคี มีการทำงานเป็นทีม ให้ความสำคัญและรับฟังความคิดเห็นจากผู้บริหาร คณะครู ผู้ปกครอง เพื่อมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนตาม เป้าหมายที่กำหนด โดยนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางการบริหารจัดการ สถานศกึ ษาสู่ความสำเร็จอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

2

3 2.2.2 ศกั ยภาพของโรงเรยี น โรงเรยี นหินกอง(พิบูลอนุสรณ์) มีผลงานการพฒั นาคุณภาพจนได้รับการคัดเลอื กเป็น - โรงเรยี นคณุ ภาพประจำตำบล (สพฐ.) - สถานศึกษาพอเพียง ปี 2556 - โรงเรยี นคณุ ธรรม ระดับ 2 ดาว - โรงเรยี นสจุ ริต ระดบั AA - โรงเรียนวถิ ีพุทธ - บ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อยประเทศไทย ประจำปี 2562 - ศูนย์พฒั นาครดู ว้ ยระบบทางไกล STEM EDUCATION - โรงเรยี นแกนนำเครือขา่ ยนวัตกรรมคุณภาพสถานศกึ ษา - ศนู ยเ์ ด็กปฐมวัยตน้ แบบ ประจำอำเภอหนองแค จังหวดั สระบรุ ี - ศูนย์แนะแนวประจำเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสระบรุ ี เขต 2 - โรงเรยี นแกนนำการจัดการเรียนรูว้ ิทยาการคำนวณ ระดบั ประถมศึกษา - โรงเรยี นประชารฐั CONNEXT ED (สนบั สนนุ โดย บริษทั ซพี ี - เมจิ จำกดั ) - โรงเรยี นในโครงการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรมพชื อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ - ผลงานสถานศึกษา ปกี ารศึกษา ช่อื /รางวลั หนว่ ยงานท่ีมอบ หมายเหตุ ๒๕๖๑ โลร่ างวัล เป็นสถานศึกษาที่มรี ะบบและกลไกการบริหารจัดการ สพฐ. ๒๕๖๑ โลร่ างวัล ๒๕๖๑ คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา เพ่อื การประกนั เกยี รติบัตร ๒๕๖๑ คณุ ภาพ ระดบั ยอดเย่ยี ม ประเภทสถานศกึ ษา ขนาด เกยี รติบตั ร 2562 เกยี รติบัตร ใหญ่ สมควรไดร้ บั โล่รางวัล IQA AWARD ระดบั เขต พื้นที่ ได้รับโล่รางวลั “สถานศกึ ษาปลอดภัย”ดเี ด่น ปี กระทรวงแรงงาน ๒๕๖๑ มผี ลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียน สพป.สระบรุ ี เขต ๒ ระดับชาต(ิ National Test : NT) ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ปีการ ศึกษา ๒๕๖๑ คะแนนเฉลยี่ รวม ๓ ดา้ น สูง กว่าระดับประเทศ เปน็ โรงเรียนทีม่ ีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ สพป.สระบรุ ี เขต ๒ ขัน้ พนื้ ฐาน(O-NET) ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปี การศึกษา ๒๕๖๑ เฉลี่ยทุกวชิ า สูงกวา่ ระดบั ประเทศ ได้รับรางวัลรูปแบบวธิ ีการปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best สพป.สระบุรี เขต ๒ Practise) ดา้ นการบรหิ ารจัดการการศึกษาระดับ การศกึ ษาปฐมวัย จังหวัดสระบรุ ี ประจำปี 2562 ระดับดเี ยยี่ ม อนั ดับท่ี 2

4 เว้น ปีการศึกษา ช่ือ /รางวัล หนว่ ยงานที่มอบ หมายเหตุ เกียรติบัตร 2563 รางวลั โรงเรียนพระราชทานระดับกอ่ นปฐมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เกียรติบัตร เกียรติบัตร รางวัลชมเชยระดับประเทศ ประจำปีการศกึ ษา เกยี รติบตั ร 2563 เกียรตบิ ตั ร เกยี รติบตั ร 2563 รางวลั หน่วยงานดีเดน่ การแขง่ ขนั การประกวดร้อง สพฐ. เกียรตบิ ัตร เพลงจีนออนไลน\"์ สะพานสู่ภาษาจนี \"แห่งประเทศ เกียรติบตั ร ไทยประจำปี พ.ศ.2563 2563 โรงเรยี นหินกอง(พบิ ลู อนุสรณ)์ ได้รบั รางวัลชนะเลิศ สพป.สระบรุ ี เขต ๒ อันดับ 2 ประเภทโรงเรยี นขนาดกลางและขนาด ใหญ่ การประกวดการจดั การเรียนรู้สง่ิ แวดล้อม ศึกษาดีเดน่ การประกวดผลงาน การจัดการเรยี นรู้ ส่งิ แวดล้อมศึกษาดเี ด่น โครงการสร้างจิตสำนึกและ ความรูใ้ นการผลติ และบบรโิ ภคท่ีเปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดลอ้ ม ปงี บประมาณ 2563 2563 รางวลั รองชนะเลิศอันดบั 1 (ระดบั โรงเรียนขยาย สพป.สระบุรี เขต ๒ โอกาส) การดำเนินโครงการคุณธรรม\"ปณธิ านความ ดี ทำดเี ร่ิมไดท้ ่ใี จเรา\" ประจำปีการศกึ ษา 2563 2563 โรงเรยี นต้นแบบ ในการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนา สพป.สระบรุ ี เขต ๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ น แต่งต้งั ใหด้ ำรงตำแหนง่ รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา ปี 2563 รุ่นที่ 1/2563 หน่วยพฒั นาที่ 18 2563 โรงเรียนหนิ กอง(พิบูลอนสุ รณ์) ให้การสนับสนุนการ สพป.สระบรุ ี เขต ๒ จดั กจิ กรรมบูรณาการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เชิดชคู รู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผู้มุ่งมั่นขับเคลอื่ นการ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาจังหวัดสระบรุ ี ปี 2563 2563 โรงเรียนหินกอง(พิบูลอนสุ รณ)์ ได้รับรางวลั รอง สพป.สระบุรี เขต ๒ ชนะเลิศอนั ดบั 1 ประเภทผลงานผู้บริหาร (1 โรงเรยี น 1 นวัตกรรมผูบ้ ริหาร) การประกวดผลงาน ดีเด่นของผูบ้ ริหารโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจำ ตำบล ( 1 ตำบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ ) ป2ี 563 2563 กองลูกเสือสามญั ไดร้ ับรางวลั ชมเชยระดบั ประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ ประเภท ลกู เสอื สามัญ การประกวดระเบยี บแถว ลูกเสือ เนตรนารี ประจำปี 2563 ระดบั ประเทศ จากสำนักงานกระทรวงศึกษาธกิ าร

5 เว้น ปกี ารศึกษา ชอื่ /รางวัล หนว่ ยงานทมี่ อบ หมายเหตุ กระทรวงศึกษาธิการ เกยี รติบตั ร 2563 กองลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ โรงเรียนหินกอง(พิบลู อนสุ รณ)์ ได้รับรางวัล ชมเชยระดับประเทศ ประเภท ลกู เสือสามญั การประกวดระเบียบแถว ลกู เสือ เนตรนารี ประจำปี 2563 ระดับประเทศ จากสำนักงานกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2563 รางวลั ชมเชยการประกวดสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ กรรมศาสนา เกยี รติบตั ร กระทรวงวฒั นธรรม เกียรติบตั ร พระรัตนตรยั ทำนองสรภญั ญะระดบั ภาค สพป.สระบรุ เี ขต ๒ 2563 ได้รบั เกียรติบัตรผ่านการรบั รองให้เป็นห้องเรยี น คุณภาพ สู่โรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน จำนวน 40 ห้องเรียน ผลงานผู้บรหิ าร ปกี ารศึกษา ช่อื /รางวัล หน่วยงานที่มอบ หมายเหตุ ๒๕๖๑ เปน็ ผ้นู ำเสนอสถานศกึ ษาตน้ แบบ รางวัล “IQA AWARD สพฐ. เกียรตบิ ัตร ” การสัมมนาหัวข้อ “ถอดรหัสระบบและกลไก การ บริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา สถานศึกษา” ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ภาคกลางและ ตะวันออก ๒๕๖๑ ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนผู้บริหารสถานศึกษา ใน สำนกั งาน เกยี รตบิ ัตร ศกึ ษาธิการภาค ๑ ให้เข้ารว่ มโครงการพฒั นาศักยภาพผู้ เลขาธิการคุรุสภา ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ณ ประเทศญป่ี ่นุ ๒๕๖๑ ร่วมประชุมสัมมนา จัดทำแนบปฏิบัติการประจำปี สพป.สระบรุ ี เขต คำสั่ง งบประมาณ ๒๕๖๒ และจัดทำแผนพฒั นาการศึกษาขนั้ ๒ พนื้ ฐาน พ.ศ.๒๕๖๒ – ๒๕๖๕ ๒๕๖๑ ขา้ ราชการพลเรอื นดเี ดน่ จังหวัดสระบุรี จังหวดั สระบุรี เกยี รตบิ ัตร ๒๕๖๒ ไดร้ บั การยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติ เนอื่ งในวันครู รางวัล “ครู สพป.สระบรุ ี เขต เกียรติบัตร ดี สระบุรี ” ประจำปี ๒๕๖๒ ประเภทผู้บริหาร ๒ สถานศกึ ษา ๒๕๖๒ ได้รบั รางวลั พระพฤหสั บดี ประจำปี 2562 สกสค. เขม็ กลัด เกยี รตบิ ตั ร เงนิ รางวลั ๒๕๖๒ รางวัลรองชนะเลิศ BEST PRACTICES ด้านการบริหาร ศธจ.สระบุรี โลห่ ์ จัดการ ศึกษาระดบั ปฐมวัย เกยี รตบิ ตั ร

6 เว้น ปีการศึกษา ช่ือ /รางวลั หน่วยงานที่มอบ หมายเหตุ 2562 รางวัลครูและบุคลากรทางการศึกษาดีเด่น จังหวัด ศธจ.สระบรุ ี เกียรตบิ ตั ร สระบุรี ๒๕๖๐ – ได้รับแต่งแต่งให้เป็นคณะกรรมการประเมินข้าราชการ สพป.สระบรุ ี เขต คำสั่ง ๒๕๖๒ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เพ่ือใหม้ วี ทิ ยฐานะชำนาญ ๒ การ และชำนาญการพิเศษ สายงานบริหารสถานศึกษา ด้านท่ี ๑-๒ ๒๕๖๑ - ไดร้ ับแต่งต้ังใหเ้ ป็นผู้ประเมินสมั ฤทธิผลการปฏบิ ตั งิ านใน สำนักงาน คำส่ัง ๒๕๖๒ หน้าที่ เพ่อื พัฒนาการศกึ ษาของผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั 2563 เป็นวิทยากรพี่เลี้ยงในการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนา สพฐ. เกยี รตบิ ัตร ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ ดำรงตำแหน่งรองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ปี 2563 รุน่ 1/2563 2564 ได้เป็นคณะทำงาน สร้างและพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม สำนกั งาน เกียรตบิ ัตร ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขัน้ ศึกษาธกิ ารจังหวดั พน้ื ฐานฯ ปีงบประมาณ 2564 2564 ไดร้ ับรางวลั ผูฝ้ ึกสอนดีเดน่ “ด้านการสวดมนต์หมู่ทำนอง กรมศาสนา เกยี รตบิ ตั ร สรภัญญะ” การประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระ กระทรวง รัตนตรัย ทำนองสรภัญญะ ประเภททีม ระดับจังหวัด วฒั นธรรม ประจำปี 2564 ผลงานครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ช่อื /รางวลั หน่วยงานทม่ี อบ หมายเหตุ สพฐ. เกยี รตบิ ตั ร 2560 รางวลั ทรงคณุ คา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับชาติ ศธจ.สระบรุ ี เกยี รตบิ ตั ร ประเภท ครูผสู้ อนยอดเยีย่ ม จำนวน 4 รางวัล จังหวัดสระบรุ ี เกียรตบิ ตั ร 2561 นางอัญชลี พระนอนเขตต์ รางวลั ชนะเลิศ การ สพป.สระบุรี เขต ๒ เกยี รตบิ ตั ร ประกวดรปู แบบวธิ ปี ฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) ศธจ.สระบรุ ี เกยี รตบิ ัตร ประจำปี ดา้ นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรบั เดก็ ปฐมวยั 2561 นางอญั ชลี พระนอนเขตต์ ได้รบั รางวัลขา้ ราชการ พลเรอื นดีเดน่ ระดบั จงั หวัด 2561 นางอญั ชลี พระนอนเขตต์ ไดร้ ับรางวลั “ครดู ี สระบุรี 2” ประเภทครูผู้สอน 2561 นางสาวสิรพิ ร พุกพิกุล ไดร้ ับรางวัลครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาดีเด่น จังหวัดสระบุรี

7 เวน้ ปีการศึกษา ช่อื /รางวลั หนว่ ยงานทีม่ อบ หมายเหตุ ๒๕๖๑ รางวลั ทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดบั ชาติ สพฐ. เกยี รตบิ ัตร ประเภท ครผู ้สู อนยอดเย่ยี ม จำนวน 5 รางวลั ๒๕๖๑ ครูผสู้ อนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 และมัธยมศกึ ษา ปที ี่ 3 สพป.สระบุรี เขต ๒ เกยี รตบิ ตั ร ไดร้ บั เกียรตบิ ตั รครผู ู้สอนนักเรยี นมีผลการทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) สงู กวา่ ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา จำนวน ๕ ราย 2562 นางอัญชลี พระนอนเขตต์ ไดร้ บั รางวัลครผู สู้ อนระดบั สพป.สระบุรี เขต ๒ เกยี รตบิ ัตร ปฐมวัยรางวลั “ครูดีในดวงใจ” ครัง้ ที่ 16 ระดับเขต พ้ืนท่ี 2562 นางประไพ ศรีเกษม ได้รับรางวลั ครผู ู้สอนนักเรยี น สพป.สระบรุ ี เขต ๒ เกยี รติบัตร ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง กจิ กรรม การแข่งขนั เลา่ นทิ าน (Story Telling)ระดบั ชนั้ ป.๔ – ป.๖ งาน ศิลปะหัตกรรมนักเรียน ครง้ั ที่ ๖๙ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ 2562 นางประไพ ศรีเกษม ไดร้ ับรางวลั ครูผ้สู อนนกั เรียน สพป.สระบุรี เขต ๒ เกยี รตบิ ตั ร ได้รับรางวัลระดับเหรยี ญทอง กิจกรรม การแขง่ ขนั ตอ่ ศพั ทภ์ าษาอังกฤษ(ครอสเวิรด์ )ระดบั ชน้ั ป.๑ – ป.๖ งานศลิ ปะหัตกรรมนักเรยี น ครง้ั ท่ี ๖๙ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดบั เขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา 2562 นางสาวสมจติ ร จนิ าวรณ์ ไดร้ ับราวัล ครผู สู้ อนนักเรียน สพป.สระบุรี เขต ๒ เกียรติบัตร ได้รับรางวลั เหรียญทอง รองชนะเลศิ อันดับท่ี ๒ กจิ กรรมการแขง่ ขันเลา่ นทิ าน (Story Telling) ระดับชัน้ ม.๑-ม.๓ งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียนครั้งท่ี ๖๙ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา โดย เด็กหญงิ สภุ าวดี ศรีนำ้ อ้อม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ 2562 นางสาวมนัสสิยา แจง้ ใจบุญ ไดร้ างวัลครผู ู้สอน สพป.สระบุรี เขต ๒ เกยี รติบตั ร นักเรยี นไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรยี ญทองแดงกิจกรรม การ แขง่ ขันต่อศพั ท์ภาษาองั กฤษ ม.๑-๓ งานศลิ ปหัตกรรม นักเรยี น ครัง้ ที่ ๖๙ ระดบั เขตพ้นื ที่ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ 2562 นางสาวภัทรยิ า โพธิเวชกุล ครผู ้สู อนนกั เรยี น ไดร้ ับ สพป.สระบุรี เขต ๒ เกียรติบัตร รางวลั ระดับเหรียญทอง กจิ กรรม การแขง่ ขนั ตอ่ ศัพท์ ภาษาองั กฤษ(ครอสเวริ ด์ )ระดบั ชนั้ ป.๑ – ป.๖ งาน ศลิ ปะหัตกรรมนักเรยี น คร้ังที่ ๖๙ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ระดับเขตพน้ื ที่การศกึ ษา 2563 รางวลั ครดู ีไมม่ ีอบายมุข ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 สพฐ. เกียรติบตั ร จำนวน 6 ราย

8 เว้น ปีการศกึ ษา ช่ือ /รางวัล หน่วยงานทมี่ อบ หมายเหตุ 2563 ครผู ้จู ดั กิจกรรมการเรียนรูส้ ิง่ แวดล้อมดเี ดน่ ได้รบั สพป.สระบุรี เขต ๒ เกียรตบิ ัตร รางวลั รองชนะเลิศ อันดับ 2 ประเภทโรงเรยี นขนาด กลาง - ใหญ่ โครงการสร้างจิตสำนกึ และความรใู้ นการ ผลิตและบรโิ ภคทเี่ ปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม ปี 2563 2563 รางวัลสดุ ยอดครูต้นแบบโค้ชชิง่ โรงเรียนประชารัฐ โรงเรยี นประชารัฐ เกียรตบิ ัตร CONNEXT ED (สนบั สนนุ โดย บรษิ ทั ซพี ี - เมจิ จำกดั ) CONNEXT ED จำนวน 4 คน ประจำปี 2563 2563 รางวลั ครูต้นแบบโค้ชช่ิง โรงเรียนประชารัฐ โรงเรยี นประชารฐั เกยี รติบตั ร -2564 CONNEXT ED (สนบั สนนุ โดย บรษิ ัท ซพี ี - เมจิ จำกดั CONNEXT ED จำนวน 10 คน ประจำปี 2564 2564 รางวลั สุดยอดครูต้นแบบโค้ชชิ่ง โรงเรยี นประชารฐั โรงเรียนประชารัฐ เกียรติบตั ร CONNEXT ED (สนับสนนุ โดย บรษิ ัท ซีพี - เมจิ จำกดั CONNEXT ED จำนวน 4 คน ประจำปี 2564 2564 รางวัลผ้ฝู ึกสอนดีเด่น “ดา้ นการสวดมนต์หม”ู่ ทำนอง กรมศาสนา เกยี รตบิ ัตร สรภญั ญะ ประเภททมี โรงเรยี น ระดบั จังหวดั (เข้ารอบ กระทรวง ระดบั ภาค) จำนวน 10 คน วัฒนธรรม 2564 การอบรมหลักสูตรอบรมออนไลนก์ ารจดั การเรียนรู้ สสวท. เกยี รตบิ ตั ร วิทยาการคำนวณสำหรบั ครู ปี 2563 จำนวน 6 คน 2564 นางสาวสุภาพร คงสมบรู ณ์ ไดร้ บั รางวลั ระดับดี ศธจ.สระบรุ ี เกยี รตบิ ตั ร ผลงานวิธปี ฏิบตั ิทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practices)ดา้ นการ บรหิ ารจดั การศกึ ษาปฐมวัย และด้านการจดั ประสบการณ์การศึกษาปฐมวยั ระดบั จงั หวดั ผลงานนักเรียน ปกี ารศึกษา ชอื่ /รางวลั หน่วยงานที่มอบ หมายเหตุ ๒๕๖๑ สพฐ. เกยี รตบิ ัตร รางวลั ระดบั ชาติ งานศิลปหตั ถกรรมฯ คร้งั ที่ 68 ปี 2561 จำนวน 8 กจิ กรรม ดังนีก้ ารประกวดผลงาน สิง่ ประดษิ ฐ์ทางวิทยาศาสตร์ ระดบั ม๑-๓ /การประกวด วงดนตรีลกู ทงุ่ ประเภท ข/การประกวดเพลงคุณธรรม ป. 1-3 /การประกวดอา่ นทำนองเสนาะ ระดบั ม.1-3 / การแข่งขันการสรา้ ง Webpage /การแข่งขันทักษะ คณิตศาสตร์ ป.๑-๓ /การแขง่ ขนั สรา้ งเกมสรา้ งสรรคจ์ าก คอมพิวเตอร์/การแขง่ ขนั ตอ่ ศัพท์ภาษาอังกฤษ (ครอส เวิรด์ )

9 ปีการศกึ ษา ช่ือ /รางวัล หนว่ ยงานท่มี อบ หมายเหตุ ๒๕๖๒ สพฐ. เกียรติบตั ร รางวัลระดับชาติ งานศลิ ปหตั ถกรรมฯ คร้ังที่ 69 ปี 2563 2562 จำนวน 10 กจิ กรรม ดังน้ี กระทรวงศึกษาธกิ าร เกียรติบตั ร 2563 1. การแขง่ ขนั เวทคณิต ป.1-ป.3 ระดบั เข้าร่วม กระทรวงศกึ ษาธิการ เกียรติบัตร 2564 2. การประกวดเพลงคณุ ธรรม ป.4-ป.6 ระดับเหรียญ เกยี รตบิ ัตร ทอง กรมศาสนา 3. การประกวดโครงงานคณุ ธรรม ป.4-ป.6 ระดับ กระทรวงวฒั นธรรม เหรียญทอง 4. การประกวดเลา่ นิทานคณุ ธรรม ม.1-ม.3 ระดบั เหรียญทอง 5. การแข่งขันคตี ะมวยไทย ม.1-ม.3 (รองชนะเลศิ อนั ดับท่ี ๒) ระดบั เหรยี ญทอง 6. การแขง่ ขันการวาดภาพระบายสี ม.1-ม.3 ระดับ เหรยี ญเงิน 7. การแขง่ ขนั ขบั ร้องเพลงไทยลูกทุ่ง ประเภทหญิง ม. 1-ม.3 ระดับเหรยี ญทอง 8. การประกวดดนตรปี ระเภทวงเครื่องลม (Wind Ensemble) ม.1-ม.3 ระดับเหรียญทอง 9. การแข่งขนั การสรา้ งการต์ นู เรอ่ื งส้นั (Comic Strip) ม.1-ม.3 ระดบั เหรยี ญเงิน 10. การแขง่ ขันการสรา้ งการต์ นู แอนเิ มชัน่ (2D Animation) ม.1-ม.3 ระดบั เหรยี ญทองแดง กองลกู เสอื สามญั โรงเรียนหนิ กอง(พบิ ลู อนุสรณ)์ ไดร้ บั รางวลั ชมเชยระดบั ประเทศ ประเภท ลกู เสือสามัญ การประกวดระเบียบแถวลูกเสอื เนตรนารี ประจำปี 2563 ระดบั ประเทศ จากสำนักงาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กองลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ โรงเรียนหินกอง(พบิ ลู อนุสรณ)์ ได้รับรางวลั ชมเชยระดบั ประเทศ ประเภท ลกู เสอื สามญั การประกวดระเบียบแถวลูกเสือ เนตร นารี ประจำปี 2563 ระดบั ประเทศ จากสำนักงาน กระทรวงศึกษาธิการ รางวลั ชมเชย ระดบั ประถมศกึ ษา “การประกวดสวด มนต์หมูส่ รรเสรญิ พระรัตนตรัย ทำนองสรภัญญะ ประเภททมี โรงเรยี น ระดับภาค

10 2.2.3 ขอ้ จำกดั ของโรงเรยี น ๑. โรงเรียนตั้งอยู่ติดถนนพหลโยธิน จึงทำให้การมนาคมสะดวก แต่การที่มีรถวิ่งผ่าน ตลอดทั้งวัน ทำให้เกิดมลภาวะทางเสียงที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนของครูและนักเรียน ในช่วง กลางคืน บริเวณริมรัว้ ดา้ นหน้าโรงเรยี นเป็นตลาดโต้รงุ่ ขายอาหาร ทำใหเ้ กิดขยะมูลฝอยจำนวนมาก ๒. โรงเรียนมีนักเรยี นอยู่ในกลุ่มฐานะยากจนและขาดแคลนจำนวนมาก ผู้ปกครองของ นักเรียนส่วนใหญ่ทำงานโรงงาน และมาจากหลายถิ่นฐาน จึงทำให้ นักเรียนขาดแคลนทุนทรัพย์ในการ เรียน โรงเรียนจึงจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย โรงเรียนประชารัฐ CONNEXT ED สนับสนุนโดย บริษัท ซีพี - เมจิ จำกัด จัดทำโครงการอิ่มสุข ปลูกอนาคต เพื่อหารายได้สนับสนุนค่าอาหารนักเรียนให้ ได้รับประทานครบมื้อ เปน็ การแบ่งเบาภาระผูป้ กครอง ๓. โรงเรียนได้ทำการรือ้ ถอนอาคารอนุบาลหลังเก่าทเ่ี กดิ การชำรดุ เสอ่ื มโทรมตามอายุ การใช้งานและได้จดั ห้องเรยี นอนบุ าลมาใช้อาคารร่วมกันกับประถมศกึ ษา ทำให้การจดั สภาพแวดล้อมทาง กายภาพยากลำบากต่อการจดั กิจกรรมตา่ งๆของเดก็ ระดับชั้นอนบุ าล อาทิ ๓.๑ สนามเดก็ เล่นไม่ไดอ้ ยูใ่ กลก้ ับตวั อาคารเรียนทำให้เดก็ อนบุ าลเกิดปัญหา ในการ เดินทางเข้าไปใชแ้ ละการควบคมุ ดูแลความปลอดภัยของเดก็ ๓.๒ ห้องสวนสนุกมีพื้นทีไม่เพียงพอในการเล่นเครื่องเล่นต่างๆและไม่ได้อยู่ใน บริเวณอาคารเรยี นทีค่ รูดแู ลไดอ้ ย่างทว่ั ถึง ๔. โรงเรียนไดจ้ ดั ทำพืน้ ทหี่ นา้ อาคารเปน็ สวนหยอ่ ม เพือ่ ใหเ้ ดก็ อนุบาลได้นงั่ พักผ่อนและ ใหค้ ุณครูไดจ้ ัดกจิ กรรมต่างๆให้กับเด็ก แด่ด้วยขอ้ จำกดั ของพ้นื ที่จึงทำใหไ้ ม่เพียงพอต่อความต้องการของ เดก็ ใน การเลน่ และทำกิจกรรมตา่ งๆ ๕. โรงเรยี นขาดแคลนครู เน่ืองจากในปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ครูเกษียณอายุราชการ จำนวน ๕ ราย ถึงปจั จบุ ันยงั ไมไ่ ด้รบั อตั ราครูมาทดแทน สง่ ผลให้ครูท่มี ีอยู่ตอ้ งรบั ภาระงานมาก ครูทำงานหลายหน้าท่ีทำให้ขาดความ ชัดเจนในการปฏบิ ัติงาน และครูบางส่วนรับผิดชอบงานพิเศษมาก เกินไป มีเวลาในการเตรียมการสอนน้อย รวมทั้งการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษา ที่มีการ เปลย่ี นแปลง ส่งผล ให้ภาระงานเพ่ิมขน้ึ และบุคลากรบางส่วน ปรบั ตัว ไม่ทนั 2.3 ประเภทที่โรงเรียนดำเนินการและประสบผลสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ Active Learning รว่ มกบั ภาคเี ครือขา่ ย การสนับสนุนแหลง่ เรียนร้ภู ายนอก การสนบั สนนุ บคุ ลากรผ้เู ช่ียวชาญ ใหโ้ รงเรยี น  การสนบั สนุนสือ่ การเรียนรู้ Active Learning ร่วมกับภาคเี ครือขา่ ยใหแ้ ก่โรงเรยี น  การสนบั สนนุ งบประมาณใหจ้ ดั กจิ กรรม Active Learning รว่ มกบั ภาคเี ครือข่าย  การสนับสนนุ แบบผสมผสาน อื่นๆ (โปรดระบุ)

11 2.4 ปญั หาและความจำเป็น การจดั สภาพแวดล้อมเป็นสว่ นหน่ึงที่ทกุ หนว่ ยงาน ทุกองคก์ ร รวมท้ังสถานศกึ ษา ต่างก็ตระหนัก และเหน็ ความสําคัญของสภาพแวดล้อม ด้วยเหตผุ ลทวี่ า่ สภาพแวดลอ้ มมีอิทธิพลต่อพฒั นาการของมนุษย์ เพราะมนุษย์อาศัยอยู่ในสิ่งแวดลอ้ ม จึงถือว่าส่ิงแวดลอ้ มมีหนา้ ทีเ่ ร้าให้มนุษย์แสดงพฤตกิ รรม หน่วยงาน ทางการศึกษาจึงให้ความสําคัญต่อการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อตัว ผู้เรียน ซ่ึงในการจัดการศึกษาของไทยท่ีทาํ กันมาโดยตลอดเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อม คือ การจัดการ ศึกษาที่คํานึงถึงปัญหาและความต้องการของผู้เรียน และจัดองค์ประกอบของการเรียนการสอนของครู ผู้เรียน และสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้มีความสอดคล้องสัมพนั ธ์กันอย่างเหมาะสม แต่ในความเปน็ จริงยังพบปัญหาอีกมากมายในการจัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา ดังนั้นบุคคลทุกคนภายใน โรงเรียนจึงต้องสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่ดีให้เกิดขึ้น แต่ควรอยู่ภายใต้หลักการของ “ การร่วมคิด ร่วมทำ ” ซึ่งเป็นการเสริมสร้างความรู้สึกที่ดี ความรู้สึกของการมีส่วนร่วมรักษา สภาพแวดล้อมในโรงเรยี น ของผู้บริหาร ครู นักเรยี น ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคเี ครือข่าย ให้มีความรู้สกึ ของความเป็นเจ้าของ โดยเฉพาะนักเรียนซึ่งเป็นหัวใจของการจัดการศึกษา ผู้บริหารและคุณครูควร ยอมรับว่า นักเรียนทุกคนมีความสามารถและเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน ที่มีความรักความผูกพันและ ปรารถนาดตี ่อโรงเรียนของตนเอง จงึ ควรเปิดโอกาสให้นักเรยี นไดแ้ สดงความคดิ เหน็ ตัดสนิ ใจรว่ มวางแผน พัฒนาสภาพแวดล้อมในโรงเรียนภายใต้การแนะนำของผู้บริหารและคุณครู เพื่อให้โรงเรียนสะอาด เป็น สถานทน่ี ่าอยู่ นา่ เรียน แลว้ ทกุ คนจะอยรู่ ว่ มกันอย่างมีความสุข โรงเรยี นหินกอง(พบิ ลู อนุสรณ์) เป็นโรงเรียนดีประจำตำบล และโรงเรียนประชารัฐ CONNEXT ED บรษิ ทั ซพี ี-เมจิ จำกดั มีพนื้ ทีจ่ ำนวน ๑๑ ไร่ ๔ งาน ๑๕ ตารางวา โรงเรยี นมีสภาพแวดล้อมทไี่ มเ่ อ้อื ต่อการจัดการเรียนการสอนเท่าทีค่ วร อาทิ สภาพภายนอกโรงเรียน ที่ตั้งอยู่ติดถนนพหลโยธิน จึงทำให้ การคมนาคมสะดวก แต่การที่มีรถวิ่งผ่านตลอดทั้งวัน ทำให้เกิดมลภาวะทางเสียงที่เป็นอุปสรรคต่อการ เรียนการสอนของครูและนักเรียน ในช่วงกลางคืน บริเวณริมรั้วด้านหน้าโรงเรียนเป็นตลาดโต้รุ่งขาย อาหาร ทำให้เกิดขยะมูลฝอยจำนวนมาก สง่ กลิ่นเหม็นในชว่ งเชา้ ทุกวนั แมท้ างเทศบาลตำบลหนิ กอง จะ ส่งพนักงานมากวาดขยะทุกวัน และมีรถมาเก็บขยะทุกสัปดาห์ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ส่วน สภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นเนื่องจากมีนักเรียน ครู ผู้ปกครองและผู้เกยี่ วขอ้ งตา่ งๆ ในโรงเรียนเป็นกลุ่ม คนจำนวนมาก ทำให้เกิดปริมาณขยะเพิ่มขึ้นทุกวัน แหล่งที่มาของขยะประเภทต่างๆ ได้แก่ ร้านค้ามินิ มาร์ท โรงอาหาร และซุ้มเครื่องดื่ม รวมทั้งขยะที่เกิดจากถุงนมที่นักเรียนระดับชั้นอนุบาล ถึง ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ดื่มทุกวัน โรงเรียนปฏเิ สธไม่ได้เลยว่าสาเหตุสำคัญส่วนหนึง่ เกิดจากการทีน่ ักเรียนไม่ เข้าใจในด้านการจดั การขยะ จึงสร้างขยะมลู ฝอยประเภทตา่ งๆ โดยไม่รูต้ วั ทำให้โรงเรียนมีปรมิ าณขยะ จำนวนมาก และไม่สามารถจดั การขยะท่ีมีไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ดังน้ันโรงเรียนจงึ ได้หาวธิ ีการปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ้ ม โดยจดั กิจกรรมเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพระบบ การจัดการขยะมูลฝอย เพื่อปลูกฝัง ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองและชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ ประโยชน์ใหม่ และเพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักในการมี ส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยการดำเนินการโรงเรยี นหินกอง(พิบูลอนสุ รณ์) มีนโยบายน้อมนำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลื่อนในการบริหารจัดการสถานศึกษาและบูรณาการในการ

12 จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดการเรียนการสอน Active Learning ให้สอดคล้องตาม วิสัยทศั น์ของโรงเรยี น ทวี่ า่ มงุ่ พัฒนาผเู้ รียน ตามเกณฑ์มาตรฐานสากล บนความเปน็ ไทย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง ผู้บริหารศึกษาใช้แนวคิด ทฤษฎีหลักการบริหารสถานศึกษา โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School - Based Management : SBM) และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( Result Based Management : RBM) มาปรับใช้ในการบรหิ ารงานในสถานศึกษาทั้ง ๔ ด้าน คือด้านงานวชิ าการ งาน บคุ ลากร งานงบประมาณและงานบริหารท่ัวไป โดยอาศัยความร่วมรว่ มมอื ท่ีดีจากภาคีเครือข่าย โรงเรียน ประชารฐั CONNEXT ED บรษิ ัทซีพี-เมจิ จำกัด มลู นธิ ิรกั ษไ์ ทย และหน่วยงานตน้ สังกดั ท่เี ห็นปัญหาและ ความจำเป็นในการแก้ปัญหาดังกล่าว เพื่อให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดี ถูกสุขลักษณะ เอื้อต่อการ จดั การเรียนการสอน สง่ ผลต่อสขุ ภาพอนามยั ท่ดี ีของนักเรยี นตอ่ ไป 2.5 เปา้ หมายการดำเนนิ งาน ๑) เพื่อสร้างและพัฒนารปู แบบการจัดการสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาอย่างยั่งยนื ให้เอื้อต่อ การจดั การเรยี นรูข้ องนกั เรียน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒) เพื่อนำรูปแบบ วิถีพอเพียง เคียงคู่ โรงเรียนสะอาด โดย CLEAN model การแก้ปัญหาและ พัฒนาสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาอย่างยั่งยืน มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาโรงเรียนใน อนาคต ๓) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการลด การคัดแยกขยะและ การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ Active Learning ร่วมกับ ภาคีเครือข่าย ๔) เพอื่ สรา้ งความตระหนกั และปลุกจิตสำนึกใหน้ ักเรยี น ครู ผู้ปกครองและชมุ ชน ให้เห็นความสำคัญ ของปัญหามีสว่ นร่วมพัฒนาสิ่งแวดลอ้ มและการอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชน ๕) เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพระบบการจดั การขยะมลู ฝอยโดยการมสี ่วนร่วมของชมุ ชนและภาคเี ครือข่าย ๖) เพื่อให้บุคลากรทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษามีความพึงพอใจในการใช้บริการด้านอาคาร สถานทแ่ี ละสิง่ แวดล้อม

13 2.6 รูปแบบและวธิ กี ารดำเนนิ งาน ผู้บริหารสถานศึกษา ตระหนักและเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและการจัดกระบวนการ เรียนการสอน Active Learning ร่วมกับภาคีเครือขา่ ย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ที่มุ่งเน้น การสร้างนิสัยให้ผู้เรียนมีความตระหนัก เห็นคุณค่าในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ซึ่งวิถี ชีวิตประจำวันของผู้เรียนมีกิจกรรมมากมายที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม ถ้าผู้เรียนเข้าใจและเลือกปฏิบัติที่ ถูกต้อง ครูผู้สอนจึงเป็นบุคคลสำคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบูรณาการแนวคิดและสร้าง แนวคิดให้กบั ผู้เรียนในเร่ืองการรกั ษ์สิ่งแวดล้อม เพราะผู้เรยี นเป็นขมุ พลงั อันย่ิงใหญ่ และเป็นกลุ่มคนท่ีมี ความหวังว่าจะเป็นผู้สร้างโรงเรียนและชุมชนให้น่าอยู่มีสิ่งแวดล้อมที่ดีในอนาคตต่อไป จึงออกแบบ นวัตกรรม วถิ พี อเพียง เคยี งคโู่ รงเรียนสะอาด โดย CLEAN model เปน็ กลยทุ ธใ์ นการดำเนินงาน ท่ีต้อง อาศยั การมสี ่วนรว่ มของทุกฝา่ ยเป็นกรอบแนวคดิ ในการพัฒนาเป็นลำดับขน้ั ดังน้ี ๑. นำปญั หาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนหนิ กอง(พบิ ูลอนสุ รณ)์ ซึ่งเปน็ ผลมาจากนกั เรยี น ไม่เขา้ ใจในดา้ นการจดั การขยะ จงึ สร้างขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ โดยไมร่ ู้ตวั ทำให้โรงเรยี นมปี รมิ าณขยะ จำนวนมาก และไม่สามารถจดั การขยะทม่ี ีไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ สง่ ผลตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มและบรรยากาศการ จัดการเรียนการสอนมากำหนดเปน็ ประเด็นในการออกแบบนวัตกรรม ๒. สำรวจสภาพปญั หาและความต้องการของ นักเรยี น ครู ผปู้ กครองและชมุ ชน ในเร่ือง การจัดการขยะมูลฝอย จากร้านค้ามนิ ิมาร์ท โรงอาหาร ซุ้มเครื่องดื่ม และขยะที่เกิดจากถุงนม จำนวน มากมายหลายชนิดที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียน มาวิเคราะห์ปัญหา นำมาจัดลำดับความสำคัญในการ ดำเนินการ ใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทของโรงเรียนโดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓. ศึกษาแนวคดิ ของนกั วชิ าการ และเอกสาร งานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ในเรอื่ งตอ่ ไปน้ี ๓.๑ ทฤษฎแี ละหลักการพฒั นาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรยี น ▪ แนวคิดเกีย่ วกับสง่ิ แวดลอ้ มในสถานศึกษา ▪ หลักการบรหิ ารสภาพแวดล้อมในสถานศึกษา ▪ แนวปฏบิ ตั ิในการดำเนนิ งานการจัดกจิ กรรมส่งิ แวดลอ้ มศกึ ษาในสถานศกึ ษา ▪ รปู แบบโรงเรียนส่ิงแวดลอ้ มศึกษา เพ่ือการพัฒนาทย่ี ่งั ยืน : Eco-school ของ กรมส่งเสริมคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ๓.๒ ทฤษฎีหลักการบริหารสถานศกึ ษา ▪ การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน (School - Based Management) ▪ การบริหารแบบมีส่วนร่วม (Participation Management) ▪ การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๓.๓ ทฤษฎีการจดั การเรยี นรู้และการประยุกต์สู่การสอน ▪ การจัดการเรียนรู้แบบ Active learning ▪ การจดั การเรยี นรู้ทเ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ (Child Center Learning) ▪ การถอดบทเรยี น การเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ▪ แนวการจดั การเรยี นรบู้ รู ณาการแบบครบวงจร ของ สำนกั วิชาการและ มาตรฐานการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

14 ๔. ออกแบบนวตั กรรม การจัดการสภาพแวดล้อมภายในสถานศกึ ษา ตามสภาพปัญหาและ ความต้องการแก้ปัญหาขยะในโรงเรียนและชุมขน ของนักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน โดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แล้วนำมาจัดลำดับความสำคัญในการพัฒนาตามสภาพและบริบทของ โรงเรียน โดยกำหนดขั้นตอนการดำเนินการ วิถีพอเพียง เคียงคู่ โรงเรียนสะอาด โดย CLEAN model ซึ่งเป็นรูปแบบที่ผูอ้ อกแบบนวัตกรรมได้นำอักษรของคำว่า “ สะอาด ” ในภาษาอังกฤษ คือ“ CLEAN ” มาเปน็ ตวั กำหนดกลยุทธใ์ นการดำเนินงาน ดงั น้ี กลยุทธ์ C มาจากคำว่า Curriculum Linking หมายถึง พัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาเชือ่ มโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยุทธ์ L มาจากคำว่า Learning Integration หมายถึง จัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยทุ ธ์ E มาจากคำวา่ Environmental policy หมายถงึ กำหนดนโยบายดา้ นการอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอม กลยุทธ์ A มาจากคำวา่ Activity-Based Learning หมายถึง การเรยี นรโู้ ดยใชก้ ิจกรรมเป็นฐาน กลยุทธ์ N มาจากคำว่า Naturally หมายถงึ นักเรียนเกิดจิตสำนึกรกั ษส์ ิ่งแวดล้อมด้วยวถิ พี อเพียง ๕. ดำเนนิ การจัดการสภาพแวดลอ้ มภายในสถานศกึ ษา โดยผ่านการประชมุ ปรกึ ษาหารือ กับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะครูและภาคีเครือข่าย โรงเรียนประชารัฐ CONNEXT ED บรษิ ัทซพี ี-เมจิ จำกดั เพ่อื วางแผนและกำหนดปฏทิ นิ การปฏิบัตงิ านตามกลยุทธ์ “ CLEAN ” โดยใช้วงจร คณุ ภาพ PDCA มี ๔ ขั้นตอน ในการพฒั นางานและการมีสว่ นรว่ มของบุคลากรและหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง ประกอบด้วย ➢ ขั้นตอนการวางแผน (Plan) ครอบคลมุ ถงึ การกำหนดกรอบหัวขอ้ ทีต่ ้องการปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลง การพัฒนาสง่ิ ใหม่ ๆ การแก้ปญั หาทเี่ กดิ ขึ้นจากการ ปฏบิ ตั งิ าน พรอ้ มกบั พิจารณาว่ามีความ จำเป็นต้องใชข้ อ้ มูลใดบ้าง แลว้ กำหนดทางเลือกในการปรับปรงุ เปลีย่ นแปลง ➢ ข้ันตอนการดำเนินการ (DO) คอื การลงมอื ปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลอื กทไี่ ด้ กำหนด ไวใ้ นขัน้ ตอนการวางแผน ในขนั้ นต้ี อ้ งตรวจสอบระหว่างการปฏบิ ตั ิด้วยว่าไดด้ ำเนินไปในทิศทางที่ กำหนดไว้ หรอื ไม่ ➢ ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check) คือ การประเมินผลและการตรวจสอบ ทำให้เรา ทราบว่าการ ปฏบิ ัตใิ นขัน้ ทส่ี องสามารถบรรลเุ ปา้ หมายหรอื วัตถุประสงค์ท่ไี ดก้ ำหนดไว้หรอื ไม่ ➢ ขนั้ ตอนการ ปรบั ปรุงพฒั นา (Act) จะพิจารณาอยู่ ๒ กรณี คือ ๑. หากผลที่เกดิ ข้นึ เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ก็ให้นำแนวทางนั้นมาจัดทำให้เป็นมาตรฐาน และ ๒. หากผลที่ได้ไม่บรรลุ วัตถุประสงค์ตามแผนที่วางไว้ เราควร พิจารณาว่าจะดำเนินการอย่างไรต่อไป ดังนี้ ๑. มองหาทางเลือก ใหม่ที่น่าจะเป็นไปได้ ๒. ใชค้ วามพยายามให้มากขึ้นกวา่ เดิม ๓. ขอความชว่ ยเหลือจากผู้รแู้ ละ ๔. เปลี่ยน เปา้ หมายใหม่

15 ๖. ตรวจสอบและประเมินผลการดำเนนิ การตามรปู แบบ วถิ พี อเพียง เคยี งคู่ โรงเรยี น สะอาด ด้วย CLEAN model ทลี ะขน้ั ตอน โดยประเมินจากสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา และคณุ ภาพ ผู้เรียนว่ามีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามเปา้ หมายท่ีกำหนดหรือไม่ ๗. สรปุ ผลการประเมินสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาและคุณภาพผูเ้ รียน และวิเคราะห์ ปญั หาและขอ้ บกพรอ่ งในแตล่ ะดา้ น เพื่อนำมาปรับปรงุ และพัฒนานวัตกรรมให้ดีข้นึ และดำเนินการในปี การศกึ ษาต่อไป ๘. เผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ผลงานนกั เรยี น และโรงเรียนส่สู าธารณชน และ ขยายผลตอ่ หนว่ ยงานอื่นๆ ตลอดจนพัฒนานวัตกรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ งและยงั่ ยนื ตอ่ ไป

16 รปู แบบและกระบวนการเชงิ ระบบ วถิ พี อเพยี ง เคียงคู่ โรงเรยี นสะอาด (Clean school by Sufficiency way) ดว้ ย…CLEAN model

17 ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน ผบู้ ริหารโรงเรยี นออกแบบนวัตกรรมดำเนนิ งานพฒั นา สูผ่ ลสำเรจ็ ตามเป้าหมาย ดังนี้ ๑. วเิ คราะห์ปัญหาสภาพแวดล้อมภายในสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย - ปัญหาขยะ เศษอาหาร เศษวัสดุ ขวดน้ำพลาสติก ฯลฯ - ปัญหาน้ำเสยี ท่อระบายน้ำอุดตันระบายไมท่ นั เม่อื ฝนตก - ปญั หาขยะถุงนมทน่ี ักเรียนดม่ื ทกุ วัน ๖๐๐ ถงุ /วัน จัดลำดับความสำคญั ในการดำเนินการออกแบบนวตั กรรมการแกป้ ัญหาสภาพแวดล้อม ภายในสถานศึกษา โดยอยู่บนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนหิน กอง(พบิ ลู อนุสรณ์) ซึ่งตอ้ งการให้การแก้ปญั หานนั้ ย่งั ยนื สง่ ผลตอ่ การพฒั นาผู้เรียนท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา การที่อารมณ์และสังคม มุ่งเสริมสร้างเจตคติ คุณค่าชีวิต ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมและ ค่านิยมที่พงึ ประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักและเขา้ ใจตัวเอง สร้างจิตสำนกึ ในการอนุรักษธ์ รรมชาติและ สง่ิ แวดล้อม ปรบั ตัวและปฏบิ ัตติ นให้เป็นประโยชน์ตอ่ สงั คม ประเทศชาติ และดำรงชวี ติ ได้อย่างมคี วามสุข ๒. ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการพัฒนาสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียน หลักการบริหาร สถานศึกษา และทฤษฎีการจัดการเรียนรู้และการประยุกต์สู่การสอน เพื่อเชื่อมโยงกับการพัฒนา วิถี พอเพียง เคียงคู่ โรงเรียนสะอาด โดยกำหนดขั้นตอนการพัฒนาตามรูปแบบของโรงเรียนด้วย CLEAN model มาเป็นตวั กำหนดกลยุทธ์ในการดำเนนิ งาน ดังน้ี กลยทุ ธ์ C : Curriculum การพฒั Lนiาnหkลinกั สgูตรสถานศกึ ษาเชอื่ มโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยโรงเรยี นหินกอง (พบิ ลู อนุสรณ์) ไดน้ อ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากพระราชดาํ รัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยู่ หัว ภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงรัชกาลที่ 9) ที่พระราชทานแก่ผูส้ ำเร็จการศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรนี คริ นทรวิโรฒ ความว่า “...การให้การศึกษานั้น กล่าวสั้นๆ โดยความหมายรวบยอด คือ การช่วยให้บุคคล คน้ พบวิธีการดำเนนิ ชีวติ อย่างถกู ต้อง เหมาะสม ไปสูค่ วามเจรญิ และความสุขตามอัตภาพ ผู้สอนมีหน้าที่ ต้องหาความรู้และวิธีการดำเนินชีวิตมาให้ศิษย์ได้รู้ได้ทราบ เพื่อให้สามารถเรียนรู้ต่อไปและดำเนินชีวิต ตอ่ ไปไดด้ ว้ ยดี จนบรรลุจดุ หมาย หากผ้สู อนมีอุบายอนั แยบคาย ซงึ่ เปน็ ปัจจยั สำคญั ทสี่ ดุ ท้ังในการแสวงหา ความรู้ ทั้งในการถ่ายทอดความรู้ เกิดจากความระลึกได้ถงึ ในความรู้ท่ีผ่านพบมาแล้ว ประกอบกบั ความ รู้ตัวและความคิดอ่านที่ว่องไวเฉลียวฉลาด ซึ่งปกติชนทุกคนจะต้องฝึกฝนให้เกิดขึ้นได้ไม่เกินวิสัย แล้ว นำมาใช้ควบเข้ากบั ความรู้ ความถนดั ของตนให้เป็นประโยชน์ได้ทกุ โอกาส...” ดงั นัน้ โรงเรยี นหนิ กอง(พบิ ูล อนสุ รณ์) พบวา่ ผูเ้ รยี น คืออนาคตของชาติ การพฒั นาผู้เรยี น คอื หัวใจของการพฒั นาท่ีย่ังยืน โรงเรียนจึง ได้จัดกระบวนการเรียนรู้บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ด้วยตนเองและเป็นความรู้ที่ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สู่การดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงของผู้เรียน เกิดเป็นอุปนิสยั “อยู่อย่างพอเพียง” ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ี สอง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายที่สำคัญ การขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการดำรงชีวิต โรงเรียนโดยการนำของผู้อำนวยการโรงเรียน คณะครูและบุคลากร ทางการศึกษา ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๖๔ บูรณาการหลักปรชั ญา

18 ของเศรษฐกจิ พอเพียง สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ในการ บริหารจดั การหลักสูตรสถานศึกษา น้ันบรหิ ารโดยใหท้ ุกฝ่ายที่เกี่ยวขอ้ งกับการจัดการศึกษามีส่วนร่วมคิด ร่วมทำทกุ ข้นั ตอน โดยไดด้ ำเนนิ การตามลำดับข้นั ดงั นี้ (๑) การเตรียมความพร้อมในดา้ นบคุ ลากร และข้อมลู สารสนเทศ (๑.๑) สร้างความตระหนักแก่คณะครูในโรงเรียนและผู้เก่ียวข้องโดย การประชุมสร้างความ เข้าใจการพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา บูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยสอดแทรกสาระ การเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อใช้พัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียนมีความตะหนกั เกดิ ความสำนึกในการลงมอื และร่วมมือในการทำใหส้ ิง่ แวดล้อมดีข้นึ ในแตล่ ะดา้ น ดงั นี้ - ดา้ นความตระหนกั (Awaereness) หมายถงึ การมีความรู้สึกไวตอ่ สง่ิ แวดล้อมและปญั หา - ดา้ นความรู้ความเข้าใจ (Knowledge and Understanding) หมายถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ ขอ้ มูล กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่นักเรียนได้เรียนรู้จากการศึกษา ค้นคว้าสังเกต และประสบการณ์ทั้งทางตรง และ ทางออ้ มเกี่ยวกบั ปัญหาสิง่ แวดล้อมจากขยะมลู ฝอย - ดา้ นทักษะ (Skill) หมายถงึ การช้บี ่งปัญหาและแก้ไขปญั หาสง่ิ แวดล้อมรวมทั้ง ทกั ษะ การตัดสินใจทกั ษะทีใ่ ช้ในการจัดการเรียนรู้ คอื ทักษะการสำรวจ การสงั เกต จดบันทกึ รวบรวม ข้อมูล วเิ คราะห์ขอ้ มลู การวางแผนปอ้ งกัน แก้ไขและการตดั สินใจทกั ษะต่างๆ นำไปใช้ในการจัดกิจกรรม พัฒนา ความรู้ความเข้าใจของผ้เู รยี น - ดา้ นเจตคติ (Attitude) หมายถึง การมีคา่ นยิ มและความห่วงใยส่ิงแวดล้อม และ กระตุ้นให้มีกิจกรรมที่จะร่วมป้องกันและทำส่ิงแวดลอ้ มให้ดีขึ้นแสดงออก โดยการแสดงความซาบซ้งึ การ เห็นคุณค่า หวงแหนและความรบั ผิดชอบ ซึ่งการพฒั นาผูเ้ รียนในด้านความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะให้สร้างเจตคติต่อสิ่งแวดล้อมผา่ นกระบวนการดังกลา่ ว - ดา้ นการมีสว่ นรว่ มและลงมอื ปฏิบตั กิ จิ กรรม (Participation and Action) หมายถึง การที่กลุ่ม หรือบุคคลได้มีโอกาสเข้าร่วมทำงาน เพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมในทุกระดับ แสดงออกโดย การปฏิบัติกิจกรรมด้วยความเต็มใจมีพฤติกรรมอนุรักษ์ มีลักษณะจิตอาสาและจิตสาธารณะ เป็น พฤติกรรมที่เกิดจากผู้เรียนตระหนัก มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม เชน่ กัน (๑.๒) แตง่ ต้งั คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและงานวชิ าการในโรงเรียนตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร และ งานวชิ าการ พ.ศ.๒๕๔๔ (๑.๓) พิจารณาแต่งตั้งคณะอนุกรรมการรับผิดชอบแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อจัดทำ สาระการเรยี นรูท้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย (๑.๔) พัฒนาบุคลากรในโรงเรียนทุกคน โดยจัดหาเอกสารให้ศึกษา และเข้าประชุมอบรม การจดั ทำสาระหลักสตู รการศึกษาบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทหี่ นว่ ยงานตน้ สงั กัดจดั (๑.๕) จัดประชุมคณะครูประจำทุกเดือนๆละ ๑-๒ ครั้ง โดยใช้กระบวนการ PIC (Professional Learning Community) ประชุมผู้ปกครอง และชุมชนในเขตบริการ เพื่อสอบถามข้อมูล พื้นฐานที่จำเป็น และความต้องการพัฒนาการศึกษา และเป็นการประชาสัมพันธ์ การจัดทำหลักสูตร เชื่อมโยงหลักปรชั ญาของเศรษฐกพิ อเพียง

19 (๒) การจัดทำหลักสตู รสถานศกึ ษาบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (๒.๑) จัดบุคลากรเข้าประชุม อบรมการบริหารจัดการหลักสูตร การจัดทำสาระหลักสูตร ตามความถนัดของแต่ละบุคคล ผู้ที่เข้าประชุมนำความรู้ที่ได้รับมาขยายผลให้บคุ ลากรในโรงเรยี นได้รับ ทราบ และสรา้ งความเขา้ ใจทุกคร้ัง (๒.๒) ประชมุ ผู้ที่เกยี่ วข้อง กบั การจดั การศกึ ษาของโรงเรียนได้แก่คณะครู คณะกรรมการ สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนองค์กรปกครองท้องถิ่น ตัวแทนชุมชนเพื่อวิเคราะห์ จุดเด่น จุดด้อยของโรงเรียน ระดมความคิดชว่ ยกนั จัดทำวิสัยทัศน์ ภารกิจ จุดมุ่งหมาย คุณลักษณะท่พี ึง ประสงค์ โครงสรา้ งกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น สัดสว่ นเวลาเรียน (๒.๓) จัดทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาเชอื่ มโยงหลักปรชั ญาของเศรษฐกพิ อเพยี ง ตามกรอบทไี่ ด้ ชว่ ยกนั กำหนด ได้แก่ วสิ ยั ทศั น์ จดุ หมาย คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ โครงสรา้ งสดั ส่วนเวลาเรยี น กิจกรรม พัฒนาผเู้ รยี น คำอธิบายรายวชิ า การจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล (๒.๔) จดั ทำหน่วยการเรยี นรู้บูรณการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (๒.๕) จดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ ของแตล่ ะสาระการเรียนรู้ โดยถอดบทเรยี นตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดงั นี้ เง่อื นไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม ความรอบรเู้ กยี่ วกบั วิชาการตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งและ ตอ้ งเสริมสร้างพน้ื ฐานจิตใจ มคี วามตระหนักใน ความรอบคอบทจ่ี ะนำความร้เู หล่าน้นั มาพจิ ารณาให้ คุณธรรม ซ่อื สัตย์ สจุ ริต อดทน และมีความ เช่อื มโยงกนั เพือ่ ประกอบการวางแผนและความ เพียรใช้สติปญั ญาในการดำเนนิ ชวี ิต ระมัดระวงั ในขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ

20 มติ วิ ตั ถุ มิตสิ ังคม มติ ิส่ิงแวดล้อม มติ วิ ฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่า และใชว้ ตั ถุ เห็นคุณค่าของการอยู่ มีจติ สำนึก ร้วู ธิ กี าร เหน็ คณุ ค่าและรว่ ม สง่ิ ของ เงนิ ทอง อนรุ ักษว์ ัฒนธรรม ทรัพยากร อย่าง รว่ มกับผู้อน่ื โดยไม่ และการมีสว่ นร่วมใน ค่านิยม เอกลักษณ์ ประหยดั คมุ้ คา่ ท้องถ่นิ /ความเปน็ ไทย เบยี ดเบยี นกนั และมี การอนรุ ักษ์ธรรมชาติ ความเออื้ เฟ้อื เผ่ือแผก่ ัน สิง่ แวดล้อม (๓) การนำหลกั สูตรไปใช้ ทำความเข้าใจกับคณะครูในโรงเรียนในเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย การสร้างบรรยากาศในโรงเรยี นใหร้ ่ม รนื่ สวยงาม เอื้อต่อการเรยี นรู้ รว่ มวางแผนการพฒั นาสภาพแวดล้อมของโรงเรียน แนะแนวนักเรียนท้ัง ในดา้ นการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพ และปญั หาดา้ นๆ

21 กลยทุ ธ์ L : Learning Integration จัดการเรียนรู้แบบบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ขนั้ ตอนท่ีสำคัญของการนำ หลกั สตู รสถานศกึ ษาส่ชู ัน้ เรียน ดำเนนิ งานโดย ๑) คณะกรรมการบริหารจัดการหลักสูตรและงานวิชาการ โรงเรียนและคณะครู ทุกคน ร่วมกันศึกษาแนวการจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบครบวงจร ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน แลว้ ออกแบบหนว่ ยการเรยี นร้เู ริม่ จากการกำหนดประเด็น/ หัวเรื่อง จากสภาพปัญหา วิเคราะห์และกำหนดเนื้อหา/สาระการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับประเด็น/หัวเรื่อง ระบุมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้วี ัดทีส่ อดคลอ้ งกับเนือ้ หา/สาระการเรยี นรู้ ๒) ศกึ ษาโครงสรา้ งเวลาเรียนของหลักสตู รสถานศึกษาในแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้หรือ รายวิชา และศกึ ษาคำอธบิ ายรายวิชา ๓) ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ของระดับชั้น และ สามารถนำมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการร่วมกนั ได้ จัดทำเป็นหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการรกั ษ์ สง่ิ แวดล้อม สอดแทรกกับหนว่ ยการเรยี นรู้อ่ืนๆ เพื่อใช้จัดการเรยี นรูต้ ลอดปีการศกึ ษา ๔) กำหนดเวลาเรียนในแต่ละหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ ต้องจัดให้เหมาะสมกบั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทีจ่ ะใช้ในการพฒั นาผูเ้ รยี นตามมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชว้ี ัด และสาระการเรียนรู้ ต้อง จัดให้เพยี งพอท่จี ะใหผ้ ู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ ๕) จัดทำโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ เป็นการกำหนดขอบข่ายของการจัดการ เรยี นรูบ้ รู ณาการและช่วยให้เห็นภาพรวมของการจัดการเรยี นร้แู ตล่ ะระดับช้นั ตลอดปี ว่าควรมหี น่วยการ เรียนรู้เท่าใด มีสาระการเรียนรู้ใดบ้างแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะต้องพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการ เรียนรู้ และตัวชี้วัดของกลุ่มสาระใดๆ ในระยะเวลาเท่าใด โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้บูรณาการมี องค์ประกอบสำคัญ ดังนี้ - ช่อื หน่วยการเรียนรู้ : ช่ือนา่ สนใจ สอดคล้องกบั ปญั หาและเหตกุ ารณป์ จั จุบัน - มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั - สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด - กล่มุ สาระการเรยี นรู้ - ชิน้ งาน/ภาระงาน - เวลา ๖) ครูผู้สอนให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ด้วยการสอดแทรกไว้ทุกหนว่ ยการเรียนรู้เพื่อให้สามารถเห็นภาพรวมของแต่ละหน่วยได้ชัดเจน จึงขอนำเสนอตัวอย่างผังการถอดบทเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแผนการจัดการ เรียนรู้ เพื่อบ่มเพาะอปุ นสิ ยั อยูอ่ ยา่ งพอเพียง เชอื่ มโยงการรกั ษาสภาพแวดลอ้ มในโรงเรียน ใน 2 เรื่อง คือ 1) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ วิถี Zero Waste แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 3 เรื่อง การประดษิ ฐ์พวงมาลัยจากถุงนม ๒) กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 กจิ กรรมชุมนมุ รา้ นค้าศูนย์บาท แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 4 เร่อื ง กจิ การรา้ นคา้ ศูนย์บาท

22 แผน่ ท่ี ๑ ผงั โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้เพอื่ เสรมิ สรา้ งคณุ ลกั ษณะอยู่อยา่ งพอเพยี ง กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ หนว่ ยการเรียนรู้ วถิ ี Zero Waste ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 4 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๑ (๑ ช่ัวโมง) แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 (1 ชว่ั โมง) เรื่อง การคดั แยกขยะ เร่ือง การลดขยะดว้ ยแนวคิด 3R มฐ./ตวั ช้ีวดั ง 1.1 ป.5/4 มฐ./ตัวชว้ี ดั ง ๑.๑ ป.5/4 สาระการเรยี นรู้ : ปญั หาขยะมูลฝอย นบั วนั จะทวีความรุนแรง สาระการเรยี นรู้ : 3R เปน็ แนวคิดและแนวทางในการ ลักษณะขยะมลู ฝอย ด้วยสาเหตุตา่ ง ๆ เชน่ การเพ่ิมขึ้นของจำนวน ปฏบิ ตั เิ พ่ือการใช้ทรพั ยากรทม่ี อี ย่อู ยา่ งคุ้มค่า สามารถ ประชากร พฤติกรรมการบรโิ ภคที่ต้องการความสะดวกสบาย ช่วยลดปรมิ าณขยะให้นอ้ ยลง ด้วยการลดการใช้ การนำ บรรจภุ ณั ฑ์ทใ่ี ช้แล้วทิง้ เปน็ ตน้ การคัดแยกขยะ มี 4 ประเภท คอื กลบั มาใชซ้ ำ้ และการนำขยะกลับมาใชใ้ หม่ (Reduce ขยะเปียก ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย Reuse and Recycle: 3Rs) หน่วยการเรียนรู้ : วิถี Zero Waste (4 ชว่ั โมง) สาระสำคญั : ปญั หาเร่ืองการจัดการขยะยากที่จะควบคมุ ได้ เวน้ แต่ผบู้ ริโภคจะมกี ารเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมในการลดขยะ โดยใช้แนวคิด 3Rs รวมถึงการคัดแยกขยะแตล่ ะประเภทเพื่อนำ ขยะบางส่วนกลบั มาใช้ประโยชนไ์ ด้ เป็นการประหยัดทรพั ยากร รวมทง้ั เปน็ การลดปริมาณขยะ เพ่อื ไมใ่ หเ้ กดิ ปัญหาดา้ น สง่ิ แวดลอ้ ม แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 (2 ชว่ั โมง) เร่ือง การประดษิ ฐ์พวงมาลัยจากถุงนม มฐ./ตัวชีว้ ดั ง 1.1 ป.5/1-2 , ป.5/4 สาระการเรยี นรู้ : การประดษิ ฐพ์ วงมาลยั จากถุงนม เปน็ การนำเศษ ถงุ นมทเ่ี หลือใช้กลับมาใชใ้ หม่ให้เกดิ ประโยชน์ โดยการนำมาทำความ สะอาด ตดั เป็นแผ่นและรอ้ ยเป็นพวงใหม้ ลี ักษณะต่าง ๆ ตามตอ้ งการ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ภาระงาน/ชิ้นงาน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินยั ๑. ประดษิ ฐ์ 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้ พวงมาลัยจากถงุ นม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 4. อยอู่ ย่างพอเพยี ง

23 แผ่นท่ี 2 ผังการออกแบบการเรียนรู้แบบยอ้ นกลบั (Blackward Desing) กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรอื่ ง การประดษิ ฐพ์ วงมาลัยจากถุงนม ระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5 เวลา 2 ช่ัวโมง 1. เป้าหมายการเรียนรู้ 2. หลักฐานการเรียนรู้ มาตรฐานตวั ช้ีวัด ภาระงาน / ชิ้นงาน มาตรฐาน ง 1.1 เขา้ ใจการทำงาน มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีทักษะ กระบวนการทำงาน ทกั ษะการจัดการ ทักษะ กระบวนการแกป้ ญั หา ประดิษฐ์พวงมาลัยจากถุงนม ทักษะการทำงานรว่ มกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรม และลักษณะนิสยั ในการทำงาน มจี ิตสำนกึ ในการใชพ้ ลงั งาน ทรัพยากร การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และสงิ่ แวดลอ้ ม เพื่อการดำรงชีวิตและครอบครัว ตัวชีว้ ดั ประเด็น วธิ กี าร เคร่ืองมอื เกณฑ์ ป.5/1 อธิบายเหตุผลในการทำงานแตล่ ะขั้นตอนถกู ต้องตาม ผ่านรอ้ ยละ กระบวนการทำงาน ด้าน K บอกข้นั ตอน ใบงาน 70 การประดิษฐ์ ป.5/2 ใช้ทักษะการจดั การในการทำงานอยา่ งเป็นระบบ ประณีต ผ่านร้อยละ และมีความคิดสร้างสรรค์ พวงมาลัย แบบประเมนิ 70 ป.5/4 มีจติ สำนึกในการใชพ้ ลงั งานและทรพั ยากรอย่างประหยดั และ จากถุงนม ผลงาน คุ้มคา่ ระดบั 2 ข้ึน สาระสำคญั : การประดิษฐ์พวงมาลัยจากถงุ นม เปน็ การนำเศษถุงนม ดา้ น P ประดษิ ฐ์ ไปผ่านเกณฑ์ ท่เี หลอื ใช้กลับมาใช้ใหม่ใหเ้ กิดประโยชน์ โดยการนำมาทำความสะอาด พวงมาลยั ตดั เปน็ แผน่ และรอ้ ยเปน็ พวงใหม้ ลี กั ษณะต่าง ๆ ตามตอ้ งการ จุดประสงค์การเรยี นรู้ จากถงุ นม 1. นกั เรียนสามารถอธบิ ายขัน้ ตอนประดษิ ฐ์พวงมาลัยจากถงุ นมได้(K) 2. นกั เรยี นสามารถประดษิ ฐพ์ วงมาลยั จากถุงนมได้(P) ดา้ น A สังเกต แบบสังเกต 3. นักเรียนมีความรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย (A) พฤติกรรม พฤตกิ รรม สาระการเรยี นรู้ : การประดิษฐพ์ วงมาลัยจากถุงนม สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 12 1. ความสามารถในการสือ่ สาร : การอธบิ าย การนำเสนอความ คิดเห็นรว่ มกันในการประดิษฐ์พวงมาลัยจากถงุ นม ชอ่ื แผน การประดษิ ฐ์พวงมาลยั จากถุงนม 2. ความสามารถในการคดิ : การคดิ วางแผนการประดิษฐ์พวงมาลัย จากถงุ นมอย่างเปน็ ระบบตามข้ันตอน 3 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา : การแกป้ ญั หาขณะการปฏบิ ตั งิ าน 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ : การใชก้ ระบวนการกลุ่ม 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเรียนรู้ นำความรใู้ นการรอ้ ยพวงมาลยั ไปใช้ใน กจิ กรรมการเรียนรู้ ชีวติ ประจำวัน ๑. ทบทวนประเภทของขยะ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. ศึกษาตัวอยา่ งการประดษิ ฐ์ของใชจ้ ากถุงนม ๓. นกั เรยี นประดษิ ฐ์พวงมาลัยจากถุงนม 1. มีวนิ ัย สื่อการเรยี นรู้ และแหลง่ การเรียนรู้ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 1. ถงุ นม 3. มุง่ มัน่ ในการทำงาน 2. ภาพตัวอยา่ งงานประดษิ ฐพ์ วงมาลยั จากถงุ นม 4. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง 3. กรรไกร/คัตเตอร์ 4. เชือก/ด้าย 5. เข็มรอ้ ยมาลัย 6. ฐานแหลง่ เรียนรู้ หอประชมุ โรงเรียนหินกองฯ เวลา 2 ชัว่ โมง

24 แผน่ ที่ 3 กิจกรรมการเรยี นรเู้ พือ่ เสรมิ สรา้ งคุณลักษณะอย่อู ยา่ งพอเพียง กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง การประดิษฐ์พวงมาลัยจากถุงนม ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เวลา 2 ช่ัวโมง ขนั้ นำเข้าสบู่ ทเรียน 1. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มๆ ละ 5-6 คน (ครูพอประมาณ) (ครู : คุณธรรม และภูมิคุ้มกัน) นักเรียนในกลมุ่ รว่ มกนั กำหนดหน้าทข่ี องสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกบั ความสามารถ (นักเรยี น : พอประมาณ และสงั คม) 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อทบทวนความรู้เกี่ยวกับขยะแต่ละประเภท โดยใช้ชุด คำถาม Q1 และขยะประเภทรีไซเคิลที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ด้วยชุดคำถาม Q2 – Q3 เพื่อเป็น การเชือ่ มโยงความรู้เก่ยี วกับการคดั แยกขยะ (ครแู ละนักเรยี น : มีเหตผุ ล มภี ูมคิ มุ้ กนั และสังคม) 3. ครูใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนรู้เป้าหมายของการเรียน ด้วยชุดคำถาม Q4 - Q5 (ครู : ภูมคิ ุ้มกนั , นกั เรยี น : มเี หตุผลและภูมคิ ้มุ กัน) ขั้นกิจกรรมการเรยี นรู้ 4. ครูให้ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มยกตัวอย่างสิ่งของที่ประดิษฐ์จากถุงนม ตามประสบการณ์ที่ นักเรียนเคยเห็น โดยใช้ชุดคำถาม Q6 (นักเรียน : คุณธรรม ,ความรู้, มีเหตุผล,พอประมาณ และ ภูมิคมุ้ กัน) 5. ครูนำภาพการประดิษฐ์พวงมาลัยจากถุงนมรูปแบบต่าง ๆ และขั้นตอนการร้อยมาลัย ให้ นกั เรยี นได้ดเู ปน็ แนวทาง 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสนทนา อภิปรายเกี่ยวกับรปู แบบต่าง ๆ ของพวงมาลยั ครูแนะนำ อปุ กรณ์ ในการประดษิ ฐ์พวงมาลัยจากถุงนม ดว้ ยชดุ คำถาม Q7 และข้นั ตอนการประดิษฐ์พวงมาลัยจาก ถงุ นม ดว้ ยชดุ คำถาม Q8 (นักเรียน : เหตผุ ล,ความรู้ และสังคม) 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์ ให้พร้อมและเพียงพอต่อการปฏิบัติกิจกรรม (นักเรยี น : พอประมาณ และภูมคิ มุ้ กนั ) 8. ครูชี้แจงแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้ชุดคำถาม Q9 - Q10 ให้นักเรียนได้ฝึกการ วางแผนและการทำงานร่วมกับผู้อื่น พรอ้ มทัง้ ร่วมกันอภปิ รายถงึ คุณธรรมในการทำงานท่ีได้รับมอบหมาย ใหส้ ำเรจ็ ตามเวลาที่กำหนด 9. นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติกิจกรรม (เด็ก:ความรู้ คุณธรรม พอประมาณ มีเหตุผล มี ภมู คิ มุ้ กันวตั ถุ สง่ิ แวดลอ้ ม สงั คมและวัฒนธรรม) โดยครคู อยใหค้ ำแนะนำชว่ ยเหลอื เมื่อเกิดปัญหา และ สงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรู้ของนกั เรียน (ครู : ภูมคิ มุ้ กนั และคุณธรรม) 10. นักเรียนนำเสนอผลงาน กลุ่มละ 3 นาที (ครู : พอประมาณ) โดยนักเรียนวางแผนการ นำเสนอให้ตรงตามเวลาทก่ี ำหนด (นักเรียน : ภูมคิ ุม้ กนั ) ขั้นสรุปการเรียนรู้ 11. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุป โดยครูนำชุดคำถาม Q11- Q13 ให้นักเรียน ร่วมกันสรุปข้อดีของการนำถงุ นมมาประดิษฐ์เป็นพวงมาลยั การใช้วัสดุอืน่ แทนถุงนม และการนำความรู้ มาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั (นักเรยี น : คุณธรรม, เหตผุ ล, ภูมคิ มุ้ กัน, สง่ิ แวดล้อม)

25 แผน่ ที่ 4 ชุดคำถามกระตนุ้ เพ่อื ปลูกฝังหลกั คิดพอเพยี ง กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3 เร่อื ง การประดษิ ฐ์พวงมาลัยจากถุงนม ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เวลา 2 ชั่วโมง คำถามกระตุ้นเพอ่ื ปลูกฝังหลักคิดพอเพยี งก่อนเรยี น Q1 ขยะมที ง้ั หมดกปี่ ระเภท Q2 ขยะประเภทใดบ้างทเ่ี ป็นขยะรีไซเคิล Q3 นกั เรยี นสามารถนำขยะรไี ซเคิลไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง Q4 นักเรยี นเคยรอ้ ยมาลยั หรอื ไม่ Q5 การรอ้ ยมาลยั ต้องใช้อุปกรณอ์ ะไรบา้ ง และมีขนั้ ตอนในการรอ้ ยอย่างไร คำถามกระตุ้นเพือ่ ปลูกฝังหลกั คิดพอเพียงระหว่างเรียน Q6 ถงุ นมสามารถนำมาประดิษฐ์เป็นสิง่ ของอะไรไดบ้ ้าง Q7 อุปกรณท์ ่ีใช้ในการประดษิ ฐ์พวงมาลยั จากถงุ นมมอี ะไรบ้าง Q8 ขั้นตอนในการประดษิ ฐพ์ วงมาลยั จากถงุ นมมอี ะไรบา้ ง Q9 นกั เรียนวางแผนในการทำงานกลุ่มอย่างไรให้เหมาะสมกับความสามารถของสมาชิกและให้งานสำเร็จตาม เปา้ หมายทีก่ ำหนด Q10 การปฏิบัตกิ ิจกรรมใหส้ ำเรจ็ ตามท่ีได้รบั มอบหมายจากกลมุ่ นกั เรียนจำเปน็ จะตอ้ งปฏบิ ัติตนอยา่ งไร คำถามกระตุ้นเพ่อื ปลกู ฝงั หลกั คิดพอเพียงหลังเรยี น Q11 ขอ้ ดขี องการนำถงุ นมมาประดิษฐพ์ วงมาลัย Q12 นอกจากถงุ นมนกั เรียนสามารถใชว้ สั ดใุ ดไดอ้ ีกบ้าง Q13 จากการปฏบิ ัติกจิ กรรมนักเรยี นสามารถนำความรมู้ าประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งไร ภาพตัวอย่างงานประดิษฐพ์ วงมาลยั จากถุงนม

26 แผน่ ท่ี 5 แนวทางท่ีครนู ำหลักปรชั ญาของเศรษกจิ พอเพียงมาใชจ้ ัดการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 3 เรอ่ื ง การประดษิ ฐ์พวงมาลัยจากถงุ นม ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เวลา 2 ชั่วโมง ครูนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้จดั การเรียนรู้ ดงั นี้ ความรู้ คณุ ธรรม 1. อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการประดิษฐ์พวงมาลัยจากถุงนม 1. ความอดทน 2. ข้ันตอนในการประดิษฐ์พวงมาลัยจากถุงนม 2. ความพยายาม 3. หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ความรับผิดชอบ 4. การวัดประเมนิ ผล 4. ความยุติธรรม ประเด็น พอประมาณ มีเหตผุ ล มภี ูมิค้มุ กันในตวั ท่ดี ี เนอ้ื หา จดั เนือ้ หาให้เหมาะสมกบั เพือ่ ให้ผเู้ รยี นประดิษฐ์ เรียงเนื้อหาตามลำดบั เวลาในการจัดการเรียนรู้ พวงมาลัยจากถุงนม การเรียนรู้ เหมาะสมกบั มาตรฐาน ตัวชวี้ ดั เหมาะสมกับ ระดบั ชัน้ และเหมาะสมกับ ศกั ยภาพของผเู้ รยี น เวลา เวลาทีใ่ ช้ในการจัดกจิ กรรม จดั การเรียนรไู้ ด้ครบถ้วน ในแตล่ ะกิจกรรม มคี วามเหมาะสม ตามทีอ่ อกแบบไว้ กำหนดเวลาเกินจรงิ เล็กน้อย สำหรับ การซกั ถามเพิม่ เติม การจัดกิจกรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ - ต้องการให้ผู้เรียนปฏบิ ัติ มแี ผนการจัดการ เหมาะสมกับเน้อื หาแตล่ ะ กจิ กรรมอยา่ งทวั่ ถึงตาม เรยี นรแู้ ละกำหนด ข้นั ตอน ความสามารถ กจิ กรรมการเรยี นรู้ - เพ่ือตอ้ งการใหผ้ ู้เรยี น สอดคลอ้ งกบั เกิดการเรยี นรู้ตาม มาตรฐานและตัวช้วี ัด เปา้ หมายท่กี ำหนด สื่อ/อุปกรณ์ จดั เตรยี มสอื่ และอปุ กรณ์ - ตอ้ งการให้นักเรียน ได้ - เตรยี มสอ่ื /อุปกรณ์ ใหเ้ พียงพอ ตอ่ จำนวน ปฏิบัตกิ จิ กรรม ใหพ้ ร้อมกอ่ นการจดั ผู้เรยี น ได้จรงิ ตามจดุ ประสงคก์ าร กิจกรรม เรียนรู้ทก่ี ำหนดไว้ - มคี วามชำนาญใน การใชส้ ื่ออปุ กรณ์ แหล่งเรียนรู้ จดั เตรียมแหลง่ เรยี นรู้ ที่ เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นได้ศึกษา สำรวจสถานทแี่ ละ อย่ใู นโรงเรยี นให้เหมาะสม จากแหลง่ เรยี นรแู้ ละได้รบั ตรวจสอบความพร้อม กบั เนอ้ื หา ความรู้ท่ถี กู ตอ้ ง ของแหล่งเรยี นรู้กอ่ น จะใชง้ าน ประเมินผล ออกแบบการประเมินผล เพอ่ื ใหผ้ ลการประเมินตรง วางแผนการวดั / ใหส้ อดคล้องกบั การจัด ตามตวั ชี้วัด ประเมินผลตาม กิจกรรมการเรยี นรูแ้ ละ ขน้ั ตอนของกจิ กรรม ศกั ยภาพของผเู้ รียน

27 แผน่ ที่ 6 ผลท่ีจะเกดิ ขน้ึ กับผูเ้ รยี นจากการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 เรือ่ ง การประดิษฐ์พวงมาลยั จากถุงนม ระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 เวลา 2 ช่ัวโมง 1. ผูเ้ รียนจะได้ฝึกคิดและฝกึ ปฏบิ ัติหลกั ปศพพ. ดงั น้ี ความรู้ คณุ ธรรม 1. อุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการประดิษฐ์พวงมาลยั จากถงุ นม 1. มีความรบั ผดิ ชอบ 2. ขนั้ ตอนการประดิษฐพ์ วงมาลยั จากถุงนม 2. ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น 3. ทักษะการประดษิ ฐ์ 3. มีความพยายาม 4. ซอ่ื สัตย์ 5. มุ่งมนั่ ในการทำงาน พอประมาณ มีเหตุผล มภี มู คิ ุม้ กันในตัวทีด่ ี 1. นกั เรียนใชเ้ วลาในการประดิษฐ์ 1. สามารถประดษิ ฐ์ 1. เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ์ได้ พวงมาลัยจากถุงนมไดเ้ หมาะสมภายใน พวงมาลัยจากถุงนมได้ ครบถว้ นตรงตามกิจกรรม เวลาทกี่ ำหนด 2. วางแผนปอ้ งกันอนั ตราย 2. นกั เรยี นใชว้ สั ดุอุปกรณ์ได้อยา่ งคุ้มค่า จากการใชอ้ ุปกรณ์ 2. ผ้เู รยี นได้เรยี นรู้การใช้ชีวิตท่ีสมดุลและพร้อมรบั การเปลี่ยนแปลง 4 มติ ิตามหลกั ปศพพ. ด้าน สมดลุ และพร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงในด้านต่าง ๆ องค์ประกอบ วตั ถุ/เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม สง่ิ แวดลอ้ ม ความรู้ - ความรใู้ นการใช้ - มีความรูใ้ นการแบ่ง - สบื ทอดความรู้ - มคี วามรใู้ นการ วสั ดุในการประดิษฐ์ หน้าท่ภี ายในกลมุ่ เก่ยี วกบั การประดิษฐ์ การจัดการขยะ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง อยา่ งเหมาะสม พวงมาลยั จากถงุ นมได้ อย่างถกู ตอ้ ง - มคี วามรใู้ นการ ดูแลรักษาอปุ กรณ์ หลงั จากการ ประดิษฐ์ ทักษะ - มีทกั ษะในการใช้ - มที กั ษะการทำงาน - ประดิษฐพ์ วงมาลัย - มสี ว่ นร่วมในการ วสั ดอุ ปุ กรณอ์ ยา่ ง รว่ มกับผูอ้ ่นื ไดอ้ ยา่ งมี จาก ถงุ นมได้ รกั ษาทรัพยากร ปลอดภัย ความสขุ ธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม คา่ นิยม - เห็นความสำคญั - ยอมรับความคิดเห็น - ตระหนักถึงคุณคา่ - มจี ิตสำนึกในการ ของการใช้วัสดใุ น ซึ่งกันและกัน ของการนำหลกั รกั ษาสภาพแวดลอ้ ม การประดษิ ฐ์อยา่ ง - มีความรับผิดชอบ ปรชั ญาเศรษฐกจิ ของแหลง่ เรียนรู้ คุ้มค่า ในการทำงานกลุม่ พอเพยี งมาใช้

28 ภาพนกั เรียนถอดบทเรียนเร่อื งการประดษิ ฐพ์ วงมาลยั จากถงุ นม

29 ภาพกจิ กรรมนกั เรียนประดษิ ฐพ์ วงมาลัยจากถุงนม นม

30 แผน่ ท่ี 1 ผงั โครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้เพอ่ื บ่มเพาะอุปนิสยั อย่อู ย่างพอเพียง กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ชุมนมุ ร้านค้าศนู ยบ์ าท แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 กิจการร้านค้าศูนย์บาท ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 2 ช่วั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 เร่ือง กิจการรา้ นค้าศูนย์บาท แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 เรอ่ื ง การทำความรูจ้ ักประเภทของขยะ ( 2 ช่ัวโมง ) ( 1 ชัว่ โมง ) สาระการเรียนรู้ : การประชาสมั พันธว์ ิธีการแลกขยะของรา้ นคา้ สาระการเรียนรู้ : การคดั แยกขยะ 4 ประเภท คือ ขยะเปยี ก ขยะ ศูนยบ์ าท บอกมลู ค่าของขยะแตล่ ะประเภท (ใชก้ ารสะสมแต้ม) ทั่วไป ขยะรไี ซเคิล และ ขยะอันตราย และสามารถช่วยลดปรมิ าณ ดำเนนิ การแลกขยะ การบันทกึ รายการ รับ-แลก ขยะ นำขยะ ขยะใหน้ ้อยลง ด้วยการลดการใช้ การนำกลบั มาใช้ซ้ำ และการนำ ท่ไี ดจ้ ากการรับแลกไปขายเพอ่ื นำเงนิ ท่ไี ดม้ าหมุนเวียนในกิจการ ขยะกลับมาใช้ใหม่ (Reduce Reuse and Recycle: 3Rs) รา้ นคา้ ศนู ยบ์ าท ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ ร้านคา้ ศูนย์บาท ( 5 ชว่ั โมง ) สาระสำคญั : นักเรยี นจะได้เรยี นรเู้ ก่ียวกบั ขยะ 4 ประเภท การลดปริมาณขยะ การสรา้ งรายได้ คณุ คา่ ทม่ี ากจากขยะ โดยสามรถนำขยะทีส่ ามารถรีไซเคลิ ได้มา แลกเปล่ยี นเปน็ สินค้า อปุ โภค บริโภคในชวี ิตประจำวันได้ โดยไม่ตอ้ งเสียคา่ ใช้จา่ ย ใด ๆ และเรียนรู้การบนั ทึกรายรับ-รายจา่ ยที่เป็นระบบ โดยรายได้ท่ีเกิดจาก กจิ การรา้ นคา้ ศนู ยบ์ าทนำไปขายก็นำมาหมุนเวียนในการซ้อื ของใหม่ใหมอ่ กี ครงั้ โดยยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเขา้ มาปรับใช้ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 เร่ือง การทำรายรับ – รายจ่าย แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง การสร้างคุณคา่ จากขยะ ( 1 ชัว่ โมง ) ( 1 ชั่วโมง ) สาระการเรยี นรู้ : เรยี นรวู้ ิธีการทำบันทึกรายรบั -รายจา่ ยอยา่ ง สาระการเรียนรู้ : การเห็นถึงความสำคัญจากขยะที่สามารถ เปน็ ระบบ เป็นข้ันตอน ประโยชนข์ องการบนั ทึกรายรบั และ รีไซเคลิ ได้ ซง่ึ เปน็ แนวทางหนง่ึ ของการจดั การขยะ คือการนำ รายจ่าย วสั ดเุ หลือใช้ หรอื ขยะท่ผี า่ นการคดั แยกมาเพิม่ มูลค่าใหม่ โดย การ นำขยะไปขาย เพ่ือสรา้ งรายได้เพ่ิมมากขน้ึ และการ คำนวณรายได้ จากขยะ โดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งเขา้ มาปรับใช้ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ภาระงาน/ชนิ้ งาน . 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ยั 1. ปฏิบัตติ ามขัน้ ตอนรา้ นคา้ ศูนย์ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ บาท 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 3. อยู่อย่างพอเพียง 2. การบนั ทึกรายรบั -รายจ่าย 4. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 3. กระบวนการเปลย่ี นขยะเปน็ เงิน

31 แผน่ ท่ี 2 ผงั แสดงการออกแบบการเรียนรแู้ บบย้อนกลับ (Backward Design) กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ชมุ นมุ รา้ นค้าศูนยบ์ าท แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 4 กิจการร้านค้าศนู ย์บาท ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 2 ชัว่ โมง 1. เป้าหมายการเรยี นรู้ 2. หลกั ฐานการเรยี นรู้ ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวัง ภาระงาน/ชน้ิ งาน : ปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอนร้านคา้ ศูนย์บาท การ 1. นกั เรยี นสามารถคดั แยกขยะตามประเภทได้ถกู ตอ้ ง บนั ทึกรายรบั -รายจา่ ย และกระบวนการเปลีย่ นขยะเป็นเงนิ 2. นกั เรียนเห็นคุณคา่ และสร้างรายไดข้ องขยะ 3. นักเรียนสามารถน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมา การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ปรับใช้ในกิจการร้านคา้ ศนู ย์บาท และใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ ประเดน็ วธิ กี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์ประเมนิ สาระสำคญั : การประชาสมั พันธว์ ธิ กี ารแลกขยะของร้านค้าศนู ย์บาท บอกมูลคา่ ของขยะแตล่ ะประเภท (ใช้การสะสมแตม้ ) ดำเนินการแลก ด้าน K การสงั เกตการตอบ แบบสงั เกต ร้อยละ 70 ขนึ้ ไป ขยะ การบันทึกรายการ รบั -แลก ขยะ นำขยะทไี่ ด้จากการรับแลกไป ขายเพือ่ นำเงนิ ท่ีไดม้ าหมุนเวียนในกิจการร้านค้าศนู ยบ์ าท คำถาม การตอบ ผา่ น คำถาม จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธบิ ายวิธกี ารดำเนินงานกจิ การร้านค้าศนู ย์ ด้าน P - สงั เกตจาก - แบบสงั เกต ระดับ 2 ขึ้นไปผา่ น บาท (K) 2. นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับกจิ การร้านคา้ ศนู ยบ์ าทไดอ้ ย่าง ดำเนินงานในกิจการ จากดำเนนิ งาน เกณฑ์ ถกู ตอ้ งตามลำดับข้ันตอน (P) 3. นกั เรียนมีความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ที่ไดร้ บั มอบหมาย (A) ร้านค้าศูนย์บาท ในกิจการร้านค้า สาระการเรียนรู้ : วิธีการดำเนินงานกจิ การรา้ นคา้ ศูนย์บาท - การบนั ทึกรายรบั - ศูนยบ์ าท รายจา่ ย -แบบการบนั ทกึ รายรับ-รายจ่าย ด้าน A สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ระดบั 2 ขึ้นไปผา่ น พฤติกรรม เกณฑ์ 12 สมรรถนะสำคญั ช่ือแผน กิจการรา้ นค้าศูนยบ์ าท ความสามารถในการสอ่ื สาร : การอธบิ าย การประชาสมั พันธ์ การนำเสนอความคิดเหน็ ร่วมกนั ในการปฏิบัติขนั้ ตอนการแลกขยะ 3 ความสามารถในการคิด : การคดิ วางแผนการทำรายรับ-รายจ่าย อย่างเป็นระบบตามขนั้ ตอน 3. กิจกรรมการเรียนรู้ ความสามารถในการแกป้ ญั หา : การแก้ปัญหาขณะการปฏบิ ัติงาน ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต : การใชก้ ระบวนการกลุม่ ปฏบิ ตั ิ กิจกรรรมการเรยี นรู้ : กิจกรรมการเรียนรู้ นำความรู้ในกิจการรา้ นค้าศูนย์บาทไปใชใ้ น ส่อื เรียนรู้ : ชีวิตประจำวัน ๑) ประชาสมั พันธ์วิธีการแลกขยะของรา้ นค้าศูนยบ์ าท คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๒) บอกมูลคา่ ของขยะแตล่ ะประเภท (ใช้การสะสมแตม้ ) มีวนิ ัย : การปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนอยา่ งเป็นระบบ ๓) ดำเนนิ การแลกขยะ ใฝ่เรยี นรู้ : ต้งั ใจเรยี น แสวงหาความรใู้ หมแ่ ลว้ สรปุ เป็นความรู้ ๔) บันทึกรายการรบั -แลก ขยะ และบันทกึ รายรบั -รายจา่ ย อยอู่ ย่างพอเพยี ง : คดิ และตัดสนิ ใจในการปฏิบัตกิ จิ กรรมท่ีได้รับ ๕) นำขยะที่ไดจ้ ากการรับแลกไปขายเพ่ือนำเงนิ ที่ไดม้ าหมนุ เวียนใน มอบหมายเหมาะสมกบั ศกั ยภาพตนเอง/กลุ่ม กจิ การร้านค้าศูนย์บาท มุง่ ม่นั ในการทำงาน : อดทน ตง้ั ใจรับผิดชอบ ทำงานสำเรจ็ ตามที่ แหลง่ เรียนรู้ : ฐานการเรยี นรรู้ ้านค้าศูนยบ์ าท ไดร้ บั มอบหมาย เวลา : 2 ชั่วโมง

32 แผ่นท่ี 3 กจิ กรรมการเรียนรเู้ พื่อบ่มเพาะอปุ นสิ ัยอยู่อย่างพอเพียง กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชมุ นุมร้านคา้ ศูนยบ์ าท แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 4 กิจการรา้ นคา้ ศูนยบ์ าท ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 จำนวน 2 ชัว่ โมง ชั่วโมงที่ ๑ ขนั้ ที่ 1 ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. ครูตั้งคำถาม โดยใชช้ ุดคำถาม Q๑ (นักเรียน : มีคณุ ธรรมและวัฒนธรรม) ๒. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเพือ่ ทบทวนความรู้เกย่ี วกบั ขยะแตล่ ะประเภท การลด ปรมิ าณขยะจากกจิ กรรม ๓RS การสร้างคุณค่าจากขยะ การทำบันทึกรายรบั รายจา่ ย (ครแู ละนักเรยี น : มีเหตุผล มภี มู ิค้มุ กนั และสงั คม) ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ สอน ๓. ครอู ธบิ ายข้นั ตอนการดำเนินงานกิจการรา้ นค้าศนู ยบ์ าท ดังน้ี ๑) ประชาสมั พันธว์ ธิ กี ารแลกขยะของรา้ นค้าศูนย์บาท ๒) บอกมูลคา่ ของขยะแต่ละประเภท (ใชก้ ารสะสมแตม้ ) ๓) ดำเนนิ การแลกขยะ ๔) บันทึกรายการ รับ-แลก ขยะ ๕) นำขยะที่ได้จากการรบั แลกไปขายเพื่อนำเงินท่ไี ด้ แบง่ เป็น 50 เปอร์เซนต์ หมุนเวยี นในกิจการรา้ นคา้ ศนู ยบ์ าท และแบ่งใหน้ ักเรียนแกน นำ 50 เปอร์เซนต์ เข้ากองทุนอาหารสำหรับนักเรยี น (ครู : มีความรู้ พอประมาณ) ๔. ครชู ้แี จงแนวทางในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม โดยใชช้ ุดคำถาม Q๒ – Q๓ ใหน้ กั เรียนไดฝ้ กึ การ วางแผนและการทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื พรอ้ มทั้งร่วมกนั อภิปรายถงึ คณุ ธรรมในการทำงานที่ ได้รับมอบหมายใหส้ ำเรจ็ ตามเวลาท่กี ำหนด (ครูและนักเรยี น : มเี หตผุ ล มีความรู้ พอประมาณ และสงั คม) ช่ัวโมงท่ี ๒ ๕. แบ่งนกั เรียนเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5-6 คน (ครพู อประมาณ) (ครู : คณุ ธรรม และภมู ิคุ้มกนั ) นักเรียนในกล่มุ ร่วมกนั กำหนดหนา้ ท่ขี องสมาชกิ ในกลุม่ ใหเ้ หมาะสมกบั ความสามารถ (นักเรียน : พอประมาณ และสังคม) ๖. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มลงมอื ปฏิบตั ิกจิ กรรม (เดก็ :ความรู้ คุณธรรม พอประมาณ มเี หตผุ ล มี ภมู ิคุม้ กนั วัตถุ สิ่งแวดล้อม สังคมและวัฒนธรรม) โดยครคู อยให้คำแนะนำช่วยเหลือเม่อื เกิดปัญหา และสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนกั เรียน (ครู : ภูมิคุ้มกนั และคณุ ธรรม) ๗. นกั เรียนนำเสนอผลงาน กลมุ่ ละ 3 นาที (ครู : พอประมาณ) โดยนกั เรียนวางแผนการ นำเสนอให้ตรงตามเวลาที่กำหนด (นักเรียน : ภมู ิคมุ้ กัน)

33 ข้ันสรปุ การเรยี นรู้ ๘. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุป โดยครูนำชุดคำถาม Q๔- Q๕ ให้นักเรียนร่วมกนั สรุปข้อดีของการดำเนินงานกิจการร้านค้าศูนย์บาทในโรงเรียน และการนำความรู้มา ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน (นักเรยี น : คุณธรรม, เหตุผล, ภมู คิ มุ้ กัน, สงิ่ แวดลอ้ ม) แผ่นที่ 4 ชุดคำถามกระตุ้นเพือ่ ปลกู ฝงั หลักคิดพอเพียง กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน ชมุ นุมรา้ นค้าศูนย์บาท แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 กจิ การรา้ นคา้ ศูนย์บาท ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 2 ชัว่ โมง คำถามกระตนุ้ คดิ เพอื่ ปลูกฝงั หลกั คดิ พอเพยี งก่อนเรียน Q1 นักเรียนคิดวา่ กิจการรา้ นคา้ ศูนย์บาทของเราจะมวี ิธกี ารดำเนนิ การอย่างไรบ้าง คำถามกระตุน้ คดิ เพือ่ ปลูกฝังหลักคิดพอเพยี งระหว่างเรียน Q2 นกั เรยี นวางแผนในการทำงานกลมุ่ อยา่ งไรให้เหมาะสมกบั ความสามารถของสมาชกิ และให้ งานสำเรจ็ ตามเปา้ หมายท่ีกำหนด Q๓ การปฏิบตั กิ ิจกรรมใหส้ ำเร็จตามท่ีได้รับมอบหมายจากกลุ่ม นักเรยี นจำเป็นจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ น อย่างไร คำถามกระตุ้นคิดเพ่ือปลูกฝงั หลักคดิ พอเพยี งหลังเรียน Q4 ขอ้ ดีของการดำเนนิ งานกจิ การรา้ นคา้ ศูนย์บาทในโรงเรียน Q5 จากการปฏบิ ัติกิจกรรมนกั เรยี นสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งไร

34 แผ่นท่ี 5 แนวทางการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ชุมนุมร้านคา้ ศูนย์บาท แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 4 กจิ การรา้ นค้าศนู ย์บาท ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 จำนวน 2 ชวั่ โมง 5.1 ครูผสู้ อนนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดงั นี้ ความรู้ คุณธรรม 1. แหลง่ กำเนิดของขยะ 1. ความอดทน 2. ขยะ 4 ประเภท 2. ความพยายาม 3. การลดขยะดว้ ยแนวคิด 3R 3. ความรบั ผดิ ชอบ 4. ชนดิ และราคาของขยะ 4. ความเมตตา 5. การทำบญั ชีรายรับ-รายจา่ ย 5. ความยุตธิ รรม หลกั พอเพยี ง พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ ุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี ประเด็น - การวางแผนการสอนสอดคลอ้ ง - ต้องการให้ผเู้ รยี นนำความร้ทู ี่ได้ - สรปุ ขั้นตอนการจัดกจิ กกรรม เนอ้ื หา กบั เนือ้ หาวิชา ความสามารถ ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน ร้านค้าศูนย์บาทใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย มภี าพ และวัยของผู้เรียน - ตอ้ งการใหผ้ ้เู รียนเห็นคุณค่าของ หรอื สอื่ ของจรงิ ประกอบเน้ือหา สิ่งของ - เรียงเนื้อหาตามลำดบั การเรยี นรู้ - กำหนดเวลาในการจัดกจิ กรรม - จดั การเรียนรู้ประสบการณ์ได้ - กำหนดเวลาในแต่ละกิจกรรมไว้ เวลา รา้ นค้าศนู ย์บาทให้เหมาะสมใน ครบถ้วนตามที่ออกแบบไว้ เกนิ จรงิ เล็กน้อย เพ่อื รองรับการ แตล่ ะภาคเรียน เปลี่ยนแปลงท่ีอาจเกิดระหว่างการ - กำหนดวัยของผเู้ รยี นเหมาะสม จัดกจิ กรรม ในเน้ือหา/เวลา - กำหนดกจิ กรรมการเรยี นรู้ - ตอ้ งการให้ผเู้ รียนเข้าใจ - เตรยี มชุดคำถามกระตุน้ ความคดิ การจดั กจิ กรรม เหมาะสมกับเวลาทก่ี ำหนด กระบวนการของกิจการรา้ นคา้ ความพอเพยี งในตัวนักเรียน - มอบหมายภาระ/ช้ินงานให้ ศนู ยบ์ าท - วางแผนการการขายไวล้ ่วงหน้า เหมาะสมกับความสามารถและ - นักเรียนสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ พื้นฐานความร้แู ละเปา้ หมายการ กับภาระกิจต่างๆได้ เรียนรู้ - จดั เตรียมสินค้าไว้เพียงพอต่อ - ตอ้ งการใหน้ กั เรียนได้ปฏบิ ัติ - เตรียมอุปกรณใ์ หพ้ รอ้ มก่อนจัด ส่อื /อปุ กรณ์ การขาย กจิ กรรมไดจ้ รงิ ตามจุดประสงคท์ ่ี กิจกรรม -จัดเตรียมสมดุ บญั ชรี ายรับ- กำหนดไว้ -มลี ำดับขนั้ ตอนในการแลกขยะ รายจา่ ยไดเ้ หมาะสม - มีความชำนาญในการแยกขยะแต่ ละประเภท - รา้ นค้าศนู ย์บาทโรงเรียนหนิ - เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นมีแหล่งเรียนรู้ท่ี - เตรยี มฐานแหล่งเรยี นรใู้ ห้พรอ้ ม แหล่งเรยี นรู้ กอง(พบิ ูลอนสุ รณ)์ เอ้อื ต่อการเรยี น ก่อนจัดกจิ กรรมการสอน - กำหนดเกณฑก์ ารประเมินและ - ต้องการประเมนิ ผลการเรียนรู้ - มีการวางแผนการวัดและ ประเมินผลอย่างเป็นระบบข้นั ตอน ประเมินผล ออกแบบการประเมินให้ ตามเปา้ หมายท่ีกำหนด สอดคล้องกบั การจดั กจิ กรรมการ เรยี นรูแ้ ละศกั ยภาพของนกั เรยี น

35 แผน่ ท่ี 6 ผลที่จะเกิดข้นึ กับผ้เู รียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ชมุ นมุ รา้ นค้าศนู ย์บาท แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 4 กจิ การรา้ นคา้ ศนู ย์บาท ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 จำนวน 2 ชว่ั โมง 6.1 ผ้เู รยี นไดเ้ รียนรหู้ ลกั คดิ และฝึกปฏบิ ตั ิตามหลกั ปศพพ. ดงั น้ี ความรู้ คณุ ธรรม 1. แหล่งกำเนิดของขยะ 1. ความมีวินยั ในการปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนการคัดแยกขยะ 2. ผลกระทบของขยะตอ่ สง่ิ แวดล้อม 2. ความอดทนในการออมขยะท่สี ามารถนำขยะมาแลก 3. ขยะ 4 ประเภท ของรางวัล 4. การลดขยะดว้ ยแนวคดิ 3Rs 3. ความรับผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีท่ไี ด้รบั มอบหมาย เช่น เวร 5. การบันทกึ รายรับ-รายจา่ ย การดูแลรา้ นคา้ ศนู ย์บาท 6. การสร้างรายได้และคณุ คา่ จากขยะ คณุ ธรรม 4. ความซ่ือสัตย์ ในการออมขยะของตนเอง 5. ความมงุ่ มั่นในการทำงาน พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี มู คิ ุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี 1. นกั เรียนใช้เวลาวา่ งในการ 1. นักเรยี นนำความร้ทู ี่ได้ไปใชใ้ นการ 1. นักเรยี นสามารถวางแผนการ คดั แยกขยะ ดำเนนิ ชีวิตประจำวนั ทำงานได้ 2. นกั เรียนเปลีย่ นขยะมาแลก 2. นักเรียนมคี ณุ ธรรมในการทำ 2. นกั เรยี นมีการทำงานอย่างเป็น เป็นอุปกรณก์ ารเรียน (ลดการ กิจกรรม ระบบ ใช้คา่ ใชจ้ า่ ย) 3. นักเรียนตอบคำถามในชุดคำถาม 3. นักเรยี นศกึ ษาขนั้ ตอนการรบั 3. นกั เรียนรกั ษาวสั ดอุ กุ กรณ์ อยา่ งมเี หตผุ ล แลกขยะกอ่ นลงมอื ปฏบิ ตั ิ ทีไ่ ด้มาอย่างเห็นคณุ คา่ 5.สามารถสรา้ งเปน็ อาชพี ได้ 6.2 ผู้เรียนได้เรียนรกู้ ารใชช้ วี ิตท่ีสมดุลและพร้อมรับการเปลย่ี นแปลง 4 มิตติ ามหลัก ปศพพ. ดงั นี้ สมดลุ และพร้อมรบั การเปลีย่ นแปลงในด้านต่าง ๆ ด้าน วัตถ/ุ เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม สงิ่ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบ - ความรู้ในราคาของ - การบอกเลา่ - รวู้ ิธกี ารจัดเตรยี ม - มีความรเู้ ก่ยี วกับ ความรู้ ขยะแตล่ ะประเภท ประสบการณ์การคัด สถานทีอ่ ปุ กรณ์ใน อาชพี ค้าขายว้สดุ แยกขยะและเชิญ การรับแลกขยะ เหลือใช้ที่ไดส้ บื ตอ่ ทกั ษะ - มีทักษะในคดั แยก ชวนเพ่ือนๆมาคัด กันมาต้ังแตบ่ รรพ ขยะ แยกขยะ - ใช้ทรพั ยากรอย่างรู้ บรุ ษุ - สามารถปฏิบัติ - ทำงานรว่ มกับผู้อ่ืน คณุ ค่าไมท่ ำลาย - นำประสบการณ์ท่ี ตามขัน้ ตอนการรับ ได้จนสำเร็จลลุ ว่ ง ส่งิ แวดลอ้ ม ได้ลงมอื ไป แลกขยะได้ อยา่ งมีความสขุ ปฏิบตั ิการทำรา้ นค้า ศูนย์บาทไปบอกเล่า กับเพ่ือนๆพๆี่ น้องๆ

36 สมดุลและพรอ้ มรบั การเปลี่ยนแปลงในด้านตา่ ง ๆ ดา้ น วัตถุ/เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม สิง่ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบ - เหน็ คณุ คา่ ของ - รจู้ กั การทำงาน - จิตสำนึกในการ - ตระหนักถงึ คุณค่า คา่ นยิ ม อาชพี อาชพี ค้าขาย การยอมรับฟังความ รกั ษาสภาพแวดล้อม ในอาชพี คา้ ขายวัสดุ วัสดเุ หลือใช้ คิดเห็นของผู้อนื่ ภายในโรงเรยี นและ เหลือใช้ - ยึดในคุณธรรมใน - มคี วามรบั ผดิ ชอบ ชมุ ชน - จิตสำนกึ ในการ การประกอบอาชีพ ในการทำงาน รักษาสภาพแวดลอ้ ม ร่วมกับผู้อ่ืน ภายในโรงเรยี นและ ชุมชน

37 การถอดบทเรียน 2:3:4 กิจการรา้ นค้าศนู ย์บาท ( 2 เง่ือนไข 3 ห่วง 4 มิติ ) เงอ่ื นไขความรู้ เง่อื นไขคุณธรรม 1. แหลง่ กำเนิดของขยะ 1. ความอดทน 2. ขยะ 4 ประเภท 2. ความพยายาม 3. การลดขยะดว้ ยแนวคิด 3Rs 3. ความรบั ผิดชอบ 4. ชนดิ และราคาของขยะ 4. ความเมตตา 5. การทำบญั ชรี ายรับ-รายจา่ ย 5. ความยตุ ิธรรม พอประมาณ 1. กาํ หนดเวลาในการจัดกจิ กรรม รา้ นค้าศนู ย์บาทใหเ้ หมาะสมในแต่ละ ภาคเรียน 2. จัดเตรียมสนิ ค้าไวเ้ พยี งพอตอ่ การ ขาย ๓. จดั เตรยี มสมุดบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย ไดเ้ หมาะสม มีเหตุผล มีภมู ิค้มุ กนั ที่ดี 1. ผเู้ รยี นนําความรูท้ ไ่ี ดไ้ ปใชใ้ น 1. มกี ารวางแผนการจดั การเรียนรู้ ชวี ติ ประจําวนั และการวัดผลประเมนิ ผลตาม ๒. ผูเ้ รียนเหน็ คุณค่าของสิ่งของ ขนั้ ตอนของกิจกรรม ๓. ผู้เรยี นเข้าใจกระบวนการของ 2. จัดเตรียม สอื่ /อุปกรณ์ให้พรอ้ ม กิจการรา้ นคา้ ศนู ยบ์ าท กอ่ นการจดั กจิ กรรม 3. ตรวจสอบความพร้อมของแหลง่ เรียนรู้ก่อนจดั กจิ กรรม วัตถุ/เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม ส่ิงแวดล้อม 1. ความรู้ในราคาของขยะแตล่ ะ 1. ใช้ทรพั ยากรอยา่ งรคู้ ุณคา่ ไม่ 1. มที กั ษะการทำงานร่วมกบั ผ้อู ่นื 1. มีความรู้เกี่ยวกบั อาชีพ ทำลายสงิ่ แวดลอ้ ม ประเภท ไดอ้ ย่างมีความสุข คา้ ขายวัสดุเหลอื ใช้ทีไ่ ด้สบื ตอ่ 2. จิตสำนึกในการรักษา 2. มีทกั ษะในคดั แยกขยะ สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน 3. เห็นคุณค่าของอาชีพคา้ ขาย 2. ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกนั และกัน กันมาตงั้ แตบ่ รรพบรุ ษุ และชมุ ชน วสั ดุเหลอื ใช้ 3. มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน ๒. การแลกเปลีย่ นเรียนร้กู ับ รว่ มกบั ผอู้ ่ืน เพื่อนร่วมงาน

38 กลยทุ ธ์ E : Environmental policy การกำหนดนโยบายด้านการอนุรักษ์ส่ิงแวดลอม ดำเนนิ งานโดยโรงเรียนหนิ กอง(พบิ ูล อนุสรณ์) มีนโยบายน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลื่อนในการบริหารจัดการ สถานศึกษาและบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดการเรียนการสอนให้ สอดคล้องตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน ที่ว่ามุ่งพัฒนาผู้เรียน ตามเกณฑ์มาตรฐานสากล บนความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง โรงเรียนมีการวางแผนการดําเนินงานบริหารจัดการสถานศึกษา ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ทเี่ อ้ือตอ่ การส่งเสรมิ สนบั สนุนและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ดังต่อไปน้ี ๑) ปรบั ปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการท่นี ้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้น การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล มีความพอประมาณ สมดุลเหมาะสมกับบริบทของ โรงเรยี น ๒) กำหนดนโยบายที่น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลื่อนในการพัฒนา สภาพแวดลอ้ มภายในสถานศึกษาและบูรณาการในแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ๓) จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี มีแผนงาน โครงการและกิจกรรมที่ส่งเสริมการรักษา สภาพแวดลอ้ มภายในสถานศกึ ษา บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนรู้ ให้ครอบคลุมการพัฒนาการศึกษาทุกกลุ่มงานอย่างเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงของ สถานศึกษา ๔) วางแผนการบริหารจัดการงบประมาณของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มกี ารมอบหมายงานอยา่ งเป็นระบบชดั เจนเป็นปัจจบุ ัน โปร่งใสตรวจสอบ ได้ถกู ต้อง ๕) บริหารจัดการอาคารสถานที่ บรรยากาศและสภาพแวดล้อม ภายในสถานศึกษาให้เป็น แหล่งเรียนรู้บรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่เน้นสร้างองค์ความรู้การ อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม สบื สานศลิ ปวัฒนธรรม ของท้องถิ่นเน้นภูมิปัญญา ไทย และภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ๖) ประสานสัมพันธ์กับชุมชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง คณุ ลักษณะอยอู่ ยา่ งพอเพียงของผู้เรยี น ๗) นำนโยบายสู่แผนงานไปปฏิบัตใิ ห้ได้อย่างจริงจงั โดย กำหนดวาระการประชุม เพื่อติดตาม ผลการดำเนินงานตามนโยบายและแผนงานในการประชุมประจำเดือนของโรงเรียน ๘) ติดตามและกระตุ้นให้กรรมการที่ได้รับมอบหมาย ในฝ่ายได้เร่งรัดและปฏิบัติตามนโยบาย และแผนงานของตนอย่างต่อเนือ่ ง ๙) รายงานความคืบหน้าในการดำเนินงานตามนโยบายและแผนงานของฝ่ายต่าง ๆ ประชาสัมพันธ์และกระตุ้น ให้ทุกคนทราบอย่างสม่ำเสมอ เตือนให้บุคลากรในโรงเรียนเขา้ รว่ มกิจกรรมทีจ่ ัดขึน้ ๑๐) จัดประชุมเพอ่ื ทบทวนการดำเนนิ งานตามนโยบายและแผนงาน ทกุ สามเดอื นหรือหกเดือน เพื่อรับทราบปัญหาอุปสรรคและความคืบหน้าในการดำเนินงานตามนโยบายและแผนงาน ของกรรมการฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งการทบทวนและแก้ไขแผนงานที่มีปัญหาและไม่สามารถ ดำเนนิ งานได้จริง

39 ดงั น้นั นโยบายโรงเรียน เปน็ ภาระทที่ กุ คนจะตอ้ งทำร่วมกัน และปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามนโยบายท่ี กำหนดไว้ เพื่อความเจริญก้าวหน้าของโรงเรียน บุคลากรภายในโรงเรียนให้ความร่วมมือสนับสนุนและ และเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดขึ้นตามนโยบายอยา่ งสมำ่ เสมอ ซึ่งโรงเรียนได้กำหนดนโยบายด้านคุณภาพและ สิง่ แวดล้อม ไว้เปน็ ทศิ ทางในการทำงานถงึ ปจั จุบัน ดงั น้ี

40 กลยทุ ธ์ A : Activity-Based Learning Activities-Based Learning คือการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้กิจกรรมเป็นพน้ื ฐาน เปน็ รปู แบบ การเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการเรียนรู้การเรียนการสอนแบบ ABL คือ หนึ่งในวิธีที่ยึดตัวผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Child Centered) เน้นให้ผู้เรียนลงมือทำ เรียนรู้และ จดจำ แก้ปัญหาจากประสบการณ์จริงผ่านกจิ กรรมที่คุณครูได้ออกแบบขึ้นมา มีการตั้งวัตถุประสงค์ของ กิจกรรมกับประเมินผลเพื่อนำไปพัฒนาการเรียนการสอนในครั้งต่อๆไป เวลาที่ผู้เรียนทำกิจกรรม นอกจากจะเพลิดเพลินแล้วยังต้องได้ทักษะการแก้ปัญหาที่สามารถนำไปปรับใช้จริงในชีวติ ประจำวันได้ นอกเหนือจากความรู้ขน้ั พนื้ ฐานที่ได้รบั โดยบรู ณาการนำเทคโนโลยมี าใชก้ บั กิจกรรมทีอ่ อกแบบขึ้นมาก็ได้ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับว่ากิจกรรมนั้นจัดขึ้นมาเพ่ือให้ผูเ้ รียนเรียนรู้เรื่องอะไรและข้ึนอยูก่ ับความถนัดของคุณครู ผู้สอนด้วย คนที่สนุกกับการเรียนรู้อาจไม่ได้มีแค่ผู้เรียนเท่านั้น คุณครูก็อาจจะได้รับความสนุกที่ได้เห็น ผ้เู รียนมีความสุขกับการเรียน ได้เห็นพวกเขาพยายามทำกิจกรรมที่เราได้ออกแบบอย่างจริงจัง เห็นการมี ปฏิสัมพนั ธ์กันของผู้เรยี นทเ่ี พมิ่ มากข้นึ ระหว่างการทำกิจกรรม โรงเรยี นหินกอง(พิบลู อนุสรณ)์ ดำเนินการจดั การเรียนรู้ Active Learning รว่ มกบั ภาคีเครือข่าย โรงเรียนประชารัฐ CONNEXT ED บริษัทซีพี-เมจิ จำกัด ในปีการศึกษา 2563 ภายใต้โครงการ ซีพี – เมจิ อิ่มสุข ปลูกอนาคต ส่งเสริมอาชีพนักเรียน ได้ประสบความสำเร็จเป็นรูปธรรม โดยใช้รูปแบบ กิจกรรมเป็นฐาน Activity-Based Learning ที่เกี่ยวกับการจัดการขยะในโรงเรียน เพื่อรักษา สภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี น รวมท้งั กจิ กรรมทอี่ อกแบบ ยงั สง่ เสริมอาชพี ใหน้ ักเรยี นใหม้ รี ายไดร้ ะหวา่ งเรียน รวมทั้งจัดสรรรายได้ที่เกิดขึ้นมาจัดตั้งเป็นกองทุนอาหารช่วยเหลือนักเรียนยากจน และมีปัญหา ทุพโภชนาการ ได้มีอาหารทานอิ่มครบมือ้ มีความสุขกายสบายใจ พร้อมในการเรยี นจนจบการศกึ ษา ได้ ตามเปา้ หมาย โครงการซีพี – เมจิ อิ่มสขุ ปลูกอนาคต ส่งเสริมอาชพี นักเรียน ได้สนับสนุนส่ือการเรียนรู้ Active Learning สนับสนุนงบประมาณให้จัดกิจกรรม และสนับสนุนแบบผสมผสาน ทั้งงบประมาณ สื่อ การเรยี นการสอน วทิ ยากรถ่ายทอดความรู้ในการอบรมพฒั นาครูและนกั เรียนในการทำกิจกรรมฐานการ เรียนรู้ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการขยะตั้งแต่ต้นทางและลดการเกิดขยะ ให้เหลือน้อยที่สุด และจัดการ ขยะทเี่ หลืออย่างมปี ระสิทธภิ าพ สามารถนำขยะกลบั มาใช้ใหเ้ ป็นประโยชนม์ ากที่สุด ดว้ ยแนวคิด 3R ดงั นี้ ๑. ฐานอาชีพขายและการตลาดผลิตภัณฑน์ ม “หินกองพิบลู ฯ More Milk” ๒. ฐานการจัดการขยะในโรงเรยี น “รา้ นค้าศนู ย์บาท”

๔1 ฐานอาชีพขายและการตลาดผลติ ภณั ฑน์ ม “หินกองพบิ ลู ฯ More Milk” โรงเรียนหินกอง(พิบูลอนุสรณ์) เห็นความสำคัญในการพัฒนานกั เรียนให้มีทักษะดา้ นอาชีพ เกิด ลักษณะนิสัยการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม สามารถสรา้ งรายได้ และนำเงินท่ีได้จากการดำเนินงานมา เป็นทุนอาหาร(ครบมื้อ) ของนักเรียนที่ความยากจนและมีปัญหาทุพโภชนาการต่อไป จึงได้เข้าร่วม โครงการและดำเนินงานอยา่ งต่อเนือ่ ง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียน โดยการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นฐาน ที่ส่งผลต่อกระบวนการ วิถีพอเพียง เคียงคู่ โรงเรียนสะอาด (Clean school by Sufficiency way) ด้วย…CLEAN model วตั ถปุ ระสงค์ฐานการเรียนรู้ “หนิ กองพิบูลฯ More Milk” 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นฝกึ กระบวนการขายเพ่อื สรา้ งอาชพี 2. เพื่อให้นกั เรยี นฝึกทำบญั ชีรายรบั -รายจ่ายในการจำหน่ายนม 3. เพื่อสร้างรายได้ และนำไปเปน็ ทุนในโครงการอาหารกลางวนั นกั เรียนระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาทม่ี ี ความยากจน 4. เพ่ือปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม ดา้ นความรบั ผิดชอบ ความซือ่ สตั ย์ ขยัน ประหยัด และอดทน ในการทำงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๕. เพอื่ ใหน้ กั เรยี นเรยี นรจู้ ัดการขยะจากขวดนม มาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ดว้ ยแนวคิด 3Rs ขั้นตอนการดำเนนิ งาน ๑. โรงเรียนแตง่ ต้ังผรู้ บั ผดิ ชอบกิจกรรมฐานการเรียนรู้ “หนิ กองพิบลู ฯ More Milk” ๒. โรงเรียนสง่ สมคั รเขา้ รว่ มโครงการ ซีพี – เมจิ อม่ิ สุข ปลูกอนาคต สง่ เสริมอาชพี นกั เรียน ร่วมกับภาคเี ครอื ขา่ ย โรงเรยี นประชารัฐ CONNEXT ED บริษัทซพี ี-เมจิ จำกดั ๓. รบั สมัครนักเรียนเขา้ รว่ มกิจกรรมฐานการเรียนรู้ “หินกองพบิ ลู ฯ More Milk” ๔. ครผู ูร้ บั ผดิ ชอบคัดเลือกนักเรยี นทสี่ มัครเขา้ ร่วมกิจกรรม โดยพิจารณานกั เรยี นมีความ ประพฤติดี มฐี านะยากจน และมีความสนใจในอาชพี การคา้ ขาย ๕. บรษิ ัทซีพี-เมจิ จำกดั ส่งวิทยากรมาให้ความร้ดู ้านการขาย การส่งั นมเมจิ การคำนวณตน้ ทุน กำไร การเกบ็ รกั ษานม พรอ้ มขายในตู้เกบ็ ความเย็น ๖. ครูและนักเรยี นดำเนินการประชาสัมพนั ธก์ ารขายนมให้กับนักเรียน ครู ผูป้ กครองภายใน โรงเรียนหินกอง(พบิ ูลอนสุ รณ)์ ๗. เปดิ รา้ นเพือ่ จำหน่ายขายผลติ ภัณฑน์ มเม-จใิ ห้ กบั นักเรยี น ครูและบคุ ลากร ในโรงเรยี น ในชว่ งเวลาภาคเชา้ กอ่ นเข้าแถวเคารพธงชาตแิ ละชว่ งพกั รบั ประทานอาหารกลางวนั มกี าร จดั ทำชุดเพ่อื สุขภาพจำหน่ายและรับออเดอร์จากคุณครเู พอ่ื ใหซ้ ้อื กลับบา้ นเปน็ ของฝากใน ช่วงเวลาดังนี้ ส่ังสนิ ค้าวนั จันทรไ์ ดร้ บั วนั วนั พุธ สง่ั สนิ ค้าวนั พุธไดร้ ับวนั ศุกร์ โดยจะมีนักเรยี น แกนนำเดินสำรวจและรบั ออเดอร์พรอ้ มกบั จดั ส่งใหส้ นิ ค้าให้ตามกำหนด ๘. นักเรยี นจดั ทำบญั ชรี ายรบั -รายจ่ายประจำวนั สรุปสถิตกิ ารส่งั ซ้ือนมเมจิ ๙. ปนั ผลกำไรทีไ่ ด้รบั ใหน้ กั เรียนทรี่ บั ผิดชอบการขายนม 50% และสง่ เข้ากองทนุ อิ่มสุข ปลกู อนาคต 50% ๑๐.สรุปสรุปผลกำไรประจำเดือน รายงานผู้บรหิ ารสถานศึกษา ทุกสน้ิ ปกี ารศึกษา

๔2 ตัวอยา่ ง รายการผลิตภัณฑน์ มเม-จิ

๔3 ครูผสู้ อนนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ฐานอาชีพขายและการตลาดผลติ ภัณฑน์ ม “หินกองพิบลู ฯ More Milk” ความรู้ คณุ ธรรม 1. การคำนวณตน้ ทนุ 1. มีความรกั เมตตาศษิ ย์ 2. ความรู้เก่ยี วกับการขาย 2. มคี วามรบั ผิดชอบ 3. คุณธรรมในการประกอบอาชพี 3. มีความยุติธรรม 4. ความรทู้ ัว่ ไปเกย่ี วกบั การประกอบอาชีพ 4. มีความอดทน เสียสละ 5. การทำบญั ชรี ายรับ-รายจา่ ย 5. ตรงต่อเวลา 6.ชนดิ ของนมและราคา 6.มคี วามซอ่ื สตั ย์ สุจรติ หลกั พอเพียง พอประมาณ มเี หตุผล มีภมู ิคุ้มกันในตวั ที่ดี ประเด็น - การวางแผนการขาย - ตอ้ งการใหผ้ ู้เรียนนำความรู้ท่ีได้ - สรปุ เนอ้ื หาการขายใหเ้ ขา้ ใจ เนื้อหา สอดคล้องกับเน้ือหาวิชา ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน ง่าย มภี าพหรือสอ่ื ของจรงิ เวลา การจัดกจิ กรรม ความสามารถและวัยของ - เปน็ พืน้ ฐานในการประกอบอาชีพ ประกอบเน้ือหา ส่อื /อุปกรณ์ ผ้เู รียน ของนกั เรยี น - เรยี งเนอ้ื หาตามลำดับการ แหล่งเรียนรู้ เรียนรู้ ประเมนิ ผล - กำหนดเวลาในการขายสนิ ค้า - จัดการเรยี นรู้ประสบการณ์ได้ - กำหนดเวลาในแตล่ ะกิจกรรม เหมาะสมกบั ชนดิ สนิ คา้ ครบถ้วนตามทีอ่ อกแบบไว้ ไว้เกนิ จรงิ เล็กนอ้ ย เพอ่ื รองรับ - กำหนดวยั ของผู้เรียน การเปลย่ี นแปลงทอ่ี าจเกดิ เหมาะสมในเนื้อหา ระหวา่ งการจัดกิจกรรม - กำหนดกิจกรรมการเรยี นรู้ - ตอ้ งการให้ผู้เรยี นเข้าความสำคัญ - เตรียมชุดคำถามกระต้นุ เหมาะสมกับเวลาท่ีกำหนด เนือ้ หาทเี่ รยี นรู้ ความคดิ ความพอเพียงในตัว - มอบหมายภาระ/ชนิ้ งานให้ - นักเรียนสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ นักเรียน เหมาะสมกบั ความสามารถ กบั ภาระกิจต่างๆได้ - วางแผนการการขายไวล้ ว่ งหนา้ และพ้ืนฐานความรแู้ ละ เปา้ หมายการเรยี นรู้ - จดั เตรยี มสนิ ค้าไวเ้ พียงพอ - ตอ้ งการให้นักเรียนได้ปฏบิ ัติ - เตรียมอปุ กรณใ์ ห้พรอ้ มก่อนจัด ตอ่ การขาย กิจกรรมไดจ้ ริงตามจุดประสงค์ท่ี กจิ กรรม - จดั เตรยี มสมุดบัญชีรายรบั - กำหนดไว้ -มีลำดับขน้ั ตอนในการขายสินคา้ รายจ่ายได้เหมาะสม (นมเมจิ) - มคี วามชำนาญในการใชส้ ่ือ ประกอบการขาย - รา้ นคา้ มินมิ าร์ทโรงเรียนหนิ - เพื่อให้นกั เรยี นมแี หลง่ เรียนร้ทู ี่ - เตรียมฐานแหล่งเรยี นรู้ให้ กอง(พิบูลอนสุ รณ)์ เออื้ ตอ่ การเรยี น พร้อมกอ่ นจดั กิจกรรมการสอน - สหกรณโ์ รงเรียนหนิ กอง (พิบลู อนุสรณ)์ - กำหนดเกณฑก์ ารประเมิน - ตอ้ งการประเมินผลการเรยี นรู้ - มีการวางแผนการวดั และ และออกแบบการประเมินให้ ตามเป้าหมายท่กี ำหนด ประเมนิ ผลอยา่ งเปน็ ระบบ สอดคลอ้ งกับการจัดกิจกรรม ข้นั ตอน การเรยี นรแู้ ละศกั ยภาพของ นกั เรยี น

๔4 ผเู้ รียนจะไดฝ้ กึ คิดและฝึกปฏิบตั ิตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ความรู้ คณุ ธรรม 1. การพดู โฆษณาสนิ คา้ 1. ความใฝ่เรยี นรู้ ในการหาขอ้ มลู เพิม่ เตมิ ในการ 2. วางแผนการตลาด ประกอบอาชีพต่างๆ 3. การคำนวณกำไร ขาดทนุ 2. ความอดทนในการปฏิบัตงิ านทไี่ ด้รับมอบหมาย 4. การจดั ทำบัญชรี ายรัย รายจ่าย 3. ความซ่ือสตั ย์ในการขาย 4. การใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ 5. ความม่งุ ม่นั ในการทำงาน พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภูมคิ มุ้ กันในตวั ท่ีดี 1. นกั เรยี นใช้เวลาวา่ งในการ 1. นักเรยี นนำความรทู้ ไ่ี ด้ไปใช้ 1. นักเรยี นสามารถวางแผน ขายสนิ คา้ ในการประกอบอาชีพเสริม การตลาดได้ 2. นกั เรยี นมีรายได้เป็น 2. นักเรยี นมีคุณธรรมในการ 2. นกั เรยี นมกี ารทำงานอย่างเปน็ ทุนการศกึ ษา ประหยดั ประกอบอาชพี ระบบ ค่าใช้จ่ายจากผู้ปกครอง 3. นักเรียนตอบคำถามในชุด 3. นักเรยี นศึกษาขน้ั ตอนการขาย 3. นกั เรยี นรกั ษาวัสดอุ ุกกรณ์ คำถามอยา่ งมีเหตุผล ก่อนลงมือปฏบิ ตั ิ ทใ่ี ช้ในการขายอยา่ งเหมาะสม 4. นกั เรียนจดั เตรียมนมไวเ้ พยี งพอ ตอ่ การขายในแต่ละช่วง 5. สามารถสรา้ งเป็นอาชพี ได้

๔5 ผเู้ รียนจะไดเ้ รียนรกู้ ารใชช้ วี ติ ท่ีสมดลุ และพรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลง 4 มิติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สมดุลและพร้อมรับการเปลย่ี นแปลงในดา้ นต่าง ๆ ด้าน วตั ถ/ุ เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม สงิ่ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบ - ความร้ใู นการ - การบอกเล่า - มีความรเู้ กยี่ วกบั - รู้วิธกี าร ความรู้ ขายสินคา้ (นมเม ประสบการณ์การ อาชพี ค้าขายที่ได้ จัดเตรียมสถานที่ จิ) ขายสินคา้ ใหก้ ับ สืบต่อกนั มาตง้ั แต่ อุปกรณใ์ นการขาย เพอ่ื นๆ บรรพบุรษุ ทกั ษะ - มีทักษะในการ - ทำงานร่วมกับ - นำประสบการณ์ - ใช้ทรัพยากร คา่ นยิ ม ขายสินคา้ ผู้อื่นไดจ้ นสำเร็จ อาชีพท่ีได้ลงมอื ไป อย่างรู้คณุ ค่าไม่ -สามารถสร้าง ลุล่วงอยา่ งมี ปฏบิ ตั ไิ ปบอกเล่า ทำลายสงิ่ แวดลอ้ ม รายได้จากการ ความสขุ กบั เพ่อื นๆพๆี่ ขายนมเมจิ นอ้ งๆ - รู้จกั การทำงาน - เหน็ คุณคา่ ของ การยอมรบั ฟัง - ตระหนักถงึ - จิตสำนกึ ในการ อาชีพคา้ ขาย ความคดิ เห็นของ คุณค่าในอาชีพ รักษา - ยึดในคุณธรรม ผอู้ ื่น ค้าขาย สภาพแวดล้อมใน ในการประกอบ - มคี วาม อาชพี คา้ ขาย รบั ผดิ ชอบในการ สถานทีต่ ัง้ ร้านขาย ทำงานรว่ มกบั สินค้า (นมเมจิ) ผอู้ น่ื - ไมเ่ อาเปรียบ เพอ่ื นร่วมงาน

๔6 ภาพกจิ กรรม ฐานการเรยี นรหู้ นิ กองพิบลู ฯ More Milk ครูผู้ดูแลประจำฐานและนกั เรยี นเชค็ สตอ็ กสินคา้ นมเมจิ

๔7 ภาพกจิ กรรม ฐานการเรยี นรู้หินกองพิบูลฯ More Milk นักเรยี นจัดเตรยี มสินคา้ นมเมจิ เพ่ือเตรียมจำหน่าย ภาพกิจกรรม ฐานการเรียนรหู้ ินกองพิบูลฯ More Milk


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook