Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการ2565

แผนปฏิบัติการ2565

Published by เนตรชนก พรมทอง, 2022-06-17 00:14:25

Description: แผนปฏิบัติการ2565

Search

Read the Text Version



๒ คำนำ โรงเรียนบานหินกบ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดจดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปการศกึ ษา พ.ศ. 2565 ฉบับนีข้ ้ึน เพ่ือใช เปนกรอบการดำเนินงานและขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษา โดยมีสาระสำคัญประกอบดวย วิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายการใหบริการ จุดเนน มาตรการตัวชี้วัด กลยุทธ แผนงาน ผลผลิต โครงการ กิจกรรม และ งบประมาณ โดยมีการวิเคราะหความสอดคลองของแผนปฏิบัติการประจำปกับนโยบายของรัฐบาล แผนการ บรหิ ารราชการแผนดนิ นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ และนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยกำหนดกลยุทธที่มุงเนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การขยายโอกาสทางการศึกษา และ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ทสี่ อดคลองกบั ยุทธศาสตรการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ี ยั่งยืน การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำป 2565 ฉบับนี้จะบรรลุผลตามเปาหมายความสำเร็จท่ี กำหนดไวต อ งไดรบั ความรวมมือจากบุคลากรภายในสถานศึกษาชมุ ชนและหนวยงานที่เก่ยี วของทางการศึกษา และการสนับสนุนจากทุกภาคสวนในการกำกับติดตามรวมกันผลักดันแผนสูการปฏิบัติเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธ์ิ ตามเปาหมายที่ตั้งไว รวมทั้งยังเปนกรอบแนวทางในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของสำนักงาน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยมุงสูเปาหมายสุดทายคือการพัฒนาใหนักเรียนไดรับโอกาสทาง การศกึ ษาอยา งท่ัวถงึ และมีคุณภาพตามศักยภาพอยา งเทาเทยี มกัน นายสิทธพิ งษ พุมพะเนิน ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นหินกบ

สารบญั ๓ เรื่อง หนา คำนำ ก สารบัญ ข บทที่ 1 บทนำ 1 - สภาพปจ จบุ นั ของสถานศึกษา 9 - ขอบขา ยภาระงาน บทท่ี 2 ทศิ ทางของสถานศึกษา 10 - วสิ ัยทศั น (Vision) - พนั ธกจิ (Mission) 14 - เปาประสงค( Goal) - ยทุ ธศาสตร( Strategy) 15 - ปรชั ญา - คำขวัญ 16 บทที่ 3 โครงการ/กิจกรรม 20 24 บทท่ี 4 โครงการ/กิจกรรม จำแนกตามกลมุ งานทีร่ ับผิดชอบ 27 30 บทท่ี 5 รายละเอียดโครงการจำแนกตามรายกลมุ ทรี่ บั ผิดชอบ 33 - โครงการฝา ยงานวชิ าการ 36 39 - โครงการการบริหารงานวิชาการ 42 45 - โครงการจดั ตัง้ ศูนยการเรียนรตู ามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 49 - โครงการสวนพฤกษศาสตร - โครงการโรงเรยี นสงเสรมิ สขุ ภาพ - โครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) - โครงการบานนกั วทิ ยาศาสตรนอย - โครงการโรงเรยี นรอบรสู ขุ ภาพ (Health Literate School : HLS) - โครงการโรงเรยี นตนแบบนักเรยี นไทยสุขภาพดี - โครงการสถานศึกษาปลอดภัย - โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. - โครงการเรียนฟรี 15 ป

สารบญั (ตอ) ๔ เรื่อง หนา - โครงการกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น 53 55 - โครงการฝา ยบริหารงานงบประมาณ 56 - โครงการบริหารงานงบประมาณ 61 - โครงการจัดซ้อื เคร่ืองปริ้นเตอร 64 65 - โครงการฝายบรหิ ารงานบุคคล 68 - โครงการบริหารงานบคุ ลากร 71 - โครงการจา งครเู อกคณติ ศาสตร - โครงการจัดจา งวิยากรภาษาจีน 73 74 - โครงการฝายบรหิ ารงานท่ัวไป 80 - โครงการบริหารงานทั่วไป 87 - โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข 90 - โครงการวิถพี ทุ ธ 93 - โครงการอาหารกลางวันคุณภาพ 96 - โครงการรถรับ-สงนักเรยี น 100 - โครงการพฒั นาอาคารสถานทแ่ี ละสงิ่ แวดลอม ภาคผนวก

๑ บทที่ 1 บทนำ 1.1 ขอมูลทั่วไป โรงเรียนบานหินกบ หมูที่ 6 ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร รหัสไปรษณีย 86160 สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร โทรศัพท/ โทรสาร 077 - 512075 e-mail : [email protected] ผบู รหิ าร นายสิทธพิ งษ พุม พะเนิน ผูอำนวยการโรงเรยี นบา นหินกบ โทรศัพท 081-088-7855 วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา ดำรงตำแหนง ผอู ำนวยการโรงเรียนบา นหนิ กบ ตง้ั แต วนั ท่ี 14 มกราคม 2563 จนถึงปจ จบุ นั เปน เวลา 1 ป 3 เดือน โรงเรยี นบานหินกบ เปดสอนระดบั ชนั้ อนบุ าล 1 ถึงระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 6 ตั้งอยใู นพ้นื ท่ี ราชพัสดุ มีเนื้อที่ 25 ไร 2 งาน 35.90 ตารางวา เขตพื้นที่บริการคือ หมูที่ 6 ตำบลชุมโค อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ภาพแสดงแผนท่ีโรงเรียนบา นหินกบ

๒ ขอมูลดานอาคารสถานท่ี 1) ศาลาประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู 2) หอ งสมุด IT กลุมเพอื่ นพง 3) ฟารมไสเดือน 4) บานพกั ครู 5) อาคารเรยี นแบบ 105/ไทยรัฐ โรงเรยี นไดปรับปรงุ เปนหอ งเรยี นและหองพเิ ศษ จำนวน 10 หอง ดังนี้ หอ งเรยี น จำนวน 6 หอง หอ งพยาบาล จำนวน 1 หอ ง หองคอมพวิ เตอร/ หองประชุม จำนวน 1 หอ ง หองธรุ การ จำนวน 1 หอ ง 6) หอ งนำ้ ประถม 7) บอฝง กลบขยะทวั่ ไป 8) อาคารเรียนช่วั คราว ขนาด 5x 30 ม. ปจจบุ ันปรับปรงุ เปน หอ งครัว โรงอาหาร และหองพัสดุ 9) ธนาคารขยะสรา งบุญ 10) หอ งน้ำอนบุ าล 11) อาคารอเนกประสงค แบบ สปช.202/26 ปจจุบนั ใชเปนหองเรยี นปฐมวัย (อนุบาล 3) อาคารอเนกประสงค ปจ จุบันใชเ ปน หอ งเรียนปฐมวยั (อนบุ าล 1 – 2) 12) โรงอบพลังงานแสงอาทิตย 13) ศาลาพักผอน 14) หองสภานักเรียน/คลนิ ิกเสมารักษ ขอ มูลดานพื้นท่สี นามกีฬา - สนามเดก็ เลนประถม - สนามฟตุ บอล - สนามเดก็ เลน ปฐมวยั - สถานท่ีออกกำลังกาย - สนามเซปกตระกรอ - สนามวอลเลยบ อล ขอมูลดานพน้ื ทก่ี ารเกษตร - ผกั สวนครัว - สวนปาลม - แปลงเกษตร - โรงเลยี้ งไก ขอ มูลชุมชนโดยรวม 1) สภาพชมุ ชนโดยรอบ ชมุ ชนของหมูบา นหินกบมีลักษณะเปนชุมชนชนบทโดยแบง ชมุ ชนเปน สองสวน ไดแ ก อยตู ิดชายฝง ทะเลและพื้นที่ราบหางฝงทะเล มีประชากรประมาณ 1,500 คน บริเวณใกลเคียงโดยรอบโรงเรียนประกอบ ดวย สำนักสงฆหินกบ ชุมชนชายฝงทะเล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขต ชุมพร สนามบินพาณิชยจังหวัดชุมพร ประชากรสวนใหญประกอบประมง รองมาเปนเกษตรกรรม คาขาย รับจางตามลำดับประชากรสว นใหญนับถอื ศาสนาพุทธ ประเพณีและศิลปะวัฒนธรรมทองถิ่นที่เปนผูทีร่ ูจักกนั

๓ ทั่วไป ไดแ ก ประเพณสี งกรานต ประเพณตี รุษไทย ประเพณเี ขาพรรษา ประเพณีออกพรรษา ประเพณีวันลอย กระทง ประเพณีรดนำ้ ดำหวั ผใู หญในวันสงกรานต ประเพณขี ้ึนบานใหม ประเพณแี หนาค เปนตน 2) ขอ มูลของผูปกครอง ระดบั การศึกษา ผูปกครองเรียนจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน คดิ เปน รอยละ 84.21 ผูปกครองเรยี นจบระดบั การศกึ ษาตอนปลาย คิดเปน รอ ยละ 13.68 ผูป กครองจบระดับการศกึ ษาระดับปริญญาตรีขน้ึ ไป คดิ เปนรอ ยละ 2.11 อาชพี ประกอบอาชพี ประมง รอยละ 50 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รอ ยละ 25 ประกอบอาชีพรับจา ง รอยละ 20 ประกอบอาชีพคาขาย รอยละ 5 สรุปไดว า อาชีพหลักของผปู กครอง คอื อาชพี ประมง สว นใหญน ับถอื ศาสนาพทุ ธ ฐานะ ทางเศรษฐกจิ /รายไดโดยเฉลย่ี ตอ ครอบครวั ตอ ป 6,000 บาท จำนวนคนเฉล่ยี ตอครอบครัว 3 คน 3) จุดออ น จุดแขง็ โอกาสและขอ จำกดั ของโรงเรยี น W : จุดออน 1. ผปู กครองสวนใหญร ายไดน อย 2. ขาดครูเอกปฐมวยั 3. ครไู มค รบชนั้ เรียน S : จุดแข็ง 1. ผบู ริหารของโรงเรียนบา นหนิ กบมีการบริหารจดั การทีด่ ี 2. ครแู ละบุคลากรทกุ ฝายมคี วามต้ังใจพรอ มทงั้ มีความรูความสามารถในการจัดทำหลกั สูตรการจัดทำ แผนการจดั การเรยี นรู ใชแผนการจดั การเรยี นรูอยา งมปี ระสิทธภิ าพ นำไปสกู ารพฒั นาผเู รียนอยา งแทจริง โดย ทำวิจัยในชั้นเรียนอยางเปนระบบ พัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง มีผลงานทางวิชาการเปนที่ประจักษ และ สามารถจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบตาง ๆ ที่สอดคลองกับสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid 19) ไดเปน อยา งดี

๔ 3. ผูอำนวยการโรงเรียนมีการบริหารจัดการแบบมีสวนรวม มีแผนกลยุทธในการพัฒนาการศึกษา มี แนวทางในการนำนโยบายลงสูการปฏิบัติชัดเจน มีตัวชี้วัดความสำเร็จเพื่อนาไปสูเปาหมายของการจัด การศึกษามีแผนปฏิบัติการ จัดทำแผนงานโครงการพัฒนาสถานศึกษา ครูและบุคลากร ทุกระดับชั้นทุกงาน ปฏิบัติงานอยางเปนระบบตอเนื่อง ปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพและเปนปจจุบัน มีหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรทองถิ่น มีแหลงเรียนรูและเทคโนโลยีสารสนเทศเพียงพอตอการเรียนรูอยางหลากหลาย มีการ จดั ระบบบริหารอาคารสถานทีท่ ี่เอื้อตอการเรยี นรูทุกระดบั อยางเพียงพอ O : โอกาส 1. หนว ยงานตน สังกัด ใหก ารสนบั สนนุ งบประมาณในการบริหาร จัดสรา งอาคารเรียน อาคาร ประกอบ ซอ มแซมอาคาร จดั หาสื่อวัสดุอปุ กรณ ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ สนับสนุน สง เสริม พฒั นาคุณภาพ บคุ ลากรอยา งตอเน่อื ง จดั สรรอัตรากาลัง 2. อยตู ิดชายฝง ทะเล จึงสามารถใชแหลงเรียนรูตามสภาพจริง 3. ไดร บั สนับสนนุ ดานตา ง ๆ จากหนว ยงานจากสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบงั วทิ ยาเขตชุมพร , เทศบาลตำบลชุมโค โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลบางจาก เปน ตน 4. อยูติดสำนกั สงฆวดั หินกบ จงึ ไดร ว มกิจกรรมทางศาสนาและไดร บั การสนบั สนุนเปน อยางดี 5. อยใู กลสนามบินพาณชิ ยจ งั หวัดชมุ พร 6. อยใู กลธนาคารปแู หลมทองหลางสรา งโอกาสในการจัดประสบการณเ รียนรูท องถ่นิ T : ขอ จำกัด 1. จำนวนครผู สู อนไมครบชัน้ ทำใหม ปี ญหาดานการจดั การเรียนการสอน 2. โรงเรียนขาดแคลนสอื่ เทคโนโลยีเพ่ือใชในการเรียนการสอน 3. ผปู กครอง/ชมุ ชน เอาใจใสดูแลผเู รียนยังไมท วั่ ถึง เนื่องจากมภี าระดา นการประกอบอาชพี ประมง และรับจาง เนือ่ งจากผูป กครองมฐี านะคอนขา งยากจน 1.2 ขอมูลบุคลากรของสถานศึกษา 1) จำนวนบุคลากร บุคลากร ผูบ รหิ าร ครูผสู อน พนักงาน ครอู ัตราจา ง เจา หนาท่ี รวม ราชการ 3 อ่ืน ๆ ทงั้ หมด ปการศกึ ษา 2565 1 5 2 0 11 2) วุฒิการศกึ ษาสงู สุดของบุคลากร วุฒิการศกึ ษา ปริญญา ปริญญา ปรญิ ญาตรี ป.บัณฑติ ปวส. ปวช. ต่ำกวา รวม เอก โท ปวช. ทั้งหมด จำนวน(คน) - 2 10 12

๕ 3) ขอ มูลผูบรหิ าร ครู และบุคลากร จำแนกตามวฒุ กิ ารศกึ ษา อายุ วุฒิ ท่ี ชอื่ - สกุล ตำแหนง อายุ วทิ ย ราชการ การศกึ ษา วชิ าเอก หมาย ฐานะ เหตุ 1. นายสิทธพิ งษ พุมพะเนิน ผอู ำนวยการ 43 คศ. 3 11 ป ปริญญาโท บริหารการศึกษา 2. นางสาวธนภรณ นวลลำภู ครู 44 คศ. 3 14 ป ปริญญาตรี วิทยาการ 3. นางเนตรชนก พรมทอง คอมพิวเตอร 4. นางสาวจุฑาทพิ ย ขาวปล่ัง ครู 39 คศ. 3 11 ป ปริญญาโท บริหารการศกึ ษา ปรญิ ญาตรี ประถมศึกษา ครู 38 คศ. 1 5 ป ปริญญาตรี การเพาะเลย้ี ง 5. นางสาวชธุ ดิ า จดู เดช ครู 27 คศ. 1 3 ป ปริญญาตรี ภาษาไทย 6. นางสาววชิ ยา ชยั ชาญ บุคลากร 34 - - ปรญิ ญาตรี สัตวศาสตร 7. นางสาวพิชนชุ จนั ทรละมลู วิทยาศาสตร - - ปริญญาตรี สังคมศึกษา ครอู ตั ราจาง 29 8. นางสาวธนฎิ ฐา ต้งั อรุณ ครูอตั ราจาง 26 ปริญญาตรี ปฐมวยั 9. นางสาวอุไรวรรณ วงนาญาติ ครูอัตราจา ง 27 - - ปริญญาตรี คณิตศาสตร 10. นางสาวอุทยั วรรณ นอยเทพา เจาหนา ที่ 31 - - ปรญิ ญาตรี วทิ ยาศาสตร 11. นายโสธร โพธ์ิคีรี ธุรการ 45 - นักการ - ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 สงิ่ แวดลอม ภารโรง - 4) ขอ มูลนกั เรยี น จำนวน จำนวนนกั เรียน เฉลี่ยตอหอง หองเรียน ระดับชนั้ เรียน ชาย หญิง รวม 1:7 7 1:9 อ.1 9 25 7 1: 18 อ.2 18 1:13 อ.3 13 45 9 1:8 ป.1 8 1:7 ป.2 7 8 10 18 ป.3 4 9 13 44 8 61 7

ระดบั ชั้นเรยี น จำนวน จำนวนนกั เรยี น ๖ หองเรียน ป.4 ชาย หญงิ รวม เฉลย่ี ตอหอง ป.5 15 1:15 ป.6 13 7 8 15 1: 13 รวมทั้งหมด 4 1:4 94 5 8 13 31 4 43 51 94

๗ บทท่ี ๒ ทศิ ทางของสถานศกึ ษา วิสัยทัศน(VISION) มุงมาตรฐานการศกึ ษา เรงพัฒนาคุณธรรม นอมนำหลักปรัญญา นำชุมชนสรา งสรรค ผานการ ประกันคุณภาพ พันธกจิ (MISSION) - พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชชมุ ชนเปน ฐานของการ พฒั นาการจัดการศึกษา - พัฒนาคณุ ภาพผูเรียนท่ีเนนผเู รยี นเปน สำคัญ - จัดการเรยี นการสอนสองภาษา - จดั กิจกรรมพฒั นาผูเรยี นสงเสริมอาชีพและการวิจยั - จัดระบบดูแลชวยเหลอื นกั เรียนเพ่ือใหนักเรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มวี ินัย มจี ติ อาสา - พฒั นาสภาพแวดลอมท้ังในและนอกหอ งเรยี นใหเ อื้อตอการเรยี นรู - สรางความสมั พันธก ับชมุ ชน องคกรทองถนิ่ และหนวยงานอ่นื ใหมีสวนรวมในการจัด การศกึ ษา - สงเสรมิ และสนบั สนุนการใชแหลงเรียนรแู ละภูมปิ ญญาทองถิ่น - บริการรถรบั - สง นกั เรียน เปาประสงค (Goals) - เด็กระดบั ปฐมวยั มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั - ผูเรยี นระดับประถมศกึ ษา มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สามารถสื่อสารไดสองภาษา มี พ้ืนฐานในการวจิ ยั - ครมู ีความสามารถในการจัดประสบการณเรียนรอู ยางมีประสิทธภิ าพและเนน เด็ก/ผูเรียนเปน สำคัญ - ผูบ รหิ ารมีการบริหารและจัดการศึกษาโดยใชส ถานศกึ ษาเปน ฐาน - สถานศกึ ษามีการจดั หลักสูตร และประสบการณการเรียนรูท ่ีเนน เดก็ /ผูเรยี นเปนสำคัญ - สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดลอมและการใหบริการที่สงเสริมใหเ ด็ก/ผเู รียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็ม ศกั ยภาพ - สถานศกึ ษามีเครอื ขา ยความรว มมอื กับชุมชนในการจดั การศึกษาและระดมทรัพยากร - บริการรถรับ – สง นักเรียน ยทุ ธศาสตร( Strategy) กลยุทธท่ี 1 พัฒนาคุณภาพผเู รียน หลกั สูตรโรงเรยี นและกระบวนการจัดการเรยี นรู เพ่ือให ผเู รียนไดพฒั นาความรูสมรรถนะ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ ละทักษะชวี ิตตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไดต าม ศักยภาพพรอ มเปน พลเมอื งของ ประชาคมอาเซยี นและพลโลก

๘ กลยุทธท ี่ 2 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การโรงเรยี น และระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ใหม ปี ระสิทธิภาพ กลยทุ ธ ท่ี 3 พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ใหสามารถจดั การเรยี นการสอนไดอยางมี คุณภาพ กลยุทธท่ี 4 พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนทศ ส่อื การเรยี นรู และแหลงเรียนรตู ามปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง กลยุทธ ท่ี 5 พัฒนาระบบภาคเี ครือขา ยอุปถัมภและทรัพยากรทางการศึกษา เนนการมสี ว น รว มจากทกุ ภาคสว น และความรวมมือกบั องคก รปกครองสวนทองถิ่นเพอื่ สงเสริม และสนบั สนุนการจัดศึกษา ปรชั ญาโรงเรียน สุสสฺ สู ํ ลภเต ปฺญํ ผตู ้ังใจศึกษายอมไดป ญ ญา คำขวัญ จิตอาสาดี มีวนิ ยั ใฝเ รยี นรู คูค ุณธรรม นอมนำเศรษฐกิจพอเพยี ง หลกี เลยี่ งยาเสพตดิ ตราสญั ลกั ษณโรงเรียน

๙ บทท่ี 3 โครงการ / กจิ กรรม โครงการกิจกรรมที่สนองกลยุทธโรงเรียนบานหินกบ โรงเรียนบานหินกบไดวิเคราะหและจัดทำ โครงการกิจกรรมประจำปการศึกษาพุทธศักราช 2565 เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนบานหินกบตาม -วสิ ัยทศั น (Vision) พันธกจิ (Mission) เปา ประสงค (Goal) ยทุ ธศาสตร (Strategy) ปรัชญา คติพจน คำขวัญ อัตลักษณ ของสถานศึกษา เอกลักษณของสถานศึกษาเปาหมายผลผลิต หลัก ที่กำหนดขึ้นโดย มีงบประมาณจากสำนักงานพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 1,152,757 บาท ซง่ึ จำแนกตามภารกิจหนาทข่ี องกลุมงาน จำนวนงบประมาณตามกลยุทธจำแนกเปนรายกลุม ลำดบั กลมุ งาน จำนวนงบประมาณ หมายเหตุ 1. กลุมบรหิ ารงานวชิ าการ 318,617 2. กลุม บรหิ ารงบประมาณ 48,700 3. กลุมบรหิ ารงานบุคคล 281,740 4. กลมุ บรหิ ารงานทัว่ ไป 493,960 5. อ่ืน ๆ 9,740 รวม 1,152,757

๑๐ บทที่ 4 การกำกบั ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงาน โรงเรียนบานหินกบ ไดบริหารจัดการศึกษาโดยการกระจายอำนาจการตัดสินให คณะทำงานชุด ตาง ๆ ดำเนินการระดมทรัพยากรเพื่อใหสามารถพัฒนางานของโรงเรียนบานหินกบไดอยางมีคุณภาพ โดย จัดทำโครงการกจิ กรรมสนองกลยทุ ธของโรงเรยี นบานหินกบโดยจำแนกเปน รายกลุมที่รบั ผิดชอบงาน ดังน้ี 1. บริหารงานวิชาการ มี 13 โครงการ 41 กจิ กรรม 1.1 โครงการการบริหารงานวชิ าการ 1) กจิ กรรมพัฒนาหลักสูตร 2) กิจกรรมงานทะเบียนและวัดผล 3) กิจกรรมนเิ ทศภายใน (อนบุ าล 1 - ประถมศกึ ษาปท ี่ 6) 4) กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ 5) กิจกรรม Hinkob flea market 6) กิจกรรมรอยรักษภ าษาไทย 7) กิจกรรมการจัดการเรยี นรวม 8) กจิ กรรม Unplug coding ชายทงุ 9) กิจกรรมเสรมิ สรางบรรยากาศในชั้นเรยี น 10) กจิ กรรมเตรียมความพรอมสรู ว้ั มัธยม 11) กิจกรรมสานฝนบณั ฑิตนอ ย 12) กิจกรรมปจ ฉมิ นเิ ทศ 13) กิจกรรมสงเสริมความเปนเลิศ 14) กจิ กรรมสงเสรมิ งานวิจัยและพฒั นานวตั กรรม 15) กจิ กรรมสง เสริมความเปน เลิศดานวทิ ยาศาสตร 16) กิจกรรมสารสนเทศการบริหารงานวชิ าการ 1.2 โครงการจัดตง้ั ศนู ยก ารเรียนรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา นการศึกษา 1) กจิ กรรมศูนยการเรยี นรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา 1.3 โครงการสวนพฤกษศาสตร 1) เรียนรูพ ืชสมุนไพร 2) ปายชือ่ พรรณไม 3) ทะเบียนพรรณไม 1.4 โครงการโรงเรียนสงเสรมิ สุขภาพ 1) กิจกรรมออกกำลังกายพยาบาล 2) กจิ กรรมปลอดลูกน้ำยงุ ลาย 3) กจิ กรรมอนามยั โรงเรยี น 4) สงเสรมิ สขุ ภาพฟน ในโรงเรียน

๑๑ 1.5 โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) 1) กจิ กรรมการบรหิ ารจัดการขยะ 1.6 โครงการบา นนกั วทิ ยาศาสตรน อ ย 1) กจิ กรรมบานนักวิทยาศาสตรนอ ย 1.7 โครงการโรงเรียนรอบรสู ุขภาพ (Health Literate School : HLS) 1) กิจกรรมโรงเรียนรอบรูส ุขภาพดี 1.8 โครงการโรงเรียนตนแบบนักเรยี นไทยสุขภาพดี 1) กิจกรรมนักเรยี นไทยสขุ ภาพดี 1.9 โครงการสถานศกึ ษาปลอดภยั 1) กจิ กรรมปองกันภัย 2) กิจกรรมขบั ขปี่ ลอดภยั 1.10 โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. 1) กจิ กรรมคนื คุณธรรมสูห องเรยี น 2) กจิ กรรมสืบสานสง เสริมเอกลกั ษณไทย 3) กจิ กรรมสง เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 1.11 โครงการเรยี นฟรี 15 ป 1) กจิ กรรมจดั ซ้ือหนงั สือเรยี น 2) กจิ กรรมจดั ซ้ืออปุ กรณการเรียน 3) กิจกรรมจัดซื้อเคร่ืองแบบนกั เรยี น 1.12 โครงการกจิ กรรมพัฒนาผเู รียน 1) กจิ กรรมทักษะทางวิชาการ 2) กิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี 3) กจิ กรรมพัฒนาเทคโนโลยี 4) กิจกรรมทัศนศึกษา 1.13 โครงการการพัฒนาศักยภาพการจดั ประสบการณระดับปฐมวัย 1) กจิ กรรมจางวทิ ยากรภายนอก 2. บริหารงานงบประมาณ มี 1 โครงการ 4 กจิ กรรม 2.1 โครงการบริหารงานงบประมาณ 1) กิจกรรมพัฒนาระบบงานการเงิน 2) กจิ กรรมสงเสริมพฒั นาสาธารณปู โภค 3) กจิ กรรมพัฒนาระบบงานพสั ดุและสินทรัพย 4) กจิ กรรมปรบั ปรุงซอมแซมครุภนั ฑ

๑๒ 3. บริหารงานบคุ คล มี 3 โครงการ 7 กิจกรรม 3.1 โครงการบรหิ ารงานบุคลากร 1) กิจกรรมสรางความสมั พนั ธทด่ี ี 2) ศึกษาดูงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา 3) กิจกรรมพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา หลักสตู รวิชาผูกำกบั ลูกเสือ 4) สรา งขวญั กำลังใจและยกยองเชดิ ชูเกียรติ 5) การบรหิ ารจัดการสำนักงานฝา ยบรหิ ารงานบคุ คล 3.2 โครงการจัดหาเคร่ือง printer 1) กจิ กรรมจดั หา printer 3.2 โครงการจดั จางครู 1) กจิ กรรมจดั จา งครู 4. บริหารงานทั่วไป มี 7 โครงการ 31 กจิ กรรม 4.1 โครงการบริหารงานทว่ั ไป 1) กิจกรรมพัฒนางานกิจการนกั เรียน 2) กิจกรรมงานปกครอง 3) กจิ กรรมระบบดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน 4) กจิ กรรมสง เสริมความสัมพันธแ ละความรวมมือกบั ชุมชน 5) กิจกรรมปองกันยาเสพตดิ ในสถานศึกษา 6) กจิ กรรมสงเสรมิ ประชาธปิ ไตย 7) กิจกรรมสภานักเรยี น 8) กิจกรรมเสยี งตามสาย 9) กจิ กรรมทำความสะอาดเขตรบั ผิดชอบ 10) กิจกรรมสงเสรมิ ความเปน เลศิ ดานคุณธรรมจริยะธรรม 11) กิจกรรมพัฒนาแหลงเรียนรแู ละหอ งสมุด 12) กจิ กรรมการรับนักเรยี น 13) กิจกรรมพฒั นาระบบงานธรุ การ 14) กิจกรรมสารสนเทศอาหารกลางวัน 4.2 โครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมขุ 1) กิจกรรมคดั กรองเฝา ระวงั ยาเสพตดิ 2) กิจกรรมรณรงคป องกนั ยาเสพติด 3) กจิ กรรมแขงขันกีฬาตานยาเสพตดิ 4) กิจกรรมเจา หนาที่ตำรวจใหค วามรูเก่ยี วกบั ยาเสพติด (ครู D.A.R.E) 5) กจิ กรรมนักเรียนลงลายมือช่อื ปฏิญาณตนไมย ุงเกีย่ วกับยาเสพติดและอบายมุข 6) กจิ กรรมสงเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม 7) กจิ กรรมวนั ปลอดบหุ รี่โลก

๑๓ 4.3 โครงการวิถีพทุ ธ 1) กจิ กรรมไปวดั ทกุ วนั พระ 2) กจิ กรรม “ เคารพพี่ ดีตอนอง” 4.4 โครงการโรงเรียนรกั ษาศีล 5 1) กจิ กรรมรกั ษาศลี 5 2) กจิ กรรมสวดมนตน ง่ั สมาธิ 3) กิจกรรมจัดเก็บหอ งเปน ระเบยี บ 4) กจิ กรรมคิดดี ดวยการจับดคี นรอบขาง 5) กจิ กรรมพูดดี ดว ยการพดู จาไพเราะ 4.5 โครงการอาหารกลางวนั คุณภาพ 1) กจิ กรรมอาหารกลางวันคุณภาพ 4.6 โครงการรถรับ-สงนักเรยี น 1) กจิ กรรมรถรับ-สงนักเรียน 4.7 โครงการพัฒนาอาคารสถานท่ีและสง่ิ แวดลอม 1) กิจกรรมพัฒนาอาคารสถานทแ่ี ละสงิ่ แวดลอม

๑๔ บทที่ 5 รายละเอียดโครงการจำแนกตามรายกลมุ ทร่ี บั ผดิ ชอบ โครงการ / กจิ กรรม ท่กี ลุมในโรงเรียนบา นหินกบ จัดทำเพื่อตอบสนองกลยทุ ธโ รงเรยี นบา นหนิ กบ จำแนกเปนรายกลมุ ตามที่กำหนดความรบั ผดิ ชอบ ดงั นี้ กลมุ งานวชิ าการ 13 โครงการ 41 กจิ กรรม กลมุ งานงบประมาณ 1 โครงการ 4 กจิ กรรม กลุมงานบุคคล 3 โครงการ 7 กจิ กรรม กลมุ งานบริหารทั่วไป 7 โครงการ 31 กจิ กรรม

๑๕ โครงการ กลุมบริหารงานวชิ าการ

๑๖ แผนงาน บรหิ ารงานวิชาการ ชือ่ โครงการ การบรหิ ารงานวิชาการ ลักษณะโครงการ ตอเน่อื ง กจิ กรรม 1. กิจกรรมพฒั นาหลักสตู ร 2. กจิ กรรมงานทะเบยี นและวัดผล 3.กิจกรรมนเิ ทศภายใน (อนบุ าล 4 - ประถมศึกษาปท ี่ 6) 4. กจิ กรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ 5.กจิ กรรม Hinkob fleamarket 6. กิจกรรมรอยรกั ษภ าษาไทย 7. กิจกรรมการจัดการเรยี นรวม 8. กิจกรรม Unplug coding ชายทุง 9. กิจกรรมเสริมสรางบรรยากาศในช้ันเรียน 10.กจิ กรรมเตรยี มความพรอมสูร ั้วมัธยม 11. กจิ กรรมสานฝน บัณฑิตนอย 12. กจิ กรรมปจ ฉมิ นเิ ทศ 13. กจิ กรรมสงเสริมความเปนเลศิ 14. กจิ กรรมสง เสรมิ งานวิจยั และพฒั นา นวตั กรรม 15. กิจกรรมสงเสริมความเปนเลิศดานวิทยาศาสตร 16. กิจกรรมสารสนเทศการบรหิ ารงานวิชาการ สนองกลยุทธโ รงเรียน 1,2,3,4,5,6,7 สอดคลอ งกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย 1,2,3,4,5,6,7 ระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 1,2,3,4,5,6,7 สอดคลองกับจดุ เนน ของ สพป.ชพ1 1,2,3,4,5,6,7 สอดคลอ งกบั มาตรฐาน สมศ. 1,2,3,4,5,6,7 ผูรบั ผิดชอบโครงการ นางสาวธนภรณ นวลลำภู , นางสาวชุธิดา จูดเดช นางสาวธนิฎฐา ตั้งอรุณ ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปการศึกษา 2565 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลกั การและเหตผุ ล งานวิชาการถือวาเปนหัวใจของการบริหารการศึกษา เพราะจุดมุงหมายของสถานศึกษาก็คือ การจัดการศึกษาใหมีคุณภาพซึ่งขึ้นอยูกับงานวิชาการทั้งสิ้นงานวิชาการเปนกิจกรรมการจัดการเกี่ยวกับ งานดานหลักสูตร การนำหลักสูตรไปใช แบบเรียน งานการเรียนการสอน งานสื่อการเรียนการสอน งาน วดั ผลและประเมินผล งานหอ งสมุด งานนิเทศการศึกษา งานวางแผนการศึกษา และงานประชุมอบรมทาง วชิ าการ เพ่ือสง เสริมใหผูเรียนบรรลจุ ดุ หมายของการศึกษาที่กำหนดไวอ ยางมีประสทิ ธิภาพสงู ดังนั้น โรงเรียนบานหินกบจึงไดจัดทำโครงการการบริหารงานวิชาการขึ้นเพื่อพัฒนาระบบการ จัดการเรยี นการสอนใหมปี ระสทิ ธิภาพใหนักเรียนมีความรูความสามารถในการดำรงชีวิตตอ ไปในอนาคต 2. วัตถปุ ระสงค 2.1 เพือ่ เพิ่มประสทิ ธิภาพของการบริหารจดั การของโรงเรยี นใหม ีความเขมแขง็ ทกุ ดาน 2.2 เพอ่ื เปด โอกาสใหผูมสี วนเก่ียวขอ งมีสวนรวมในการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล 2.3 เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนใหมีคุณภาพมาตรบานสากล สพฐ. และ สมศ. 2.4 เพื่อสงเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานดานเอกสารการจัดทำกิจกรรมการเรียน การสอนและกิจกรรมดานอน่ื ๆของโรงเรยี น

๑๗ 3. เปาหมาย3.1 ดานปรมิ าณ นักเรยี น ครู ผปู กครอง และผูเกย่ี วขอ ง มสี วนรวมในการบริหารจดั การ 3.2 ดานคณุ ภาพ โรงเรียนมีการบริหารจัดการที่เขมแข็ง มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล และมีคุณภาพ การศึกษาตามมาตรฐานสากล สพฐ. และ สมศ. 4. วธิ ดี ำเนินการ (PDCA) ที่ กิจกรรม / ขน้ั ตอน ระยะเวลา ผูรบั ผิดชอบ 1 Plan 1. ศกึ ษาขอบขา ยงานวชิ าการ เม.ย. 65 ผอ. , ครูทกุ คน 2. ประชมุ ชแี้ จง 3. วางแผนการดำเนินงาน 2 Do ดำเนนิ งานตามกิจกรรม ดงั น้ี ตลอดปก ารศกึ ษา ธนภรณ 1. กจิ กรรมพัฒนาหลักสูตร 2565 ชธุ ิดา ธนฎิ ฐา 2. กจิ กรรมงานทะเบยี นและวัดผล และครูทุกคน 3.กจิ กรรมนิเทศภายใน 4. กจิ กรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ 5.กจิ กรรม Hinkob flea market 6. กิจกรรมรอยรกั ษภาษาไทย 7. กจิ กรรมการจดั การเรียนรวม 8. กจิ กรรม Unplug coding ชายทุง 9.กจิ กรรมเสริมสรา งบรรยากาศในชน้ั เรยี น 10.กจิ กรรมเตรียมความพรอมสรู ้ัวมธั ยม 11. กจิ กรรมสานฝน บณั ฑติ นอย 12. กจิ กรรมปจฉมิ นเิ ทศ 13. กิจกรรมสง เสริมความเปน เลิศ 14. กิจกรรมสง เสริมงานวิจัยและพฒั นานวัตกรรม 15. กิจกรรมสงเสริมความเปนเลศิ ดานวทิ ยาศาสตร 16. กจิ กรรมสารสนเทศการบริหารงานวิชาการ

กจิ กรรม / ขน้ั ตอน ระยะเวลา ๑๘ 3 Check มี.ค. 2565 ผรู ับผดิ ชอบ 1. นเิ ทศตดิ ตาม มี.ค. 2565 ธนภรณ 2. ประเมนิ ผล 4 Action ชธุ ดิ าธนิฎฐา สรปุ ผล รายงานโครงการ ธนภรณ ชุธิดา ธนฎิ ฐา 5. งบประมาณ 5.1 งบประมาณจำนวน 52,000 บาท (หา หมืน่ สองพนั ) จากแหลง งบประมาณ ดงั นี้  เงินอุดหนนุ คา จัดการเรยี นการสอน จำนวน 52,000 บาท  เงินอ่ืน ๆ จำนวน ……-……. บาท 5,2 รายละเอยี ดการใชงบประมาณ หมาย ลำดบั ช่อื โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ ผูร บั ผดิ ชอบ เหตุ 1 โครงการบรหิ ารงานวิชาการ 52,000 ธนภรณ ชธุ ดิ า ธนฎิ ฐา 1. กจิ กรรมพฒั นาหลักสตู ร 1,500 2. กจิ กรรมงานทะเบียนและวดั ผล 1.500 ธนภรณ 3. กจิ กรรมนเิ ทศภายใน (อนุบาล ๑ - ธนภรณ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖) 500 ธนภรณ 4. กิจกรรมยกระดับผลสมั ฤทธิ์ 2,000 5.กจิ กรรม Hinkob flea market 1,000 ธนภรณ 6. กิจกรรมรอยรักษภาษาไทย 1,000 เนตรชนก 7. กิจกรรมการจัดการเรยี นรวม เนตรชนก,ชธุ ิดา 8. กจิ กรรมเสริมสรา งบรรยากาศในชั้นเรยี น 500 9. กิจกรรมเตรยี มความพรอมสรู ้วั มัธยม 38,000 ชธุ ิดา 10. กจิ กรรมสานฝน บณั ฑิตนอย 1,000 ธนภรณ 11. กิจกรรมปจฉมิ นิเทศ 1,500 เนตรชนก 12. กจิ กรรมสง เสริมความเปนเลศิ 1,000 ธนฎิ ฐา 13. กจิ กรรมสง เสริมงานวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม เนตรชนก 14. กจิ กรรมสารสนเทศการบริหารงานวชิ าการ 500 ธนภรณ รวมงบประมาณ 1,000 ธนภรณ 1,000 ธนิฎฐา 52,000

๑๙ 6. การประเมนิ ผลโครงการ คา เปาหมาย วธิ กี ารประเมิน เคร่อื งมอื ตัวชีว้ ัด รอ ยละ 80 สอบถาม แบบสอบถามความพงึ รอ ยละ 70 ประเมิน 1. ครู และนกั เรียนมีความพึง พอใจ พอใจ อยูใ นระดบั ดี รายงานการประเมนิ 2.โรงเรียนมีคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานสากล สพฐ. และ สมศ. 7. ผลท่ีคาดวา จะไดรบั 7.1 โรงเรยี นมีการบรหิ ารจดั การท่ีมีคณุ ภาพตามหลักธรรมาภบิ าล มีความเขม แขง็ ผูเ ก่ียวของ มคี วามพึงพอใจมากกวา รอ ยละ 80 7.2 โรงเรียนมีคณุ ภาพการศึกษาตามมาตรฐานสากล สพฐ. และ สมศ. ลงชอ่ื ……………………………………..…ผูเ สนอโครงการ ลงชอ่ื ……………………………………..…ผเู สนอโครงการ (นางสาวธนิฎฐา ตงั้ อรณุ ) (นางสาวชธุ ดิ า จูดเดช) ครูอัตราจา งโรงเรยี นบานหินกบ ครูอตั ราจางโรงเรยี นบา นหินกบ ลงชอื่ ……………………………………..………………ผูเสนอโครงการ (นางสาวธนภรณ นวลลำภู) ครโู รงเรียนบานหนิ กบ ลงชอื่ ……………………………………………………ผอู นุมัตโิ ครงการ (นายสิทธิพงษ พุมพะเนนิ ) ผอู ำนวยการโรงเรยี นบานหินกบ

๒๐ โครงการ จดั ต้งั ศนู ยการเรยี นรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดานการศึกษา แผนงาน บรหิ ารงานวชิ าการ หนว ยงานรับผดิ ชอบ โรงเรยี นบา นหินกบ ลักษณะโครงการ โครงการตอ เน่ือง สนองกลยุทธโ รงเรียนที่ ๑ – ๕ สอดคลองมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ปฐมวยั มฐ. ๑ (๑.๑ – ๑.๔) มฐ. ๓ (๓.๑ – ๓.๔) การศึกษาข้นั พื้นฐาน มฐ. ๑ (๑.๑ – ๑.๖) มฐ. ๓ (๓.๑ – ๓.๕) สอดคลอ งกบั จุดเนน ของ สพป.ชพ ๑ ขอ ๓ - ๘ สอดคลองกับมาตรฐาน สมศ. ๑ ,๒ ,๓ ผูรบั ผิดชอบโครงการ นางสาวธนภรณ นวลลำภู นางสาวเนตรชนก พรมทอง ระยะเวลาดำเนินการ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๓๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๖ ๑. หลักการและเหตผุ ล พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวิชรเกลาเจาอยูหัว ไดทรง พระราชทานราโชบายดานการศึกษาเพื่อมุงสรางพื้นฐานแกผูเรียน ใหผูเกี่ยวของไดนอมนำไปปฏิบัติใหบัง เกิดผล ซึ่งประกอบดวยแนวพระบรมราโชบาย ๔ ประการ คือ ประการแรก การมีทัศนคติที่ถูกตองตอ บานเมือง ประการที่สอง การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง - มีคุณธรรม ประการที่สาม การมีงานทำ มีอาชีพ ประการทส่ี คี่ ือการเปน พลเมอื งดี ทางโรงเรียนบา นหินกบไดเ ห็นถงึ ความสำคัญดงั กลาว จึงไดน อมนำพระบรมราโชบายดา นการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลา เจา อยูห วั รัชกาลที่ ๑๐ สืบสายแนวทางตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูการปฏบิ ตั เิ พื่อสรา งความพอเพยี ง อันประกอบไปดวย ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล มรี ะบบภูมิคุมกันใน ตัวท่ีดี มีความรอบรู ควบคูคุณธรรม กบั สถานศกึ ษา ผุบ ริหาร คณะครูและบคุ ลากร นกั เรียน ผุป กครอง ตลอดจนชุมชนโดยรอบ นำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ นการดำรงชวี ิต ใหม พี น้ื ฐานชีวิตที่ดี มี คณุ ธรรม เพ่อื ใหคณะครูและนกั เรียนสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ ชจ ัดการเรยี นรู แกนกั เรียน และนักเรยี นชมุ ชน ไดศกึ ษาเรยี นรูต อไป ๒. วัตถุประสงค ๒.๑ ครสู ามารถนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชจัดการเรียนการสอนเพ่ือสรา งอปุ นสิ ยั พอเพียง ใหนกั เรยี นได ๒.๒ เพ่ือพฒั นาผบู รหิ าร ครู คณะกรรมการสถานศกึ ษา และนักเรยี นแกนนำใหเปนวิทยากรประจำศูนย/ ฐานการเรยี นรู และสามารถบรกิ ารความรู แกนักเรยี นสถานศึกษาเครือขาย และชุมชน แกผสู นใจทวั่ ไปได ๒.๓ เพอ่ื พัฒนาศนู ย/ ฐานการเรยี นรูใหเปน แหลง เรียนรูสำหรับนักเรยี น และชุมชน

๒๑ ๓. เปาหมาย ๓.๑ เปาหมายเชิงปริมาณ - ครู รอ ยละ ๑๐๐ สามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นรเู พ่อื พฒั นาอุปนสิ ัยพอเพียง ใหนกั เรยี นได - ผบู ริหาร ครู กรรมการสถานศึกษา และนักเรยี นแกนนำ รอยละ ๑๐๐ สามารถใหบรกิ ารความรู เรือ่ งหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แกนักเรยี น โรงเรียนเครอื ขาย และชมุ ชนได - มีศูนย/ ฐานการเรยี นรใู หบ รกิ ารความรู เร่ืองหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แกน ักเรยี นโรงเรยี น เครอื ขาย และชมุ ชน ๓.๒ เปาหมายเชงิ คณุ ภาพ - นักเรยี น และครูไดรับการพฒั นาใหมีคุณภาพชวี ติ ท่ดี ี - โรงเรียนผานการประเมิน และรับรองจากสำนกั งานการศึกษาประถมศึกษาชมุ พร เขต ๑ สำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ใหเปน สถานศึกษาพอเพยี งตน แบบ และศนู ยการ เรยี นรหู ลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดานการศึกษา ๔. วธิ ีดำเนนิ การ (PDCA) ระยะเวลา ผรู บั ผดิ ชอบ ที่ กิจกรรม / ขน้ั ตอน ๑๙ เม.ย. ๖๕ นางสาวเนตรชนก พรมทอง ๑ Plan นางสาวธนภรณ นวลลำภู 1. วางแผนการดำเนนิ งาน 2. ประชุมชแี้ จงครูและกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั นายสิทธิพงษ พุมพะเนนิ พืน้ ฐาน ๒ Do ๒๐ เม.ย. ๖๕ - ๓๑ มี.ค. นายปานะชยั ใจเปย ม ๑. จัดทำโครงการ ๖๖ นางสาวธนภรณ นวลลำภู ๒. เสนอโครงการขอความเห็นชอบ คณะครแู ละนักเรียนแกนนำ ๓. ดำเนินการตามโครงการ ๓ Check ๑-๓๑ ม.ี ค. ๖๖ นางสาวเนตรชนก พรมทอง ๑. นิเทศ ตดิ ตามการดำเนินงาน ๒. ประเมนิ ผลโครงการ นางสาวธนภรณ นวลลำภู ๔ Action นายสทิ ธิพงษ พุมพะเนนิ สรปุ รายงานผลตามโครงการ ๓๑ มี.ค. ๖๖ นางสาวเนตรชนก พรมทอง นางสาวธนภรณ นวลลำภู

๒๒ ๕. งบประมาณ ๕.๑ งบประมาณจำนวน ๒,๐๐๐ บาท (สองพนั บาทถวน) จากแหลง งบประมาณ ดังน้ี  เงนิ อุดหนุนคาจดั การเรยี นการสอน จำนวน ๒,๐๐๐ บาท  เงนิ อ่นื ๆ จำนวน ๐ บาท ๕.๒ รายละเอยี ดการใชง บประมาณ ๑. งบดำเนนิ งาน รายการ จำนวนหนว ย ราคา/หนวย งบประมาณ คา วัสดุ (คา วัสดกุ ารศึกษา คาเคร่อื งเขียน คา วสั ดุ เวชภัณฑ คา ซอมแซมบำรุงรักษาทรัพยส ิน เปน ตน) วัสดุการศกึ ษาตามฐานการเรียนรู ๗- ๕๐๐ คูม อื ศูนยก ารเรียนรตู ามหลกั ปรชั ญาของ - - - เศรษฐกิจพอเพียง ดา นการศึกษา พัฒนาแหลงเรยี นรู จัดซ้ือวัสดุ อปุ กรณให ๗ ๕๐๐ ๑,๕๐๐ นักเรยี นไดปฏิบัติและเกดิ การเรยี นรูที่รอบดาน รวมทั้งสิ้น ๒,๐๐๐ ๖. การประเมินผลโครงการ คาเปาหมาย เครอื่ งมอื ตัวชวี้ ดั วิธีการประเมนิ แบบประเมินผล ๑. ครสู ามารถจดั กจิ กรรมการ รอ ยละ ๑๐๐ ประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน แบบประเมนิ ผล เรียนรูเ พ่อื พัฒนาอุปนิสยั ประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน พอเพยี ง ใหน ักเรยี นได ไดรับการจัดตัง้ เปน ศรร. ๒. ผบู รหิ าร ครู กรรมการ รอยละ ๑๐๐ สถานศึกษา และนกั เรียน แกนนำสามารถใหบ ริการ ความรู เรื่องหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง แกนกั เรยี น โรงเรยี นเครือขา ย และชุมชน ได ๓. มศี นู ย/ฐานการเรยี นรู ใหบรกิ ารความรู เร่อื งหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แกนกั เรียนโรงเรียนเครือขาย

๒๓ ๗. ผลที่คาดวาจะไดรบั ๗.๑ โรงเรียนสามารถบริหารจัดการศนู ยการเรยี นรูหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดอยางมีคุณภาพตาม หลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๗.๒ ครู นกั เรียน มคี วามสุขในการทำงาน การเรยี นและการดำเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๗.๓ โรงเรียนสามารถสนองพระราชดำริ และไดร บั การยกยองใหเปนศูนยการเรียนรูตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ลงช่ือ……………………………………………ผเู สนอโครงการ ลงชอื่ ……………………………………..………ผูเสนอโครงการ (นางสาวธนภรณ นวลลำภู) (นางสาวเนตรชนก พรมทอง) ครโู รงเรียนบา นหินกบ ครโู รงเรียนบา นหนิ กบ ลงช่อื ……………………………………………………ผูอนมุ ัตโิ ครงการ (นายสิทธิพงษ พมุ พะเนิน) ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นหินกบ

๒๔ แผนงาน การบริหารงานวิชาการ ชือ่ โครงการ โครงการสวนพฤกษศาสตร กจิ กรรม ๑. เรยี นรพู ืชสมุนไพรไทย ๒. ปา ยชือ่ พรรณไม ๓.ทะเบยี นพรรณไม สนองกลยุทธโรงเรียน ๑, ๒ , ๓ ,๔, ๕ สอดคลองกบั มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวัยท่ี ๑ ,๒ มาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ๑,๒,๓ สอดคลองกบั จดุ เนนของ สพป.ชพ๑ ๑,๓,๖,๗ สอดคลองกบั มาตรฐาน สมศ. ดานที่ ๑, ๒, ๓,๔,๕,๗ ผูร ับผิดชอบโครงการ นางเนตรชนก พรมทอง , นางสาววชิ ยา ชัยชาญ ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปก ารศึกษา ๒๕๖๕ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลักการและเหตผุ ล สวนพฤกษศาสตร คือ แหลง ท่ีรวบรวมพันธุพชื ชนิดตา งๆ ทีมชี วี ติ จัดปลกู ตามความเหมาะสม กับสภาพถิ่นอาศัยเดิม มีหองสมุด สถานที่เก็บรวบรวมตัวอยางพรรณไมรักษาสภาพ อาจเปนตัวอยางแหง หรือตัวอยางดอง หรือเก็บรักษาดวยวิธีอื่นๆ พันธุพืชที่ทำการรวบรวมไวนั้นจะเปนแหลงขอมูลและการ เผยแพรความรูเกี่ยวกับพันธุไม นอกจากนี้สามารถใชเปนแหลงพักผอนหยอนใจซึ่งสามารถดำเนินการสวน พฤกษศาสตรในพื้นที่ของโรงเรียน โดยมีองคประกอบดังกลาว เปนสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนใชใน วัตถปุ ระสงคด งั กลาว อีกท้ังใชใ นการศกึ ษาและเปน ประโยชนใ นการสอนวิชาตา งๆ โรงเรียนบานหินกบเปนโรงเรียนที่จัดสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่รมรื่นสวยงามและเปน โรงเรียนที่มีพรรณไมธรรมชาติเปนจำนวนมาก โรงเรียนไดเอาใจใสดูแลพรรณไมเปนอยางดีแตยังขาดการ สรางจิตสำนึกใหเยาวชนมีความรักความรมรื่นสวยงามของพรรณไมเทาที่ควร จึงมีแนวคิดสอดคลองกับงาน สวนพฤกษศาสตรใ นโรงเรยี นตามแนวพระราชดำริของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๒. วตั ถุประสงค 1. เพอ่ื ใหน ักเรียนและบุคลากรในโรงเรยี นเขาใจและเหน็ ความสำคัญของการอนรุ ักษพนั ธุกรรม พชื 2. เพื่อใหน ักเรียนและบคุ ลากรในโรงเรยี นรวมมอื รวมปฏบิ ตั ิกิจกรรมจนเกดิ ประโยชนถงึ ทอ งถน่ิ 3. เพ่ือใหมรี ะบบขอ มลู พนั ธกุ รรมพืชที่มีอยใู นโรงเรียน 4. เพ่ือเปนแหลง ศึกษาและอนุรักษพันธุกรรมพชื ทองถิ่น และพืชหายาก 5. เพอ่ื เพ่ิมพนื้ ทส่ี เี ขียวในโรงเรยี นใหม ากขน้ึ 6. เพ่อื เปน แหลงสรางจติ สำนกึ ในการอนุรักษใหเกดิ แกเยาวชน ๓. เปา หมาย ดานปรมิ าณ 1. จดั ทำแหลง เรยี นรูพ ชื สมนุ ไพรไทย 2. จดั จดั หา จัดซอ้ื ปายชือ่ พรรณไม

๒๕ 3. จดั ทำทะเบียนพรรณไมในโรงเรยี น ดา นคณุ ภาพ ๑. นักเรียนโรงเรยี นบานหินกบมีความรเู กี่ยวกบั พนั ธไ มม ากข้นึ ๒. นกั เรียนมจี ติ สำนึกในการอนรุ ักษส ง่ิ แวดลอม ๔. วิธีดำเนนิ การ (PDCA) ที่ กิจกรรม / ขนั้ ตอน ระยะเวลา ผูรบั ผิดชอบ ๑ Plan ๑. ศกึ ษารวบรวมขอ มูลพันธไม เม.ย. ๖๔ – พ.ค ๖๕ ผอ./กลมุ บริหารงานวิชาการ ๒. ประชุม วางแผนการดำเนนิ งาน Do พ.ค ๖๕ - ม.ี ค. ๖๖ นางสาววชิ ยา ชัยชาญ ๒ กิจกรรมที่ ๑ เรยี นรูพ ชื สมนุ ไพร นางเนตรชนก พรมทอง กิจกรรมท่ี ๒ ปา ยช่อื พรรณไม พ.ค ๖๕ - ม.ี ค. ๖๖ นางสาววิชยา ชยั ชาญ กิจกรรมท่ี ๓ ทะเบียนพรรณไม นางเนตรชนก พรมทอง ๓ Check 1. กำกับ ตดิ ตาม 2. ตรวจสอบการดำเนินงาน ๔ Action ประเมินผลและรายงานผล มี.ค. ๖๖ นางสาววชิ ยา ชยั ชาญ นางเนตรชนก พรมทอง ๕. งบประมาณ ๕.๑ งบประมาณจำนวน ๑,๐๐๐ บาท (หนึ่งพันบาทถวน) จากแหลง งบประมาณ ดงั น้ี  เงินอุดหนนุ คาจัดการเรียนการสอน จำนวน ๑,๐๐๐ บาท  เงินอืน่ ๆ จำนวน ……-….. บาท

๒๖ ๕.๒ รายละเอียดการใชงบประมาณ ที่ กิจกรรม ผรู บั ผดิ ชอบ งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ ๑ กิจกรรมที่ ๑ เรียนรพู ชื สมนุ ไพรไทย นางสาววชิ ยา ชยั ชาญ - ๒ กจิ กรรมท่ี ๒ ปา ยช่อื พรรณไม นางเนตรชนก พรมทอง ๑,๐๐๐ ๓ กิจกรรมท่ี ๓ ทะเบียนพรรณไม - รวมงบประมาณ ๑,๐๐๐ ๖. การประเมินผลโครงการ ตวั ช้วี ดั คาเปาหมาย วธิ กี ารประเมิน เครือ่ งมือ ๑. นกั เรยี นสามารถบอกชื่อพรรณไมไ ด รอยละ ๘๐ ประเมนิ แบบประเมนิ ถกู ตอง รอ ยละ ๘๐ อยใู นระดับดี ๒. นักเรียนสามารถบอกชื่อพืชสมุนไพร รอ ยละ ๘๐ ประเมนิ แบบประเมิน รอ ยละ ๘๐ อยูในระดับดี ๗. ผลที่คาดวา จะไดร ับ ๑. นักเรยี นและบุคลากรในโรงเรียนเขาใจและเห็นความสำคัญของการอนรุ ักษพนั ธกุ รรมพชื ๒. นักเรยี นและบุคลากรในโรงเรียนรวมมอื รว มปฏบิ ัติกิจกรรมจนเกดิ ประโยชนถงึ ทอ งถิน่ ๓. โรงเรียนมีระบบขอมลู พนั ธุกรรมพืชท่ี ๔. โรงเรยี นเปนแหลง ศึกษาและอนรุ ักษพนั ธกุ รรมพืชทองถ่ิน ๕. เพ่ิมพ้ืนทสี่ ีเขียวในโรงเรียนใหมากขนึ้ ๖. โรงเรียนเปนแหลง สรา งจิตสำนกึ ในการอนรุ ักษใหเกิดแกเยาวชน ลงชอ่ื ……………………………………ผูเสนอโครงการ ลงช่ือ……………………………………ผเู สนอโครงการ (นางเนตรชนก พรมทอง) (นางสาววชิ ยา ชยั ชาญ) ครูโรงเรียนบา นหนิ กบ ครูโรงเรียนบา นหนิ กบ ลงช่อื ……………………………………..………………ผูเ ห็นชอบโครงการ (นายสิทธิพงษ พมุ พะเนิน) ผอู ำนวยการโรงเรียนบา นหินกบ

๒๗ แผนงาน บริหารงานวิชาการ ช่อื โครงการ โครงการโรงเรียนสงเสรมิ สขุ ภาพ ลักษณะโครงการ โครงการตอ เนื่อง กจิ กรรม ๑. กิจกรรมออกกำลงั กายพยาบาล ๒. กจิ กรรมปลอดลกู น้ำยุงลาย ๓. กจิ กรรมอนามยั โรงเรียน ๔. สง เสริมสุขภาพฟน ในโรงเรียน สนองกลยุทธโ รงเรียน กลยุทธ สพฐ. ที่ ๑ สอดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๑.๑ ระดับขั้นพ้นื ฐาน มาตรฐานที่ ๑ ตวั บงชท้ี ี่ ๑.๒.๔ สอดคลอ งกับจดุ เนนของ สพป.ชพ๑ ดา นท่ี ๑,๒ สอดคลองกบั มาตรฐาน สมศ. ดานท่ี ๑,๒,๔ ผรู ับผดิ ชอบโครงการ นางสาวจฑุ าทิพย ขาวปลง่ั นางสาวขนษิ ฐา ตง้ั อรณุ ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มนี าคม ๒๕๖๖ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลักการและเหตุผล สุขภาพกับการศึกษาเปนสิ่งที่ตองดำเนินการควบคูกันไปโดยแยกจากกันไมได การพัฒนาเยาวชน นอกจากดานการศึกษาเปนหลักแลวยังจำเปนตองพัฒนาอยางเปนกระบวนการใหครบทุกดานเพื่อเปนการ สงเสริมใหนักเรียนเปนคนดี เกง มีสุข และอยูในสังคมไดเปนอยางดี การสงเสริมสุขภาพนักเรียน จงึ มีความสำคญั อยา งยงิ่ ดังนั้นทางโรงเรียนไดจัดทำโครงการโรงเรียนสงเสริมสุขภาพขึ้น เพื่อพัฒนาใหคุณภาพของผูเรียนดี ยิ่งขึ้นเพื่อสงเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิตของผูเรียน ตลอดจนใหผูเรียนรูจักบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและเฝา ระวังอันตรายจากผลิตภัณฑและโรคตาง ๆทำใหผูเรียนมีสุขภาพดี มีภาวะโภชนาการที่สมสวน ปฏิบัติตามสุขบัญญัติอยา งถกู ตอ ง สง ผลใหก ารเรียนรขู องนกั เรยี น มปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ข้ึน ๒. วัตถปุ ระสงค ๒.๑ เพอ่ื ใหผเู รียนมสี ุขนิสยั ในการดูแลสขุ ภาพและออกกำลงั กายสมำ่ เสมอ ๒.๒ เพ่ือใหผ เู รียนความรูในการเลอื กรับประทานอาหารท่ีมคี ุณคา ถูกหลักโภชนาการ และ ความปลอดภยั ๒.๓ เพ่อื ใหผ ูเ รยี นมีความรู ทักษะและปรบั เปล่ียนพฤติกรรม รูเ ทาทนั โรคไขเ ลือดออกและ โรคตางๆ ๒.๔ เพอ่ื ใหผ เู รียนมนี ำ้ หนกั -สวนสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑรวมทั้งดแู ลตนเองใหมี ความปลอดภยั ๒.๕ เพ่ือสรา งองคค วามรู ความเขาใจ และนำผลมาใชในชีวติ ประจำวันในเรอ่ื งการทดสอบ สมรรถภาพ การเฝา ระวังสุขภาพกายใหอยใู นเกณฑ

๒๘ ๓. เปา หมาย ๓.๑ ดา นปริมาณ ๓.๑.๑. ผเู รยี นมสี ขุ นิสัยในการดแู ลสขุ ภาพและออกกำลงั กายสมำ่ เสมอ รอยละ ๘๐ ๓.๑.๒ ผูเ รยี นความรูในการเลือกรบั ประทานอาหารทม่ี คี ุณคา ถูกหลักโภชนาการ และความ ปลอดภัย รอยละ ๘๐ ๓.๑.๓ .ผเู รียนมคี วามรู ทักษะและปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม รูเทา ทันโรคไขเ ลอื ดออกและโรค ตางๆ รอยละ ๘๐ ๓.๑.๔. ผูเรียนมนี ้ำหนกั -สวนสงู และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑรวมทง้ั ดูแลตนเองใหมี ความปลอดภัย รอยละ ๘๐ ๓.๑.๕. เพอ่ื สรา งองคความรู ความเขา ใจ และนำผลมาใชในชีวติ ประจำวนั ในเรอ่ื งการ ทดสอบสมรรถภาพ การเฝา ระวังสขุ ภาพกายใหอยูใ นเกณฑ ๓.๒ เปาหมายเชงิ ดานคณุ ภาพ ๓.๑.๑. ผูเรียนทุกระดับชั้นมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตไดมาตรฐานของกรมอนามัยอยูใน ระดบั ดี ๓.๒.๒. ผูเ รียนทกุ ระดบั ชั้นสามารถดแู ลตนเองใหม ีสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ ท่ีดีในระดับดี ๔. วธิ ีดำเนินการ (PDCA) ที่ กิจกรรม / ขน้ั ตอน ระยะเวลา ผรู บั ผิดชอบ ๑ Pland ๑. ประชมุ วางแผนการดำเนนิ งาน เมษายน ๒๕๖๕ นางสาวขนิษฐา ตง้ั อรณุ . ๒. ขออนุมตั โิ ครงการ นางสาวจุฑาทพิ ย ขาวปลัง่ ผอู ำนวยการโรงเรยี น ๒ Do : ดำเนนิ งานตามโครงการ ๑. ดำเนินการจัดกิจกรรม ดังน้ี พฤษภาคม ๒๕๖๕ - นางสาวขนษิ ฐา ต้งั อรุณ กิจกรรมออกกำลังกาย มนี าคม ๒๕๖๖ นางสาวจุฑาทิพย ขาวปลั่ง กิจกรรมปลอดลกู น้ำยงุ ลาย กจิ กรรมอนามัยโรงเรียน สงเสริมสขุ ภาพฟน ในโรงเรียน ๔ Action รายงานโครงการ มนี าคม 65 นางสาวขนษิ ฐา ต้ังอรณุ นางสาวจุฑาทพิ ย ขาวปล่ัง ๕. งบประมาณ ๕.๑ งบประมาณจำนวน ๑,๖๐๐ บาท (หนึ่งพันหกรอ ยบาท) จากแหลง งบประมาณ ดงั น้ี  เงินอุดหนุนคาจัดการเรยี นการสอน จำนวน ...๑,๖๐๐........... บาท  เงินอืน่ ๆ จำนวน …………. บาท

๒๙ ๕.๒ รายละเอียดการใชงบประมาณ ผรู ับผิดชอบ งบประมาณ หมายเหตุ ท่ี กิจกรรม ธนิฎฐา ตง้ั อรณุ ๔๐๐ ๑. กจิ กรรมออกกำลงั กาย จฑุ าทิพย ขาวปลัง่ ๔๐๐ ๒. กิจกรรมปลอดลกู น้ำยุงลาย จฑุ าทิพย ขาวปล่งั ๔๐๐ ๓. กจิ กรรมอนามยั โรงเรยี น ธนฎิ ฐา ต้ังอรุณ ๔๐๐ ๔. สง เสรมิ สุขภาพฟนในโรงเรยี น ๑,๖๐๐ รวมงบประมาณ ๖. การประเมนิ ผลโครงการ คา เปาหมาย วธิ ีการประเมนิ เครอื่ งมอื ตัวชีว้ ดั รอ ยละ ๘๐ - ตรวจสอบ - แบบสอบถาม - สอบถาม - แบบประเมิน ๑. ผูเรียนทกุ ระดบั ช้นั มีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสขุ ภาพจติ ที่ดี ๒. ความพึงพอใจของนักเรียน โรงเรยี นบา นหนิ กบ ระดบั ความสำเร็จ ตัวชี้วดั วิธกี ารประเมนิ เครอื่ งมือทใ่ี ช สอบถามความพงึ พอใจ แบบประเมิน ๑. รอ ยละ ๘๐ ของนกั เรียนมีความรูเ กี่ยวกับเรื่อง สอบถามความพงึ พอใจ แบบประเมิน สุขภาพอนามัย โรคภัยไขเ จบ็ ๒. รอยละ ๘๐ ผเู รยี นรจู กั ปอ งกันโรคและระมัดระวัง อันตรายตา ง ๆ ผลทค่ี าดวาจะไดร ับ 1. นักเรียนตระหนักเห็นความสำคัญขอการดูแลชอ งปาก 2. นกั เรยี นมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเก่ยี วกับการดูแลสขุ ภาพฟน ลงชอ่ื ……………………………………..……ผเู สนอโครงการ ลงชือ่ ……………………………………ผูเสนอโครงการ (นางสาวธนิฏฐา ตั้งอรณุ ) (นางสาวจฑุ าทพิ ย ขาวปล่ัง) ครูอตั ราจา งโรงเรียนบา นหินกบ ครูโรงเรยี นบา นหนิ กบ ลงช่ือ……………………………………………………ผูอนุมัติโครงการ (นายสิทธพิ งษ พุมพะเนิน) ผูอำนวยการโรงเรียนบา นหินกบ

๓๐ แผนงาน บริหารงานวิชาการ ชอ่ื โครงการ โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ลกั ษณะโครงการ ตอเนือ่ ง สนองกลยุทธโรงเรยี น ๑,๒,๓,๔,๕ สอดคลอ งกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา มาตรฐานระดับปฐมวัย ๓ มาตรฐานระดับขน้ั พ้นื ฐาน ๑ , ๒ , ๓ สอดคลองกับจดุ เนนของ สพป.ชพ๑ ๔,๕,๖ สอดคลอ งกับมาตรฐาน สมศ. ดานที่ ๑ , ๒ , ๓ , ๔ , ๖ ผรู บั ผิดชอบโครงการ นางสาวธนภรณ นวลลำภู ระยะเวลาดำเนินการ ๑ เมษายน ๒๕๖๕ - ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลกั การและเหตผุ ล สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดดำเนิน โครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero Waste School ขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริม สนับสนุนการสราง เครอื ขายสถานศกึ ษา ท่ดี ำเนนิ กิจกรรม ลด คดั แยก และนำขยะกลบั มาใชประโยชน การรวบรวมขยะเพ่ือสง ไป กำจัดอยางถูกตอง ปลูกจิตสำนึกการลด คัดแยก และนำขยะกลับมาใชประโยชนใหมในสถานศึกษา สราง ระบบการเรยี นรูผานกจิ กรรมตา งๆ และสงเสรมิ การมีสว นรวมของผูเรยี นในการจัดการขยะภายในสถานศึกษา ปลูกฝงลักษณะนิสัยรับผดิ ชอบตอสิง่ แวดลอมแกผูเรียน เพื่อมุงสูสถานศกึ ษาปลอดขยะอยา งแทจริงและขยาย ผลตอจนกลายเปนสังคมรไี ซเคิลตอไป โรงเรียนบานหินกบ จึงดำเนินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ Zero Waste School ขึ้น เพ่ือ เปนการกระตุนและสงเสริมใหเด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการมีสวนรวมในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ มมากขน้ึ ๒. วัตถุประสงค ๑. เพอื่ กระตุน รณรงคส งเสรมิ สรา งจิตสำนึกและความรูความเขา ใจถึงแนวทางในการลดปรมิ าณ ขยะ การแยกขยะและการนำขยะกลับไปใชป ระโยชน รวมท้ังการรวบรวมขยะเพ่ือนำไปกำจัดอยา งถกู วธิ ี ใหกบั นกั เรยี น ๒. เพ่ือดำเนินการคดั แยกและกำจดั ขยะในโรงเรยี นไดถ ูกวิธี ๓. เปา หมาย ๓.๑ ดา นปริมาณ ครู นักเรยี นโรงเรียนบา นหนิ กบ ระดบั ชนั้ อนบุ าล ๑ – ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ และ บุคลากร เขารว มโครงการโรงเรียนปลอดขยะ

๓๑ ๓.๒ ดา นคณุ ภาพ ๓.๒.๑ นักเรยี น ครู และบุคลากรความรคู วามเขาใจถึงแนวทางในการลดปรมิ าณขยะ การ แยกขยะและการนำขยะกลับไปใชประโยชน รวมทง้ั การรวบรวมขยะเพอ่ื นำไปกำจดั อยา งถูกวธิ ี ใหก บั นกั เรยี น ๓.๒.๒ โรงเรยี นสะอาดสวยงาม ๔. วธิ ีดำเนินการ (PDCA) ที่ กจิ กรรม / ข้ันตอน ระยะเวลา ผูรับผดิ ชอบ ๑ Plan มนี าคม ๖๕ นางสาวธนภรณ นวลลำภู พ.ค. ๖๕ - ม.ี ค. ๖๖ ๑. โรงเรยี นสำรวจสถานทีภ่ ายในโรงเรียนเพ่ือ นางสาวธนภรณ นวลลำภู พัฒนาสง เสรมิ การดำเนนิ งานโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ม.ี ค. ๖๖ คณะครโู รงเรยี นบานหินกบ ม.ี ค. ๖๖ ผูอำนวยการโรงเรียนบาน ๒. ประชมุ คณะครู เพ่ือกำหนดแนวทาง หินกบ ๓. นำเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๒ Do นางสาวธนภรณ นวลลำภู ๑. แตงต้ังคณะกรรมการดำเนินงานโครงการโรงเรยี น นางสาวธนภรณ นวลลำภู ปลอดขยะ ๒. จดั อบรมใหความรูเ กยี่ วกบั การจัดการขยะ ใหก ับครู และนักเรยี น ๓. ประชมุ คณะกรรมการดำเนินโครงการโรงเรียน ปลอดขยะ เพื่อรว มกันวางแผนและแบง หนา ที่ความ รับผดิ ชอบ และจดั ทำโรงเกบ็ ขยะ ๔. ดำเนินการตามแผนงานทว่ี างไว ประกอบดวย กิจกรรมการบริหารจดั การขยะ ๓ Check ประเมนิ โครงการ ๔ Action รายงานโครงการ ๕. งบประมาณ ๕.๑ งบประมาณจำนวน ๒,๐๑๐ บาท (สองพนั สบิ บาท) จากแหลง งบประมาณ ดงั น้ี √ เงินอดุ หนนุ คา จดั การเรยี นการสอน จำนวน ๒,๐๑๐ บาท เงินอืน่ ๆ จำนวน - บาท

๓๒ ๕.๒ รายละเอียดการใชงบประมาณ ผูรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ หมายเหตุ นางสาวธนภรณ ๒,๐๑๐ ที่ กิจกรรม นวลลำภู ๒,๐๑๐ ๑ จัดอบรมใหความรเู ก่ียวกบั การจัดการขยะ ใหก ับครแู ละนกั เรียน ๒ กจิ กรรมการบรหิ ารจดั การขยะ ๓ รายงานโครงการ รวมงบประมาณ ๖. การประเมินผลโครงการ คาเปาหมาย วิธีการประเมนิ เคร่ืองมือ ตวั ชวี้ ดั รอ ยละ ๙๐ ประเมินผลการ แบบประเมินผลการ ๑. รอยละ ของนักเรียน ครู และ รอ ยละ ๙๐ ปฏิบัติการ ปฏบิ ตั กิ าร บุคลากรความรูความเขาใจถึง แนวทางในการลดปริมาณขยะ ประเมนิ ผลการ แบบประเมินผลการ การแยกขยะและการนำขยะ ปฏบิ ัตกิ าร ปฏิบตั กิ าร กลับไปใชประโยชน รวมทั้งการ รวบรวมขยะเพื่อนำไปกำจัดอยาง ถูกวธิ ี ใหกบั นกั เรยี น ๒. รอยละ ความสะอาดของ โรงเรยี น ๗. ผลทีค่ าดวาจะไดร บั นักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษามีจิตสำนึกและความรูความเขาใจถึงแนวทางในการลดปริมาณขยะ การแยกขยะและการนำขยะกลับไปใชป ระโยชน รวมทงั้ การรวบรวมขยะเพือ่ นำไปกำจัดอยา งถูกวธิ ี ลงช่ือ ….......................................…ผูเ สนอโครงการ (นางสาวธนภรณ นวลลำภู) ครูโรงเรียนบานหนิ กบ ลงชอื่ ………………………………..…………………ผูอ นุมัติ (นายสิทธิพงษ พุมพะเนิน) ผูอำนวยการโรงเรยี นบา นหินกบ

๓๓ แผนงาน บรหิ ารงานวิชาการ ชอื่ โครงการ โครงการบานนกั วทิ ยาศาสตรนอย ลกั ษณะโครงการ โครงการตอ เนื่อง สนองกลยุทธโ รงเรียนที่ ๑ สอดคลองกบั มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา มาตรฐานปฐมวยั ที่ ๑ ตัวบงชีท้ ่ี ๑.๑-๑.๕ สอดคลองกับจุดเนนของสพป.ชพ.๑ ๑,๒ สอดคลอ งกับมาตรฐาน สมศ. ดานท่ี ๑ ผูรับผิดชอบโครงการ นางสาวจุฑาทิพย ขาวปลง่ั นางสาวธนฏิ ฐา ตง้ั อรุณ นางสาววิชยา ชยั ชาญ ระยะเวลาการดำเนินการ พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มนี าคม ๒๕๖๖ ................................................................................................................................................................ ๑. หลกั การและเหตผุ ล โครงการ “บานนักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย” เปนโครงการที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาพระราชทานพระราชดำริใหคณะกรรมการนำไปพิจารณาริเริ่มดำเนินการ นำรองในประเทศไทย โดยไดทอดพระเนตรตัวอยางโครงการนี้ คราวเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศ เยอรมนี เมื่อปพ.ศ. ๒๕๕๒ คณะกรรมการโครงการบานนักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย จึงไดติดตอกับ มูลนิธิ Haus der kleinenForscher สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมกับมูลนิธิสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ และสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นำรองโครงการ \"บาน นักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย” มาตั้งแตปการศึกษา ๒๕๕๔เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาการจัด ประสบการณวิทยาศาสตรสำหรับเด็กปฐมวัย โดยมีเปาหมายในการปลูกฝงใหเด็ก ๆ มีเจตคติที่ดีตอ วิทยาศาสตร ธรรมชาติ และเทคโนโลยีดวยกิจกรรมที่สรางความสนุก ความเพลิดเพลิน ตามความสนใจใครรู และความกระตอื รือรน ฝกทักษะการสังเกต รูจักตั้งคำถาม พยายามหาคำตอบดว ยตนเองตัง้ แตระดับปฐมวยั เพอ่ื เตรยี มความพรอมใหเ ด็ก ๆ เหลา นเี้ ติบโตขึ้นเปน นักวิทยาศาสตรและวิศวกร หรอื เปนทรัพยากรบุคคลที่มี จิตวิทยาศาสตรที่มีความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งจะสามารถชวยในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ สังคม และความ เปน อยขู องไทยใหเจริญกาวหนา ตอไป ในการน้ี สพฐ. ไดศกึ ษาแนวทางการจัดกจิ กรรมของโครงการฯ พบวามี ความสอดคลองกบั หลักการและแนวคิดของหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ โดยมุงเนนใหเด็ก ๆ ไดลงมือปฏิบัติจริง เนนทักษะการตั้งคำถามและคนควาหาคำตอบ การแสดงความคิดเห็นตอสิง่ ที่ไดรับจาก การและการใหข อสรุปดว ยวาจา มกี ารทำการทดลองรว มกันเปน กลุมยอย ผูรับผิดชอบสามารถนำกิจกรรมการ สอนวิทยาศาสตร มาบูรณาการผานการกิจกรรมเสริมประสบการณใหเด็ก ๆ โรงเรียนบานหินกบ เขารวม โครงการ “บา นนกั วทิ ยาศาสตรน อ ย ประเทศไทย” รนุ ท่ี ๗ ๒. วัตถปุ ระสงค ๑. เพือ่ ใหนักเรยี นมที ักษะในการใชภาษาทีเ่ หมาะสมกบั วัย ๒. เพอ่ื ใหน ักเรยี นตั้งคำถามในเรอ่ื งทส่ี นใจไดอ ยางเหมาะสม

๓๔ ๓. เพื่อใหนกั เรียนใชจินตนาการและความคดิ สรา งสรรคในทางท่ีเหมาะสม ๔. เพื่อใหนักเรียนใชทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรในการแกปญหาและคิดสรางสรรคองค ความรู ๓. เปาหมาย ๑. ดา นปรมิ าณ ๑.๑ นักเรยี นรอ ยละ ๘๐ มที ักษะในการปฏิบตั ิกจิ กรรมทางวิทยาศาสตร ๑.๒ นักเรียนรอยละ ๘๐ ตัง้ คำถามในเร่อื งท่ีตนเองสนใจไดอ ยา งเหมาะสมตามวัย ๑.๓ นกั เรยี นรอ ยละ ๘๐ ใชจ นิ ตนาการและความคิดสรา งสรรคใ นทางทีเ่ หมาะสม ๑.๔ นักเรยี นรอยละ ๘๐ ใชทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ นการแกปญ หา ไดต ามวัย ๒. ดานคณุ ภาพ ๒.๑ นกั เรียนช้ันอนุบาล ไดลงมือปฏิบัติกจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรด วยตนเอง ๒.๒ นักเรยี นสามารถตั้งคำถามในเรอื่ งทตี่ นเองสนใจไดอ ยางเหมาะสมตามวัย ๒.๓ นกั เรียนใชจินตนาการและความคิดสรางสรรคในทางทีเ่ หมาะสม ๒.๔ นักเรียนใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ นการแกป ญหาไดตามวัย ๔. วธิ ดี ำเนนิ การ (กิจกรรม/การดำเนนิ งาน) กจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผูรับผิดชอบ P : Pland (วนั /เดือน/ป) (บาท) น.ส.ธนฏิ ฐา ต้งั อรณุ - วางแผนจดั ทำโครงการ - น.ส.วชิ ยา ชยั ชาญ - ประชมุ ชแี้ จงโครงการ พ.ค. ๖๖ น.ส.จฑุ าทิพย ขาวปลั่ง จัดแหลงเรยี นรู D : Do พ.ค. ๖๕- ๓,๐๐๐ น.ส.ธนฏิ ฐา ต้ังอรุณ - จัดทำหลักสตู รสถานศึกษา ม.ี ค. ๖๖ น.ส.วชิ ยา ชัยชาญ - จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามแนว น.ส.จฑุ าทิพย ขาวปลั่ง ดำเนินงานบานนกั วิทยาศาสตรนอ ย - นเิ ทศกิจกรรมการการเรียนการสอน ของครูผสู อน - ประเมินทักษะและความพงึ พอใจของ นกั เรยี น

๓๕ กิจกรรม ระยะเวลา งบประมาณ ผรู ับผิดชอบ C : Check (วนั /เดอื น/ป) (บาท) - นเิ ทศติดตาม ประเมนิ ผลโครงการ ๑๖ พ.ค. ๖๕ – - น.ส.ธนฏิ ฐา ตัง้ อรุณ A : Action ๓๑ มี.ค. ๖๖ น.ส.วชิ ยา ชยั ชาญ - จดั ทำแฟมสรปุ โครงการและรายงาน น.ส.จฑุ าทิพย ขาวปล่ัง ผลการปฏบิ ัตงิ านตามโครงการ ๓๑ ม.ค. ๒๕๖6 น.ส.ธนฏิ ฐา ต้งั อรุณ - น.ส.วชิ ยา ชัยชาญ รวม น.ส.จุฑาทพิ ย ขาวปล่ัง หมายเหตุ ถวั เฉล่ียทุกรายการ ๓,๐๐๐ บาท (สามพันบาทถว น) ๕. ตวั ชีว้ ดั ความสำเร็จและเกณฑ ตัวบง ช้ีความสำเรจ็ เกณฑ ๑. นักเรยี นรอยละ ๘๐ ไดรบั การจัดประสบการณต ามกิจกรรม รอยละ ๘๐ บา นนกั วิทยาศาสตรนอย ๒. นกั เรยี นช้ันอนบุ าลรอ ยละ ๘๐ ผา นการ ทดสอบความรู รอยละ ๘๐ พฒั นาการบานนักวิทยาศาสตรนอ ย ๖. งบประมาณ เงินงบประมาณเงนิ อุดหนนุ ๓,๐๐๐ บาท (สามพนั บาทถวน) (งบประมาณถัวเฉล่ีย) ๗. ผลทีค่ าดวา จะไดร บั ๑. นกั เรียนมที ักษะในการใชภ าษาที่เหมาะสมกับวยั ๒. นกั เรียนใชทกั ษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตรใ นการแกปญหาและคดิ สรางสรรคองคค วามรู ลงช่อื .......................................ผูเสนอโครงการ ลงชอ่ื .........................................ผเู สนอโครงการ (นางสาวธนิฎฐา ต้งั อรุณ) (นางสาววิชยา ชัยชาญ) ครูอัตราจางโรงเรียนบานหินกบ ครอู ัตราจา งโรงเรียนบานหนิ กบ ลงชือ่ .......................................ผเู สนอโครงการ ลงชอื่ ….......................................…ผูอนมุ ตั โิ ครงการ (นางสาวจุฑาทิพย ขาวปลง่ั ) (นายสทิ ธพิ งษ พมุ พะเนิน) ครโู รงเรยี นบานหนิ กบ ผอู ำนวยการโรงเรียนบานหนิ กบ

๓๖ แผนงาน การบริหารงานวิชาการ ช่อื โครงการ โครงการโรงเรยี นรอบรสู ุขภาพ (Health Literate School : HLS) ลกั ษณะโครงการ โครงการใหม กจิ กรรม รอบรสู ุขภาพดี สนองกลยทุ ธโรงเรยี นกลยุทธ สพฐ. ที่ ๑ สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๑.๑ ระดบั ขน้ั พื้นฐาน มาตรฐานท่ี ๑ตัวบงชีท้ ่ี ๑.๒.๔ สอดคลอ งกับจุดเนน ของสพป.ชพ ๑ ดานที่ ๑,๒ สอดคลอ งกบั มาตรฐาน สมศ. ดานท่ี ๑,๒,๔ ผรู ับผิดชอบโครงการ นางสาวจฑุ าทิพย ขาวปล่งั ระยะเวลาดำเนนิ การ พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มนี าคม ๒๕๖๖ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลกั การและเหตผุ ล การขับเคลื่อนงานสงเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนจำเปนตองประสานความรวมมือระหวางหนวยงาน การศึกษา สาธารณสขุ รวมท้ังภาคีเครือขายในการพัฒนาโรงเรียน ผา นกลไกการดำเนินงานโรงเรยี นรอบรูดาน สุขภาพ (Health Literate School : HLS) เพื่อพัฒนากระบวนการสงเสริมสุขภาพเด็กวัยเรยี น และการสราง สิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการมีสุขภาพดีจากการมีสวนรวมระหวางโรงเรียน ครอบครัว ชุมชน และหนวยงานที่ เกีย่ วของ ตลอดจนการพัฒนาการส่ือสารดานสุขภาพไปสูผลลัพธใ หเด็กวัยเรียนวยั รนุ สูงดีสมสว น มีความรอบ รูดานสุขภาพ (Health Literacy) และมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงคที่จะสงเสริมใหเกิดการเรียนรู การ ตดั สนิ ใจ และมีความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนไดอ ยางเหมาะสม และเปน ผูใหญ ทีม่ ีคุณภาพในอนาคต ๒. วัตถปุ ระสงค ๒.๑ เพือ่ พัฒนาและสนบั สนุนโรงเรยี นใหเปน โรงเรยี นรอบรูดา นสุขภาพ ๒.๒ เพื่อเสริมสรางกระบวนการพัฒนาใหนักเรียนมีความรอบรูดานสุขภาพ มีทักษะสุขภาพ และมี พฤตกิ รรมสุขภาพทพี่ ึงประสงค ๓. เปาหมาย ๓.๑ ดา นปรมิ าณ ๑. โรงเรียนบา นหินกบพฒั นาเปนโรงเรยี นรอบรูดานสขุ ภาพรอยละ ๘๐ ๒. นักเรียนโรงเรียนบานหินกบ รอยละ ๘๐ มีความรอบรูดานสุขภาพ มีทักษะสุขภาพ และมี พฤตกิ รรมสุขภาพท่ีพงึ ประสงค ๓.๒ ดา นคณุ ภาพ ๑. โรงเรยี นบา นหินกบพฒั นาเปน โรงเรียนรอบรดู า นสุขภาพ ๒.นักเรียนโรงเรียนบานหินกบ มีความรอบรูดา นสขุ ภาพ มีทักษะสุขภาพ และมีพฤติกรรมสุขภาพท่ี พงึ ประสงค

๓๗ ๔. วธิ ดี ำเนินการ (PDCA) ที่ กิจกรรม / ขัน้ ตอน ระยะเวลา ผูรับผดิ ชอบ ๑ Plan ผูอ ำนวยการโรงเรียนบา นหินกบ 1. ผบู ริหารโรงเรยี นกำหนดนโยบายโรงเรยี น เมษายน ๒๕๖๕ นางสาวจฑุ าทพิ ย ขาวปล่งั รอบรูสขุ ภาพ 2. ประชุม กำหนดบทบาทหนา ท่ีของ คณะกรรมการรับผดิ ชอบโครงการฝาย ตางๆ 3. กำหนดแผนการดำเนินงานตามนโยบาย ๒ Do ดำเนินกจิ กรรมตามโครงการโรงเรยี นรอบรู พฤษภาคม ๒๕๖๕- นางสาวจุฑาทพิ ย ขาวปลั่ง สขุ ภาพ มีนาคม ๒๕๖๖ - ใหความรดู านมวี นิ ัยและความรอบรดู าน สขุ ภาพ - สรางแหลง เรยี นรดู านสุขภาพ - สรางภาคีเครอื ขา ยเขม แขง็ - สรางแผนยุทธศาสตร สรางการมีสวนรว ม สูน โยบายสาธารณะ - สรา งนวตั กรรมการสรางวนิ ัยและความรอบ รูดานสุขภาพ ๓ Check มนี าคม ๒๕๖๖ นางสาวจุฑาทิพย ขาวปลัง่ 1. นเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลการ มีนาคม ๒๕๖๖ นางสาวจฑุ าทิพย ขาวปล่ัง ดำเนินงานพัฒนาโครงการโรงเรียนรอบรู สขุ ภาพ ๔ Action สรุป รายงานผลการปฏิบัติงานตามโครงการ โรงเรียนรอบรูส ขุ ภาพ ๕. งบประมาณ 5.1งบประมาณจำนวน ๑,๐๐๐ บาท ( หนึง่ พันบาทถวน) จากแหลงงบประมาณ ดังน้ี  เงนิ อุดหนนุ คาจัดการเรียนการสอน จำนวน ๑,๐๐๐ บาท  เงินอน่ื ๆ จำนวน …………. บาท

๓๘ ๕.๒ รายละเอียดการใชงบประมาณ ท่ี กจิ กรรม ผรู ับผิดชอบ งบประมาณ หมายเหตุ ๑ กิจกรรมตามโครงการโรงเรียนรอบ นางสาวจุฑาทิพย ขาวปลัง่ ๑,๐๐๐ รูสขุ ภาพ รวมงบประมาณ ๑,๐๐๐ ๖. การประเมินผลโครงการ ตวั ชีว้ ัด คาเปาหมาย วิธกี ารประเมนิ เครอ่ื งมอื ๑. โรงเรียนพฒั นาเปนโรงเรยี น รอยละ ๘๐ รอบรูดา นสุขภาพ ประเมนิ ผลการ แบบประเมนิ ผลการ ๒. นักเรยี น มคี วามรอบรดู า น รอยละ ๘๐ ปฏิบตั งิ าน ปฏบิ ตั ิงาน สขุ ภาพ มีทกั ษะสุขภาพ และมี พฤติกรรมสุขภาพทพี่ ึงประสงค ๗. ผลท่ีคาดวา จะไดรับ ๗.๑ โรงเรียนบา นหนิ กบพฒั นาเปน โรงเรียนรอบรดู านสุขภาพ ๗.๒ นักเรียนครบู คุ ลากรในโรงเรียนผปู กครองและชมุ ชนมีความรอบรดู า นสุขภาพมีพฤติกรรมสขุ ภาพ ท่ีพงึ ประสงค ลงชือ่ ………………………..…………………ผูเสนอโครงการ (นางสาวจฑุ าทิพย ขาวปลงั่ ) ครูโรงเรยี นบานหินกบ ลงช่อื ……………………………………………………ผอู นุมัติโครงการ (นายสิทธิพงษ พุม พะเนนิ ) ผูอำนวยการโรงเรยี นบา นหินกบ

๓๙ แผนงาน บริหารงานวิชาการ ชอื่ โครงการ โรงเรยี นตน แบบนกั เรียนไทยสขุ ภาพดี ลักษณะโครงการ โครงการตอเนื่อง กจิ กรรม นกั เรียนไทยสุขภาพดี สนองกลยุทธโ รงเรียน กลยุทธ สพฐ. ที่ ๑ สอดคลอ งกับมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ๑.๑ ระดับข้นั พน้ื ฐาน มาตรฐานท่ี ๑ ตวั บงชี้ท่ี ๑.๒.๔ สอดคลอ งกับจุดเนน ของ สพป.ชพ๑ ดา นที่ ๑,๒ สอดคลอ งกับมาตรฐาน สมศ. ดานท่ี ๑,๒,๔ ผรู ับผิดชอบโครงการ นางสาวจฑุ าทพิ ย ขาวปล่งั ระยะเวลาดำเนินการ พฤษภาคม ๒๕๖๕ - มีนาคม ๒๕๖๖ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลกั การและเหตผุ ล การดูแลสุขภาพของเดก็ อยา งตอเน่ืองเปนสง่ิ ทด่ี ีและทุกคนควรใหความสำคัญโดยเฉพาะ นักเรียนท่ีอยู ในวัยเรียน กำลงั มกี ารเจริญเตบิ โต มพี ฒั นาการทางดานรางกาย สตปิ ญญา และอารมณ หากทุกคนมีสุขภาพท่ี แข็งแรงและสมบูรณยอมสงผลใหการจัดการศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธภิ าพตามไปดวย และสามารถอยูรวม ในสังคมไดอยางมีความสุข แตปจจุบันสถานการณปญหาสุขภาพและการสาธารณสุขไดเปลี่ยนแปลงไปตาม ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ทั้งนี้สาเหตุเนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไมถูกตอง ตลอดจนปญหา สภาพแวดลอมทั้งทางกายภาพและทางสังคม ซึ่งนับวันแนวโนมของปญหาเหลานี้ทวีความรุนแรงมากขึ้น ดังนั้นเพื่อใหผูเรียนไดม ีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี ซึ่งเปนการวางรากฐานดา นสขุ ภาพใหเขมแขง็ ดวยการเตรียมความพรอมเพื่อปองกันปญหาสุขภาพตั้งแตแรกเริ่ม ใหนักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของ ตนเองไดอยางยัง่ ยืน ดงั นั้น โรงเรียนบานหนิ กบ ไดใหความสำคัญของนกั เรยี นในวยั เรยี น เหน็ คณุ คา ในการดูแลสุขภาพ ตนเองที่ถูกตองและเหมาะสมกับวัย จึงไดจัดทำโครงการเกณฑโรงเรียนตนแบบนักเรียนไทยสุขภาพดี เพื่อให นักเรียนมีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและรางกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเปน ทรัพยากรบคุ คลที่มคี ุณคา และเปน อนาคตท่สี ำคญั ของประเทศชาตติ อไป ๒. วัตถปุ ระสงค ๒.๑ เพ่อื ใหครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียนมคี วามรแู ละประสบการณในการจดั กระบวนการเรยี นรู ทส่ี งเสรมิ สขุ ภาพของนักเรยี น ๒.๒ เพ่ือใหน ักเรียนมีสุขภาพรางกายทแี่ ขง็ แรง สมบรู ณ เจริญเตบิ โตสมวัย ๓. เปาหมาย ๓.๑ ดา นปริมาณ ๑. ครูและบุคลากรในโรงเรียนรอ ยละ ๘๐ มีความรูแ ละประสบการณในการจดั กระบวนการ เรียนรูท่ีสงเสรมิ สขุ ภาพของนักเรียน ๒. นกั เรียนรอ ยละ ๘๐ มีสุขภาพรางกายท่ีแข็งแรง สมบรู ณ เจริญเติบโตสมวัย

๔๐ ๓.๒ ดา นคุณภาพ ๑. ครแู ละบุคลากรในโรงเรียนมีความรูและประสบการณใ นการจดั กระบวนการเรยี นรู ทส่ี งเสริมสุขภาพของนักเรียน ๒. นกั เรียนมีสขุ ภาพรา งกายทแี่ ขง็ แรง สมบูรณ เจรญิ เตบิ โตสมวยั มีจติ ใจท่ีดีงาม ๔. วิธีดำเนินการ (PDCA) ท่ี กจิ กรรม / ขน้ั ตอน ระยะเวลา ผรู บั ผิดชอบ ๑ Plan ผบู รหิ ารโรงเรยี นกำหนดนโยบายโรงเรยี น ตน แบบนักเรียนไทยสุขภาพดี เมษายน ๒๕๖๕ นางสาวจฑุ าทพิ ย ขาวปลั่ง 1. ประชมุ กำหนดบทบาทหนาที่ของ คณะกรรมการรบั ผดิ ชอบโครงการฝา ย ตางๆ 2. กำหนดแผนการดำเนินงานตาม โครงการ ๒ Do ดำเนินกิจกรรมตามโครงการตนแบบนักเรียน พฤษภาคม ๒๕๖๕- นางสาวจฑุ าทพิ ย ขาวปลั่ง ไทยสขุ ภาพดี มนี าคม ๒๕๖๖ - ดา นบริหารจัดการ - ดานโภชนาการอาหารทป่ี ลอดภัย - ดา นการออกกำลังกาย กีฬาและ นันทนาการ - มาตรฐานดานทนั ตสขุ ภาพ - มาตรฐานการมสี ว นรวมและเครอื ขาย ๓. Check ๑. นเิ ทศติดตามและประเมินผลการ มนี าคม ๒๕๖๖ นางสาวจุฑาทิพย ขาวปลั่ง ดำเนินงานพฒั นาเกณฑโรงเรียนตนแบบ นกั เรียนไทยสุขภาพดี ๔ Action มนี าคม ๒๕๖๖ นางสาวจฑุ าทิพย ขาวปลั่ง สรุป รายงานผลการปฏบิ ัติงานตาม โครงการ โรงเรียนรอบรูด า นสุขภาพ

๔๑ ๕. งบประมาณ ๕.๑ งบประมาณจำนวน ๑,๐๐๐ บาท (หน่ึงพนั บาทถวน) จากแหลงงบประมาณ ดงั น้ี  เงนิ อดุ หนนุ คาจดั การเรียนการสอน จำนวน ๑,๐๐๐ บาท  เงนิ อ่นื ๆ จำนวน …………. บาท ๕.๒ รายละเอียดการใชง บประมาณ ท่ี กิจกรรม ผรู ับผดิ ชอบ งบประมาณ หมายเหตุ ๑ กจิ กรรมตามโครงการ นางสาวจฑุ าทพิ ย ขาวปลัง่ ๑,๐๐๐ ตนแบบนกั เรียนไทย สุขภาพดี รวมงบประมาณ ๑,๐๐๐ ๖. การประเมินผลโครงการ คา เปาหมาย วิธกี ารประเมิน เคร่อื งมือ ตวั ช้ีวดั แบบรายงานผลการ ๑ .ครแู ละบุคลากรในโรงเรียน ปฏบิ ตั ิงาน รอยละ ๘๐ มคี วามรูแ ละ ประสบการณในการจดั กระบวนการเรยี นรูท่สี งเสรมิ สขุ ภาพของนกั เรยี น ๒. นักเรยี นรอ ยละ ๘๐ มสี ุขภาพ รอยละ ๘๐ ประเมินพัฒนาการ แบบประเมนิ พัฒนาการ รา งกายทแ่ี ขง็ แรงสมบูรณ บนั ทกึ น้ำหนกั สว นสงู แบบบนั ทึกน้ำหนัก สว นสูง เจรญิ เตบิ โตสมวัย ๗. ผลทีค่ าดวา จะไดร บั ๗.๑ ครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียนมคี วามรูและประสบการณในการจัดกระบวนการเรยี นรู ทีส่ งเสริมสุขภาพของนกั เรียน ๒.๒ เพื่อใหน ักเรียนมีสุขภาพรา งกายทแี่ ข็งแรง สมบรู ณ เจรญิ เติบโตสมวยั มจี ติ ใจทดี่ ีงาม ลงชือ่ …………………………………….………ผเู สนอโครงการ (นางสาวจุฑาทิพย ขาวปล่งั ) ครูโรงเรียนบา นหนิ กบ ลงชือ่ ……………………………………………………ผูอนุมัติโครงการ (นายสทิ ธพิ งษ พมุ พะเนิน) ผอู ำนวยการโรงเรยี นบานหนิ กบ

๔๒ แผนงาน บรหิ ารงานวิชาการ ชอื่ โครงการ สถานศึกษาปลอดภัย ลักษณะโครงการ ตอเน่ือง กจิ กรรม ๑. การปองกันภยั ๒. ขบั ขีป่ ลอดภัย สนองกลยทุ ธโรงเรยี น ๑,๒,๕ สอดคลอ งกบั มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ๒,๓ สอดคลอ งกบั จดุ เนนของ สพป.ชพ๑ ๗ สอดคลองกับมาตรฐาน สมศ. ๑,๔,๗ ผูรบั ผดิ ชอบโครงการ นางเนตรชนก พรมทอง , นางสาวธนิฎฐา ตัง้ อรณุ ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปการศกึ ษา ๒๕๖๕ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลกั การและเหตุผล โรงเรียนบานหินกบมีความตระหนักในความสำคัญและเล็งเห็นความจำเปนเรงดวนที่ผูที่มีสวน เกี่ยวของทุกฝายจะตองรวมกันหาแนวทางที่เปนรูปธรรมในการดูแลชวยเหลือนักเรียนใหไดเรียนรูอยางมี ความสุขเปนไปตามหลักสูตรมีทักษะชีวิตที่จะดูแลตนเองใหปลอดภัยทามกลางสภาพแวดลอมทาง สังคม อุบัตเิ หตุ และอุบัตภิ ยั ที่จะกอใหเกดิ ความเสยี หายแกน กั เรียน ดังนั้น โรงเรียนบานหินกบซึ่งมีภารกิจและความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาตองดำเนินการ อยางท่ัวถงึ มีคุณภาพ และพฒั นาสู ความเปน เลิศตามมาตรฐานสากล ในการดูแลความปลอดภยั ของผูเรียน ๒. วัตถุประสงค ๒.๑ เพื่อสง เสริมความปลอดภยั ในโรงเรยี นและชมุ ชนโดยรอบ ๒.๒ เพ่อื ฝกซอมวิธกี ารปอ งกันภัยพิบตั ิรปู แบบตา งๆ ท่ีอาจจะเกดิ ขน้ึ ในโรงเรียน และชมุ ชน ๒.๓ เพ่อื ใหโรงเรยี นไดจ ดั กิจกรรมเสรมิ สรางทักษะในการปอ งกันภยั ในรูปแบบตางๆ ๓. เปาหมาย ๓.๑ ดานปรมิ าณ นักเรยี นโรงเรยี นบา นหินกบเขารวมกจิ กรรม รอยละ ๙๐ ๓.๒ ดา นคณุ ภาพ นักเรียนมีทกั ษะและความรูจ ากการทำกิจกรรม และสามารถนำไปใชในชีวติ ประจำวันได ๔. วธิ ดี ำเนนิ การ (PDCA) ท่ี กิจกรรม / ขน้ั ตอน ระยะเวลา ผูร บั ผิดชอบ ๑ Plan 1.ประชุมช้แี จงรายละเอียดของโครงการ เม.ย.๖๕ ผอ. 2. เขียนโครงการ เนตรชนก , ธนษิ ฐา 3. เสนอโครงการเพอ่ื ขออนมุ ัติโครงการ

๔๓ ท่ี กิจกรรม / ขน้ั ตอน ระยะเวลา ผูรบั ผดิ ชอบ ๒ Do ตลอดปก ารศกึ ษา เนตรชนก , ธนษิ ฐา ๑. กิจกรรมอบรมปองกนั ภยั ๒๕๖๕ ๒. กิจกรรมอบรมขบั ข่ีปลอดภยั ม.ี ค. ๖๖ ๓ Check ๑. นิเทศตดิ ตาม มี.ค. ๖๖ ๒. ตรวจสอบ ๔ Action สงั เกต ประเมินผล รายงานผล สรุปผลทุก กจิ กรรม ๕. งบประมาณ ๕.๑ งบประมาณจำนวน ๒,๐๐๐ บาท (สองพันบาทถวน) จากแหลง งบประมาณ ดงั น้ี  เงินอุดหนุนคาจดั การเรียนการสอน จำนวน ๑,๐๐๐ บาท  เงินอื่น ๆ จำนวน …………. บาท ๕.๒ รายละเอยี ดการใชง บประมาณ ที่ กจิ กรรม ผูรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ หมายเหตุ ๑ กจิ กรรมอบรมปองกันภยั เนตรชนก , ธนิษฐา ๕๐๐ ๒ กจิ กรรมอบรมขบั ขีป่ ลอดภยั เนตรชนก , ธนิษฐา ๕๐๐ รวมงบประมาณ 1,๐๐๐ ๖. การประเมนิ ผลโครงการ คาเปาหมาย วิธกี ารประเมิน เครอ่ื งมือ ตวั ชี้วัด รอ ยละ ๙๐ สอบถาม แบบสอบถามความพงึ พอใจ รอยละ ๙๐ สอบถาม แบบสอบถามความพงึ พอใจ ๑.นกั เรียนมีความพึงพอใน กิจกรรมปองกันภยั ๒.นกั เรียนมคี วามพึงพอใน กจิ กรรมขับข่ปี ลอดภัย

๔๔ ๗. ผลทค่ี าดวา จะไดร ับ 1. เพ่ือสงเสริมความปลอดภยั ในโรงเรียนและชุมชนโดยรอบ ๒. เพ่อื ฝก ซอ มวธิ กี ารปอ งกนั ภัยพบิ ตั ิรูปแบบตา งๆ ทอี่ าจจะเกิดขนึ้ ในโรงเรยี น และชมุ ชน ๓. เพื่อใหโ รงเรียนไดจดั กจิ กรรมเสริมสรางทกั ษะในการปอ งกันภยั ในรปู แบบตางๆ ลงชื่อ……………………………………..………………ผเู สนอโครงการ (นางสาวธนิษฐา ตั้งอรุณ) ครอู ตั ราจา งโรงเรียนบานหินกบ ลงช่ือ……………………………………..………………ผเู สนอโครงการ (นางเนตรชนก พรมทอง) ครูโรงเรียนบานหนิ กบ ลงชือ่ ……………………………………………………ผอู นมุ ัตโิ ครงการ (นายสทิ ธพิ งษ พุม พะเนนิ ) ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นหนิ กบ

๔๕ แผนงาน วชิ าการ ชอ่ื โครงการ โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. ลักษณะโครงการ โครงการใหม สอดคลองกับกลุ ยุทธ สพฐ.ที่ ๑,๒ สอดคลองกับจุดเนนที่ ๑,๓,๖ สอดคลอ งมาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั มาตรฐาน ทุกตัวบงช้ี ระดับขัน้ พ้ืนฐาน มาตรฐานทุกตัวบง ชี้ สนองกลยุทธโรงเรยี นท่ี ๑,๔ สอดคลอ งกับจุดเนนของ สพป.ชพ๑: ๓,๔,๕,๖ สอดคลองกบั มาตรฐาน สมศ. ดานที่ ๒,๗,๘ ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวธนภรณ นวลลำภู และ นางสาวพชิ นชุ จันทรล ะมูล ระยะเวลาดำเนนิ การ ๑ เมษายน ๒๕๖๕- ๓๑มนี าคม ๒๕๖๖ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. หลกั การและเหตุผล ความเปน มาของโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. โครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ. เปน การ ดำเนนิ งานเพื่อสืบสานพระราชปณธิ าน เดนิ ตามรอยเบ้ืองพระยคุ ลบาทของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ตามพระราชประสงคของสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๑๐ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการ ไดมอบหมายใหรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินงานตามนโยบายภายใต กรอบ ยุทธศาสตรชาติเกี่ยวกับเรื่องคุณธรรม โดยรวมหารือกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ใน ฐานะผูรับผิดชอบการจัดการศึกษาสำหรับเยาวชนสวนใหญของประเทศ ใหเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ อีกทั้ง รับผิดชอบในการจัดการศึกษาเพื่อใหเยาวชนทุกคน มีความรู ความสามารถ เปนคนดี คนเกง และมีความสุข ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ โดยผลการหารอื สรปุ ไดว าการพัฒนาคุณธรรมใหก ับเยาวชนของชาติจา เปนตองดำเนินการ จัดทำ “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” เพื่อพัฒนาโรงเรียนในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน ใหนักเรียน ครู ผูบริหารและบุคลากรทางการศึกษาตระหนักรู เขาใจ และมีกระบวนการคิด อยางมี เหตุผลซึมซับคุณคาแหงคุณธรรมความดีอยางเปนธรรมชาติ และสรางความรูสึกผิดชอบชั่วดี รวมทั้งสราง เครือขายชุมชนองคกรแหงคุณธรรม โดยประสานความรวมมือจากหนวยงาน และ องคกรที่ทางานดาน คณุ ธรรมอยางเปน รปู ธรรมทช่ี ดั เจน รูปแบบของโรงเรยี นคุณธรรมน้ัน เปน เร่อื งทไี่ มซับซอ นและทา ไดง าย เปน การลงทนุ ตำ่ แตไดก ำไรมาก และสามารถเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมของนักเรยี นไดจ รงิ โดยหลักการของโรงเรียน คุณธรรมสามารถนาไปใชไดกับโรงเรียนในทุกศาสนา ไมผูกขาดกับศาสนาใดศาสนาหนึ่ง เปรียบเสมือนเปน คุณธรรมสากล ที่จะชวยใหพฤตกิ รรมที่ไมพ ึงประสงคใ นโรงเรียน “ลดลง” และ สงเสริมใหเกิดพฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค “เพิ่มขึ้น” ซึ่งนับเปนการพัฒนาเยาวชน ผูปกครอง และชุมชน ไดอยางยั่งยืนความเปนมาของ โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เปนการดำเนินงานเพื่อสืบสานพระราช ปณธิ าน เดนิ ตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตามพระราช ประสงคของสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๑๐ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการ ไดมอบหมายให รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินงานตามนโยบายภายใต กรอบยุทธศาสตรชาติเกี่ยวกับเรื่อง คณุ ธรรม โดยรว มหารอื กบั สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ในฐานะผูร ับผดิ ชอบการจัดการศึกษา สำหรับเยาวชนสวนใหญของประเทศ ใหเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ อีกทั้งรับผิดชอบในการจัดการศึกษาเพื่อให

๔๖ เยาวชนทุกคน มีความรู ความสามารถ เปนคนดี คนเกง และมีความสุข ตามนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยผลการหารือสรุปไดวาการพัฒนาคุณธรรมใหกับเยาวชนของชาติจาเปนตอง ดำเนินการ จัดทำ “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” เพื่อพัฒนาโรงเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให นักเรยี น ครู ผูบ ริหารและบคุ ลากรทางการศึกษาตระหนักรู เขา ใจ และมีกระบวนการคิด อยางมีเหตุผลซึมซับ คุณคาแหงคุณธรรมความดีอยางเปนธรรมชาติ และสรางความรูสึกผิดชอบชั่วดี รวมทั้งสรางเครือขายชุมชน องคกรแหงคุณธรรม โดยประสานความรวมมือจากหนวยงาน และ องคกรที่ทางานดานคุณธรรมอยางเปน รูปธรรมที่ชัดเจน รูปแบบของโรงเรียนคุณธรรมนั้น เปนเรื่องที่ไมซับซอนและทาไดงาย เปนการลงทุนต่ำ แต ไดกำไรมาก และสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียนไดจริง โดยหลักการของโรงเรียน คุณธรรม สามารถนาไปใชไดกับโรงเรียนในทุกศาสนา ไมผูกขาดกับศาสนาใดศาสนาหนึ่ง เปรียบเสมือนเปนคุณธรรม สากล ที่จะชวยใหพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคในโรงเรียน “ลดลง” และ สงเสริมใหเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค “เพ่มิ ขึ้น” ซ่งึ นบั เปนการพฒั นาเยาวชน ผูปกครอง และชมุ ชน ไดอ ยางยั่งยนื ๒. วัตถุประสงค ๑) เพื่อใหผูบริหาร ครู และนักเรียน ตระหนักรู เขาใจ และมีกระบวนการคิด อยางมีเหตุผล ซึมซับ คุณคาแหงคณุ ธรรมความดีอยา งเปน ธรรมชาติสรางความรูสกึ ผดิ ชอบช่ัวดี และภูมิใจในการทาความดี ๒) เพ่ือใหผ ูบรหิ าร ครู และนกั เรยี นสรา งเครอื ขา ยชุมชนองคก รแหง คณุ ธรรม โดยขอความรวมมือ จากหนว ยงาน และองคก รที่ทา งานดานคณุ ธรรมอยางเปน รปู ธรรมชดั เจน และมคี วามตอ เน่อื ง ๓. เปาหมาย ๓.๑ดา นปรมิ าณ ๑.๑๐๐ % ของนกั เรียน ครู และบุคลากรเปน ผูมคี ุณธรรม ตัวชว้ี ดั ความสำเร็จ จรยิ ธรรมอนั ดงี าม ๓.๒ ดา นคุณภาพ ๒. นักเรยี น ครู และบคุ ลากรเปนผมู ีคุณธรรม จรยิ ธรรมอันดีงาม ตัวชวี้ ัดความสำเรจ็ ๔. วธิ กี ารดำเนนิ งาน ระยะเวลา ผูรับผิดชอบ กจิ กรรม/งานสำคัญ P : Plan เมษายน ๒๕๖๕ นางสาวพิชนชุ จนั ทรละมูล ๑. แตงต้ังคณะทำงานโรงเรียนคณุ ธรรม พฤษภาคม ๒๕๖๕ นางสาวธนภรณ นวลลำภู D : doing ๒. ประชมุ ระดมสมองของบุคลากรทุกฝาย พฤษภาคม ๒๕๖๕ วางแผนดำเนนิ การโรงเรียนคุณธรรม มนี าคม ๒๕๖๖ C : check ๓. ดำเนนิ การตามแผน A : Action ๔. สรุปโครงการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook