การใช้คอมพวิ เตอรแ์ ละระบบสารสนเทศ โรงเรียนกองทพั บกอปุ ถมั ภ์ ช่างกล ขส.ทบ.
สาระสาคัญ ระบบสารสนเทศที่ดีมีส่วนช่วยในการทางานของผปู้ ฏิบตั ิงาน อยา่ งมาก ดงั น้นั ปัจจุบนั จึงเห็นระบบสารสนเทศเกิดข้ึนมากมายใน หน่วยงานท้งั ภาครัฐและเอกชน โดยอาศยั เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เขา้ มาจดั การกบั ขอ้ มูลในองคก์ ร เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายที่ตอ้ งการ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
สาระการเรียนรู้ - ววิ ัฒนาการของคอมพิวเตอร์ - ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ - ความร้เู บื้องต้นเกย่ี วกับระบบสารสนเทศ
วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นทราบถงึ ววิ ฒั นาการของคอมพิวเตอร์ 2. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความร้เู กี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3. เพ่ือให้ผเู้ รียนมคี วามรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกับขอ้ มลู 4. เพ่อื ให้ผู้เรยี นมคี วามรู้เบอ้ื งต้นเก่ยี วกับระบบสารสนเทศ
คลงั ความรู้ทางด้านคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์ยุคแรก คอมพวิ เตอร์ยุคแรก คอมพวิ เตอร์เกบ็ การทางานของ เร็วขนาดใด ข้อมูลแบบใด คอมพวิ เตอร์
ววิ ัฒนาการของคอมพวิ เตอร์ ววิ ฒั นาการของคอพิวเตอรจ์ ะมีลักษณะเครื่องจักรหรอื ส่ิงประดิษฐ์ข้ึนเพื่อช่วยในการคานวณ โดยไม่มีการนาวงจร อิเล็กทรอนิกส์เข้ามาใช้ประโยชน์ ทั้งนี้มนุษย์ทาการคิดค้น เคร่ืองมือที่ใช้ทางานและผ่อนแรง ตลอดจนใช้ในการให้ความ สะดวกแก่ตนเอง และผอู้ ่ืน
วิวฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ (ตอ่ ) โดยทใ่ี นอดตี มนษุ ย์รู้จักการนบั จานวนเลข การใช้นิ้ว มือในการนับ การใช้รอยขีด ก้อนหิน หรือแท่งไม้ ต่อมา ประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล ชาวจีนได้ประดิษฐ์ เครื่องมือเพื่อใช้ในการคานวณข้ึนมา เรียกว่า ลูกคิด เป็น อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการคานวณท่ีเกา่ แกท่ ส่ี ุดในโลก
พ.ศ. 2158 (John Napier) จอหน์ เนเปียร์ นกั คณติ ศาสตร์ชาวสก๊อต ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ เพื่อช่วยในการคานวณ ข้ึนมา เรยี กว่า เนเปียรโ์ บนส์ ลักษณะคล้ายกับตาราง สูตรคูณ
พ.ศ. 2185 (Blaise Pascal) แบลซ ปาสกาล นกั คณิตศาสตร์ชาวฝรง่ั เศส ได้ทาการออกแบบเคร่ืองมือในการคานวณ โดยใช้หลักของการหมุนของฟันเฟือง 1 อันหมุนครบ 1 รอบ ฟันเฟืองทางด้านซ้ายจะถูกหมุนไปด้วยในเศษ 1 สว่ น 10 รอบ
พ.ศ. 2216 (Gottfried Wilhelm Leibniz) กอททฟ์ รีด วลิ เฮลม์ ไลบ์นซิ นักปราชญ์ชาวเยอรมัน ได้ปรับปรุงเครื่องคานวณของปาสกาลให้ สามารถ คูณและหารได้โดยตรง และแก้ไขปัญหาของ ปาสกาลได้สาเร็จ เรยี กวา่ เครอื่ งคานวณ สเต็ป เรก็ คอนเนอร์
พ.ศ. 2344 (Joseph Marie Jacquard) โจเซฟ มารี แจคการด์ นกั ประดษิ ฐช์ าวฝร่งั เศส ได้พัฒนาเคร่ืองทอผ้าโดยใช้บัตรเจาะรูในการ บนั ทกึ คาสั่ง ควบคมุ เครือ่ งทอผา้ ใหท้ าตามแบบท่ีกาหนดไว้ และสามารถนามาสร้างซ้าๆ ได้
พ.ศ. 2373 (Charles Babbage) ชาร์ลส์ แบ็บเบจ บดิ าแห่งเครื่องคอมพวิ เตอร์ ได้สร้างเครือ่ งหาผลต่าง ซ่ึงเปน็ เคร่อื งที่ใช้ คานวณ และพิมพ์ตารางทางคณิตศาสตร์แบบ อัตโนมัติ จนได้รับความ ช่วยเหลือจนคิดค้นเคร่ืองท่ีมี ความสามารถมากกว่าน้ีที่เรียกว่า เครือ่ งวเิ คราะห์
พ.ศ. 2373 (Charles Babbage) เครอ่ื งวิเคราะห์ 4 สว่ นสาคัญดังน้ี 1. ส่วนเก็บขอ้ มลู เป็นสว่ นทใี่ ช้ในการเก็บขอ้ มูลนาเขา้ และผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการคานวณ 2. ส่วนประมวลผล เป็นส่วนท่ใี ช้ในการประมวลผลทางคณติ ศาสตร์ 3. ส่วนควบคุม เป็นส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายข้อมูลระหว่างส่วนเก็บข้อมูลและส่วน ประมวลผล 4. สว่ นรับขอ้ มลู เข้าและแสดงผลลัพธ์ เปน็ สว่ นทใี่ ชร้ ับขอ้ มูล จากภายนอกเครอื่ งเขา้ สสู่ ว่ นเกบ็ ข้อมูล และแสดงผลลพั ธ์ที่ไดจ้ าก การคานวณ
พ.ศ. 2385 (Lady Augusta Ada Byron) เลด้ี ออกสั ตา้ เอดา ไบรอน สุภาพสตรีชาวอังกฤษ ได้ทาการแปลเร่อื งราวเกยี่ วกบั เคร่อื ง Analytical Engine และได้เขยี นขนั้ ตอนของคาส่ังวธิ ใี ช้เครือ่ งนี้ให้ทาการคานวณทย่ี ุ่งยากซบั ซ้อน ไวใ้ นหนงั สือ Taylor’s Scientific Memoirs จงึ นบั ไดว้ า่ ออกสุ ตา้ เป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก และยังค้นพบอีกว่าชุดบัตรเจาะรูท่ีบรรจุชุดคาสง่ั ไว้สามารถ นากลบั มาทางานซ้าใหม่ได้ถ้าตอ้ งการ คือหลักการทางานวนซา้ หรือท่ีเรียกว่า Loop เคร่ืองมือ คานวณท่ีถกู พฒั นาขึ้นในศตวรรษที่ 19 น้ัน ทางานกับเลขฐานสิบ แตเ่ ม่ือเร่ิมต้นของศตวรรษที่ 20 ระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูกพัฒนาขึ้นเป็นลาดับ จึงทาให้มีการเปล่ียนแปลงมาใช้เลขฐานสอง กับระบบคอมพวิ เตอร์ ท่เี ป็นผลสืบเนอื่ งมาจากหลักของพีชคณติ
พ.ศ. 2397 (George Boole) จอรช์ บลู นกั คณิตศาสตรช์ าวองั กฤษ เป็นผู้คิดค้นกฎของพีชคณิตบูลีน ท่ีใช้ อธิบายเหตุผลของตรรกวิทยาที่ตัวแปรมีค่าได้เพียง “จริง” หรือ “เท็จ” เท่าน้ัน ในสภาวะเพียง 2 อย่าง คือ O กับ 1 และเคร่ืองหมายในเชิงตรรกะพ้ืนฐาน AND OR และ NOT
พ.ศ. 2423 (Herman Hollerith) เฮอร์แมน ฮอลเลอริท นักสถิตชิ าวอเมรกิ ัน ได้ประดิษฐ์เครื่องประมวลผลทางสถิติ เคร่ืองแรก ซึ่งใช้กับบัตรเจาะรู ซ่ึงได้ถูกนามาใช้ใน งานสารวจสามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา เรียก บัตรเจาะรูนี้ว่า บัตรฮอลเลอริท หรือบัตรไอบีเอ็ม เพราะผูผ้ ลติ คอื บรษิ ทั ไอบีเอ็ม
พ.ศ. 2480 (Howard H. Aiken) โฮเวิร์ด เอช. ไอเกน นักคณิตศาสตร์และวิศวกร ได้พัฒนาเคร่ืองคานวณตามแนวคิดของแบ็บ เบจ ร่วมกับวิศวกรของบริษัท ไอบีเอ็มได้สาเร็จโดยเคร่ืองจะ ทางานแบบเคร่ืองจักรกลปนไฟฟ้าและใช้บัตรเจาะรูเป็นส่ือ ในการนาข้อมูลเข้าสู่เคร่ืองเพ่ือทาการประมวลผล เคร่ืองมือ น้ีมชี ื่อว่า Automatic Sequence Controlled Calculator (ASCC) หรือเรียกกันโดยท่ัวไปว่า MARK I Computer และ นับเป็นเคร่ืองคานวณแบบอัตโนมตั เิ ครอ่ื งแรกของโลก
พ.ศ. 2486 (John Mauchly and Presper Eckert) จอหน์ เมาคลี และ เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ต ชาวอเมรกิ นั เป็นช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ศูนย์วิจัยของกองทัพบก สหรัฐอเมริกา ต้องการเคร่ืองคานวณหาทิศทางและระยะทางในการ ส่งขีปนาวุธ ซ่ึงถ้าใช้เคร่ืองคานวณสมัยนั้นจะต้องใช้เวลาถึง 12 ชม. ตอ่ การยิง 1 ครั้ง และสร้างคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกสข์ ้ึนมา มีชื่อว่า ENIAC (Electronic Numerical Integrator and Computer) สาเร็จในปี 2489 โดยนาหลอดสุญญากาศจานวน 18,000 หลอดมา ใช้ในการสรา้ ง ซึง่ มีข้อดคี ือ ทาให้เคร่ืองมีความเรว็ และมคี วามถกู ตอ้ ง แม่นยาในการคานวณมากขนึ้
พ.ศ. 2492 (Dr. John Von Neumann) จอหน์ ฟอน นอยมันน์ นกั คณิตศาสตร์ชาวอเมรกิ ัน ได้พบวธิ ีการเกบ็ โปรแกรมไว้ในหน่วยความจา ของเครอ่ื งได้สาเรจ็ เคร่อื งคอมพิวเตอรท์ ถ่ี ูกพฒั นาขึน้ ตามแนวคิด นี้ได้แก่ EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer) และนามาใช้งานจริงในปี 2494 และในเวลาเดียวกันมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ก็ได้มีการสร้างคอมพิวเตอร์ในลักษณะคล้ายกับเครื่อง EDVAC นี้ และให้ช่ือว่า EDSAC (Electronic Delay Storage Automatic Calculator) มีลักษณะการ ทางานเหมือนกับ EDVAC คือเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยความจา แต่มีลักษณะพิเศษท่ีแตกต่างออกไปคือ ใช้เทปแม่เหล็กในการบันทึกข้อมูลต่อมา ศาสตราจารย์แอคเคิทและมอชลี ได้ร่วมมือกันสร้างเครื่อง คอมพิวเตอร์อีก ชื่อว่า UNIVAC I (Universal Automatic Calculator) ซ่ึงผลิตขนึ้ มาเพ่ือขายหรอื เช่า เป็นเครื่องแรกท่ีออกสู่ตลาดซ่ึงทาให้คอมพิวเตอร์ขยายตัวออกไปในภาคเอกชน และเร่ิมมีการซ้ือขาย คอมพิวเตอรเ์ พอื่ ใชง้ านกันอยา่ งแพรห่ ลาย และววิ ฒั นาการเรอ่ื ยมาจนถงึ ปัจจุบัน
ยคุ ของคอมพิวเตอร์ การพัฒนาการของคอมพิวเตอร์น้ันกว่าจะมาเป็นเคร่ือง คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีการพัฒนาการจากลูกคิด หลอด สุญญากาศ ตลอดจนพัฒนาให้มีขนาดเล็กลง และมปี ระสทิ ธิภาพเพ่มิ มาดขึน้ โดยจะแบ่ง ออกเป็นแต่ละยคุ ดงั นี้
ยคุ ท่ี 1 หรอื ยุคหลอดสุญญากาศ (vacuum tube) คอมพิวเตอร์ยุคแรกจะใช้หลอดสุญญากาศเป็น อุปกรณ์สาคัญซ่ึงใช้กาลังไฟฟ้าสูงทาให้เกิดปัญหาด้านความ ร้อนและหลอดขาดง่าย ภาษาท่ีใช้เพ่ือส่ังให้คอมพิวเตอร์ ทางานต้องเป็นภาษาเคร่ืองจะเป็นตัวเลขท้ังส้ินและใช้งาน ลาบาก ตวั อย่างของคอมพวิ เตอร์ ดงั น้ี
Mark-I
ENIAC
UNIVAC
ยคุ ท่ี 2 หรอื ยคุ ทรานซสิ เตอร์ (Transistor) ยุคที่ 2 จะมีนักวิทยาศาสตร์ 3 คน จากห้องปฏิบัติการ เบลล์ แห่งสหรัฐอเมริกา ได้คิดค้นประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ขึ้นมา เป็นผลสาเร็จ ซ่ึงทรานซิสเตอร์นี้เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ี สามารถใช้แทนหลอดสุญญากาศได้ และมีขนาดเล็กลงมีขนาด 1 ใน 100 ของหลอดสญุ ญากาศเทา่ นนั้
ลกั ษณะของคอมพวิ เตอร์ยคุ ทรานซิสเตอร์ 1. อุปกรณ์ทรานซิสเตอร์ สร้างจากกิ่งตัวนา และทรานซิสเตอร์ นัน้ มปี ระสิทธภิ าพมากกวา่ หลอดสญุ ญากาศ 2. มอี ปุ กรณ์เกบ็ ข้อมูลสารองในรปู ของส่อื บนั ทกึ แม่เหล็ก 3. มีความเรว็ ในการประมวลผลในหนึ่งคาสั่ง ประมาณ 1 ในพัน ของวินาที 4. สั่งงานไดส้ ะดวกมากขนึ้ โดยใชภ้ าษาแอสเซมบลี 5. เรมิ่ พฒั นาภาษาคาสั่งระดับสูงข้ึน
ยคุ ที่ 3 หรอื ยุควงจรรวม (IC : Integrated Circuit) เกิดการพัฒนาวิธีการสร้างทรานซิสเตอร์จานวนมาก ลงบนแผ่นซิลิคอนขนาดเล็ก และเกิดเป็นวงจรรวมบนแผ่น ซิลคิ อน ทเ่ี รียกว่า ไอซี และได้เกิดแนวความคิดการนาวงจร มารวมกัน จนเกดิ เปน็ ชิป (Chip)
ยคุ ท่ี 4 ยุควงจรรวมที่มีขนาดใหญ่ หรอื (VLSI : Very large-scale integration) เกิดการสร้างเป็ นวงจรขนาดใหญ่มารวมในแผ่น ซิลิคอนขนาดเล็ก โดยที่เป็ นวงจรรวมที่นาทรานซิสเตอร์ จานวนลา้ นตวั มารวมกนั และผลิตเป็ นหน่วยประมวนผลท่ีซับซ้อนเรียกว่า “ไมโครโพรเซสเซอร์” จากน้นั สามารถผลิตเครื่อง คอมพวิ เตอร์ข้ึนมาและมีขนาดเลก็ ลง
ยคุ ท่ี 5 หรอื ยคุ เทคโนโลยีปญั ญาประดษิ ฐ์ (AI : Artificial Intelligence) เ กิ ด ก า ร น า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ม า ใ ช้ใ น ก า ร ตดั สินใจและแกป้ ัญหาต่างๆ ใหด้ ียงิ่ ข้ึน และเกิด การคิ ดค้นนวัตกรรมต่างๆ และเกิ ดเป็ น เทคโนโลยีที่ทนั สมยั มากข้ึน เพื่อมาช่วยในการ อานวยความสะดวกของมนุ ษย์ และเกิ ด เทคโนโลยปี ัญญาประดิษฐ์ข้ึน ที่รวบรวมความรู้ มากมาย
ประวตั คิ วามเป็ นมาของคอมพวิ เตอร์ในประเทศไทย ประเทศไทยเร่ิมมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2508 โดยท่ีคอมพิวเตอร์เคร่ืองแรกใน ประเทศไทย ได้ติดต้ังที่ ภาควิชาสถิติ คณะ พ า ณิ ช ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ก า ร บั ญ ชี จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ มหาวิทยาลัยเม่ือเดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2506 เคร่ือง คอมพวิ เตอรน์ ี้ชื่อวา่ IBM 1620
IBM 1620
ประวตั ิความเป็ นมาของคอมพวิ เตอร์ในประเทศไทย มลู ค่าของคอมพิวเตอรไ์ อบีเอ็ม 1620 ในขณะนั้นราคาประมาณ 2 ล้านบาทกว่า เพ่ือใช้ในงานการสอนและบริการวิชาครู ปัจจุบันเครื่องนี้ไม่ได้ใช้งานแล้ว ต้ังอยู่ที่ศูนย์ บริภัณฑ์เพ่ือการศึกษาท้องฟ้าจาลอง และส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องที่ 2 ติดต้ังท่ี สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ ในเดอื นมนี าคม พ.ศ. 2507 คือ ไอบีเอ็ม 1401 ราคาประมาณ 8 ลา้ นบาท
ประวตั คิ วามเป็ นมาของคอมพวิ เตอร์ในประเทศไทย ผู้ท่ีมีส่วนสาคัญอย่างย่ิงในการริเร่ิมให้เกิด การดาเนินการให้มคี อมพิวเตอรใ์ นประเทศไทย คือ ศาสตราจารย์บัณฑิต กันตะบุตร ซึ่งเป็นท้ังหัวหน้า ภาควชิ าสถติ แิ ละเลขาธกิ ารสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ
ประวตั คิ วามเป็ นมาของคอมพวิ เตอร์ในประเทศไทย พ.ศ. 2507 เร่มิ นาคอมพิวเตอร์เข้าไปใช้ในธุรกิจขนาดใหญ่ พ.ศ. 2517 ตลาดหลกั ทรพั ยน์ าคอมพิวเตอรเ์ ขา้ ไปช่วยงาน พ.ศ. 2522 ไมโครคอมพิวเตอร์เริ่มเข้าสู่ประเทศไทย และได้รับความนิยมอย่าง กวา้ งขวางธรุ กิจขนาดเลก็ เร่มิ ตืน่ ตัว และนาคอมพวิ เตอร์มาใชง้ าน พ.ศ. 2525 ในวงการธุรกจิ การศึกษาคอมพวิ เตอร์ขยายตวั อยา่ งแพร่หลาย
ลกั ษณะสาคญั ของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ 1. ความเป็นอัตโนมัติ 2. ความเร็ว 3. ความเชอ่ื ถอื ได้ 4. ความแม่น 5. ความสามารถเก็บขอ้ มูลจานวนมากๆ ได้ 6. การส่ือสาร 7. ทางานซา้ ๆ ได้
ข้อจากดั ของคอมพวิ เตอร์ 1. ต้องใชพ้ ลังงานไฟฟ้า 2. ตอ้ งข้นึ อย่กู บั การทางานของมนษุ ย์ 3. ต้องใช้เวลาในการศึกษาวิธใี ชง้ าน 4. ตอ้ งมกี ารปรับเปลี่ยนในทนั สมยั อยูเ่ สมอ
ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์ 1. ใช้สาหรับจดั ทาเอกสารตา่ งๆ 2. ใชใ้ นการสร้างความบันเทงิ 3. ใชใ้ นการแก้ปัญหา 4. ใชค้ อมพิวเตอร์ในการผลิตส่อื การเรยี นการสอน 5. ใช้ในการตดิ ตอ่ สอ่ื สารและสบื ค้นขอ้ มลู ต่างๆ ผ่านระบบเครอื ขา่ ย
ความหมายของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ (computer) เป็นอุปกรณ์ทาง ไฟฟ้าชนิดหนึ่งท่ีสามารถจาข้อมูลต่างๆ ได้ สามารถคิด คานวณตัวเลข สามารถตอบสนองต่อการกระทาของผู้ ใช้ได้ และมีความสามารถในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า บางชนิด เพื่อส่ังให้อุปกรณ์ไฟฟ้าเหล่านั้นทางานตาม คาส่ังได้
ความหมายของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ ตามความหมายพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (ล่าสุด 2554) หมายถึง เคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติทา หน้าท่ีเสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทัง้ ท่ีงา่ ยและซับซอ้ น โดยวธิ ีการทางคณติ ศาสตร์
ความหมายของคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) คอมพิวเตอร์ ความหมายตามนักวิชาการหลาย ท่านที่ได้ให้ความหมาย โดยสรุปแล้ว หมายถึง เครื่อง คานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทาการคานวณ ประมวลผล และเปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วย ความเรว็ สงู อยา่ งต่อเนอื่ งและอตั โนมตั ิ
ข้นั ตอนการทางานของคอมพวิ เตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในปัจจุบนั ประกอบดว้ ยวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ท่ี เรียกวา่ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) องคป์ ระกอบหลกั 5 ส่วนดงั น้ี ➢หน่วยรับเขา้ หรอื อนิ พตุ (Input Unit) ➢หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ➢หนว่ ยความจาหลัก (Main Memory) ➢หนว่ ยความจารอง (Secondary Memory) ➢หน่วยสง่ ออก หรือ เอาต์พุต (Output Unit)
หลกั การทางานของคอมพวิ เตอร์ หน่วยความจารอง หน่วยรับเข้า หน่วยประมวลผล หน่ วยส่ งออก หน่วยความจาหลกั
1. หน่วยรับเข้า เป็นส่วนที่ใช้รับข้อมูลและคาสั่งขอ้ มูลของผูใ้ ช้เขา้ สู่เครื่อง คอมพิวเตอร์เพ่อื นำไปประมวลผล
2. หน่วยประมวลผลกลาง เปรียบเสมือนศนู ยก์ ลำงของคอมพิวเตอร์ ทำหนำ้ ท่ีประมวลผล คำส่งั หรอื ตำมโปรแกรมกำหนดไว้ โดยโปรแกรมและขอ้ มลู ต่ำงๆ จะ ถกู เก็บไวใ้ นหน่วยควำมจำและสง่ ผลลพั ธท์ ี่ไดม้ ำแสดงผลตอ่ ไป
2.1 หน่วยควบคุมหรือซียู ทำหนำ้ ที่ควบคมุ ลำดบั ขน้ั ตอนกำรทำงำนของแต่ละหนว่ ย และ รวมไปถึงกำรแปลคำส่งั ดว้ ย
2.2 หนว่ ยคานวณและตรรกะหรือ ALU : Arithmetic logic unit ทาหนา้ ท่ีคานวณหาตวั เลขต่างๆ
2.3 หน่วยความจาหรือเรจิสเตอร์ หน่วยความจาขนายย่อยท่ีเก็บผลจากการคานวณ โดยแยกพ้ืนที่ส่วน หน่ึงของหน่วยความจาภายในไมโครโพรเซสเซอร์มาใช้
3. หน่วยความจาหลกั เป็นหน่วยเก็บขอ้ มูลท่ีมีควำมเร็วในกำรเข้ำถึงข้อมูลสูงและ จำเป็นตอ้ งมีในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพรำะเป็นองคป์ ระกอบที่ทำให้ เคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ำงำนได้ และหนำ้ ท่ีของหน่วยควำมจำหลกั ใน ระบบคอมพิวเตอร์ ไดแ้ ก่ ใช้เป็นท่ีเก็บก่อนนำไปประมวลผล เก็บ คำส่งั ของโปรแกรมขณะใชง้ ำน และเก็บผลลพั ธท์ ี่ไดจ้ ำกประมวลผล ก่อนไปแสดงผล
- หน่วยความจาอ่านอย่างเดียว หรือ รอม (Read-Only Memory) เป็ นหน่วยความจาแบบสารก่ึงตวั นาชว่ั คราวชนิดอ่านไดอ้ ยา่ งเดียว ใชเ้ ป็ น ส่ือบนั ทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบนั ทึกซ้าได้ เป็ นหน่วยความจาที่มี ซอฟต์แวร์หรือขอ้ มูลอยู่แลว้ และพร้อมที่จะนามาต่อกบั ไมโครโพรเซสเซอร์ได้ โดยตรง หน่วยความจาประเภทน้ีแมไ้ ม่มีไฟเล้ียงต่ออยู่ ขอ้ มูลก็จะไม่หายไปจาก หน่วยความจา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178