Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร กลุ่มอาชีพอุสาหกรรม เล่ม3

หลักสูตร กลุ่มอาชีพอุสาหกรรม เล่ม3

Description: หลักสูตร กลุ่มอาชีพอุสาหกรรม เล่ม3

Search

Read the Text Version

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ตามหลักสตู รการออกแบบ/พฒั นาบรรจุภณั ฑอ์ ยา่ งงา่ ย ท่ี เร่ือง จุดประสงค์การ เนื้อหา การจดั กระบวนการ จำนวนชัว่ โมง 1 การออกแบบ เรยี นรู้ เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ บรรจุภัณฑ์ ผู้เรียนมคี วามรูแ้ ละ 1. ความหมายของการ 1. การบรรยาย (เอกสาร 2 - ความเขา้ ใจเกีย่ วกับ 2 ประเภท ความหมาย ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ประกอบ) บรรจภุ ัณฑ์ ความสำคัญ บทบาท และหนา้ ท่ขี อง 2. ความสำคญั ของการ 1.1 ใบความรูเ้ รื่อง บรรจุภณั ฑ์ บรรจภุ ัณฑ์ ความรู้ทัว่ ไปในการ ผ้เู รียนมีความรแู้ ละ ความเข้าใจเก่ียวกบั 3. บทบาทและหน้าที่ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ประเภทของ บรรจภุ ณั ฑ์ ของบรรจภุ ณั ฑ์ 2. การฝึกปฏิบัติ ใบงาน เรอ่ื ง ความรใู้ นการ ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รว่ มกันในการออกแบบ บรรจุภณั ฑ์ 1. การแบง่ ประเภท 1. การบรรยาย (เอกสาร 2 - บรรจภุ ัณฑต์ ามวิธี ประกอบ) บรรจุและวธิ ีการขนถ่าย 1.1 ใบความรเู้ รอื่ ง 2. การแบง่ ประเภท ประเภทบรรจภุ ัณฑ์ บรรจภุ ณั ฑต์ ามวสั ดุ 2. การฝึกปฏบิ ตั ิ 2.1 ประเภท ใบงานเรื่อง ประเภท บรรจุภณั ฑก์ ระดาษ บรรจภุ ณั ฑ์ 2.2 ประเภท 3. การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ บรรจุภณั ฑ์ท่ีไมใ่ ช่ ร่วมกนั ต่อประเภท กระดาษ บรรจุภัณฑ์ 3 หลักการ ผู้เรยี นมคี วามรูแ้ ละ 1. วตั ถุประสงค์ 1. การบรรยาย (เอกสาร 2 6 ออกแบบ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ประกอบ) บรรจุภัณฑ์ หลักการออกแบบ 2. องค์ประกอบของ บรรจุภัณฑ์ การออกแบบ 1.1 ใบความรู้เรื่อง หลักการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ 2

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 3 ท่ี เรือ่ ง จุดประสงค์การ เนอ้ื หา การจดั กระบวนการ จำนวนชั่วโมง เรยี นรู้ เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ บรรจุภัณฑ์ 2. การฝึกปฏิบัติ 26 3. ขน้ั ตอนการหาข้อมูล ใบงานเร่ือง หลักการ 26 ในการออกแบบ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ 3. การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 4. ขัน้ ตอนการวาง รว่ มกนั ต่อหลกั การ แผนการออกแบบ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ 5. เทคนคิ การออกแบบ บรรจุภณั ฑ์ 6. ข้นั ตอนการ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ 7. การออกแบบ บรรจุภณั ฑ์ 8. สีบนบรรจุภณั ฑ์ 4 การสร้าง 1. ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ 1. การออกแบบ 1. การบรรยาย (เอกสาร ตน้ แบบ และเข้าใจการสร้าง บรรจุภณั ฑ์ ประกอบ) บรรจภุ ณั ฑ์ ต้นแบบบรรจุภณั ฑ์ 1.1 กระบวนการ 1.1 ใบความรู้เรอื่ ง อย่างงา่ ย อยา่ งงา่ ย ออกแบบโครงสรา้ ง การสร้างต้นแบบ 2. ผู้เรียนมคี วามรู้ บรรจุภณั ฑ์ บรรจภุ ัณฑ์อย่างงา่ ย และเขา้ ใจวธิ ีสร้าง 1.2 การออกแบบ 2. การฝึกปฏิบัติ รูปทรงบรรจภุ ณั ฑ์ กราฟิก ใบงานเร่อื ง การสร้าง 3. ผู้เรียนมีความรู้ 2. วธิ ีสรา้ งรปู ทรง ตน้ แบบบรรจุภัณฑ์ และเข้าใจการคำนวณ บรรจภุ ณั ฑ์ อย่างง่าย ตน้ ทุนการผลิต 3. การคำนวณต้นทุน 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อยา่ งงา่ ย การผลติ อย่างง่าย ร่วมกันตอ่ การสร้าง ตน้ แบบบรรจภุ ัณฑ์ อย่างง่าย 5 การสรา้ งตรา 1. ผเู้ รยี นมีความรู้ 1. ความรเู้ บอ้ื งต้น 1. การบรรยาย (เอกสาร สินค้า (Brand และเข้าใจการสร้าง เกีย่ วกบั ตราสนิ คา้ ประกอบ) Building) ตราสินคา้ (Brand (Brand Building) เพอื่ การรบั รู้ Building) เพ่ือการ เพอ่ื การรับรู้ 3

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 4 ท่ี เรื่อง จุดประสงค์การ เน้อื หา การจดั กระบวนการ จำนวนชัว่ โมง เรยี นรู้ เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 6 การสรา้ ง 2. กฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง อตั ลักษณ์ รบั รู้ และกฎหมายที่ เชน่ กฎหมายลิขสิทธิ์ 1.1 ใบความรเู้ ร่ือง การ 26 บรรจภุ ัณฑ์ เกยี่ วขอ้ ง ฉลาก มาตรฐานการ สรา้ งตราสนิ คา้ (Brand 2. ผเู้ รยี นมีทกั ษะใน บรรจุภัณฑ์ Building) เพ่ือการรบั รู้ 2- 7 การสร้าง การออกแบบตรา 2. การฝกึ ปฏิบัติ คุณคา่ ใน สินคา้ (Brand 1. ความหมาย ใบงานเรือ่ ง การสร้างตรา บรรจภุ ณั ฑ์ Building) อัตลักษณ์ สนิ คา้ (Brand Building) 2. วิธคี ัดเลือกอัตลักษณ์ เพ่ือการรับรู้ 1. ผ้เู รียนมคี วามรู้ ทีเ่ หมาะสมในการสรา้ ง 3. การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และเขา้ ใจการสร้าง บรรจุภัณฑ์ รว่ มกนั ตอ่ การสรา้ งตรา อตั ลกั ษณบ์ รรจภุ ัณฑ์ 3. วธิ กี ารศกึ ษา สนิ ค้า (Brand Building) ให้สอดคล้องกบั อตั ลกั ษณ์ชุมชนจาก เพ่อื การรบั รู้ บรบิ ทพ้นื ท่ี ภมู ิปัญญาชาวบ้าน 1. การบรรยาย (เอกสาร 2. ผ้เู รยี นสามารถนำ 4. กรณศี กึ ษาการ ประกอบ) ความรู้ ไปสรา้ ง ออกแบบอตั ลักษณบ์ น อตั ลกั ษณ์บรรจุภณั ฑ์ บรรจุภณั ฑ์ 1.1 ใบความรูเ้ รอ่ื ง การ 1. คุณค่าด้านความงาม สรา้ งอตั ลักษณ์บรรจุภณั ฑ์ ผ้เู รยี นมคี วามรแู้ ละ ของบรรจภุ ณั ฑ์ 2. การฝึกปฏิบัติ เข้าใจการสร้างคณุ ค่า 2. คณุ คา่ ด้านประโยชน์ ใบงานเรื่อง การสรา้ ง ในบรรจุภณั ฑ์ ใชส้ อย อตั ลักษณบ์ รรจุภัณฑ์ 3. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ รว่ มกันต่อการสร้าง อตั ลกั ษณ์บรรจภุ ณั ฑ์ 1. การบรรยาย (เอกสาร ประกอบ) 1.1 ใบความรู้เรอื่ ง การ สร้างคณุ ค่าในบรรจภุ ณั ฑ์ 2. การฝึกปฏิบตั ิ ใบงานเร่ือง การสร้าง คณุ ค่าในบรรจภุ ณั ฑ์ 4

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 5 ที่ เร่อื ง จุดประสงค์การ เน้ือหา การจัดกระบวนการ จำนวนชั่วโมง เรยี นรู้ 8 ความ 1. ความปลอดภัยด้าน เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ ปลอดภัยของ ผเู้ รียนมีความรคู้ วาม การใช้สอย บรรจภุ ณั ฑ์ เข้าใจด้านความ 2. ความปลอดภยั ดา้ น 3. การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ปลอดภัยของ สขุ ภาพ บรรจภุ ณั ฑ์ 3. ความปลอดภัยดา้ น รว่ มกนั ตอ่ การสรา้ งคุณค่า ผลกระทบต่อ สงิ่ แวดล้อม ในบรรจภุ ัณฑ์ 4. ความปลอดภัยดา้ น การขนส่ง 1. การบรรยาย (เอกสาร 2 - ประกอบ) 1.1 ใบความร้เู ร่ือง ความปลอดภยั ของ บรรจภุ ณั ฑ์ 2. การฝึกปฏิบตั ิ ใบงานเร่อื ง ความ ปลอดภัยของบรรจภุ ัณฑ์ 3. การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ รว่ มกนั ตอ่ ความปลอดภยั ของบรรจุภณั ฑ์ รวม 16 24 รวมท้ังส้ิน 40 5

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย ตารางสรุปสอ่ื การเรียนรู้ประกอบการจดั กระบวนการเรียนรู้ 6 ตามหลกั สูตรการออกแบบ/พฒั นาบรรจุภณั ฑอ์ ย่างง่าย หนา้ เรือ่ งที่ เนือ้ หา สอ่ื ประกอบการจดั 9 กระบวนการเรยี นรู้ 12 13 1 1.1 ความหมายของการออกแบบ 1. ใบความรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง ความรู้ใน 14 22 บรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 23 26 1.2 ความสำคัญของการบรรจภุ ณั ฑ์ 2. ใบงานที่ 1 เร่ือง ความรใู้ นการ 35 36 1.3 บทบาทและหนา้ ทข่ี องบรรจภุ ัณฑ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ 40 3. แนวคำตอบ 50 51 2 2.1 การแบ่งประเภทบรรจภุ ณั ฑ์ตามวธิ ี 1. ใบความร้ทู ี่ 2 เรื่อง ประเภท บรรจุและวิธีการขนถ่าย บรรจภุ ณั ฑ์ 2.2 การแบง่ ประเภทบรรจภุ ณั ฑ์ตามวสั ดุ 2. ใบงานที่ 2 เร่ือง ประเภท 1) ประเภทบรรจุภณั ฑก์ ระดาษ บรรจภุ ณั ฑ์ 2) ประเภทบรรจภุ ัณฑท์ ไ่ี ม่ใช่ 3. แนวคำตอบ กระดาษ 3 3.1 วตั ถุประสงค์ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ 1. ใบความรทู้ ี่ 3 เร่อื ง หลักการ 3.2 องคป์ ระกอบของการออกแบบ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ 2. ใบงานที่ 3 เรอ่ื ง หลกั การ 3.3 ขน้ั ตอนการหาข้อมูลในการ ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ 3. แนวคำตอบ 3.4 ข้ันตอนการวางแผนการออกแบบ บรรจุภณั ฑ์ 3.5 เทคนิคการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 3.6 ข้นั ตอนการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 3.7 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3.8 สบี นบรรจุภัณฑ์ 4 4.1 การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 1. ใบความรทู้ ี่ 4 เรื่อง การสร้าง 1) กระบวนการออกแบบโครงสร้าง ต้นแบบบรรจุภัณฑ์อยา่ งงา่ ย บรรจุภัณฑ์ 2. ใบงานที่ 4 เรอ่ื ง การสรา้ ง 2) การออกแบบกราฟิก ตน้ แบบบรรจภุ ณั ฑ์อย่างงา่ ย 4.2 วิธสี รา้ งรปู ทรงบรรจภุ ณั ฑ์ 3. แนวคำตอบ 4.3 การคำนวณตน้ ทนุ การผลิตอย่างง่าย 6

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 7 เรื่องที่ เนอื้ หา สอ่ื ประกอบการจดั หนา้ 5 5.1 ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับตราสินค้า กระบวนการเรยี นรู้ 56 1. ใบความรทู้ ่ี 5 เรื่อง การสรา้ งตรา 68 (Brand Building) เพอ่ื การรับรู้ สินค้า (Brand Building) เพอ่ื การรบั รู้ 69 71 5.2 กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง เชน่ กฎหมาย 2. ใบงานที่ 5 เรือ่ ง การสร้างตรา 94 ลขิ สิทธิ์ ฉลาก มาตรฐานการ สนิ ค้า (Brand Building) เพอ่ื การรับรู้ 95 บรรจภุ ณั ฑ์ 3. แนวคำตอบ 97 6 6.1 ความหมายอัตลกั ษณ์ 1. ใบความรทู้ ี่ 6 เรอื่ ง การสร้าง 102 103 6.2 วธิ ีคดั เลือกอัตลกั ษณท์ เี่ หมาะสมใน อัตลักษณบ์ รรจภุ ณั ฑ์ 105 119 การสร้างบรรจุภัณฑ์ 2. ใบงานท่ี 6 เรอื่ ง การสร้าง 120 6.3 วธิ ีการศกึ ษาอัตลักษณช์ มุ ชนจาก อตั ลักษณ์บรรจภุ ณั ฑ์ ภมู ปิ ญั ญาชาวบา้ น 3. แนวคำตอบ 6.4 กรณีศึกษาการออกแบบอตั ลักษณ์ บนบรรจภุ ณั ฑ์ 7 7.1 คณุ คา่ ด้านความงามของ 1. ใบความรทู้ ่ี 7 เรอ่ื ง การสร้าง บรรจภุ ณั ฑ์ คณุ คา่ ในบรรจุภณั ฑ์ 7.2 คุณค่าด้านประโยชน์ใชส้ อย 2. ใบงานท่ี 7 เร่อื ง การสร้างคุณคา่ ในบรรจภุ ัณฑ์ 3. แนวคำตอบ 8 8.1 ความปลอดภยั ดา้ นการใชส้ อย 1. ใบความร้ทู ่ี 8 เร่ือง ความ 8.2 ความปลอดภัยด้านสขุ ภาพ ปลอดภัยของบรรจุภัณฑ์ 8.3 ความปลอดภัยดา้ นผลกระทบต่อ 2. ใบงานที่ 8 เร่อื ง ความปลอดภัย ส่งิ แวดล้อม ของบรรจภุ ัณฑ์ 8.4 ความปลอดภยั ด้านการขนส่ง 3. แนวคำตอบ 7

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่อง ความร้ทู ัว่ ไปในการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ในการเลือกซื้อสินค้า สิ่งที่ลูกค้าจะได้สัมผัสเป็นด่านแรก คือ บรรจุภัณฑ์ที่ห่อหุ้มสินค้า การออกแบบ บรรจภุ ณั ฑ์ทีส่ วยงาม ดดู ี มีความประณตี กลมกลนื ในทุก ๆ ส่วน จะชว่ ยดงึ ดดู ความสนใจของลกู คา้ ใหเ้ ข้ามาเลือก ซื้อสินค้านั้น ๆ อันจะช่วยเพิ่มยอดขายของสินค้าได้อีกทางหนึ่ง ดังนั้น ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ จึงมี ความสำคญั เช่นเดยี วกับผลติ ภณั ฑ์หรอื สนิ ค้าทีต่ ้องการจำหน่าย การออกแบบบรรจุภัณฑ์ จึงต้องคำนึงถึงศาสตร์และศิลป์สำหรับใช้แก้ปัญหาการออกแบบบรรจุภัณฑ์แต่ละ ด้านให้เกิดผลลัพธ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ตามหลักของบรรจุภัณฑ์สองข้อ คือ การออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ และการออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ มีรายละเอียดที่ต้องคำนึง ท้ังทฤษฎีและหลักการทีเ่ ก่ียวข้อง ดังนั้น การบรรจุภัณฑ์มีหลายลักษณะ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการบรรจุภัณฑ์ของตัวสินค้านั้น ๆ ว่า ผู้ประกอบการหรือผู้ผลิตจะต้องพิจารณาลักษณะที่สำคัญประกอบด้วยหลัก 4 ประการ คือ การรองรับรวบรวม การปกป้องคุ้มครอง ความสะดวกสบายในการใช้สอยและการผลิต และสื่อประชาสัมพันธ์ให้กับตัวผลิตภัณฑ์ ดงั กลา่ ว ก่อนนำไปเลือกใชบ้ รรจุภัณฑ์ (ทม่ี าของภาพประกอบ : กลุ่มพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา) 8

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 9 1. ความหมายของการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ความหมายของการออกแบบ ผเู้ ชย่ี วชาญไดน้ ิยามความหมายของการออกแบบ (Design) ไว้ ดงั นี้ [1] กูด (Good 1973 : 165) กล่าวว่า การออกแบบ เป็นการวางแผนหรือกำหนดรูปแบบรวมท้ัง การตกแตง่ ในโครงสร้างรปู ทรงของงานศลิ ปะ ทศั นศลิ ปด์ นตรี ตลอดจนวรรณกรรม พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ (2530 : 596) การออกแบบ คือ การทำเป็นตน้ แบบ ทำเป็นแผนผงั วิรุณ ตั้งเจริญ (2539 : 20) กล่าวว่า การออกแบบ หมายถึง การวางแผนสร้างสรรค์รูปแบบ โดยการวางแผนจดั ส่วนประกอบของการออกแบบให้สัมพันธ์กบั ประโยชน์ใชส้ อย วสั ดุ และการผลิต ความหมายของบรรจุภัณฑ์ นยิ ามของคำวา่ บรรจภุ ณั ฑ์ (Packaging) มีนักวิชาการและผู้เช่ียวชาญ ไดก้ ล่าวไว้ ดงั นี้ [2] กองส่งเสริมอุตสาหกรรม (2517 : 19) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ หมายถึง ภาชนะที่ใช้ในการขนส่ง ผลิตภณั ฑไ์ ปยังแหลง่ ใชป้ ระโยชน์ โดยความประหยัดและปลอดภยั จรูญ โกสีย์ไกรนิรมล (2528 : 109) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ คือการนำเอาวัสดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ไม้ ประกอบเป็นภาชนะห่อหุ้มสินคา้ เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยท่ีมคี วามแข็งแรง สวยงาม ได้สดั สว่ นท่ีถกู ต้องสรา้ งภาพพจน์ทีด่ ี มีภาษาในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร และทำให้เกิดความพึงพอใจ จากผ้ซู อ้ื สนิ ค้า นิไกโด เคล็คเจอร์ (Nikaido Clecture) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์เปน็ เทคนิคที่ส่งเสริมการขายกับการประสาน ประโยชน์ระหว่างวตั ถุกับภาชนะบรรจุ โดยมคี วามมงุ่ หมายเพ่ือการคุ้มครองในระหว่างการขนสง่ และการเก็บรักษาในคลงั ประชิด ทิณบุตร (2531 : 20) กล่าวว่า บรรจุภัณฑ์ หมายถึง หน่วยรูปแบบของวตั ถุภายนอกของ ผลติ ภัณฑท์ ีท่ ำหนา้ ท่ีปกป้องคุ้มครองหรือห่อหุ้มผลิตภัณฑภ์ ายในไมใ่ หเ้ กดิ ความเสียหาย สะดวกในการขนส่งและ เออื้ ประโยชนใ์ นทางการค้าและต่อการบริโภค บรรจุภัณฑ์หรือการบรรจุหีบห่อ [2] หมายถึง ศาสตร์และศิลป์ที่ใช้ในการบรรจุสินค้า โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และเป็นมติ รกบั ส่ิงแวดล้อม เพ่อื คุ้มครองปกป้องสินคา้ จากผู้ผลิตจนถึงมือลูกคา้ อย่างปลอดภยั ดว้ ยต้นทุนการผลติ ทีเ่ หมาะสม จากความหมายสรุปได้ว่า บรรจุภัณฑ์ หมายถึง เรื่องของวิทยาศาสตร์ และเรื่องของศิลปะที่ใช้เพ่ือ การบรรจุสินค้าโดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย ไม่เกิดความเสยี หายกับสิ่งแวดลอ้ ม และบรรจุภณั ฑ์นั้นจะต้องปกป้อง ตัวสินค้าให้อยู่ในสภาพที่ดีจากแหล่งผลติ จนถึงมือลูกค้าโดยไม่ให้ได้รบั ความเสียหาย ทั้งนี้บรรจุภัณฑ์นัน้ ๆ จะต้องมี ตน้ ทุนของการผลติ ท่ีไมส่ ูงจนเกินไป การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (packaging design) หมายถึง การกำหนดรูปแบบและโครงสร้างของ บรรจุภัณฑ์ให้สัมพันธ์กับหน้าที่ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ เพื่อการคุ้มครองป้องกันไม่ให้สินคา้ เสียหายและเพิม่ คุณคา่ ด้านจิตวิทยาต่อผบู้ ริโภค โดยอาศัยท้งั ศาสตร์และศลิ ปใ์ นการสรา้ งสรรค์ .............................................. 1 ความรพู้ ื้นฐานการออกแบบบรรจภุ ัณฑ.์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลำปาง. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก http://netra.lpru.ac.th/~weta/c1/. (วันทส่ี ืบค้นข้อมลู 17 มิถนุ ายน 2564). 2 ความหมายของบรรจุภัณฑ์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://tomzabee.wordpress.com/2015/05/26/ ความหมายของบรรจุภณั ฑ์/. (วันท่ีสบื คน้ ข้อมลู 17 มิถนุ ายน 2564). 9

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 10 2. ความสำคัญของการบรรจุภัณฑ์ [3] ประเทศของเรามีสินค้าที่เป็นผลิตผลทางด้านการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการประมง เช่น ผักสด ผลไม้สด อาหารกระป๋อง และอาหารทะเล เป็นต้น สิ่งที่กล่าวมานี้จะได้รับความเสียหายมากเนื่องจาก สภาวะแวดล้อม อากาศ การขนส่ง ดังนั้น การบรรจุหีบห่อที่เหมาะสมมีส่วนที่จะช่วยลดความเสียหายเหล่านั้นลงได้ ซงึ่ เปน็ การชว่ ยให้ผลผลติ หรือผลิตภณั ฑถ์ ึงมอื ผู้บรโิ ภคในสภาพทดี่ ที ำให้ขายไดใ้ นราคาท่ีสงู ขน้ึ จะเหน็ ได้วา่ การบรรจุภัณฑน์ ั้นมีความสำคญั เปน็ อยา่ งยิ่งต่อผลผลติ สามารถสรปุ ได้ ดังนี้ 1. รักษาคณุ ภาพและปกปอ้ งตัวสินคา้ เร่ิมตงั้ แต่การขนสง่ การเกบ็ ใหผ้ ลผลติ หรอื ผลติ ภัณฑ์เหล่านั้น มิใหเ้ สียหายจากการปนเปื้อนจากฝนุ่ ละออง แมลง คน ความช้นื ความร้อน แสงแดด และการปลอมปน เปน็ ตน้ 2. ความสะดวกในการขนส่ง การจัดเก็บมีความรวดเร็ว เพราะสามารถรวมหน่วยของผลิตภัณฑ์เป็น หน่วยเดียวได้ เช่น ผลไม้หลายผลนำลงบรรจุในกล่องหรือลังเดยี ว เครื่องด่มื ท่ีเปน็ ของเหลวสามารถบรรจุลงในกระป๋อง หรือขวดได้ เปน็ ตน้ 3. ส่งเสริมทางด้านการตลาด บรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจำหน่ายเป็นสิ่งแรกที่ผู้บริโภคเห็น ดังน้ัน บรรจุภัณฑ์จะต้องทำหน้าที่บอกกล่าวสิ่งต่าง ๆ ของตัวผลิตภัณฑ์โดยการบอกข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมดของ ตัวสินค้า และนอกจากนั้นจะต้องมีรูปลักษณ์ที่สวยงามสะดุดตาเชิญชวนให้เกิดการตัดสินใจซื้อ ซึ่งการทำหน้าที่ ดงั กล่าวของบรรจภุ ัณฑน์ ้ันเป็นเสมอื นพนักงานขายท่ีไรเ้ สียง (Silent Salesman) (ทม่ี าของภาพประกอบ : กลุ่มพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) .............................................. 3 การทำความเขา้ ใจ การออกแบบการบรรจุภณั ฑ์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=732&section=37&issues=28 .(วันที่สืบค้นข้อมูล 17 มถิ ุนายน 2564). 10

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 11 3. บทบาทและหนา้ ที่ของบรรจภุ ณั ฑ์ [4] บรรจภุ ณั ฑม์ ีบทบาทและหนา้ ทีส่ ำคญั สรุปได้ดังน้ี 1. การบรรจุและการคุ้มครองป้องกัน บรรจุภัณฑ์ที่ดีควรออกแบบให้สามารถป้องกันผลิตภัณฑ์ภายใน ไม่ให้เกิดความชำรดุ เสยี หาย เชน่ กนั นำ้ กันความชนื้ กนั แสง กันแก๊ส เมื่ออณุ หภมู ิสงู หรอื ตำ่ 2. การบ่งชผี้ ลติ ภณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ต้องแสดงให้เห็นตวั ผลิตภณั ฑ์ต่อผู้บริโภคในทนั ที โดยการใช้ช่ือการค้า เครอื่ งหมายการค้า ช่ือผ้ผู ลิต ลักษณะและประเภทของสินคา้ เข้ามาเป็นเคร่ืองมอื บ่งชี้ 3. การอำนวยความสะดวกในการจัดจำหน่ายและการกระจาย เหมาะสมต่อพฤติกรรมการซื้อขาย เออ้ื อำนวยการแยกขายส่งต่อ การต้งั โชว์ การสง่ เสริมจงู ใจในตวั ทนต่อการขนยา้ ย ขนสง่ และการคลังสินค้า 4. การอำนวยความสะดวกในการใช้งาน เพื่อให้มีโครงสร้างเข้ากับขบวนการบรรจุ เอื้ออำนวยความ สะดวกในการห้ิวถือกลับบ้าน ตลอดจนการใชไ้ ดก้ ับเคร่ืองมอื การบรรจทุ ่ีมอี ยู่แล้ว 5. การดึงดูดความสนใจผู้บริโภค เพื่อยึดพื้นที่แสดงจุดเด่น โชว์ตัวเองได้อย่างสะดุดตา สามารถระบุ แจ้งเง่ือนไข แจ้งขอ้ มูลเกี่ยวกบั การเสนอผลประโยชนเ์ พมิ่ เตมิ เพอื่ จูงใจผู้บริโภค 6. การเศรษฐกิจ บรรจุภัณฑ์มีบทบาทและหน้าที่สำคัญในการกำหนดราคาขายผลิตภัณฑ์เพราะถือว่า เปน็ ตน้ ทนุ การผลิตอีกอนั หน่ึง ทท่ี ำให้เกดิ ผลกำไรแกผ่ ู้ผลิต เกดิ การวา่ จ้าง เกิดการใช้แรงงาน (ที่มาของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา) คลิปวดี ิโอที่ 1 เรอื่ ง บรรรจุภัณฑ์ เร่อื งสำคญั ไมร่ ูไ้ ม่ได้ สามารถดาว์โหลดได้ผ่านชอ่ งทางเว็บไซตก์ ลุ่มพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งาน กศน. .............................................. 4 การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf. (วันที่สืบค้นข้อมูล 24 มิถุนายน 2564). 11

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 12 ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง ความรทู้ ว่ั ไปในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ คำช้ีแจง หลังจากที่ผเู้ รยี นได้ศึกษาขอ้ มลู ความรู้เกี่ยวกบั ด้านความรู้ทว่ั ไปในการออกแบบบรรจุภณั ฑ์แลว้ จงตอบคำถาม ดังต่อไปน้ี 1. จงอธบิ ายความหมายของการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ มาพอสังเขป ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2. จงอธบิ ายความสำคญั ของการบรรจภุ ัณฑ์ต่อผลผลิตอย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................. ................................................ .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 3. จงอธบิ ายบทบาทหนา้ ท่ขี องบรรจภุ ัณฑ์ มาพอสงั เขป ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 12

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 13 แนวคำตอบ ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง ความรทู้ ่วั ไปในการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ 1. จงอธิบายความหมายของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ มาพอสังเขป ตอบ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (packaging design) หมายถึง การกำหนดรูปแบบและโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ ให้สัมพนั ธก์ ับหนา้ ท่ใี ชส้ อยของผลติ ภณั ฑ์ เพ่ือการคมุ้ ครองปอ้ งกันไม่ใหส้ ินคา้ เสียหายและเพิม่ คุณค่าด้านจิตวิทยา ตอ่ ผูบ้ ริโภค โดยอาศัยทง้ั ศาสตรแ์ ละศิลปใ์ นการสรา้ งสรรค์ 2. จงอธิบายความสำคญั ของการบรรจภุ ัณฑต์ อ่ ผลผลติ อย่างไร ตอบ 1. รักษาคุณภาพ และปกป้องตวั สนิ ค้า เริ่มต้ังแตก่ ารขนสง่ การเก็บให้ผลผลิตหรอื ผลิตภัณฑ์เหลา่ นั้นมิให้ เสยี หายจากการปนเปอ้ื นจากฝุ่นละออง แมลง คน ความชืน้ ความร้อน แสงแดด และการปลอมปน เปน็ ต้น 2. ความสะดวกในการขนส่ง การจัดเก็บมีความรวดเร็ว เพราะสามารถรวมหน่วยของผลิตภัณฑ์เป็น หน่วยเดียวได้ เช่น ผลไม้หลายผลนำลงบรรจุในกล่องหรือลังเดียว เครื่องดื่มที่เป็นของเหลวสามารถบรรจุลงใน กระปอ๋ งหรอื ขวดได้ เปน็ ตน้ 3. สง่ เสรมิ ทางด้านการตลาด บรรจภุ ัณฑเ์ พอ่ื การจัดจำหนา่ ยเป็นส่ิงแรกท่ีผ้บู ริโภคเหน็ ดงั นนั้ บรรจุภัณฑ์ จะต้องจะทำหน้าที่บอกกล่าวสิ่งต่าง ๆ ของตัวผลิตภัณฑ์โดยการบอกข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมดของตัวสินค้า และ นอกจากนั้นจะต้องมีรูปลักษณ์ที่สวยงามสะดุดตาเชิญชวนให้เกิดการตัดสินใจซื้อ ซึ่งการทำหน้าที่ดังกล่าวของ บรรจุภณั ฑน์ ้นั เป็นเสมอื นพนักงานขายทไี่ รเ้ สียง (Silent Salesman) 3. จงอธิบายบทบาทหนา้ ทขี่ องบรรจภุ ณั ฑ์ มาพอสังเขป ตอบ บรรจุภัณฑ์มีบทบาทและหน้าที่สำคัญ สรปุ ได้ดังน้ี 1. การบรรจุและการคมุ้ ครองปอ้ งกัน เช่น กันน้ำ กนั ความช้ืน กนั แสง กันแกส๊ เม่ืออุณหภูมิสูงหรอื ตำ่ 2. การบ่งชีผ้ ลติ ภัณฑ์ บรรจภุ ัณฑต์ ้องแสดงให้เหน็ ตวั ผลติ ภัณฑ์ต่อผ้บู รโิ ภคในทันที โดยการใช้ช่ือการค้า เครื่องหมายการคา้ ช่ือผู้ผลิต ลักษณะและประเภทของสนิ ค้า เขา้ มาเป็นเครอ่ื งมือบ่งชี้ 3. การอำนวยความสะดวกในการจัดจำหน่ายและการกระจาย เหมาะสมต่อพฤติกรรมการซื้อขาย เอ้ืออำนวยการแยกขายส่งตอ่ การตัง้ โชว์ การสง่ เสริมจงู ใจในตวั ทนต่อการขนยา้ ย ขนส่ง และการคลงั สนิ คา้ 4. การอำนวยความสะดวกในการใช้งาน เพ่ือให้มีโครงสร้างเขา้ กบั ขบวนการบรรจุ เอื้ออำนวยความ สะดวกในการหิ้วถอื กลับบา้ น ตลอดจนการใช้ได้กบั เคร่ืองมือการบรรจุที่มอี ยู่แล้ว 5. การดึงดดู ความสนใจผบู้ ริโภค เพือ่ ยดึ พ้ืนที่แสดงจุดเดน่ โชว์ตวั เองไดอ้ ย่างสะดดุ ตา สามารถระบแุ จ้ง เง่ือนไข แจง้ ข้อมูลเกยี่ วกบั การเสนอผลประโยชนเ์ พ่ิมเติมเพ่ือจูงใจผู้บรโิ ภค 6. การเศรษฐกิจ บรรจภุ ัณฑ์มบี ทบาทและหน้าท่สี ำคัญในการกำหนดราคาขายผลติ ภัณฑ์เพราะถือวา่ เปน็ ตน้ ทุนการผลติ อกี อนั หนง่ึ ที่ทำใหเ้ กดิ ผลกำไรแกผ่ ้ผู ลติ เกดิ การวา่ จา้ ง เกิดการใช้แรงงาน 13

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย ใบความรทู้ ่ี 2 เร่อื ง ประเภทบรรจภุ ณั ฑ์ การแบ่งบรรจุภัณฑ์แบ่งได้หลายวิธี เช่น แบ่งประเภทตามลักษณะกรรมวิธีการผลิต และ วิธีการขนถ่ายผลิตภัณฑ์ การแบ่งและเรียกชื่อบรรจุภัณฑ์ อาจแตกต่างกันออกไป ในที่นี้ขอแบ่งประเภทของ บรรจภุ ณั ฑ์ได้ ดงั น้ี 1. การแบ่งประเภทบรรจภุ ณั ฑ์ตามวธิ ีบรรจุและวิธีการขนถ่าย [1] 1.1 บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย (Individual Package) คือ บรรจุภัณฑ์จะห่อหุ้มและสัมผัสกับ ผลิตภัณฑ์โดยตรงบรรจุภัณฑ์ชั้นในจะทำหน้าที่หลักในการป้องกันสินค้าที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์เสียคุณภาพ คุณลักษณะมีรูปร่างลักษณะต่าง ๆ เช่น เป็นขวด กระป๋อง หลอด ถุง กล่อง การออกแบบสามารถทำให้มี ลักษณะพิเศษเฉพาะหรือทำให้มีรูปร่างที่เหมาะแก่การจับถือ และอำนวยความสะดวกต่อการใช้ผลิตภัณฑ์ ภายใน พร้อมทง้ั ทำหนา้ ทใ่ี หค้ วามปกป้องแกผ่ ลติ ภณั ฑโ์ ดยตรง 1.2 บรรจภุ ัณฑ์ชนั้ ใน (Inner Package) คือ บรรจภุ ัณฑท์ ่ที ำหน้าที่ในการห่อหุ้มบรรจุภัณฑ์ชั้นใน ไม่ให้ได้รับแรงกระแทกจากภายนอก บรรจุภัณฑ์ชั้นที่สองมีหน้าที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกไว้ด้วยกัน หรือ เป็นชุดในการจำหน่ายรวมตั้งแต่ 2 – 24 ชิ้นขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ขั้นแรก คือ ป้องกันรักษาผลิตภัณฑ์ จากน้ำ ความชื้น ความร้อน แสง แรงกระทบกระเทือน และอำนวยความสะดวกแก่การขายปลีกย่อย เพื่อความสะดวกในการป้องกันและขนส่ง และทำหน้าที่ขายด้วยจึงต้องทำการออกแบบให้สวยงามดึงดูดใจ ผู้บริโภค เช่น กล่องบรรจุเครื่องดื่มกระป๋องชนิด 6 กระป๋อง กล่องกาแฟชนิด 50 ซองหรือกล่องบรรจุหลอด ยาสีฟนั 1.3 บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด (Outer Package) คือ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นหน่วยรวมขนาดใหญ่ ทำหน้าที่ในการป้องกันผลิตภัณฑ์ การขนถ่ายสินค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วในระหว่าง การขนส่งและยังสามารถแบ่งประเภทบรรจุภัณฑ์ได้ตามวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ลักษณะของบรรจุภัณฑ์น้ี ได้แก่ หีบ ไม้ ลงั กลอ่ งกระดาษค่อนข้างขนาดใหญ่ทีบ่ รรจุสินคา้ ไวภ้ ายใน 2. การแบง่ ประเภทบรรจุภณั ฑ์ตามวสั ดุ [1] วัสดุบรรจุภัณฑ์ (PACKAGING MATERIALS) จัดว่าเป็นเครื่องมือที่มีหน้าที่ของกายภาพ (PHYSICAL FUNCTIONS) คือ หน้าที่ทางด้านการปกป้องคุ้มครอง (PROTECTION) และการใช้ประโยชน์ (UTILITY) ของบรรจภุ ัณฑ์ ดงั นน้ั การแบ่งประเภทบรรจุภณั ฑต์ ามวัสดุ สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดงั นี้ --------------------- 1 การออกแบบบรรจุภณั ฑ์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf. (วนั ทีส่ ืบค้นข้อมูล 24 มิถนุ ายน 2564). 14

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 15 2.1 ประเภทบรรจุภัณฑ์กระดาษ [1] 1) กล่องกระดาษแขง็ แบบพับ (FOLDING CARTONS) นยิ มใชก้ นั อยา่ งแพร่หลาย มีราคา ถกู ทง้ั วัสดแุ ละกรรมวิธกี ารผลิต (ทีม่ าภาพประกอบ : https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf) 2) กล่องกระดาษแข็งแบบตายตวั (RIGID BOXES) กล่องกระดาษแข็งแบบตายตัว คอื รปู ทรง สี่เหลี่ยมมุมฉากประกอบด้วยโครงสร้าง 2 ชิ้น ทำให้แข็งแรงด้วยขอบมุมในแนวตั้ง เนื้อกระดาษ ทำกล่องชนดิ น้ีเปน็ กระดาษแขง็ - หนา กล่องด้านในมักจะปิดผนกึ ดว้ ยกระดาษเนอ้ื ละเอียดอีกชนั้ หน่ึง (ท่มี าภาพประกอบ : https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf) 3) กล่องกระดาษลกู ฟกู (CORRUGATED PAPERBOARD BOXES) แผ่นกระดาษลูกฟูก ประกอบด้วยกระดาษ 2 ชนิด ได้แก่ กระดาษทำผิว และกระดาษทำลูกฟูก ประกอบด้วยกระดาษอยา่ งนอ้ ย 2 ชั้น (ทมี่ าภาพประกอบ : https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf) --------------------- 1 การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf. (วนั ท่สี ืบคน้ ขอ้ มูล 24 มถิ นุ ายน 2564). 15

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 16 4) ถุงและซอง (BAGS AND ENVELOPES) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้กันมาก สำหรับผลิตภัณฑ์ ประเภทเคร่ืองอุปโภค บริโภค จัดเป็นบรรจภุ ัณฑ์เฉพาะตัวสำหรับผลิตภณั ฑ์หน่วยเดียวอีกแบบหนึง่ วัสดุท่ใี ช้ ทำถุงหรือซองกระดาษ ส่วนใหญ่นิยมใช้กระดาษคราฟท์ (Kraft) นอกจากนี้ถุงหรือซองกระดาษยังสามารถใช้ เปน็ สอ่ื โฆษณาประชาสมั พันธ์ประเภทสิ่งพิมพ์ โฆษณาเคล่อื นที่แสดงเอกลักษณ์ ชอ่ื ผลิตภัณฑห์ รือผู้ผลติ ได้ดอี ีกดว้ ย (ทีม่ าภาพประกอบ : https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf) 2.2 ประเภทบรรจุภัณฑ์ทไี่ ม่ใชก่ ระดาษ (โลหะ แก้ว พลาสตกิ ฯลฯ) [2] 1) บรรจภุ ัณฑ์ทำจากโลหะ โลหะ (METAL) โลหะมีคุณสมบัติแข็งแรง ทนทาน การเคลือบผิวภายในจะช่วยลด การสึกกร่อน ไม่มีการซึมผา่ นของไอนำ้ และก๊าซ (ที่มาภาพประกอบ : https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf) การผลิตกระป๋องโลหะ สามารถทำได้โดยการนำเหล็กดำมารีดให้เป็นแผ่นบาง ๆ แล้ว เคลือบดว้ ยดบี กุ และแลกเกอร์เปน็ ช้ันบาง ๆ เพือ่ ปอ้ งกนั การเกิดปฏิกิรยิ า ระหว่างกระป๋องโลหะและออกซิเจน ซงึ่ จะมีผลทำใหก้ ระปอ๋ งโลหะเปน็ สนิม --------------------- 2 บรรจุภัณฑ์จากวสั ดสุ ังเคราะห์. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/ploym632557/-brrcu-phanth-cak-wasdu-sangkheraah?tmpl=%2Fsystem% 2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&. (วันทส่ี ืบคน้ ข้อมลู 24 มิถุนายน 2564). 16

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 17 ข้อดี ของบรรจุภัณฑ์โลหะ คือ มีความทนทานแข็งแรงไม่มีการซึมผ่านของไอน้ำและ อากาศ ปอ้ งกันแสงสวา่ งไดด้ ี ข้อเสีย ของบรรจุภัณฑ์โลหะ คือเกิดการกัดกร่อนได้ง่าย ทำปฏิกิริยากับผลิตภัณฑ์ที่มี ความเป็นกรดด่าง มีโอกาสที่ดีบุกและแลกเกอร์ที่ใช้เคลือบกระป๋องโลหะ สามารถหลุดลงไปปนเปื้อนกับ ผลิตภัณฑ์อาหารได้ รปู แบบบรรจุภณั ฑ์โลหะแบบตา่ ง ๆ มดี งั น้ี 1. กระป๋อง (can) มหี ลายรปู แบบ เช่น ทรงกระบอก รปู เหล่ยี ม รปู ไข่ เป็นต้น สามารถใช้ ในการบรรจยุ า อาหาร น้ำมันหลอ่ ลน่ื และเคร่อื งใชอ้ ่ืน ๆ 2. ถัง (drum pail KEG) มีความจุและขนาดใหญ่กว่ากระป๋องมาก ใช้บรรจุการ เคมี นำ้ มันหล่อลนื่ และอื่น ๆ 3. เออโรโซล (aerosols or pressurized containers) ใช้บรรจุผลติ ภณั ฑท์ ่เี ป็นของเหลว และมสี ารทใี่ ช้ขบั ซ่งึ เปน็ ของเหลวและกา๊ ซผสมอยู่ เช่น ยาฆ่าแมลง เครอื่ งสำอาง ยาบางชนดิ 4. คอลลบั ซิเบิล้ ทบั ส์ (collapsible tubes) ใช้บรรจุสนิ ค้าชนิดหนืด เชน่ อาหาร ยา กาว เครือ่ งสำอาง เป็นต้น 5. อลูมิเนียมแผ่นเปลว (Aluminum foil) ใช้ห่อทำซองหรือทำเป็นรูปร่างต่าง ๆ เพ่ือ บรรจอุ าหาร ยา และอื่น ๆ กระป๋องและปี๊บทำจากโลหะ โดยมากเป็นแผ่นเหล็กเคลือบดีบุก กระป๋องใช้ในการผลิต อาหารสำเร็จรูป ซึ่งต้องเก็บรักษาคุณภาพภายในภาชนะที่ปิดสนิท นิยมใช้เป็นบรรจุภัณฑ์อาหารทะเล ผลิตภัณฑ์ผัก และผลไม้ ส่วนกระป๋องอีกชนิดหนึ่งเป็นกระป๋อง 2 ชั้น ผลิตจากอะลูมิเนียมใช้บรรจุเครื่องด่ืม ประเภทน้ำอัดลม น้ำผลไม้ ได้รับความนิยมจากผู้บริโภคอย่างกว้างขวาง กระป๋องอะลูมิเนียมสามารถนำมา หลอมและแปรรปู เพ่ือนำกลบั มาใช้ประโยชนไ์ ด้อีก 2) บรรจุภณั ฑ์ทำจากแก้ว แกว้ (GLASS) นับเปน็ วัสดบุ รรจุภัณฑ์ท่ีมคี วามเฉื่อยต่อการทำปฏิกริ ยิ ากับสารเคมีชีวภาพ เมื่อเทียบกับวัสดุบรรจุภัณฑ์ชนิดอื่น ๆ และยังรักษาคุณภาพภายในได้ดีมาก ทั้งสามารถทำรูปแบบต่าง ๆ ตามตอ้ งการ เช่น ขวด แกว้ น้ำ คนโท จาน ชาม เปน็ ต้น มาตรฐานสขี องขวดแก้วทนี่ ยิ มผลิตนัน้ มอี ยู่ 3 สี คอื 1. สีใสเปน็ สีที่ใชม้ ากท่สี ดุ 2. สีอำพัน สขี องขวดแกว้ ประเภทนี้ออกเป็นสนี ำ้ ตาลซ่ึงสามารถกรองแสงอุลตราไวโอเลต ไดด้ ี จงึ นิยมใชเ้ ป็นขวดเบยี รแ์ ละขวดยาบางประเภท 3. สเี ขยี ว มคี ุณสมบัติคล้ายคลงึ กบั สีอำพนั มักจะใชก้ ับอุตสาหกรรมเครอ่ื งดม่ื ประเภทของแก้ว ตามมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม มอก. 501-2527 แบ่งภาชนะแกว้ ออกเปน็ 4 ประเภท 17

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 18 1. แก้วบอโรซิลิเกต เป็นแก้วที่มีความทนทานสูง พบได้ทั่วไปในห้องปฏิบัติการ ทนความ รอ้ นและการเปลีย่ นแปลงของอณุ หภมู ิกะทันหันได้ดี และทนต่อการกดั กร่อนของสารเคมี 2. แก้วโซดาไลม์ (ที่ทำจากไลม์โซดา และทรายเป็นส่วนผสมหลัก) ใช้ทำภาชนะบรรจุยา สำหรบั ฉดี ที่มีความเปน็ กรดหรือเปน็ กลาง 3. แก้วโซดาไลม์ (ที่ทำจากทรายแก้ว หินปูน และโซดาแอช) ส่วนใหญ่นำมาใช้ใน อุตสาหกรรมเบียร์ น้ำอัดลม สุรา ยา อาหาร เคร่ืองด่ืมบำรงุ กำลัง และเครอ่ื งแก้ว จาน ชามต่าง ๆ 4. แก้วประเภท NP แก้วโซดาไลม์ที่ใช้ทำภาชนะบรรจุยาที่ใช้รับประทาน หรือยาที่ใช้ ภายนอกเฉพาะที่ แตไ่ ม่ใชท้ ำภาชนะบรรจุสำหรับยาฉีด (ทีม่ าภาพประกอบ : https://sites.google.com/site/ploym632557/-brrcu-phanth-cak-wasdu-sangkheraah?tmpl ส่วนประกอบของขวดแก้ว ประกอบด้วยสามส่วน คือ ปาก ลำตัว และก้นขวด ปากขวด มีความสัมพันธก์ บั การเลอื กฝา สอดคลอ้ งกับวิธีการบรรจุผลิตภัณฑล์ งในขวด และวิธีนำผลติ ภัณฑ์ออกมาใช้ (ทมี่ าภาพประกอบ : https://sites.google.com/site/ploym632557/-brrcu-phanth-cak-wasdu-sangkheraah?tmpl 18

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 19 ปากและฝาขวดทีน่ ิยมใช้กนั มีดังนี้ 1. ปากฝาจีบ เช่น ขวดเบยี ร์ ขวดนำ้ อดั ลม 2. ปากเกลียวธรรมดา เชน่ ขวดยา และขวดอาหารบางชนดิ 3. ปากเกลียวพเิ ศษ เช่น ขวดยา ขวดนำ้ อัดลม น้ำหวาน เครื่องดม่ื บำรุงกำลัง 4. ปากเกลียวล็อก เช่น ขวดแยม ขวดอาหารที่ผา่ นการอบฆ่าเชอ้ื 5. ปากคอร์ก เชน่ ขวดยาฉีด ขวดนำ้ เกลอื ขวดซอสมะเขือเทศบางยี่ห้อ (ที่มาภาพประกอบ : https://sites.google.com/site/ploym632557/-brrcu-phanth-cak-wasdu-sangkheraah?tmpl บรรจุภณั ฑจ์ ากแกว้ เปน็ บรรจภุ ัณฑท์ ่ีมีมาชา้ นาน และเปน็ ทนี่ ยิ มมากกอ่ นการพฒั นาบรรจุ ภณั ฑ์ประเภทพลาสติก ข้อมลู ด้านคุณสมบัติของวัสดสุ ำหรับผลิตบรรจภุ ัณฑเ์ ป็นสิ่งที่ควรรู้ เพราะอย่างน้อย ๆ จะทำใหเ้ ลอื กใช้ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม เพอื่ ไมใ่ หเ้ กิดอนั ตรายตอ่ ผูบ้ ริโภค ข้อดี แก้วไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมี ไม่ก่อให้เกิดกลิ่นหรือรสชาติของอาหารเปลี่ยนไป เหมือนอย่างบรรจุภัณฑ์บางชนิด เช่น พลาสติก เหมาะสำหรับการเก็บอาหารเป็นเวลานาน เพราะสามารถ ปอ้ งกันการซึมผา่ นของความชนื้ และอากาศไดด้ ีมาก สามารถเกบ็ สารที่มีการระเหยไว้ได้อย่างดี มคี วามโปร่งใส ทำใหม้ องเหน็ ผลิตภัณฑ์ภายใน สร้างความรูส้ ึกต่อผบู้ ริโภควา่ เปน็ ผลิตภณั ฑ์ทด่ี ีและมีราคาแพง บรรจภุ ณั ฑ์แกว้ ไมเ่ ปลี่ยนแปลงรูปร่างเมอื่ ถูกแรงกระแทกในระหว่างการขนสง่ และขนถา่ ยสนิ ค้า ข้อเสีย บรรจุภัณฑ์จากแก้ว คือ แก้วถูกหลอมด้วยความร้อนและนำกลับมาใช้ใหม่ได้ มีความคงทนต่อความร้อนสูง ทำให้สามารถใช้กับกระบวนการบรรจุที่ผลิตภัณฑ์มีอุณหภูมิสูง มีน้ำหนักมาก ถ้าถูกแรงกระแทกมาก ๆ จะแตก และอาจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคได้ ไม่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ประเภท มปี ฏิกริ ิยากับแสงในการผลิตขวดแกว้ ใช้อุณหภมู ิสูง ซึ่งมผี ลตอ่ ราคาของบรรจภุ ัณฑแ์ กว้ สงู ข้นึ 3) บรรจภุ ณั ฑ์ทำจากพลาสติก พลาสติก (PLASTIC) เป็นวัสดุอีกประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมในการนำมาผลิตเป็น บรรจภุ ัณฑ์สำหรับบรรจุอาหารอยา่ งมาก เน่อื งจากมขี ้อดีหลายประการ ได้แก่ สามารถดัดแปลงให้มีคุณสมบัติ ตา่ ง ๆ ให้เหมาะสมกบั การใช้งาน มนี ำ้ หนักเบา สามารถขึ้นรูปทรงได้ง่าย มีคณุ สมบตั ใิ นการป้องกันการซึมผ่าน ของอากาศ น้ำ หรือไขมันทนต่อความร้อนเย็น ทนต่อกรดด่าง มีความแข็งแรงเหนียว ไม่นำไฟฟ้า การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากพลาสติกควรระมัดระวัง ปัญหาที่พบ คือการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกท่ี 19

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 20 ผลิตไม่ได้มาตรฐาน ทำให้มีสารเคมีเจือปนมากับพลาสติกจะละลายออกมาปนเปื้อนกับอาหาร หากร่างกาย ไดร้ บั บ่อย ๆ จะเกิดการสะสม ก่อใหเ้ กดิ เปน็ พิษเรื้อรงั และเปน็ อนั ตรายตอ่ สุขภาพของผบู้ รโิ ภค (ที่มาภาพประกอบ : https://sites.google.com/site/ploym632557/-brrcu-phanth-cak-wasdu-sangkheraah?tmpl ประเภทของพลาสติก จำแนกตามคณุ สมบตั ิ และลักษณะการนำไปใช้ 1. พลาสติกเพท (PET) เป็นวัสดุท่ีมคี ุณสมบตั ิโปร่งใส แข็งแรงทนทานป้องกันการซึมผา่ น ของอากาศและทนความร้อนได้ดี การใช้งานบรรจภุ ัณฑ์ ไดแ้ ก่ ขวดน้ำและเครื่องดมื่ ขวดน้ำยาลา้ งปาก ขวดนำ้ สลดั 2. พลาสติกเอชดีพีอี (HDPE) คุณสมบัตมิ คี วามเหนยี วแขง็ แรง ปอ้ งกนั การซึมผ่านของน้ำ และความชื้นได้ดี ตา้ นทานการกัดกรอ่ นของสารเคมไี ดด้ ี ใช้งานเป็นภาชนะใส่นม น้ำสม้ นำ้ และภาชนะใสน่ ำ้ ยาซกั ผ้า 3. พลาสติกพีวีซี (PVC) คุณสมบัติแข็งแรง เหนียวและทนทาน มีความต้านทานต่อไขมัน ไดด้ ี การใช้งานเปน็ ภาชนะที่ต้องการความใสเปน็ พิเศษ เช่น น้ำมันพชื และซอสตา่ ง ๆ 4. พลาสตกิ แอลดีพีอี (LDPE) คณุ สมบัตเิ หนียวและมีความยืดหยุ่นสูง ป้องกันการซึมผ่าน ของความชื้นได้ดี ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ถุงใส่ขนมปัง อาหารแช่แข็ง ใช้เป็นวัสดุในการปิดผนึกบรรจุภัณฑ์ด้วย ความร้อนไดด้ ี 5. พลาสติกพีพี (PP) คุณสมบัติด้านความแข็งแรงและทนทาน ทนต่อความร้อนและ สารเคมี ป้องกันการซึมผา่ นของความชื้นไดด้ ี ใช้เป็นขวดซอสมะเขอื เทศ ถว้ ยไอศกรมี เปน็ ตน้ 6. พลาสติกพีเอส (PS) คุณสมบัติมีความใสและสามารถทำบรรจุภัณฑ์ที่เป็นโฟมได้ การประยุกตใ์ ช้เปน็ บรรจุภณั ฑ์โฟมใสอ่ าหาร ถ้วยนมเปรีย้ ว การใชง้ านวัสดุพลาสติก 1. ฟิล์มพลาสติก ทำมาจากฟิล์มชั้นเดียวหรือหลายชั้นก็ได้ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ การใช้งาน เชน่ ใชห้ อ่ สนิ ค้า เชน่ ลูกกวาด ทอ๊ ฟฟี่ ขนมปัง 2. ฟิล์มหด จากการใช้ความร้อน เช่น การทำฉลากสินค้า ฟิล์มที่ใช้คือพีวีซี (PVC) แอลดี พอี ี (LDPE) แอลแอลดีพอี ี (LLDPE) เพราะมีคณุ สมบตั ิในการตดิ ผนกึ และหดตวั ได้ดเี มื่อถกู ความร้อน 20

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 21 3. ฟิล์มยืด เป็นฟิล์มที่ยืดได้เล็กน้อยเมื่อถูกดึงให้ยืดออก ใช้ในการรัดกล่องกระดาษ ลูกฟูก หรือสิ่งของที่วางอยู่บนแผ่นไม้ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการขนส่งที่เรียกว่าพาลเลต (pallet) ให้ยึดติดกัน แนน่ ไมใ่ ห้หลน่ ในระหวา่ งการขนส่ง ฟลิ ์มทใี่ ชค้ อื พีเอส (PS) 4. ฟิล์มหลายชั้น ได้จากการนำฟิล์มชั้นเดียวมาติดกันโดยใช้ความร้อน และสามารถขึ้น รูปเปน็ บรรจุภณั ฑ์รปู แบบต่าง ๆ เชน่ ถุงกาแฟ ขนมขบเคย้ี วต่าง ๆ ฟลิ ม์ หลายชั้นยงั สามารถทำได้จากการเป่า ฟิลม์ มากกว่าหนงึ่ ชนดิ พรอ้ ม ๆ กนั ทำใหส้ ามารถเพ่ิมคา่ คุณสมบัติทางกายภาพทางความร้อน และการป้องกัน การซึมผ่านของความชนื้ และอากาศได้ดีย่ิงขน้ึ การขนึ้ รปู บรรจุภัณฑ์ภาชนะพลาสติก มีกรรมวธิ ี ดงั น้ี คือ การเปา่ ขวด การฉดี ขึน้ รปู และ การอดั หลอมเมด็ พลาสตกิ จากความรอ้ น รูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ทำจากพลาสติก แบ่งตามลักษณะ ได้ดังนี้ คือ ถุง หรือกระสอบ พลาสติก ขวดพลาสติก หลอดพลาสตกิ ถังพลาสตกิ ชริงค์แพกเกจบลสิ เตอร์ แพกเกจโฟมพลาสติก แอรแ์ คป (ทมี่ าของภาพประกอบ : กล่มุ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) 21

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 22 ใบงานที่ 2 เรือ่ ง ประเภทบรรจุภัณฑ์ คำช้แี จง หลังจากทีผ่ ู้เรยี นไดศ้ ึกษาข้อมลู ความรู้เกี่ยวกับด้านประเภทบรรจภุ ัณฑ์แล้ว จงตอบคำถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. จงอธิบายการแบ่งประเภทบรรจุภัณฑ์ตามวิธีบรรจุและวิธีการขนถ่าย มีกี่ประเภท อะไรบ้าง พร้อม ยกตวั อย่างประกอบ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2. จงอธิบายการแบง่ ประเภทบรรจภุ ณั ฑต์ ามวัสดุ มีกป่ี ระเภท อะไรบา้ ง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 3. จงอธบิ ายการแบง่ ประเภทบรรจุภณั ฑก์ ระดาษ ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................... ........................................ .......................................................................................... .................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 4. จงอธบิ ายการแบง่ ประเภทบรรจภุ ณั ฑ์ท่ไี ม่ใช่กระดาษ ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................ .................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................... ................................... 22

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 23 แนวคำตอบ ใบงานที่ 2 เร่ือง ประเภทบรรจภุ ณั ฑ์ 1. จงอธิบายการแบ่งประเภทบรรจุภัณฑ์ตามวิธีบรรจุและวิธีการขนถ่าย มีกี่ประเภท อะไรบ้าง พร้อม ยกตวั อยา่ งประกอบ ตอบ การแบ่งประเภทบรรจุภัณฑต์ ามวธิ บี รรจุและวิธีการขนถ่าย มี 3 ลักษณะ ดังน้ี 1. บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย (Individual Package) คือ บรรจุภัณฑ์จะห่อหุ้มและสัมผัสกับ ผลิตภัณฑ์โดยตรงบรรจุภัณฑ์ชั้นในจะทำหน้าที่หลักในการป้องกันสินค้าที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์เสียคุณภาพ คุณลกั ษณะมรี ูปร่างลักษณะตา่ ง ๆ เช่น เป็นขวด กระป๋อง หลอด ถงุ กล่อง 2. บรรจุภัณฑ์ชั้นใน (Inner Package) คือ บรรจุภัณฑ์ที่ทำหน้าที่ในการห่อหุ้มบรรจุภัณฑ์ ชั้นในไม่ให้ได้รับแรงกระแทกจากภายนอก บรรจุภัณฑ์ชั้นที่สองมีหน้าที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกไว้ด้วยกนั หรือเป็นชุดในการจำหน่ายรวมตั้งแต่ 2 – 24 ชิ้นข้ึนไป โดยมีวัตถุประสงค์ขั้นแรก คอื ป้องกันรักษาผลิตภัณฑ์ จากน้ำ ความชื้น ความร้อน แสง แรงกระทบกระเทือน และอำนวยความสะดวกแก่การขายปลีกย่อย เพื่อความสะดวกในการป้องกนั และขนส่ง และทำหน้าท่ีขายดว้ ยจึงต้องทำการออกแบบให้สวยงามดึงดูดใจผู้บริโภค เชน่ กล่องบรรจุเครื่องด่ืมกระป๋องชนดิ 6 กระป๋อง กลอ่ งกาแฟชนิด 50 ซองหรือกล่องบรรจุหลอดยาสีฟัน 3. บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด (Outer Package) คือ บรรจุภัณฑ์ที่เป็นหน่วยรวมขนาดใหญ่ ทำหน้าที่ในการป้องกันผลิตภัณฑ์ การขนถ่ายสินค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วในระหว่าง การขนสง่ และยังสามารถแบ่งประเภทบรรจุภัณฑ์ได้ตามวัสดุบรรจุภัณฑ์ท่ีใช้ลักษณะของบรรจุภัณฑน์ ี้ เชน่ หีบ ไม้ ลัง กลอ่ งกระดาษคอ่ นขา้ งขนาดใหญ่ทบี่ รรจุสนิ คา้ ไวภ้ ายใน 2. จงอธบิ ายการแบง่ ประเภทบรรจุภณั ฑต์ ามวัสดุ มีกปี่ ระเภท อะไรบา้ ง พร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ ตอบ การแบ่งประเภทบรรจุภัณฑ์ตามวสั ดุ วัสดุบรรจุภัณฑ์ (PACKAGING MATERIALS) จัดว่าเป็นเครื่องมือ ที่มีหน้าที่ของกายภาพ (PHYSICAL FUNCTIONS) คือ หน้าที่ทางด้านการปกป้องคุ้มครอง (PROTECTION) และการใชป้ ระโยชน์ (UTILITY) ของบรรจภุ ัณฑ์ ดังน้ัน การแบง่ ประเภทบรรจุภัณฑ์ตามวสั ดุ สามารถแบง่ ได้ 2 ประเภท ดังน้ี 1. ประเภทบรรจุภัณฑ์กระดาษ เช่น กล่องกระดาษแข็งแผ่นพับ กล่องกระดาษแข็งแบบ ตายตัว กลอ่ งกระดาษลูกฟกู ถงุ และซอง เปน็ ตน้ 2. ประเภทบรรจุภัณฑ์ท่ีไม่ใช่กระดาษ เช่น บรรจุภัณฑ์ทำจากโลหะ ทำจากแก้ว และทำจาก พลาสตกิ เปน็ ต้น 3. จงอธิบายการแบง่ ประเภทบรรจุภัณฑ์กระดาษ ตอบ การแบง่ ประเภทบรรจภุ ัณฑก์ ระดาษ สามารถแบ่งได้ 4 ชนดิ ดังน้ี 1. กล่องกระดาษแข็งแบบพับ (FOLDING CARTONS) นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย มีราคาถูก ท้ังวสั ดุและกรรมวิธกี ารผลติ 23

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 24 2. กลอ่ งกระดาษแข็งแบบตายตวั (RIGID BOXES) กลอ่ งกระดาษแขง็ แบบตายตัว คอื รูปทรง สี่เหลี่ยมมุมฉากประกอบด้วยโครงสร้าง 2 ชิ้น ทำให้แข็งแรงด้วยขอบมุมในแนวตั้ง เนื้อกระดาษ ทำกลอ่ งชนดิ นีเ้ ป็นกระดาษแขง็ - หนา กล่องด้านในกม็ ักจะปิดผนึกดว้ ยกระดาษเนือ้ ละเอียดอีกชัน้ หนึ่ง 3. กล่องกระดาษลูกฟกู (CORRUGATED PAPERBOARD BOXES) แผ่นกระดาษลกู ฟูก ประกอบดว้ ยกระดาษ 2 ชนดิ ได้แก่ กระดาษทำผวิ และกระดาษทำลกู ฟูก ประกอบดว้ ย กระดาษอย่างน้อย 2 ช้นั 4. ถุงและซอง (BAGS AND ENVELOPES) เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้กันมาก สำหรับผลิตภัณฑ์ ประเภทเครื่องอุปโภค บริโภค จัดเป็นบรรจุภัณฑ์เฉพาะตวั สำหรับผลิตภณั ฑ์หน่วยเดียวอีกแบบหนึ่ง วัสดุท่ใี ช้ ทำถุงหรือซองกระดาษ ส่วนใหญ่นิยมใช้กระดาษคราฟท์ (Kraft) นอกจากนี้ถุงหรือซองกระดาษยังสามารถใช้ เป็นสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ประเภทสิ่งพิมพ์ โฆษณาเคลื่อนที่แสดงเอกลักษณ์ ชื่อผลิตภัณฑ์หรือผู้ผลิตได้ดี อีกดว้ ย 4. จงอธบิ ายการแบง่ ประเภทบรรจภุ ัณฑท์ ไ่ี ม่ใช่กระดาษ ตอบ การแบ่งประเภทบรรจุภัณฑท์ ่ีไม่ใช่กระดาษ สามารถแบ่งได้ 3 ชนิด ดงั นี้ 1. บรรจภุ ัณฑ์ทำจากโลหะ (METAL) โลหะมคี ุณสมบัตแิ ขง็ แรง ทนทาน การเคลอื บผวิ ภายใน จะช่วยลดการสึกกร่อน ไม่มีการซึมผ่านของไอน้ำและก๊าซ ดังนั้น บรรจุภัณฑ์ทำจากโลหะจึงมีความทนทาน แข็งแรงไม่มีการซึมผ่านของไอน้ำและอากาศ ป้องกันแสงสว่างได้ดี แต่ก็สามารถเกิดการกัดกร่อน ได้ง่าย และหากทำปฏิกิริยากับผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นกรดด่าง มีโอกาสที่ดีบุกและแลกเกอร์ที่ใช้เคลือบ กระป๋องโลหะสามารถหลุดลงไปปนเป้อื นกับผลติ ภณั ฑ์อาหารได้ ตวั อยา่ งของบรรจุภัณฑ์ทำจากโลหะ เชน่ 1.1 กระป๋อง (can) มีหลายรูปแบบ เช่น ทรงกระบอก รูปเหลี่ยม รูปไข่ เป็นต้น สามารถ ใชใ้ นการบรรจยุ า อาหาร น้ำมนั หล่อลืน่ และเคร่ืองใชอ้ ื่น ๆ 1.2 ถัง (drum pail KEG) มีความจุและขนาดใหญ่กว่ากระป๋องมาก ใช้บรรจุ การ เคมี น้ำมันหลอ่ ลืน่ และอ่นื ๆ 1.3 เออโรโซล (aerosols or pressurized containers) ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ที่เป็น ของเหลวและมสี ารท่ใี ช้ขบั ซึ่งเปน็ ของเหลวและก๊าซผสมอยู่ เชน่ ยาฆ่าแมลง เครื่องสำอาง ยาบางชนิด 1.4 คอลลับซิเบิ้ลทับส์ (collapsible tubes) ใช้บรรจุสินค้าชนิดหนืด เช่น อาหาร ยา กาว เครือ่ งสำอาง เปน็ ตน้ 1.5 อลูมิเนียมแผ่นเปลว (Aluminum foil) ใช้ห่อทำซองหรือทำเป็นรูปร่างต่าง ๆ เพื่อ บรรจอุ าหาร ยา และอนื่ ๆ 2. บรรจุภัณฑ์ทำจากแกว้ แก้ว (GLASS) นับเป็นวสั ดบุ รรจุภณั ฑท์ ีม่ ีความเฉื่อยต่อการทำปฏิกริ ยิ ากบั สารเคมีชีวภาพ เมื่อเทียบกับวัสดุบรรจุภัณฑ์ชนิดอื่น ๆ และยังรักษาคุณภาพภายในได้ดีมาก ทั้งสามารถทำรูปแบบต่าง ๆ ตามตอ้ งการ เชน่ ขวด แกว้ น้ำ คนโท จาน ชาม เป็นตน้ 24

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 25 3. บรรจภุ ัณฑ์ทำจากพลาสติก พลาสติก (PLASTIC) เป็นวัสดุอีกประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยม ในการนำมาผลิตเป็น บรรจภุ ัณฑ์ สำหรับบรรจุอาหารอยา่ งมาก เนื่องจากมีขอ้ ดหี ลายประการ ไดแ้ ก่ สามารถดัดแปลงใหม้ ีคุณสมบัติ ต่าง ๆ ใหเ้ หมาะสมกบั การใช้งาน มีน้ำหนักเบา สามารถขน้ึ รูปทรงได้ง่าย มคี ุณสมบตั ใิ นการปอ้ งกันการซึมผ่าน ของอากาศ นำ้ หรือไขมันทนต่อความร้อนเย็น ทนตอ่ กรดด่าง มีความแข็งแรงเหนียว ไม่นำไฟฟ้า การเลือกใช้ บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากพลาสติก ควรระมัดระวัง ปัญหาที่พบ คือการเลือกใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ผลิตไม่ได้ มาตรฐาน ทำใหม้ ีสารเคมีเจือปนมากับพลาสติกจะละลายออกมาปนเป้ือนกบั อาหาร หากรา่ งกายไดร้ ับบอ่ ย ๆ จะเกดิ การสะสม ก่อให้เกดิ เปน็ พษิ เรอื้ รงั และเปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพของผบู้ รโิ ภค 25

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย ใบความรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง หลักการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ (ท่ีมาของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา) ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผู้ออกแบบหรือนักออกแบบจะต้องมีความเข้าใจในหลักการออกแบบ บรรจภุ ณั ฑร์ วมทัง้ เขา้ ใจในหลกั องค์ประกอบศลิ ปะ เพ่อื นำมาใชใ้ นการสร้างหรือออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ให้มีความ พร้อมทั้งประโยชน์ใช้สอย คุณลักษณะเฉพาะ รูปแบบที่จะเกิดขึ้น ความสวยงามซึ่งสัมพันธ์เชิงการค้า นอกเหนือจากเข้าใจในหลักการออกแบบยังต้องเข้าใจในปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้องอีกหลายปัจจัย เช่น งบประมาณ ความต้องการของตลาด หรือแม้แต่สถานประกอบการ และเครื่องมือในการผลิตบรรจภุ ณั ฑ์ เนื่องจากปัจจบุ นั มีเทคโนโลยีเกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นตามยุคสมัย ซึ่งผู้ศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวกับปัจจัยท่ี เกี่ยวข้องด้วย ในบทนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับเทคนิคการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมการตลาด และเนื้อหาองค์ประกอบศิลป์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการออกแบบบรรจุภัณฑต์ ลอดจนรายละเอียดเก่ียวกับ ปจั จยั อ่นื ท่ีเกยี่ วขอ้ ง ดังจะกลา่ วไปตามลำดับ ผอู้ อกแบบ หรือผูผ้ ลิตตอ้ งเข้าใจ คือ วตั ถปุ ระสงค์ของการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ องคป์ ระกอบของการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ขั้นตอนการออกแบบ การวางแผนเพื่อผลิตบรรจุภัณฑ์หรือแม้กระทั่งเทคนิคการ ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ (สกุ ฤตา หิรณั ยชวลติ , 2554 : 424) [1] ซึง่ มีรายละเอียด ดงั นี้ 1. วัตถุประสงค์ของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ วัตถุประสงค์ของการออกแบบส่วนใหญ่ มี 2 ประการ คือ ในการผลิต การบรรจุ การขนสง่ การเกบ็ รกั ษา การวางจำหนา่ ย และการอปุ โภค ซึง่ ทั้งนีก้ ารออกแบบต้อง อาศยั ความรูแ้ ละประสบการณด์ ้านวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตรเ์ ขา้ มาช่วยเปน็ หลกั ใหญ่ ดังนี้ 1.1 ความมีเอกลักษณ์พิเศษของผลติ ภัณฑ์ 1.2 ความมีลกั ษณะพิเศษท่ีสามารถสรา้ งความทรงจำหรือทศั นคตทิ ี่ดีตอ่ ผลติ ภณั ฑ์และบรษิ ัทผผู้ ลิต 1.3 ความมลี ักษณะพิเศษท่สี ามารถดึงดูดความสนใจของผ้บู ริโภค ตลอดจนใหเ้ ขา้ ใจถงึ ความหมาย และคุณประโยชน์ของผลติ ภณั ฑ์ --------------------- 1 สุกฤตา หิรัณยชวลิต (2554). กว่าจะเป็นบรรจุภัณฑ์ Background of Package. วารสารนกั บริหาร ปีที่ 31 ฉบับ ที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. [ออนไลน]์ สืบค้น เมือ่ วนั ท่ี 15 กรกฎาคม 2561 จาก http://www.kmutt.ac.th 26

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 27 2. องค์ประกอบของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ องค์ประกอบที่ออกแบบไว้บนบรรจุภัณฑ์เป็นปัจจัย สำคัญในการเลือกซื้อสินค้า รายละเอียดหรือส่วนประกอบบนบรรจุภัณฑ์จะแสดงออกถึงจิตสำนึกของผู้ผลิต สินค้าและสถานะ (Class) ของบรรจุภัณฑ์ ซึ่งสามารถขยับเป็นสื่อโฆษณาระยะยาว ส่วนประกอบที่สำคัญบน บรรจุภัณฑ์อยา่ งนอ้ ยทสี่ ุดควรมี ดงั นี้ 2.1 ชอ่ื สินค้า 2.2 ตราสนิ คา้ 2.3 สญั ลักษณท์ างการค้า 2.4 รายละเอียดของสินค้า 2.5 รายละเอยี ดสง่ เสรมิ การขาย 2.6 รูปภาพ 2.7 ส่วนประกอบของสนิ คา้ 2.8 ปริมาตรหรือปริมาณ 2.9 ชื่อผู้ผลิตและผจู้ ำหนา่ ย (ถา้ มี) 2.10 รายละเอยี ดตามข้อบังคับของกฎหมาย เชน่ วนั ผลติ วันหมดอายุ เปน็ ตน้ หลังจากที่มีการเก็บข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ดังกล่าวมาแล้วจึงเริ่มกระบวนการออกแบบด้วย การเปลี่ยนข้อมูลที่ได้มาเป็นกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ซึ่งจะกล่าวถึงรายละเอียดของการออกแบบกราฟิกบน บรรจภุ ัณฑ์ 3. ข้นั ตอนการหาข้อมูลในการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ เพื่อหาแนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์มีส่ิง ปลกี ย่อยที่ตอ้ งคำนงึ ถึง ดงั ต่อไปนี้ 3.1 การตั้งจุดมุ่งหมายของบรรจุภัณฑ์ ข้อมูลคือสิ่งจำเป็นที่ต้องทราบ เช่น ตำแหน่งของบรรจุภัณฑ์ คู่แข่งที่มีอยู่ในท้องตลาด การทราบถึงตำแหน่งย่อมทำให้ตั้งจุดมุ่งหมายในการออกแบบได้ง่าย นอกจาก ตำแหน่งของสินค้า สิ่งจำเป็นอีกประการหนึ่งคือ จุดขายหรือ UPS (Unique Selling Point) ของสินค้าที่จะ โฆษณาบนบรรจภุ ัณฑ์ ทัง้ สองสง่ิ นี้เปน็ องคป์ ระกอบสำคัญในการตัง้ จุดมุ่งหมายของการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ 3.2 การวางแผน ปัจจัยต่าง ๆ ทีไ่ ดจ้ ากการวิเคราะหร์ วบรวมข้อมูล ขอบเขตการออกแบบบรรจุภัณฑ์ อาจวางแผนได้ 2 วิธคี อื 3.2.1 ออกแบบใหฉ้ กี แนวแตกต่างจากคแู่ ข่ง 3.2.2 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งโดยตรงด้วยบรรจุภัณฑ์ที่ดีกว่า หรือ ด้วยค่าใช้จ่ายที่ถูกกว่า การตั้งเป้าหมายและวางแผนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ดังกล่าวย่อมต้องศึกษา สถานภาพบรรจุภัณฑ์ของคู่แข่ง ควบคู่กับทราบถึงนโยบายของเจ้าของผลิตภัณฑ์ การวางแผนการออกแบบ บรรจุภณั ฑ์สามารถใชก้ ารวิเคราะหแ์ บบ 5W + 2H ดังนี้ 1) WHY (ทำไม) ปัจจัยหรือเหตุผลอะไรที่ทำให้ต้องออกแบบบรรจุภัณฑ์หรือพัฒนา บรรจภุ ณั ฑ์ เพือ่ ให้เหน็ ถึงความสำคัญของผลิตภณั ฑน์ ั้น ๆ 27

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 28 2) WHO (ใคร) ผปู้ ระกอบการต้องทราบวา่ จะออกแบบบรรจภุ ัณฑ์นี้เพื่อใคร ทั้งนี้เพ่ือ เป็นการกำหนดกลมุ่ เปา้ หมายในการออกแบบทีช่ ัดเจน เพอื่ นำไปส่กู ารดำเนนิ การทมี่ คี ณุ ภาพ 3) WHERE (ที่ไหน) สถานที่ที่จะวางจำหน่ายสินค้าอยู่ที่ไหน ขอบเขตพื้นที่ที่จะวาง จำหน่ายบรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบเหมาะสมกับพื้นที่มากน้อยแค่ไหน การออกแบบมีความเหมาะสมและ ครอบคลมุ ถึงความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคในสถานทีด่ ังกลา่ วหรือไม่ 4) WHAT (อะไร) จุดมุ่งหมายการออกแบบบรรจุภัณฑ์คืออะไร ข้อจำกัดในการ ออกแบบมีอะไรบ้าง จุดขายของสินค้าคืออะไร การใช้งานของบรรจุภัณฑ์คืออะไร ผู้ออกแบบตระหนักว่า ตนเองกำลงั ออกแบบบรรจุภัณฑ์ของผลติ ภัณฑ์อะไร รูปแบบบรรจภุ ณั ฑน์ ้นั มคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับ ผลิตภณั ฑ์นัน้ หรือไม่ 5) WHEN (เมื่อไหร่) ควรจะเริ่มการออกแบบเมื่อไหร่ และเมื่อไหร่จะออกแบบเสร็จ ควรวางตลาดเม่อื ไหร่ การออกแบบต้องเหมาะสมกับชว่ งเวลาและกาลเทศะว่าเปน็ ชว่ งเวลาใด เทศกาลใด 6) HOW (อย่างไร) บรรจุภัณฑ์ที่ได้ออกแบบขึ้นมานั้นตอบสนองการใช้งานอย่างไร และมีวธิ ีการใช้งานทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสมหรอื ไม่ และไมค่ วรยุง่ ยากต่อการใช้งาน 7) HOW MUCH (เทา่ ไหร่) ผ้ปู ระกอบการตอ้ งทราบราคาต้นทนุ หรือราคาคา่ ใช้จ่ายใน การออกแบบบรรจุภัณฑ์ว่าเป็นจำนวนเงินเท่าไหร่ ทำให้สามารถประเมินมูลค่าของบรรจุภัณฑ์เพื่อนำไป กำหนดราคาในการจดั จำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์เหลา่ นั้นได้ 4. ขั้นตอนการวางแผนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การวางแผนเริ่มต้นด้วยจุดประสงค์ของการ ออกแบบ พรอ้ มด้วยข้อจำกัดต่าง ๆ รายละเอียดการวางแผนตอ้ งประกอบดว้ ย องคป์ ระกอบตอ่ ไปน้ี ขัน้ ตอนที่ 1 การวางแผน อันไดแ้ ก่ 1.1 กำหนดเวลา 1.2 ผลงานที่จะไดร้ ับในแตล่ ะข้นั ตอนการทำงาน 1.3 รายละเอยี ดของตราสนิ คา้ (Branding) 1.4 ผรู้ ับผิดชอบในแตล่ ะขน้ั ตอน ขนั้ ตอนท่ี 2 การรวบรวมขอ้ มูล อนั ไดแ้ ก่ 2.1 ขอ้ มูลการตลาด 2.2 สถานะการแข่งขัน จดุ แขง็ จดุ อ่อน โอกาส ข้อจำกัด (SWOT) 2.3 ขอ้ มูลจากสถานท่จี ำหน่าย 2.4 ความตอ้ งการของกล่มุ เปา้ หมาย / พฤตกิ รรมผูบ้ ริโภค 2.5 เทคโนโลยีใหม่ ๆ ทางด้านวัสดุบรรจุภัณฑ์ ระบบการผลิตบรรจุภัณฑ์หรือ เคร่อื งจกั ร ขน้ั ตอนที่ 3 การออกแบบรา่ ง อนั ไดแ้ ก่ 3.1 พฒั นาความคิดริเรมิ่ ตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง 3.2 รา่ งต้นแบบประมาณ 3-5 แบบเพื่อนำเสนอเจา้ ของผลติ ภัณฑ์ 28

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 29 3.3 ปรบั ปรุงรูปแบบตามขอ้ เสนอแนะ 3.4 จัดทำต้นแบบบรรจภุ ัณฑ์ (Model) ขนั้ ตอนที่ 4 การประชมุ วิเคราะห์ปรับตน้ แบบ อันได้แก่ 4.1 วเิ คราะห์ความเป็นไปไดท้ างเทคนิค 4.2 วิเคราะห์การสนองความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย 4.3 เลือกตน้ แบบท่ียอมรับได้ ขัน้ ตอนท่ี 5 การทำแบบเสมอื นจริง ได้แก่ 5.1 เลอื กวสั ดุที่นำมาผลติ 5.2 ออกแบบกราฟิกเสมอื นจรงิ พร้อมตราสินคา้ และสญั ลกั ษณ์ ทางการค้า 5.3 สร้างต้นแบบ (Pattern) เพอ่ื สง่ โรงพิมพ์ ขั้นตอนที่ 6 การบริหารการผลิต โดยเริ่มจากการติดต่อโรงงานผู้ผลิต เลือกวัสดุ จนถึงการ ควบคุมงานผลิตให้ได้ตามแบบที่ออกแบบ พร้อมทั้งจัดเตรียมรายละเอียดการสั่งซื้อ (Specification) เพื่อให้ บรรจภุ ัณฑท์ ีอ่ อกแบบสามารถผลิตไดต้ ามต้องการ ขน้ั สุดท้ายเปน็ การติดตามผลของบรรจุภัณฑ์ที่วางจำหน่าย สามารถสนองตามจดุ มุง่ หมายของการออกแบบและบรรลถุ ึงวัตถปุ ระสงคข์ ององค์การเพียงใด (ท่มี าของภาพประกอบ : กลมุ่ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา) 5. เทคนิคการออกแบบบรรจุภัณฑ์ มีรายละเอยี ดดงั นี้ 5.1 การออกแบบเป็นชุด (Packaged) การออกแบบเป็นชุดเป็นเทคนิคที่มีความนิยมมาก หลักเกณฑ์ในการออกแบบคือ ให้ดูง่าย สะอาดตา แต่ต้องทันสมัยและเหมาะแก่การใช้งาน ความง่ายและ สะอาดตามผี ลต่อการดึงดูดความสนใจ ความทนั สมัยชว่ ยสร้างความแปลกใหม่ การออกแบบเป็นชุดของสินค้า มีผลต่อการทำให้ผู้บริโภคเกิดความทรงจำที่ดี ถ้าออกแบบได้ตรงกับรสนิยมของกลุ่มเป้าหมาย การออกแบบ บรรจุภัณฑ์เป็นชุดเปรียบเสมือนแบบฟอร์มของเสื้อผ้าที่ใช้สวมใส่ ตัวอย่างเช่น ชุดสูท ชุดพระราชทาน 29

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 30 ชุดม่อฮ่อม เป็นต้น การออกแบบเสื้อผ้าที่เป็นชุดนี้เมื่อใครเห็นก็ทราบได้ว่าคือชุดอะไร แม้ว่าจะใช้เสื้อผ้าและ สสี นั ท่ีแตกตา่ งกัน การออกแบบบรรจุภัณฑเ์ ป็นชดุ นกี้ ม็ หี ลักการคล้ายคลึงกัน 5.2 การออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบเรียงต่อเป็นภาพ เทคนิคการออกแบบวิธีนี้ยึดหลักในการสร้าง ภาพ ทำให้ดูเป็นแบบที่ต่อเนื่องกันหรือเปน็ ภาพกราฟิกขนาดใหญ่ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อดึงดูดความสนใจของ ผู้บริโภค สิ่งพึงระวังในภาพที่ต่อขึ้นจากการเรียงบรรจุภัณฑ์นั้นจะต้องเป็นภาพที่สร้างความประทับใจหรือ กระต้นุ ใหเ้ กิดความอยากได้ของกลุ่มเป้าหมาย การต่อเป็นภาพของบรรจภุ ัณฑ์น้ียังต้องระมัดระวังข้ันตอนการ ผลิตบรรจุภณั ฑ์ คอื ระบบการพมิ พบ์ นบรรจภุ ัณฑ์จะต้องมีคุณภาพดี 5.3 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่แสดงถึงศิลปะท้องถนิ่ เทคนคิ การออกแบบวธิ นี ี้มีจดุ มุ่งหมายอันดับ แรกคือ การส่งเสริมสินค้าที่ผลิตในแต่ละท้องถิ่นเพื่อสร้างเอกลักษณ์เฉพาะ รายละเอียดบนบรรจุภัณฑ์ที่สื่อ ความหมายมักจะใช้สิ่งที่รู้จักกันดีในท้องถิ่นนั้น ๆ ตัวอย่าง เช่น รูปสับปะรดนางแลของจังหวัดเชียงราย รูปรถม้าของจังหวัดลำปาง หรือรูปภูมิประเทศในแต่ละท้องถิ่น เป็นต้น ในบางกรณีอาจนำวัสดุที่ผลิตได้ใน ทอ้ งถิ่นมาใช้ผลิตบรรจภุ ัณฑน์ อกเหนือจากรายละเอยี ดของกราฟกิ 5.4 การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ของขวญั เทคนคิ ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบของขวัญค่อนข้างจะ แตกต่างจากเทคนิคต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมา สาเหตุเนื่องจากผู้ซื้อสินค้าที่เป็นของขวัญไม่มีโอกาสบริโภคและการ ตัดสินใจซื้อเกิดขึ้น ณ จุดขาย ด้วยเหตุนี้การออกแบบบรรจุภัณฑ์ของขวัญที่ดีจึงมีบทบาทส ำคัญมากต่อ ความสำเร็จของการจำหน่ายสินค้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเทศกาลต่าง ๆ เนื้อหาทก่ี ล่าวมาข้างต้นเป็นกุญแจสำคัญ ต่อความเป็นนักออกแบบบรรจุภัณฑ์ นักออกแบบกราฟิก และผผู้ ลติ สินค้า ความเข้าใจต่อกุญแจเหล่านี้ อันได้แก่ วัตถุประสงค์ของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ องค์ประกอบของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ขั้นตอนการออกแบบบรรจุ ภณั ฑ์ จงึ นำไปส่กู ารออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ใหม้ ีประสิทธภิ าพเพ่ิมสูงขึ้น อันจะส่งผลต่อความกา้ วหน้าของ ธุรกิจ ผลกำไรทีเ่ พมิ่ ขน้ึ ตลอดจนการเปน็ ทย่ี อมรับของผูบ้ รโิ ภคน่ันเอง (สปิ ราง เจรญิ ผล, 2556 : 21-26) [2] 6. ขน้ั ตอนการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ [3] 6.1. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย เป็นเรื่องแรก ๆ ท่ีเราควรต้องรู้ว่าสินค้าของเราเหมาะกับใคร ผู้ประกอบการต้องเข้าใจความต้องการของตลาด ความต้องการของผู้บริโภค โดยกำหนดกลุ่มเป้าหมายให้ ชดั เจน เพอ่ื ทจี่ ะออกแบบผลิตภณั ฑ์และบรรจุภัณฑใ์ หต้ รงต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด เช่น วัย เพศ อายุ ที่อยู่อาศัย ลักษณะความชอบ ความต้องการในการใช้สินค้า การกำหนดกลุ่มเป้าหมายนอกจาก คำนึงถึงตัวอย่างที่กล่าวมาแล้ว เรียกว่ากลุ่มเป้าหมายโดยตรง เรายังต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายที่ซ้ือแต่ได้ บริโภคเองด้วย เช่น ของฝาก อาหารเด็ก น้ำหอม เครื่องประดับ โดยผู้ซื้ออาจจะไม่ได้นำไปบริโภคเองแต่ซื้อ เพราะนำไปใหค้ นอ่ืน ดังนั้นปัจจัยเหลา่ นี้ตอ้ งรวมเข้าไปในการกำหนดกลมุ่ เปา้ หมายด้วย --------------------- 2 สิปราง เจริญผล (2556). เอกสารตำราการออกแบบบรรจุภัณฑ์. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราช ภฏั เชยี งราย. 3 แนวทางการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/ploym632557/naewthang-kar-xxkbaeb-brrcu-phanth. (วนั ทส่ี ืบคน้ ข้อมลู 17 มถิ ุนายน 2564) 30

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 31 6.2. กำหนดชื่อตราสินคา้ ช่อื สนิ คา้ กเ็ ปรียบเหมือน “ชื่อคน” ควรใช้คำท่ีสะกดในการเขียนและอ่านที่ ไม่ยากเกินไป ง่ายต่อการจดจำ สว่ นมากผู้ประกอบการมักจะนำช่ือบริษัท สถานที่ตัง้ ชื่อจดทะเบียนช่ือตนเอง ช่ือที่ เป็นมงคล คำอน่ื ๆ ทน่ี ำมาผสมกันให้เกิดคำ ฯลฯ ดงั น้ันหลกั การท่คี วรจำในการกำหนดช่อื ตราสนิ ค้าควรเป็น ดงั นี้ • จดจำง่าย อ่านง่าย เขียนงา่ ย • มเี อกลักษณ์ โดดเดน่ • ไม่พยายามลอกเลียนแบรนดอ์ นื่ หรือ ทำให้เกดิ ความเขา้ ใจผิด • บอกถึงคณุ สมบัติสินคา้ • ไมเ่ ป็นคำทีช่ วนใหเ้ ขา้ ใจผิดไปจากคุณสมบัตสิ นิ ค้า • จดทะเบยี นได้ โดยไม่ซ้ำกับแบรนด์อืน่ เหล่านี้ล้วนเป็นหลกั การคร่าว ๆ ของการกำหนดช่ือตราสินคา้ โดยนำไปประยกุ ตใ์ ชต้ ามความเหมาะสม 6.3. วัสดุท่ีใช้ผลิตในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ วัสดุมีความสำคัญในแง่ของความ แขง็ แรงในการขนสง่ สร้างภาพลักษณใ์ หผ้ ลติ ภัณฑ์ ปกป้องผลิตภณั ฑไ์ มใ่ หเ้ กิดความเสียหาย ดังนั้น วัสดุจึงมีความสำคัญในการออกแบบผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์เป็นอย่างมาก ต้อง คำนึงถึงความเหมาะสมทุก ๆ ด้านที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ของเรา เช่น เป็นมิตรต่อผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม รีไซเคิลได้ ย่อยสลายได้ ไมก่ ่อให้เกดิ มลพษิ ผลิตจากธรรมชาติ กนั น้ำ แขง็ แรง คุณภาพสงู ตน้ ทุนตำ่ ฯลฯ 6.4. รูปทรงลักษณะบรรจุของบรรจุภัณฑ์ นอกจากความสวยงามแล้ว ควรคำนึงถึงความคงทนใน การขนสง่ ภาพลกั ษณข์ องสินคา้ การสร้างความน่าสนใจ ง่ายต่อการใช้งาน มเี อกลกั ษณแ์ ต่สามารถใช้งานได้จรงิ 6.5. การออกแบบกราฟิก เราลองนึกถึงเวลาเราเลือกผลิตภัณฑ์ชนิดใดชนิดหนึ่งในตลาด สนิ ค้าออกใหม่เหมอื นกนั ชนิดเดยี วกนั ประเภทเดียวกัน ราคาเท่ากัน วางอย่ใู นช้ันขายสินคา้ อนั เดียวกัน อะไร คือเหตุผลว่าเราจะหยิบสินค้าชิ้นไหน จะเห็นได้ว่าปัจจัยในการเลือกสินค้าของผู้บริโภคมักใช้ “อารมณ์” ใน การเป็นตัวตดั สินใจในการเลือกสินค้าช้ินใดช้นิ หนงึ่ ดงั นน้ั การออกแบบกราฟกิ จงึ ต้องคำนึงถึงความเหมาะสม การสื่ออารมณ์ เน้ือเร่อื ง เน้อื หา การรบั รู้ ลวดลาย การใชต้ ัวอักษร ทีม่ าของผลิตภณั ฑ์ รายละเอยี ดตา่ ง ๆ ของ ประเภทผลิตภณั ฑท์ จี่ ำเปน็ ต้องใสล่ งไปด้วย (ท่ีมาของภาพประกอบ : กลุม่ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา) 31

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 32 7. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ [4] บรรจุภณั ฑท์ ่ดี นี นั้ จะตอ้ งสามารถผลิตและนำไปบรรจุไดด้ ว้ ยวิธกี ารท่ีสะดวก ประหยัด และรวดเร็ว การเลือกบรรจุภัณฑม์ ีขอ้ พิจารณา ดังตอ่ ไปน้ี 7.1 ลักษณะของสินค้า คุณสมบัติทางกายภาพประกอบด้วย ขนาด รูปทรง ปริมาตร ส่วนประกอบหรอื ส่วนผสม ของแขง็ ของเหลว ผู้ออกแบบต้องทราบความเหนียวขน้ ในกรณเี ป็นของเหลว และ ต้องรู้น้ำหนักหรือปริมาณ หรือความหนาแน่นสำหรับสินค้าที่เป็นของแห้ง ประเภทของสินค้าคุณสมบัติทาง เคมี คือ สาเหตุที่ทำให้สินค้าเน่าเสียหรือเสื่อมคุณภาพจนไม่เป็นที่ยอมรับได้ และปฏิกิริยาอื่น ๆ ที่อาจจะ เกิดขึ้น คุณสมบัติพิเศษอื่น ๆ เช่น กลิ่น การแยกตัว เป็นต้น สินค้าที่จำหน่ายมีลักษณะเป็นอย่างไร มคี ณุ สมบตั ทิ างฟิสิกส์ หรือทางเคมอี ยา่ งไร เพ่อื จะไดเ้ ลือกวัสดใุ นการทำบรรจุภัณฑท์ ี่ปอ้ งกันรักษาไดด้ ี 7.2 ตลาดเป้าหมาย ตอ้ งศกึ ษาความต้องการของลูกคา้ เปา้ หมายเพ่ือจะได้เลือกบรรจุภัณฑ์ที่ตรง กับความต้องการของตลาดหรือกลุ่มลูกค้า การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สนองกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ต้องวิเคราะห์จุดยืนของสินค้าและบรรจุภณั ฑ์เทียบกับคู่แข่งขันที่มีกลุ่มเป้าหมายเดียวกัน เช่น ข้อมูลปริมาณ สินคา้ ทจี่ ะบรรจขุ นาด จำนวนบรรจภุ ณั ฑ์ตอ่ หน่วยขนสง่ และอาณาเขตของตลาด เปน็ ต้น 7.3 วิธีจัดจำหน่าย การจำหน่ายโดยตรงจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บรโิ ภคย่อมต้องการบรรจุภัณฑ์ลักษณะ หนึ่ง แต่หากจำหน่ายผ่านคนกลาง เป็นคนกลางประเภทใด มีวิธีการซื้อของเข้าร้านอย่างไร วางขายสินค้า อย่างไร เพราะพฤติกรรมของร้านค้าย่อมมีอิทธิพลต่อโอกาสขายของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ รวมทั้งพิจารณาถึง ผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันทจี่ ำหน่ายในแหล่งเดียวกนั ดว้ ย 7.4 การขนสง่ มีหลายวธิ ีและใชพ้ าหนะตา่ งกนั รวมทั้งระยะในการขนสง่ ความทนทาน และความ แข็งแรงของบรรจุภัณฑ์ การคำนึงถึงวิธีที่จะใช้ในการขนส่งก็เพื่อพิจารณาเปรียบเทียบให้เกิดผลเสียน้อยที่สุด รวมถึงประหยดั และปัจจยั เร่อื งดินฟา้ อากาศ ในปจั จุบันนิยมการขนส่งดว้ ยระบบตูบ้ รรทุกสำเร็จรปู 7.5 การเกบ็ รกั ษา การเลอื กบรรจุภัณฑจ์ ะต้องพจิ ารณาถงึ วิธีการเก็บรักษา สภาพของสถานที่เก็บ รักษา รวมทั้งวธิ ีการเคลื่อนย้ายในสถานทีเ่ ก็บรักษาดว้ ย 7.6 ลักษณะการนำไปใช้งาน ต้องนำไปใช้งานไดส้ ะดวกเพือ่ ประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่าย 7.7 ต้นทนุ ของบรรจุภัณฑ์ เป็นปัจจยั ที่จะต้องคำนึงถึงเป็นอย่างมาก และตอ้ งคำนึงถึงผลกระทบ ทีม่ ีต่อยอดขาย หรือความสญู เสยี คา่ ใช้จ่ายอืน่ ๆ บรรจุภัณฑ์ดอี าจต้องจา่ ยสงู แตด่ ึงดดู ความสนใจของผู้ซื้อย่อม เป็นสิ่งชดเชยที่ควรเลือกปฏิบตั ิ รวมถึงผลการชดเชยในกระบวนการผลิต การบรรจุที่สะดวก รวดเร็ว เสียหายน้อย ประหยัด และลดต้นทุนการผลติ ได้ --------------------- 4 ปัทมาพร ท่อช.ู การทำความเขา้ ใจ การออกแบบการบรรจภุ ณั ฑ์. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=732&section=37&issues=28. (วันที่สืบค้น ข้อมลู 17 มถิ ุนายน 2564) 32

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 33 7.8 ปัญหาด้านกฎหมาย บทบัญญัติด้านกฎหมายเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ที่ปรากฏชัดเจน คือ กฎระเบียบและข้อบังคับเก่ียวกับฉลากการออกแบบกราฟิกของผลิตภัณฑ์ต้องเปน็ ไปตามข้อบังคับ นอกจากน้ี ยงั ต้องศึกษาการใชส้ ัญลักษณเ์ ก่ยี วกบั ส่งิ แวดล้อม และกฎระเบยี บและขอ้ บังคับเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เปน็ ต้น 8. สบี นบรรจุภณั ฑ์ [5] การออกแบบบรรจุภัณฑ์ สีนับว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่ง เพราะสีเป็นสิ่งที่มีผลต่อ ประสาทสมั ผัส เป็นเครื่องดงึ ดดู ความสนใจทำให้เกดิ ความรสู้ กึ อยากจับต้องอยากสมั ผสั โดดเด่น ความหมายของสี สี ความรสู้ กึ ความหมาย ความเชื่อ แดง ตืน่ เต้น เรา้ อารมณ์ มพี ลงั กลา้ หาญ การเตบิ โต ความปรารถนางาน ร้อนแรง ระวงั ความตั้งใจ อันตราย ความรัก มงคล (จนี ) ดวงอาทติ ย์ ส้ม สดใส เกียรติยศ มพี ลัง - เหลือง เบิกบาน สว่าง แจ่มใส การเรม่ิ ต้น ความฉลาดการแจ้งเตือน ความเปน็ เหตเุ ปน็ ผล ความใหม่ อดุ มการณ์ เขยี ว สงบ เยือกเยน็ สดชน่ื ความหวัง ความอุดมสมบูรณ์ ความ ข้ีสงสาร รม่ รน่ื มชี ีวิตชวี า ปลอดภัย ปลอดภัย ฟา้ กระชุ่มกระชวย สดใส ตื่นตัว อสิ รเสรี อดทน สันติภาพ ธรรมชาติ สดช่ืน ชมุ่ ชื้น ลดความตึงเครียด ม่วง กดดนั ลึกลบั ภาคภมู ิใจ สงู ส่ง มีพลงั มีจินตนาการ สีของแม่ม่าย สีของ เพศที่สาม นำ้ ตาล สุขมุ หนกั แน่น ธรรมชาติ แห้งแล้ง ความมง่ั ค่ัง โบราณ เกา่ แก่ ความอบอนุ่ อนรุ ักษ์นิยม (ทม่ี าภาพประกอบ : http://netra.lpru.ac.th/~weta/m4/m4_print.html) --------------------- 5 การออกแบบบรรจุภัณฑ์. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf. (วันที่สืบค้นข้อมูล 24 มิถุนายน 2564) 33

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 34 องคป์ ระกอบท่ีสำคัญในการเลอื กใชส้ ีทคี่ วรคำนึงถึงสำหรบั การตกแต่งหบี ห่อบรรจุ คือ [4] 1. สตี า่ ง ๆ ที่ใช้บนเน้ือทขี่ องหีบหอ่ บรรจคุ วรตดิ ตอ่ กันอยา่ งได้เรอ่ื งราวทั้งหมดไม่ขัดกัน 2. ขอบเขตของสที ใี่ ชบ้ นหบี ห่อบรรจุ แตล่ ะสีควรจะประกอบกันแลว้ เขา้ ใจกนั ได้ หรือเป็นสีคกู่ ันได้ 3. สีท่ีใช้ควรเป็นสีทีย่ อมรบั ของผ้บู รโิ ภคในตลาด ถูกตอ้ งตามรสนยิ มของผบู้ รโิ ภค 4. ขอบเขตของสิ่งที่จะทำให้หีบห่อบรรจุ ขัดแย้งหรือไม่เด่น เมื่อเปรียบเทียบกับหีบห่อ บรรจุภัณฑ์ ของผลติ ภัณฑ์คู่แขง่ ขัน 5. การใช้สีต้องดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคที่สุด ในกรณีที่จำหน่ายในสถานที่ต่าง ๆ กัน เช่น ร้าน บรกิ ารเอง Supermarket ตู้แช่ หรืออืน่ ๆ 6. การใชส้ ที ใี่ หค้ วามดึงดดู สูงสดุ ภายใตแ้ สงสว่างมาก ๆ ซึ่งเป็นสภาวะปกตใิ นร้านคา้ 7. การใชส้ ีท่ีเหมาะกบั คา่ นิยมของผูบ้ ริโภค โดยเฉพาะทีเ่ กี่ยวกบั ประเภทของผลติ ภัณฑ์ 8. ขอบเขตของสที ี่สามารถทำให้ผูบ้ ริโภคเกดิ ความประทบั ใจในตราสินคา้ และขอบเขต การใชส้ ีน้ซี ้ำ ๆ กันในการจัดจำหน่ายและการโฆษณา 9. ขอบเขตของสีที่ใชบ้ นหีบห่อบรรจุที่เข้ากันได้กบั สีของสินค้าและการเปลี่ยนแปลงตา่ งๆ เพื่อให้เกิด ความประทบั ใจขนึ้ มาก 10. ขอบเขตของสที ี่มีผลตอ่ ราคาของหีบห่อบรรจุ 11. การยอมรบั ของหีบห่อบรรจตุ อ่ ผบู้ ริโภคและผ้ขู ายปลีก 12. ขอบเขตของหีบห่อบรรจุที่อาจจะก้าวร้าวและข่มบรรจุภัณฑ์ เพื่อการจำหน่ายที่เด่น ๆ อาจจะดู แลว้ น่าเบ่อื ทำให้ส่งเสรมิ บรรจุภณั ฑ์ของผลติ ภัณฑค์ ู่แข่ง (ทม่ี าของภาพประกอบ : กล่มุ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา) 34

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 35 ใบงานที่ 3 เรื่อง หลกั การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ คำชี้แจง หลังจากทีผ่ ู้เรียนได้ศกึ ษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับด้านหลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์แลว้ จงตอบคำถาม ดังต่อไปนี้ 1. จงอธบิ ายวา่ ผู้ออกแบบหรือผ้ผู ลิตต้องมีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั หลักการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์อย่างไรบ้าง มาพอสังเขป .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. จงอธิบายขนั้ ตอนการวางแผนการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ ................................................................................................................................................. ............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. จงอธิบายขัน้ ตอนการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ .............................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................... .................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. จงอธิบายการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 35

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 36 แนวคำตอบ ใบงานที่ 3 เรื่อง หลกั การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ 1. จงอธบิ ายวา่ ผู้ออกแบบหรือผผู้ ลิตต้องมีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์อย่างไรบ้าง มาพอสงั เขป ตอบ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผู้ออกแบบหรือผู้ผลิตจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ รวมทั้งเข้าใจในหลักองค์ประกอบศิลปะ เพื่อนำมาใช้ในการสร้าง หรือออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้มีความพร้อม ท้งั ประโยชนใ์ ชส้ อย คณุ ลักษณะเฉพาะ รปู แบบที่จะเกดิ ขน้ึ ความสวยงามซ่งึ สัมพันธ์เชงิ การคา้ นอกเหนือจาก เขา้ ใจในหลกั การออกแบบยังต้องเข้าใจในปัจจยั อื่นทเ่ี กยี่ วข้องอีกหลายปัจจัย เช่น งบประมาณ ความต้องการ ของตลาด หรือแม้แต่สถานประกอบการ และเครื่องมือในการผลิตบรรจุภัณฑ์ เนื่องจากปัจจุบันมีเทคโนโลยี เกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่พัฒนาขึ้นตามยุคสมัย ดังนั้น จึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ ดงั นี้ 1. วัตถุประสงค์การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ส่วนใหญ่มี 2 ประการ คือ ในการผลิต การบรรจุ การขนส่ง การเก็บรักษา การวางจำหน่าย และการอุปโภค ซึ่งทั้งนี้การออกแบบต้องอาศัย ความรู้และ ประสบการณ์ด้านวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์เข้ามาช่วยเป็นหลักใหญ่ 2. องค์ประกอบของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ องค์ประกอบที่ออกแบบไว้บนบรรจุภัณฑ์เป็นปัจจัย สำคัญในการเลือกซื้อสินค้า รายละเอียดหรือส่วนประกอบบนบรรจุภัณฑ์จะแสดงออกถึงจิตสำนึกของผู้ผลิต สินค้าและสถานะ (Class) ของบรรจุภัณฑ์ ซึ่งสามารถขยับเป็นสื่อโฆษณาระยะยาว ส่วนประกอบที่สำคัญบน บรรจภุ ัณฑอ์ ยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ ควรมี 3. ข้ันตอนการหาข้อมูลในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อหาแนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ มีสง่ิ ปลกี ยอ่ ยทีต่ อ้ งคำนึงถึง เช่น การตั้งจดุ ม่งุ หมายของบรรจภุ ณั ฑ์ และการวางแผนปัจจยั ต่าง ๆ ที่ได้จากการ วเิ คราะห์รวบรวมขอ้ มูล ขอบเขตการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 4. ขั้นตอนการวางแผนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การวางแผนเริ่มต้นด้วยจุดประสงค์ของการ ออกแบบ พร้อมด้วยข้อจำกัดต่าง ๆ รายละเอียดการวางแผนต้องประกอบด้วย การวางแผน การรวบรวม ขอ้ มูล การออกแบบรา่ ง การประชุมวเิ คราะห์ปรับตน้ แบบ การทำแบบเสมือนจริง และการบรหิ ารหารผลติ 5. เทคนคิ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อนำไปสู่การออกแบบและพฒั นาบรรจุภณั ฑ์ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ เพิ่มสูงขึ้น อันจะส่งผลต่อความก้าวหน้าของธุรกิจ ผลกำไรที่เพิ่มขึ้น ตลอดจนการเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค นั่นเองจะประกอบด้วย การออกแบบเป็นชุด (Packaged) การออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบเรียงต่อเป็นภาพ การออกแบบบรรจุภัณฑท์ ่ีแสดงถงึ ศลิ ปะทอ้ งถน่ิ การออกแบบบรรจุภณั ฑข์ องขวญั 6. ข้นั ตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 7. การออกแบบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่ดีนั้นจะต้องสามารถผลิตและนำไปบรรจุได้ด้วยวิธีการ ทีส่ ะดวก ประหยดั และรวดเร็ว 36

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 37 8. สีบนบรรจุภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ สีนับว่าเปน็ องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่ง เพราะสี เป็นสิ่งที่มีผลต่อประสาทสัมผัส เป็นเครื่องดึงดูดความสนใจทำให้เกิดความรู้สึกอยากจับต้องอยากสัมผัส โดดเด่น 2. จงอธิบายขัน้ ตอนการวางแผนการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ ตอบ ขั้นตอนการวางแผนการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การวางแผนเริ่มต้นด้วยจุดประสงค์ของการออกแบบ พรอ้ มด้วยขอ้ จำกดั ต่าง ๆ รายละเอยี ดการวางแผนต้องประกอบด้วย องค์ประกอบตอ่ ไปนี้ ขน้ั ตอนท่ี 1 การวางแผน อันไดแ้ ก่ 1.1 กำหนดเวลา 1.2 ผลงานทจ่ี ะได้รบั ในแต่ละขน้ั ตอนการทำงาน 1.3 รายละเอียดของตราสินค้า (Branding) 1.4 ผู้รบั ผิดชอบในแตล่ ะข้นั ตอน ข้ันตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล อนั ได้แก่ 2.1 ขอ้ มลู การตลาด 2.2 สถานะการแขง่ ขัน จุดแขง็ จุดอ่อน โอกาส ข้อจำกดั (SWOT) 2.3 ข้อมูลจากสถานทจ่ี ำหนา่ ย 2.4 ความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย / พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภค 2.5 เทคโนโลยีใหม่ ๆ ทางด้านวัสดุบรรจุภัณฑ์ ระบบการผลิตบรรจุภัณฑ์หรือ เครอ่ื งจกั ร ขัน้ ตอนท่ี 3 การออกแบบร่าง อนั ไดแ้ ก่ 3.1 พัฒนาความคดิ ริเริม่ ตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง 3.2 รา่ งต้นแบบประมาณ 3-5 แบบเพื่อนำเสนอเจา้ ของผลติ ภัณฑ์ 3.3 ปรับปรุงรปู แบบตามข้อเสนอแนะ 3.4 จดั ทำต้นแบบบรรจุภัณฑ์ (Model) ขน้ั ตอนที่ 4 การประชุมวเิ คราะห์ปรบั ตน้ แบบ อนั ได้แก่ 4.1 วเิ คราะห์ความเปน็ ไปไดท้ างเทคนิค 4.2 วิเคราะห์การสนองความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย 4.3 เลอื กต้นแบบท่ียอมรบั ได้ ขั้นตอนท่ี 5 การทำแบบเสมือนจริง ไดแ้ ก่ 5.1 เลือกวัสดุที่นำมาผลิต 5.2 ออกแบบกราฟกิ เสมือนจรงิ พร้อมตราสนิ ค้าและสัญลักษณ์ทางการค้า 5.3 สร้างต้นแบบ (Pattern) เพ่อื ส่งโรงพิมพ์ 37

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 38 ขั้นตอนที่ 6 การบริหารการผลิต โดยเริ่มจากการติดต่อโรงงานผู้ผลิต เลือกวัสดุ จนถึงการ ควบคุมงานผลิตให้ได้ตามแบบที่ออกแบบ พร้อมทั้งจัดเตรียมรายละเอียดการสั่งซื้อ (Specification) เพื่อให้ บรรจภุ ัณฑท์ อ่ี อกแบบสามารถผลิตไดต้ ามต้องการ ข้นั สุดทา้ ยเปน็ การติดตามผลของบรรจุภัณฑ์ท่ีวางจำหน่าย สามารถสนองตามจดุ มงุ่ หมายของการออกแบบและบรรลุถึงวัตถุประสงคข์ ององค์การเพยี งใด 3. จงอธิบายข้ันตอนการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ ตอบ ข้ันตอนการหาข้อมูลในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อหาแนวทางในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ มสี ่ิงปลกี ยอ่ ยทีต่ อ้ งคำนึงถึง เช่น การต้งั จดุ ม่งุ หมายของบรรจภุ ณั ฑ์ และการวางแผนปจั จยั ตา่ ง ๆ ที่ได้จากการ วเิ คราะห์ รวบรวมข้อมลู ขอบเขตการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ โดยมขี ั้นตอนดงั น้ี 1. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย เป็นเรื่องแรก ๆ ท่ีเราควรต้องรู้ว่าสินค้าของเราเหมาะกับใคร ผู้ประกอบการต้องเข้าใจความต้องการของตลาด ความต้องการของผู้บริโภค โดยกำหนดกลุ่มเป้าหมายให้ ชัดเจน เพ่ือท่ีจะออกแบบผลติ ภณั ฑแ์ ละ บรรจภุ ณั ฑ์ใหต้ รงตอ่ ความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายใหม้ ากท่ีสดุ เชน่ วัย เพศ อายุ ที่อยู่อาศัย ลักษณะความชอบ ความต้องการในการใช้สินค้า การกำหนดกลุ่มเป้าหมายนอกจาก คำนึงถึงตัวอย่างที่กล่าวมาแล้ว เรียกว่ากลุ่มเป้าหมายโดยตรง เรายังต้องคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายที่ซื้อแต่ได้ บริโภคเองด้วย เช่น ของฝาก อาหารเด็ก น้ำหอม เครื่องประดับ โดยผู้ซื้ออาจจะไม่ได้นำไปบริโภคเองแต่ซื้อ เพราะนำไปให้คนอื่น ดังนั้นปจั จยั เหลา่ น้ีต้องรวมเขา้ ไปในการกำหนดกลุม่ เป้าหมายด้วย 2. กำหนดชอ่ื ตราสินคา้ ชอ่ื สนิ คา้ ก็เปรียบเหมือน “ชอื่ คน” ควรใช้คำทสี่ ะกดในการเขียนและอ่าน ที่ไม่ยากเกินไป ง่ายต่อการจดจำ ส่วนมากผู้ประกอบการมักจะนำชื่อบริษัท สถานที่ตั้ง ชื่อจดทะเบียน ชื่อตนเอง ชอื่ ทเ่ี ป็นมงคล คำอ่นื ๆ ท่นี ำมาผสมกันให้เกิดคำ ฯลฯ 3. วัสดุที่ใช้ผลิตในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ วัสดุมีความสำคัญในแง่ของความ แข็งแรงในการขนส่ง สร้างภาพลักษณ์ให้ผลิตภัณฑ์ ปกป้องผลิตภัณฑ์ไม่ให้เกิดความเสียหาย ดังนั้น วัสดุจึงมี ความสำคญั ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑเ์ ปน็ อย่างมาก ตอ้ งคำนึงถึงความเหมาะสมทกุ ๆ ด้านท่ี เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ของเรา เช่น มิตรต่อผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม รีไซเคิลได้ ย่อยสลายได้ ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ ผลติ จากธรรมชาติ กนั นำ้ แขง็ แรง คุณภาพสงู ต้นทนุ ต่ำ ฯลฯ 4. รูปทรงลักษณะบรรจุของบรรจุภัณฑ์ นอกจากความสวยงามแล้ว ควรคำนึงถึงความคงทนในการ ขนส่ง ภาพลักษณ์ของสินค้า การสรา้ งความนา่ สนใจ ง่ายต่อการใชง้ าน มเี อกลักษณแ์ ตส่ ามารถใชง้ านได้จริง 5. การออกแบบกราฟิก เราลองนกึ ถึงเวลาเราเลือกผลิตภัณฑ์ชนิดใดชนิดหน่ึงในตลาด สินค้าออก ใหม่เหมือนกัน ชนดิ เดยี วกัน ประเภทเดียวกัน ราคาเทา่ กนั วางอย่ใู นชน้ั ขายสินคา้ อันเดียวกนั อะไรคือเหตุผล ว่าเราจะหยิบสินค้าชิ้นไหน จะเห็นได้ว่าปัจจัยในการเลือกสินค้าของผู้บริโภคมักใช้ “อารมณ์” ในการเป็นตัว ตัดสินใจในการเลือกสินค้าชิ้นใดชิ้นหนึ่ง ดังนั้น การออกแบบกราฟิกจึงต้องคำนึงถึงความเหมาะสม การส่ือ อารมณ์ เนื้อเรื่อง เนื้อหา การรับรู้ ลวดลาย การใช้ตัวอักษร ที่มาของผลิตภัณฑ์ รายละเอียดต่าง ๆ ของ ประเภทผลติ ภัณฑ์ท่จี ำเป็นต้องใสล่ งไปดว้ ย 38

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 39 4. จงอธิบายการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ ตอบ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่ดีนั้นจะต้องสามารถผลิตและนำไปบรรจุได้ด้วยวิธีการที่สะดวก ประหยัดและรวดเรว็ การเลือกบรรจภุ ณั ฑ์มีขอ้ พจิ ารณา ดังต่อไปนี้ 1. ลกั ษณะของสินคา้ 2. ตลาดเปา้ หมาย 3. วิธีจดั จำหนา่ ย 4. การขนส่ง 5. การเกบ็ รกั ษา 6. ลกั ษณะการนำไปใชง้ าน 7. ตน้ ทนุ ของบรรจุภัณฑ์ 8. ปญั หาดา้ นกฎหมาย 39

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย ใบความรูท้ ่ี 4 เรอ่ื ง การสรา้ งต้นแบบบรรจภุ ณั ฑ์อยา่ งงา่ ย ประชิด ทิณบุตร (2531 : 86) [1] กล่าวว่า การออกแบบโครงสร้าง หมายถึง การกำหนดลักษณะ รูปร่าง รูปทรง ขนาด ปริมาตรส่วน ปริมาณอื่น ๆ ของวัสดุที่จะนำมาผลิตและประกอบเป็นภาชนะบรรจุให้ เหมาะสมกับหน้าที่ใช้สอย ตลอดจนกรรมวิธีการผลิต การบรรจุ การเก็บรักษา และการขนส่ง การออกแบบ โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์น้ัน ผู้ออกแบบจะมีบทบาทในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ประเภทที่สัมผัสอยู่กับ ผลิตภัณฑช์ ัน้ แรกและชั้นที่ 2 เปน็ สว่ นใหญ่ แต่จะมรี ปู ร่างลักษณะอยา่ งไรนั้นก็ข้ึนอยู่กับผลติ ภัณฑ์ (Product) ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทใด ซึ่งผู้ออกแบบจะต้องศึกษาข้อมูลของผลิตภัณฑ์ที่จะต้องบรรจุและออกแบบ โครงสร้าง เพื่อรองรับการบรรจุให้เหมาะสม โดยอาจจะกำหนดให้มีลักษณะพิเศษเฉพาะหรือทำให้มีรูปร่างท่ี เหมาะสมแก่การจับ ถือ หิ้ว และอำนวยความสะดวกต่อการนำเอาผลิตภัณฑ์ภายในออกมาใช้ พร้อมทั้ง ทำหนา้ ที่ให้ความปกปอ้ งคมุ้ ครองผลติ ภัณฑโ์ ดยตรงอกี ด้วย สว่ นการออกแบบโครงสรา้ งของบรรจภุ ณั ฑ์ ชน้ั ท่ี 3 นน้ั สว่ นใหญเ่ ปน็ บรรจุภณั ฑท์ ี่มีรปู แบบคอ่ นข้าง แน่นอนและเป็นสากลอยู่แล้วตามมาตรฐานการผลิต ในระบบอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับระบบ การขนส่งที่เน้นการบรรจุและการบรรทุกเพื่อขนส่งได้คราวละมาก ๆ จึงไม่นิยมออกแบบให้มีรูปร่างแปลก ๆ มากนัก ส่วนใหญ่จะเน้นประโยชนใ์ ชส้ อย ประหยดั สามารถปกป้องผลิตภณั ฑจ์ ากแรงกระทบกระแทก การรับ น้ำหนัก การวางช้อน การต้านทานแรงดันทะลุหรือป้องกันจากความเปียกชื้นจากไอน้ำ สภาวะอากาศ ฯลฯ เป็นตน้ การออกแบบรปู ร่าง รูปทรง ภายนอกจึงมีลกั ษณะไม่แตกต่างกันนกั แตอ่ าจจะมีการแตกต่างภายนอก ดว้ ยการออกแบบกราฟกิ เพื่อแสดงความเปน็ เอกลักษณ์เฉพาะของผผู้ ลติ และผลิตภัณฑ์ ตัวอย่าง บรรจุภัณฑ์ครีมเทียมสำหรับชงกาแฟ มีบรรจุภัณฑ์ 2 ชั้น ชั้นแรกเป็นอลูมิเนียมฟอยล์ บรรจุครีมเทียม ชั้นที่ 2 เป็นกล่องกระดาษแข็งแบบพับรูปสี่เหลี่ยม ทั้งน้ี บรรจุภัณฑ์ชั้นแรกเป็นอลูมิเนียม ฟอยล์ก็เพราะว่าเนื้อผลิตภัณฑ์เปน็ ผง จึงต้องการวัสดุสำหรับการบรรจุที่สามารถกันความชื้นได้ดี การใช้แผ่น อลูมิเนียมฟอยล์บรรจุก็เพราะป้องกันความชื้นได้ดี สามารถพิมพ์ลวดลายหรือข้อความบนผิวได้ดีกว่า ถุงพลาสติก อีกทั้งยังเสริมสร้างภาพพจน์พึงพอใจ (The prestige desired) ในผลิตภัณฑ์ให้เกิดแก่ผู้ใช้และ เช่ือถือในผู้ผลิต สว่ นบรรจภุ ัณฑช์ ัน้ ที่ 2 เปน็ กล่องกระดาษแข็ง ก็เพราะว่าบรรจภุ ัณฑ์ช้ันแรกเป็นวัสดุประเภท อ่อนตัว มีความอ่อนแอด้านการป้องกันผลิตภัณฑ์ จากการกระทบกระแทกทะลุในระหว่างการขนย้าย ตลอดจนยากแก่การวางจำหน่ายหรือตั้งโชว์ จึงต้องอาศัยบรรจุภัณฑ์ชั้นท่ีสองเข้ามาช่วย เพื่อกระทำหน้าที่ ประการหลังดังกล่าว จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า เพียงแค่ขั้นตอนการกำหนดการเลือกวัสดุให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์นั้น ผู้ออกแบบจะต้องอาศัยความรู้และข้อมูลตลอดจนปัจจัยต่าง ๆ เข้ามาพิจารณาตัดสินใจร่วมในกระบวนการ ออกแบบ เชน่ ราคาวัสดุ การผลติ เคร่ืองจักร การขนสง่ การตลาด ฯลฯ ที่จะตอ้ งพจิ ารณาวา่ มีความคุ้มทุน --------------------- 1 ประชิด ทณิ บตุ ร. (2530). การออกแบบบรรจุภณั ฑ.์ กรงุ เทพฯ : โอ.เอส พรน้ิ ติง้ เฮ้าส.์ 40

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 41 หรือเป็นไปได้ในระบบการผลิตและจำหน่ายเพียงใด แล้วจึงจะมากำหนดเป็นรูปร่าง รูปทรงของบรรจุภัณฑ์รวมท้ัง การพิจารณาเลือกใชว้ ัสดุใดมาประกอบจึงจะเหมาะสมดีกว่า หรือลดต้นทุนในการผลิตได้มากท่ีสดุ ส่งิ ต่าง ๆ เหลา่ นี้ คือ สิ่งที่ผู้ออกแบบจะต้องพิจารณาประกอบด้วย ดังนั้น จึงเห็นได้ว่าในขั้นตอนของการออกแบบโครงสร้างบรรจุ ภัณฑ์นั้น นักออกแบบมิใช่ว่าจะสร้างสรรค์ได้ตามอำเภอใจ แต่กลับต้องใช้ความรู้และข้อมูลจากหลาย ๆ ด้านมา ประกอบกัน จึงจะทำให้ผลงานออกแบบนั้นมีความสมบูรณ์และสำเร็จออกมาได้ ในขั้นตอนการออกแบบโครงสร้าง นี้ ผู้ออกแบบจะเริ่มตั้งแต่การสร้างแบบด้วยการสเกตแนวความคิดของรูปร่างบรรจุภัณฑ์ และสร้างภาพประกอบ รายละเอียดด้วยการเขียนแบบ แสดงรายละเอียด มาตราสว่ นที่กำหนดแน่นอน เพอื่ แสดงใหผ้ ู้ผลติ ผเู้ กี่ยวข้องเข้าใจ อา่ นแบบได้ รวมทั้ง การใชท้ กั ษะทางศิลปะในการออกแบบ 1. การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผู้พัฒนาบรรจุภัณฑ์จะต้องสร้างต้นแบบหรือตัวอย่างของบรรจุภัณฑ์ ขนึ้ มาก่อน ซึง่ การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ อาจแบง่ ประเภทลกั ษณะการออกแบบได้ 2 ประเภทคอื [2] 1.1 กระบวนการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ ในกระบวนการออกแบบโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ มขี นั้ ตอน ดังน้ี 1) กำหนดนโยบายหรือวางแผนยุทธศาสตร์ เช่น ตั้งวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการผลิต เงนิ ทนุ งบประมาณ การจัดการ และการกำหนดสถานะของบรรจภุ ัณฑ์ 2) การศึกษาและการวิจัยเบื้องต้น ได้แก่ การศึกษาข้อมูลหลักการที่เกิดขึ้นและเกี่ยวข้อง สอดคลอ้ งกันกับการออกแบบโครงสรา้ งของบรรจุภัณฑ์ 3) การศึกษาถึงความเป็นไปได้ของบรรจุภัณฑ์ เริ่มศึกษาความเป็นไปได้ของบรรจุภัณฑ์ด้วย การสเกตภาพ (SKETCH DESING) แสดงถึงรูปร่างลักษณะและส่วนประกอบของโครงสร้าง 2-3 มิติ โดยการ คำนวณเงินทุนงบประมาณเบื้องต้นสำหรับดำเนินการ และพิจารณาคัดเลือกแบบร่างไว้ก่อนจะพัฒนาให้ สมบรู ณใ์ นขั้นตอนต่อไป 4) การพัฒนาและแก้ไขแบบ ผอู้ อกแบบจะต้องขยายรายละเอียดปลีกย่อยตา่ ง ๆ ของแบบร่างให้ ทราบอยา่ งละเอียด โดยเตรียมเอกสารหรือข้อมูลประกอบ มกี ารกำหนดเทคนิคและวธิ ีการผลิต การบรรจุวัสดุ การประมาณราคา ตลอดจนการทดสอบทดลองบรรจุ เพื่อหารูปร่าง รูปทรงหรือส่วนประกอบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกบั หน้าท่ีของบรรจภุ ัณฑ์ 5) การพฒั นาตน้ แบบจรงิ เม่อื แบบโครงสรา้ งไดร้ ับการแก้ไขและผ่านการยอมรับแล้ว จากน้ันทำ การเขียนแบบ เพื่อกำหนดขนาด รูปร่าง และสัดส่วนจริง เป็นการเขียนภาพประกอบแสดงรายละเอียดของ รูปแบบแปลนด้านต่าง ๆ และรายละเอียดใกล้เคียงกับบรรจุภัณฑ์ของจริงให้มากที่สุด เช่น สร้างต้นแบบด้วย ปนู พลาสเตอร์ ดินเหนยี ว กระดาษ ฯลฯ --------------------- 2 โครงสร้างบรรจภุ ณั ฑ.์ [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/brrcuphanthklxngkradas/2-khorngsrang-brrcu-phanth. (วนั ที่สืบคน้ ข้อมลู 24 มถิ นุ ายน 2564). 41

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 42 6) การผลิตจริง ดำเนินการตามแบบแปลนที่นักออกแบบได้ออกแบบไว้ จัดเตรียมแบบแม่พิมพ์ ของบรรจุภัณฑใ์ ห้เป็นไปตามกำหนด และสร้างบรรจุภัณฑ์จรงิ ออกมาหนึ่งเพ่ือเปน็ ตวั อยา่ ง สำหรับการทดสอบ ทดลอง และวิเคราะห์เป็นครั้งสุดท้าย หากพบว่ามีข้อบกพร่องควรรีบดำเนินการแก้ไขให้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงดำเนนิ การผลิตเพอื่ นำไปบรรจุและจำหนา่ ยในลำดับต่อไป 1.2 การออกแบบกราฟิก หมายถึง การสร้างสรรค์ลักษณะส่วนประกอบภายนอกของโครงสร้าง บรรจุภัณฑ์ให้สามารถสื่อสาร สื่อความหมาย ความเข้าใจ ที่จะส่งผลด้านจติ วิทยาต่อผู้บริโภค และอาศัยหลัก ศิลปะการจัดภาพให้เกดิ ความประสานกลมกลืนกันอย่างสวยงาม ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีได้วางไว้ 2. วธิ ีสร้างรปู ทรงบรรจุภณั ฑ์ เช่น มมุ สัน รอยพบั รอยตดั ตวั อย่าง กลอ่ งกระดาษแข็งแบบถาด [3] กล่องกระดาษแข็งประเภทหนึ่งท่ีได้รับความนิยมอย่างมาก คือ กล่องแบบถาดซึ่งตั้งช่ือตามรูปแบบ กล่องแบบถาดนี้จะมีฐานด้านลา่ งรองรับอาหารเป็นดา้ นทีเ่ ตม็ เรียบไม่มีรอยพบั และด้านข้างของกล่อง 2 ด้าน ซึ่งเป็นความลึกของถาด ส่วนด้านปลายอีก 2 ข้างที่ติดกับฐานประกบด้วยด้านข้างท้ังสี่ดา้ นด้วยวิธีทากาวหรอื การล็อกเพื่อขน้ึ รูปเปน็ ถาด หรอื กลอ่ งกระดาษแข็งแบบถาด กลอ่ งแบบน้ีสามารถแยกประเภทการใช้งานได้ 2 ประการ คือ แบบที่พับได้ (Collapsible) และสามารถขึ้นรูปใช้งานได้ทันที เนื่องจากบริเวณลิ้นข้างกล่องมีการ ทากาวแลว้ จากโรงงานผลติ กล่องกระดาษแข็ง เชน่ กลอ่ งกระดาษแขง็ แบบถาด (ทม่ี าภาพประกอบ : http://www.vkk-packaging.com/บรรจภุ ณั ฑก์ ระดาษ/) --------------------- 3 บรรจภุ ณั ฑก์ ระดาษทนี่ ยิ มใช้ในอตุ สาหกรรมอาหาร. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.vkk-packaging.com/บรรจภุ ัณฑก์ ระดาษ/. (วันที่สบื คน้ ข้อมลู 13 สิงหาคม 2564). 42

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 43 แบบที่ต้องพับสอดลิ้นกล่อง กอ่ นจะขึ้นรปู เพื่อใช้งาน ถาดกระดาษแบบนีส้ ามารถพับให้แบนราบได้ เพอ่ื ความประหยัดในการจัดส่ง นอกจากนย้ี ังสามารถออกแบบใหฝ้ าปิดได้ กล่องแบบน้ีนิยมใช้ตามร้านค้าและ ซปุ เปอรม์ ารเ์ กต็ เนอื่ งจากสามารถขน้ึ รูปไดส้ ะดวกเมื่อทำการบรรจุ กล่องกระดาษแบบท่ีต้องพบั สอดลนิ้ กล่องก่อนจะขน้ึ รปู เพื่อใช้งาน (ที่มาภาพประกอบ : http://www.vkk-packaging.com/บรรจภุ ณั ฑ์กระดาษ/) ตัวอยา่ ง การพบั กระดาษ ที่สามารถทำมือได้ (ทมี่ าภาพประกอบ : https://www.pinterest.com/) 43

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 44 นอกจากวิธีสร้างรูปทรงบรรจุภัณฑ์ประเภทกระดาษดังกล่าวข้างต้นแล้ว การสร้างต้นแบบบรรจุภัณฑ์ ประเภทที่ไม่ใชก่ ระดาษ ผู้พัฒนาบรรจภุ ณั ฑ์สามารถเพิ่มคุณคา่ ใหก้ ับผลติ ภัณฑ์สินค้าเป็นจุดแข็งในด้านความ หลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและวิถีไทย เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันโดยใช้ ศกั ยภาพของตนเองเป็นทุน การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน การนำแนวคิดมาใช้ต้องศึกษาให้ เห็นถึงอัตลักษณ์ของวัฒนธรรมในท้องถิ่นหรือชุมชนเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ อันสามารถสร้างแนวทางใน การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์สู่คุณค่าของสินค้าได้อย่างถูกต้อง ซึ่งในแต่ละชุมชน แต่ละตำบล สู่ระดับ ภูมิภาคก็มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาและความน่าสนใจที่แตกต่างกัน และสามารถสื่อภาพลักษณ์อันเป็น เอกลักษณ์ตรงตามความต้องการบรรจุภัณฑ์ในบริบทของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสินค้าและบรรจุภัณฑ์น้ัน การสรา้ งสรรคบ์ รรจุภัณฑ์จึงจำเป็นตอ้ งกำหนดแนวคิดในการออกแบบเพ่ือให้สามารถสรา้ งสรรคบ์ รรจุภณั ฑ์ การออกแบบสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์ จะต้องทำความเข้าใจกับผลิตภัณฑ์ว่า ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการใช้ บรรจุภัณฑ์เป็นแบบใด เช่น เป็นอาหาร ผัก ผลไม้ ของใช้ หรือของตกแต่ง ลักษณะของผลิตภัณฑ์มีคุณสมบัติ อย่างไร เป็นของเหลว ของแข็ง หรือเป็นผง ผลิตภัณฑ์เหล่านั้นล้วนมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่แตกต่างกัน ผู้ผลิตจึงจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจในตัวผลิตภัณฑ์สินค้าอย่างละเอียดก่อนจนเกิดความเข้าใจแล้วจึงเลือก วิธีการออกแบบสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์นั้น เช่น การสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์เชิงอัตลักษณ์ ถ้าเราย้อนกลับไปใน สมัยโบราณจะเห็นว่ามักนิยมนำใบตอง หรือใบไม้ ไม้ไผ่ มาทำเป็นบรรจุภัณฑ์ใส่อาหาร บรรจุภัณฑ์ประเภทน้ี ยังพบเห็นได้ตามท้องตลาด หรือเราสามารถผสมผสานแนวคิดโดยนำบรรจุภัณฑ์จากพลาสติก โฟม กระดาษ เคลือบพลาสติก นำมาประยุกต์ต่อยอดเพื่อเสริมสร้างบุคลิกลักษณะของบรรจุภัณฑ์ก็ได้ หรือสามารถนำวัสดุ อื่นที่เป็นวัสดุที่หาได้จากท้องถิ่นนำมาใช้ก็ได้ เช่น ภาชนะดินเผา หรือบางท้องที่อาจนำไม้ไผ่ หรือ กะลามะพร้าว มาใชท้ ำเป็นบรรจุภัณฑ์ใส่อาหารเหล่าน้ี ขอยกตัวอย่างเช่น หยวกกล้วยทป่ี จั จุบันสามารถนำมาทำเป็นภาชนะ ต่างๆ ได้มากมาย โดยใช้การขึ้นรูปคล้ายๆ กับเปเปอร์มาเช่ โดยไส้ตรงกลางเป็นกระดาษ อัดหยวกกล้วยเป็น ผิวหน้า และเคลือบทับด้วยน้ำมันแบบฟู้ดเกรด สามารถใส่อาหารรับประทานได้คล้ายกับภาชนะทั่วไป แต่ จะตอ้ งหลีกเลี่ยงพวกแกง หรือเมนูทีม่ นี ำ้ และไม่ควรแชน่ ำ้ ไวน้ าน (ทีม่ าภาพประกอบ : www.77kaoded.com/) 44

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/ 45 กาบหมาก (ที่มาภาพประกอบ : www.veerasa.com) หูหว้ิ แกว้ ไมไ้ ผ่ (ทีม่ าภาพประกอบ : จานใบไม้ใบทองกวาว (ท่ีมาภาพประกอบ : https://www.chiangmainews.co.th/page/ https://www.phitsanulokhotnews.com/2017/ archives/1028786/) 08/22/107440) ภาชนะจากกระบอกไมไ้ ผ่ (ทมี่ าภาพประกอบ : แผงไขจ่ ากฟางและหญ้าแห้ง (ทมี่ าภาพประกอบ : https://greenwave.atimeonline.com/ https://www.oddee.com) healthylifestyle/detail/1417) 45

พหลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย 46 3. การคำนวณตน้ ทนุ การผลิตอยา่ งงา่ ย [4] การคำนวณต้นทุนเปน็ สว่ นหน่ึงของระบบบัญชีและการเงนิ ของกจิ การ เปน็ การบันทึกการวัดผลและ รายงานข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนของสินค้าของกิจการ โดยทั่วไปการคำนวณต้นทุนจะใช้เวลาและลงรายละเอียด มากในกิจการที่ผลิตสินค้า แต่ไม่ได้หมายความว่ากิจการประเภทอื่น เช่น กิจการขายส่ง ขายปลีก ร้านอาหาร หรือบริการต่าง ๆ ไม่มีความสำคัญในการที่ต้องคำนวณต้นทุนเลย การคำนวณต้นทุนสามารถนำไปใช้ได้ในทกุ กิจการเพราะมคี วามสำคัญต่อการบรหิ ารจัดการธุรกจิ ดังนี้ 1. เพ่อื ใหท้ ราบถงึ ตน้ ทุนการผลติ และตน้ ทุนขายของธุรกจิ 2. เพือ่ สามารถนำต้นทุนท้งั หมดของกิจการมาเปรียบเทียบกบั รายไดจ้ ากการขายเพือ่ จะได้ทราบว่ามี กำไรหรอื ขาดทุนในการขายสนิ คา้ 3. เพอ่ื คำนวณหรือตีราคาสนิ ค้าคงเหลอื ทข่ี ายไดไ้ ม่หมดว่ามีมลู ค่าเทา่ ไหร่ 4. เพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมการซื้อสินค้าและจัดทำงบประมาณในการซื้อสินค้า รวมท้ัง ต่อรองราคากับผขู้ ายวตั ถดุ บิ 5. เพื่อใช้ในการตัดสินใจวา่ สนิ ค้าใดควรขายต่อไปและสนิ ค้าใดควรเลิกขาย (ในกรณีที่ผูผ้ ลิตมีสินคา้ หลายชนดิ ) ตน้ ทนุ แบ่งออกได้เปน็ 2 ลักษณะ 1. ต้นทุนผันแปร คือต้นทุนที่ผันแปรตามจำนวนหน่วยที่ผลิตหรือขาย เช่น วัตถุดิบ ค่าแรง ทางตรง คา่ ใช้จา่ ยในการผลติ ทางตรง เปน็ ตน้ 2. ต้นทุนคงที่ คือ ต้นทุนที่เกิดขึ้นไม่ว่ากิจการจะได้ขายสินค้าหรือไม่ ต้นทุนนี้จะไม่เปลี่ยนแปลง ตามจำนวนหนว่ ยทผ่ี ลิตหรือขาย เช่น เงนิ เดือนพนักงานหน้าร้าน คา่ เช่าร้าน คา่ เสื่อมราคา ค่าประกันภยั เปน็ ตน้ ดังนั้นต้นทุนการผลิตจะประกอบไปด้วยวัตถุดิบ + ค่าแรงงาน + ค่าใช้จ่ายในการผลิต ซึ่งทั้ง 3 รายการนี้ เป็นเพียงส่วนของการผลิตเท่านั้น หากเราจะคิดต้นทุนรวมของสินค้าแล้วเราจำเป็นต้องนำ ค่าใชจ้ ่ายในการขายและดำเนนิ การมารวมด้วย เช่น เงนิ เดอื น คา่ คอมมชิ ชัน่ พนักงานขาย ค่าแรงพนักงานขาย หน้าร้าน ค่าการตลาด (โฆษณา แผ่นพับ) ค่าเช่าสำนักงานและร้าน ค่าไฟฟ้าและน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าน้ำมันรถ ดอกเบี้ย ค่าเช่ารถ ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ฯลฯ เพื่อการคำนวณต้นทุนใหใ้ กล้เคียงความจริง หากเรา คำนวณแค่วัตถุดิบ ค่าแรงงานและค่าน้ำค่าไฟฟ้า ก็อาจทำให้เราได้ต้นทุนสินค้าที่น้อยกว่าความเป็นจริงและ มผี ลทำใหต้ ้งั ราคาขายที่ต่ำไปและอาจขาดทุนได้ --------------------- 4 การคำนวณตน้ ทนุ การผลติ แบบง่าย. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://bsc.dip.go.th/th/category/account2/fs-productcost. (วนั ทีส่ ืบค้นข้อมูล 17 มถิ ุนายน 2564). 46