Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รุ่น23 หมู่1 Work 1-E-book (สรุปบทความ)

รุ่น23 หมู่1 Work 1-E-book (สรุปบทความ)

Published by technoamp, 2022-02-11 16:46:13

Description: รุ่น23 หมู่1 Work 1-E-book (สรุปบทความ)

Search

Read the Text Version

E-BOOK SUMMARY ถอดองค์ความรู้ บทความ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ด้านการจัดการเรียนการสอน รวบรวมโดย นักศึกษา ป.บัณฑิต หมู่ 1 รุ่น 23 ป.บัณฑิตวิชาชีพครู รายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศฯ (GD58208) MUBAN CHOMBUENG Rajabhat University

นายบณั ฑิต ทองดี 647190101 หมเู่ รยี นที่ 1 เลขท่ี 1 สรุปบทความทางวชิ าการ ชื่อบทความ ความรู้ท่ไี ดร้ ับ แหลง่ อ้างอิง วิทยา วาโย*,*พยาบาลวิชาชีพ - แนวคดิ ของ ของกาเย่ (Gagne's Theory of ปฏิบตั ิการ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี Instruction) ท่ีผสู้ อนสามารถ นำมาประยุกต์ใช้ ขอนแกน่ , ระหวา่ งการสอนออนไลน์ ดงั นี้ อภิรดี เจรญิ นกุ ลู **,**พยาบาลวิชาชพี ชำนาญการ 1. เร่งเร้าความสนใจ พิเศษ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนีสรรพสทิ ธิ 2. บอกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ประสงค์ , 3. ทบทวนความรเู้ ดิม ฉตั รสดุ า กานกายนั ต์***,***พยาบาลวชิ าชีพชำนาญ 4. นำเสนอเนือ้ หาใหม่ การ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนสี รรพสทิ ธิ 5. ช้ีแนะแนวทางการเรยี นรู้ ประสงค์ , จรรยา คนใหญ่****, ****พยาบาล 6. ตอบสนองบทเรียน วิชาชีพชำนาญการ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี 7. ให้ข้อมูลย้อนกลบั ขอนแกน่ . การเรียนการสอนแบบออนไลนภ์ ายใต้ 8. ประเมนิ เพื่อการปรับปรุงระหวา่ งการเรยี น สถานการณ์แพร่ระบาด ของไวรสั COVID-19 : 9. เตรยี มกลยุทธก์ ารแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ แนวคิดและการประยุกต์ใชจ้ ัดการเรียนการสอน 10. สรปุ ผลการเรยี นและการนำความรู้ไปใช้ (2563) - สื่อและนวตั กรรมจดั การเรยี นรู้ 1. ผสู้ อน 2. ผเู้ รยี น 3. เนือ้ หา 4. สอ่ื การเรียนและแหล่งเรียนรู้ 5. กระบวนการจดั การเรียนรู้ 6. ระบบการตดิ ต่อสอ่ื สาร 7. ระบบเครอื ขา่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ 8. การวดั และการประเมินผล - วิเคราะห์และประเมินผลข้อมูล ปจั จุบันรูปแบบการ เรียนการสอนแบบออนไลน์มี หลากหลายวิธีท่ีทำให้ ผู้สอนและผ้เู รยี นมปี ฏสิ มั พนั ธ์รว่ มกัน สรปุ ได้ ดงั นี้ 1. การเรียนการสอนออนไลน์ดว้ ยรูปแบบ Massive Open Online Courses: MOOC 2. การสอนดว้ ยรปู แบบ Modular Object-Oriented Dynamic Learning Environment (Moodle)

3. วิธกี ารเรียนการสอนออนไลน์ผา่ นโปรแกรมการ ประชุมออนไลน์ได้ - สรุปผล การแพรร่ ะบาดของโรคโคโรนาไวรสั 2019 ทำให้เกิดการเปล่ยี นแปลงของวิถชี ีวิตแบบใหม่ (New Normal) ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนตอ้ งมีการปรบั ตวั ครั้งใหญ่เพอื่ ใหส้ ามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติ สำหรบั สถาบันทางการศึกษาจำเปน็ อยา่ งยง่ิ ทจี่ ะตอ้ งปรับตวั ดว้ ยการออกแบบการเรียนการสอนใหส้ อดคล้อง กับ สถานการณป์ จั จบุ ัน รวมทั้งวางแผนการรับมือกับภาวะ หยุดชะงกั ทางการศึกษา

ช่ือบทความ ความรู้ท่ีไดร้ บั แหล่งอา้ งอิง เนติลกั ษณ์ สสี ตั ย์ซ่อื * และดลฤทัย - แนวคดิ 1.ข้อบังคบั ทเ่ี ก่ยี วข้องกับการจดั การเรยี นรู้ บุญประสิทธิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสิต 2.แนวคิดท่ีเกีย่ วกับทฤษฎกี ารจัดการเรียนรู้ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การจัดการเรยี นรู้ 3.แนวคดิ ท่เี กีย่ วกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การ ของครูระดับมัธยมศึกษา.(2562) จัดการเรียน - ส่อื และนวตั กรรมจดั การเรียนรู้ จำเป็นท่ีครูต้องมี ความรู้ความสามารถดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ ช่วย สนบั สนนุ การเรยี นการสอนให้มีประสิทธภิ าพ รวมทง้ั พฒั นางานและนวัตกรรมใหม่ๆ ทน่ี ำมาใช้ในการเรยี น การสอนและพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ทักษะใน ศตวรรษที่ 21 มีทกั ษะหน่ึงท่ีมีความสำคญั ท่ผี เู้ รียนควรมี คอื ทักษะดา้ นสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี ซึ่ง ประกอบด้วยเป้าหมาย 3 ดา้ น ได้แก่ 1) ด้านสารสนเทศ 2) ด้านส่ือ 3) ดา้ นเทคโนโลยีและการสือ่ สาร - วิเคราะห์และประเมินผลข้อมูล สถิติที่ใช้ในการ วเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้แก่ 1.ความถ่ี 2.ร้อยละ 3.คา่ เฉลี่ย 4.สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน - สรปุ ผล ผลการศึกษาการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือ การจดั การเรียนรู้ของครรู ะดับมธั ยมศกึ ษา 1.ผลการศึกษาความคิดเห็นต่อการบริการของ สถานศกึ ษาทสี่ นับสนุนการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อการจดั การเรยี นรู้ 2.ผลการศกึ ษาความคิดเหน็ ต่อความสามารถของครู ระดบั มัธยมศึกษาท่เี กยี่ วกับการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการจดั การเรยี นรู้ 3.ผลการศึกษาความคิดเหน็ ต่อการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือการจัดการเรยี นรู้ของครรู ะดับ มัธยมศึกษา ปีที่ 1-6 ในภาพรวม

ชอ่ื บทความ ความรทู้ ่ีได้รบั แหลง่ อา้ งองิ ณฐั กานต์ สังขะทรพั ย์. อาจารย์ประจำ - แนวคิดของ John Keller ที่เสนอไว้ว่า ผู้สอนต้อง สาขาวิชาการตลาดดิจทิ ัล คณะบรหิ ารธุรกจิ ส่งเสริมให้ผู้เรยี นเกดิ ความร้สู กึ ทั้ง 4 ประการ คือ มหาวิทยาลยั ศรีปทุม วิทยาเขตขอนแกน่ (2564). 1) ความต้ังใจ (Attention) นวัตกรรมการเรยี นการสอนแบบผสมผสานทางการ 2) ความสมั พันธ์เก่ียวเนือ่ ง (Relevance) ตลาดดจิ ทิ ลั 3) ความมั่นใจ (Confidence) 4) ความพงึ พอใจ (Satisfaction) - ส่ือและนวัตกรรมจัดการเรยี นรู้ นวตั กรรมประเภทนี้มี ลักษณะเป็นสื่อที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนให้ ผเู้ รียนมคี วามเข้าใจกระจ่างชดั เจนในเนอ้ื หาทเ่ี รยี น หรือ ทำใหผ้ ู้เรียนได้มกี ารพัฒนาการเรยี นรู้ในทักษะด้านต่างๆ ได้มีประสิทธิภาพย่ิงข้นึ ซงึ่ นวตั กรรมประเภทน้ี ไดแ้ ก่ 1.1) ชดุ การเรียนการสอน 1.2) เอกสารประกอบการเรยี นการสอน 1.3) เกมสต์ า่ งๆ เชน่ เกมบัตรคำ - วิเคราะห์และประเมินผลข้อมูล การประเมิน คือการ ตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียนว่ามีสิ่งใดที่ ต้องปรับปรุง และพัฒนา สามารถแก้ไขผลการประเมินได้เมื่อผู้เรียนมี ศักยภาพที่สงู ขึ้นมุ่งเน้นการประเมินแล้วนำไปตรวจสอบ ตนเองประเมินเสร็จสิ้นแล้วมีการนำไปปรับปรุงพัฒนา หลักการประเมนิ มคี วามหลากหลาย - สรุปผล นวัตกรรมทางด้านการเรียนการสอนนั้น สามารถจัดเป็น 2 ประเภท คือ นวัตกรรมประเภท ผลิตภัณฑ์หรือสิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมประเภท รูปแบบ เทคนิค และวิธีการสอน ซึ่งรวมทั้งการพัฒนา ความรู้ความเข้าใจ ทักษะการคิดวิเคราะห์และ ความสามารถในการนำไปประยุกต์ใช้ของผู้เรียนเป็น สำคญั



สรุปบทความทางวชิ าการ ชือ่ บทความ การศึกษาผลการจดั การเรียนร้ดู ว้ ยวิธกี ารสอนแบบ โครงงาน เพือ่ พัฒนาความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ความรูท้ ี่ได้รับจากบทความ - แบบโครงงาน ซึ่งเป็นของสคุ นธ์ สินธพานนท์ (2552) โดยมี 6 ขน้ั ตอน คอื 1. ข้ันกำหนดปัญหาหรอื สำรวจความสนใจ 2.ขั้นกำหนดจดุ มุ่งหมายในการเรียน 3. ข้นั วางแผนและวิเคราะหโ์ ครงงาน 4. ขั้นลงมือปฏบิ ตั ิหรอื แกป้ ญั หา 5. ขนั้ ประเมินผลระหวา่ งปฏิบตั ิงาน 6. ขัน้ สรปุ รายงานผลและเสนอผลงาน - สื่อและนวัตกรรมจดั การเรยี นรู้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้การใช้คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสรา้ ง ช้ินงานชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที3 ตัวแปรการศกึ ษา 1. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. ความพึงพอใจต่อการเรียนวชิ าคอมพวิ เตอร์ สรปุ แผนจัดการเรียนรู้ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ และทำให้ แหล่งอ้างองิ กลุม่ เปา้ หมายมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสูงข้นึ กว่ากอ่ น เรียน กระทรวงเทคโนโลยีสสี ารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). กรอบนโนบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สารระยะ พ.ศ. 2554-2569 ของประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: (ม.ป.ท.) งานพฒั นาหลักสตู รและการสอน โรงเรยี นแม่ใจวทิ ยาคม. (2556). การทำขอ้ ตกลงความเขา้ ใจเพอื่ ยกผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียน พะเยา: โรงเรียนแม่ใจวิทยาคม.

ชื่อบทความ ขอ้ เสนอเชิงยทุ ธศาสตรเ์ พ่ือเสรมิ สรา้ งประสิทธผิ ลการบรหิ ารจัดการ ด้านการเรียน การสอน ด้วยเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ใน โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา ความรทู้ ่ีไดร้ บั จากบทความ -รปู แบบการวจิ ยั แบบผสานวธิ ี (Mix Method Research) เปน็ การวจิ ยั สรุป ทงั้ เชงิ คณุ ภาพและเชิงปริมาณการวจิ ยั ครง้ั น้ี มีขั้นตอนการวจิ ยั 2 ข้ันตอน ขัน้ ตอนที่ 1 พฒั นาและนำเสนอข้อเสนอเชิงยทุ ธศาสตร์ ข้นั ตอนท่ี 2 ตรวจสอบความเหมาะสมความเปน็ ไปได้ ความ สอดคลอ้ งความเปน็ ประโยชน์ -องค์ประกอบดา้ นยทุ ธศาสตร์ เพื่อเปน็ แนวทางและกลไกสูก่ ารปฏิบัติ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การดา้ นการเรียนการสอน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่ือสาร ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 สรา้ งกาลังคนให้มศี กั ยภาพในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร มีสมรรถนะไดม้ าตรฐานสากล ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 สนบั สนนุ การเรียนการสอนทเี่ ขม้ แขง็ ด้วยเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สาร ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 พฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สารเพอ่ื ส่งเสริมและสนับสนนุ การจดั การเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 สร้างบรรยากาศและแหลง่ เรยี นรขู้ องโรงเรียน ให้เอือ้ ตอ่ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ควรมกี ารปรบั ใช้ใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของโรงเรียนโดยคานงึ ถงึ ความ เป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในการดาเนนิ การ ควรมี ผรู้ บั ผิดชอบในการนาไปปฏิบตั ิ โดยอาจมีการศกึ ษาสภาพปัญหาดา้ น การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร แลว้ จึงนายทุ ธศาสตรซ์ ่งึ ประกอบไปด้วยมาตรการและตวั บง่ ชี้ แหลง่ อ้างอิง ครรชิต จามรมาน. (2553). การศกึ ษาวิเคราะหน์ โยบายเทคโนโลยี สารสนเทศและการ สือ่ สารและการนานโยบายสูก่ ารปฏิบตั ิของ โรงเรยี นมัธยมศึกษาในประเทศไทย.

ชื่อบทความ รปู แบบระบบการจัดการเรยี นการสอนบนเทคโนโลยีกอ้ นเมฆเพอ่ื สนับสนุนการเรียนการสอนดา้ นคอมพวิ เตอร์ ความรู้ทีไ่ ด้รับจากบทความ -รปู แบบการวจิ ัยแบบผสานวธิ ี (Mix Method Research) เปน็ การวจิ ยั ทง้ั เชงิ คณุ ภาพและเชิงปรมิ าณการวิจยั ครั้งน้ี มีขน้ั ตอนการวิจยั 2 ขนั้ ตอน สรุป จัดการเรยี นการสอนบนเทคโนโลยกี อ้ นเมฆเพอ่ื สนบั สนุนการเรยี นการ แหลง่ อ้างอิง สอนด้าน คอมพิวเตอร์ทัง้ 6 โมดูล โมดลู ที่ 1 Media Management on Cloud Computing ระบบใน ส่วนน้จี ะทำการจัดการสอื่ ตา่ งๆใหเ้ กบ็ ขอ้ มูลบน โมดูลท่ี 2 Testing Management Systemระบบการจดั การคลัง ขอ้ สอบ โมดลู ที่ 3 Message Chartrooms Tools เปน็ เคร่อื งมอื สังคม เครอื ขา่ ย โมดูลที่ 4Classroom Management Systemระบบการจดั หอ้ งเรยี น โมดลู ท่ี 5 Supporting Student System onCloud Computing เปน็ ระบบสนับสนุนผเู้ รียน โมดลู ที่ 6 Assessment Management Systemเป็นระบบการจัดการ ประเมนิ ผสู้ อนและผ้เู รยี น -ตัวแปรที่ใช้ในการวิจยั ตวั แปรต้น คือ การประเมินรปู แบบระบบการจัดการเรียนการสอนบน เทคโนโลยกี อ้ นเมฆเพ่ือสนับสนุนการเรยี นการสอนดา้ นคอมพวิ เตอร์ ตัวแปรตาม คอื ผลการประเมินตามความเหมาะสมของรปู แบบระบบ การจัดการเรยี น การสอนบนเทคโนโลยกี ้อนเมฆเพือ่ สนบั สนนุ การเรยี น การสอนดา้ นคอมพวิ เตอร์ การประเมนิ รูปแบบระบบการจัดการเรยี นการสอนบนเทคโนโลยีกอ้ น เมฆเพ่อื สนับสนุนการเรียนการสอนด้านคอมพวิ เตอร์ กรรวิภา หวังทอง. (2556). การพฒั นาระบบสารสนเทศเพ่ือการ แลกเปล่ียนเรียนรผู้ ่านการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ. การประชมุ วชิ าการระดบั ชาตดิ า้ นอเี ลิร์นนิง, 5-7 สิงหาคม 2556 อาคารอิมแพค ฟอรัม่ เมอื งทองธานี.กรงุ เทพ: โครงการมหาวทิ ยาลัยไซ เบอร์ไทย สำนกั คณะกรรมการอุดมศกึ ษา.

นางสาวมณฟี าง ลอยปลิว หมู่เรียนท่ี 1 เลขท่ี 3 การพัฒนาชดุ การเรยี นการสอนดว้ ยกระบวนการจดั การเรยี นการสอนแบบย้อนกลับ เรื่อง การใชโ้ ปรแกรม Microsoft PowerPoint สำหรบั นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 The Development of Backward Design Instructional Package on Microsoft Powerpoint for Parthomsuksa 6 Students วัตถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาชุดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบย้อนกลบั ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียน 3) เพื่อศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรยี น เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการทำงานวจิ ัย 1) ชุดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบย้อนกลับ เรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint สำหรับนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 2) แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 3) แบบวัดความพึงความพอใจหลงั เรียน 4) แผนการจัดการเรยี นรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบย้อนกลบั ผลการศึกษา 1. การพัฒนาชุดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบย้อนกลับเรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint สำหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มปี ระสทิ ธิภาพ 84.73/81.31 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนหลังเรียน สูงกวา่ คะแนนกอ่ นเรียนอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05 3. การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนหลังเรียนด้วยชุดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบย้อนกลับ เรอื่ ง การใชโ้ ปรแกรม Microsoft PowerPoint สำหรบั นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อยูใ่ นระดบั มากทสี่ ุด( X = 4.66, SD = 0.52) สรุปผลการวิจัย 1. ได้ชุดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบย้อนกลับเรื่อง การใช้โปรแกรม Microsoft PowerPoint สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ 80/80 จำนวน 5 ชดุ มกี ารพัฒนา ดังนี้ ชุดที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft PowerPoint ชุดที่ 2 การใส่ภาพพนื้ หลงั /แทรกรปู ภาพ ชดุ ท่ี 3 การใสข่ ้อความ ชุดท่ี 4 การใส่ Animations ชดุ ที่ 5 การใสเ่ สยี งเพลงบรรเลง เทคโนโลยีท่ใี ช้ 1. Microsoft PowerPoint 2. คอมพิวเตอร์ 3. Google 4. SPSS บุญกนก ปยิ ะนติ ย์, มานพ แจ่มกระจา่ ง, สิริยุพิน ศุภ์ธนชั ภคั ชนา. (2563). การพัฒนาชุดการเรียนการสอนดว้ ย กระบวนการจดั การเรียนการสอนแบบยอ้ นกลับ เรื่อง การใชโ้ ปรแกรม Microsoft PowerPoint สำหรับนักเรียน ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. วารสารการศึกษาและการพฒั นาสงั คม(คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา), 15(2), 61-71.

นางสาวมณฟี าง ลอยปลิว หม่เู รยี นท่ี 1 เลขที่ 3 การพฒั นาบทเรยี นออนไลน์ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เร่ือง การสรา้ งภาพกราฟิก โดยโปรแกรมนำเสนอ สำหรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาตอนปลาย The Development of Flipped Classroom Online Instruction on Creating Graphic by Presentation Program for Primary Students วัตถปุ ระสงค์ เพื่อพฒั นาบทเรียนออนไลนต์ ามแนวคิดห้องเรียนกลบั ด้าน เรอื่ ง การสร้างภาพกราฟิกโดยโปรแกรมนำเสนอ สำหรบั นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาตอนปลาย ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ E1/ E2 = 80/ 80 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการทำงานวิจยั บทเรียนออนไลนต์ ามแนวคิดห้องเรยี นกลบั ด้าน เรื่อง การสรา้ งภาพกราฟกิ โดยโปรแกรมนำเสนอ สำหรับนกั เรยี นช้ัน ประถมศึกษาตอนปลาย แบบทดสอบ แผนการจัดการเรยี นร้แู ละแบบสอบถามความพงึ พอใจของผูเ้ รยี น สรปุ ผลการวจิ ัย บทเรยี นออนไลนท์ ี่ได้รับการพฒั นา ประกอบด้วย 4 สว่ น ได้แก่ 1) การสรา้ งความท้าทายในชัน้ เรียน 2) การเรยี นรู้นอกชน้ั เรียน 3) การสร้างสรรค์และสรุปองค์ความรใู้ นชั้นเรยี น และ 4) นำเสนอความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้ในชนั้ เรยี น ประสิทธภิ าพโดยรวมอย่ใู นระดบั มาก (X ̅ = 4.14, SD = 0.32) เทคโนโลยที ี่ใช้ 1. คอมพวิ เตอร์ 2. Smart phone 3. Google sites 4. You tube 5. Google docs 6. Line application เบญจพร ตีระวัฒนานนท์, ดวงพร ธรรมะ, ดำรัส อ่อนเฉวียง. (2563). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เรื่อง การสร้างภาพกราฟิก โดยโปรแกรมนำเสนอ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย. วารสารการศึกษา(มหาวิทยาลัยบรู พา), 2(2), 16-30.

นางสาวมณีฟาง ลอยปลิว หมู่เรยี นที่ 1 เลขที่ 3 การพฒั นาส่ือเสริมการเรยี นรู้ด้วยเทคโนโลยี Augmented Reality เรื่อง ภาพมุมกวา้ งของหน้าที่และการเชอ่ื มตอ่ ภายในเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบเพ่อื นคู่คิด เพ่ือจัดทำแผนผังความคดิ วตั ถุประสงค์ 1) พัฒนาสื่อเสริมการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยี Augmented Reality เรื่อง ภาพมุมกว้างของหน้าที่และการเชื่อมต่อ ภายในเครือ่ งคอมพวิ เตอร์โดยจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนค่คู ดิ เพื่อจัดทำแผนผังความคิด 2) หาประสิทธิภาพของสือ่ เสรมิ การเรยี นรูท้ ่ีพัฒนาขนึ้ 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รียนก่อนและหลงั เรียนดว้ ยส่ือเสริมการเรยี นรทู้ ่ีพัฒนาขนึ้ และ 4) หาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อสื่อเสริมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น ซึ่งสื่อเสริมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมีลักษณะเป็น เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมแบบ 2 มติ ิ เครื่องมอื ที่ใช้ในการทำงานวิจัย 1. สื่อเสริมการเรียนรู้ความเปน็ จรงิ เสรมิ โดยจดั กิจกรรมการเรียนรแบบเพื่อนคูค่ ิด 2. แบบทดสอบประสทิ ธิภาพส่ือเสริมการเรียนรู้(แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลงั เรยี น) 3. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน (แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและแบบทดสอบหลงั เรียน) 4. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ สรุปผลการวจิ ัย 1) สื่อเสริมการเรียนรู้ความเป็นจริงเสริมท่ีพัฒนาขึ้น เรื่อง ภาพมุมกว้างของหน้าที่และการเชื่อมต่อภายในเครื่อง คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย 5 หัวข้อ ได้แก่ ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ หน้าที่ของคอมพิวเตอร์ โครงสร้างการ เช่ือมโยงภายในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ การเชอ่ื มโยงโดยใชบ้ ัสและสถาปัตยกรรม PCI 2) ประสทิ ธภิ าพของสือ่ เสริมการเรียนรคู้ วามเป็นจริงเสรมิ ทพี่ ัฒนาขน้ึ มคี ่าสูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน ทก่ี ำหนดไว้ 3) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียนหลังเรียนด้วยส่ือเสริมการเรยี นรู้ความเป็นจริงเสริมท่ีพัฒนาขึ้น โดยจัดกิจกรรม การเรยี นรแู้ บบเพือ่ นคคู่ ดิ สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ยั สําคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 4) ผู้เรยี นมีความพึงพอใจตอ่ ส่ือเสริมการเรยี นรคู้ วามเป็นจรงิ เสรมิ ที่พฒั นาขนึ้ อย่ใู นระดับมากที่สุด เทคโนโลยีทใ่ี ช้ 1. (Augmented Reality) หรือ AR 2. คอมพิวเตอร์ 3. โทรศัพท์มือถือ 4. สร้างเปน็ สอื่ (AR) 5. Google Form 6. PixLive Maker ผ่าน https://armanager.vidinoti.com พงษด์ นัย จิตตวิสุทธิกุล, สรเดช ครฑุ จอน. (2562). การพัฒนาสื่ออเสรมิ การเรียนรู้ดว้ ยเทคโนโลยี Augmented Reality เรือ่ ง ภาพมุมกวา้ งของหน้าทแ่ี ละการเชอ่ื มตอ่ ภายในเคร่อื งคอมพิวเตอรโ์ ดยจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคูค่ ดิ เพือ่ จดั ทำแผนผงั ความคิด. วารสารวิชาการครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 10(2) , 73-81.

นายอภิรักษ์ เจริญศริ ิ หมเู่ รียนที่ 1 เลขที่ 4 การพัฒนาและหาประสิทธภิ าพชดุ การสอนวิชาคอมพวิ เตอร์พ้ืนฐานผ่านระบบ Google Education ของ หลกั สูตรสาขาเคหบรบิ าล โรงเรยี นพระดาบส The Development and Efficiency of Basic Computer Instructional Package through the Google Education System forElderly Care Curriculum, Phradabos School วัตถปุ ระสงค์ 1 เพอื่ พัฒนาชดุ การสอนวชิ าคอมพวิ เตอรพ์ น้ื ฐานของนักเรียนหลกั สูตรสาขาวิชาเคหบรบิ าล 2 เพ่ือหาประสิทธิภาพชุดการสอนวชิ าคอมพวิ เตอร์พื้นฐานของนักเรยี นหลักสตู รสาขาวชิ าเคหบรบิ าล 3 เพ่ือศกึ ษาระดับความพึงพอใจของนักเรยี นท่มี ตี ่อชดุ การสอนทพ่ี ัฒนาขนึ้ ผลการวิจัย ชดุ การสอนท่พี ฒั นาข้ึนมปี ระสทิ ธภิ าพรอ้ ยละ 88.33/82.78 ซง่ึ สูงกวา่ เกณฑ์มาตรฐานทก่ี าหนด 80/80 มี ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกอ่ นและหลงั เรียนมคี วามแตกต่างกันทรี่ ะดบั ความมนี ัยสาคญั .01 และผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนกั เรียนพบวา่ นกั เรียนมคี วามพึงพอใจตอ่ ชดุ การสอนอยู่ในระดบั มากที่สุดท้งั 4 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการ/ขน้ั ตอนการจดั กิจกรรมชุดการสอน ด้านอาจารย์ผู้สอน ดา้ นสถานที่เรยี นและความสะดวกใน การเรยี น และดา้ นองค์ความรู้และการฝกึ ปฏิบัติท่ีได้รบั เทคโนโลยที ีใ่ ช้ Google Education ปน่ิ รตั น์ นวชาตธารง 1 และ อมรรัตน์ แก้วคาบ้ง 2 (2561) การพัฒนาและหาประสทิ ธภิ าพชุดการสอนวชิ า คอมพวิ เตอรพ์ นื้ ฐานผ่านระบบ Google Education ของหลักสูตรสาขาเคหบริบาล โรงเรยี นพระดาบส วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา, 8(16), 62-73.

นายอภริ ักษ์ เจริญศิริ หมู่เรียนท่ี 1 เลขท่ี 4 การพัฒนารูปแบบการจัดการเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการเรยี นการสอนแบบห้องเรยี นกลับดา้ นโดยใชก้ าร เรยี นรแู้ บบโครงงาน Developing a Model of Technologyfor the Management Information Technology for Flipped ClassroomUsing Project Based Learning วตั ถุประสงค์ 1 เพอื่ สงั เคราะหร์ ูปแบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านโดยใชก้ าร เรยี นรูแ้ บบโครงงาน 2 เพอ่ื สอบถามความคิดเห็นของผู้เช่ยี วชาญท่ีมตี ่อความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การเรยี นการสอนแบบห้องเรยี นกลับด้านโดยใชก้ ารเรยี นรแู้ บบโครงงานทไี่ ด้สงั เคราะห์ข้ึน เทคโนโลยีสารสนเทศทใี่ ชใ้ นระบบจดั การเรียนการสอน 1 Web board เปน็ ระบบกระดานขา่ ว ซึง่ มกี ารจัดเกบ็ ข้อมลู แบบตามประเภท 2 Instance Messenger เป็นระบบสนทนาแบบตอบสนองทันที 3 Social Media เปน็ ระบบสังคมออนไลน์ทนี่ ิยมใช้ในปัจจุบนั เชน่ Facebook 4 Content Management System เปน็ ระบบจดั การเนือ้ หาออนไลน์ มลี กั ษณะการแสดงผลเปน็ หน้าเพจ 5 Learning Management System เป็นระบบจดั การบทเรียนคอมพวิ เตอร์ออนไลน์ มีรูปแบบการจัดการ เน้ือหา แบบทดสอบ และสามารถจัดการระบบของผสู้ อนและผเู้ รยี นได้ 6 Video Streaming เปน็ คลังสอ่ื วดี ิโอออนไลน์ 7 Cloud Drive เป็นระบบจดั เกบ็ ไฟล์ขอ้ มลู ออนไลน์ผ้ใู ช้ทุกคนสามารถนำส่งไฟล์ขึ้นไปยังระบบและกำหนดสิทธิ์ ให้ผ้ใู ชเ้ ข้าใชง้ านได้ 8 Google Form เป็นระบบจัดทำแบบสำรวจและขอ้ สอบออนไลน์ ฉฐั ระพี โพธปิ์ ติ ิกุล1*,ธรชั อารีราษฎร์2และเผด็จ พรหมสาขา ณ สกลนคร3 (2561)การพัฒนารูปแบบการจดั การ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอนแบบหอ้ งเรียนกลับด้านโดยใช้การเรียนร้แู บบโครงงาน วารสารวชิ าการการจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ มหาสารคาม,5(2), 8-19.

นายอภิรักษ์ เจรญิ ศิริ หมูเ่ รียนท่ี 1 เลขท่ี 4 รปู แบบการจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการเรียนการสอนเพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียน ประถมศึกษาขนาดเลก็ ในเขตปรมิ ณฑลของกรงุ เทพมหานคร An Information Technology Management Model of Instruction for Improving the Quality of Education in Small-scale Primary Schools, Bangkok Metropolis Vicinity Area วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ศกึ ษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเทคโนโลยสี ารสนเทศด้านการเรยี น การสอนในการพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษาของโรงเรยี นประถมศกึ ษาขนาดเล็กในเขตปริมณฑล ของกรงุ เทพฯ 2. เพอ่ื สรา้ งรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศดา้ นการเรียนการสอนใน การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของ โรงเรียนประถมศกึ ษาขนาดเลก็ ในเขตปรมิ ณฑลของ กรงุ เทพฯ 3. เพอ่ื ประเมินรูปแบบการจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นการเรยี นการสอนใน การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ของโรงเรยี นประถมศกึ ษาขนาดเล็กในเขตปรมิ ณฑลของกรงุ เทพฯ เทคโนโลยี รถคอมพวิ เตอร์เคล่อื นที่ (computer mobile unit) RIT (Reduce Instructional Time) (e-learning) การสอน ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ผลการวจิ ัย 1 สภาพปัจจบุ ันของการจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศด้านการเรยี นการสอนฯ มี4องคป์ ระกอบหลัก 2 รปู แบบการจัดการ เทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นการเรยี นการสอนฯเปน็ ชดุ ของการกำหนดจดุ เน้น วัตถุประสงค์ กระบวนการและ วิธกี าร ตามโครงสรา้ งของการบริหารการจดั การ ปัจจยั ส่งเสรมิ คุณภาพการศึกษา และคุณภาพ การศึกษา ของโรงเรยี น 3 รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการเรยี นการสอนฯ มีความเหมาะสม และความเป็นไปไดอ้ ยใู่ น ระดบั มากทีส่ ุด และขอ้ มลู มีการกระจายตัวนอ้ ย กรกวศี รีกลุ 1และ วรี ะวัฒนอ์ ุทัยรัตน์2 (2563).รปู แบบการจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศดา้ นการเรียนการสอน เพอ่ื พัฒนาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรยี นประถมศกึ ษาขนาดเล็กในเขตปริมณฑลของกรงุ เทพมหานคร วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ,48 (2) ,1-17

ความสำคญั การใช้สอ่ื การสอน ในปัจจุบนั มกี ารใช้ส่ือมากมายมาเปน็ ตวั ชว่ ยในการจัดการเรียนรูใ้ นหอ้ งเรียน เพอ่ื ให้เดก็ ไดท้ ำกิจกรรม อย่างสนุกสนานไมน่ ่าเบอื่ สะดวกสบาย และไม่ต้องใชอ้ ปุ กรณอ์ ะไรมากมายแค่เพียงมโี ทรศพั ทม์ อื ถือ จากการศกึ ษาค้นคว้าไดส้ รปุ วธิ กี ารใช้ส่อื มีดงั นี้ การใชส้ อ่ื ในการจดั การเรียนรู้ มาชว่ ยในการจัดการเรยี นรใู้ นรปู แบบส่อื ออนไลน์ เพื่อตอบสนองของมนุษย์ในปัจจุบัน และ ในเฟซบุ๊กมีเครื่องมากมายท่ีจะตอบสนองให้กับผู้สอนไดส้ รา้ งเนอ้ื หาหรือสอ่ื การสอนเพือ่ ให้ผู้เรียน ได้รบั ร้พู รอ้ มกันทกุ คนไดใ้ นเวลาเดยี ว เชน่ 1 การเรยี นรูร้ ่วมกนั โดยใช้เฟซบกุ๊ เปน็ เครือ่ งมอื เช่น การสนทนากลุม่ 2 การตดิ ต่อสือ่ สาร การแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น พูดคุย ปรกึ ษา ใหค้ ำแนะนำของผสู้ อนกบั นิสิต 3 การแบง่ บัน การนำลิงค์ขอ้ ความ ภาพ วดิ โี อ หรอื ไฟล์ตา่ งๆ จากแหลง่ อืน่ มาใส่ 4 เครื่องมอื ท่ใี ชส้ รา้ งแบบทดสอบและใชส้ ำหรบั ทดสอบผู้เรียน เช่น Kahoot, Quizizz, Google Forms เปน็ ตน้ 5 การใชส้ ่ือมลั ติมีเดยี ช่วยส่งเสรมิ บทบาทของผู้สอนและเสริมความสามารถในการเรียนรู้ของผเู้ รียน และอกี ทง้ั ชว่ ยประหยัดพลงั งานของผู้สอนในการบรรยาย เชน่ การเปดิ คลิปวดิ ีโอจาก youtube ,การ เขา้ เว็ปไซต์ดูลำดบั ขีดของอักษรจีน 6 การประเมนิ ผล การใช้แบบประเมิน การใช้แบบสมั ภาษณ์ การใชแ้ บบประเมินระหวา่ งเรียนดว้ ย Kahoot การสรุปผล ดังน้ันมัลตมิ เี ดยี เทคโนโลยใี นกระบวนการเรียนการสอนสามารถนำมาผสมผสานกับวธิ ีการสอนแบบ ดง้ั เดิมไดอ้ ยา่ งลงตวั และเหมาะสม สามารถทำใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพในการจดั การเรียนการสอน ผสู้ อน และผูเ้ รยี นสามารถเรยี นรู้ แลกเปลย่ี นข้อมลู ตลอดจนใหค้ ำปรึกษาได้

แหล่งอา้ งอิง ศศณิ ัฎฐ์ สรรคบุรานรุ กั ษ์. (2560). สอื่ มัลตมิ เี ดยี และเทคโนโลยีกับการสอนภาษาจีนในศตวรรษ ที่21, วารสารวารสาร Veridian E Journal ฯ สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ ศลิ ปะ และวารสาร Veridian E Journal ฯ สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปีที่ 10 ฉบบั ท่ี 3, หน้าท่ี 1239 – 1256. สพุ รรษา นอ้ ยนคร รจุ โรจน์ แก้วอุไร และนฤมล รอดเนยี ม. (2562). การสง่ เสรมิ การแกป้ ญั หา อยา่ งสร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐานบูรณาการกับเฟซบ๊กุ , วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปที ี่ 21 ฉบบั ท่ี 1, หน้าท่ี 360 – 376. วชิ ยั พวั รุ่งโรจน์ ภทั ร์พงศ์ พงศ์ภทั รกานต์ และสุชาดา พรหมโคตร.(2560). แนวโนม้ วธิ ีการเรียนการ สอนยคุ ใหมด่ ว้ ยเครอ่ื งมือประเมินผลระหว่างเรยี นออนไลน์, วารสารสำนกั วิทยบริการและ เทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเลย ปีที่ 1 ฉบบั ที่ 7, หน้าท่ี 45 – 68.

งานคร้งั ที่ 1 รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสนเทศทางการศึกษา ภาคนิ บญุ ม1ี แนวทางในการพฒั นาและการนำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ทางการศึกษา จากการศึกษาบทความวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สามารถนำมาสรุปและแยก ประเด็นสำคญั ได้ ดงั น้ี 1. ความสำคญั ของเทคโนโลยีทางการศกึ ษาเพอื่ สง่ เสรมิ วิชาชพี ครู 2. การผลิตส่อื การเรียนรู้ 3. สรุปผลการศกึ ษาค้นคว้า 1. ความสำคญั ของเทคโนโลยที างการศกึ ษาเพือ่ ส่งเสริมวิชาชีพครู การนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับครู เป็นการตอบสนองความต้องการของ สงั คมได้ ซ่ึงเป็นฐานแนวคิดในการออกแบบการจดั การเรียนร้โู ดยอาศยั เทคโนโลยอี ัจฉรยิ ะ 6 เทคโนโลยี ไดแ้ ก่ เทคโนโลยีทางสังคม เทคโนโลยีอุปกรณ์เคลื่อนที่ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการ วิเคราะห์ และความเปน็ จรงิ เสรมิ โดยจะใชเ้ ทคโนโลยดี า้ นต่างๆ มาวิเคราะห์และวางกลุ่มเปา้ หมาย วางแผนใน การสอนในอนาคต กระบวนการของการเรยี นรู้สำหรบั ครู แบง่ ไดด้ งั น้ี 1. สร้างทีมครูแบง่ ปันประสบการณ์ 2. วางแผนเพอ่ื ความสำเรจ็ 3. ลงมือปฏิบัติ/สงั เกตผลการปฏิบตั ิงาน 4. สะท้อนความคดิ 5. เรียนรู้และพฒั นา 2. การผลิตสื่อการเรยี นรู้ ปจั จุบนั ส่อื เทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อการดำเนินชวี ติ ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเรยี นรู้ และการอำนวย ความสะดวกในการใช้ชีวิต ซึ่งจะมีผลดีเป็นอย่างมากหากนำมาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นสื่อสำหรับการศึกษา ในปัจจบุ ัน จากการคน้ คว้าบทความสามารถสรปุ วธิ กี ารผลติ สือ่ ได้ ดงั น้ี 1. ศกึ ษาความสำคัญและเนอ้ื หาใหเ้ หมาะสมกับเดก็ นกั เรียน 2. วางแผนกอ่ นการผลติ ส่อื 3. ดำเนินการผลิตสื่อ 4. ตรวจสอบความถกู ต้องของส่อื 5. ประเมินสื่อว่ามีความเหมาะสมมากนอ้ ยเพียงใด 6. เผยแพรใ่ หเ้ ด็กนักเรยี นไดล้ องศึกษา นำไปใช้ 1 นายภาคนิ บญุ มี นกั ศึกษาป.บณั ฑิต หมู่ท่ี 1 เลขท่ี 7 รนุ่ ที่ 23 รหสั นกั ศกึ ษา 647190107

3. สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาค้นคว้าบทความทางด้านเทคโนโลยีสรุปได้ว่า ครูมืออาชีพจะต้องอาศัยเทคโนโลยี เป็นเคร่ืองมือควบคูก่ ับการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งครูจะต้องคำนงึ ถงึ ความเหมาะสม ความถูกต้องของเนื้อหา บริบท ของรายวิชา และตวั ผ้เู รยี นเพือ่ ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรยี นรู้มากท่ีสุด บรรณานุกรม เขมณัฏฐ์ ม่งิ ศิริธรรม และกรรณ จรรยาวุฒิวรรณ์. (2561). เทคโนโลยีเครอื ข่ายสังคมอัจฉริยะเพื่อเสริมสร้าง ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี สำหรับครู. วารสารเทคโนโลยีและสอื่ สารการศกึ ษา ปที ี่ 13 ฉบับท่ี 14 – 15 หน้าท่ี 14 – 16. ชุติวัฒน์ สุวัตถิพงศ์ และธนัทณัฏฐ์ ฉัตรภัครัตน์. (2561). PocketSights แอปพลิเคชันเพื่อสร้างแหล่ง การเรียนรอู้ อนไลน์. วารสารเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา ปีท่ี 13 ฉบบั ที่ 14 – 15 หนา้ ท่ี 39 – 51. นรินธน์ นนทมาลย.์ (2561). รูปแบบการผลติ วิดโี อออนดีมานด์เพ่อื การเรียนรูใ้ นการเรยี นทางไกลแบบเปิด. วารสารเทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา ปที ี่ 13 ฉบับที่ 14 – 15 หน้าท่ี 71 – 84.

สรุปบทควา นางสาวกริ ยิ า ยม้ิ ละไม หม

ามวิชาการ มู่ 1 เลขท่ี 8 ป.บณั ฑิต ร่นุ 23

นกั เทคโนโลยกี ารศกึ ษาในยคุ เคร่อื งมือ - Google Meet - Google Classroom ทลั - Microsoft Teams บทบาทของนักเทคโนโลยีการศกึ ษาในยุคดิจิทลั 1. ทักษะความเขา้ ใจและใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล (Digital skill literacy) สร เป็นความรู้และทักษะที่นักเทคโนโลยีการศึกษาต้องเรียนรู้ในเรื่องของเครื่องมือ สอ 1. อปุ กรณ์ เพ่ือให้สามารถข้าถึงได้โดยไม่จากัดและสนับสนุนในการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ออ เพอื่ พฒั นาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ผ้เู 2. 2. ทกั ษะการร้เู ทา่ ทนั เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT literacy) กา มีความสามารถในการจัดการข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือการบริหารและจัดการ เอ เก ระบบเป็นฐานขอ้ มลู สามารถนาไปตอ่ ยอดใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประสิทธิพลสงู สดุ 3. ออ 3. การรู้สารสนเทศ (Information literacy) จร นักเทคโนโลยีการศึกษาจะต้องเป็นผู้ท่ีมีความรู้และเป็นผู้ท่ีให้คาปรึกษา แนะนา 4. ใน การเลอื กและการสร้างเทคโนโลยีในรูปแบบต่าง 1 ประเมินสารสนเทศและวิเคราะห์ การใช้ (W งานเพ่ือให้เกดิ ประโยชนแ์ ละสรา้ งสรรค์ตอ่ การพัฒนานวัตกรรมตอ่ ไป หล 4. การรู้เท่าทนั สือ่ (Media literacy) 1. มีความรู้ในการเลือกใช้ส่ือท่ีเหมาะสมในประเภทต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ตรง 2. 3. ตามวัตถปุ ระสงค์ของการผลิตสอ่ื เทคโนโลยี 4. 5. ภาวะผนู้ าการเปลย่ี นแปลง (Change Leadership) นักเทคโนโลยีการศึกษาต้องเป็นผู้นาการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีในการ ขับเคลือ่ นงานด้านเทคโนโลยกี ารศึกษา พฒั นานวัตกรรมเพอื่ นาไปสู่ระดับสากล แหลง่ อ้างอิง ปยิ าภรณ์ หนนุ เพช็ ร, บญุ รัตน์ แผลงศร. (2564). นักเทคโนโลยีการศึกษาในยุคดจิ ทิ

- LMS Moodle - Facebook Live - Line - KAHOOT - Zoom - Jamboard รุปผล พบว่า บทบาทของเทคโนโลยีการศึกษาก่อนหน้าการระบาด COVID-19 กับการเรียนการ อนโดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ ใช้ในลักษณะของการผลิตส่ือมัลติมีเดียที่เผยแพร่ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตหรือขุดกิจกรรม อนไลน์หรือบทเรียนออนไลน์ แบ่งเป็นบทเรียนออนไลน์สาหรับท่ีโรงเรียน เป็นการเสริมทักษะให้ เรียนโดยการสอนหลกั ยังเป็นการบรรยายจากผูส้ อน เทคโนโลยี MOOC (Massive Open Online Courseware) ที่นามาใชใ้ นการออกแบบการเรียน ารสอนแบบออนไลน์และไม่จากัดจานวนผู้เรียน ผู้เรียนต้องศึกษาด้วยตนเองผ่านคลิปวีดีโอและ อกสารประกอบการสอนที่สร้างขึ้น มีแบบทดสอบหลังเรียนและใบประกาศนียบัตรหากผ่านตาม กณฑ์ที่กาหนด . นาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานระหว่างการเผชิญหน้ากับ อนไลน์ เป็นการนาเอกสารใบความรู้ ไฟล์นาเสนอหรือคลิปวีดีโอให้ผู้เรียนศึกษาก่อนเข้าช้ันเรียน ริง การสง่ ภาระงานทไี่ ดร้ บั มอบหมายผา่ นทางส่อื ออนไลน์ นาเทคโนโลยีการศึกษามาใชใ้ นการเรียนการสอนแบบผสมผสานออนไลน์รว่ มกับเทคนิคการสอน นรูปแบบอ่ืน ๆ รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ผสมกับแนวคิดบทเรียนแสวงความรู้บนเว็บ Web Quest) ลักการใชส้ ่ือ การวางแผน การเตรียมการ การนาเสนอสือ่ การประเมินผลผเู้ รยี น ทลั . วารสารวชิ าการแสงอีสาน มหาวทิ ยาลยั มหากฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตอสี าน, 18(2), 32-45.

การเรยี นการสอนแบบออนไลนภ์ ายใตส้ ถานการณแ์ พร่ระบาด การประ - ออกแบ ของไวรัส COVID-19 : แนวคิดและการประยกุ ตใ์ ช้จดั การเรียน รว่ มอภ - ออกแบ การสอน ดนตรีป - ออกแบ องคป์ ระกอบการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ - วดั ประ - .สะทอ้ 1. ผู้สอน 5. ผเู้ รียน 2. เน้อื หา 6. สือ่ การเรียนและแหลง่ เรียนรู้ 3. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ 7. ระบบการติดตอ่ สือ่ สาร 4. ระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ 8. การวดั และการประเมนิ ผล รปู แบบการสอน สรปุ สอ 1. การเรยี นการสอนออนไลนด์ ้วยรูปแบบ Massive Open Online Courses: MOOC นัย เป็นรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ท่ีมีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ปร เปน็ ห้องเรยี นออนไลนท์ ี่มีขนาดใหญ่ ประชาชนทว่ั ไปสามารถเข้าเรยี นได้ สรุป มีค 2. การสอนด้วยรูปแบบ Modular Object Oriented Dynamic Learning จาเ Environment (Moodle) โปร เรยี เป็นระบบการจัดการเรียนการสอนแบบเปิดเสมือนห้องเรียนจริง โดยผู้สอน สามารถออกแบบเน้อื หา กิจกรรมการเรียน แบบทดสอบ ช่องทางมอบหมายงานและการส่ง สร งาน นอกจากนัน้ มสี ามารถสรา้ งห้องสาหรบั การตอบโต้ ระหวา่ งผูส้ อนและผู้เรยี นได้ ปฏ นัย 3. วิธีการเรียนการสอนออนไลน์ผา่ นโปรแกรมการประชมุ ออนไลน์ ผู้ส เช่น โปรแกรม Zoom โปรแกรม Google Meeting Hangout ระห เป็นโปรแกรมการประชุมวดิ ีโอทางไกล สามารถบนั ทกึ ไฟล์ภายหลังการสอน เพอ่ื ให้สามารถเรียนย้อนหลงั ได้ แหลง่ อา้ งองิ วทิ ยา วาโย, อภิรดี เจรญิ นกุ ูล, ฉตั รสดุ า กานกายนั ต,์ จรรยา คนใหญ.่ (2563 แนวคิดและการประยกุ ตใ์ ช้จดั การเรียนการสอน.วารสารศนู ย์อนามยั ท่ี 9, 14(34), 285-298

ะยุกตใ์ ช้การเรยี นการสอน บบวธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน เชน่ การแบ่งกลุ่มนาเสนอ การจดั ทาวดิ โี อคลิป การเล่มเกมส์ การ ภปิ รายแสดงความคิดเห็น ซกั ถาม ตอบคาถาม สรุปบทเรียน บบสอื่ การเรียนการสอน เช่น รูปภาพ วดิ โี อคลิป การต์ ูนแอนเิ มชนั ข้อความกราฟกิ เสียงพดู ประกอบ บบเปา้ หมายของการเรยี น ะเมนิ ผลการเรยี นเพ่อื สรปุ ผล อนคดิ และทบทวนหลงั การปฏบิ ตั ิ ปผล พบว่า พฤติกรรมการเรยี นร้อู อนไลน์ในระบบ Thai MOOC ในการทากิจกรรมการเรียนการ อนอยู่ในระดับดีมาก และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังการเรียนรู้มีความแตกต่างอย่างมี ยสาคัญทางสถิติ จากผลการวิจัยท่ีมีการประยุกต์ใช้วิธีการสอนออนไลน์ด้วยรูปแบบ MOOC มี ระเด็นทส่ี าคญั ทีต่ อ้ งมีการพฒั นาตอ่ จากการมีปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งผูส้ อนและผเู้ รียน ปผล พบวา่ กล่มุ ทดลองท่ีได้รับการจัดการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Moodle กับกลุ่มควบคุม คะแนนความรู้ไม่แตกต่างกัน จะเห็นได้ว่า การเรียนด้วยโปรแกรม Moodle ในบางสาขายัง เป็นต้องมีการวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และความเป็นไปได้ของการใช้รูปแบบการเรียนด้วย รแกรม Moodle โดยเฉพาะสาขาวิชาชีพท่ีจาเป็นต้องมีการฝึกทักษะร่วมขณะเรียน เพื่อให้การ ยนบรรลวุ ตั ถุประสงค์ได้ รุปผล พบว่า ภายหลังการใช้แอปพลิเคช่ัน Zoom Cloud Meeting ช่วยสอนในรายวิชา ฏบิ ัตกิ ารผดุงครรภ์ สง่ ผลใหค้ ะแนนความรู้และทักษะทางการพยาบาลสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมี ยสาคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตามก่อนท่ีจะมีการเรียนการสอนผ่านโปรแกรมการประชุมออนไลน์ สอนควรออกแบบเนื้อหาให้สอดคล้องกับสื่อการสอน ระยะเวลารวมทั้งควรมีการประเมินผล หว่างและภายหลงั การเรียนการสอน เพ่ือตรวจสอบความเข้าใจเน้ือหาของผเู้ รียน 3). การเรยี นการสอนแบบออนไลนภ์ ายใต้สถานการณแ์ พรร่ ะบาดของไวรสั COVID-19 : 8.

การจดั การเรยี นการสอนในความปรกติใหม่ในวกิ ฤตโิ ควดิ -19 กา 1. ออกแบบการจัดการศกึ ษา 2. 3. 1. ให้นา้ หนกั กับปฏิสัมพนั ธท์ มี่ ีคณุ ภาพระหว่างครูและนักเรยี น มากกว่าจานวนชั่วโมงท่ี 4. นกั เรียนอย่ใู นหอ้ งเรียน หรอื เรียนผ่านส่อื โทรทศั นห์ รอื สอ่ื ออนไลน์ 2. ให้น้าหนักกับการเรยี นรู้ทเ่ี ชือ่ มโยงกบั ความสนใจของนักเรยี น เชอ่ื มโยงกบั ชุมชน กา และบรบิ ทที่นกั เรยี นอยู่ 1. มากกว่าการเรยี นรู้องิ ตามมาตรฐานแบบเดยี วกนั ทง้ั ประเทศ แล 3. ให้น้าหนักกับการประเมินผลเพ่ือการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน (Formative 2. assessment) จากขนึ้ งานและพฤติกรรมของนกั เรียนมากกว่าการประเมินเพื่อการตัดสิน 3. (Summative assessment) เพ่ือนาไปใช้ให้คุณให้โทษแก่โรงเรียนและบุคลากรทางการ เรีย ศกึ ษามากกวา่ การเรียนรูอ้ งิ ตามมาตรฐานแบบเดียวกันทั้งประเทศ 4. กา 4. ใหน้ ้าหนักกับการช่วยเหลอื นักเรยี นทีม่ ีความท้าทายในการเรียน ควบคู่กับกาส่งเสริม 5. นักเรียนกลุ่มอ่ืนๆ ให้เต็มตามศักยภาพ เน่ืองจากนักเรียนท่ีขาดแรงจูงใจในการเรียนเป็น 6. ทุนเดมิ หรือมาจากครอบครัวยากจนมแี นวโนม้ จะหลดุ ออกจากระบบการศึกษามากข้ึนเมื่อ สภาวะเศรษฐกจิ ตกต่า สร ปร 5. ให้น้าหนักกับการเรียนรู้เพื่อสุขภาพกายและใจ ควบคู่กับการเรียนรู้ด้นวิชาการ No สถานการณ์โรคระบาดส่งผลต่อสุขภาพกายและใจของทุกคนรวมถึงเด็กๆ ทุกวัย ความรู้ 4ร ด้นวิทยาศาสตร์ของสมอช้ีให้เห็นว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ยากเม่ือเด็กมีความเครียดหรือ ผส อยู่ในภาวะที่เป็นอันตราย ครูจึงควรสอดแทรกเน้ือหาความรู้เรื่องสุขภาวะ การดูแล สอ สุขภาพกายและใจ เพ่ือให้เด็กเรียนรู้และปรับตัวได้ท่ามกลางสถานการณ์ครอบครัวและ สงั คมท่ีไมแ่ นน่ อน 6. ให้น้าหนกั กับการจัดสรรทรัพยากรออฟไลนแ์ กเ่ ด็กและครอบครวั ควบคกู่ บั ทรพั ยากร ออนไลน์ เช่น จดั สรรหนงั สือเด็กให้แก่ครอบครวั ด้อยโอกาส

ารดาเนินการจัดการเรียนการสอน จดั เตรียมแผนการสอนและอุปกรณ์การสอน จัดหาและสืบค้นสือ่ ออนไลน์ ปรบั ปรุงแผนการจดั การเรยี นการสอนให้สอดคลองกบั รปู แบบทจ่ี ะนามาใช้ จดั เตรยี มระบบสอ่ื สารออนไลน์ระหว่าง ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผสู้ อนใหพ้ รอ้ ม ารออกแบบการเรียนรู้ดว้ ยวธิ ีบูรณาการ วิเคราะห์สาระการเรียนรู ครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรูประชุมกัน เพื่อวิเคราะหสาระการเรียนรู้ ละตวั ชวี้ ัดในหลักสตู รสถานศึกษาของระดบั ช้ันที่รับผิดชอบ บูรณาการเนอื้ หา ครทู ี่สอนในระดบั ชนั้ เดียวกันนาสาระการเรียนรูมานาเสนอในกลุ่ม จัดลาดับหน่วยการเรียนรู นาเนื้อหาสาระท่ีจัดบูรณาการกันได้แล้วนั้น มาจัดลาดับหนวยการ ยนรู้ใหม่ ออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ ครูแต่ละระดับช้ันออกแบบกิจกรรมการเรียน ารสอนทีส่ อดคลองกับเน้ือหาสาระ อภิปรายและไตรตรอง เมือ่ จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบบูรณาการจบหนวยการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั เมือ่ ส้นิ สดุ การเรียนทกุ ปีการศึกษา รุปผล วิกฤตการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 คร้ังนี้ ถือเปนโอกาสสาคัญในการ รับตัวและปรับเปลี่ยนแนวคิดครั้งย่ิงใหญ โดยเฉพาะในด้านการจัดการเรียนการสอนตามวิถี New ormal พบวา่ การออกแบบการเรียนรูในยุค New normal ประกอบด้วย แนวคิดของ Globish มี รูปแบบ ไดแก 1. การเรียนรูปแบบออนไลน 100% 2. การเรียนในหองเรียน 3. การเรียนแบบ สมผสานออนไลนและออฟไลน และ 4. การเรียนแบบโฮมสคูล นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการ อนแบบเดลิเวอรร่ี หรอื การจัดการเรียนการสอนในรปู แบบครกู ระเป๋า แหล่งอา้ งองิ กญั ณภทั ร หนุ่ สวุ รรณ, สนทิ วงปล้อมหริ ัญ. (2563). การจดั การเรยี นการสอน ในความปรกตใิ หมใ่ นวกิ ฤตโิ ควิด-19. วารสารนสิ ติ วงั , 22(2), 50-58.

นางสาวธิดารัตน์ สระหงษ์ทอง หมู่ 1 เลขที่ 9 การพัฒนารูปแบบการจัดการ แนวทาง/ทฤษฎี/กลยุทธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ เรียนการสอน แบบห้องเรียน รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการ กลับด้านโดยใช้การเรียนรู้แบบ สอนแบบห้องเรียนกลับด้านโดยใช้การเรียนรู้แบบโครง โครงงาน งาน ประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก คือ 1) นโยบายกรอบ แนวคิด เป้าหมาย 2) หลักการ ทฤษฎี 3) ระบบการจัดการ ผู้วิจัย ฉัฐระพพี โพธิ์ปิติกุล, ธรัช อารีราษฎร์ และ เรียนการสอนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแบบห้องเรียน เผด็จ พรหมสาขา ณ สกลนคร กลับด้านโดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงาน 4) เทคโนโลยี ปีการศึกษา 2561 สารสนเทศที่ใช้ในระบบจัดการเรียนการสอนและ 5) ตัวบ่งชี้ ของรูปแบบ วัตถุประสงค์ กระบวนการจัดการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยี 1) สังเคราะห์รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ สารสนเทศแบบห้องเรียนกลับด้านโดยใช้การเรียนรู้แบบ เรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านโดยใช้การเรียนรู้แบบโครง โครงงาน แบ่งเป็น 3 ช่วงระยะเวลาได้แก่ งาน 1) การเรียนนอกชั้นเรียน 2) สอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อความเหมาะสม 2) การเรียนในชั้นเรียนและ ของรูปแบบ กลุ่มเป้าหมาย 3) การตรวจสอบผลการเรียนนอกชั้นเรียน ขั้นตอน 6ขั้นตอน ระบบการจัดการเรียนการสอนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.ศึกษาเอกสารและสังเคราะห์กรอบแนวความคิดการจัดการ แบบห้องเรียนกลับด้านโดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงาน เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับ ประกอบด้วย ด้านโดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงาน 2.ส ารวจบริบท ปัญหา และความต้องการด้านการจัดการ 1. การบูรณาการจัดการเรียนการสอน เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. คู่มือการจัดกิจกรรมจัดการเรียนการสอน 3.สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนแบบ 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบห้องเรียน ห้องเรียนกลับด้าน 4.สรุปประเด็นความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผลการสัมภาษณ์ กลับด้านโดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงาน ประเด็นบริบท ปัญหา ความต้องการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.สังเคราะห์รูปแบบการจัดการ แนวคิดการเรียนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ คือ การเรียน 6.ประเมินรูปแบบการจัดการ โดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ เนื้อหาหรือสารสนเทศซึ่งออกแบบมาสำหรับการสอนหรือ การอบรม โดยดยอาศัยเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือสื่อ เครื่องมือรูปแบบการประยุกต์ อิเล็กทรอนิกส์ในการถ่ายทอดเรื่องราวและเนื้อหา เป็นการ ส่วนประกอบ 5 ส่วนหลัก ขยายโอกาสทางการศึกษาและให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ ส่วนที่ 1 นโยบาย หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย ด้วยตัวเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 1) นโยบายลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ หลักการจัดการระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็น 2) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระบบการจัดการเกี่ยวกับการบริหารการเรียน ในรูปแบบ 3) หลักการ ทฤษฎี การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ e-Learning เพื่อจัดการเนื้อระหว่างผู้สอน ผู้เรียน โดย เรียนรู้ ออกแบบระบบเพื่อเป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการ 4) บริบท เรียนการสอนผ่านเว็บ ส่วนที่ 2 กรอบทักษะชีวิต 4H ประกอบด้วย การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน Head, Hear, Hand, Health เป็นการสอนโดยที่ผู้เรียนจะได้เรียนรู้จากการบ้านที่ได้รับ ส่วนที่ 3 กิจกรรมส่งเสริมทักษะชีวิตด้วยการเรียนรู้แบบโครงงาน ผ่านการเรียนด้วยตนเองจากสื่อวีดิทัศน์ นอกชั้นเรียนหรือ 4 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นศึกษา 2) ขั้นวางแผน 3) ขั้นปฏิบัติ 4) ขั้น ที่บ้าน ส่วนการเรียนในชั้นเรียนปกตินั้นจะเป็นการเรียน ประเมินผล ส่วนที่ 4 กรอบไอซีทีประกอบด้วย 1) Facebook 2) แบบสืบค้นหาความรู้ที่ได้รับร่วมกันกับเพื่อนร่วมชั้น โดยมี Google Apps 3) LINE 4) YouTube ผู้สอนเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือชี้แนะ ส่วนที่ 5 ตัวบ่งชี้ของกิจกรรม ประกอบด้วย 1) ด้านสติปัญญา 2) การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เป็นการจัดการ ด้านทัศนคติ 3) ด้านเรียนรู้และปฏิบัติจริง 4) ด้านสุขภาพ เรียนรู้โดยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง จากการลงมือ ปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษาสำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยมีผู้สอนเป็นผู้คอยกระตุ้น แนะนำและ ให้คำปรึกษา ฉัฐระพพี โพธิ์ปิติกุล, ธรัช อารีราษฎร์ และเผด็จ พรหมสาขา ณ สกลนคร. (2561). การพัฒนารูปแบบการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ เรียนการสอน แบบห้องเรียนกลับด้านโดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงาน. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5, (2), 7-19.

นางสาวธิดารัตน์ สระหงษ์ทอง หมู่ 1 เลขที่ 9 การส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่าง แนวทาง/ทฤษฎี/กลยุทธ์ สร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียน การสอนแบบโครงงานเป็นฐาน Facebook เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ได้รับความนิยม บูรณาการกับเฟซบุ๊ก สูงสุดและเป็นที่ยอมรับของคนทุกเพศทุกวัย ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว จะพบในกลุ่มของนักเรียน นักศึกษา และคนวัยทำงาน ผู้วิจัย สุพรรษา น้อยนคร,รุจโรจน์ แก้วอุไร,และ นฤมล รอดเนียม Facebook Application ปีการศึกษา 2562 เพื่อการศึกษามากมายที่จะช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ในการเตรียมเนื้อหาการสอนและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใหม่ๆ วัตถุประสงค์ ตัวอย่างเช่น 1) การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนการสอน - ไฟล์ (Files) สำหรับอัพโหลดแฟ้มข้อมูลให้กับผู้เรียน แบบโครงงานเป็นฐานบูรณาการกับเฟซบุ๊ก - เมกอะควิซ (Make a Quiz) สำหรับสร้างคำถามออนไลน์เพื่อ ทดสอบความรู้ของผู้เรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย - คาเลนด้า (Calendar)ส าหรับสร้างปฏิทินแจ้งเตือน 1) จัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐานบูรณาการกับ กำหนดการต่างๆ เฟซบุ๊ก - คอร์ส (Course) สำหรับจัดการเนื้อหาการเรียนการสอน 2) การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เป็นวิธีการจัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การใช้เฟซบุ๊กในการจัดการเรียนการสอน 1.การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaboration) 2.การสร้างเนื้อหา (Content) 3.การติดต่อสื่อสารการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Communication) 4.การแบ่งบัน (Sharing) 5.กิจกรรม (Activity) 6.การวัดและประเมินผล (Measurement and Evaluation) ขั้นตอน/กระบวนการทำบน Facebook application ขั้นที่ 1 การเตรียมความพร้อม บทบาทผู้สอน, บทบาทนักเรียน การใช้เฟซบุ๊กในการจัดการเรียนการสอน 1. การสร้างกลุ่มรายวิชา 2.การส่งงาน ขั้นที่ 2 คิดและเลือกปัญหาที่จะศึกษา ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ กำหนดปัญหา หาสาเหตุของปัญหาแนวคิดและวิธีการที่จะ ใช้แก้ปัญหา ขั้นที่ 3 วางแผน/การเขียนเค้าโครง ขั้นที่ 4 ขั้นการปฏิบัติโครงงาน ขั้นที่ 5 การเขียนรายงาน ขั้นที่ 6 การประเมินผล สุพรรษา น้อยนคร,รุจโรจน์ แก้วอุไร,และนฤมล รอดเนียม. (2562). การส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนการ สอนแบบโครงงานเป็นฐานบูรณาการกับเฟซบุ๊ก. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21, (1), 360-376.

นางสาวธิดารัตน์ สระหงษ์ทอง หมู่ 1 เลขที่ 9 การออกแบบรูปแบบการเรียนการ แนวทาง/ทฤษฎี/กลยุทธ์ สอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP บนเทคโนโลยีการประมวล เทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์ ผลแบบคลาวด์ของนักศึกษาระดับ (Cloud Computing Technology) ปริญญาตรีเพื่อส่งเสริมทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพต่อการนํา มาใช้ในงานทางการศึกษา มีส่วนสําคัญที่ทําให้ผู้เรียน และ ผู้วิจัย ณัฐพล ธนเชวงสกุลและณมนจีรังสุวรรณ ผู้สอนสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ปีการศึกษา 2561 มิติใหม่ทางการเรียนได้จากทุกที่ ทุกเวลาได้อย่างแท้จริง ตอบสนองในการเคลื่อนที่ด้วยอุปกรณ์พกพา สนับสนุน วัตถุประสงค์ การเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาอย่างแท้จริง เกิดการแลกเปลี่ยน 1) วิเคราะห์และสังเคราะห์กรอบของรูปแบบการเรียนการสอน ข้อมูลร่วมกัน ส่งเสริมความร่วมมือ และเชื่อถือได้ในความ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP บนเทคโนโลยีการประมวลผล ปลอดภัยของข้อมูลและการเก็บสํารองข้อมูล ประหยัดค่า แบบคลาวด์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี เพื่อส่งเสริมทักษะการ ใช้จ่าย ยืดหยุ่นในการใช้งาน เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2) ออกแบบรูปแบบการเรียนการสอน กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ MIAP 3) ประเมินรูปแบบ การเรียนการสอน เป็นกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน จากเดิมที่คิดไม่เป็นหรือทําไม่ได้ มาคิดเป็นหรือทําได้โดย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ตัวผู้เรียนเอง พฤติกรรมดังกล่าวจะต้องเป็นพฤติกรรมที่ 1) รูปแบบการเรียนการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP ค่อนข้างถาวรหมายถึงผู้เรียนที่เกิดการเรียนรู้แล้วจะสามา บนเทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์ของนักศึกษาระดับ รถทําสิ่งเหล่านั้นได้ตลอดไปไม่ใช่ทําได้เพียงหนึ่งหรือสอง ปริญญาตรี เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนร้ในศตวรรษที่ 21 ครั้ง หรือเปลี่ยนแปลงอยู่ในช่วงเวลาหนึ่งเท่านั้น 2) แบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการวิเคราะห์และ ประกอบด้วย ขั้นสนใจปัญหา ขั้นศึกษาข้อมูล ขั้นพยายาม สังเคราะห์ ขั้นสำเร็จผล 3) แบบประเมินความเหมาะสมของผลการวิเคราะห์รูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การนําเสนอแนวคิดการใช้เทคโนโลยี การประมวลผลแบบคลาวด์ในการเรียนการสอน 1.ประยุกต์ใช้อีเมล์สําหรับการรับส่งหรือการสั่งงาน ระหว่างอาจารย์ และนักศึกษาได้อย่างสะดวก รวดเร็วด้วยบริการของ Gmail และ Hotmail เป็นต้น 2.การประยุกต์ใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) อาทิ WordPress.com, SlideShare.net และ YouTube เป็นต้น โดยสา มารถนําสื่อนําเสนอ เอกสารการสอนในรูปแบบข้อความ และ Video Clip จากกล้องถ่ายภาพดิจิทัลส่งเข้าระบบ พร้อมการพิมพ์เนื้อหาบท เรียนหรือการบ้าน รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงความสามารถระหว่าง เว็บเพื่อสร้างสรรค์ให้มีลูกเล่นโดนใจ นักศึกษาได้ง่าย 3.การประยุกต์ใช้แอพพลิเคชั่นที่ไม่มีลิขสิทธิ์และสามารถใช้งานได้ ฟรีสําหรับ การจัดการเรียนการสอน อาทิ การจัดพิมพ์เอกสาร ออนไลน์ด้วย Google Docs การจัดทําตารางงานและการคํานวณ ออนไลน์ด้วย Google Sheets และการสร้างสไลด์นําเสนองาน ออนไลน์ด้วยGoogle Slides เป็นต้น การประยุกต์ใช้เครือข่าย ณัฐพล ธนเชวงสกุลและณมนจีรังสุวรรณ. (2561). การออกแบบ สังคมออนไลน์ (Social Network) อาทิ Facebook, Wiki และ รูปแบบการเรียนการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP บน เทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี Google Group เป็นต้น สําหรับเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20, (4), 58-69.

การวจิ ยั เรือ่ ง การศกึ ษาการใช้เทคโนโลยสาี รสนเทศและการส่อื สารเพอ่ื การศกึ ษาของโรงเรยี นวัดปา่ ประดู่ จงั หวัดระยอง สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ผแู้ ตง่ : วิริยะ โกษติ ทมี่ า: บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยบูรพา .................................................................................................................................................................................. การวจิ ยั ครง้ั นม้ี วี ัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ศึกษาการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารเพอื่ การศกึ ษาของโรงเรียน วัดปา่ ประดจู่ งั หวดั ระยอง 2. เพ่อื เปรยี บเทียบการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารเพื่อการศกึ ษาของ โรงเรียนวัดป่า ประดูจ่ งั หวดั ระยองจาแนกตามเพศ 3. เพ่อื เปรยี บเทียบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพอื่ การศกึ ษาของ โรงเรียนวั ดปา่ ประดจู่ ังหวัดระยองจาแนกตามประสบการณใ์ นการทางาน 4. เพ่อื เปรียบเทยี บการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารเพ่ือการศกึ ษาของ โรงเรียนวดั ป่าประดู่จงั หวดั ระยอง จาแนกตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ จากการศึกษาการค้นควา้ อิสระเร่ือง การศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพ่ือการศกึ ษาของ โรงเรยี นวัดปา่ ประดู่ จังหวดั ระยอง สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 18 สรุปไดด้ ังน้ี ด้านการเขา้ ถึงความรู้ สถานศึกษา มีบริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตท่มี คี วามเร็ว สถานศึกษาสง่ เสริมให้มีการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและ เหมาะสมแก่การเขา้ ถึงขอ้ มูลตา่ ง ๆ การสอื่ สาร(ICT)และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อการศกึ ษาค้นควา้ ของครแู ละนักเรียน ดา้ นกระบวนการเรียนรู้ สถานศกึ ษา มสี ือ่ การเรียนการสอนทหี่ ลากหลายใน สถานศกึ ษามกี ารพัฒนาสภาพแวดล้อมด้าน ICT เพื่อ รปู แบบ ด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (ICT) สง่ เสริมการเรยี นรู้ เชน่ หอ้ งเรยี นอัจฉรยิ ะ บรกิ ารแก่ครนู ักเรยี น และบุคลากรอนื่ ๆ ในสถานศกึ ษา (Smart classroom) หอ้ งเรยี นคอมพิวเตอร์ อยา่ งพอเพียง

ด้านครผู ู้สอนและบคุ ลากรทางการศึกษา สถานศึกษา สนบั สนนุ งบประมาณแก่ครู บุคลากร ใน สถานศึกษาสนบั สนนุ ให้ครู และบคุ ลากรจดั การประเมินผล การผลิตสอื่ การเรยี นร้ดู ้วย เทคโนโลยสี ารสนเทศและ ทดสอบ กากับและติดตามนกั เรยี นผา่ นระบบเครอื ขา่ ยเทคโนโลยี การสือ่ สาร (ICT) สารสนเทศและการส่ือสาร(ICT) ดา้ นการบริหารจัดการ สถานศึกษาสง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ สถานศึกษาส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสื่อสาร (ICT) ในการวางแผน ตลอดจนการศกึ ษา การส่อื สาร (ICT) ภายในกลุม่ สาระการเรียนรูท้ ั้ง 8 เพ่อื กาหนดนโยบายของสถานศึกษา กลมุ่ สาระฯ ของสถานศึกษา ดา้ นการระดมทรัพยากร สถานศกึ ษามีการสร้างเครือขา่ ยประสานงานความ สถานศกึ ษามีการสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือหรือ ร่วมมอื ในการสนบั สนุนความรูห้ รือการอบรม การสนับสนนุ อปุ กรณ์ทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางด้านวชิ า ตลอดจนทางด้านการเทคโนโลยี และการสือ่ สาร (ICT)จากภาครฐั และ ภาคเอกชน สารสนเทศ และการสอื่ สาร(ICT) กบั หน่วยงานจาก ตา่ งประเทศ

เร่ือง การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การจดั การเรยี นรู้ของครโู รงเรียนเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม ในจังหวดั นครศรีธรรมราช The Use of Information Technology for Learning Management of Teachers In Islamic Private School in Nakhon Si Thammarat Province ผู้เขียน นายพันธยทุ ธ ทศั ระเบียบ ดร.อรณุ จตุ ิผล บัณฑิตวทิ ยาลัย ดร.วันฉตั ร ทิพย์มาศ ทม่ี า : วารสารนาคบตุ รปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… การวจิ ยั คร้งั น้ีมวี ตั ถปุ ระสงค์ 1) เพ่อื ศึกษาและเปรียบเทยี บการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การ จัดการ เรียนรูข้ องครโู รงเรียนเอกชนสอนศาสนาอสิ ลามในจงั หวดั นครศรธี รรมราช และ 2) เพ่อื เปรยี บเทียบ การ ใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ การจัดการเรียนรู้ของครโู รงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอิสลามใน จงั หวัด นครศรีธรรมราช จากการศึกษาบทความเบอ้ื งตน้ สรปุ เรื่อง การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการจัดการเรยี นรูข้ องครู โรงเรยี นเอกชน สอนศาสนาอสิ ลาม ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ดังนี้ ดา้ นการใชว้ ัสดุอุปกรณเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื การจดั การเรยี นรู้ สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มในการกาหนดนโยบายวางแผน ผู้ปกครอง และศษิ ย์เก่าเขา้ มามีสว่ นร่วมในการจัดหา และการกาหนดเปา้ หมายดา้ นการจัดหาจัดสร้าง จัดสร้างเทคโนโลยสี ารสนเทศทั้งการจดั หาครภุ ณั ฑ์ อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศโดยการรว่ มประชุมผู้ที่ คอมพิวเตอรแ์ ละการปรบั ปรุงห้อง เทคโนโลยี มคี วามเกย่ี วขอ้ งในโรงเรียนเพ่อื กาหนดเปา้ หมายดา้ น สารสนเทศใหเ้ พยี งพอในการใช้งาน การนาอุปกรณ์เทคโนโลยสี ารสนเทศและร่วมวางแผน ในการจัดหาจดั สรา้ ง ด้านการใชแ้ หลง่ สารสนเทศเพ่ือการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมในการประชุมวางแผนพฒั นา สง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมใหข้ อ้ เสนอแนะในการพัฒนา แหล่งสารสนเทศให้มคี วามพร้อมใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ แหล่งขอ้ มลู ใหเ้ อ้อื ตอ่ การจดั การเรยี นรู้

ด้านสารสนเทศ ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้ปฏิบตั งิ านมีสว่ นร่วมในการใช้สารสนเทศ การใช้สารสนเทศในการพัฒนาการเรยี นการสอน การวางแผนเพ่ือการจดั การเรียนรู้ ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งคมุ้ ค่า ดา้ นการใชร้ ะบบเครอื ขา่ ย คอมพวิ เตอร์เพอื่ การจัดการเรยี นรู้ ส่งเสรมิ ประชมุ วางแผนพัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ ส่งเสริมใหม้ กี ารนิเทศกากบั ตดิ ตามเพ่ือชว่ ยให้การใชง้ าน ความสามารถในการใชเ้ ครือขา่ ย คอมพวิ เตอรเ์ พือ่ น า เป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ข้อมลู มาจัดทาแผนการเรียนรใู้ ห้คลอบคลุมทกุ กลุ่มสาระ

บทความเรือ่ ง การศึกษาสภาพการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการเรียนการ สอนระดบั อนบุ าล ในโรงเรยี น สงั กัดกรงุ เทพมหานคร ผูแ้ ต่ง: สายสุดา ปั้นตระกูล กาญจนา เผือกคง ดร. ปรศิ นา มัชฌมิ า ท่มี า : Journal of Association of Reserarchers ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 1. เพอ่ื ศกึ ษาสภาพการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการเรียนการสอนระดับอนุบาล ในโรงเรียนสังกดั กรงุ เทพมหานคร 2. เพ่อื ประเมนิ สภาพการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศในการเรยี นการสอน ระดบั อนบุ าลในโรงเรียน สงั กัดกรุงเทพมหานคร จากการศึกษาบทความเรอ่ื ง การศึกษาสภาพการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการเรยี นการ สอนระดับ อนุบาล ในโรงเรียนสังกัดกรงุ เทพมหานคร สรุปได้ดงั น้ี ดา้ นสภาพการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการเรยี นการสอน ระดบั อนบุ าลในโรงเรยี นสังกัดกรุงเทพมหานคร การเลอื กใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจดั การเรียนการสอน สว่ น การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ จัดกจิ กรรมการเรียนการ ใหญเ่ ลอื กตามเนอื้ หา ของหนว่ ยการเรยี นการสอน สอน ส่วนใหญ่เลือกกิจกรรมท่ี จดั คานึงถึงระยะเวลาท่ีเหมาะสมกับ วยั และสามารถยืดหยุ่น ได้ตามความสนใจของเด็ก วิธกี ารในการจัดเตรียม คดั เลือกสื่อและ อปุ กรณเ์ ทคโนโลยี การเลือกรปู แบบเทคโนโลยีสารสนเทศใน การเรียนการสอนระดับ สารสนเทศในการจัดกิจกรรมการเรยี น การสอน สว่ นใหญจ่ ัดเตรียม อนบุ าล ส่วนใหญเ่ ลอื กใช้สื่อจาก เครื่องเลน่ ซีดีและดวี ดี ีมากทสี่ ดุ และคดั เลอื กสือ่ และอปุ กรณ์ เทคโนโลยสี ารสนเทศที่มใี นโรงเรียน

ดา้ นการประเมนิ สภาพการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการ เรียนการสอนระดบั อนุบาลในโรงเรียนสงั กัด กรงุ เทพมหานคร ครสู ามารถใชค้ อมพิวเตอร์ เป็นสอื่ การสอนได้ทุกวิชา นกั เรียนมี โอกาสได้ใช้อปุ กรณเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เป็นสอ่ื การเรยี นรู้ งบประมาณไมเ่ พยี งพอในการจดั หาสอ่ื /ซอฟต์แวรท์ ่ี เหมาะสมกับ อุปกรณเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศ/ฮาร์ดแวรไ์ ม่เพียงพอ และครูขาดความ พฒั นาการของเด็ก ความเขา้ ใจในการจัดเตรียม คัดเลือกสื่อและอุปกรณ์( อภปิ รายผลไดว้ า่ ผู้บรหิ ารโรงเรยี นควรมีสว่ นร่วม ควบคมุ กากบั ดูแลการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียน ดว้ ย ครูตระหนกั ถงึ ทฤษฎีการเรียนรูข้ องเดก็ ทีส่ ่งผลตอ่ ความพร้อมในการเรียนรู้ นโยบายของโรงเรียน ความ พรอ้ ม ของฮาร์ดแวร์ความพรอ้ มซอฟตแ์ วรแ์ ละความพร้อมของครใู นการจัดการเรยี นการสอน















บทความ : เทคโนโลยีการศกึ ษากบั ฐานวถิ กี ารศึกษาใหม่ ธนะวฒั น์ วรรณประภา, วทัญญู วุฒวิ รรณ, และจารวุ รรณ รกั เร่มิ วงษ์. (2563). เทคโนโลยกี ารศกึ ษากับฐาน วิถกี ารศกึ ษาใหม่.วารสารมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั นครพนม, 10(3), 124-134. 1. เทคโนโลยกี ารศึกษาหลงั การระบาดของโรค COVID-19 ในช่วงการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 เทคโนโลยีมีความจำเป็นในการจัดการเรียนการสอนแบบ ออนไลน์ เพื่อการจัดการเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพกับผู้เรียนให้ดีที่สุด ซึ่งผู้สอนควรมีหลักการใช้สื่อ ดังต่อไปนี้ 1. การวางแผน (Planning) เป็นการพจิ ารณาเลือกใช้ส่ือใดในการเรยี นการสอนทมี่ ีความเหมาะสมกับ ผเู้ รยี น ให้เกิดการเรยี นรทู้ ด่ี ที ่สี ุด โดยพจิ ารณาปัจจยั ทีเ่ กยี่ วข้องให้ครบถ้วน 2. การเตรียมการ (Preparation) ผู้สอนควรเตรียมความพร้อม เช่น ผู้สอนควรทำความเข้าใจกับ ผู้เรียนเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนในแต่ละครั้ง และลักษณะการใช้สื่อ ความพร้อมของสื่อและอุปกรณ์ ความ พรอ้ มของสภาพแวดลอ้ มและสถานท่สี อน 3. การนำเสนอสื่อ (Presentation) ผู้สอนอาจจะกำหนด ช่วงเวลาของการใช้สื่อเป็น 4 ขั้น คือ ขั้น นำเข้าสบู่ ทเรยี น ขัน้ สอน เน้ือหาบทเรียน ข้นั วิเคราะหแ์ ละฝึกปฏิบัติ และขน้ั สรปุ บทเรียน 4. การประเมินผลผู้เรียน (Evaluation) ภายหลังการใช้ สื่อแล้วผู้สอนควรมีการซักถามผู้เรียน หรือ อภปิ รายเก่ยี วกบั เนื้อหา ทไี่ ดน้ ำเสนอไปแลว้ 2.เทคโนโลยกี ารศึกษาสำหรบั การเรียนการสอนออนไลน์ เครื่องมือหรือโปรแกรมสำหรับการเรียนการสอนออนไลน์นั้น ตัวอย่าง เช่น Social Media. Google Classroom สามารถกำหนดรบู ริคส์ (Rubrics) การให้คะแนนชนิ้ งาน การตรวจและให้ข้อเสนอแนะ เป็นรายบุคคลได้ Microsoft Teams. LMS Moodle (Modular Object - Oriented Dynamic Learning Environment เป็นระบบจัดการเรียนการสอน ในระบบออนไลน์ผ่านเว็บปัจจุบันมีการปรับปรุงให้มี ประสิทธิภาพ สูงขึ้นในด้านของการสร้างข้อสอบ) เครื่องมือสำหรับการสือ่ สารสองทาง เช่น Zoom, Google Meet, Line, Messenger, เครื่องมือสำหรับการสร้างข้อคำถาม เช่น KAHOOT, QUIZIZZ, Mentimeter ผ้สู อนใชเ้ คร่ืองมอื กล่มุ นเี้ พอื่ ตรวจสอบตดิ ตามการสอนหรอื ไม่ โดยใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นร่วม ในกิจกรรมการ เรียนเป็นระยะ ๆ เครื่องมือสำหรับการระดมความคิดเห็น เช่น Padlet, Jamboard, Microsoft White board กระดานอเิ ลก็ ทรอนิกส์นี้จะใหส้ ิทธ์ทิ ุกคนเข้าร่วมแสดงความคิดเหน็

3.เทคโนโลยีการศกึ ษากบั ฐานวถิ ีการศกึ ษาใหม่ เทคโนโลยีทำให้การเรียนในห้องเรียนเปลี่ยนแปลงมุ่งสู่ การเรียนที่ไร้ขอบเขตข้อจำกัดของเวลาและ สถานที่ ลักษณะการเรียนรู้เปลี่ยนแปลง เป็นการสืบเสาะค้นหา คัดเลือกใช้สารสนเทศ ที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา (Roblyer and Doering (2010 cited in Paha, 2017) ไดก้ ลา่ วถงึ ภาพแห่งอนาคตของเทคโนโลยี การศึกษา ดังน้ี 1. เกิดการเช่ือมโยงประสบการณ์ความรู้และข้อมูล ข่าวสารแบบไร้ขอบข่ายมากยิ่งขึ้น (Wireless Connectivity) 2. เกิดการบูรณาการการใชเ้ ทคโนโลยีแบบผสมผสานกัน มากย่งิ ขึ้น (Merging of Technology) 3. ววิ ัฒนาการสื่ออุปกรณ์ขนาดจ๋วิ แบบพกพาจะมากข้นึ และมคี วามจำเป็นเพิ่มขนึ้ (Developments in Portable Devices) 4. การพัฒนาสมรรถนะของระบบสื่อสารความเร็วสูง จะเพิ่มขีดจำกัดมากขึ้น (Ability of High- Speed Communications) 5. การพัฒนาสมรรถนะของระบบส่อื เชิงทัศนะทม่ี ี ประสทิ ธิภาพ (Visual Immersion Systems) 6. วิวัฒนาการการปรับใช้สื่อปัญญาประดิษฐ์หรือ สื่อปัญญาประยุกต์ที่เพิ่มขึ้น (Intelligent Application) 4. ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การนำเทคโนโลยกี ารศึกษามาใชจ้ ดั การเรียนการสอนออนไลน์ 1. ผ้สู อนวเิ คราะหเ์ ทคโนโลยที ่จี ะนำมาใช้ ว่ามีความเหมาะสมหรอื สอดคล้องกับ ธรรมชาติและเน้ือหา รายวชิ าหรือไม่ เชน่ รายวิชาปฏบิ ตั ิ อาจจะต้อง มีการเรยี นแบบเผชญิ หนา้ รว่ มกบั ออนไลน์ เปน็ ตน้ 2. การเลือก LMS ที่ไม่มีความซับซอ้ น เพอ่ื ไมใ่ หผ้ เู้ รียนเกดิ ความสับสน ในระยะแรกของการใช้ 3. การเลือกโปรแกรมสำหรับการสนทนาออนไลน์ที่ สอดคล้องกับระยะเวลาการใช้ของโปรแกรมกับ ระยะเวลาเรยี น 4. ผู้สอนอาจจะมีการเลือกใช้โปรแกรมต่าง ๆ ร่วมด้วย เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนออนไลน์ เช่น Mentimeter, Kahoot, Padle, Microsoft Whiteboard, Jamboard เป็นต้น ผู้สอนควรมีการซักซ้อม การใชโ้ ปรแกรมต่างๆ ใหเ้ กิดความชำนาญ กอ่ นนำไปใช้จรงิ 5. การสร้างข้อสอบออนไลน์ ผู้สอนควรพิจารณา เลือกโปรแกรมที่มีความเหมาะสมกับเนื้อหาของ ข้อสอบว่าเป็น วิชาเชิงทฤษฎี หรือปฏิบัติ สำหรับโปรแกรม Google Form, Quize Creator อาจจะมีความ เหมาะสมกับการออกข้อสอบ ทางดา้ นพทุ ธปิ ัญญา (Cognitive)

บทความ : เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมกับการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจทิ ัล Technology and Innovation for Instructional in Digital Ages. ธานินทร์ อนิ ทรวิเศษ, ธนวตั น์ พูลเขตนคร, ธนวัตน์ เจรญิ ษา, นติ ยา นาคอนิ ทร์, Augustine Agb, และภาสกร เรืองรอง (2562). เทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล. Veridian E-Journal มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร (สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ), 12(6), 478-494. 1. เทคโนโลยกี บั วิธีการจดั การเรยี นการสอนในยคุ ดิจิทลั Mobile learning คือการจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสำเร็จรูป (Instruction Package) ท่ี นำเสนอเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีไร้สาย (wireless telecommunication network) และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถเรียนได้ทุกที่และทุกเวลา โดยไม่ต้องเชื่อมต่อโดยใช้ สายสัญญาณ ผู้เรยี นและผู้สอนใช้เครื่องมอื สำคัญ คือ โมบายดไี วซ์เปน็ อุปกรณท์ างเทคโนโลยีสารสนเทศที่นิยม ใช้งาน ได้แก่ สมารท์ โฟน แท็บเลต และคอมพวิ เตอร์ Mobile learning กับการจัดการเรียนการสอน ผลลัพธ์จากการเรียนรู้ด้วย Mobile learning แสดง ให้เห็นถึงความชื่นชอบของผู้เรียนในกิจกรรมการเรียนรู้จากการศกึ ษาของ เอลฟิคก์(Elphick, 2018) ได้แสดง ให้เห็นถึงประสิทธิภาพของอุปกรณ์โมบายดไี วซ์ ที่สามารถเพิ่มทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การ เรียนรู้แบบสร้างสรรค์ ความเที่ยงตรง ปฏิสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมในผู้เรียนกลุ่มใหญ่ ซึ่งเครื่องมือในการ เรียนรู้แบบ Mobile learning ช่วยสร้างแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแลกเปลี่ยนมุมมองและข้อคิดเห็นตามข้อ สงสัยที่เก่ียวขอ้ งใน กระบวนการเรยี นรู้ก่อให้เกิดการเรียนรูแ้ บบรว่ มมือกนั ระหวา่ งผเู้ รยี น 2. การจดั การศกึ ษาออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC (Massive Open Online Course) ในระดับอุดมศึกษาได้มีการเปิดหลักสูตรการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC (Massive Open Online Course) ซึ่งสามารถรองรับจำนวนผู้เรียนได้จำนวนมาก เปิดโอกาสในการศึกษาสำหรับมหาชน และ เป็นการส่งเสริมในการสร้างการศกึ ษาตลอดชวี ิตให้กับคนทกุ เพศทกุ วัย ในปัจจุบัน MOOC ท่ี ได้รับความนิยม มากนั้นประกอบไปด้วย Coursera, Khan Academy, Udacity, EdX, Udemy และบริการอนื่ ๆ อกี มากมาย โดยรายวิชาที่เปิดมีทั้งที่มีลักษณะเป็น cMOOC คือ มีความยืดหยุ่นสำหรับผู้เรียนซึ่งจะเรียนเมื่อไหร่ หรอื นานเทา่ ไหรก่ ไ็ ด้ และ xMOOC คือ มีกรอบกติกาในการเรยี นทีช่ ัดเจน เชน่ เวลาเปิดปิดรายวชิ าท่คี ล้ายกับ ภาคการศึกษาในมหาวิทยาลัย รายวิชาที่มีให้บริการการเรียนรู้ มีทั้งรายวิชาที่เปิดทำการสอนใน สถาบันการศึกษา ในมหาวิทยาลัย รายวิชาเพื่อการศึกษาต่อเนื่องของวิชาชีพต่างๆ รายวิชาความรู้เพื่อการ ดำรงชวี ติ รายวชิ าความรู้ เพือ่ การทำงานหรือพฒั นาศักยภาพในการทำงาน รายวิชาด้านสังคม เช่น การพัฒนา ทกั ษะในการดำเนนิ ชวี ติ และคณุ ภาพชีวิต และการใช้ภาษาตา่ งๆ

MOOC เป็นการศึกษาแบบเปิดเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ช่วยลดอุปสรรค สำคัญในการศึกษา รวมทั้งต้นทุนการศึกษาที่มีราคาแพง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาต่อในต่างประเทศ แต่ ปัจจุบัน MOOC สามารถรองรับการเข้าถึงของผู้เรียนได้นับล้านคนในเวลาเดียวกัน และมีความยืดหยุ่น โดย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนอะไรก็ได้ เมื่อไหร่ก็ได้ จากที่ใดก็ได้ แต่ก็ยังมีข้อจำกัดบางด้าน เช่น ด้านภาษา มาตรฐานในการเทียบวฒุ ิ และการพิสจู น์ตวั ตนของผเู้ รยี นกบั ผู้ทข่ี อจบหลกั สตู รเป็นคนเดียวกนั หรือไม่ 3. การจดั การเรยี นการสอนโดย “ปญั ญาประดิษฐ”์ (Artificial Intelligence) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ในด้านการศึกษาและการเรียนรู้ ปัญญาประดิษฐ์เปลี่ยน วิธีเรียนและเปลี่ยนวิธีสอน สู่รูปแบบการเรียนรู้ใหม่ๆ ที่ปฏิวัติระบบการศึกษาไปโดยสิ้นเชิง นอกจากน้ี ปัญญาประดิษฐ์ยังช่วยให้คุณครู สามารถลดเวลาทำงานต่าง ๆ เช่น งานที่ต้องทำซ้ำไปซ้ำมา หรืองานจัดเก็บ เอกสารได้อีกด้วย มีการคาดการณ์ว่าการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในกิจกรรมทางการศึกษาจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 48 จนกระทงั่ ถงึ ปี ค.ศ. 2021 ผลกระทบเชิงบวกของปัญญาประดิษฐ์ จะปรากฏให้เห็นต้ังแต่การเรียนของเด็กช้ัน อนุบาลจนถึงการศึกษาขั้นสูง ทั้งจะมีการสร้างสรรค์เครื่องมือเพื่อการเรียนรู้อีกหลายอย่าง และบางอย่างจะ สามารถปรบั ใหเ้ ข้ากับผู้เรียนเปน็ รายบุคคลได้ (Personalized Tool) เพอ่ื ให้ไดผ้ ลด้านการเรยี นสูงสุด 4. การปรบั ตัวของผู้สอนในยคุ ดิจทิ ัล ผู้สอนจำเป็นต้องเริ่มจากปรับเปลี่ยนวิธีคิด ทัศนคติของตัวผู้สอนเอง เปิดรับแนวคิดและเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ทั้งปรับเปลี่ยนแปลงกระบวนการวิธีการสอนจากการสอนให้ผู้เรียนเป็นผู้ท่ีศึกษาค้นคว้า ลงมือทำด้วย ตนเองให้มากข้ึน เปลี่ยนบทบาทผู้เรียนให้เป็นผู้เรียนที่สามารถพูดอธิบายความรู้ที่ได้จากศึกษาค้นคว้ามา ผู้สอน จะต้องยึดหลัก “สอนน้อย เรียนมาก” ออกแบบจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และอำนวยความสะดวกในการ เรียนรู้ ให้ผเู้ รยี นไดล้ งมอื ทำและการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ด้วยตนเอง ซงึ่ ผูส้ อนจำเปน็ จะต้องเตรียมตัวในการสอน มากขน้ึ กวา่ การสอนแบบปกติ ตอ้ งเตรียมขอ้ มลู ในการสอนมากขึ้น และเรียนรูไ้ ปพร้อมกบั ผูเ้ รียน

บทความ : การส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ด้วยการจัดการเรียนการสอน แบบ โครงงานเป็นฐานบูรณาการกับเฟซบุ๊ก PROMOTING CREATIVE PROBLEM SOLVING BY PROJECT-BASED LEARNING INTEGRATED WITH FACEBOOK สุพรรษา น้อยนคร, รุจโรจน์ แก้วอุไร, และนฤมล รอดเนียม. (2562). การส่งเสริมการแก้ปัญหาอย่าง สรา้ งสรรค์ด้วยการจดั การเรียนการสอน แบบโครงงานเป็นฐานบูรณาการกบั เฟซบุ๊ก. Journal of Education Naresuan University, 21(1), 360-376. การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรคด์ ว้ ยการจดั การเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐานบรู ณาการกับเฟซบ๊กุ ขั้นที่ 1 การเตรียมความพร้อมบทบาทผูส้ อน 1.ผสู้ อนทำการปฐมนเิ ทศ แจง้ ขอ้ ปฏิบัตใิ หแ้ กผ่ ู้เรยี นทราบ สรา้ งข้อตกลง 2.ผู้สอนทำการแบง่ กลุม่ ผเู้ รยี น เป็นกลุ่มเลก็ 5-6 คน บทบาทผู้เรยี น 1.ผู้เรยี นทำการจับกล่มุ รวมกัน กลุม่ ละ 5-6 2.ตัวแทนกลุ่มทำการโพสรายชื่อสมาชิกลงในกลุ่ม 001225G1/2560 จากนั้นผู้สอนจักเป็นผู้ดำเนิน การจัดลำดับกลุ่ม การใช้เฟซบุ๊กในการจัดการเรยี นการสอน 1. การสรา้ งกลมุ่ รายวชิ าครูผูส้ อนทำการสรา้ งกลุ่มรายวชิ าขึน้ มา 2.การสง่ งานตัวแทนกล่มุ ทำการโพสรายชือ่ สมาชกิ ลงในกลมุ่ 001225G1/2560 ขั้นที่ 2 คิดและเลือกปัญหาที่จะศึกษา ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้กำหนดปัญหา หาสาเหตุของปัญหา แนวคดิ และวธิ ีการทีจ่ ะใช้แกป้ ัญหาบทบาทสอน การใชเ้ ฟซบ๊กุ ในการเรียนการสอน 1.ผสู้ อนต้งั โพสทส์ ง่ หัวโครงงานในกลุ่มรายวขิ า 2.ตวั แทนกลุ่มทำการโพสทห์ ัวขอ้ โครงงาน 3.ผเู้ รียนสามารถใช้เฟซบุ๊กในการติดตอ่ ส่ือสาร การแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ กันได้ ขั้นท่ี 3 วางแผน/การเขียนเค้าโครง แนวทางการศึกษา ค้นคว้า วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้การออกแบบ การทดลองการควบคุมตัวแปรการสสำรวจและรวบรวมข้อมูลการประดิษฐ์คิดค้นการวิเคราะห์ข้อมูลการ กำหนดระยะเวลาในการทำงาน แต่ละขั้นตอนระดมความคิดเพื่อหาวิธีแก้ปัญหาที่มีความแปลกใหม่และ วางแผนสู่การปฏิบตั โิ ดยการเขยี นเปน็ เคา้ โครง

การใชเ้ ฟซบุ๊กในการเรียนการสอน ตัวแทนผูเ้ รยี นแตล่ ะกลุ่มโพสเคา้ โครง โครงงานของตนลงในกลุม่ เฟซบกุ๊ ห้องเรยี น ขั้นท่ี 4 ข้ันการปฏิบตั โิ ครงงาน ผเู้ รยี นจะต้องปฏบิ ัติตามแผนที่กำหนดไว้ในขอ้ 2 การใชเ้ ฟซบุก๊ ในการเรยี นการสอน 1. ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกับสรุปถึงการหาวิธีแกป้ ัญหาเพื่อนำไปสูท่ างออกปัญหาที่ดีที่สุด ขณะผู้เรียน ทุกกลุ่มลงมอื ปฏิบตั ิกจิ กรรมในแต่ละขน้ั ตอน การปรึกษาสามารถปรกึ ษาผ่านเฟซบุ๊กได้ ไมว่ า่ จะเป็นผู้เรียนกับ ผ้เู รยี น หรอื ผูเ้ รยี นกบั ผู้สอน 2. ผูส้ อนใช้ Message Note หรอื Group Comment ในการป้อนข้อมูลกลบั แก่ผ้เู รยี น ขั้นที่ 5 การเขียนรายงาน ผู้เรียนจะต้องเสนอผลงานการศึกษา ค้นคว้าเป็นเอกสาร อธิบายให้ผู้อื่น เข้าใจและทราบถึงปัญหาวิธีการ และผลสรุปที่ได้จากการศึกษา พร้อมอภิปรายผล และให้ข้อเสนอแนะเพื่อ เป็นแนวทางในการทีจ่ ะศึกษาค้นควา้ ตอ่ ไป การใช้เฟซบุก๊ ในการเรยี นการสอน 1.ตัวแทนผ้เู รียนแตล่ ะกลุ่มโพสทโ์ ครงงานลงในกลมุ่ 2.ผู้สอนทำการตรวจงานผา่ นโพสท์ โดยการคอมเม้นท์งาน ขัน้ ท่ี 6 การประเมินผล 1.กำหนดตัวช้วี ดั ความสำเรจ็ ของโครงงาน 1.1 เชงิ ปริมาณ เชน่ การใชแ้ บบประเมิน 1.2 เชงิ คุณภาพ เช่น การใช้แบบสัมภาษณ์ 2. ประเมินผลจากโครงงาน 2.1 เคา้ โครง โครงงาน 2.2 เอกสาร 2.3 การนำเสนอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook