Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sumปกและเนื้อหาภูมิสารสนเทศ

sumปกและเนื้อหาภูมิสารสนเทศ

Description: sumปกและเนื้อหาภูมิสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

รายงานผลการสำรวจเน้ือท่ีเพาะปลกู ขาวนาปรงั ป 2562 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ

รายงานผลการสำรวจเนอื้ ท่ีเพาะปลกู ขา วนาปรัง ป 2562 โดยใชเทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศ หลักการและเหตุผล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ไดเนนการสรางความสมดลุ ของ การผลิตกับทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบการเกษตรเปนระบบที่ซับซอนประกอบดวยตัวแปรท้ัง ทางดานกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสังคม ซึ่งการพัฒนาการเกษตรจำเปนตองเขาใจภาพรวมของระบบ การเกษตรนั้น ๆ เพื่อที่จะสะทอนใหเ ห็นศักยภาพและปญหาอันจะนำไปสูการแกไ ข ประกอบกับการเปลี่ยนแปลง ทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดดของการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ของเทคโนโลยีหลัก เชน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตระหนักถึงความสำคัญทางดานความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่ใชในการ สำรวจและจัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตที่ถูกตองและรวดเร็ว จึงไดนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo – Information) หรือ GI ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยีรีโมทเซนซิง ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และระบบกำหนดวิเคราะหบนพื้นโลก (GPS) มาใชในการวิเคราะหและจัดเก็บ เพื่อประเมินเน้ือทีเ่ พาะปลูกกอน ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ซึ่งเปนทางเลือกในการวางแผนหรือกำหนดแนวทางการจัดการดานการผลิตไดอยางมี ประสิทธภิ าพ ในปงบประมาณ 2562 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดำเนินงานที่นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาประยุกตใชในการวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2562 ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม โดยการ สุมเลือกพื้นที่ตัวอยาง ดวยวิธกี ารสุมตวั อยาง แบบใชสัดสวนของความนา จะเปน ตามขนาดเนื้อที่ (Probability Proportional to Size : PPS) วัตถุประสงค เพื่อวิเคราะหและจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ในป 2562 สำหรับจัดทำขอมูลเชิงพื้นที่และแผนที่ แสดงเน้ือทีเ่ พาะปลูกขา วนาปรังเปนรายจังหวัด อำเภอ ตำบล ขอบเขตการศกึ ษา การศึกษาครั้งนี้เปนการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ซึ่งบันทึกขอมูลชวงเดือน พฤศจกิ ายน 2561 - พฤษภาคม 2562 ครอบคลุมเนือ้ ท่เี พาะปลกู ขา วนาปรงั ในประเทศไทย

เคร่อื งมือ อุปกรณ และวธิ กี ารดำเนินงาน 1. เครอื่ งมือและอปุ กรณ 1) ขอมูลดาวเทียมจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียม LANDSAT 8 ครอบคลุม ประเทศไทย 2) ภาพ Ortho Photo สี มาตราสวน 1:2,500 และ 1:4,000 3) แผนที่ภมู ปิ ระเทศ ของกรมแผนท่ที หาร มาตราสว น 1 : 50,000 4) เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรม ประกอบดวยโปรแกรมที่สำคัญ คือ โปรแกรมควบคุมระบบ Windows XP และโปรแกรมท่ใี ชใ นการวเิ คราะหและประมวลผลขอ มลดู าวเทียม โปรแกรม TNTmips โปรแกรม ImageAnalysis และโปรแกรม Ecogdition 2. ข้นั ตอนการดำเนินงาน 1) รวบรวมขอมูลและจัดเตรียมเบื้องตน ไดแก ภาพถายดาวเทียม ภาพOrtho Photo สี และแผนท่ีภมู ิประเทศมาตราสวน 1 : 50,000 2) เลือกขอมูลดาวเทียม และการคัดเลือกชวงคลื่นขอมูลที่นำมาใชวิเคราะห ที่มีลักษณะเดนใน เรื่อง ความช้ืน พืชพรรณ และความแตกตางพื้นที่ระหวางดินและน้ำเพื่อทำภาพสีผสมสำหรับ การจำแนกเนื้อที่ เพาะปลกู ขา วนาปรงั 3) การแกไขความผิดพลาดเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) เนื่องจากความ ผิดพลาดทาง วิเคราะห เพื่อใหขอมูลดาวเทียมที่ใชในการวิเคราะหมีวิเคราะหและทิศทางที่ถูกตองตามแผนที่ภูมิประเทศและ ภาพออรโธสี มาตรสวน 1: 4,000 ที่ใชอางอิง โดยใชวิธี Image to Map หรือ Image to Image 4) การตอภาพ (Mosaic) เนื่องจากการวิเคราะหเปนรายจังหวัด และจังหวัดหนึ่งๆ ครอบคลุม ขอมูล หลายภาพ จ าเปนตองตอ ภาพใหเ ชื่อมโยงเปนพน้ื ทีเ่ ดยี วกันกอนนำมาวเิ คราะห 5) การเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตนกอนการแปลวิเคราะห โดยตรวจสอบขอมูลในเนื้อที่จริง เปรียบเทียบกับขอมูลดาวเทียม รายละเอียดของขอมูลที่สำรวจ ควรประกอบดวย ตำแหนงของ จุดสำรวจตอง สามารถอางอิงไดบนแผนที่และปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ลักษณะเนื้อที่ ประเภท ของสิ่งปกคลุมดิน ชนิดพืช ระยะการเจรญิ เติบโต รวมทงั้ สภาพแวดลอ มบรเิ วณใกลเ คยี ง ถา เปนไปได ชวงเวลาในการสำรวจควรใกลเคียงหรือ อยใู นฤดูกาลเดียวกนั กับการบนั ทึกขอมลู ดาวเทียม แตถ า ตา งเวลากนั จะตองสอบถามถึงขอมูลในชวงเวลาที่บันทึก ขอมูลจากเกษตรกรในทอ งถิน่ นนั้ ๆ 6) การแปลและวเิ คราะหขอมลู ดาวเทยี มเพ่ือจำแนกเน้ือท่ีเพาะปลูกขา วนาปรัง โดยใชวิธกี ารแปล และ วิเคราะหด วยสายตาและคอมพวิ เตอร ประโยชนท ี่คาดวาจะไดร ับ ขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ตลอดจนแผนที่ อันสามารถเพื่อใชเ ปนขอ มูลพืน้ ฐานในการติดตามเนอ้ื ทเี่ พาะปลกู และวางแผนการผลิตขาวนาปรังตอไป

รายงานผลการสำรวจเน้ือทเ่ี พาะปลกู ขา วนาปรงั ป 2562 โดยใชเ ทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ในภาคตะวนั ออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนำเทคโนโลยีดาน ภูมิสารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสำรวจเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2562 พื้นที่ภาคตะวันออก ดวยการนำขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 มาแปลและวิเคราะห เพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูก ขาวนาปรัง ป 2562 โดยพิจารณาจากปจจัยการจำแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุในชวง คลื่นแสงที่ตางกัน ประกอบกับคุณสมบัติ ของวัตถุ ไดแก รูปราง ขนาด รูปแบบ ความหยาบละเอียด สี เงา ตำแหนงที่ตั้งและความสัมพันธก ับพื้นที่ขางเคียง พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหเนื้อที่ เพาะปลกู ขาวนาปรัง ป 2562 เบื้องตน กับภาพถา ยออรโ ธสี มาตราสว น 1:4,000 ขอมูลดาวเทียมรายละเอียดสูง จาก Google Earth และตำแหนงพิกัดที่ไดจากเครื่อง GPS ในภาคสนาม จากการแปลและวิเคราะหขอมูล ดาวเทียม เพื่อจำแนกเน้อื ทเี่ พาะปลูกขาวนาปรงั ป 2562 ทั้งนี้ สศท.6 ไดสรุปผลวิเคราะหขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2562 ภาคตะวันออก จำนวน 8 จังหวัด ไดแก นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแกว ตราด ระยอง ชลบุรี และสมุทรปราการ ผลการวิเคราะหสรุปวาจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่การเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2562 มากที่สุด จำนวน 383,823 ไร รองลงมาจังหวัดปราจีนบุรี และนครนายก คิดเปนรอยละ 49.05 20.57 และ 20.04 ตามลำดับ รายละเอยี ดตารางผลการแปลและวเิ คราะหเ น้อื ท่ีเพาะปลูกขาวนาปรงั ป 2562 ภาคตะวนั ออก ดังน้ี ตารางผลการแปลและวิเคราะหเนื้อท่เี พาะปลกู ขาวนาปรัง ป 2562 ของภาคตะวันออก จากขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ภาค/จังหวดั ป พ.ศ.2562 รอ ยละ เนอื้ ท่ี (ไร) ภาคตะวนั ออก 782,522 100.00 นครนายก 156,834 20.04 ปราจนี บรุ ี 160,994 20.57 ฉะเชิงเทรา 383,823 49.05 สระแกว 27,576 3.52 ตราด 3,480 0.44 ระยอง 3,837 0.49 ชลบุรี 28,568 3.65 สมทุ รปราการ 17,410 2.22

















รายงานผลการสำรวจเนื้อท่ีเพาะปลูกขาวนาป ป 2562/63 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ

รายงานผลการสำรวจเน้ือที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2562/63 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ หลกั การและเหตผุ ล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ไดเนนการสรางความสมดุล ของ การผลิตกับทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบการเกษตรเปนระบบที่ซับซอนประกอบดวยตัวแปรท้ัง ทางดานกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสังคม ซึ่งการพัฒนาการเกษตรจำเปนตองเขาใจภาพรวมของระบบ การเกษตรนั้น ๆ เพื่อที่จะสะทอนใหเห็นศักยภาพและปญ หาอันจะนำไปสูก ารแกไ ข ประกอบกับการเปล่ียนแปลง ทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดดของการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ของเทคโนโลยีหลัก เชน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตระหนักถึงความสำคัญทางดานความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่ใชในการ สำรวจและจัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตที่ถูกตองและรวดเร็ว จึงไดนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo – Information) หรือ GI ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยีรีโมทเซนซิง ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และระบบกำหนดวิเคราะหบ นพื้นโลก (GPS) มาใชในการวเิ คราะหแ ละจัดเก็บ เพื่อประเมินเน้ือทีเ่ พาะปลูกกอน ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ซึ่งเปนทางเลือกในการวางแผนหรือกำหนดแนวทางการจัดการดานการผลิตไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ ในปงบประมาณ 2562 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดำเนินงานที่นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาประยุกตใชในการวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2562/63 ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม โดยการ สุมเลือกพื้นที่ตัวอยาง ดวยวิธีการสุมตัวอยา ง แบบใชสัดสวนของความนาจะเปน ตามขนาดเนื้อที่ (Probability Proportional to Size : PPS) วัตถุประสงค เพื่อวิเคราะหและจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2562/63 สำหรับจัดทำขอมูลเชิงพื้นที่และแผนที่ แสดงเนอื้ ทีเ่ พาะปลกู ขาวนาปเปน รายจังหวัด อำเภอ ตำบล ขอบเขตการศกึ ษา การศึกษาครั้งนี้เปนการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ซึ่งบันทึกขอมูลชวงเดือน พฤศจกิ ายน 2561 - พฤษภาคม 2562 ครอบคลุมเนอ้ื ที่เพาะปลกู ขาวนาป ในประเทศไทย

เครอ่ื งมอื อปุ กรณ และวธิ กี ารดำเนนิ งาน 1. เครอ่ื งมอื และอุปกรณ 1) ขอมูลดาวเทียมจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียม LANDSAT 8 ครอบคลุม ประเทศไทย 2) ภาพ Ortho Photo สี มาตราสว น 1:2,500 และ 1:4,000 3) แผนท่ีภูมิประเทศ ของกรมแผนทีท่ หาร มาตราสว น 1 : 50,000 4) เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรม ประกอบดวยโปรแกรมที่สำคัญ คือ โปรแกรมควบคุมระบบ Windows XP และโปรแกรมทีใ่ ชใ นการวเิ คราะหและประมวลผลขอ มลูดาวเทียม โปรแกรม TNTmips โปรแกรม ImageAnalysis และโปรแกรม Ecogdition 2. ขน้ั ตอนการดำเนินงาน 1) รวบรวมขอมูลและจัดเตรียมเบื้องตน ไดแก ภาพถายดาวเทียม ภาพOrtho Photo สี และแผนท่ีภมู ิประเทศมาตราสวน 1 : 50,000 2) เลือกขอมูลดาวเทียม และการคัดเลือกชวงคลื่นขอมูลที่นำมาใชวิเคราะห ที่มีลักษณะเดนใน เรื่อง ความชื้น พืชพรรณ และความแตกตางพื้นที่ระหวางดินและน้ำเพื่อทำภาพสีผสมสำหรับ การจำแนกเนื้อที่ เพาะปลูกขา วนาป 3) การแกไขความผิดพลาดเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) เนื่องจากความ ผิดพลาดทาง วิเคราะห เพื่อใหขอมูลดาวเทียมที่ใชในการวิเคราะหมีวิเคราะหและทิศทางที่ถูกตองตามแผนที่ภูมิประเทศและ ภาพออรโธสี มาตรสวน 1: 4,000 ที่ใชอางอิง โดยใชวิธี Image to Map หรือ Image to Image 4) การตอภาพ (Mosaic) เนื่องจากการวิเคราะหเปนรายจังหวัด และจังหวัดหนึ่งๆ ครอบคลุม ขอมูล หลายภาพ จ าเปน ตองตอภาพใหเ ช่ือมโยงเปนพน้ื ที่เดยี วกันกอ นนำมาวิเคราะห 5) การเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตนกอนการแปลวิเคราะห โดยตรวจสอบขอมูลในเนื้อที่จริง เปรียบเทียบกับขอมูลดาวเทียม รายละเอียดของขอมูลที่สำรวจ ควรประกอบดวย ตำแหนงของ จุดสำรวจตอง สามารถอางอิงไดบนแผนที่และปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ลักษณะเนื้อที่ ประเภท ของสิ่งปกคลุมดิน ชนิดพืช ระยะการเจริญเตบิ โต รวมทง้ั สภาพแวดลอ มบรเิ วณใกลเคยี ง ถาเปน ไปได ชว งเวลาในการสำรวจควรใกลเคียงหรือ อยใู นฤดกู าลเดียวกันกับการบนั ทึกขอมูลดาวเทยี ม แตถา ตางเวลากันจะตอ งสอบถามถึงขอมูลในชวงเวลาที่บันทึก ขอ มูลจากเกษตรกรในทอ งถ่นิ นั้น ๆ 6) การแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียมเพื่อจำแนกเน้ือที่เพาะปลูกขาวนาป โดยใชวิธีการแปล และ วิเคราะหดวยสายตาและคอมพิวเตอร ประโยชนทคี่ าดวา จะไดร บั ขอมูลเน้อื ที่เพาะปลูกขาวนาป ตลอดจนแผนท่ี อนั สามารถเพื่อใชเ ปนขอมูลพื้นฐานในการติดตามเนื้อท่ี เพาะปลกู และวางแผนการผลติ ขาวนาป ตอ ไป

รายงานผลการสำรวจเน้อื ทเี่ พาะปลูกขา วนาป ป 2562/63 โดยใชเทคโนโลยภี มู สิ ารสนเทศ ในภาคตะวันออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนำเทคโนโลยีดาน ภูมิสารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสำรวจเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2562/63 พื้นที่ภาคตะวันออก ดวยการนำขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 มาแปลและวิเคราะห เพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูก ขาวนาป ป 2562/63 โดยพิจารณาจากปจจัยการจำแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุในชวง คลื่นแสงที่ตางกัน ประกอบกับคุณสมบัติ ของวัตถุ ไดแก รูปราง ขนาด รูปแบบ ความหยาบละเอียด สี เงา ตำแหนงที่ตั้งและความสมั พันธกับพื้นที่ขา งเคียง พรอมทั้งตรวจสอบความถกู ตองผลการแปลและวิเคราะหเนื้อที่ เพาะปลูกขาวนาป ป 2562/63 เบื้องตน กับภาพถายออรโธสี มาตราสวน 1:4,000 ขอมูลดาวเทียมรายละเอียด สูงจาก Google Earth และตำแหนงพิกัดที่ไดจากเครื่อง GPS ในภาคสนาม จากการแปลและวิเคราะหขอมูล ดาวเทยี ม เพื่อจำแนกเน้อื ที่เพาะปลกู ขา วนาป ป 2562/63 ทั้งนี้ สศท.6 ไดสรุปผลวิเคราะหขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2562/63 ภาคตะวันออก จำนวน 9 จังหวัด ไดแก นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแกว จันทบุรี ตราด ระยอง ชลบุรี และ สมุทรปราการ ผลการวิเคราะหสรปุ วา จงั หวัดสระแกว มพี ้ืนที่การเพาะปลูกขา วนาป ป 2562/63 มากทส่ี ดุ จำนวน 675,211 รองลงมาจังหวัดฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี คิดเปนรอยละ 30.00 27.56 และ 20.18 ตามลำดับ รายละเอียดตารางผลการแปลและวเิ คราะหเนอื้ ท่ีเพาะปลูกขาวนาป ป 2562/63 ภาคตะวนั ออก ดังนี้ ตารางผลการแปลและวิเคราะหเนอื้ ท่ีเพาะปลูกขา วนาป ป 2562/63 ของภาคตะวนั ออก จากขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ภาค/จังหวัด ป พ.ศ.2562 รอ ยละ เนอ้ื ท่ี (ไร) ภาคตะวนั ออก 2,250,594 100.00 นครนายก 370,426 16.46 ปราจนี บรุ ี 454,115 20.18 ฉะเชิงเทรา 620,233 27.56 สระแกว 675,211 30.00 จนั ทบรุ ี 15,394 0.68 ตราด 15,833 0.70 ระยอง 11,926 0.53 ชลบุรี 66,522 2.96 สมทุ รปราการ 20,934 0.93



















รายงานผลการสาํ รวจเนอื้ ท่เี พาะปลกู มันสำปะหลงั โรงงาน ป 2562 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ

รายงานผลการสํารวจเนอ้ื ทเ่ี พาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2562 โดยใชเทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ หลกั การและเหตุผล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ไดเนนการสรางความสมดุล ของ การผลิตกับทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบการเกษตรเปนระบบที่ซับซอนประกอบดวยตัวแปรทั้ง ทางดานกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสังคม ซึ่งการพัฒนาการเกษตรจำเปนตองเขาใจภาพรวมของระบบ การเกษตรนั้น ๆ เพื่อที่จะสะทอนใหเ ห็นศักยภาพและปญหาอันจะนำไปสูก ารแกไ ข ประกอบกับการเปล่ียนแปลง ทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดดของการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ของเทคโนโลยหี ลัก เชน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ตระหนักถึงความสำคัญทางดา นความกา วหนาทางเทคโนโลยี ท่ใี ชใ นการ สำรวจและ จัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตที่ถูกตองและรวดเร็ว จึงไดนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo – Information) หรือ GI ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยีรีโมทเซนซิงระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และระบบกำหนดวิเคราะหบนพ้ืนโลก (GPS) มาใชในการวิเคราะหและจดั เก็บ เพื่อประเมินเนื้อทีเ่ พาะปลกู กอน ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ซึ่งเปนทางเลือกในการวางแผนหรือกำหนดแนวทางการจัดการดานการผลิตไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ ในปงบประมาณ 2562 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดำเนินงานที่นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาประยุกตใชในการวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2562 ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตอง ผลการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม โดยการสุมเลือกพื้นที่ตัวอยาง ดวยวิธีการสุมตัวอยาง แบบใชสัดสวนของความนาจะเปนตามขนาดเนื้อที่ (Probability Proportional to Size : PPS) วัตถปุ ระสงค เพ่อื วิเคราะหแ ละจำแนกเนอ้ื ท่ีเพาะปลกู มันสำปะหลงั โรงงาน ในป 2562 สำหรับจัดทำขอมลู เชงิ พน้ื ที่และ แผนที่แสดงเนอื้ ทเ่ี พาะปลกู มันสำปะหลังโรงงานเปนรายจังหวดั อำเภอ ตำบล ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปน การแปลและวิเคราะหขอ มูลดาวเทียม LANDSAT 8 ซึ่งบันทึกขอ มูลชวงเดือนตุลาคม 2561 – กนั ยายน 2562 ครอบคลุมเน้ือที่เพาะปลกู มนั สาํ ปะหลงั โรงงานในประเทศไทย

เครือ่ งมอื อุปกรณ และวิธกี ารดำเนนิ งาน 1. เครอื่ งมอื และอุปกรณ 1) ขอมูลดาวเทียมจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียม LANDSAT 8 และขอมูลจาก ภาพถายรายละเอยี ดสูงครอบคลุมประเทศไทย 2) ภาพ Ortho Photo สี มาตราสวน 1:2,500 และ 1:4,000 3) แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ ของกรมแผนท่ที หาร มาตราสว น 1 : 50,000 4) เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรม ประกอบดวยโปรแกรมที่สำคัญ คือ โปรแกรมควบคุมระบบ Windows XP และโปรแกรมทใ่ี ชในการวิเคราะหแ ละประมวลผลขอ มลูดาวเทยี ม โปรแกรม TNTmips โปรแกรม ImageAnalysis และโปรแกรม Ecogdition 2. ขั้นตอนการดำเนนิ งาน 1) รวบรวมขอมูลและจัดเตรียมเบื้องตน ไดแก ภาพถายดาวเทียม ภาพ Ortho Photo สี และ แผนที่ ภูมปิ ระเทศมาตราสว น 1 : 50,000 2) เลือกขอมูลดาวเทียม และการคัดเลือกชวงคลื่นขอมูลที่นำมาใชวิเคราะห ที่มีลักษณะเดนใน เรื่อง ความชื้น พืชพรรณ และความแตกตางพื้นที่ระหวางดินและน้ำเพื่อทำภาพสีผสมสำหรับ การจำแนกเนื้อท่ี เพาะปลูกมนั สำปะหลงั โรงงาน 3) การแกไขความผิดพลาดเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) เนื่องจากความ ผิดพลาดทาง วิเคราะห เพื่อใหขอมูลดาวเทียมที่ใชในการวิเคราะหมีวิเคราะหและทิศทางที่ถูกตองตามแผนที่ภูมิประเทศและ ภาพออรโธสี มาตรสวน 1: 4,000 ที่ใชอางอิง โดยใชวิธี Image to Map หรือ Image to Image 4) การตอภาพ (Mosaic) เนื่องจากการวิเคราะหเปนรายจังหวัด และจังหวัดหนึ่งๆ ครอบคลุม ขอมูล หลายภาพ จ าเปนตอ งตอภาพใหเ ชอ่ื มโยงเปน พ้ืนที่เดียวกันกอ นนำมาวิเคราะห 5) การเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตนกอนการแปลวิเคราะห โดยตรวจสอบขอมูลในเนื้อที่จริง เปรียบเทียบกับขอมูลดาวเทียม รายละเอียดของขอมูลที่สำรวจ ควรประกอบดวย ตำแหนงของ จุดสำรวจตอง สามารถอางอิงไดบนแผนที่และปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ลักษณะเนื้อที่ ประเภท ของสิ่งปกคลุมดิน ชนิดพืช ระยะการเจริญเตบิ โต รวมทงั้ สภาพแวดลอ มบรเิ วณใกลเ คียง ถาเปนไปได ชวงเวลาในการสำรวจควรใกลเคียงหรือ อยูใ นฤดกู าลเดยี วกันกับการบนั ทึกขอ มลู ดาวเทยี ม แตถ า ตา งเวลากนั จะตองสอบถามถึงขอมูลในชว งเวลาที่บันทึก ขอมูลจากเกษตรกรในทองถน่ิ น้นั ๆ 6) การแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียมเพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน โดยใช วิธีการแปล และวเิ คราะหดว ยสายตาและคอมพวิ เตอร ประโยชนท คี่ าดวา จะไดร บั ขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ตลอดจนแผนที่อันสามารถเพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการ ติดตามเนือ้ ท่ีเพาะปลูกและวางแผนการผลิตมันสำปะหลงั โรงงานตอ ไป

รายงานผลการสํารวจเนอ้ื ทเ่ี พาะปลูกมนั สำปะหลังโรงงาน ป 2562 โดยใชเ ทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศในภาคตะวนั ออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนําเทคโนโลยีดาน ภูมิสารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสํารวจเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2562 ดวยการนําขอมูลจากภาพถายรายละเอียดสูงมาแปลและวิเคราะห เพื่อจําแนกเนื้อที่เพาะปลูกมัน สำปะหลังโรงงาน ป 2562 โดยพิจารณาจากปจจัยการจําแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุ ในชวงคลืน่ แสงที่ตางกนั ประกอบกับคุณสมบัติของวตั ถุ ไดแก รูปราง ขนาด รูปแบบ ความหยาบ ละเอียด สี เงา ตําแหนงที่ตั้งและความสัมพันธกับพื้นที่ขางเคียง พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหเนื้อท่ี เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2562 เบื้องตนกับภาพถายออรโธสี มาตราสวน 1:4,000 ขอมูลดาวเทียม รายละเอียดสูงจาก Google Earth และตําแหนง พกิ ัดทไี่ ดจากเคร่ือง GPS ในภาคสนาม ทั้งนี้ สศท.6 ไดสรุปผลวิเคราะหขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2562 ภาคตะวันออก จำนวน 6 จังหวดั ไดแก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแกว จนั ทบรุ ี ระยอง และชลบุรี ผลการวิเคราะหสรปุ วา จงั หวดั สระแกว มีพื้นที่การเพาะปลูกมันสำปะหลังโรงงาน ป 2562 มากที่สุด จำนวน 315,177 ไร รองลงมาจังหวัด ฉะเชิงเทราและชลบุรี คิดเปนรอยละ 38.95 14.18 และ 13.61 ตามลำดับ รายละเอียดตารางผลการแปลและ วเิ คราะหเนือ้ ทเี่ พาะปลกู มันสำปะหลงั โรงงาน ป 2562 ภาคตะวนั ออก ดงั นี้ ตารางผลการแปลและวเิ คราะหเนอื้ ที่เพาะปลูกมันสำปะหลงั โรงงาน ป 2562 ของภาคตะวนั ออก จากขอ มูลภาพถา ยละเอียดสูง ภาค/จงั หวดั เน้ือที่ (ไร) ป พ.ศ. 2562 รอยละ 100.00 ภาคตะวนั ออก 809,143 13.61 ปราจีนบรุ ี 110,124 ฉะเชิงเทรา 194,799 24.07 สระแกว 315,177 38.95 จนั ทบรุ ี 33,886 4.19 ระยอง 40,430 5.00 ชลบุรี 114,727 14.18

ตารางแสดงเน้อื ท่ีเพาะปลกู มนั สำปะหลงั โรงงาน ป 2562 จงั หวดั ปราจนี บุรี ลำดับ อำเภอ เนื้อที(่ ไร) 1) เมืองปราจีนบุรี 820 1% 2) ศรมี โหสถ 3,123 3% 3) ประจันตคาม 3,340 3% 4) นาดี 16,727 15% 5) ศรมี หาโพธิ 32,806 30% 6) กบินทรบุรี 53,308 48% 7) บา นสราง 00 รวมทง้ั หมด 110,124

ตารางแสดงเนอื้ ที่เพาะปลูกมนั สำปะหลงั โรงงาน ป 2562 จังหวัดฉะเชิงเทรา ลำดบั อำเภอ เนอื้ ท่(ี ไร) 1) แปลงยาว 14,064 7% 2) พนมสารคาม 36,460 19% 3) ทาตะเกียบ 60,564 31% 4) สนามชยั เขต 83,711 43% 5) บางปะกง 00 6) บางคลา 00 7) บานโพธิ์ 00 8) คลองเข่ือน 00 9) ราชสาสน 00 10) เมอื งฉะเชิงเทรา 0 0 11) บางน้ำเปรยี้ ว 00 รวมทง้ั หมด 194,799

ตารางแสดงเนื้อที่เพาะปลกู มนั สำปะหลังโรงงาน ป 2562 จงั หวัดสระแกว ลำดบั อำเภอ เน้ือท(ี่ ไร) 1) โคกสูง 17,678 6% 2) เขาฉกรรจ 23,911 8% 3) อรญั ประเทศ 24,068 8% 4) วงั นำ้ เยน็ 28,483 9% 5) คลองหาด 32,821 10% 6) เมอื งสระแกว 37,450 12% 7) วังสมบรู ณ 43,849 14% 8) ตาพระยา 46,342 15% 9) วัฒนานคร 60,575 19% รวมท้ังหมด 315,177

ตารางแสดงเนอ้ื ท่เี พาะปลูกมันสำปะหลงั โรงงาน ป 2562 จงั หวดั จันทบุรี ลำดับ อำเภอ เนื้อท่ี(ไร) 1) นายายอาม 49 0.1% 2) เขาคชิ ฌกูฏ 647 2% 3) แกง หางแมว 2,252 7% 4) โปงน้ำรอ น 11,040 33% 5) สอยดาว 19,898 59% 6) เมอื งจันทบรุ ี 00 7) มะขาม 00 8) ทา ใหม 00 9) ขลงุ 00 10) แหลมสิงห 00 รวมท้ังหมด 33,886

ตารางแสดงเนอื้ ทเี่ พาะปลูกมันสำปะหลงั โรงงาน ป 2562 จังหวดั ระยอง ลำดับ อำเภอ เน้ือที(่ ไร) 1) เขาชะเมา 910 2% 2) วงั จนั ทร 1,130 3% 3) แกลง 1,939 5% 4) บานคา ย 1,987 5% 5) เมอื งระยอง 7,308 18% 6) นคิ มพฒั นา 7,979 20% 7) บา นฉาง 8,489 21% 8) ปลวกแดง 10,688 26% รวมท้งั หมด 40,430

ตารางเนอ้ื ที่เพาะปลูกมันสำปะหลงั โรงงาน ป 2562 จังหวัดชลบรุ ี ลำดับ อำเภอ เนื้อท(่ี ไร) 1) พานทอง 52 0.05% 2) เมอื งชลบุรี 277 0.2% 3) สตั หบี 2,597 2% 4) เกาะจนั ทร 4,435 4% 5) หนองใหญ 9,839 9% 6) พนสั นคิ ม 12,199 11% 7) บอทอง 14,377 13% 8) บานบึง 21,810 19% 9) ศรรี าชา 23,052 20% 10) บางละมุง 26,089 23% รวมทงั้ หมด 114,727

รายงานผลการสาํ รวจเน้ือท่เี พาะปลกู สบั ปะรดโรงงาน ป 2562 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ

รายงานผลการสาํ รวจเน้ือท่ีเพาะปลกู สับปะรดโรงงาน ป 2562 โดยใชเทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ หลักการและเหตุผล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) ไดเนนการสรางความสมดลุ ของ การผลิตกับทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะระบบการเกษตรเปนระบบที่ซับซอนประกอบดวยตัวแปรทั้ง ทางดานกายภาพ ชีวภาพ และเศรษฐกิจสังคม ซึ่งการพัฒนาการเกษตรจำเปนตองเขาใจภาพรวมของระบบ การเกษตรนั้น ๆ เพื่อที่จะสะทอนใหเ ห็นศักยภาพและปญหาอันจะนำไปสูการแกไข ประกอบกับการเปล่ียนแปลง ทางเทคโนโลยีอยางกาวกระโดดของการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ของเทคโนโลยหี ลกั เชน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตระหนักถงึ ความสำคัญทางดานความกาวหนา ทางเทคโนโลยี ที่ใชในการ สำรวจและ จัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตที่ถูกตองและรวดเร็ว จึงไดนำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo – Information) หรือ GI ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยีรีโมทเซนซิงระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) และระบบกำหนดวเิ คราะหบนพื้นโลก (GPS) มาใชในการวิเคราะหแ ละจัดเก็บ เพื่อประเมนิ เนื้อที่เพาะปลกู กอน ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ซึ่งเปนทางเลือกในการวางแผนหรือกำหนดแนวทางการจัดการดานการผลิตไดอยางมี ประสทิ ธิภาพ ในปงบประมาณ 2561 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดำเนินงานที่นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ มาประยุกตใชในการวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกสับปะรดโรงงาน ป 2562 ครอบคลุมเนื้อที่ทั้งประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตอง ผลการแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียม โดยการสุมเลือกพื้นที่ตัวอยาง ดวยวิธีการสุมตัวอยาง แบบใชสัดสวนของความนาจะเปนตามขนาดเนื้อท่ี (Probability Proportional to Size : PPS) วตั ถุประสงค เพื่อวิเคราะหและจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกสับปะรดโรงงาน ในป 2562 สำหรับจัดทำขอมูลเชิงพื้นที่และ แผนท่ีแสดงเน้อื ทเี่ พาะปลูกสบั ปะรดโรงงานเปนรายจงั หวดั อำเภอ ตำบล ขอบเขตการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการแปลและวิเคราะหข อมลู ดาวเทยี ม LANDSAT 8 ซึ่งบันทึกขอมูลชวงเดือนตุลาคม 2560 – กันยายน 2561 ครอบคลมุ เนื้อท่ีเพาะปลูกสับปะรดโรงงานในประเทศไทย

เครอ่ื งมือ อุปกรณ และวธิ ีการดำเนนิ งาน 1. เคร่อื งมอื และอุปกรณ 1) ขอมูลดาวเทียมจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ดาวเทียม LANDSAT 8 และขอมูลจาก ภาพถา ยรายละเอียดสงู ครอบคลมุ ประเทศไทย 2) ภาพ Ortho Photo สี มาตราสวน 1:2,500 และ 1:4,000 3) แผนทภี่ มู ปิ ระเทศ ของกรมแผนท่ที หาร มาตราสว น 1 : 50,000 4) เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรม ประกอบดวยโปรแกรมที่สำคัญ คือ โปรแกรมควบคุมระบบ Windows XP และโปรแกรมทใ่ี ชใ นการวิเคราะหและประมวลผลขอ มลูดาวเทียม โปรแกรม TNTmips โปรแกรม ImageAnalysis และโปรแกรม Ecogdition 2. ขน้ั ตอนการดำเนินงาน 1) รวบรวมขอมูลและจัดเตรียมเบื้องตน ไดแก ภาพถายดาวเทียม ภาพ Ortho Photo สี และ แผนท่ี ภมู ปิ ระเทศมาตราสว น 1 : 50,000 2) เลือกขอมูลดาวเทียม และการคัดเลือกชวงคลื่นขอมูลที่นำมาใชวิเคราะห ที่มีลักษณะเดนใน เรื่อง ความชื้น พืชพรรณ และความแตกตางพื้นที่ระหวางดินและน้ำเพื่อทำภาพสีผสมสำหรับ การจำแนกเนื้อที่ เพาะปลกู สับปะรดโรงงาน 3) การแกไขความผิดพลาดเชิงเรขาคณิต (Geometric Correction) เนื่องจากความ ผิดพลาดทาง วิเคราะห เพื่อใหขอมูลดาวเทียมที่ใชในการวิเคราะหมีวิเคราะหและทิศทางที่ถูกตองตามแผนที่ภูมิประเทศและ ภาพออรโธสี มาตรสวน 1: 4,000 ที่ใชอางอิง โดยใชวิธี Image to Map หรือ Image to Image 4) การตอภาพ (Mosaic) เนื่องจากการวิเคราะหเปนรายจังหวัด และจังหวัดหนึ่งๆ ครอบคลุม ขอมูล หลายภาพ จ าเปนตอ งตอ ภาพใหเชื่อมโยงเปนพ้ืนท่ีเดียวกนั กอ นนำมาวิเคราะห 5) การเก็บขอมูลภาคสนามเบื้องตนกอนการแปลวิเคราะห โดยตรวจสอบขอมูลในเนื้อที่จริง เปรียบเทียบกับขอมูลดาวเทียม รายละเอียดของขอมูลที่สำรวจ ควรประกอบดวย ตำแหนงของ จุดสำรวจตอง สามารถอางอิงไดบนแผนที่และปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ลักษณะเนื้อที่ ประเภท ของสิ่งปกคลุมดิน ชนิดพืช ระยะการเจรญิ เตบิ โต รวมทงั้ สภาพแวดลอมบริเวณใกลเคยี ง ถา เปนไปได ชว งเวลาในการสำรวจควรใกลเคียงหรือ อยใู นฤดูกาลเดยี วกนั กับการบันทึกขอมูลดาวเทยี ม แตถา ตา งเวลากนั จะตองสอบถามถึงขอมลู ในชว งเวลาท่ีบันทึก ขอ มูลจากเกษตรกรในทองถ่ินนนั้ ๆ 6) การแปลและวิเคราะหขอมูลดาวเทียมเพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูกสับปะรดโรงงาน โดยใชวิธีการ แปล และวิเคราะหด ว ยสายตาและคอมพวิ เตอร ประโยชนทค่ี าดวาจะไดรบั ขอมูลเนือ้ ทเี่ พาะปลูกสบั ปะรดโรงงาน ตลอดจนแผนที่อันสามารถเพื่อใชเปน ขอมูลพ้ืนฐานในการติดตาม เน้ือท่ีเพาะปลูกและวางแผนการผลิตสบั ปะรดโรงงานตอไป

รายงานผลการสํารวจเนื้อทเ่ี พาะปลกู สับปะรดโรงงาน ป 2562 โดยใชเทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศในภาคตะวนั ออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนําเทคโนโลยีดาน ภูมิสารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสํารวจเนื้อที่เพาะปลูกสับปะรดโรงงาน ป 2562 ดวยการนําขอมูลจากภาพถายรายละเอียดสูงมาแปลและวิเคราะห เพื่อจําแนกเนื้อท่ีเพาะปลูกสับปะรด โรงงาน ป 2562 โดยพิจารณาจากปจจัยการจําแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุในชวงคลื่น แสงที่ตางกัน ประกอบกับคุณสมบัติของวัตถุ ไดแก รูปราง ขนาด รูปแบบ ความหยาบ ละเอียด สี เงา ตําแหนง ทต่ี ง้ั และความสัมพันธกบั พืน้ ท่ีขางเคียง พรอมทัง้ ตรวจสอบความถกู ตองผลการแปลและวิเคราะหเนื้อท่ีเพาะปลูก สับปะรดโรงงาน ป 2562 เบื้องตนกับภาพถายออรโธสี มาตราสวน 1:4,000 ขอมูลดาวเทียมรายละเอียดสูงจาก Google Earth และตาํ แหนงพิกัดทีไ่ ดจากเคร่ือง GPS ในภาคสนาม ทงั้ นี้ สศท.6 ไดสรุปผลวเิ คราะหข อ มลู เนื้อท่ีเพาะปลูกสับปะรดโรงงาน ป 2562 ภาคตะวนั ออก จำนวน 5 จังหวัด ไดแก ฉะเชิงเทรา จันทบุรี ตราด ระยอง และชลบุรี ผลการวิเคราะหสรุปวาจังหวัดระยอง มีพื้นที่การ เพาะปลูกสับปะรดโรงงาน ป 2562 มากที่สุด จำนวน 84,502 ไร รองลงมาจังหวัด ชลบุรี และตราด คิดเปนรอย ละ 45.59 29.44 และ 13.48 ตามลำดับ รายละเอียดตารางผลการแปลและวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูก สบั ปะรดโรงงาน ป 2562 ภาคตะวนั ออก ดงั น้ี ตารางผลการแปลและวิเคราะหเนือ้ ท่ีเพาะปลูกสับปะรดโรงงาน ป 2562 ของภาคตะวนั ออก จากขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 ภาค/จงั หวดั เนือ้ ท่ี (ไร) ป พ.ศ.2562 รอยละ 100.00 ภาคตะวันออก 185,334 6.67 ฉะเชิงเทรา 12,365 จันทบุรี 8,918 4.81 ตราด 24,991 13.48 ระยอง 84,502 45.59 ชลบุรี 54,558 29.44

ลำดับ อำเภอ เนอื้ ท่ี(ไร) 1) พนมสารคาม 269 2% 2) แปลงยาว 1,917 16% 3) ทา ตะเกยี บ 4,616 37% 4) สนามชยั เขต 5,563 45% 5) ราชสาส์น 00 6) บางนาํ ้ เปรีย้ ว 00 7) บางปะกง 00 8) บางคลา 00 9) บา นโพธิ์ 00 10) คลองเขอ่ื น 00 11) เมือง 00 รวมท้งั หมด 12,365

ลำดบั อำเภอ เนื้อท(่ี ไร) 1) สอยดาว 130 1% 2) ขลงุ 260 3% 3) มะขาม 378 4% 4) เมืองจันทบุรี 387 4% 5) เขาคิชฌกฏู 488 5% 6) นายายอาม 557 6% 7) ทาใหม 2,479 28% 8) แกง หางแมว 4,239 48% 9) โปง นำ้ รอน 00 10) แหลมสงิ ห 00 รวมทงั้ หมด 8,918

ลำดบั อำเภอ เน้ือท(ี่ ไร) 1) บอไร 3,050 12% 2) แหลมงอบ 4,461 18% 3) เขาสมิง 7,307 29% 4) เมอื งตราด 10,173 41% 5) เกาะชา ง 00 6) เกาะกดู 00 7) คลองใหญ 00 รวมท้งั หมด 24,991

ลำดบั อำเภอ เนอ้ื ท(่ี ไร) 1) บา นฉาง 572 1% 2) เมืองระยอง 5,078 6% 3) วังจนั ทร 5,975 7% 4) เขาชะเมา 6,927 8% 5) แกลง 7,684 9% 6) บานคา ย 14,159 17% 7) ปลวกแดง 19,676 23% 8) นิคมพฒั นา 24,431 29% รวมท้ังหมด 84,502

ลำดบั อำเภอ เนือ้ ท(ี่ ไร) 1) พนัสนิคม 516 1% 2) สตั หีบ 605 1% 3) เกาะจนั ทร 3,712 7% 4) บอทอง 8,539 16% 5) หนองใหญ 8,834 16% 6) ศรีราชา 9,604 18% 7) บา นบึง 11,012 20% 8) บางละมงุ 11,736 22% 9) พานทอง 00 10) เมือง 00 11) เกาะสชี งั 00 รวมทงั้ หมด 54,558

รายงานการสำรวจดว ยเทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศ ป 2563

รายงานผลการสำรวจเน้ือท่ีเพาะปลกู ขาวนาปรงั ป 2563 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ

รายงานผลการสำรวจเน้ือทีเ่ พาะปลกู ขา วนาปรัง ป 2563 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ หลกั การและเหตผุ ล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่12 (พ.ศ.2560 - 2564) ไดนิยม “ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” มาเปนปรัชญาที่สําคัญในการพัฒนาประเทศ และไดจัดทําบนพื้นฐานของกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ.2560 - 2579) ที่เปนแผนหลักในการพัฒนาประเทศโดยมีเปาหมายเพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGS) ตลอดจนการปรบั ปรุงโครงสรางประเทศไทยเขา สูประเทศไทย 4.0 รวมถึงการเนนการมีสวนรวมของภาคีการพัฒนาในทุก ภาคสวน โดยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ที่ 12 กําหนดประเดน็ ยุทธศาสตรไ ด 10 ยทุ ธศาสตร ซ่ึงการ ดาํ เนินงานในสวนนีจ้ ะเปน ยุทธศาสตรท่ี 5 “การ เสรมิ สรางความม่นั คงแหง ชาติเพื่อการพฒั นาประเทศสคู วามมั่นคงและ ย่งั ยนื ” รวมถึงเปน การพัฒนานวัตกรรมใน การขบั เคล่อื นนโยบายซงึ่ ในทนี่ ี้จะเปนนโยบายดานการเกษตรของประเทศ สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตระหนกั ถงึ ความสาํ คญั ทางดานความกา วหนาทางเทคโนโลยี ทใี่ ชใ นการ สํารวจ และจัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตทางการเกษตรที่มีความถูกตองและรวดเร็ว จึงไดมีการ ประยกุ ตใช เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo-informatics) หรอื GI ซง่ึ ประกอบดว ยเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกล หรือเทคโนโลยีรีโมท เซนซิง (Remote Sensing : RS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS) และระบบ กําหนดตําแหนงบนพื้นโลก (Global Positioning System : GPS) มาใชในการ วิเคราะหและจัดเก็บขอมูลดานการเกษตร เพื่อประเมินเนื้อที่เพาะปลูกกอนฤดูกาลเกบ็ เกี่ยว สําหรับใชเปน ขอมลู ทางเลือกในการวางแผน หรือกําหนดแนวทางการ จัดการดานการผลิตใหแกเกษตรกรและภาครัฐที่เกี่ยวของได อยางมีประสทิ ธภิ าพ ในปงบประมาณ 2563 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดําเนินงานที่นํา เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลมาประยุกตใชในการ วิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูก ขาวนาปรัง ป2563 ที่มีชวงเพาะปลูกเริ่มตั้งแต 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 เมษายน 2563 ในทุกพื้นที่ ยกเวนพื้นที่ภาคใต โดยแปลและจัดทําขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรังครอบคลุมเนื้อที่ทั้ง ประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองในภาคสนาม ซึ่งปจจุบันกําหนดใหสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 1-12 ดําเนินงานแปลและวิเคราะหขอมลู เน้ือท่ีเพาะปลูก แลว สงใหสว นภมู สิ ารสนเทศการเกษตรดําเนนิ ตรวจสอบความ ถูกตองของผลการแปลสําหรับใชในการสุมเลือกพื้นที่ตัวอยาง ตอไป ทั้งนี้วิธีการสุมเลือกพ้ืนที่ตัวอยางกําหนดใช วธิ ีการสมุ ตวั อยา งแบบใชส ดั สวนของความนาจะเปน ตามขนาดเน้ือที่ (Probability Proportional to Size : PPS) เพอ่ื ใหไ ดข อ มลู ผลการแปลวิเคราะหท่มี ีความถูกตอง

วัตถุประสงค 1. เพื่อแปลวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2563 ในระดับประเทศ จังหวัด อําเภอ ที่สามารถ อางอิง ตําแหนงในเชิงพืน้ ท่ี (Spatial Reference Data) 2. เพ่อื พัฒนาแนวทางการประยกุ ตใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศกบั งานดานการเกษตรของประเทศ 3. เพื่อเปนขอมูลประกอบสําหรับการวิเคราะหรวมกับขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรังที่ไดจากวิธีการ สาํ รวจ ดา นสถติ อิ นื่ ๆในหนวยงาน ขอบเขตการศกึ ษา ดําเนินงานครอบคลุมพนื้ ท่ีทั่วประเทศไทย ซึ่งภายหลงั จากการแปลและวิเคราะหจะทําการซอ นทับ กบั ขอ มลู ขอบเขตการปกครองในระดับจงั หวดั อําเภอ และตาํ บลเพ่ือจดั ทาํ ขอ มูลเปนระดบั จงั หวัด และอาํ เภอ ขอบเขตชว งระยะเวลาดําเนินงาน ในการดําเนินงานแปลและวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรังป 2563 กําหนดแปลและวิเคราะหเนื้อที่ ใหส อดคลองกับคาํ นยิ ามดานการเกษตรของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ดงั นี้ ขาวนาปรังหมายถึง ขาวที่เพาะปลูกระหวางวันที่ 1 พฤศจิกายน ถึง 30 เมษายนของปถัดไป ยกเวน จังหวัด นครศรธี รรมราช สงขลา พทั ลงุ ปตตานี ยะลาและนราธวิ าส หมายถึงขาวที่เพาะปลกู ในระหวางวันท่ี 1 มนี าคม ถึง 15 มิถุนายน ของปเดยี วกนั ดังนั้น ในการดาํ เนินงานดังกลา วจะทําการดาวนโหลดขอมลู จาก USGS ท่บี ันทึกขอ มลู ภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 ระหวางเดอื นธันวาคม 2562 ถงึ เมษายน 2563 เนอื่ งจากขอมูลท่ีปรากฏบนภาพถา ยดาวเทียมในแต ละชวงเวลาจะสะทอนถึง สิ่งปกคลุมดิน โดยเฉพาะแปลงเพาะปลูกนาที่แตกตางกัน ตั้งแตในชวงของการเตรียม แปลงสําหรับเพาะปลูก (การผันนําเขา แปลงนาสําหรับนานําตม และการทํานาแหง ทั้งในรูปของการหวานและ หยอ นเมล็ดพนั ธขุ าว เปนตน) ชว งขา วเจริญเติบโต ชวงขาวเจรญิ เตบิ โตเตม็ ที่ใกลช วงเก็บเกย่ี ว จนกระท่ังเก็บเกี่ยว ผลผลิตขาว ซึ่งทั้งหมดนีส้ งผลตอคา Digital Number (DN) หรือคาสะทอ นแสง(Reflectance) ของแตละจุดภาพ (Pixel) ขอมูล เครอื่ งมือ และอปุ กรณทใ่ี ชใ นการดาํ เนนิ งาน 1. ขอมูลที่ใชใ นการดําเนนิ งาน ในสวนของขอมูลหลักที่ใชในการแปลและวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรังป 2563 คือ ขอมูล ภาพถาย ดาวเทียม LANDSAT 8 OLI/TIRS ที่ใหบริการผานหนวยงาน USGS โดยมีรอบวงโคจรซํา 16 วัน และมี รายละเอยี ดจดุ ภาพ 30 เมตร ซึ่งเหมาะสมกับงานแปลขอมูลการเกษตรของหนวยงาน สามารถแสดงคุณสมบตั ขิ อง แตล ะชว งคลน่ื ดงั ตาราง

ตาราง คณุ ลกั ษณะความยาวชว งคลนื่ ของภาพดาวเทยี ม LANDSAT 8 OLI/TIRS ขนาด จุดภาพ โหมดของภาพถา ยดาวเทยี ม แบนด ชวงความยาวคลื่น (m) (µm) 30 Operational Land Imager (OLI) Band 1- Visible 0.43-0.45 30 Thermal Infrared Sensor (TIRS) Band 2- Visible 0.45-0.51 30 Band 3- Visible 0.53-0.59 30 Band 4- Red 0.64-0.67 30 Band 5- Near-infrared 0.85-0.88 30 Band 6- SWIR1 1.57-1.65 30 Band 7- SWIR2 2.11-2.29 15 Band 8- Panchromatic (PAN) 0.50-0.68 30 Band 9- Cirrus 1.36-1.38 100 Band 10- TIRS1 10.6-11.19 100 Band 11-TIRS2 11.5-12.51 ทั้งนี้ในสวนของการทำงานของ OLI และ TIRS มีความแตกตางในการสรางโดย OLI สรางโดย Ball Aerospace and Technologies Corporation ในขณะที่ TIRS ดำเนินงานสรางโดย NASA Goddard Space Flight Center และ OLI เปน การบันทกึ ขอมูลที่มีการปรบั ปรุงดา นความคลาดเคล่ือนเชิงเรขาคณติ (Radiometric Precision) ในอุปกรณชวง 12-bit ซึ่งครอบคลุมถึงการปรับแกสัญญาณทั้งหมด (Overall Signal) กับสัญญาณ รบกวน (Noise) แลวทำการแปลงคาสัญญาณใหเ ปน คาระดบั สีเทา โดยทำการเปรียบเทยี บกับคาระดับสีเทา 256 ระดับของภาพถา ยดาวเทียมโดยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 1-7 ทเ่ี ปน อุปกรณบ นั ทึก 8-bit ซึง่ การปรบั แก คาสญั ญาณนีท้ ำใหล กั ษณะ ของส่งิ ปกคลมุ ดินชัดเจนขนึ้ สำหรับขอ มลู 12-bit จะถูกปรบั ใหเปน 16-bit integers และเตรียมผลิตภัณฑใหเปนขอมูล Level-1 ซึ่งยังสามารถนำไปปรับแกผลิตภัณฑใหมีคาการสะทอนเปน Top of Atmosphere (TOA) และ/หรือคา Radiance สำหรับใชใ นการปรับแกเชิง Radiometric ตอ ไป โดยในผลิตภัณฑ ดังกลาวจะมี Metadata File (MTL file) โดยความแตกตางทางคุณลักษณะระหวางขอมูล OLI/TIRS คือ ขนาด ของจุดภาพที่แตกตางกัน อันทำใหการวิเคราะห มีความแตกตางกัน และยังสามารถทำการหลอมขอมูล (Pan- sharpening) โดยใชโ ปรแกรมทางภมู ิศาสตรกอนการวเิ คราะหผ ล ระดับของกระบวนการจัดเตรียมวเิ คราะหขอมูลกอ นใหบ ริการ โดยเลอื กขอมูล L1TP (Terrain Precision Correction) ที่มีการปรับแกในเรื่องการปรับแกเชิงรังสี (Radiometrically) และการปรับแกออรโธสี (Orthorectified) โดยใชจุดควบคุมภาคพื้นดิน (Ground Control Points; GCPs) และขอมูลระดับสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model; DEM) ที่มีการปรับแกความคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากความสูง-ต่ำของภูมิประเทศ (Relief Displacement) โดยภาพถายดาวเทียมในระดับนี้เหมาะสมกับการวิเคราะหในลักษณะการเปลี่ยนแปลง ตามชวงการเวลา (Time-series) ของจุดภาพ อน่ึงขอ มลู GCPs ท่ีใชป รบั แกภาพถายดาวเทียม L1TP ไดมาจากชุด ขอมลู Global Land Survey 2000 (GLS2000)

สำหรับการแปลและวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง กำหนดใชการผสมสี (Band- combinations) เปนแบบสีผสมเท็จ (False Colour) เพื่อใหลักษณะของพืชพรรณเปนสีแดงซึ่งงายตอตาของ มนุษยในการจำแนกวตั ถุทแ่ี ตกตางกันบนผวิ โลกโดยทำการผสมสี R-G-B เปน 5-6-3 นอกจากน้ียงั มีการใชแผนที่ภูมิ ประเทศ 2. เครือ่ งมอื และอุปกรณท ใ่ี ชใ นการดำเนนิ งาน 1) เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ นการดำเนินงาน - คอมพิวเตอร - เครือ่ งพมิ พ - เครื่องรงั วัดพิกดั ดว ยสัญญาณดาวเทยี ม GPS - กลอ งถายรปู 2) ซอฟตแ วรประมวลผล - ซอฟตแ วรด านระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร ไดแก ArcGIS basic version 10.5 - ซอฟตแ วร Ecognition-Developer