Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sumปกและเนื้อหาภูมิสารสนเทศ

sumปกและเนื้อหาภูมิสารสนเทศ

Description: sumปกและเนื้อหาภูมิสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

สศท. 1 - 12 วางแผนการดำเนนิ งานแปลวิเคราะหเน้อื ท่ีเพาะปลูกขา ว ดาวนโหลดภาพถา ยดาวเทยี ม Landsat 8 OLI / TIRS ครอบคลมุ พื้นท่ี รับผดิ ชอบ เปน รายเดือน(เร่ิม ธ.ค.62 – เม.ย.63) ปรับแกและปรบั เนน ความคมชดั (Enhancement) ของภาพถาย ดาวเทียม Landsat 8 OLI / TIRS แปลและวเิ คราะหเนือ้ ที่เพาะปลกู ขา วนาปรงั (สะสม) สงขอ มูล Shape file สภท. Shape file เนื้อท่เี พาะปลูกขาวนาปรงั (สะสม) เน้อื ท่ีเพาะปลูกขา วนา ตรวจสอบเนอื้ ที่ ปรัง เพื่อ เพาะปลกู ขา วนาปรงั เทยี บกบั 2แหลง ขอ มูล ภาพถา ยดาวเทียม ภาพถายดาวเทียม Landsat 8 OLI / TIRS รายละเอียดสูง บน Plug – in ของโปรแกรมดา น GIS ปรบั แกขอบเขตแปลงนาใหตรงตามสีที่ ปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ดำเนนิ การตรวจสอบ Check Topology เนอื้ ท่ีเพาะปลกู ขา ว ภาคสนาม นาปรงั ทผ่ี านการปรบั แก สรุปผลการ -เก็บพกิ ดั แปลงนา(X,Y) สงตวั อยา งกรดิ สุม ตวั อยา งกริด ขนาด 25 ไร ตรวจสอบความ - ถายรูปแปลงเพาะปลูก จำแนกตามพน้ื ที่ (เน้อื ทีก่ รดิ ตอ งไมนอยกวา ถูกตองภาคสนาม - คำนวณเนื้อที่ ที่แปล ถกู ตอง และแปลตกหลน แหลงปลกู - จดั ทำตารางผลความถกู ตอง ใหสศท.1 - 12 สงขอมูลใหสวนกลางเพื่อ ดำเนนิ การและคำนวณความ หมายเหตุ ถูกตองทั้งหมด Overall ดำเนนิ งานโดย สภท. Accuracy (OA)] ดำเนินงานโดย สศท.1-12

รายงานผลการสำรวจเนอื้ ที่เพาะปลกู ขา วนาปรัง ป 2563 โดยใชเทคโนโลยีภมู ิสารสนเทศ ในภาคตะวนั ออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนำเทคโนโลยีดาน ภูมิสารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสำรวจเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2563 พื้นที่ภาคตะวันออก ดวยการนำขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 มาแปลและวิเคราะห เพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูก ขาวนาปรัง ป 2563 โดยพิจารณาจากปจจัยการจำแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุในชวง คลื่นแสงที่ตางกัน ประกอบกับคุณสมบัติ ของวัตถุ ไดแก รูปราง ขนาด รูปแบบ ความหยาบละเอียด สี เงา ตำแหนงที่ตั้งและความสัมพันธก ับพื้นที่ขา งเคียง พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหเนื้อท่ี เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2563 เบอื้ งตน กับภาพถายออรโ ธสี มาตราสว น 1:4,000 ขอ มลู ดาวเทียมรายละเอียดสูง จาก Google Earth และตำแหนงพิกัดที่ไดจากเครื่อง GPS ในภาคสนาม จากการแปลและวิเคราะหขอมูล ดาวเทยี ม เพ่อื จำแนกเนอ้ื ท่เี พาะปลูกขา วนาปรงั ป 2563 ทั้งนี้ สศท.6 ไดสรุปผลวิเคราะหขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2563 ภาคตะวันออก จำนวน 8 จังหวัด ไดแก นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแกว ตราด ระยอง ชลบุรี และสมุทรปราการ ผลการวิเคราะหสรุปวาจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่การเพาะปลูกขาวนาปรัง ป 2563 มากที่สุด จำนวน 223,344 ไร รองลงมาจังหวัดปราจีนบุรี และนครนายก คิดเปนรอยละ 42.35 22.33 และ 24.96 ตามลำดับ รายละเอยี ดตารางผลการแปลและวเิ คราะหเน้ือท่เี พาะปลูกขา วนาปรงั ป 2563 ภาคตะวนั ออก ดงั น้ี ตารางผลการแปลและวิเคราะหเนอ้ื ทีเ่ พาะปลกู ขา วนาปรัง ป 2563 ของภาคตะวันออก จากขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ภาค/จงั หวดั ป พ.ศ.2563 รอยละ เนื้อที่ (ไร) ภาคตะวนั ออก 527,381 100.00 นครนายก 131,627 24.96 ปราจนี บรุ ี 117,788 22.33 ฉะเชิงเทรา 223,344 42.35 สระแกว 18,574 3.52 ตราด 3,336 0.63 ระยอง 1,693 0.32 ชลบรุ ี 18,801 3.56 สมุทรปราการ 12,218 2.32

















รายงานผลการสำรวจเนื้อท่ีเพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64 โดยใชเทคโนโลยภี ูมสิ ารสนเทศ

รายงานผลการสำรวจเนื้อท่ีเพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64 โดยใชเทคโนโลยีภูมสิ ารสนเทศ หลกั การและเหตุผล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่12 (พ.ศ.2560 - 2564) ไดนิยาม “ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนปรัชญาที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ และไดจัดทำบนพื้นฐานของกรอบยุทธศาสตร ชาติ 20 ป (พ.ศ.2560 - 2579) ที่เปนแผนหลักในการพัฒนาประเทศโดยมีเปาหมายเพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGS) ตลอดจนการปรับปรุงโครงสรางประเทศไทยเขาสูประเทศไทย 4.0 รวมถึงการเนนการมีสวนรวมของภาคีการพัฒนาในทุกภาคสวน โดยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 กำหนดประเด็นยทุ ธศาสตรไ ด 10 ยุทธศาสตร ซึ่งการดำเนินงานในสว นนี้จะเปนยุทธศาสตรท ี่ 5 “การ เสริมสรางความมั่นคงแหงชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสูความม่นั คงและย่ังยืน” รวมถึงเปนการพัฒนานวัตกรรมใน การขับเคล่อื นนโยบายซ่งึ ในท่ีนจี้ ะเปน นโยบายดานการเกษตรของประเทศ สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ตระหนกั ถึงความสำคัญทางดานความกาวหนาทางเทคโนโลยี ท่ีใชในการ สำรวจและจัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีฐานขอมูลดานการผลิตทางการเกษตรที่มีความถูกตองและรวดเร็ว จึงไดมีการ ประยุกตใชเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo-informatics) หรือ GI ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยีการสำรวจระยะไกล หรือเทคโนโลยีรีโมทเซนซิง (Remote Sensing : RS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS) และระบบกำหนดตำแหนงพิกัดบนพื้นโลก (Global Positioning System : GPS) มาใชในการ วิเคราะหและจัดเก็บขอมูลดานการเกษตร เพื่อประเมินเนื้อที่เพาะปลูกกอนฤดูกาลเก็บเกี่ยว สำหรับใชเปนขอมูล ทางเลือกในการวางแผน หรือกำหนด แนวทางการจัดการดานการผลิตใหแกเกษตรกรและภาครัฐที่เกี่ยวของได อยางมปี ระสทิ ธิภาพ ในปงบประมาณ 2563 ศูนยสารสนเทศการเกษตร โดยสวนภูมิสารสนเทศการเกษตร มีแผนการ ดำเนินงานที่นำเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลมาประยุกตใชในการ วิเคราะหเนือ้ ที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64 ที่มีชวงเพาะปลูกเริ่มตั้งแต 1 พฤษภาคม ถึง 31 ตุลาคม 2563 ใน ทุกพื้นที่ ยกเวนพื้นที่ภาคใต โดยแปลและจัดทำขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาปครอบคลุมเนื้อที่ทั้งประเทศ พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองในภาคสนาม ซึ่งปจจุบันกำหนดใหสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1-12 ดำเนินงานแปลและวิเคราะหขอมูลเน้ือที่เพาะปลูกแลวสงใหสวนภูมิสารสนเทศการเกษตรดำเนินตรวจสอบความ ถูกตองของผลการแปลสำหรับใชในการสุมเลือกพื้นที่ตัวอยางตอไป ทั้งนี้วิธีการสุมเลือกพื้นที่ตัวอยางกำหนดใช วิธกี ารสุม ตัวอยา งแบบใชสดั สวนของความนาจะเปน ตามขนาดเน้อื ที่ (Probability Proportional to Size : PPS) เพอื่ ใหไ ดข อ มลู ผลการแปลวิเคราะหท ่ีมคี วามถกู ตอง วัตถปุ ระสงค 1. เพื่อแปลวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64 ในระดับประเทศ จังหวัด อำเภอ ที่สามารถ อางอิงตำแหนง ในเชงิ พื้นที่ (Spatial Reference Data) 2. เพ่ือพฒั นาแนวทางการประยกุ ตใชเทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศกบั งานดานการเกษตรของประเทศ

3. เพื่อเปนขอมูลประกอบสำหรับการวิเคราะหรวมกับขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64 ทีไ่ ดจ ากวธิ กี ารสำรวจดา นสถติ อิ ื่น ๆในหนวยงาน ขอบเขตการดำเนนิ งาน 1. ขอบเขตพ้นื ทดี่ ำเนินงาน ดำเนินงานครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศไทย ซึ่งภายหลังจากการแปลและวิเคราะหจะทำการ ซอนทับกับขอมูลขอบเขตการปกครองในระดับจังหวัด อำเภอ และตำบลเพื่อจัดทำขอมูลเปนระดับจังหวัด และ อำเภอ 2. ขอบเขตชวงระยะเวลาดำเนนิ งาน ในการดำเนินงานแปลและวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64 กำหนดแปลและ วเิ คราะหเนือ้ ที่ ใหสอดคลองกับคำนยิ ามดานการเกษตรของสำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร ดงั นี้ ขาวนาป หมายถึง ขาวที่เพาะปลูกระหวางวันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 31 ตุลาคม ยกเวนจังหวัด นครศรีธรรมราช สงขลา พทั ลงุ ปต ตานี ยะลาและนราธวิ าส หมายถงึ ขาวทีเ่ พาะปลูกในระหวางวันท่ี 16 มิถุนายน ถึง 28กมุ ภาพนั ธข องปถ ดั ไป ดังนั้น ในการดำเนินงานดังกลาวจะทำการดาวนโหลดขอมูลจาก USGS ที่บันทึกขอมูลภาพถาย ดาวเทยี ม LANDSAT 8ระหวา งเดือนพฤษภาคม ถึงตลุ าคม 2563 เนอ่ื งจากขอมลู ท่ีปรากฏบนภาพถายดาวเทียมในแต ละชวงเวลาจะสะทอนถึง สิ่งปกคลุมดิน โดยเฉพาะแปลงเพาะปลูกนาที่แตกตางกัน ตั้งแตในชวงของการ เตรียมแปลงสำหรับเพาะปลูก (การผันน้ำเขาแปลงนาสำหรับนาน้ำตม และการทำนาแหง ทั้งในรูปของการหวานและ หยอ นเมล็ดพันธุขา ว เปนตน) ชวงขา วเจริญเตบิ โต ชวงขาวเจริญเตบิ โตเต็มทีใ่ กลชวงเก็บเกีย่ ว จนกระทั่งเก็บ เกี่ยวผลผลิตขาว ซึ่งทั้งหมดนี้สงผลตอคา Digital Number (DN) หรือคาสะทอนแสง (Reflectance) ของแตละ จุดภาพ (Pixel) ขอมูล เครอ่ื งมอื และอปุ กรณท ีใ่ ชในการดำเนนิ งาน 1. ขอมูลทใี่ ชในการดำเนนิ งาน ในสวนของขอมูลหลักที่ใชในการแปลและวิเคราะหเน้ือที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64 คือ ขอมูลภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI/TIRS ที่ใหบริการผานหนวยงาน USGS โดยมีรอบวงโคจรซ้ำ 16 วัน และมีรายละเอียดจุดภาพ 30 เมตร ซึ่งเหมาะสมกับงานแปลขอมูลการเกษตรของหนวยงาน สามารถแสดง คุณสมบัติของแตล ะชวงคลนื่ ดังตาราง

ตาราง คุณลักษณะความยาวชว งคลน่ื ของภาพดาวเทียม LANDSAT 8 OLI/TIRS โหมดของภาพถายดาวเทียม แบนด ชวงความยาว ขนาดจดุ ภาพ Operational Land Imager (OLI) Band 1- Visible คลนื่ (µm) (m) Band 2- Visible 30 Thermal Infrared Sensor (TIRS) Band 3- Visible 0.43-0.45 30 Band 4- Red 0.45-0.51 30 Band 5- Near-infrared 0.53-0.59 30 Band 6- SWIR1 0.64-0.67 30 Band 7- SWIR2 0.85-0.88 30 Band 8- Panchromatic (PAN) 1.57-1.65 30 Band 9- Cirrus 2.11-2.29 15 Band 10- TIRS1 0.50-0.68 30 Band 11-TIRS2 1.36-1.38 100 10.6-11.19 100 11.5-12.51 ทั้งนี้ในสวนของการทำงานของ OLI และ TIRS มีความแตกตางในการสรางโดย OLI สรางโดย Ball Aerospace and Technologies Corporation ในขณะที่ TIRS ดำเนินงานสรางโดย NASA Goddard Space Flight Center และ OLI เปนการบันทึกขอมูลที่มีการปรับปรุงดานความคลาดเคลื่อนเชิงเรขาคณิต (Radiometric Precision) ในอุปกรณช วง 12-bit ซ่งึ ครอบคลุมถงึ การปรับแกส ัญญาณท้งั หมด (Overall Signal) กบั สญั ญาณรบกวน (Noise) แลวทำการแปลงคาสัญญาณใหเปนคาระดับสีเทา โดยทำการเปรยี บเทยี บกบั คา ระดับสีเทา 256 ระดับของภาพถายดาวเทียมโดยภาพถายดาวเทียม LANDSAT 1-7 ที่เปนอุปกรณบันทึก 8-bit ซึ่งการปรับแกคาสัญญาณนี้ทำใหลักษณะ ของสิ่งปกคลุมดินชัดเจนขึ้น สำหรับขอมูล 12-bit จะถูกปรับใหเปน 16-bit integers และเตรียมผลิตภัณฑใหเปนขอมูล Level-1 ซึ่งยังสามารถนำไปปรับแกผลิตภัณฑใหมีคาการ สะทอนเปน Top of Atmosphere (TOA) และ/หรือคา Radiance สำหรับใชในการปรับแกเชิง Radiometric ตอไป โดยในผลิตภัณฑดังกลา วจะมี Metadata File (MTL file) โดยความแตกตางทางคุณลักษณะระหวา งขอ มลู OLI/TIRS คือ ขนาดของจุดภาพท่ีแตกตางกัน อนั ทำใหการวเิ คราะห มคี วามแตกตางกัน และยังสามารถทำการ หลอมขอมูล (Pan-sharpening) โดยใชโ ปรแกรมทางภมู ิศาสตรกอนการวเิ คราะหผ ล ระดับของกระบวนการจัดเตรียมวิเคราะหขอมูลกอนใหบริการ โดยเลือกขอมูล L1TP (Terrain Precision Correction) ที่มีการปรับแกในเรื่องการปรับแกเชิงรังสี (Radiometrically) และการปรับแกออรโธสี (Orthorectified) โดยใชจุดควบคุมภาคพื้นดิน (Ground Control Points; GCPs) และขอมูลระดับสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model; DEM) ที่มีการปรับแกความคลาดเคลื่อนอันเนื่องมาจากความสูง-ต่ำของภูมิประเทศ (Relief Displacement) โดยภาพถายดาวเทียมในระดับนี้เหมาะสมกับการวิเคราะหในลักษณะการเปลี่ยนแปลง ตามชวงการเวลา (Time-series) ของจุดภาพ อนึ่งขอมูล GCPs ทใี่ ชปรบั แกภ าพถา ยดาวเทียม L1TP ไดม าจากชุด ขอ มลู Global Land Survey 2000 (GLS2000)

สำหรับการแปลและวิเคราะหเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป กำหนดใชการผสมสี (Band- combinations) เปนแบบสีผสมเท็จ (False Colour) เพื่อใหลักษณะของพืชพรรณเปนสีแดงซึ่งงายตอตาของ มนุษยในการจำแนกวัตถุที่แตกตางกันบนผิวโลกโดยทำการผสมสี R-G-B เปน 5-6-3 นอกจากนี้ยังมีการใชแผนท่ี ภมู ิประเทศ 2. เครื่องมอื และอุปกรณท ใี่ ชในการดำเนินงาน 1) เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการดำเนนิ งาน - คอมพวิ เตอร - เครอ่ื งพมิ พ - เครอ่ื งรงั วดั พกิ ดั ดวยสัญญาณดาวเทยี ม GPS - กลองถา ยรูป 2) ซอฟตแ วรป ระมวลผล - ซอฟตแวรดานระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร ไดแก ArcGIS basic version 10.5 - ซอฟตแวร Ecognition-Developer

สศท. 1 - 12 วางแผนการดำเนนิ งานแปลวิเคราะหเน้อื ที่เพาะปลกู ขาว ดาวนโหลดภาพถา ยดาวเทียม LANDSAT 8 OLI / TIRS ครอบคลมุ พืน้ ท่ีรับผดิ ชอบ เปนรายเดือน(เริ่ม พ.ค. – ต.ค.63) ปรบั แกแ ละปรบั เนน ความคมชดั (Enhancement) ของภาพถายดาวเทียม LANDSAT 8 OLI / TIRS แปลและวิเคราะหเน้ือที่เพาะปลกู ขา วนาป (สะสม) สงขอมูล Shape สภท. Shape file เนอื้ ทเี่ พาะปลกู ขา วนาป (สะสม) file เนือ้ ทเี่ พาะปลกู ขา วนาป เพื่อ ตรวจสอบเนอื้ ท่ี เพาะปลูกขาวนาป เทยี บกบั 2แหลง ขอ มลู ภาพถา ยดาวเทียม ภาพถายดาวเทียมรายละเอยี ดสูง Landsat 8 OLI / TIRS บน Plug – in ของโปรแกรมดาน GIS ปรบั แกขอบเขตแปลงนาใหตรงตามสที ่ี ปรากฏบนภาพถายดาวเทียม ดำเนนิ การตรวจสอบ Check Topology เน้อื ท่ีเพาะปลูกขาว ภาคสนาม นาป ทผ่ี า นการปรบั แก สรุปผลการ - เก็บพิกัดแปลงนา ( X,Y ) สงตวั อยางกรดิ สมุ ตวั อยางกรดิ ขนาด 25 ตรวจสอบความ - ถายรปู แปลงเพาะปลูก จำแนกตามพน้ื ท่ี ไร (เนอื้ ทก่ี รดิ ตอ งไมน อ ย ถูกตองภาคสนาม - คำนวณเนื้อที่ ที่แปล ถูกตอ ง และแปลตกหลน แหลงปลกู - จัดทำตารางผลความ ใหส ศท.1 - 12 ถ ู กต  องส  งข  อม ู ลให สวนกลางเพื่อดำเนินการ หมายเหตุ ดำเนินงานโดย สภท. ดำเนนิ งานโดย สศท.1-12

รายงานผลการสำรวจเน้อื ทเี่ พาะปลกู ขา วนาป ป 2563/64 โดยใชเ ทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ในภาคตะวนั ออก สวนสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (สศท.6) ไดนำเทคโนโลยีดาน ภูมิสารสนเทศ (Geo - Information : GI) มาประยุกตใชในการสำรวจเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64 พื้นที่ภาคตะวันออก ดวยการนำขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 มาแปลและวิเคราะห เพื่อจำแนกเนื้อที่เพาะปลูก ขาวนาป ป 2563/64โดยพิจารณาจากปจจัยการจำแนกชนิดวัตถุ เชน คุณสมบัติการสะทอนแสงของวัตถุในชวง คลื่นแสงที่ตางกัน ประกอบกับคุณสมบัติ ของวัตถุ ไดแก รูปราง ขนาด รูปแบบ ความหยาบละเอียด สี เงา ตำแหนงที่ตั้งและความสัมพันธกับพื้นท่ีขางเคียง พรอมทั้งตรวจสอบความถูกตองผลการแปลและวิเคราะหเนื้อที่ เพาะปลูกขา วนาป ป 2563/64เบอื้ งตน กบั ภาพถายออรโ ธสี มาตราสวน 1:4,000 ขอ มูลดาวเทยี มรายละเอียดสูง จาก Google Earth และตำแหนงพิกัดที่ไดจากเครื่อง GPS ในภาคสนาม จากการแปลและวิเคราะหขอมูล ดาวเทียม เพื่อจำแนกเนอ้ื ท่เี พาะปลูกขา วนาป ป 2563/64 ทั้งนี้ สศท.6 ไดสรุปผลวิเคราะหขอมูลเนื้อที่เพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64ภาคตะวันออก จำนวน 9 จังหวัด ไดแก นครนายก ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแกว จันทบุรี ตราด ระยอง ชลบุรี และ สมุทรปราการ ผลการวิเคราะหสรุปวา จังหวัดสระแกว มีพน้ื ทกี่ ารเพาะปลูกขาวนาป ป 2563/64 มากท่สี ุด จำนวน 706,079 รองลงมาจังหวัดฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี คิดเปนรอยละ 31.61 26.36 และ 19.82 ตามลำดับ รายละเอยี ดตารางผลการแปลและวเิ คราะหเนื้อทเ่ี พาะปลกู ขาวนาป ป 2563/64 ภาคตะวันออก ดงั น้ี ตารางผลการแปลและวเิ คราะหเนอื้ ทเี่ พาะปลูกขาวนาป ป 2563/64ของภาคตะวนั ออก จากขอมูลดาวเทียม LANDSAT 8 ภาค/จังหวดั ป พ.ศ.2563 รอยละ เน้ือที่ (ไร) ภาคตะวันออก 2,233,875 100.00 นครนายก 365,789 16.37 ปราจนี บรุ ี 442,716 19.82 ฉะเชงิ เทรา 588,914 26.36 สระแกว 706,079 31.61 จันทบรุ ี 12,824 0.57 ตราด 14,877 0.67 ระยอง 12,122 0.54 ชลบรุ ี 70,509 3.16 สมทุ รปราการ 20,045 0.90