Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Agri-Map จังหวัดสระแก้ว

Agri-Map จังหวัดสระแก้ว

Description: ตามแผนที่ Agri-Map จังหวัดสระแก้ว

Search

Read the Text Version

การวิเคราะห์ดา้ นเศรษฐกจิ สนิ คา้ เกษตร เพื่อเปน็ ทางเลือก ปรับเปล่ียนกิจกรรมการผลิต ในพ้ืนทีไ่ มเ่ หมาะสม ตามแผนท่ี Agri-Map จังหวัดสระแก้ว สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 : OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS REGIONNAL OFFICE 6 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร : OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ : MINISTRY OF AGRICULTURE AND COOPERATIVES มิถุนายน 2560 : JUNE 2017

บทคดั ย่อ การวิเคราะห์ดา้ นเศรษฐกิจการเกษตร จังหวัดสระแก้ว ปี 2559 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ตน้ ทุนและผลตอบแทนสินค้า Demand และ Supply ของสินค้า TOP 4 ระดับจังหวัด ไดแ้ ก่ ข้าวหอมมะลิ มนั สาปะหลงั อ้อยโรงงาน และมะม่วง เพอื่ เสนอแนะมาตรการในการปรับเปลี่ยนการ ผลติ สนิ ค้าในพน้ื ทีไ่ มเ่ หมาะสมเป็นสนิ คา้ ทางเลือกในระดับพ้ืนท่ี โดยการสัมภาษณ์เกษตรกรตัวอย่าง และผู้ประกอบการ ใช้ฐานข้อมูลจาก Agri-Map Online โดยกาหนดให้พื้นท่ีเหมาะสม (S1,S2) และ พ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (S3,N) กาหนดหลักเกณฑ์ ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจใน 4 ระดับ คือ มาก ปานกลาง นอ้ ย และไมเ่ หมาะสม สรปุ ผลการศกึ ษาดังน้ี ข้าวหอมมะลิ ผลผลิตข้าวเจ้านาปีท่ีผลิตภายในจังหวัดสระแก้ว มีปริมาณ 207,722 ตัน ข้าวเปลือกเป็นข้าวหอมมะลิ (ข้าวหอมจังหวัด) ร้อยละ 76.59 และความต้องการใช้ข้าวเปลือกเจ้า หอมมะลขิ องจงั หวัดสระแกว้ มปี ริมาณ 207,724 ตนั ข้าวเปลอื ก แบ่งเป็นเก็บไว้ทาพันธ์ุร้อยละ 8.36 บริโภคร้อยละ 76.20 และส่งออกไปต่างจังหวัดร้อยละ 15.44 ทาให้มีผลผลิตไม่เพียงพอ และจาก ศึกษาต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนการผลิตข้าวหอมมะลิ จังหวัดสระแก้ว พบว่าในเขตพื้นที่ เหมาะสม (S) เกษตรกรมีต้นทนุ การผลิตท้ังหมด (Total Cost : TC) 3,683.11 บาทต่อไร่ โดยเป็น ต้นทุนผันแปร (Total Variable Cost : TVC ) 2,598.53 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 70.55 และ ต้นทุนคงท่ี (Total Fixed Cost : TFC ) 1,084.57 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 29.45 ผลผลิตเฉลี่ย 327.37 กโิ ลกรัมต่อไร่ เกษตรกรจะมีรายได้ 2,330.87 บาทต่อไร่ เกษตรกรขาดทุน1,352.24 บาท ต่อไร่ ส่วนในพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม (N) ต้นทุนการผลิตท้ังหมด (TC) 3,956.54 บาทต่อไร่ โดยเป็น ต้นทุนผันแปร (TVC ) 2,762.42 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 69.82 และต้นทุนคงท่ี (TFC) 963.20 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 30.18 ผลผลิตเฉล่ีย 323.59 กิโลกรัมต่อไร่ ราคา ณ ไร่นา 7.12 บาทต่อ กิโลกรัม เกษตรกรจะมีรายได้ 2,303.89 บาทต่อไร่ ดังนั้นเกษตรกรขาดทุนไร่ละ 1,652.65 บาทต่อไร่ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (1) ในพื้นที่ S1,S2 ควรมีการถ่ายทอดความรู้การใช้พ้ืนท่ีตาม ความเหมาะสม Zoning By Agi-Map สรา้ งกระบวนการขับเคล่ือนแบบแปลงใหญ่ ส่งเสริมงานวิจัย ด้านพฒั นาพนั ธ์ุ สนับสนนุ ให้ไดม้ าตรฐาน GAP จนถงึ อนิ ทรีย์ ส่งเสรมิ ให้มกี ารใช้นวัตกรรมเพ่ือสร้าง มูลค่าเพ่ิม และถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่าน ศพก./ปราชญ์ และ (2) ส่วนพ้ืนท่ี S3 และ N ท่ีเป็นแหล่ง ผลิตเพื่อบริโภคในครัวเรือน ก็ทาการผลิตต่อไป ในแหล่งผลิตเพื่อการค้าควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืช อ่ืนท่ีใหผ้ ลตอบแทนดีกว่า เชน่ ออ้ ยโรงงาน มะมว่ ง ลาไย หรือ หญ้าเนเปียร์ และการเล้ียงปศุสัตว์ (โคเน้ือ/แพะ) ตามโครงการที่รัฐบาลโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ต้องการผลักดันให้จังหวัด สระแก้วเป็นเมืองโคบาลบูรพา ท่ีคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบแนวทางดาเนินงานโครงการ แล้ว และอนมุ ัติงบกลาง จานวน 1,028.40 ล้านบาท เม่อื วนั ที่ 6 มิถุนายน 2560 มันสาปะหลัง ในเขตพื้นท่ีเหมาะสม (S) ได้ผลผลิตเฉลี่ย 3,317.29 กิโลกรัมต่อไร่ โดย เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตเฉล่ีย (TC) 5,803.83 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร (TVC ) 4,530.02 บาทตอ่ ไร่ หรือร้อยละ 78.05 และตน้ ทนุ คงที่ (TFC) 1,273.81 บาทตอ่ ไร่ หรือร้อยละ 21.91 ราคา ณ ไร่นา 1.57 บาทต่อกโิ ลกรัม เกษตรกรจะมีรายได้ 5,208.15 บาทต่อไร่ ดังน้ันเกษตรกรขาดทุน 595.68 บาทตอ่ ไร่ ส่วนในพ้นื ทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) ผลผลิตเฉลี่ย 3,154.34 กิโลกรัมต่อไร่ เกษตรกร มีต้นทุนการผลิต(TC) 5,322.56 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร (TVC ) 4,193.49 บาทต่อไร่ หรือ ร้อยละ 78.79 และต้นทุนคงที่ (TFC) 1,129.07 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 21.21 เกษตรกรจะมีรายได้ 4,952.31 บาทต่อไร่ ดังน้ันเกษตรกรขาดทุน 370.25 บาทต่อไร่ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (1) ใน พื้นที่ S1,S2 ต้องถ่ายทอดความรู้ Zoning By Agi-Map สร้างกระบวนการขับเคล่ือนแบบแปลง ใหญ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตโดยลดตน้ ทนุ การผลติ ส่งเสรมิ งานวิจัยด้านพัฒนาพันธ์ุส่งเสริมให้

มกี ารใช้นวตั กรรมเพื่อสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ และทา MOU กับผู้ประกอบการ ส่วนในพ้ืนที่ S3 , N ควรมี การปรบั เปลีย่ นไปปลูกพชื ที่ให้ผลตอบแทนสงู กว่า เชน่ อ้อยโรงงาน มะมว่ ง และ ลาไย อ้อยโรงงาน จังหวัดสระแก้วมีผลผลิตอ้อยโรงงานปีละ 3,371,704 ตัน แต่ยังไม่เพียงพอ กบั ความต้องการโรงงานในพ้ืนที่ และผลตอบแทนในการผลิตในพื้นท่ีเหมาะสม (S) ได้ผลผลิตเฉลี่ย 11.64 ตันต่อไร่ ต้นทุนการผลิต (TC) 8,824.28 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร (TVC) 7,313.51 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 82.88 และต้นทุนคงที่ (TFC) 1,510.77 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 17.12 ราคา ณ ไรน่ า 793.10 บาทต่อตัน และมีรายได้ 9,233.20 บาทต่อไร่ ดังนั้นมีกาไร 408.92 บาท ต่อไร่ ส่วนในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) ผลผลิตเฉล่ีย 11.28 ตันต่อไร่ ต้นทุนการผลิต (TC) 8,411.63 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร (TVC) 6,848.47 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 81.42 ต้นทุน คงที่ (TFC) 1,563.16 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 18.58 รายได้ 8,942.71 บาทต่อไร่ หรือมีกาไร 531.08 บาทต่อไร่ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (1) ในพ้ืนที่ S1,S2 ถ่ายทอดความรู้ Zoning By Agi-Map สร้างกระบวนการขบั เคลื่อนแบบแปลงใหญ่ เพิม่ ประสิทธภิ าพการผลติ โดยลดต้นทุนการ ผลิต ส่งเสรมิ งานวจิ ยั ดา้ นพัฒนาพันธ์ุ และทา MOU กับผู้ประกอบการโรงงานน้าตาล (2) ส่วนใน พื้นที่ S3 , N ควรลดพ้นื ท่กี ารผลิตสนิ คา้ ที่ให้ผลตอบแทนต่ามาปลกู อ้อยทดแทน เช่น ข้าวนาปี และ มนั สาปะหลัง ทป่ี ลกู ในพ้นื ทีไ่ ม่เหมาะสม (N) มาปลกู ออ้ ยทใ่ี หผ้ ลตอบแทนสงู กว่า มะม่วง มะม่วงเป็นพืชเศรษฐกิจที่ทารายได้เป็นอันดับท่ี 6 ของจังหวัดสระแก้ว เป็นสินค้า เด่นทีน่ า่ จับตามองของจงั หวดั ปี พ.ศ.2558 มีมูลค่า 249 ล้าน จากข้อมูลกรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2560 คาดว่าจังหวัดสระแก้ว มีพื้นท่ีปลูกมะม่วง 10,314 ไร่ ผลผลิต 9,900.60 ตัน และเนื่องจาก มะม่วงไม่มีพื้นท่ีความเหมาะสมในการปลูกโดยตรง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 จึงได้จัดเก็บ ต้นทุนการผลิตโดยไม่แบ่งตามพ้ืนท่ีระดับความเหมาะสม โดยการเก็บข้อมูลต้นทุนการผลิต พบว่า ได้ผลผลิต 1,256.36 กิโลกรัมไร่ และมีต้นทุนการผลิต (TC) 18,890.86 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทุน ผันแปร (TVC) 15,730.80 บาทตอ่ ไร่ หรือร้อยละ 83.27 และต้นทุนคงท่ี (TFC) 3,160.06 บาทต่อ ไร่ หรอื รอ้ ยละ 16.73 ราคา ณ ไรน่ า 42.71 บาทตอ่ กิโลกรัม เกษตรกรจะมรี ายได้ 53,659.14 บาท ต่อไร่ ดงั นัน้ เกษตรกรจะมกี าไร 34,768.28 บาทตอ่ ไร่ ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย(1) ในพ้ืนท่ี S1,S2 ถ่ายทอดความรู้ Zoning By Agi-Map เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริม งานวิจัยด้านพัฒนาพันธุ์ สร้างแบรนด์ของจังหวัด (2) ส่วนในพ้ืนที่ S3 , N ควรลดพื้นท่ีการผลิต สินค้าท่ีให้ผลตอบแทนต่ามาปลูกมะม่วงทดแทน เช่น ข้าวนาปี และมันสาปะหลัง ท่ีปลูกในพ้ืนท่ีไม่ เหมาะสม (N) มาปลกู มะม่วงท่ใี หผ้ ลตอบแทนสงู กวา่

ค คานา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมพัฒนาที่ดิน ได้จัดทาเขตความเหมาะสมสาหรับการ ปลูกพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญ ซ่ึงได้วิเคราะห์ความเหมาะสมของดิน กับปัจจัยความต้องการของพืชแต่ ละชนิด ร่วมกับปัจจัยท่ีเก่ียวข้องอ่ืน ๆ เช่น เขตป่าไม้ตามกฎหมาย เขตพ้ืนท่ีชลประทาน นอกจากนั้นยังได้กาหนดการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม ( Zoning ) เพื่อจัดการผลผลิต ทางการเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องของตลาด ในพ้ืนที่เหมาะสมมากและปานกลาง จะส่งเสริม ใหเ้ พม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิต สาหรับพื้นที่เหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม จะส่งเสริมให้ปรับเปลี่ยน ไปเป็นสนิ คา้ เกษตรอน่ื ทม่ี ีความเหมาะสมกว่า ในปีงบประมาณ 2560 นี้ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 ได้ศึกษาถึงความเหมาะสม ทางกายภาพและเศรษฐกจิ สินค้าเกษตรทส่ี าคัญ 4 ชนิด ของจังหวัดสระแก้ว ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ มัน สาปะหลัง อ้อยโรงงาน และมะม่วง ทาการวิเคราะห์ทางกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม รวมถึง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการปรับเปล่ียนพ้ืนท่ีไม่เหมาะสม สินค้าทางเลือก และมาตรการภาครัฐ เพอื่ สนบั สนุนให้มีการปรับเปล่ียน ในพ้ืนที่ไม่เหมาะสม อีกท้ังให้ข้อเสนอแนะการเพิ่มประสิทธิภาพ ในพื้นที่เหมาะสม เพ่ือให้ส่วนราชการและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้นาผลการศึกษานี้ไปใช้ ประกอบในการตัดสินใจดาเนินงานตามภารกิจของแต่ละหน่วยงาน ซ่ึงจะ ทาให้การขับเคลื่อนการ จดั การสนิ ค้าเกษตรในระดบั พื้นที่ให้มีความเหมาะสมตอ่ ไป สว่ นแผนพัฒนาเขตเศรษฐกจิ การเกษตร สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 มิถนุ ายน 2560

ง หนา้ สารบญั ข ค บทคดั ย่อ ง คานา จ สารบัญ ฉ สารบญั ตาราง 1 สารบัญภาพ 7 บทที่ 1 บทนา 34 บทที่ 2 สภาพทว่ั ไป 34 บทที่ 3 ผลการศึกษาวิเคราะห์ 34 3.1 ต้นทนุ การผลติ และผลตอบแทนตามระดับความเหมาะสมของพ้นื ท่ี 38 สนิ คา้ เกษตรทีส่ าคญั ( Top 4 ) 42 3.1.1 มันสาปะหลงั 45 3.1.2 ขา้ วหอมมะลิ 48 3.1.3 อ้อยโรงงาน 48 3.1.4 มะม่วง 55 63 3.2 วถิ ีตลาดและบัญชสี มดุลสินค้า 69 3.2.1 มันสาปะหลงั 75 3.2.2 ขา้ วหอมมะลิ 85 3.2.3 ออ้ ยโรงงาน 85 3.2.4 มะม่วง 92 95 3.3 การวิเคราะห์เพื่อหาพชื ทางเลอื กทางเศรษฐกจิ บทที่ 4 สรุปขอ้ เสนอแนะ 4.1 สรปุ สถานการณ์การผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญจงั หวดั สระแกว้ 4.2 ข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง

จ สารบญั ตาราง หนา้ ตารางท่ี 1 จานวนอาเภอ ตาบล หมบู่ า้ น เทศบาล องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล จงั หวัด 9 สระแก้ว 10 ตารางที่ 2 จานวนประชากรจงั หวดั สระแก้ว ประจาปี พ.ศ.2558 13 ตารางท่ี 3 ภาวะเศรษฐกจิ สังคมครวั เรอื น จงั หวัดสระแก้ว ปี 2558/59 15 ตารางท่ี 4 พื้นทเ่ี พาะปลูกพืชเศรษฐกิจจังหวดั สระแกว้ 18 ตารางท่ี 5 พน้ื ท่ปี ลูกข้าวตามระดับความเหมาะสมของพื้นที่ จงั หวดั สระแก้ว 22 ตารางท่ี 6 พื้นทป่ี ลูกมนั สาปะหลงั ตามระดบั ความเหมาะสมของพ้นื ที่ จงั หวัดสระแกว้ 26 ตารางที่ 7 พื้นทป่ี ลกู มันออ้ ยโรงงานตามระดับความเหมาะสมของพน้ื ที่ จงั หวัดสระแก้ว 28 ตารางท่ี 8 พน้ื ที่ปลูกมะมว่ งจังหวดั สระแกว้ ปี พ.ศ.2557-2559 31 ตารางที่ 9 พนื้ ทปี่ ลูกลาไยตามระดับความเหมาะสมของพ้ืนท่ี จังหวัดสระแก้ว 35 ตารางที่ 10 ตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลติ มนั สาปะหลังในพ้นื ที่เหมาะสม (S) 37 ตารางท่ี 11 ต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลิตมนั สาปะหลังในพน้ื ท่ีไม่เหมาะสม (N) 38 ตารางที่ 12 เปรยี บเทียบตน้ ทุนการผลิตมนั สาปะหลงั ในพื้นทเ่ี หมาะสม (S) และ 39 ไมเ่ หมาะสม (N) ปี 2559/60 40 ตารางที่ 13 ตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าวหอมมะลใิ นพนื้ ที่เหมาะสม (S) 41 ตารางที่ 14 ตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลติ ขา้ วหอมมะลิในพื้นที่ไมเ่ หมาะสม (N) ตารางที่ 15 เปรียบเทยี บต้นทุนการผลิตข้าวหอมมะลิในเขตพน้ื ท่ีเหมาะสม(S) และ 42 44 ไม่เหมาะสม (N) 45 ตารางที่ 16 ต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ อ้อยโรงงานในพืน้ ทีเ่ หมาะสม (S) ตารางที่ 17 ต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ อ้อยโรงงานในพื้นที่ไมเ่ หมาะสม (N) 46 ตารางท่ี 18 เปรียบเทียบต้นทุนการผลิตออ้ ยโรงงานในเขตพืน้ ท่เี หมาะสม (S) และ 47 ไมเ่ หมาะสม(N) 49 ตารางท่ี 19 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลติ มะมว่ ง ตารางท่ี 20 เปรยี บเทียบ ต้นทนุ การผลติ ผลตอบแทน สินค้าทีส่ าคัญ ( สินคา้ Top 4) 49 จงั หวดั สระแก้ว 50 ตารางที่ 21 เน้ือทีเ่ กบ็ เก่ียว ผลผลติ และผลผลติ ตอ่ ไร่ มนั สาปะหลงั ของจงั หวัดสระแกว้ 54 56 ปี 2556-2560 ตารางท่ี 22 เน้ือทเี่ ก็บเกีย่ ว ผลผลิต และผลผลติ ตอ่ ไร่ มันสาปะหลงั ของจงั หวัดสระแก้ว รายอาเภอ ปี 2558 ตารางที่ 23 การนาเขา้ มนั เส้นจากชายแดนกัมพชู า ตารางที่ 24 การบริหารจัดการมนั สาปะหลงั จงั หวดั สระแก้ว ปี 2559/60 ตารางที่ 25 พน้ื ที่เพาะปลูก พืน้ ที่เก็บเก่ียว ผลผลิต ผลผลติ ต่อไร่ ข้าวนาปีในชว่ ง ปเี พาะปลูก 2555/56 – 2559/60 จงั หวัดสระแกว้

สารบญั ตาราง (ต่อ) หนา้ ตารางที่ 26 พน้ื ท่ีเพาะปลูก พ้นื ท่ีเก็บเกี่ยว ผลผลติ ผลผลติ ต่อไร่ ขา้ วเจา้ หอมมะลิ 56 ปีเพาะปลกู 2559/60 จังหวดั สระแก้ว ตารางที่ 27 ราคาขา้ วเปลือกหอมมะลิท่ีเกษตรกรขายได้ท่ไี ร่นาเฉลี่ยรายเดอื น 59 ปี 2559-2560 จังหวัดสระแก้ว ตารางท่ี 28 การบรหิ ารจดั การสินค้าขา้ วหอมมะลเิ ชิงพ้นื ที่ฤดกู ารผลิตปี 2559/60 61 จงั หวดั สระแกว้ ตารางที่ 29 เน้ือทเี่ ก็บเก่ยี ว ผลผลิต ผลผลิตตอ่ ไร่ และผลผลติ น้าตาลของจังหวดั สระแก้ว 64 ปี 2554/55 - 2558/59 ตารางที่ 30 การบรหิ ารจัดการสินคา้ อ้อยโรงงานเชงิ พ้ืนทร่ี ายเดือน ฤดูการผลิต 68 ปี 2559/2560 จังหวดั สระแก้ว ตารางท่ี 31 พ้นื ที่เพาะปลูก พนื้ ทเ่ี ก็บเกย่ี ว ผลผลติ ผลผลติ ตอ่ ไร่ มะมว่ งน้าดอกไมใ้ นช่วง 70 ปีเพาะปลูก 2559 จงั หวดั สระแก้ว ตารางที่ 32 ราคามะมว่ งน้าดอกไม้ที่เกษตรกรขายไดท้ ่ีไรน่ าเฉลี่ยรายเดือน ปี 2559-60 73 จงั หวัดสระแก้ว ตารางท่ี 33 การบริหารจดั การสนิ คา้ มะม่วงนา้ ดอกไมเ้ ชิงพ้ืนที่ฤดกู ารผลิตปี 2559/60 74 จังหวดั สระแกว้ ตารางท่ี 34 สรปุ สินค้าต่าง ๆ ท่ีสามารถปรบั เปลีย่ นพื้นทนี่ าไมเ่ หมาะสม (N) ในอาเภอ 76 ตา่ งๆ จงั หวดั สระแกว้ ตารางท่ี 35 เปรยี บเทยี บ ตน้ ทนุ การผลติ ผลตอบแทน ขา้ วไม่เหมาะสม (N) เป็น 78 อ้อยโรงงาน ตารางที่ 36 เปรยี บเทียบ ตน้ ทุนการผลติ ผลตอบแทน ข้าวไม่เหมาะสม (N) เป็น 79 มะมว่ ง ตารางที่ 37 เปรียบเทียบ ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน ขา้ วไมเ่ หมาะสม (N) เป็น 79 ลาไย ตารางที่ 38 เปรียบเทยี บ ต้นทุนการผลติ ผลตอบแทน ข้าวไม่เหมาะสม (N) 80 เปน็ หญ้าเนเปยี ร์ ตารางที่ 39 สรุปสนิ คา้ ตา่ งๆ ทีส่ ามารถปรบั เปล่ยี นพืน้ ที่มันสาปะหลงั ไม่เหมาะสม 80 (N) ในจงั หวัดสระแกว้ ตารางที่ 40 เปรียบเทยี บ ตน้ ทนุ การผลติ ผลตอบแทน มนั สาปะหลงั ไม่เหมาะสม 83 (N) เป็นออ้ ยโรงงาน ตารางที่ 41 เปรียบเทยี บ ต้นทนุ การผลิต ผลตอบแทน มันสาปะหลงั (N) เป็น 83 มะมว่ ง ตารางที่ 42 เปรียบเทยี บ ต้นทุนการผลิต ผลตอบแทน มันสาปะหลังไม่เหมาะสม 84 (N) เป็นลาไย

ฉ สารบญั ภาพ หนา้ แผนภาพที่ 1 แผนทจี่ งั หวดั สระแก้ว 8 แผนภาพท่ี 2 ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั สระแกว้ ปี 2558 11 แผนภาพที่ 3 ผลติ ภัณฑม์ วลรวมจังหวัด รายได้ต่อหวั จังหวัดสระแกว้ ปี 2548-2558 11 แผนภาพท่ี 4 มลู ค่าเพิม่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมสินค้าท่ีสาคัญในภาคเกษตรแกว้ ปี 2558 12 แผนภาพท่ี 5 แผนทกี่ ารใช้ที่ดินจังหวดั สระแก้ว ปี 2557 14 แผนภาพที่ 6 แผนท่กี ารการปลูกพชื เศรษฐกิจจังหวดั สระแก้ว ปี 2557 15 แผนภาพที่ 7 พน้ื ท่ีการปลกู เกบ็ เก่ยี ว ผลผลติ ต่อไร่ ข้าวนาปี จังหวดั สระแกว้ 16 แผนภาพท่ี 8 พืน้ ที่ความเหมาะสมในการปลูกขา้ วจงั หวัดสระแก้ว 17 แผนภาพท่ี 9 พน้ื ท่ีปลูกข้าวตามระดบั ความเหมาะจังหวดั สระแกว้ 17 แผนภาพที่ 10 พื้นท่ปี ลูกข้าวตามระดบั ความเหมาะสมในอาเภอต่างๆ จังหวัดสระแก้ว 19 แผนภาพท่ี 11 เนื้อท่ีเกบ็ เกี่ยว ผลผลติ ผลติ ต่อไร่ มนั สาปะหลงั จังหวัดสระแกว้ 19 ปี 2550-2560 แผนภาพที่ 12 พน้ื ทคี่ วามเหมาะสมในการปลูกมนั สาปะหลังจงั หวดั สระแกว้ 20 แผนภาพที่ 13 พ้ืนที่ปลกู มนั สาปะหลงั ตามระดบั ความเหมาะจงั หวัดสระแกว้ 21 แผนภาพท่ี 14 พื้นท่กี ารปลูกมนั สาปะหลงั ตามระดบั ความเหมาะสมในอาเภอตา่ งๆ 21 ของจังหวดั สระแกว้ แผนภาพที่ 15 เน้ือทีเ่ ก็บเกีย่ ว ผลผลติ ผลติ ตอ่ ไร่ อ้อยโรงงาน จังหวดั สระแกว้ 23 ปี 2549-2559 แผนภาพท่ี 16 พื้นที่ความเหมาะสมในการปลกู อ้อยโรงงานจงั หวดั สระแกว้ 24 แผนภาพท่ี 17 พ้ืนที่ปลกู ออ้ ยโรงงานตามระดับความเหมาะจงั หวัดสระแกว้ 24 แผนภาพที่ 18 พื้นที่การปลกู ออ้ ยโรงงานตามระดบั ความเหมาะสมในอาเภอต่างๆ 25 ของจังหวัดสระแก้ว แผนภาพท่ี 19 เน้ือท่เี พาะปลูก เน้ือที่ใหผ้ ล ผลผลิต ผลิตต่อไร่ มะม่วง จังหวดั 27 สระแกว้ ปี 2553-2560 แผนภาพท่ี 20 เน้ือท่เี ก็บเกยี่ ว ผลผลติ ผลติ ตอ่ ไร่ ลาไย จังหวดั สระแก้ว ปี 2550 – 29 2560 แผนภาพที่ 21 พน้ื ทค่ี วามเหมาะสมในการปลกู ลาไยจงั หวัดสระแก้ว 29 แผนภาพท่ี 22 พื้นท่ีปลกู ลาไยตามระดบั ความเหมาะจังหวัดสระแกว้ 30 แผนภาพที่ 23 พื้นทก่ี ารปลกู ลาไยตามระดบั ความเหมาะสมในอาเภอต่างๆ ของจังหวดั 30 สระแก้ว แผนภาพที่ 24 โรงสีขา้ วขนาดตา่ งๆ ในจังหวดั สระแก้ว 32 แผนภาพท่ี 25 แหล่งรับซ้อื ที่สาคญั ทเ่ี กี่ยวข้องกับดา้ นการเกษตรที่สาคญั จังหวดั สระแกว้ 33 แผนภาพท่ี 26 วิถีการตลาดมันสาปะหลงั จังหวดั สระแกว้ , 2560 52

สารบญั ภาพ (ต่อ) หน้า แผนภาพท่ี 27 วถิ กี ารตลาดสินคา้ ข้าวเปลอื กหอมมะลิ ในจังหวัดสระแกว้ 59 แผนภาพที่ 28 แผนทแ่ี สดงพ้ืนท่ีปลูกอ้อย และโรงงานน้าตาลจงั หวัดสระแก้ว 63 ปกี ารผลติ 2558/59 แผนภาพที่ 29 โครงสร้างการตลาดออ้ ยโรงงานจงั หวัดสระแก้ว 65 แผนภาพท่ี 30 วถิ ีการตลาดอ้อยโรงงานจงั หวดั สระแก้ว, 2560 66 แผนภาพท่ี 31 วถิ ีการตลาดสินคา้ มะม่วงน้าดอกไมจ้ งั หวดั สระแกว้ 72 แผนภาพที่ 32 แสดงพื้นที่ข้าวไม่เหมาะสม (N) ปรบั เปลีย่ นเปน็ อ้อยโรงงาน 76 จังหวัดสระแกว้ แผนภาพที่ 33 แสดงพน้ื ท่ีขา้ วไม่เหมาะสม (N) ปรบั เปล่ียนเปน็ มะมว่ ง (ไมผ้ ล) 77 จงั หวดั สระแก้ว แผนภาพที่ 34 แสดงพน้ื ที่ขา้ วไม่เหมาะสม (N) ปรบั เปลย่ี นเปน็ ลาไย จงั หวัดสระแก้ว 77 แผนภาพท่ี 35 แสดงพ้นื ที่มันสาปะหลงั ไม่เหมาะสม (N) ปรบั เปลี่ยนเปน็ ออ้ ยโรงงาน 81 จงั หวดั สระแก้ว แผนภาพที่ 36 แสดงพ้ืนที่มนั สาปะหลังไมเ่ หมาะสม (N) ปรบั เปลี่ยนเป็นมะมว่ ง (ไมผ้ ล) 81 จงั หวดั สระแกว้ แผนภาพท่ี 37 แสดงพน้ื ที่มนั สาปะหลังไมเ่ หมาะสม (N) ปรบั เปลย่ี นเป็นลาไย 82 จังหวัดสระแก้ว แผนภาพที่ 38 แนวคิดการบริหารจดั การสนิ คา้ เกษตรในเขตเศรษฐกิจ Zoning 91 ดว้ ย Agri-Map

เอกสารอ้างอิง สานักงานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั สระแก้ว.“แผนพฒั นาการเกษตรจงั หวดั สระแกว้ ปี 2560-64 จงั หวดั สระแก้ว.” : สานักปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สานักวิจัยเศรษฐกจิ การเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. “บัญชสี มดลุ สินคา้ เกษตร ปี 2559.” กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร.“สถติ ิการเกษตรของประเทศไทย ปี 2530-2559.” กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะอนุกรรมการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดสระแก้ว. “ รา่ งแผนพัฒนาจงั หวดั สระแกว้ ปี 2561 - 2564.” คณะกรรมการบรหิ ารงานจังหวัดแบบบรู ณราการ จังหวดั สระแกว้ : กระทรวงมหาดไทย . กรมพฒั นาทดี่ นิ . “พ้นื ทีค่ วามเหมาะสมขา้ วนาปี ข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ จงั หวดั สระแกว้ ” http://agri-map - online.moac.go.th. สืบคน้ เมือ่ วันท่ี 1-30 พฤษภาคม 2560.

บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักกำรและเหตุผล ดว้ ยยุคสมัยน้ีการทาการเกษตรภายใตบ้ รบิ ทการบริหารจดั การเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินของประเทศให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุดนั้น ได้ กลายเป็นหัวใจสาคัญของการจัดการผลผลิตทางการเกษตร ท้ังนี้เพ่ือให้เกิดความสอดคล้องกัน ระหวา่ งผลผลิตกับความต้องการของตลาด สาหรับประเทศไทยมีจุดเริ่มต้นมาตั้งแต่ พ.ศ.2522 โดย การประกาศใช้พระราชบัญญัติเศรษฐกิจการเกษตร พ.ศ.2522 ซ่ึงหลายรัฐบาลท่ีผ่านมาได้พยายาม นานโยบายดังกลา่ วมาใช้ในการบริหารจัดการ เพ่ือให้เกิดความสมดุลระหว่าง อุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) สามารถรักษาเสถียรภาพของระดับราคาและยกระดับรายได้ของเกษตรกรให้ สูงข้ึน โดยที่ผ่านมากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศเขตความเหมาะสมสาหรับการปลูกพืช ปศุสัตว์ ประมง ในแต่ละชนิดพร้อมจัดทาแผนท่ีประกอบจานวน 20 ชนิดสินค้า ได้แก่ พืช 13 ชนิด (ข้าว มันสาปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ามัน อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สับปะรดโรงงาน ลาไย เงาะ ทุเรียน มังคุด มะพร้าว กาแฟ) ปศุสัตว์ 5 ชนิด (โคเน้ือ โคนม สุกร ไก่เนื้อ ไก่ไข่) และประมง 2 ชนิด (กุ้ง ทะเล สัตว์น้าจดื ) โดยแนวทางในการบริหารจัดการ คือ การจดั ทาโครงการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ในเขตพื้นท่ีเหมาะสมและการปรับเปล่ียนระบบการผลิตในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมน้อย โดยเมอ่ื วันที่ 25 มิถนุ ายน 2556 มอบหมายให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สรุปพื้นท่ีเขตเพาะปลูก ข้าวว่ามพี นื้ ทีไ่ มเ่ หมาะสมอยู่ในโซนใดบา้ ง และพ้ืนที่ดังกล่าวมีความเหมาะสมที่จะปรับเปล่ียนไปปลูก พชื ชนิดอ่ืนหรือไม่ ท้งั นตี้ ้องเปน็ ไปภายใต้ความสมัครใจของเกษตรกร รวมท้ังการผลิตต้องคานึงถึงอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) ด้วย ต่อมาวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ได้มีการจัดทาข้อเสนอเพิ่มเติม ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรีในการปรับลดพ้ืนท่ีปลูกข้าว ซ่ึงต่อมาคณะกรรมการนโยบายข้าว แห่งชาติ (กขช.) ได้เห็นชอบแนวทางการบริหารจัดการในเขต Zoning สินค้าเกษตรและพ้ืนที่นอก Zoning โดยพ้ืนท่ีเขต Zoning ที่มีความเหมาะสมสาหรับการปลูกข้าวบริหารจัดการโดยเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิตต่อไร่ พัฒนาคุณภาพข้าวให้มีคุณภาพดี สอดคล้องกับความต้องการของตลาด จัดทาแปลงต้นแบบ จัดระบบการปลูกข้าวในเขตพ้ืนที่ชลประทาน เพื่อป้องกันการระบาดของศัตรูข้าว พ้ืนท่ีนอกเขต Zoning หมายถึง พ้ืนท่ีเหมาะสมน้อยและไม่ เหมาะสมสาหรับการปลูกข้าว ให้ดาเนินการส่งเสริมทางเลือกในการปลูกพืชอ่ืนทดแทน พร้อมทั้งมี การวิเคราะห์เชิงผลตอบแทนการผลิต การตลาด เพื่อให้เกษตรกรพิจารณาเป็นทางเลือกในการ ตัดสินใจปรับเปลีย่ นตามความตอ้ งการของเกษตรกรเอง ต่อมาได้มีการจัดทาแผนที่เกษตรเพ่ือการบริหารจัดการเชิงรุก (Agricultural Map for Dynamic Management : Agri-Map) เพื่อใช้เป็นแผนที่สาหรับบริหารจัดการการเกษตรราย จังหวัดให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคต โดยบูรณาการข้อมูลพื้นฐานด้านการเกษตร จากทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สาหรับใช้เป็นเครื่องมือบริหารจัดการ การเกษตรไทยอย่างมีประสิทธิภาพครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยข้อมูลที่นาเข้าจะประกอบด้วย ข้อมูล ด้านการเกษตรและด้านการพาณิชย์ ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา การวิเคราะห์จาเป็นต้อง คานึงถึงสมดุลของทรัพยากรการผลิต (ดิน น้า พืช) ผลผลิต อุปสงค์ (Demand) และอุปทาน

2 (Supply) รวมทั้งปัจจัยการผลิต จึงจะทาให้สามารถบริหารจัดการสินค้าเกษตรสอดคล้องกับ สถานการณป์ ัจจบุ ันและสามารถคาดการณ์ในอนาคตได้ โดยเฉพาะหากเกษตรกรมีการเปล่ียนแปลง การปลูกพืชท่ีเปล่ียนแปลงไปตามสถานการณ์น้ันๆ ที่สาคัญเป็นการนาเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ กับข้อมลู ดา้ นการเกษตร ซงึ่ สามารถตอบโจทยก์ ารชว่ ยเหลอื และแกป้ ัญหาให้กับเกษตรกรไทยในราย พน้ื ทไี่ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี ดังนน้ั เพื่อเสนอแนะข้อเสนอเชิงนโยบายในการสนับสนุนการปรับเปล่ียนการผลิต สินค้าเกษตรในพื้นที่ไม่เหมาะสมตามแผนที่ Agri-Map เป็นสินค้าทางเลือก สานักงานเศรษฐกิจ การเกษตรที่ 6 จึงได้จัดทาการวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรระดับจังหวัด เพื่อให้มีการผลิตที่ เหมาะสมกับศักยภาพของพืน้ ท่ี เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพผลผลิต และสร้างความสมดุลระหว่าง อปุ สงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) เพอื่ นามาซึ่งคุณภาพชวี ิตท่ีดขี ึ้นของเกษตรกรต่อไป 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1) เพื่อศึกษาตน้ ทนุ และผลตอบแทนสนิ คา้ เกษตรที่มมี ูลค่าสูง 4 อนั ดับ (Top 4) ในจังหวดั สระแกว้ 2) เพ่ือศึกษาความสมดลุ ระหว่างอุปสงค์ อุปทาน (Demand & Supply) สนิ คา้ เกษตรทมี่ ีมูลค่าสูง 4 อันดับ (Top 4 ) และสนิ ค้าทางเลอื ก ใน จงั หวดั สระแกว้ 3) เพื่อเสนอแนะมาตรการในการปรบั เปล่ียนการผลิตสินค้าในพน้ื ท่ีไม เหมาะสมเปน็ สนิ ค้าทางเลือกในระดับพื้นท่ีของจงั หวัดสระแก้ว 1.3 ขอบเขตกำรศกึ ษำ ศึกษาสินคา้ เกษตรทม่ี ีมูลค่าสูง 4 อันดบั (Top 4 ) ได้แก่ ข้าว มนั สาปะหลัง อ้อย โรงงาน มะมว่ ง และสนิ คา้ ทางเลอื ก ครอบคลุมในพนื้ ทจี่ ังหวัดสระแก้ว 1.4 วธิ กี ำรศกึ ษำ/กรอบแนวคิด 1.4.1 กำรวิเครำะห์ควำมเหมำะสมและศกั ยภำพของพื้นที่ โดยการรวบรวมขอ้ มูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลจากแผนที่ Agri-map โดยการประเมิน คุณภาพที่ดิน (Qualitative Land Evaluations) ซ่ึงเป็นการพิจารณาศักยภาพของหน่วยทรัพยากร ที่ดนิ ต่อการใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ ประเภทต่างๆ นอกจากการประเมินทางด้านคุณภาพหรือเรียกอีกอย่าง หน่ึงว่าเป็นการประเมินเชิงกายภาพ การประเมินทางด้านปริมาณหรือด้านเศรษฐกิจ ซึ่งจะให้ คา่ ตอบแทนในรูปผลผลิตที่ได้รับ ตัวเงินในการลงทุน และตัวเงินจากผลตอบแทนท่ีได้รับเป็นส่ิงบ่งชี้ ถึงความเหมาะสม หรือการจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจอย่างแท้จริง ตามแผนที่ความเหมาะสม 4 ระดับ คือ (1) ระดับข้ันที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable : S1) (2) ระดับชั้นที่มีความ เหมาะสมปานกลาง ( Moderately suitable : S2 ) (3) ระดับช้ันท่ีมีความเหมาะสมน้อย ( Marginally suitable : S3 ) และ (4) ระดับชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (N) ว่ามีจานวนพื้นท่ีเท่าใด และอยู่ในพ้ืนที่บริเวณใดบ้าง และนาข้อมูลมาจัดชั้นพ้ืนที่เป็น 2 ระดับ คือ (1) พ้ืนที่ท่ีมีความ เหมาะสมการปลูก ( Suitability : S ) คือ พน้ื ท่ีท่ีมีความเหมาะสมมาก (S1) รวมกับพื้นท่ีช้ันท่ีมีความ เหมาะสมปานกลาง (S2) และ (2) พื้นที่ไม่เหมาะสม (Not suitability : N) คือพื้นที่ที่มีความ เหมาะสมน้อย (S3) และพ้ืนที่ท่ีไม่มีความเหมาะสม (N) ของสินค้าเกษตรท่ีมีมูลค่าสูง 4 อันดับ (Top 4) ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง อ้อยโรงงาน มะม่วง และสินค้าทางเลือก ในจังหวัดสระแก้ว

3 และลงพื้นที่เพ่ือตรวจสอบข้อเท็จจริงในว่าปัจจุบันมีปลูกอยู่มากน้อยเท่าไร และปลูกอยู่ในแต่ละ พื้นที่ระดับความเหมาะสมจานวนเท่าไรของการ ปลูกพืชเศรษฐกิจแต่ละชนิดสินค้าในพ้ืนที่จังหวัด สระแก้วและสารวจพนื้ ทเี่ พื่อยนื ยันข้อมลู ตามแผนท่ี ความเหมาะสม 1.4.2 กรอบแนวคิดตน้ ทนุ และกำรจดั ทำบญั ชสี มดุลสนิ คำ้ เกษตร (Demand &Supply) (1) ทฤษฎีตน้ ทุนกำรผลิตและผลตอบแทน การวิเคราะห์ต้นทุนจะ พิจารณาท้ังต้นทุนที่เป็นเงินสด (Explicit Cost) และต้นทุนท่ีไม่เป็นเงินสด (Implicit Cost) โดย สภาพการผลิตที่เป็นจริงของเกษตรกร ต้นทุนท่ีเป็นเงินสด คือต้นทุนท่ีเกษตรกรจ่ายออกไปจริงเป็น เงนิ สด สว่ นต้นทุนทไี่ ม่เปน็ เงนิ สด คือต้นทนุ ทเ่ี กษตรกรไม่ได้เสียคา่ ใช้จา่ ย แตไ่ ด้ประเมินให้สาหรับค่า ปจั จัยการผลิตและแรงงานที่เปน็ ของเกษตรกรเอง ซึง่ องคป์ ระกอบของต้นทุนการผลิต แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ 1) ต้นทนุ คงที่ (Fixed Cost) เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยทไี่ มเ่ ปลย่ี นแปลงไปตาม ปรมิ าณการผลิตหรอื ไมเ่ ปลี่ยนแปลงแม้ไม่ทาการผลิตเลย ซ่ึงเป็นค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นจากการใช้ปัจจัย คงที่ในการผลิต ประกอบด้วยต้นทุนคงท่ีที่เป็นเงินสด ได้แก่ ค่าเช่าที่ดิน ค่าภาษีที่ดิน เป็นต้น ต้นทุนคงท่ีท่ีไม่เป็นเงินสด เป็นค่าใช้จ่ายท่ีผู้ผลิตไม่ได้จ่ายออกไปจริง เช่น ค่า ใช้ที่ดิน และค่าเสื่อม ราคาอปุ กรณ์ซง่ึ มีอายกุ ารใชง้ านมากกวา่ 1 ปี เปน็ ตน้ สาหรบั การคานวณค่าเสื่อมราคาใช้วิธคี ดิ แบบเส้นตรง (The Straight – Line Method) การคานวณโดยวิธีนีจ้ ะได้ค่าเสื่อมราคาทรพั ยส์ ินตอ่ ปีคงท่เี ทา่ กนั ซ่ึงมีวิธีการคือ คา่ สึกหรอหรือค่าเสื่อมราคาต่อปี = (ราคาทรพั ย์สนิ ที่ซ้อื มา – มูลค่าซาก) อายุการใช้งาน (ปี) 2) ต้นทนุ ผนั แปร (Variable Cost) เปน็ ค่าใช้จา่ ยท่ีเปล่ยี นแปลงไปตาม ปริมาณผลผลิตท่ีได้รับ ซึ่งประกอบด้วย ต้นทุนผันแปรที่เป็นเงินสด เป็นค่าใช้จ่ายในการซ้ือปัจจัย การผลิตต่าง ๆ ค่าจ้างแรงงาน ค่าปุ๋ย เป็นต้น และ ต้นทุนผันแปรที่ไม่เป็นเงินสด เป็นค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับปัจจัยการผลิตท่ีเป็นของตนเอง และได้ประเมินค่าออกมาเป็นเงินสด เช่น ค่าแรงงานใน ครัวเรือนจะประเมนิ คา่ เปน็ เงินสด ตามอตั ราคา่ จา้ งแรงงานในท้องถ่นิ น้ัน) เป็นตน้ สาหรบั การวเิ คราะห์ต้นทุนและรายได้ จะทาใหท้ ราบถงึ กาไรท่ีเกษตรกรจะ ไดร้ บั เพ่ือใช้เปน็ ข้อมูลในการพิจารณาความสาเร็จหรือล้มเหลวในการผลติ โดยมวี ธิ ีการคานวณ ดงั นี้

ต้นทุนท้งั หมด = ต้นทุนคงท่ี 4 ตน้ ทนุ คงท่ี = ค่าใช้ทีด่ ินหรอื ค่าเช่าทีด่ นิ ต้นทุนผนั แปร = ค่าแรงงาน + ตน้ ทุนผนั แปร รายได้ทงั้ หมด = ผลผลิตทัง้ หมด + ค่าเสือ่ มราคาอปุ กรณ์การเกษตร รายไดส้ ุทธิ = รายไดท้ ้ังหมด + คา่ วัสดอุ ปุ กรณ์การเกษตร กาไร = รายไดท้ ้งั หมด x ราคาท่ีเกษตรกรไดร้ ับ - ตน้ ทนุ ผนั แปร - ตน้ ทนุ ท้ังหมด (2) บัญชีสมดลุ สินคำ้ เกษตรและปีกำรตลำด (National Marketing Year) แนวคิดการทาบัญชีสมดุลสินค้าเกษตรมีความใกล้เคียงกับการทาบัญชีสมดุลทาง การเงินท่ัวไปท่ีเรารู้จักกัน ในขณะท่ีบัญชีสมดุลทางการเงินเป็นการทาข้อมูลเกี่ยวกับ “รายรับและ ผลประโยชน์” เท่ากับ “รายจา่ ยและการเสียผลประโยชน์” หรือ “กาไร” เท่ากับ “ขาดทุน” ซ่ึงเป็น การลงข้อมูลเป็นมูลค่าของเงินท่ีเกิดข้ึน บัญชีสมดุลสินค้าเกษตรเป็นการบันทึกปริมาณของสินค้า เกษตร และสามารถจัดทาได้ท้ังในระดับประเทศและระดับจังหวัด ด้านการบันทึกข้อมูลสามารถ จัดทาเป็นได้ทงั้ รายปแี ละรายเดอื น บัญชีสมดุลสินค้าเกษตรน้ันมีองค์ประกอบ 2 ด้าน คือ ด้านอุปทาน (Supply) และดา้ นการนาไปใช้ประโยชน์ (Utilization) และตอ้ งทาใหต้ ัวเลขทง้ั 2 ดา้ นนใ้ี หส้ มดุลหรอื เท่ากัน (1) อปุ ทำน (Supply) = (2) กำรนำไปใชป้ ระโยชน์ (Utilization) โดยท่ี ด้านอุปทาน เป็นผลรวมของ (1) สต็อกต้นปีหรือสต็อกที่ยกมาจากสต็อกปลายปีของปีที่แล้ว (2) การผลิตสินค้าเกษตรในช่วงระยะเวลา 12 เดือน หรือ 1 ปีการตลาด และ(3) การนาเข้าสินค้า จากต่างประเทศในชว่ งระยะเวลา 12 เดือน หรอื 1 ปีการตลาด ดังสมการตอ่ ไปนี้ 1) อปุ ทำน = สตอ็ กตน้ ปี + ปริมำณกำรผลิต + กำรนำเข้ำสนิ ค้ำ และ ด้านการนาไปใช้ประโยชน์ เป็นผลรวมของ (1) การใช้ภายในประเทศ เช่น การบริโภค ช่วง ระยะเวลา 12 เดือน หรือ 1 ปีการตลาด (2) การส่งออกสินค้าไปต่างประเทศในช่วงระยะเวลา 12 เดือน หรือ 1 ปกี ารตลาด และ (3) ปริมาณสต็อกสินค้าเกษตรท่ียังเหลืออยู่ ณ ช่วงเดือนสุดท้ายของ ปกี ารตลาด อาจเรยี กว่า สต็อกปลายปหี รือปลายงวด และจะถูกยกยอดไปเปน็ สตอ็ กต้นปีของปีต่อไป สามารถเขียนสมการไดด้ ังนี้ 2) กำรนำไปใช้ประโยชน์ = กำรใช้ภำยในประเทศ + กำรส่งออกสินคำ้ + สตอ็ กปลำยปี โครงสร้างบัญชีสมดุลสินค้าเกษตรน้ันมีองค์ประกอบหลายอย่าง แม้จะมี องค์ประกอบหลักเหมือนกัน แต่องค์ประกอบย่อยนั้นอาจมีความแตกต่างกันไปตามสินค้าเกษตรแต่ ละชนิด ซ่ึงข้ึนอยู่กับโครงสร้าง ห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตรน้ันๆ อย่างไรก็ตาม จะต้องมี 1 องค์ประกอบท่ที าหน้าทเี่ ปน็ ตัวเศษเหลือ (Residual) และตวั แปรท่ีมักมีการใช้เป็น Residual ในการ ทาบัญชีสมดุลสินค้าเกษตร คือ สต็อกปลายปีหรือสต็อกปลายงวด เน่ืองจาก โดยปกติแล้วจะเป็น องคป์ ระกอบทไ่ี ม่มขี อ้ มลู ตัวเลขทดี่ ี ถกู ตอ้ ง หรอื นา่ เช่อื ถอื ในการนามาใช้

5 อปุ ทาน = สตอ็ กตน้ ปี + ปริมาณการผลติ + การนาเข้าสินคา้ การนาไปใช้ประโยชน์ = การใชภ้ ายในประเทศ + การสง่ ออกสนิ ค้า + สต็อกปลายปี สต็อกตน้ ปี + ปรมิ าณการผลิต + การนาเข้าสนิ ค้า= การใช้ภายในประเทศ + การส่งออกสินคา้ + สตอ็ กปลายปี ดังนั้น สต็อกปลายปี = (สต็อกต้นปี + ปริมาณการผลิต + การนาเข้าสินค้า) – (การใช้ภายในประเทศ + การส่งออกสนิ คา้ ) แต่วิธกี ารดงั กลา่ วน้ี ควรมีขอ้ มูลหรือการประมาณการสต็อกต้นปีที่ดี มีหลักการ และมีความน่าเช่ือถือสาหรับข้อมูลในอดีต ถ้าหากไม่มีตัวเลขดังกล่าว ผู้จัดทาสามารถประมาณการ การเปล่ยี นแปลงทางสตอ็ ก (Stock changes) ไดด้ ังสมการต่อไปน้ี สต็อกตน้ ปี + ปรมิ าณการผลิต + การนาเข้าสินค้า = การใช้ภายในประเทศ + การส่งออกสินค้า + สต็อกปลายปี (สต็อกปลายปี – สต็อกต้นปี) = (ปริมาณการผลิต + การนาเข้าสินค้า) – (การใช้ภายในประเทศ + การสง่ ออกสนิ ค้า) ปริมาณสต็อกทเี่ ปลย่ี นแปลงไป = (ปรมิ าณการผลิต + การนาเข้าสินค้า) – (การใช้ภายในประเทศ + การส่งออกสินคา้ ) 1.4.3. กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อม แนวคดิ การวเิ คราะห์โอกาสทางการผลติ และการตลาด หรือ SWOT เป็นการระบุจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้อจากัดซึ่งมีอิทธิพลต่อการ กาหนดกลยุทธข์ ององคก์ ร โดยรายละเอียดของการวเิ คราะหม์ ี ดงั นี้ (ศิริวรรณ เสรรี ัตน์ 2541, 28) 1) จุดแข็ง (Strengths) หมายถึง การวิเคราะห์การดาเนินงานภายในของ องค์กร เช่น การบริหารงาน การตลาด การวิจัย และพัฒนาเพื่อการพิจารณาถึงจุดแข็งของการ ดาเนินงานภายในองค์กร ท่ีบรรลุความสาเร็จหรือเป็นผลดีมากกาหนดกลยุทธ์ขององค์กร โดยใช้ ประโยชนจ์ ากจุดแขง็ จากการดาเนนิ งานภายในเหลา่ นี้ 2) จุดอ่อน (Weakness) หมายถึง การวิเคราะห์การดาเนินงานภายในด้าน ต่างๆ ขององค์กร ได้แก่ การบริหาร การเงิน การตลาด การผลิต การวิจัย และพัฒนาที่องค์กรไม่ สามารถกระทาได้ดี เพอ่ื พจิ าณาถึงอุปสรรคต่อความสาเร็จขององค์กร องค์กรจะประสบความสาเร็จ ได้ก็ต่อเมือ่ องค์กรทาการกาหนดกลยทุ ธ์ที่สามารถลบล้างหรือปรับปรุงจุดอ่อนของการดาเนินภายใน เหล่านีใ้ หด้ ขี ้นึ 3) โอกำส (Opportunity) หมายถึง สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นประโยชน์ ต่อการดาเนินงานขององค์กร โดยองค์กรจะต้องพิจารณาแนวโน้มการเปล่ียนแปลงของ สภาพแวดล้อมภายนอก ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี การเปลี่ยนของประชากร ค่านิยม และทัศนคติของสมาชิกองค์กร รวมท้ังการแข่งขันจากต่างประเทศที่รุนแรงขึ้น เป็นต้น ปัจจัยเหล่าน้ีอาจทาให้ความต้องการของลูกค้าเปลี่ยนแปลงไป จะทาให้ผลิตภัณฑ์ บริการและกล ยุทธข์ ององค์กรตอ้ งเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย 4) อุปสรรค (Threats) หมายถึง สภาพแวดล้อมภายนอกที่คุกคามต่อการ ดาเนินงานของกลุ่ม เช่น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี การแข่งขัน ความเข้มแข็งของคู่แข่ง และอตั ราดอกเบี้ย เปน็ ต้น

6 เม่ือทาการวเิ คราะหจ์ ดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ขององค์กรแล้ว ขั้นตอ่ ไปเปน็ การสร้างกลยุทธ์ท่ีเป็นทางเลือก ซึ่งทาในขอบเขตจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ขององคก์ ร โดยใช้วิธกี ารที่เรยี กวา่ SWOT Matrix ดงั นี้ SW S+O W+O O การใช้กลยุทธ์ที่อาศัยจุดแข็งเพ่ือสร้างข้อ การใช้กลยุทธ์แก้จุดอ่อนแล้วปรับกลยุทธ์เพ่ือ ได้เปรยี บจากโอกาส สร้างขอ้ ได้เปรยี บจากโอกาส S+T W+T T การใชก้ ลยทุ ธท์ ่อี าศัยจุดแข็งเพ่ือหลีกเล่ียง การใช้กลยุทธ์เพื่อคานึงถึงจุดอ่อนและอุปสรรค อปุ สรรคและเอาชนะให้ได้ โดยใช้กลยุทธ์ตัดทอน เช่น การถอนผลิตภัณฑ์ การเลกิ กิจการ ท้ังน้ี ต้องพิจารณาใช้กลยุทธ์ทั้ง 4 ทางเลือก เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของ เกษตรกรต่อไป 1.5 ประโยชน์ที่คำดจะไดร้ บั ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและมาตรการสนับสนุนในการปรับเปลี่ยนการผลิตสินค้า เกษตรในพน้ื ที่ไมเ่ หมาะสมตามแผนที่ Agri-Map เปน็ สินค้าทางเลือก

บทที่ 2 สภาพทวั่ ไป 2.1 สภาพท่ัวไปของจงั หวดั สระแก้ว 2.1.1 ประวัตคิ วามเป็นมา ช่ือจังหวัดสระแก้ว มีท่ีมาจากชื่อสระน้าโบราณในพ้ืนท่ีอ้าเภอเมืองสระแก้ว ซ่ึงมีอยู่ 2 สระ ในสมัยกรุงธนบุรี ประมาณปี พ.ศ.2324 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เม่ือครั้งทรงเป็น สมเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ กึ เปน็ แมท่ ัพยกไปตีประเทศกัมพูชา (เขมร) ได้แวะพักกองทัพ ท่ีบริเวณสระน้า ทั้งสองแห่งนี้ กองทัพได้อาศัยน้าจากสระใช้สอย ได้ขนานนามสระทั้งสองว่า “สระแก้ว สระขวัญ” และได้ นา้ นา้ จากสระทัง้ สองแหง่ นี้ใชใ้ นการประกอบพิธถี อื นา้ พพิ ัฒน์สัตยา โดยถอื ว่าเปน็ น้าบรสิ ุทธ์ิ สระแก้วเดิมมีฐานะเป็นต้าบล ซึ่งสมัยก่อนทางราชการได้ต้ังเป็นด่านส้าหรับตรวจคนและ สินค้าเข้า และสินค้าออก มีข้าราชการต้าแหน่งนายกองท้าหน้าท่ีเป็นนายด่าน จนถึงปี พ.ศ.2452 ทางราชการจึงได้ยกฐานะข้ึนเป็นก่ิงอ้าเภอ ชื่อว่า “กิ่งอ้าเภอสระแก้ว” ขึ้นอยู่ในการปกครองของอ้าเภอ กบนิ ทรบ์ ุรี โดยใชช้ ือ่ สระน้าเปน็ ชื่อกง่ิ อ้าเภอ ต่อมาเมือ่ วันท่ี 23 กรกฎาคม 2501 ซ่ึงได้มีพระราชกฤษฎีกายก ฐานะข้ึนเป็นอ้าเภอ ชือ่ ว่า “อา้ เภอสระแกว้ ” ขนึ้ อยู่ในการปกครองของจังหวัดปราจีนบุรี และต่อมาเมื่อวันท่ี 1 ธันวาคม 2536 ได้มีพระราชบัญญัติจัดต้ังจังหวัดสระแก้วข้ึน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับพิเศษ เล่มที่ 110 ตอนท่ี 125 ลงวันที่ 2 กันยายน 2536 เป็นผลให้จังหวัดสระแก้ว ได้เปิดท้าการในวันท่ี 1 ธันวาคม 2536 โดยเป็นจงั หวดั ท่ี 74 ของประเทศ 2.1.2 ทตี่ ง้ั และอาณาเขต จังหวัดสระแกว้ เป็นจังหวัดชายแดนดา้ นตะวันออกตอนบนของประเทศ ต้งั อยู่ระหว่างเส้นรุ้ง ท่ี 13 องศา 15 ลิปดา ถึง 14 องศา 15 ลิปดาเหนือ กับประมาณเส้นแวงที่ 101 องศา 45 ลิปดา ถึง 103 องศาตะวันออก อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ 256 กิโลเมตร มีเนื้อท่ีประมาณ 7,195.436 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 4,496,962 ไร่ ทิศตะวันออก ติดกับราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นระยะทางประมาณ 165 กิโลเมตร ใน 4 อา้ เภอ ได้แก่ อ้าเภออรัญประเทศ คลองหาด ตาพระยา และอา้ เภอโคกสูง และมีอาณาเขตดงั นี้ ทศิ เหนอื ติดต่อกับ อ้าเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา และ อ้าเภอละหานทราย จงั หวดั บุรีรมั ย์ ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั อ้าเภอสอยดาว จงั หวัดจันทบรุ ี ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกบั ราชอาณาจกั รกัมพูชา ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั อ้าเภอกบินทร์บรุ ี และนาดี จงั หวัดปราจีนบรุ ี อ้าเภอสนามชัยเขต จงั หวดั ฉะเชิงเทรา

8 ภาพที่ 1 แผนท่จี งั หวดั สระแกว้ 2.1.3 สภาพภูมิประเทศทว่ั ไป สภาพท่ัวไป พื้นที่จังหวัดสระแก้ว โดยส่วนรวม เป็นพ้ืนที่ราบถึงราบสูงและมีภูเขาสูง สลบั ซับซ้อน มรี ะดบั ความสงู จากนา้ ทะเล 74 เมตร กล่าวคอื ดา้ นเหนอื มีเทอื กเขาบรรทัด ซง่ึ เปน็ ตน้ ก้าเนิดของแม่น้าบางประกง มีลักษณะเป็นป่าเขาทึบ ได้แก่ บรเิ วณอทุ ยานแห่งชาตปิ างสดี า เปน็ แหลง่ ต้นน้าลา้ ธาร ด้านใต้ มีลักษณะเป็นที่ราบเชิงเขา มีสภาพเป็นป่าโปร่ง ส่วนใหญ่ถูกบุกรุก แผ้วถางป่าเพ่ือ ท้าการเกษตร ท้าให้เกิดสภาพป่าเส่ือมโทรม ตอนกลางมีลักษณะเป็นท่ีราบ ได้แก่ อ้าเภอวังน้าเย็น อ้าเภอ วงั สมบรู ณ์ เป็นเขตติดต่อจังหวัดจนั ทบุรี ดา้ นตะวันออก ลกั ษณะเป็นทร่ี าบถงึ ราบสงู และมสี ภาพเปน็ ปา่ โปรง่ ท้าไร่นา ดา้ นตะวนั ตก นบั ตงั้ แตอ่ ้าเภอวฒั นานคร มลี ักษณะเปน็ สนั ปันน้า และพ้ืนที่ลาดไปทางอ้าเภอ เมอื งสระแก้ว และอ้าเภออรัญประเทศ เขา้ เขตประเทศกมั พชู า 2.1.4 สภาพภมู ิอากาศ สภาพภูมอิ ากาศแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ฤดูกาล • ฤดรู อ้ น เริ่มต้นแตเ่ ดอื นกุมภาพันธ์-เดอื นเมษายน • ฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม-เดือนตุลาคม ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,296-1,539 มลิ ลเิ มตร • ฤดหู นาว ต้งั แต่เดอื นพฤศจกิ ายน - มกราคม อากาศเย็นและมีหมอกในตอนเชา้

9 อุณหภูมิ อุณหภูมิสูงสุดเฉล่ียรายปีเท่ากับ 37.9 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต้่าสุดเฉล่ีย รายปีเท่ากับ 18.3 องศาเซลเซียส โดยเดือนพฤษภาคมมีค่าอุณหภูมิสูงสุด เฉล่ีย 41.4 องศาเซลเซียส และ ตา้่ สดุ ในเดือนมกราคม เฉลยี่ 11.6 องศาเซลเซยี ส อุณหภมู ิโดยเฉลย่ี 27.5-28.78 องศา ปริมาณน้าฝน ปริมาณน้าฝนรวมตลอดปี 1,359.4 มิลลิเมตร โดยเดือนกันยายนมีฝนตก มากท่ีสุดในรอบปี ปริมาณเฉล่ีย 284.8 มิลลิเมตร และฝนตกน้อยที่สุดในเดือนมกราคม ปริมาณเฉล่ีย 3.6 มลิ ลิเมตร รวมจ้านวนวันที่มีฝนตกตลอดท้ังปี 124 วัน 2.1.5 การแบ่งเขตการปกครอง จังหวัดสระแก้ว ประกอบด้วย 9 อ้าเภอ ได้แก่ อ้าเภอเมือง อ้าเภอคลองหาด อ้าเภอ ตาพระยา อ้าเภอวงั นา้ เย็น อ้าเภอวัฒนานคร อา้ เภออรัญประเทศ อา้ เภอเขาฉกรรจ์ อ้าเภอโคกสูง และอ้าเภอ วังสมบูรณ์ รวม 58 ต้าบล 731 หมู่บ้าน เทศบาลเมือง 3 แห่ง เทศบาลต้าบล 13 แห่ง และองค์การบริหาร ส่วนต้าบล (อบต.) 49 แห่ง ตารางที่ 1 จา้ นวนอ้าเภอ ตา้ บล หมูบ่ า้ น เทศบาล อบต. จังหวดั สระแก้ว ปี 2558 อาเภอ เน้อื ที่ (ตร.กม.) ตาบล หมบู่ า้ น เทศบาล เทศบาลตาบล อบต. เมือง อา้ เภอเมอื งสระแกว้ 1,832.550 8 123 2 8 7 71 1 1 6 อ้าเภอคลองหาด 417.082 5 64 - 1 5 4 84 - - 3 อา้ เภอตาพระยา 642.345 11 115 1 1 11 12 114 - 4 8 อา้ เภอวงั น้าเยน็ 325.050 4 71 1 1 4 4 41 - 1 3 อ้าเภอวฒั นานคร 1,560.122 3 48 - 2 1 58 731 - 13 49 อ้าเภออรัญประเทศ 821.265 3 อา้ เภอเขาฉกรรจ์ 774.310 อา้ เภอโคกสูง 439.700 อา้ เภอวังสมบรู ณ์ 383.500 รวมทงั้ ส้นิ 7,195.924 ทมี่ า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

10 ตารางท่ี 2 จา้ นวนประชากรจังหวดั สระแกว้ ประจ้าปี พ.ศ.2558 อาเภอ ชาย หญงิ รวม ครัวเรือน อ้าเภอเมอื งสระแกว้ 43,580 42,715 86,295 26,308 - เทศบาลเมอื งสระแก้ว 8,697 9,196 17,893 10,492 - เทศบาลต้าบลท่าเกษม 1,670 1,890 3,560 1,404 - เทศบาลต้าบลศาลาลา้ ดวน 1,250 1,302 2,552 1,106 อา้ เภอวัฒนานคร 37,990 37,391 75,381 24,791 - เทศบาลตา้ บลวฒั นานคร 2,783 3,160 5,943 2,854 อา้ เภออรญั ประเทศ 35,376 36,075 71,451 31,077 - เทศบาลเมอื งอรญั ประเทศ 8,812 7,645 16,457 10,247 อ้าเภอตาพระยา 26,936 26,662 53,598 14,489 - เทศบาลต้าบลตาพระยา 1,440 1,420 2,860 1,082 อ้าเภอวงั นา้ เย็น 21,273 20,892 42,165 14,082 - เทศบาลเมอื งวังนา้ เย็น 10,556 10,866 21,422 8,852 อา้ เภอวังสมบูรณ์ 12,771 12,678 25,449 9,471 - เทศบาลต้าบลวงั สมบรู ณ์ 5,202 5,328 10,530 4,500 อ้าเภอเขาฉกรรจ์ 26,044 25,541 51,585 14,940 - เทศบาลตา้ บลเขาฉกรรจ์ 2,461 2,513 4,974 2,111 อา้ เภอคลองหาด 19,106 18,861 37,967 12,352 อ้าเภอโคกสูง 13,419 13,421 26,840 7,510 รวม 279,366 277,556 556,922 197,668 ทีม่ า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 2.1.6 เศรษฐกิจจังหวดั สระแกว้ ปี พ.ศ. 2558 จังหวัดสระแก้ว มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ ณ ราคา ประจ้าปี (Gross Provincial Product at Current Market Prices Chain Volume Measures ) จ้านวน 36,614.58 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจาก ปี พ.ศ.2557 จ้านวน 1,602.78 ล้านบาท หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 4.58 และเพ่ิมข้ึนจาก ปี พ.ศ.2548 จ้านวน 17,612.81 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 92.69 และในปี พ.ศ.2558 จังหวัดสระแก้วมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร ณ ราคาประจ้าปี จ้านวน 10,662.84 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจากปี พ.ศ.2557 จ้านวน 342.91 ล้านบาท หรือเพิ่มข้ึนร้อยละ 3.32 และเพ่ิมข้ึนจาก ปี พ.ศ.2548 จา้ นวน 5,049.08 ลา้ นบาท หรือเพ่ิมข้นึ รอ้ ยละ 89.94 สา้ หรับรายได้ต่อหัว (GDP per capita) ปีพ.ศ. 2558 จงั หวัดสระแกว้ มรี ายได้ตอ่ คน 60,572.98 บาท/คน/ปี เพิม่ ขึน้ จากปี พ.ศ.2557 จ้านวน 1,726.70 บาท/คน/ ปี หรอื เพมิ่ ขึน้ ร้อยละ 2.92 และเพิ่มข้ึนจาก ปี พ.ศ.2548 จ้านวน 24,599.63 บาท/คน/ปี หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 68.38

11 ภาพที่ 2 : ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัดสระแกว้ ปี 2558 GPP เกษตร, 10,662.84 , 22.55% GPP จังหวดั , 36,614.58 , 77.45% แหลง่ ขอ้ มูล : ส้านกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) ปี 2558 จังหวัดสระแก้ว มีมูลค่าเพ่ิมผลิตภัณฑ์มวลรวมในภาคเกษตร ณ ราคาประจ้าปี จา้ นวน 10,662.84 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นสาขาเกษตร 10,545.17 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 98.90 และ สาขาประมง มีมลู ค่า 117.67 ล้านบาท หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 1.10 ของมูลคา่ เพ่ิม โดยสินค้าเกษตรท่ีมูลค่าเพิ่ม สูงสุด ได้แก่ มันส้าปะหลัง ซึ่งมีมูลค่าเพิ่ม 2,549 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 23.91 รองลงมา คือ ข้าว มมี ูลค่าเพ่ิม 1,808 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 16.96 อ้อยโรงงาน มูลค่าเพ่ิม 1,086 ล้านบาท ( 10.18%) สุกร มีมูลค่า 390 ลา้ นบาท (3.66%) โคเนื้อ มูลค่าเพ่ิม 297 ล้านบาท (2.79%) มะม่วง มูลค่าเพ่ิม 249 ล้าน บาท (2.34%) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มูลค่าเพิ่ม 224 ล้านบาท (2.1%) น้านมดิบ 198 ล้านบาท (1.86%) และ ยางพารา มูลค่าเพิม่ 197 ล้านบาท (1.85%)

12 ภาพที่ มลู ค่าเพ่ิมผลติ ภณั ฑม์ วลรวมสนิ ค้าทสี่ า้ คัญในภาคเกษตรแก้ว ปี ลา้ นบาท ล้านบาท ลา้ นบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 2.1.7 ภาวะเศรษฐกิจสังคมครวั เรอื นเกษตรกร (Socio) ในปีเพาะปลูก 2558/59 (1 พฤษภาคม 2558 - 30 เมษายน 2559) ครัวเรือนในจังหวัด สระแก้วมีครัวเรือนทั้งหมด 197,668 ครัวเรือน โดยมีครัวเรือนเกษตร 53,221 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 29.92 ของครัวเรือนทั้งหมด อายุเฉลี่ยหัวหน้าครัวเรือน 55.65 ปี ขนาดครัวเรือน มีขนาด 4.44 คนต่อ ครัวเรือน และมีแรงงานเกษตรท่ีอยู่ในช่วงอายุ 15-64 ปี เฉลี่ยครัวเรือนละ 3.32 คนต่อครัวเรือน ซึ่งต้องดูแล พื้นที่ถือครองหรือขนาดฟาร์มเฉล่ียครัวเรือนละ 35.77 ไร่ต่อครัวเรือน ซึ่งนับว่ามีปริมาณเฉล่ียต่อคนมาก พอสมควร โดยนา้ รายได้และรายจา่ ยในกจิ กรรมการผลติ ทางการเกษตรของครัวเรือนเป็นข้อมูลพื้นฐาน เพอื่ คา้ นวณหารายได้เงินสดสุทธิจากกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรของครัวเรือน ทั้งน้ีเพื่อเป็นเคร่ืองชี้วัดว่า ในรอบปีเกษตรกรที่ประกอบกิจกรรมการผลิตด้านการเกษตรมีผลตอบแทนจากกิจกรรมการผลิตอันน้ามาซึ่ง องค์ประกอบของรายได้ของครัวเรอื น (1) รายได้เงินสดทางการเกษตรของครัวเรอื นเกษตร ครัวเรือนเกษตรเป็นหน่วยกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรที่ส้าคัญซ่ึงประกอบด้วยกิจกรรม ทางด้านพืช สัตว์ และอืน่ ๆ ครวั เรือนเกษตรในจงั หวัดสระแกว้ มรี ายได้เงินสดทางการเกษตรเฉล่ียครัวเรือนละ 159,915 บาทตอ่ ครวั เรอื น (2) รายจา่ ยเงินสดทางการเกษตรของครัวเรอื นเกษตร รายจ่ายเงินสดทางการเกษตรของครัวเรือนเกษตรจังหวัดสระแก้ว แยกวิเคราะห์ออก เป็น 2 กิจกรรม ได้แก่ รายจ่ายเงินสดทางด้านพืช และรายจ่ายเงินสดทางด้านปศุสัตว์ องค์ประกอบรายจ่ายเงินสด ของครัวเรือนเกษตรจะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มได้แก่ ค่าใช้จ่ายแรงงานและค่าใช้จ่ายวัสดุอุปกรณ์การเกษตรใน การด้าเนนิ งานทง้ั นี้ครัวเรือนเกษตรในจงั หวดั สระแกว้ มรี ายจา่ ยเฉล่ีย 85,843 บาทต่อครัวเรอื น (3) รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรของครวั เรือนเกษตร ครัวเรือนเกษตรเป็นหน่วยกิจกรรมการผลิตทางการเกษตรท่ีส้าคัญซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม ทางด้านพืช ปศุสัตว์และอ่ืน ๆ ครัวเรือนเกษตรจังหวัดสระแก้วมีรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรเฉล่ีย ครัวเรอื นละ 74,072 บาทต่อครัวเรอื น

13 (4) สถานภาพทางเศรษฐกิจของครวั เรือนเกษตร การพิจารณาสถานภาพทางเศรษฐกิจของครัวเรือนเกษตรนอกจากจะพิจารณาจากรายได้เงิน สดสุทธิทค่ี รวั เรอื นไดร้ ับทงั้ จากกิจกรรมทางการเกษตรและกิจกรรมนอกการเกษตรมาพิจารณาแล้วจ้าเป็นต้อง น้าค่าใช้จ่ายในการบริโภคมาร่วมพิจารณาด้วยเพ่ือดูว่าในรอบปีที่ผ่านมาเกษตรกรได้รับผลตอบแทนจาก กิจกรรมทางเศรษฐกิจของครัวเรือนมากกว่าหรือนอ้ ยกวา่ การใช้จ่ายเพอื่ การบริโภคของครัวเรอื น ครัวเรือนเกษตรในจังหวัดสระแก้ว มีรายได้เงินสดเกษตรมากกว่ารายจ่ายเงินสดสุทธิ ครัวเรือนเฉล่ียครัวเรือนละ 74,072 บาท และเม่ือพิจารณาด้านรายได้สุทธิครัวเรือนต่อคนต่อปี เกษตรกรใน จังหวัดสระแก้วมีรายได้สุทธิครัวเรือนเฉล่ีย 211,282 บาทต่อครัวเรือนต่อปี และมีรายได้เฉลี่ย 64,269 บาท ตอ่ คนตอ่ ปี ตารางท่ี 3 ภาวะเศรษฐกิจสงั คมครวั เรือน จงั หวดั สระแกว้ ปี 2558/59 รายการ จานวน หนว่ ย 1. ครัวเรอื นเกษตร 53,221 ครวั เรอื น - ประชากรเกษตรในชว่ งปีเพาะปลกู 236,300 คน - ประชากรแรงงานเกษตร อายุ 15-64 ปี 176,693 คน 2. อายเุ ฉล่ียหัวหนา้ ครวั เรอื น 55.65 ปี 3. เพศหัวหนา้ ครวั เรอื น 100.00 ร้อยละ - ชาย 72.67 ร้อยละ - หญงิ 27.33 รอ้ ยละ 4. ขนาดครัวเรอื น 4.44 คน/ครวั เรือน 5. ขนาดแรงงาน 15- 64 ปี 3.32 คน/ครัวเรือน 6. ขนาดเนอ้ื ที่ถือครอง 35.77 ไร่/ครวั เรอื น 7. รายไดเ้ งินสดเกษตร(บาท/ครวั เรอื น) 159,915 บาท/ครัวเรือน/ปี ทางพชื 141,762 บาท/ครัวเรอื น/ปี ทางสตั ว์ 16,451 บาท/ครัวเรอื น/ปี รายได้เงนิ สดเกษตรอืน่ ๆ (ไมร่ วมเงินชว่ ยเหลอื ด้านการเกษตร) 1,703 บาท/ครัวเรอื น/ปี 8. รายจา่ ยเงนิ สดเกษตร ( บาท / ครัวเรอื น ) 85,843 บาท/ครัวเรือน/ปี ทางพืช 64,776 บาท/ครัวเรอื น/ปี ทางสตั ว์ 3,380 บาท/ครัวเรอื น/ปี รายจ่ายเงนิ สดเกษตรอื่นๆ 17,687 บาท/ครัวเรอื น/ปี ตวั ชว้ี ัดการประกอบการผลิตทางเกษตร 9. รายไดเ้ งนิ สดสทุ ธเิ กษตร (Net cash farm income) 74,072 บาท/ครวั เรือน/ปี 10. รายไดเ้ งนิ สดนอกการเกษตร 137,209 บาท/ครวั เรอื น/ปี ตัวชวี้ ัดเศรษฐกิจครวั เรือนเกษตร 11. รายได้เงนิ สดสุทธิครัวเรอื น(Net cash family income) 211,282 บาท/ครวั เรอื น/ปี 12. รายจา่ ยเงนิ สดนอกการเกษตร 1,008 บาท/ครวั เรือน/ปี 13. รายจา่ ยเงนิ สดการบริโภคและอุปโภค 119,048 บาท/ครัวเรอื น/ปี 14. เงินสดคงเหลอื กอ่ นหกั ช้าระหน้ี 91,226 บาท/ครัวเรือน/ปี 15. รายจา่ ยเงินสดครัวเรือน(บริโภค-อปุ โภค)(Per capital income) 26,813 บาท/คน/ปี 16. สัดสว่ นรายได้เงนิ สดสุทธิเกษตร/รายได้เงินสดสทุ ธคิ รวั เรือน 35.06 ร้อยละ 17. รายไดส้ ทุ ธเิ กษตร ( Net farm income) 74,072 บาท/ครัวเรือน/ปี 18. รายไดส้ ุทธคิ รวั เรือน ( Net family income) 211,282 บาท/ครัวเรอื น/ปี 19. รายไดส้ ุทธคิ รวั เรือนต่อคน(บาท/คน/ปี)(Per capital income) 64,269 บาท/คน/ปี ที่มา : จากการส้ารวจ

14 2.2 การใช้ท่ดี นิ ของจังหวัดสระแก้ว จากการค้านวณด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ตามโครงการ Agri-Map-online ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ( http://agri-map-online.moac.go.th/ ข้อมูลการใช้ท่ีดิน กรมพัฒนาท่ีดิน ) ปี 2558 – 2559 จังหวดั สระแก้ว พบวา่ มพี ้นื ทร่ี วม 4,259,317 ไร่แยกเปน็ พ้ืนท่ีปลูกพืชไร่มากท่ีสุด คือมีพ้ืนที่ ประมาณ 1,154,503 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 27.10 ของพื้นที่ทั้งหมด รองลงมา พ้ืนท่ีป่า 1,013,754 ไร่ (23.80%) พื้นท่นี า 956,291 ไร่ (22.45%) ไม้ยืนต้น 683,069 ไร่ (16.03%) พ้ืนที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง 214,890 ไร่ (5.04%) ไมผ้ ล 78,557 ไร่ (1.84%) พื้นที่น้า 76,058 ไร่ (1.78%) พื้นท่ีเบ็ดเตล็ด 61,775 ไร่(1.45%) ทุ่งหญ้าและโรงเรือนเล้ียงสัตว์ 12,364 ไร่ (0.29%) พ้ืนท่ีลุ่ม 5,945 (0.13%) พืชสวน 1,203 ไร่ (0.02%) สถานท่เี พาะเลยี้ งสัตวน์ ้า 899 ไร่ (0.02%) พชื นา้ 9 ไร่ (0.00%) ภาพท่ี 5 แผนท่ีการใชท้ ด่ี ินจังหวดั สระแกว้ ปี 2558  ตาพระยา  เมอื ง  วัฒนานคร  โคกสงู  เขาฉกรรจ์  อรญั ประเทศ  วงั น้าเย็น  คลองหาด  วงั สมบูรณ์ 2.2.1 พืน้ ท่ีเพาะปลูกพชื เศรษฐกจิ จงั หวัดสระแก้ว จงั หวัดสระแก้ว มีพน้ื ที่เพาะปลกู พืชเศรษฐกจิ รวมพ้ืนท่ีประมาณ 2,072,841 ไร่ โดยพืชเศรษฐกิจท่ี ส้าคัญและปลูกมากที่สุดของจังหวัดสระแก้ว ได้แก่ ข้าว ซ่ึงมีพ้ืนท่ีปลูก 853,992 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 41.19 ของพื้นที่ รองลงมาได้แก่ มันส้าปะหลัง พื้นท่ีปลูก 650,022 ไร่ หรือร้อยละ 31.35 อ้อยโรงงาน

15 พื้นที่ปลูก 384,774 ไร่ หรือร้อยละ 18.56 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 112,477 ไร่ หรือร้อยละ 5.42 ยางพารา พ้ืนท่ีปลูก 66,184 ไร่ หรือร้อยละ 3.19 ปาล์มน้ามัน พื้นท่ีปลูก 2,590 ไร่ หรือร้อยละ 0.12 ล้าไย 2,488 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.12 มะพร้าว มีพ้ืนที่ปลูก 244 ไร่ หรือร้อยละ 0.01 และไม้ผลต่าง ๆ ทุเรียน เงาะ มังคดุ มพี ้นื ทปี่ ลูก 70 ไร่ (0.00%) ตารางที่ 4 พื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจจังหวดั สระแกว้ ประเภท เนอื้ ท่ี (ไร่) รอ้ ยละ หมายเหตุ ขา้ ว 853,992 41.19 มนั ส้าปะหลงั 650,022 31.35 ออ้ ย 384,774 18.56 ข้าวโพด 112,477 5.42 ยางพารา 66,184 3.19 ปาลม์ น้ามนั 2,590 0.12 ลา้ ไย 2,488 0.12 มะพรา้ ว 244 0.01 ทเุ รยี น เงาะ มงั คุด 70 0 แหล่งขอ้ มลู http://agri-map-online.moac.go.th ข้อมูลการใชท้ ีด่ ิน กรมพัฒนาทด่ี นิ (2558) ภาพที่ 6 แผนท่ีการปลกู พืชเศรษฐกิจจังหวดั สระแกว้ ปี 2558  ตาพระยา  เมอื ง  วฒั นานคร  โคกสูง  เขาฉกรรจ์  อรัญ ประเทศ  วังน้าเย็น  คลองหาด  วงั สมบรู ณ์

16 2.2.2 สนิ ค้าเกษตรทส่ี าคัญของจงั หวดั สระแกว้ Top 4 (1) ข้าว (1.1) สถานการณก์ ารผลติ ในปจั จุบนั ข้าวนาปีเป็นพืชเศรษฐกิจที่ท้ารายได้เป็นอันดับที่ 2 ของจังหวัดสระแก้ว โดยมีมูลค่าใน ปี พ.ศ.2558 จ้านวน 1,808 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 21.87 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ภาคเกษตร จากข้อมูลศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2559 คาดว่าจังหวัด สระแก้วจะ มีพ้ืนท่ีเพาะปลูก จ้านวน 749,379 ไร่ เพ่ิมข้ึน 44,155 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.26 พ้ืนที่เก็บเก่ียว จ้านวน 726,656 ไร่ เพิ่มขน้ึ 43,387 ไร่ หรอื เพิม่ ขึ้นร้อยละ 6.35 ผลผลิต 236,127 ตัน เพ่ิมข้ึน 20,190 ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.35 ผลผลิตเฉล่ีย 325 กิโลกรัมต่อไร่ ผลิตต่อไร่เพ่ิมข้ึน 9 กิโลกรัมต่อไร่ หรือเพิ่มข้ึน ร้อยละ 2.85 แหลง่ ขอ้ มูล : ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร ส้านักงานเศรษฐกจิ การเกษตร (1.2) สถานการณ์การผลิตตามระดบั ความเหมาะสมของพนื้ ท่ี จากข้อมูลกรมพัฒนาท่ีดิน (2558) http://agri-map-online.moac.go.th มี พ้ืนที่ความเหมาะสม (S) ในการปลูกข้าวท้ังหมด 988,253 ไร่ แบ่งเป็นพ้ืนที่ความเหมาะสมสูง (S1) จ้านวน 183,973 ไร่ และพน้ื ท่ีความเหมาะสมปานกลาง (S2) จา้ นวน 804,280 ไร่ และประมาณการว่าพ้ืนท่ีปลูกข้าว จงั หวัดสระแกว้ มีจ้านวน 853,993 ไร่ ปลกู ในพนื้ ทคี่ วามเหมาะสมสูง (S1) จา้ นวน 54,007 ไร่ ปลูกพื้นท่ีความ เหมาะสมปานกลาง (S2) จา้ นวน 501,878 ไร่ รวมปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสม (S) จ้านวน 555,885 ไร่ หรือ คิดเป็นร้อยละ 65.09 ของพื้นที่ปลูก ปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสมน้อย (S3) จ้านวน 39,136 ไร่ หรือคิดเป็น ร้อยละ 4.58 และปลูกในพื้นท่ีไม่เหมาะสม (N) จ้านวน 258,972 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 30.33 รวมปลูกใน พน้ื ทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) จ้านวน 298,108 ไร่ หรอื คิดเปน็ รอ้ ยละ 34.91 ของพน้ื ทป่ี ลกู ภาพท่ี 8 พื้นที่ความเหมาะสมในการปลูกขา้ วจงั หวัดสระแก้ว  ตาพระยา

17 ภาพท่ี 9 พื้นท่ีปลูกขา้ วตามระดบั ความเหมาะจังหวัดสระแก้ว  ตาพระยา  วฒั นานคร  เมือง  โคกสูง  เขาฉกรรจ์  อรัญประเทศ  วังนา้ เยน็ ประเทศ  วังสมบูรณ์  คลองหาด แหลง่ ข้อมลู : ข้อมลู กรมพฒั นาทีด่ นิ (2558) http://agri-map-online.moac.go.th

ตารางท่ี 5 พื้นทปี่ ลูกข้าวตามระดับความเหมาะสมของพ้ืนท่ี จังหวัดสระแกว้ อาเภอ พ้ืนทเ่ี หมาะสมสูง เหมาะสมปานกลาง (S1) (S2) Suitability Existing คงเหลอื Suitability Existing คงเหลือ เมอื ง 3,099 1,182 1,917 145,908 60,937 84,971 วัฒนานคร 9,141 4,935 4,206 166,856 106,767 60,089 วงั สมบูรณ์ 49,235 988 48,247 3,580 1,060 2,520 ตาพระยา 48,048 37,952 10,096 228,235 143,571 84,664 คลองหาด 49,259 811 48,448 3,132 2,241 891 วงั นา้ เย็น 14,919 3,140 11,779 21,035 8,003 13,032 เขาฉกรรจ์ 10,030 4,757 5,273 31,902 12,435 19,467 อรัญประเทศ 242 242 186,008 154,022 31,986 โคกสูง 0 17,624 12,842 4,782 รวม 183,973 54,007 129,966 804,280 501,878 302,402 แหล่งขอ้ มลู : ขอ้ มลู กรมพัฒนาที่ดิน (2558) http://agri-map-online.moac.go.th

18 รวมพนื้ ทเี่ หมาะสม พนื้ ท่ี พ้ืนทไ่ี ม่ รวมพน้ื ท่ีไม่ (S) เหมาะสม เหมาะสม (N) Suitability Existing คงเหลือ นอ้ ย S3) เหมาะสม (N) Existing 1 149,007 62,119 86,888 80,110 9 175,997 111,702 64,295 Existing Existing 60,756 0 52,815 2,048 50,767 5,349 4 276,283 181,523 94,760 26,390 53,701 16,208 1 52,391 3,052 49,339 11,807 2 35,954 11,143 24,811 1,318 59,437 31,644 7 41,932 17,192 24,740 49,141 6 186,250 154,264 31,986 5,349 38,133 2 17,624 12,842 4,782 4,997 2 988,253 555,885 432,368 16,208 298,113 11,807 31,644 8,675 40,453 2,176 35,956 577 4,417 39,136 258,972

19 ภาพที่ 10 พ้นื ทป่ี ลูกขา้ วตามระดับความเหมาะสมในอ้าเภอต่างๆ ของจงั หวดั สระแกว้ 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0 -50,000 -100,000 (S) Suitability (S) Existing (S) (S3) Existing (N) Existing (2) มนั สาปะหลงั (2.1) สถานการณก์ ารผลิต มันส้าปะหลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่ท้ารายได้เป็นอันดับที่ 1 ของจังหวัด สระแก้วโดยมีมูลค่าใน ปี พ.ศ. 2558 จ้านวน 2,549 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 23.91 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมในภาคเกษตร จากข้อมูลศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2560 คาดว่า จังหวัดสระแก้วจะมีพ้ืนท่ีเก็บเกี่ยวในจ้านวน 380,095 ไร่ ผลผลิต 1,358,079 ตัน ผลผลิตเฉล่ีย 3,573 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ โดยมพี นื้ ทเ่ี ก็บเกีย่ วเพม่ิ ข้นึ จากปี 2559 จ้านวน 139,465 ไร่ หรือเพ่ิมข้ึนร้อยละ 1.57 ผลผลิต เพ่ิมขนึ้ 49,119 ตนั หรอื เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.75 และผลผลิตตอ่ ไรเ่ พ่ิมข้ึน 94 กิโลกรัมต่อไร่ หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 2.70 ภาพที่ 11 : เนือ้ ท่เี กบ็ เกี่ยว ผลผลติ ผลติ ตอ่ ไร่ มนั ส้าปะหลงั จงั หวดั สระแกว้ ปี 2550 2560 1,800,000 4,000 1,600,000 3,500 1,400,000 3,000 1,200,000 2,500 1,000,000 2,000 1,500 800,000 1,000 600,000 500 400,000 0 200,000 0 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 เน้ือท่เี กบ็ เกยี่ ว (ไร)่ ผลผลิต (ตัน) ผลผลติ ตอ่ ไร่ (กก./ไร่) แหลง่ ขอ้ มลู : ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร สา้ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

20 (2.2) สถานการณก์ ารผลติ ตามระดบั ความเหมาะสมของพ้นื ท่ี จากข้อมูลกรมพัฒนาที่ดิน (2558) http://agri-map-online.moac.go.th มพี ้นื ท่คี วามเหมาะสม (S) ในการปลูกมันสา้ ปะหลงั รวมท้งั หมด 1,795,635 ไร่ แบง่ เป็นพื้นท่คี วามเหมาะสมสูง (S1) จา้ นวน 324,830 ไร่ และพ้นื ทคี่ วามเหมาะสมปานกลาง (S2) จ้านวน 1,470,805 ไร่ และประมาณการ ว่าพื้นที่ปลูกมันส้าปะหลังจังหวัดสระแก้วมีจ้านวน 650,021 ไร่ ปลูกในพ้ืนที่ความเหมาะสูง (S1) จ้านวน 73,623 ไร่ พ้ืนที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) จ้านวน 410,505 ไร่ รวมปลูกในพื้นที่ความเหมาะสม (S) จ้านวน 484,128 ไร่ หรือคิดเป็น ร้อยละ 74.48 ของพื้นที่ปลูก ปลูกในพื้นที่ความเหมาะสมน้อย (S3) จ้านวน 138,617 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 21.33 และปลูกในพืน้ ทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) จ้านวน 27,276 ไร่ หรือคิด เป็นร้อยละ 4.20 รวมปลูกในพ้ืนท่ีไม่เหมาะเหมาะสม (N) จ้านวน 165,893 ไร่ หรือคิดเป็น ร้อยละ 25.52 ของพน้ื ท่ปี ลูก ภาพท่ี 12 พื้นทคี่ วามเหมาะสมในการปลูกมันส้าปะหลงั จังหวัดสระแกว้  ตาพระยา  วัฒนานคร  เมอื ง  โคกสงู  เขาฉกรรจ์  อรัญประเทศ  คลองหาด  วงั น้าเย็น  วังสมบูรณ์

21 ภาพท่ี 13 พน้ื ท่ปี ลูกมันสา้ ปะหลงั ตามระดับความเหมาะจงั หวดั สระแก้ว  เมือง  วฒั นานคร  ตาพระยา  โคกสงู  อรญั ประเทศ  เขาฉกรรจ์  วังน้าเย็น  คลองหาด  วังสมบูรณ์ แหล่งขอ้ มลู : ขอ้ มลู กรมพฒั นาท่ดี นิ (2558) http://agri-map-online.moac.go.th ภาพที่ 14 พื้นท่ีการปลกู มนั สา้ ปะหลงั ตามระดบั ความเหมาะสมในอ้าเภอต่างๆ ของจงั หวดั สระแกว้ 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0 -50,000 -100,000 (S) Suitability (S) Existing (S) (S3) Existing (N) Existing

ตารางท่ี 6 พน้ื ท่ปี ลูกมันส้าปะหลงั ตามระด พ้ืนทเ่ี หมาะสมสูง เหมาะสมปานกลาง อาเภอ (S1) (S2) Suitability Existing คงเหลอื Suitability Existing คงเหลือ เมอื ง 30,915 6,179 24,736 290,196 101,777 188,419 วฒั นานคร 25,448 7,032 18,416 289,878 66,494 223,384 วงั สมบรู ณ์ 139,276 54,350 84,926 - - ตาพระยา - - - 204,267 80,338 123,929 คลองหาด 876 69 807 201,361 65,486 135,875 วงั นา้ เย็น - - - 125,477 34,160 91,317 เขาฉกรรจ์ 7,674 1,099 6,575 161,157 35,820 125,337 อรญั ประเทศ 91,566 3,001 88,565 158,083 19,551 138,532 โคกสูง 29,075 1,893 27,182 40,386 6,879 33,507 รวม 324,830 73,623 251,207 1,470,805 410,505 1,060,300 แหลง่ ขอ้ มูล : ข้อมลู กรมพัฒนาท่ีดิน (2558) http : //agri-map-online.moac.go.th

22 ดับความเหมาะสมของพนื้ ที่ จงั หวดั สระแกว้ รวมพื้นท่ีเหมาะสม พ้ืนที่เหมาะ พื้นทไ่ี ม่ รวมพ้ืนท่ีไม่ (S) สมนอ้ ย (S3) เหมาะสม (N) เหมาะสม (N) Suitability Existing คงเหลอื Existing Existing Existing 9 321,111 107,956 213,155 4 315,326 73,526 241,800 23,061 12,870 35,931 - 139,276 54,350 84,926 27,797 9 204,267 80,338 123,929 20,782 7,015 39,380 5 202,237 65,555 136,682 10,166 7 125,477 34,160 91,317 38,994 386 12,700 7 168,831 36,919 131,912 18,712 2 249,649 22,552 227,097 5,573 4,593 9,912 7 69,461 8,772 60,689 5,327 0 1,795,635 484,128 1,311,507 12,553 147 5,968 165,893 h 17,610 1,102 8,785 1,127 5,291 36 5,968 - 138,617 27,276

23 (3) ออ้ ยโรงงาน (3.1) สถานการณก์ ารผลติ ในปจั จบุ ัน อ้อยโรงงานเป็นพืชเศรษฐกิจทที่ ้ารายได้เปน็ อนั ดบั ที่ 3 ของจังหวัดสระแก้ว โดยมีมูลค่าใน ปี พ.ศ.2558 จ้านวน 1,086 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 10.18 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ในภาคเกษตร จากข้อมูลศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2559 คาดว่าจังหวัด สระแก้ว มีพ้ืนท่ีเก็บเกี่ยว จ้านวน 359,074 ไร่ เพ่ิมขึ้นจากปี 2558 จ้านวน 33,832 ไร่ หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.22 และคาดว่าจะมีผลผลิต จ้านวน 3,371,704 ตัน เพมิ่ ข้นึ จากปี 2558 จา้ นวน 317,851 ตนั หรือเพ่ิมขึ้น ร้อยละ 9.42 ผลผลิตเฉลี่ย 11,000 กิโลกรัมต่อไร่ โดยผลิตต่อไร่ลดลง 180 กิโลกรัมต่อไร่ หรือลดลงร้อยละ 21.61 เนอ่ื งประสบปัญหาภัยแล้ง ภาพท่ี 15 : เน้อื ท่เี กบ็ เก่ยี ว ผลผลติ ผลติ ต่อไร่ อ้อยโรงงาน จังหวัดสระแก้ว ปี 2549 2559 4,000,000 12,000 3,000,000 10,000 2,000,000 8,000 1,000,000 6,000 4,000 0 2,000 0 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ป 2557 ปี 2558 ปี 2559 เนอ้ื ท่เี ก็บเกีย่ ว (ไร)่ ผลผลติ (ตนั ) ผลผลิตตอ่ ไร่ (กก./ไร)่ (3.2) สถานการณ์การผลติ ตามระดับความเหมาะสมของพนื้ ที่ จากข้อมูลกรมพัฒนาที่ดิน (2558) http://agri-map-online.moac.go.th มี พื้นท่ีความเหมาะสม (S) ในการปลูกอ้อยโรงงานรวมทั้งหมด 1,898,569 ไร่ แบ่งเป็นพ้ืนท่ีความเหมาะสมสูง (S1) จ้านวน 172,352 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 9.08 และพ้ืนท่ีความเหมาะสมปานกลาง (S2) จ้านวน 1,726,217 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 90.82 ของพื้นที่เหมาะสมในการปลูกอ้อยโรงงาน และประมาณการว่า พื้นทป่ี ลกู ออ้ ยโรงงานจังหวัดสระแก้วมีจ้านวน 384,775 ไร่ ปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสูง (S1) จ้านวน 33,739 ไร่ พื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) จ้านวน 289,983 ไร่ รวมปลูกในพ้ืนท่ีความเหมาะสม (S) จ้านวน 323,722 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 84.13 ของพ้ืนที่และปลูกในพื้นท่ีความเหมาะสมน้อย (S3) จ้านวน 60,948 ไร่ หรอื คิดเป็นร้อยละ 15.84 และปลูกในพืน้ ทไ่ี ม่เหมาะสม (n) จา้ นวน 105 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 0.03 รวม ปลกู ในพื้นทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) จ้านวน 61,069 ไร่ หรือคิดเปน็ ร้อยละ 15.87

24 ภาพท่ี 16 พ้ืนท่คี วามเหมาะสมในการปลูกอ้อยโรงงานจังหวัดสระแกว้ ภาพที่ 17 พ้นื ท่ปี ลกู อ้อยโรงงานตามระดบั ความเหมาะจังหวดั สระแกว้ แหลง่ ข้อมลู : ข้อมลู กรมพัฒนาทด่ี นิ (2558) http://agri-map-online.moac.go.th

25 ภาพท่ี 18 พน้ื ท่กี ารปลกู ออ้ ยโรงงานตามระดบั ความเหมาะสมในอา้ เภอต่างๆ ของ จังหวัดสระแกว้ 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0 -50,000 (S) Suitability (S) Existing (S) (S3) Existing (N) Existing

ตารางท่ี 7 พ้นื ท่ปี ลูกอ้อยโรงงานตามระดับความเหมาะสมของพ้นื ท่ี จังหวดั พนื้ ที่เหมาะสมสูง เหมาะสมปานกลาง อาเภอ (S1) (S2) Suitability Existing คงเหลอื Suitability Existing คงเ เมอื ง 1,529 75 1,454 361,099 44,010 31 วัฒนานคร 7,328 499 6,829 312,855 45,573 26 วังสมบรู ณ์ 19,400 2,221 17,179 121,625 21,197 10 ตาพระยา 14,065 100 13,965 247,209 5,314 24 คลองหาด 50,686 15,027 35,659 154,291 41,266 11 วังน้าเยน็ 25,651 3,914 21,737 106,781 23,483 8 เขาฉกรรจ์ 20,018 3,451 16,567 152,172 35,995 11 อรญั ประเทศ 33,675 8,452 25,223 208,199 57,473 15 โคกสงู 0 61,986 15,672 4 รวม 172,352 33,739 138,613 1,726,217 289,983 1,43 แหลง่ ขอ้ มูล : ขอ้ มลู กรมพฒั นาทด่ี นิ (2558) http://agri-map-online.mo

26 ดสระแกว้ รวมพน้ื ที่เหมาะสม พ้ืนท่ีเหมาะสม พ้ืนทไ่ี ม่ รวมพ้ืนทไี่ ม่ (S) น้อย เหมาะสม เหมาะสม (S3) เหลอื Suitability Existing คงเหลอื (n) (N) Existing Existing 17,089 362,628 44,085 318,543 Existin 3,607 g 3,607 7,521 67,282 320,183 46,072 274,111 7,477 44 14,733 5,809 00,428 141,025 23,418 117,607 14,733 8,965 10,587 41,895 261,274 5,414 255,860 5,775 34 6,687 2,438 13,025 204,977 56,293 148,684 8,965 706 83,298 132,432 27,397 105,035 10,560 27 61,053 16,177 172,190 39,446 132,744 6,687 50,726 241,874 65,925 175,949 2,438 46,314 61,986 15,672 46,314 706 36,234 1,898,569 323,722 1,574,847 60,948 105 oac.go.th

27 (4) มะม่วง (4.1) สถานการณก์ ารผลิตในปัจจบุ ัน มะม่วงเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีท้ารายได้เป็นอันดับที่ 6 ของจังหวัดสระแก้วโดยมีมูลค่า รองจากมนั สา้ ปะหลงั ขา้ ว อ้อยโรงงาน สกุ ร โคเนือ้ โดยมีมูลค่าใน ปี พ.ศ.2558 จ้านวน 249 ล้านบาท คิด เป็นร้อยละ 2.34 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในภาคเกษตร จากข้อมูลกรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2560 คาดว่าจังหวัดสระแก้ว มีพื้นท่ีปลูกมะม่วง จ้านวน 10,314 ไร่ เพ่ิมขึ้นจากปี 2559 จ้านวน 240 ไร่ หรือ เพิ่มข้ึนร้อยละ 2.38 และคาดว่าจะมีผลผลิต จ้านวน 9,900.60 ตัน ลดลงจากปี 2559 จ้านวน 16,087 ตัน หรือลดลงร้อยละ 61.69 ผลผลิตเฉล่ีย 1,287 กิโลกรัมต่อไร่ โดยผลิตต่อไร่ลดลง 2,073 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ ลดลงร้อยละ 61.69 เน่ืองจากประสบปัญหาภยั แล้งและสภาพภูมอิ ากาศไมเ่ อ้อื อ้านวย ภาพท่ี เนอื้ ท่เี พาะปลกู เนอื่ ทใ่ี หผ้ ล ผลผลิต ผลิตตอ่ ไร่ มะมว่ ง จังหวัดสระแก้ว ปี - 45,000 6,000 40,000 5,000 35,000 30,000 4,000 25,000 3,000 20,000 15,000 2,000 10,000 1,000 5,000 00 ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี เน้ือปลกู ไร่ เนอ้ื ท่ใี ห้ผล ไร่ แหล่งข้อมลู : ระบบสารสนเทศการผลิตทางด้านเกษตร Online กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ปี 2559 จงั หวดั สระแก้วมพี น้ื ที่ปลกู มะมว่ ง รวม 10,074 ไร่ (ขอ้ มูล กรมสง่ เสริมการเกษตร) ซึ่งมปี ลกู ทัง้ 9 อา้ เภอ อ้าเภอที่เป็นแหล่งปลูกมะม่วงท่ีส้าคัญของจังหวัดสระแก้ว คือ อ้าเภอเขาฉกรรจ์ ปลกู มากทีส่ ดุ คือมีพน้ื ท่ีปลูก 2,532 ไร่ หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 32.63 ของพื้นที่ปลูกท้ังหมดของ จังหวัดสระแก้ว รองลงมาได้แก่ อ้าเภอเมือง อ้าเภอวังน้าเย็น 2,400 ไร่ ( 30.93% ) อ้าเภอวัฒนานคร 1,764 ไร่ ( 22.73% ) อ้าเภอวังสมบูรณ์ 1,491 ไร่ ( 19.21% ) อ้าเภออรัญประเทศ 446 ไร่ ( 5.75% ) อ้าเภอตาพระยา 392 ไร่ ( 5.05% ) อ้าเภอคลองหาด 125 ไร่ ( 1.61% ) และอ้าเภอโคกสูง 119 ไร่ ( 1.53% ) ตามล้าดับ

28 ตารางที่ 8 พ้ืนท่ีปลกู มะม่วงจังหวัดสระแกว้ ปี พ.ศ.2557-2559 อา้ เภอ เนอื้ ทปี่ ลกู (ไร่) เน้ือทีใ่ ห้ผล (ไร่) ผลผลติ ( ตัน ) ผลผลติ /ไร่ (กก.) 2557 2558 2559 2557 2558 2559 2557 2558 2559 2557 2558 2559 1,957 728 1,044 อ.เขาฉกรรจ์ 2,532 2,532 2,532 1,760 1,760 1,760 3,445 1,281 1,837 800 1,581 3,065 816 959 241 อ.เมือง 2,400 2,400 2,400 2,300 2,300 2,300 1,840 3,636 7,050 234 430 505 505 519 268 อ.วังนา้ เยน็ 1,764 1,734 1,764 1,213 1,222 1,252 990 1,172 301 993 257 230 1,113 1,544 985 อ.วฒั นานคร 1,528 2,026 1,491 950 1,163 1,110 222 500 560 981 943 675 376 409 571 อ.วังสมบูรณ์ 805 805 805 705 705 705 356 366 189 969 924 1,316 อ.อรัญประเทศ 486 458 446 366 366 366 364 94 84 อ.ตาพระยา 475 392 392 151 68 68 168 105 67 อ.คลองหาด 122 98 125 53 53 80 52 50 54 อ.โคกสูง 295 279 119 295 279 119 111 114 68 รวม 10,407 10,724 10,074 7,793 7,916 7,760 7,548 7,318 10,211 แหลง่ ขอ้ มลู : กรมส่งเสริมการเกษตร (5) ลาไย (3.1) สถานการณ์การผลติ ในปจั จบุ นั ล้าไยเป็นพืชเศรษฐกิจที่น่าจับตามองและเป็นพืชที่ท้ารายได้ของจังหวัด สระแก้ว โดยมีมูลค่าใน ปี พ.ศ.2559 จ้านวน 529.57 ล้านบาท ( คิดจากราคาที่เกษตรกรขายได้ของจังหวัด จนั ทบุรี) เปน็ ร้อยละ 29.12 ของมลู คา่ ผลิตภัณฑม์ วลรวมในภาคเกษตร จากข้อมูลศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส้านกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร ปี 2560 คาดว่าจังหวัดสระแก้ว มีพื้นที่เก็บเก่ียว จ้านวน 19,221 ไร่ เพ่ิมขึ้น จากปี 2559 จ้านวน 6,111 ไร่ หรือเพมิ่ ขึ้นรอ้ ยละ 47.61 และคาดวา่ จะมีผลผลิต จ้านวน 19,452 ตัน เพิ่มขึ้น จากปี 2559 จา้ นวน 8,112 ตัน หรือเพ่มิ ขึน้ ร้อยละ 71.53 ผลผลิตเฉลีย่ 1,012 กิโลกรัมต่อไร่ โดยผลิตต่อไร่ เพ่ิมข้นึ 147 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ หรือเพ่มิ ข้นึ ร้อยละ 17.99 ล้าไยเป็นพืชคลื่นลูกใหม่ที่เกษตรสนใจปลูกเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี เน่ืองจากจังหวัดสระแก้วตดิ ต่อกับจงั หวัดจันทบรุ ี ซ่ึงเป็นแหล่งผลิตล้าไยนอกฤดูที่ส้าคัญของประเทศ และเป็น แหล่งท่สี ้าคัญในการสง่ ออกล้าไย ตลอดจนการมีเทคโนโลยีการปลูก ดูแลรักษา ตลอดจนการวางแผนการผลิต จนเป็นแหล่งผลิตที่ส้าคัญและให้ผลผลิตต่อไร่สูงท่ีสุดของประเทศในจังหวัดจันทบุรี คือมากกว่า 2,000 กิโลกรัม/ไร่/ปี จึงมีการขยายพื้นท่ีปลูกเข้ามายังเขตติดต่อในจังหวัดสระแก้วซ่ึงมีสภาพดินฟ้าอากาศใกล้เคียง ในอ้าเภอทีต่ ิดกับจังหวดั จนั ทบุรี คือ อ้าเภอวังสมบูรณ์ อา้ เภอคลองหาด และอ้าเภอวงั นา้ เย็น เปน็ ตน้

29 ภาพที่ 20 : เนอื้ ที่เก็บเกี่ยว ผลผลติ ผลติ ต่อไร่ ลา้ ไย จังหวดั สระแกว้ ปี 2550 2560 25,000 1,200 20,000 1,000 15,000 800 10,000 600 5,000 400 200 00 ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 เน้อื ท่ีเกบ็ เก่ียว (ไร)่ ผลผลิต (ตนั ) ผลผลติ ต่อไร่ (กก./ไร่) (3.2) สถานการณ์การผลิตตามระดับความเหมาะสมของพนื้ ที่ จากข้อมูลกรมพัฒนาที่ดิน (2558) http://agri-map-online.moac.go.th มีพื้นที่ความเหมาะสม (S) ในการปลูกล้าไยรวมท้ังหมด 2,055,984 ไร่ แบ่งเป็นพ้ืนที่ความเหมาะสมสูง(S1) จ้านวน 390,952 ไร่ และพ้ืนท่ีความเหมาะสมปานกลาง (S2) จ้านวน 1,665,032 และประมาณการว่าพื้นท่ี ปลูกล้าไยจังหวัดสระแก้วมีจ้านวน 2,490 ไร่ ปลูกในพื้นที่ความเหมาะสูง (S1) จ้านวน 406 ไร่ พ้ืนที่ความ ปานกลาง (S2) จ้านวน 1,597ไร่ รวมปลูกในพื้นที่ความเหมาะสม (S) จ้านวน 2,003 ไร่ หรือคิดเป็น ร้อยละ 80.44 ของพน้ื ท่ปี ลกู และปลกู ในพน้ื ท่ีไมเ่ หมาะสม (N) จา้ นวน 487 ไร่ หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 19.56 ภาพที่ 21 พนื้ ท่ีความเหมาะสมในการปลูกล้าไยจังหวัดสระแก้ว  เมอื ง  วฒั นานคร  ตาพระยา  โคกสูง  เขาฉกรรจ์  อรัญประเทศ  วงั นา้ เยน็  คลองหาด  วังสมบรู ณ์

30 ภาพที่ 22 พน้ื ที่ปลูกล้าไยตามระดับความเหมาะจังหวดั สระแก้ว  ตาพระยา  เมอื ง  วัฒนานคร  โคกสูง  เขาฉกรรจ์  อรัญประเทศ  วังน้าเยน็  คลองหาด  วงั สมบรู ณ์ แหล่งข้อมูล : ขอ้ มูลกรมพัฒนาทีด่ ิน (2558) http://agri-map-online.moac.go.th ภาพท่ี 23 พื้นที่การปลกู ล้าไยตามระดับความเหมาะสมในอ้าเภอต่างๆ ของจังหวดั สระแกว้ 450,000 400,000 350,000 300,000 250,000 200,000 150,000 100,000 50,000 0 -50,000 (S) Suitability (S) Existing (S) (S3) Existing (N) Existing

ตารางท่ี 9 พ้นื ทีป่ ลูกลา้ ไยตามระดบั ความเหมาะสมของพ้ืนที่ จังหวัดสระแกว้ อาเภอ พ้ืนท่ีเหมาะสมสงู เหมาะสมปานกลาง (S1) (S2) Suitability Existing คงเหลือ Suitability Existing คงเหลือ เมือง 28,221 0 28,221 380,713 0 380,713 วฒั นานคร 22,505 0 22,505 386,163 24 386,139 วงั สมบรู ณ์ 20,917 159 20,758 120,015 870 119,145 ตาพระยา 52,423 0 52,423 166,984 0 166,984 คลองหาด 51,573 64 51,509 188,627 358 188,269 วงั น้าเย็น 31,396 81 31,315 114,169 55 114,114 เขาฉกรรจ์ 27,388 31 27,357 160,449 108 160,341 อรัญประเทศ 124,878 71 124,807 119,911 182 119,729 โคกสูง 31,651 0 31,651 28,001 0 28,001 รวม 390,952 406 390,546 1,665,032 1,597 1,663,43 แหล่งข้อมูล : ขอ้ มลู กรมพัฒนาท่ีดนิ (2558) http://agri-map-online.moac.go.th

31 รวมพืน้ ทีเ่ หมาะสม พื้นท่เี หมาะ พน้ื ทไ่ี ม่ รวมพน้ื ทไี่ ม่ (S) สมนอ้ ย เหมาะสม เหมาะสม Suitability Existing คงเหลือ (S3) (n) (N) Existing Existing Existing 3 408,934 0 408,934 9 408,668 24 408,644 0 0 0 0 0 0 5 140,932 1,029 139,903 0 264 264 4 219,407 0 219,407 0 0 0 9 240,200 422 239,778 0 9 9 4 145,565 136 145,429 0 214 214 1 187,837 139 187,698 0 0 0 9 244,789 253 244,536 0 0 0 1 59,652 0 59,652 0 0 0 35 2,055,984 2,003 2,053,981 0 487 487

32 2.3 แหลง่ ท่ีตง้ั โรงงาน แหล่งท่ีต้ังโรงงานอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับด้านการเกษตรในจังหวัดสระแก้วที่ส้าคัญๆ ได้แก่ 2.3.1 โรงสี โรงสขี ้าวในจงั หวัดสระแกว้ ซ่งึ สว่ นใหญ่รบั ซื้อข้าวเปลือกซึ่งเป็นผลผลติ ท่ผี ลติ ได้เองในจังหวัด มีโรงสีขา้ วขนาดใหญ่ จา้ นวน 1 โรง โรงสขี ้าวขนาดกลาง จา้ นวน 2 โรง และ โรงสีข้าวเล็กจ้านวน 6 โรง และ โรงงานอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเกษตร อีกจ้านวน 88 โรง ภาพที่ 24 โรงสขี ้าวขนาดตา่ งๆ ในจงั หวดั สระแก้ว  เมอื ง  วัฒนานคร  ตาพระยา  โคกสูง  อรัญประเทศ  เขาฉกรรจ์  วังนา้ เย็น  คลองหาด  วงั สมบูรณ์ แหลง่ ข้อมลู : กรมโรงงานอุตสาหกรรม (2555) 2.3.2 แหลง่ รบั ซ้อื ทสี่ าคัญทีเ่ ก่ียวข้องกบั ดา้ นการเกษตรทส่ี าคญั แหลง่ รับซื้อทสี่ า้ คญั ที่เก่ียวข้องกบั ด้านการเกษตรทส่ี า้ คญั ในจงั หวดั สระแก้ว มีหลายประเภท ประกอบด้วย โรงงานน้าตาล จ้านวน 1 โรง โรงงานแป้งมันส้าปะหลัง จ้านวน 2 โรง โรงงานผลิตเอทานอล จ้านวน 1 โรง โรงงานมนั เสน้ จ้านวน 47 โรง โรงงานน้ามันปาล์ม จ้านวน 1 โรง โรงงานอาหารสัตว์ จ้านวน 3 แห่ง ลานตากและแหล่งรับซื้อทางการเกษตร จ้านวน 25 แห่ง สหกรณ์การเกษตร จ้านวน 34 แห่ง และ สหกรณน์ ิคม จ้านวน 3 แหง่

33 ภาพที่ 25 แหลง่ รบั ซอื้ ท่ีเกย่ี วข้องกับด้านการเกษตรทสี่ ้าคัญจงั หวดั สระแกว้  เมอื ง  วฒั นานคร  ตาพระยา  โคกสูง  เขาฉกรรจ์  อรัญประเทศ  วงั น้าเย็น  คลองหาด  วงั สมบูรณ์ แหลง่ ข้อมูล : กรมโรงงานอุตสาหกรรม (2555)

บทท่ี 3 ผลการศึกษาวิเคราะห์ 3.1 ต้นทนุ การผลติ และผลตอบแทนตามระดบั ความเหมาะสมของพ้ืนท่ีสินค้าเกษตรที่สาคญั (Top 4) การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนตามระดับความเหมาะสมทางด้าน กายภาพของสินค้าเกษตรท่ีสาคัญที่มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในสาขาเกษตรของจังหวัดสระแก้วใน 4 อันดับ สินค้าเกษตรที่สาคัญในด้านการเพาะปลูกจังหวัดสระแก้ว ได้แก่ มันสาปะหลัง ข้าวนาปี อ้อย และมะม่วง ซึ่งการศึกษาครั้งน้ีได้สุ่มตัวอย่างสอบถามเกษตรกรตามระดับความเหมาะสมของ พ้ืนท่ี โดยแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ(1) พ้ืนที่ที่เหมาะสม (Suitability : S) คือ พื้นที่ที่มีความ เหมาะสมสูง S1 (Highly suitable) และพ้ืนที่ท่ีมีความเหมาะสมปานกลาง S2 (Moderately suitable) และ (2) พื้นท่ีไม่เหมาะสม (Not suitability : N) คือ พ้ืนที่ที่มีความเหมาะสมน้อย (Marginally suitable: S3) และพื้นท่ีท่ีไม่มีความเหมาะสม (Not suitable :N) โดยกระจาย ตัวอย่างไปตามแหล่งเพาะปลูกหรือแหล่งผลิตท่ีสาคัญๆ ในอาเภอ และตาบลต่างๆ ของจังหวัด สระแก้ว ระดบั ละ 20 ตวั อยา่ ง จากนัน้ ทาการวิเคราะหข์ ้อมลู ต้นทุน รายได้และผลตอบแทนจาแนก ตามพ้ืนที่เพาะปลูก และระดับความเหมาะสมทางกายภาพของท่ีดินซึ่งแตกต่างกันอันเป็นเหตุทา ให้ผลผลิตท่ีได้รับแตกต่างกันทั้ง ปริมาณ คุณภาพ และราคาผลผลิต จากน้ันนาผลที่ได้มาพิจารณา ประกอบกบั ความต้องการของตลาด เพ่อื เปน็ แนวทางในการพฒั นาสนิ ค้าตา่ ง ๆ ต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูลด้านการลงทุนจะนาไปสู่การจัดการฟาร์มให้มีประสิทธิภาพ สูงสุด เพราะทาให้เกษตรกรทราบทิศทางในการลงทุนของตนว่าจะเป็นไปในลักษณะใด โดยเฉพาะ กรณีทเ่ี กิดสภาวะผนั ผวนหรือมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตและการตลาดที่อาจเกิดข้ึน ไม่ว่า การเปลี่ยนแปลงนี้จะมาจากปัจจัยภายใน เช่น สภาพที่ดิน ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ประสิทธิภาพ การผลิตของเกษตรกร ตลอดจนค่าจ้างและแรงงาน เป็นต้น หรือมาจากปัจจัยภายนอก เช่น สภาพ ดนิ ฟ้าอากาศทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป ปริมาณความตอ้ งการของตลาด โรคแมลงระบาด เป็นผลให้ปริมาณ ผลผลิตลดลง หรือในทางตรงกันข้ามปริมาณผลผลิตมากเกินความต้องการของตลาด ประกอบกับ เกษตรกรอาจมีต้นทนุ ทส่ี ูงข้ึนจากการเกดิ โรคระบาด ภัยแล้ง เป็นตน้ เกษตรกรบางส่วนยังขาดข้อมูล ขา่ วสารท่ีจาเปน็ ในการตัดสนิ ใจผลติ เช่น ภาวการณต์ ลาด ราคาผลผลิต พันธุ์ หรือเทคโนโลยีใหม่ท่ี จะให้ปริมาณผลผลิตสูง นโยบายของรัฐเรื่องการประกันราคาสินค้าเกษตร เป็นต้น ซ่ึงถ้าเกษตรกร ไดร้ ับทราบข้อมลู ขา่ วสารต่างๆ เหล่านี้ก็จะทาให้เกษตรกรเตรียมทางออกหรือตัดสินใจในแต่ละกรณี ได้ ซงึ่ เท่ากบั เปน็ การเตรยี มแก้ปญั หาได้ด้วยตนเองในระยะยาวอย่างชดั เจน 3.1.1 มันสาปะหลัง (1) ตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลติ มันสาปะหลังในพนื้ ทเี่ หมาะสม (S) ผลจากการสารวจต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนการผลิตมันสาปะหลัง ใน จังหวัดสระแก้ว ในเขตพ้ืนที่เหมาะสม (Suitability : S) เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (Total Cost : TC) จานวน 5,803.83 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร (Total Variable Cost : TVC ) จานวน 4,530.02 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 78.05 และต้นทุนคงที่ (Total Fixed Cost : TFC ) จานวน 1,273.81 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 21.91 ของต้นทุนท้ังหมด ตามลาดับ เมื่อ พิจารณาในรายละเอียดพบว่าต้นทุนท่ีเป็นเงินสด 3,306.39 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 56.97 ทีเ่ หลอื ประมาณร้อยละ 43.03 เปน็ ต้นทนุ ที่ไม่เปน็ เงินสด โดยตน้ ทุนผนั แปรท่ีเป็นเงินสดส่วนใหญ่จะ เป็นค่าจ้างแรงงาน รองลงมาเป็นค่าปัจจัยการผลิตต่าง ๆ และค่าเก็บเก่ียว เป็นต้น ต้นทุนท่ีไม่เป็น เงินสดนั้นสว่ นใหญ่เป็นคา่ แรงงานตนเองและแรงงานแลกเปลย่ี น สาหรับต้นทุนคงท่ีซึ่งส่วนใหญ่เป็น ต้นทุนท่ไี มเ่ ป็นเงนิ สดเกอื บท้งั หมดจะเป็นค่าใช้ทีด่ ิน

35 ผลการวเิ คราะหผ์ ลตอบแทนการผลติ มนั สาปะหลงั ในพื้นท่ีความเหมาะสม (S) ของ จังหวัดสระแก้ว ได้ผลผลิตเฉล่ีย 3,317.29 กิโลกรัมต่อไร่ เม่ือพิจารณาถึงผลตอบแทนจากราคาที่ เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา 1.57 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะมีรายได้ 5,208.15 บาทต่อไร่ ดังน้ัน เกษตรกรจะมีผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 678.13 บาทต่อไร่ และมีผลตอบแทนเหนือต้นทุน เงินสด 1,901.76 บาทตอ่ ไร่ และจะไดร้ บั ผลตอบแทนเหนือตน้ ทนุ ทง้ั หมดหรือขาดทุน ( Economic Profit ) 595.68 บาทต่อไร่ โดยที่จุดคุ้มทุนในการผลิตมันสาปะหลัง ( Break Even Point ) ณ ปริมาณผลผลิตที่ 3,696.71 กิโลกรัมต่อไร่ และราคา ณ ไร่นาที่เกษตรกรต้องได้รับ คือ 1.75 บาท ตอ่ กิโลกรมั ตารางท่ี 10 ตน้ ทนุ และผลตอบแทนในการผลิตมันสาปะหลังในพ้นื ท่ีเหมาะสม (S) รายการ ตน้ ทนุ และผลตอบแทนในการผลติ ในพ้นื ทเ่ี หมาะสม (S) 1.ตน้ ทุนผนั แปร เงินสด ร้อยละ (%) ประเมนิ รอ้ ยละ (%) รวม ร้อยละ (%) 1.1 ค่าแรงงาน เตรยี มดนิ 3,339.47 (57.54) 1,190.54 (20.51) 4,530.02 (78.05) ปลกู ดแู ลรกั ษา 1,880.74 (32.41) 283.86 (4.89) 2,164.61 (37.30) เก็บเกยี่ ว 1.2 คา่ วัสดุ 356.69 (6.15) 241.75 (4.17) 598.45 (10.31) คา่ พนั ธุ์ คา่ ปุย๋ 220.84 (3.81) 2.89 (0.05) 246.68 (3.85) ค่ายาปราบศตั รพู ืช/วัชพชื คา่ สารอ่นื ๆ/วสั ดุปรับปรุงดนิ 252.24 (4.35) 37.83 (0.65) 290.07 (5.00) ค่านา้ มันเช้อื เพลงิ /หล่อล่ืน คา่ วัสดแุ ละวสั ดสุ ้ินเปลือง 1,027.84 (17.71) 1.39 (0.02) 1,029.23 (17.73) ค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ ฯ 1.3 ค่าเสยี โอกาสเงินลงทุน 1,242.42 (21.41) 826.63 (14.24) 2,069.05 (35.65) 2. ตน้ ทุนคงท่ี ค่าเช่าทีด่ ิน 260.61 (4.49) 826.46 (14.24) 1,087.07 (18.73) ค่าเสื่อมอปุ กรณก์ ารเกษตร ค่าเสยี โอกาสเงินลงทุน ฯ 853.29 (14.70) - (0.00) 853.29 (14.70) 3. ต้นทนุ รวมตอ่ ไร่ 4. ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรมั ) 98.72 (1.70) - (0.00) 98.72 (1.70) 11.31 (0.19) - (0.00) 11.31 (0.19) 3.20 (0.06) - (0.00) 3.20 (0.06) 14.23 (0.25) - (0.00) 14.23 (0.25) 1.06 (0.02) 0.17 (0.00) 1.23 (0.02) 216.31 (3.73) 80.05 (1.38) 296.36 (5.11) - (0.00) 1,273.81 (21.95) 1,273.81 (21.95) - (0.00) 1,238.52 (21.34) 1,238.52 (21.34) - (0.00) 21.66 (0.37) 21.66 (0.37) - (0.00) 13.63 (0.23) 13.63 (0.23) 3,306.39 (56.97) 2,497.44 (43.03) 5,803.83 (100.00) 3,317.29

36 ตารางที่ 10 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตมนั สาปะหลังในพนื้ ที่เหมาะสม (S) (ตอ่ ) รายการ ตน้ ทนุ และผลตอบแทนในการผลติ ในพื้นทีเ่ หมาะสม (S) 5. ราคาเฉลย่ี ทเ่ี กษตรกรขายได้(บาท/กก.) รอ้ ยละ รอ้ ยละ 6. มลู คา่ ผลผลิต/รายไดท้ ้ังหมด (บาท/ไร่) 7. ผลตอบแทนสุทธเิ หนือตน้ ทุนเงนิ สด (บาท/ไร่) เงนิ สด (%) ประเมิน (%) รวม ร้อยละ (%) 8. ผลตอบแทนสุทธิเหนือต้นทนุ ผนั แปร (บาท/ไร่) 9. ผลตอบแทนสทุ ธิเหนือตน้ ทนุ ทง้ั หมด (บาท/ไร่) 1.57 10. ผลตอบแทนสทุ ธิเหนือผลผลติ (บาท/กก.) 11. ต้นทุนการผลติ ราคา ณ จุดคมุ้ ทุน (บาท/กก.) 5,208.15 12. ปริมาณผลผลติ ณ จุดคุ้มทุน (กก./ไร่) 1,901.76 678.13 -595.68 -0.18 1.75 3,696.71 แหล่งข้อมลู : จากการสารวจ สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 จงั หวดั ชลบุรี (2) ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตมันสาปะหลังในพื้นทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) ผลจากการสารวจตน้ ทนุ การผลิตและผลตอบแทนการผลิตมันสาปะหลัง ในจังหวัด สระแก้ว ในเขตพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (Not suitability : N) เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตเฉล่ีย (Total Cost : TC) จานวน 5,322.56 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร (Total Variable Cost : TVC ) จานวน 4,193.49 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 78.79 และต้นทุนคงท่ี (Total Fixed Cost : TFC ) จานวน 1,129.07 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 21.21 ของต้นทุนท้ังหมด ตามลาดับ เมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่าเกษตรกรมีต้นทุนท่ีเป็นเงินสด 93.79 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็นร้อย ละ 58.13 ที่เหลือประมาณร้อยละ 41.87 เป็นต้นทุนที่ไม่เป็นเงินสด โดยต้นทุนผันแปรท่ีเป็นเงินสด ส่วนใหญ่จะเป็นค่าจ้างแรงงาน รองลงมาเป็นค่าปัจจัยการผลิตต่าง ๆ และค่าเก็บเก่ียว เป็นต้น ตน้ ทนุ ที่ไมเ่ ปน็ เงินสดนั้นส่วนใหญ่เป็นค่าแรงงานตนเองและแรงงานแลกเปล่ียน สาหรับต้นทุนคงที่ ซง่ึ ส่วนใหญ่เป็นต้นทนุ ที่ไมเ่ ป็นเงนิ สดเกอื บทั้งหมดจะเปน็ ค่าใช้ทีด่ นิ ผลตอบแทนการผลิตมันสาปะหลัง ในเขตพ้ืนที่ไม่เหมาะสม (N) ในพื้นท่ีจังหวัด สระแกว้ ไดผ้ ลผลติ เฉล่ีย 3,154.34 กโิ ลกรัมต่อไร่ เมือ่ พจิ ารณาถึงผลตอบแทนจากราคาที่เกษตรกร ขายได้ ณ ไร่นา 1.57 บาทต่อกโิ ลกรมั เกษตรกรจะมีรายได้ 4,952.31 บาทต่อไร่ ดังน้ันเกษตรกร จะมีผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร 758.82 บาทต่อไร่ และมีผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด 1,858.52 บาทต่อไร่ และได้รับผลตอบแทนเหนือต้นทุนท้ังหมดหรือขาดทุน ( Economic Profit ) 370.25 บาทต่อไร่ โดยที่จุดคุ้มทุนในการผลิตมันสาปะหลังในพื้นท่ีไม่เหมาะสม ( Break Even Point ) ณ ปริมาณผลผลิตท่ี 3,390.17 กิโลกรัมตอ่ ไร่ และราคาผลผลิต 1.69 บาทต่อกิโลกรัม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook