แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 33 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 การดำรงชีวิตของพืช เวลา 1 ชัว่ โมง แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ธาตอุ าหารของพืช โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ผู้สอนนางสาวจนั จริ า ธนันชยั 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าท่ีของระบบตา่ งๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สัมพันธ์กัน รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 2. ตัวชี้วัด อธิบายความสำคัญของธาตุอาหารบางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต ว 1.2 ม.1/14 ของพืช 3. สาระสำคัญ พืชต้องการธาตุอาหารในการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต เพราะธาตุอาหารเป็นองค์ประกอบของ โครงสร้างต่างๆของพืช และยงั เปน็ สว่ นประกอบของสารที่ทำหนา้ ที่ในกระบวนการสำคัญ เชน่ การสังเคราะห์ ด้วยแสง การหายใจ ในดินมีธาตุอาหารหลายชนิดที่จำเป็นต่อพืช แต่ดินในแต่ละพื้นที่อาจมีชนิดและปริมาณ ของธาตุอาหารแตกต่างกนั ขึ้นอยกู่ ับชนิดของอินทรียวตั ถุและอินทรียวัตถทุ ่ีเปน็ ส่วนประกอบของดิน 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ (1) นักเรยี นสามารถอธบิ ายความสำคญั ของธาตอุ าหารตอ่ การเจรญิ เติบโตของพืชได้ (K) (2) นกั เรยี นสามารถวาดภาพอาการผิดปกติของพชื ได้ (P) (3) นกั เรียนใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และมีวินยั ในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น (1) ความสามารถในการส่ือสาร - การอธิบาย การเขียน การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสงั เกต การสำรวจ การคิดวเิ คราะห์ การสรา้ งคำอธิบาย การอภปิ ราย การสอ่ื ความหมาย การทำกิจกรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแก้ไขปัญหา - สามารถแก้ปัญหาทเี่ กิดขน้ึ ได้อย่างเหมาะสม
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - มีวินัย - มุ่งม่นั ในการทำงาน - ใฝเ่ รียนรู้ 7. สาระการเรียนรู้ พืชต้องการธาตุอาหารเพื่อให้กระบวนการต่างๆในพืชเป็นไปอย่างปกติ เช่น กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการหายใจ ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยตรง ถ้าขาดพืช จะแสดงอาการผิดปกติออกมา ต้องแก้ไขโดยการให้ธาตุที่ขาดโดยไม่สามารถใช้ธาตุอื่นทดแทนได้ ธาตุ อาหารท่ีพืชขาดไม่ได้มี 17 ธาตุ ซ่ึงพืชได้รับจากน้ำและอากาศ 3 ธาตุ คือ คาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และ ออกซิเจน (O) และพืชได้รับจากดิน 14 ธาตุ ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม กำมะถัน เหล็ก แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โบรอน โมลิบดีนัม คลอรีน และนิกเกิล ซึ่งรากพืช จะดูดธาตุอาหารเหล่านี้ไปใช้ได้หลายรูปแบบ เช่น รูปของสารประกอบ แก๊ส ถ้าพิจารณาตามปริมาณความต้องการของพืช พบว่าพืชต้องการไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียมในปริมาณมาก แต่ในความเป็นจริงแล้วดินมีธาตุอาหารเหล่านี้ที่ไม่เพียงพอ พืชจึงแสดงอาการ ขาดธาตุอาหาร 3 ธาตุนี้อยู่เสมอ นอกจากนี้พืชต้องการ แคลเซียม แมกนีเซียม และกำมะถันในปริมาณที่ รองลงมา อาการผิดปกติที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารทั้ง 6 ธาตุนี้ในพืช จะสัมพันธ์กับบทบาทหน้าที่ของ ธาตุอาหารนั้นในกระบวนการดำรงชีวิต การขาดธาตุอาหารของพืชมีหลายสาเหตุ เช่น ดินมาตุอาหารไม่เพียงพอ หรือดินมีธาตุอาหารแต่ ไม่ได้อยู่รูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืช หรือสมบัติของดินไม่เหมาะต่อการดูดธาตุอาหารของพืช เช่น ความ หนาแน่นรวมเพิ่มขึ้น ความพรุนรวมลดลง อินทรียวัตถุในดินมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจเป็นผลมาจากการ ปลูกพืชชนิดเดิมในแหล่งดินเดิมเป็นเวลานานโดยไม่มีการพักดินหรือปรับปรุงดิน ทำให้ธาตุอาหารที่พืช ต้องการมากลดลงหรือหมดไป และธาตุอาหารชนิดอ่ืนเหลืออยู่มากเกินไป ทำให้ปริมาณของธาตุอาหารแต่ ละชนิดในดินไม่สมดุล หรือเกิดจากการใส่ปุ๋ยบางชนิดในดินเป็นเวลานานทำให้ดินมีสภาพเป็น กรด-เบส เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หรือทำให้เนื้อดินจับตัวกันแน่น รากพืชไม่สามารถชอนไชไปในดินได้ สาเหตุ เหล่านี้ส่งผลต่อการดูดธาตุไปใช้ของพืช เมื่อพืชไม่ได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นจึงแสดงอาการผิดปกติ ทั้งนี้ ความสามารถในการดูดธาตุอาหารมาใช้ของพืชยังเกี่ยวข้องกับชนิดและอายุของพืชด้วย
8. กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ใชร้ ปู แบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) (5 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนสังเกตภาพนำบทที่ 3 ในหนังสือเรียน ท่ี เกี่ยวกับขนรากของพืช พร้อมทั้งให้นักเรียนอ่านเนื้อหาบทนำ จากนั้นร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการลำเลียงใน พชื โดยอาจใช้คำถามดงั ตอ่ ไปนี้ - พชื ได้รบั น้ำ ธาตุอาหารและอาหารจากแหล่งใด (แนวคำตอบ นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจ เช่น พืชจะดูดนำ้ และธาตอุ าหารจากดนิ และได้รบั อาหารจากการสรา้ งข้นึ เอง) 8.2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (35 นาท)ี (1) ครูอธิบายความรู้เรื่องให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint และให้ศึกษา เนอ้ื หาความรู้เพมิ่ เติมในหนงั สือเรียนหน้า (2) นักเรยี นรับใบงาน เรอ่ื งธาตอุ าหารของพืชจากครู และลงมือทำใบงาน 8.3 ขน้ั อภปิ รายและลงข้อสรุป (Explain) (5 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (พืชต้องการธาตุอาหารในการ เจริญเติบโตและการดำรงชีวิต เพราะธาตุอาหารเป็นองค์ประกอบของโครงสร้างต่างๆของพืช และยังเป็น ส่วนประกอบของสารที่ทำหน้าที่ในกระบวนการสำคัญ เช่น การสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจ ในดินมีธาตุ อาหารหลายชนิดที่จำเป็นต่อพืช แต่ดินในแต่ละพื้นที่อาจมีชนิดและปริมาณของธาตุอาหารแตกต่างกันขึ้นอยู่ กับชนิดของอินทรียวัตถุและอินทรียวัตถุที่เป็นส่วนประกอบของดิน ถ้าขาดพืชจะแสดงอาการผิดปกติออกมา ตอ้ งแกไ้ ขโดยการใหธ้ าตทุ ี่ขาดโดยไม่สามารถใชธ้ าตอุ นื่ ทดแทนได้) 8.4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาที) (1) ครูเพิ่มเติมความรู้ให้นักเรียนโดยเปิดวดี โี อ เรื่องการแก้ปัญหาการขาดธาตุอาหารของพืช จาก https://www.youtube.com/watch?v=yp0TGvji8L4 ให้นักเรยี นฟัง 8.5 ขั้นประเมิน (Evaluation) (5 นาที) (1) นกั เรยี นและครูร่วมกนั เฉลยใบงาน (2) ครูต้งั คำถามเพ่ือตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี น (3) นกั เรยี นถามในส่งิ ที่สงสยั และยังไม่รูแ้ ละครอู ธิบายเพ่ิมเติม 9. ส่ือการเรยี นรู้ (1) สอ่ื การสอน PowerPoint (2) หนงั สือวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) ใบงาน เรือ่ งธาตอุ าหารของพืช (4) วีดีโอ เรอ่ื งการแกป้ ญั หาการขาดธาตุอาหารของพืช
10. การวดั ผลและประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั ผล เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ผปู้ ระเมนิ ครูผ้สู อน 1.ด้านความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบงาน ผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์ ระดบั พอใช้ข้นึ ไป ครูผู้สอน นักเรียนสามารถอธิบาย คำตอบในใบงาน ผเู้ รียนผ่านเกณฑ์ ครผู ู้สอน ค ว า ม ส ำ ค ั ญ ข อ ง ธ า ตุ ระดบั พอใชข้ ึ้นไป อาหารต่อการ เจรญิ เตบิ โตของพืชได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะการวาดภาพ แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) อาการผิดปกติของพืช ว า ด ภ า พ อ า ก า ร นักเรียนสามารถวาด ในใบงาน ผิดปกติของพืชในใบ ภาพอาการผิดปกติของ งาน พืชได้ 3.ด้านคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ้เู รยี นผ่านเกณฑ์ ระดับพอใชข้ ้ึนไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมีวินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรียน ต่อเวลาในการส่งงาน ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน K รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนอธิบายความสำคัญ น ั ก เ ร ี ย น อ ธ ิ บ า ย อธิบายความสำคัญ ความสำคัญของธาตุอาหาร ข อ ง ธ า ต ุ อ า ห า ร ต ่ อ ก า ร ค ว า ม ส ำ ค ั ญ ข อ ง ธ า ตุ ของธาตุอาหารตอ่ การ ต่อการเจริญเติบโตของพืช เจรญิ เติบโตของพืชได้ถูกต้อง อาหารต่อการเจริญเติบโต เจริญเตบิ โตของพชื ได้ ไ ด้ อ ย ่ า ง ถ ู ก ต ้ อ ง แ ล ะ เปน็ สว่ นใหญ่(5-7คะแนน) ของพืชได้เพียงส่วนน้อย ครบถว้ น(8-10คะแนน) (ต่ำกวา่ 5คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ขนึ้ ไป เกณฑ์การตดั สนิ ระดับคุณภาพดา้ นคุณลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยูใ่ นระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน P รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถวาด นักเรียนสามารถวาดภาพ นักเรียนวาดภาพอาการ นักเรียนวาดภาพอาการ ภาพอาการผิดปกติ อาการผิดปกติของพืชได้ ผิดปกติของพืชได้ถูกตอ้ งเป็น ผิดปกติของพืชได้เพียง ของพชื ได้ ถูกต้องและครบถ้วน ( 8- สว่ นใหญ่ ( 5-7 คะแนน) ส ่ ว น น ้ อ ย ( ต ่ ำ ก ว ่ า 5 10 คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ขนึ้ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คุณภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อย่ใู นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยูใ่ นระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง
เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมวี ินยั ในการเรียน เวลาทุกครัง้ (4คะแนน) เวลาบางครง้ั (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑก์ ารตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกวา่ 2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรับปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย
11. ผลการประเมิน นกั เรยี นท้งั หมด………………คน ดา้ น (K) นกั เรยี นสามารถอธิบายความสำคญั ของธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตของพืชได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยูใ่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอย่ใู นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ด้าน (P) นักเรียนสามารถวาดภาพอาการผดิ ปกตขิ องพชื ได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ดา้ น (A) นักเรียนใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และมวี นิ ัยในการเรยี น ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. รายชอ่ื นักเรียนท่ีไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแก้ไข ลำดบั ชอ่ื -สกุล ลงชื่อ...............................................(ผสู้ อน) (..............................................)
ใบงาน เร่อื งธาตุอาหารของพชื คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นอ่านการวิจยั เร่ือง การปลกู ข้าวโพดสลับกับการปลูกถว่ั เหลือง ในหนงั สือเรียนหน้าท่ี 179 แล้วตอบคำถามตอ่ ไปนใ้ี หถ้ กู ต้อง 1.จากงานวิจยั ขา้ วโพดขาดธาตอุ าหารชนิดใดและส่งผลให้ขา้ วโพดมีลักษณะอาการอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ขา้ วโพดทปี่ ลกู สลบั กับถ่ัวเหลืองใหป้ ริมาณผลผลติ เปน็ อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนน้ั ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. พืชตอ้ งการธาตุอาหารชนิดใดในปริมาณมาก และถ้าขาดธาตอุ าหารเหล่าน้นั จะมีผลอย่างไรต่อพชื ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ถา้ พืชขาดธาตุโพแทสเซียมจะมแี นวทางในการแก้ไขอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. วาดภาพอาการผิดปกตขิ องพืชเน่อื งจากการขาดธาตุอาหารชนิดต่างๆ
เฉลยใบงาน คำชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนอ่านการวจิ ยั เร่อื ง การปลกู ขา้ วโพดสลบั กบั การปลูกถวั่ เหลอื ง ในหนังสือเรยี นหน้าที่ 179 แล้วตอบคำถามตอ่ ไปน้ีใหถ้ ูกต้อง 1. จากงานวิจัย ขา้ วโพดขาดธาตุอาหารชนดิ ใดและส่งผลใหข้ ้าวโพดมีลักษณะอาการอย่างไร จากงานวิจยั ขา้ วโพดขาดขาดธาตไุ นโตรเจน ทำให้ใบเรม่ิ เหลอื งจากปลายใบแล้วลามเข้าไปใน แผ่นใบคลา้ ยตวั วี จากน้ันใบกลายเปน็ สีน้ำตาลและเหี่ยวแห้ง ส่งผลให้ผลผลิตขา้ วโพดลดลง 2. ข้าวโพดทีป่ ลกู สลับกับถ่ัวเหลอื งให้ปริมาณผลผลิตเปน็ อยา่ งไร เพราะเหตุใดจึงเปน็ เช่นน้ัน ข้าวโพดที่ปลูกสลับกับถั่วเหลืองให้ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น เพราะดินมีปริมาณของธาตุ ไนโตรเจนเพิ่มขึ้นจากปมรากของถั่วเหลือง ทำให้ข้าวโพดที่ปลูกในปีหลังๆ ไม่มีอาการขาดธาตุ ไนโตรเจน ผลผลติ จึงเพมิ่ ขึ้น 3. พืชต้องการธาตุอาหารชนิดใดในปริมาณมาก และถ้าขาดธาตุอาหารเหล่านั้นจะมีผลอย่างไร ตอ่ พชื ธาตุอาหารที่พืชต้องการปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ซึ่งถ้าขาด ธาตุไนโตรเจนใบแก่ของพืชจะเหลือง ลำต้นแคระ ผลผลิตต่ำ ถ้าขาดฟอสฟอรัส ใบจะเป็นสีม่วง ออกดอกชา้ ต้นแคระ และถ้าขาดโพแทสเซยี ม ใบจะเหลอื ง ตน้ อ่อนแอ ผลไมเ่ จริญเติบโต 4. ถา้ พืชขาดธาตุโพแทสเซียมจะมแี นวทางในการแกไ้ ขอยา่ งไร ปรับปรุงดินให้มีโพแทสเซียม ในรูปที่พืชนำไปใช้ได้และมีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการ โดยการใส่ปยุ๋ ที่มีโพแทสเซยี มสงู 5. วาดภาพอาการผิดปกติของพชื เน่อื งจากการขาดธาตอุ าหารชนดิ ตา่ งๆ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 34 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 การดำรงชีวิตของพืช เวลา 1 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรยี นรเู้ รอื่ ง การลำเลียงน้ำและอาหาร 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ผสู้ อนนางสาวจนั จริ า ธนันชัย 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่างๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สมั พันธก์ ัน รวมทั้งนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวชี้วัด ว 1.2 ม.1/10 เขยี นแผนภาพทบ่ี รรยายทิศทางการลำเลียงสารในไซเลม็ และโฟลเอม็ ของพชื 3. สาระสำคญั การลำเลียงน้ำในพืชจากลำต้นเข้าสู่รากโดยกระบวนการออสโมซิสผ่านทางเซลล์ขนรากแร่ธาตุในดิน เข้าสู่รากได้โดยการแพร่ผ่านทางเซลล์ขนราก รากมีกลุ่มเซลล์ท่อลำเลียงน้ำทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ โดยเฉพาะ เรียกวา่ ไซเล็ม 4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ (1) อธิบายโครงสรา้ งและการทำงานของระบบลำเลียงนำ้ และแรธ่ าตุได้ (K) (2) นักเรียนเขียนแผนภาพท่ีอธบิ ายทิศทางการลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอ็มของพืชได้ (P) (3) นกั เรยี นใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มัน่ ในการทำงาน และมีวินัยในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน (1) ความสามารถในการสือ่ สาร - การอธบิ าย การเขียน การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคิด - การสังเกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสรา้ งคำอธบิ าย การอภปิ ราย การส่อื ความหมาย การทำกิจกรรมโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแก้ไขปัญหา - สามารถแกป้ ญั หาท่เี กิดขนึ้ ได้อยา่ งเหมาะสม
6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - มวี ินยั - มุ่งมั่นในการทำงาน - ใฝเ่ รียนรู้ 7. สาระการเรียนรู้ การลำเลียงน้ำและแร่ธาตุอาหารของพืชเริ่มจากน้ำและธาตุอาหารเข้าสู่รากพืชและลำเลียงต่อไป ยังส่วนต่างๆของพืช ซึ่งสังเกตได้จากทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ำสีในต้นเทียน รากเป็นส่วนที่สัมผัสกับดิน และวัสดุอื่นๆ ที่ใช้ปลูกพืช การที่พืชมีรากจำนวนมาก และบริเวณถัดจากปลายรากมีเซลล์ผิวรากบางส่วน เปลี่ยนเป็นเซลล์ขนราก เป็นการช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวของรากในการสัมผัสกับน้ำและธาตุอาหารในดิน ทำให้ รากสามารถดูดน้ำและแร่ธาตุอาหารได้มากขึ้น การลำเลียงน้ำและร่าตุอาหารเข้าสู่เซลล์ขนรากมีวิธีการท่ีแตกต่างกัน ในภาวะปกติสารละลายใน ดินรอบๆรากมีความเข้มข้นต่ำกว่าสารละลายในเซลล์ขนราก น้ำในดินจึงเข้าสู่เซลล์บริเวณผิวรากของพืช โดยการออสโมซิส ส่วนธาตุอาหารในดิน ถ้าในดินมีธาตุหารมากกว่าในราก ธาตุอาหารจากดินจะเข้าสู่ราก โดยการแพร่ แต่ถ้าดินบริเวณนั้นมีธาตุอาหารน้อยกว่าในราก และพืชมีความต้องจำเป็นต้องใช้ธาตุอาหาร นั้น พืชจะเร่ิมใช้วิธีอ่ืนซ่ึงเป็นวิธีท่ีต้องใช้พลังงานในดารดูดธาตุอาหารเช้าสู่ราก เมื่อน้ำและธาตุอาหารเข้าสู่เซลล์ของรากแล้ว จะเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ถัดเข้าไปในรากจนถึงไซเล็ม (XYLEM) เมื่อตัดเนื้อเยื่อรากและลำต้นตามยาวจะเห็นไซเล็มมีลักษณะเป็นท่อเรียงเชื่อต่อกันตลอดทั่วทั่ง ต้น ซึ่งเป็นเส้นทางที่ใช้ลำเรียงน้ำและแร่ธาตุอาหารขึ้นอย่างต่อเน่ืองไปถึงทุกส่วนของพืชได้ การลำเลียงอาหารหรือน้ำตาลที่พืชสร้างขึ้น แตกต่างจากการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ จากภาพตัด ตามขวางของรากและลำต้นจะเห็นว่ามีกลุ่มของเซลล์อีกกลุ่มอยู่ด้านนอกถัดจากไซเล็ม ซึ่งเซลล์กลุ่มนี้ รวมกันเป็นเนื้อเยื่อท่ีเรียงต่อกันท่ัวส่วนขิงพืชเช่นกัน เรียกว่า โฟลเอ็ม (PHLOEM)
8. กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ใช้รปู แบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (5 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยทบทวนความรู้ก่อนเรยี นในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 หน้าที่ 184 (2) ครสู นทนากบั นักเรียนเกย่ี วกบั การดดู นำ้ ของรากพืชโดยใชแ้ นวคำถามต่อไปนี้ -เรารดนำ้ ต้นไม้ทำไม (เพ่อื ใหต้ น้ ไมไ้ ม่เหย่ี ว) -นำ้ ทเ่ี รารดเข้าไปในต้นไมไ้ ดอ้ ย่างไร (โดยการออสโมซสิ ข้าไปในรากพชื ) -ส่วนประกอบใดของพชื ทำหนา้ ดูดนำ้ ข้นึ ไปเล้ยี งสว่ นต่างๆของพืช (ทอ่ ไซเล็ม) 8.2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (35 นาท)ี (1) ครูอธิบายความรู้เรื่องการลำเลียงน้ำและอาหาร ให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint และให้ศกึ ษาเนื้อหาความร้เู พม่ิ เตมิ ในหนงั สือเรียนหน้า (2) นักเรยี นรบั ใบงาน เรือ่ งการลำเลียงน้ำและอาหารของพชื จากครู และลงมอื ทำใบงาน 8.3 ขน้ั อภิปรายและลงข้อสรปุ (Explain) (5 นาที) (1) นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายและสรปุ ความรูด้ ังน้ี (นำ้ เข้าสรู่ ากโดยการออสโมซิส ธาตุ อาหารเขา้ สูร่ ากพชื โดยการแพร่หรือการลำเลียงแบบต้องใช้พลังงาน ไซเล็มทำหนา้ ที่ในการลำเลียงน้ำและธาตุ อาหาร ส่วนโฟลเอ็ม ทำหน้าทใ่ี นการลำเลียงอาหารซงึ่ อยู่ในรูปของน้ำตาลไปเลยี้ งสว่ นตา่ งๆของตน้ พืช) 8.4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาท)ี (1) ครเู พิม่ เติมความรใู้ ห้นกั เรยี นดังนี้ จากภาพนำบท คือ การงอกของเมล็ดสลัดน้ำ (watercress) แสดงให้เห็นว่าเมล็ดที่เพิ่งงอกจะมีราก แรกเกดิ งอกออกมาก่อน และทบี่ ริเวณเหนอื ปลายรากมขี นรากจำนวนมาก 8.5 ขั้นประเมิน (Evaluation) (10 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันเฉลยใบงาน (2)ครตู ั้งคำถามเพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียน (3) นกั เรียนถามในสงิ่ ทสี่ งสยั และยงั ไม่รู้และครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ 9. ส่อื การเรยี นรู้ (1) สือ่ การสอน PowerPoint (2) หนงั สอื วทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน ม.1 เล่ม 1 (สสวท) (3) ใบงาน เรอื่ งการลำเลยี งน้ำและอาหารของพืช
10. การวัดผลและประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ กี ารวดั ผล เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมิน ผปู้ ระเมนิ ครูผสู้ อน 1.ดา้ นความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบงาน ผูเ้ รยี นผา่ นเกณฑ์ ครูผูส้ อน ระดับพอใช้ข้นึ ไป อธิบายโครงสร้างและ คำตอบในใบงาน ครูผูส้ อน ผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ การทำงานของระบบ ระดบั พอใชข้ ึ้นไป ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุได้ ผ้เู รยี นผา่ นเกณฑ์ ระดบั พอใชข้ นึ้ ไป 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดู ท ั ก ษ ะ ก า ร เ ข ี ย น แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) แผนภาพที่อธิบายทิศ การเขียนแผนภาพท่ี นักเรียนเขียนแผนภาพท่ี ทางการลำเลียงสารใน อธิบายทิศทางการ อ ธ ิ บ า ย ท ิ ศ ท า ง ก า ร ไซเล็มและโฟลเอ็มของ ลำเลียงสารในไซเล็ม ลำเลียงสารในไซเล็ม พืชในใบงาน และโฟลเอ็มของพืชใน และโฟลเอ็มของพืชได้ ใบงาน 3.ด้านคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมีวินยั ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรยี น ต่อเวลาในการสง่ งาน ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์ประเมินดา้ น K รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น เ ข ี ย น นักเรียนเขียนแผนภาพท่ี นักเรียนเขียนแผนภาพที่ นักเรียนเขียนแผนภาพท่ี แผนภาพที่อธิบายทิศ อธิบายทิศทางการลำเลียง อธิบายทิศทางการลำเลียง อธิบายทิศทางการลำเลียง ทางการลำเลียงสารใน สารในไซเล็มและโฟลเอ็ม สารในไซเล็มและโฟลเอ็ม สารในไซเล็มและโฟลเอ็ม ไซเล็มและโฟลเอ็ม ของพืชได้อย่างถูกต้องและ ของพืชได้ถูกต้องเป็นส่วน ของพืชได้เพียงส่วนน้อย ของพืชได้ ครบถว้ น(8-10คะแนน) ใหญ(่ 5-7คะแนน) (ตำ่ กว่า5คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขน้ึ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คณุ ภาพด้านคุณลกั ษณะ (K) 8-10 คะแนน อยูใ่ นระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อย่ใู นระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน อย่ใู นระดบั 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑป์ ระเมินด้าน P รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถเขียน นักเรียนสามารถเขียนสรุป นักเรียนเขียนสรุปสิ่งที่ได้ นักเรียนเขียนสรุปสิ่งที่ได้ สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ เรียนรู้เกี่ยวกับสืบพันธุ์แบบ เรียนรู้เกี่ยวกับสืบพันธุ์ เกี่ยวกับสืบพันธุ์แบบ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของ อาศัยเพศของพืชดอกได้ แบบอาศัยเพศของพืชดอก อาศัยเพศของพืชดอก พืชดอกได้ถูกต้องและ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ( 5-7 ได้เพียงส่วนน้อย (ต่ำกว่า ได้ ครบถ้วน ( 8-10 คะแนน) คะแนน) 5 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ข้ึนไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยูใ่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดับ 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ
เกณฑป์ ระเมินด้าน A รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมวี ินัยในการเรียน เวลาทกุ ครัง้ (4คะแนน) เวลาบางครัง้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ข้ึนไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยูใ่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 2-3 คะแนน อย่ใู นระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย
11. ผลการประเมิน นักเรยี นทง้ั หมด………………คน ด้าน (K) อธิบายโครงสร้างและการทำงานของระบบลำเลยี งน้ำและแร่ธาตุได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ด้าน (P) นกั เรยี นเขยี นแผนภาพทอ่ี ธิบายทิศทางการลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอ็มของพืชได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอย่ใู นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ดา้ น (A) นกั เรียนใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน และมีวินยั ในการเรียน ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. รายชอ่ื นักเรียนที่ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแก้ไข ลำดบั ช่ือ-สกุล ลงชอื่ ...............................................(ผสู้ อน) (..............................................)
ใบงาน เร่ืองการลำเลยี งนำ้ และอาหารของพชื ชือ่ .....................................................................................................................................ชนั้ ...............เลขที่........... คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปน้ีให้ถกู ต้อง 1. ท่อลำเลียงน้ำและท่อลำเลียงอาหารมีลักษณะอยา่ งไร จะพบที่ส่วนใดของพืช 2. ปากใบของพืชจะพบท่สี ว่ นใดของพชื และทำหน้าท่ีอะไร 3. ในเวลากลางวัน ใบไม้มักจะเหยี่ วเป็นเพราะสาเหตุใด 4. อาหารที่พืชสร้างจากใบ และธาตุอาหารที่รากดูดจากดิน มีทิศทางการลำเลียงเหมือนกันหรือแตกต่างกัน อย่างไร 5. การทดลองแช่ต้นเทียนในน้ำหมึกแดง เมื่อผ่าลำต้นตามแนวยาว และตามแนวขวาง จะพบน้ำหมึกแดง หรือไม่ และพบในลกั ษณะใด
คำชแี้ จง ให้นกั เรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมตามท่กี ำหนดให้ 1) วาดภาพตน้ พชื ลงในใบงาน 1 ตน้ แลว้ เขยี นลูกศรแสดงทิศทางการลำเลยี งนำ้ และอาหาร จากน้ัน ระบายสีภาพให้สวยงาม
เฉลยใบงาน คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้ใหถ้ ูกตอ้ ง 1. ทอ่ ลำเลยี งน้ำและทอ่ ลำเลียงอาหารมีลักษณะอยา่ งไร จะพบที่สว่ นใดของพชื ทอ่ ลำเลยี งนำ้ เป็นกลมุ่ เซลล์ทีต่ อ่ เรียงกันเป็นทอ่ ยาวตั้งแต่ราก ลำต้น จนถึงใบ ท่อลำเลียงอาหาร เป็น กลมุ่ เซลลท์ ี่เรยี งต่อกันเปน็ ทอ่ ยาวแทรกอยู่คู่กบั ท่อลำเลยี งน้ำ 2. ปากใบของพชื จะพบทีส่ ว่ นใดของพชื และทำหนา้ ที่อะไร ปากใบ จะอยทู่ างทอ้ งใบซึง่ เป็นรูเล็กๆ ทำหนา้ ที่เปน็ ทางผา่ นของอากาศและน้ำ โดยพืชจะคายน้ำออก ทางรปู ากใบ 3. ในเวลากลางวนั ใบไมม้ ักจะเหย่ี วเป็นเพราะสาเหตุใด เพราะกลางวันอากาศรอ้ น พืชตอ้ งคายนำ้ ออกทางใบ เพื่อลดความรอ้ นในใบและลำตน้ ของพชื 4. อาหารที่พืชสร้างจากใบ และธาตุอาหารที่รากดูดจากดิน มีทิศทางการลำเลียงเหมือนกันหรือแตกต่างกัน อย่างไร แตกตา่ งกนั โดยอาหารทีพ่ ชื สร้างจากใบจะถูกส่งไปทางท่อลำเลียงอาหารเพ่ือไปเลี้ยงสว่ นต่าง ๆ ส่วน ธาตอุ าหารท่ีรากดดู จากดินจะลำเลียงข้นึ ไปสใู่ บ 5. การทดลองแช่ต้นเทียนในน้ำหมึกแดง เมื่อผ่าลำต้นตามแนวยาว และตามแนวขวาง จะพบน้ำหมึกแดง หรอื ไม่ และพบในลักษณะใด จะพบน้ำหมึกแดง โดยเหน็ เปน็ สีแดงอยเู่ ปน็ จดุ ๆ
คำชแี้ จง ให้นกั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรมตามท่กี ำหนดให้ 1) วาดภาพต้นพืชลงในใบงาน 1 ต้น แล้วเขียนลูกศรแสดงทิศทางการลำเลียงน้ำและอาหาร จากน้ัน ระบายสีภาพให้สวยงาม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 35 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 การดำรงชีวติ ของพืช เวลา 2 ชัว่ โมง แผนการจดั การเรยี นรู้เร่ือง การลำเลียงนำ้ และอาหาร 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ผ้สู อนนางสาวจนั จริ า ธนนั ชยั 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบต่างๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สัมพันธก์ นั รวมท้งั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ 2. ตัวช้ีวัด บรรยายลักษณะและหนา้ ที่ของไซเล็มและโฟลเอ็ม ว 1.2 ม.1/9 เขียนแผนภาพทบ่ี รรยายทศิ ทางการลำเลยี งสารในไซเลม็ และโฟลเอม็ ของพชื ว 1.2 ม.1/10 3. สาระสำคัญ การลำเลียงน้ำในพืชจากลำต้นเข้าสู่รากโดยกระบวนการออสโมซิสผ่านทางเซลล์ขนรากแร่ธาตุในดิน เข้าสู่รากได้โดยการแพร่ผ่านทางเซลล์ขนราก รากมีกลุ่มเซลล์ท่อลำเลียงน้ำทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ โดยเฉพาะ เรียกวา่ ไซเล็ม 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ (1) นักเรียนอธิบายโครงสร้างและการทำงานของระบบลำเลยี งนำ้ และแร่ธาตไุ ด้ (K) (2) นักเรยี นทำการทดลองหนา้ ทข่ี องรากในการดูดน้ำและแร่ธาตุได้ (P) (3) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน และมวี นิ ัยในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (1) ความสามารถในการส่อื สาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสังเกต การสำรวจ การคดิ วเิ คราะห์ การสร้างคำอธิบาย การอภปิ ราย การสอ่ื ความหมาย การทำกจิ กรรมโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบคน้ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา - สามารถแกป้ ัญหาท่ีเกิดขน้ึ ได้อยา่ งเหมาะสม
6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - มีวินัย - มงุ่ ม่นั ในการทำงาน - ใฝ่เรยี นรู้ 7. สาระการเรยี นรู้ การลำเลียงน้ำและแร่ธาตุอาหารของพืชเร่ิมจากน้ำและธาตุอาหารเข้าสู่รากพืชและลำเลียงต่อไป ยังส่วนต่างๆของพืช ซึ่งสังเกตได้จากทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ำสีในต้นเทียน รากเป็นส่วนที่สัมผัสกับดิน และวัสดุอื่นๆ ที่ใช้ปลูกพืช การที่พืชมีรากจำนวนมาก และบริเวณถัดจากปลายรากมีเซลล์ผิวรากบางส่วน เปลี่ยนเป็นเซลล์ขนราก เป็นการช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวของรากในการสัมผัสกับน้ำและธาตุอาหารในดิน ทำให้ รากสามารถดูดน้ำและแร่ธาตุอาหารได้มากขึ้น การลำเลียงน้ำและร่าตุอาหารเข้าสู่เซลล์ขนรากมีวิธีการท่ีแตกต่างกัน ในภาวะปกติสารละลายใน ดินรอบๆรากมีความเข้มข้นต่ำกว่าสารละลายในเซลล์ขนราก น้ำในดินจึงเข้าสู่เซลล์บริเวณผิวรากของพืช โดยการออสโมซิส ส่วนธาตุอาหารในดิน ถ้าในดินมีธาตุหารมากกว่าในราก ธาตุอาหารจากดินจะเข้าสู่ราก โดยการแพร่ แต่ถ้าดินบริเวณนั้นมีธาตุอาหารน้อยกว่าในราก และพืชมีความต้องจำเป็นต้องใช้ธาตุอาหาร นั้น พืชจะเริ่มใช้วิธีอ่ืนซึ่งเป็นวิธีที่ต้องใช้พลังงานในดารดูดธาตุอาหารเช้าสู่ราก เมื่อน้ำและธาตุอาหารเข้าสู่เซลล์ของรากแล้ว จะเคลื่อนที่เข้าสู่เซลล์ถัดเข้าไปในรากจนถึงไซเล็ม (XYLEM) เมื่อตัดเนื้อเยื่อรากและลำต้นตามยาวจะเห็นไซเล็มมีลักษณะเป็นท่อเรียงเชื่อต่อกันตลอดทั่วทั่ง ต้น ซึ่งเป็นเส้นทางที่ใช้ลำเรียงน้ำและแร่ธาตุอาหารข้ึนอย่างต่อเนื่องไปถึงทุกส่วนของพืชได้ การลำเลียงอาหารหรือน้ำตาลที่พืชสร้างขึ้น แตกต่างจากการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ จากภาพตัด ตามขวางของรากและลำต้นจะเห็นว่ามีกลุ่มของเซลล์อีกกลุ่มอยู่ด้านนอกถัดจากไซเล็ม ซึ่งเซลล์กลุ่มนี้ รวมกันเป็นเนื้อเย่ือที่เรียงต่อกันทั่วส่วนขิงพืชเช่นกัน เรียกว่า โฟลเอ็ม (PHLOEM)
8. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใชร้ ูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (10 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยชี้แจงจุดประสงค์ของกิจกรรมและให้นักเรียนอ่าน ขนั้ ตอนการทำกจิ กรรมในใบกจิ กรรม (2) ครแู นะนำวิธกี ารทดลอง ขอ้ ควรปฏิบัติในการทดลอง แจกอุปกรณ์การทดลอง 8.2 ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration) (80 นาท)ี (1) นักเรียนรบั ใบกิจกรรม เรื่องพืชลำเลยี งน้ำและธาตุอาหารอยา่ งไรจากครู และให้นักเรยี น ทำกจิ กรรมการทดลองดงั นี้ - แบง่ นกั เรียนเปน็ 6 กล่มุ ให้แต่ละกลุ่มนำต้นเทียนมาล้างรากใหส้ ะอาด แลว้ สังเกตลักษณะ ของรากและลำตน้ - แชต่ น้ เทยี นในน้ำหมึกสแี ดง ท้ิงไว้ประมาณ 30 นาที - ตดั ลำต้นเทยี นตามขวาง ใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ส่องดู บนั ทึกผลการสงั เกตและวาดภาพลงในใบ กจิ กรรม (2) ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มออกมาสรุปผลการทดลองหนา้ ชั้นเรียน 8.3 ข้ันอภปิ รายและลงข้อสรปุ (Explain) (5 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (น้ำเข้าสู่ รากพืชโดยการออสโมซิส ส่วนธาตุอาหารเข้าสู่รากพืชโดยการแพร่หรือการลำเลียงแบบต้องใช้พลังงาน พืชมีไซเล็ม ทำหน้าที่ลำเลียงนำ้ และธาตอุ าหารจากรากขนึ้ ไปสู่ทุกส่วนของพืชและมโี ฟลเอ็มทำหน้าทล่ี ำเลียงอาหารท่ีพืชสร้างขนึ้ ที่บริเวณท่ีมี สีเขียวไปสู่ทุกส่วนของพืช และจากการทดลองสรุปได้ว่า น้ำจากดินเข้าสู่รากพืชโดยกระบวนการออสโมซิส ส่วนแร่ธาตุเข้าสู่รากพืชโดยกระการแพร่ และส่งต่อไปยังท่อลำเลียงน้ำขึ้นไปถึงใบเมื่อมีน้ำมากเกินความเป็น ต้องมกี ารคายนำ้ ออกทางปากใบการคายนำ้ ชว่ ยเร่งใหร้ ากดดู น้ำขนึ้ มาตลอดเวลา ) 8.4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาที) (1) ครูเพิ่มเติมความรู้ให้นักเรียนโดยเปิดวีดีโอ เรื่องการลำเลียงน้ำของพืช จาก https://www.youtube.com/watch?v=-JsFqwC-QCk ให้นกั เรียนฟัง เพื่อให้นักเรียนเขา้ ใจมากขน้ึ 8.5 ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) (15 นาที) (1) นกั เรียนและครรู ว่ มกันเฉลยใบงาน (2) ครูต้งั คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี น (3) นกั เรียนถามในส่ิงทสี่ งสยั และยังไม่ร้แู ละครอู ธบิ ายเพิ่มเติม 9.สอ่ื การเรยี นรู้ (1) หนังสือวิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (2) ใบกจิ กรรม เร่อื งพืชลำเลียงนำ้ และธาตุอาหารอยา่ งไร (3) วีดีโอ เรือ่ งการลำเลยี งนำ้ ของพืช (4) วัสดุ/อุปกรณ์ ได้แก่ 1. ต้นเทียน 4. สไลด์ 7. ใบมีดโกน 2. แว่นขยาย 5. กระจกปิดสไลด์ 8. น้ำสีแดง 3. บีกเกอร์ 6. กล้องจุลทรรศน์ 9. สารละลายซาฟรานิน
10. การวัดผลและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวดั ผล เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ ผู้ประเมนิ ครูผสู้ อน 1.ด้านความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบกิจกรรม ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ระดบั พอใช้ข้นึ ไป ครผู ู้สอน น ั ก เ ร ี ย น อ ธ ิ บ า ย คำตอบในใบกิจกรรม ผู้เรียนผา่ นเกณฑ์ ครผู ู้สอน โครงสร้างและการ ระดับพอใชข้ น้ึ ไป ทำงานของระบบลำเลียง น้ำและแร่ธาตไุ ด้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะการ ท ำ ก า ร แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) ทดลองหน้าที่ของราก การทำการทดลอง นักเรียนทำการทดลอง ในการดูดน้ำและแร่ธาตุ หน้าที่ของรากในการ หน้าที่ของรากในการดูด ดดู น้ำและแรธ่ าตุ นำ้ และแร่ธาตุได้ 3.ด้านคุณลักษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผเู้ รยี นผา่ นเกณฑ์ ระดับพอใชข้ ้ึนไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมีวินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรยี น ตอ่ เวลาในการสง่ งาน ประสงค์
เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ประเมนิ ดา้ น K รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น อ ธ ิ บ า ย นักเรียนอธิบายโครงสร้าง นักเรียนอธิบายโครงสร้าง นักเรียนอธิบายโครงสร้าง โครงสร้างและการ และการทำงานของระบบ และการทำงานของระบบ และการทำงานของระบบ ท ำ ง า น ข อ ง ร ะ บ บ ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุได้ ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุได้ ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุได้ ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ อย่างถูกต้องและครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- เพียงส่วนน้อย(ต่ำกว่า5 ได้ (8-10คะแนน) 7คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑ์การตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพด้านคณุ ลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ตำ่ กวา่ 5 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน P รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ท ำ ก า ร นักเรียนทำการทดลอง นักเรียนทำการทดลองหน้าที่ นักเรียนทำการทดลอง ทดลองหน้าที่ของราก หน้าที่ของรากในการดูดน้ำ ของรากในการดูดน้ำและแร่ หน้าท่ีของรากในการดูดน้ำ ในการดูดน้ำและแร่ และแร่ธาตุได้ถูกต้องและ ธาตุได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ( และแร่ธาตุได้เพียงส่วน ธาตุได้ ครบถ้วน ( 8-10 คะแนน) 5-7 คะแนน) นอ้ ย (ต่ำกวา่ 5 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ข้ึนไป เกณฑ์การตดั สนิ ระดบั คณุ ภาพด้านคณุ ลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อย่ใู นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 5 คะแนน อยใู่ นระดบั 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ
เกณฑป์ ระเมินด้าน A รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวินยั ในการเรียน เวลาทกุ ครงั้ (4คะแนน) เวลาบางครัง้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ข้ึนไป เกณฑ์การตดั สินระดบั คุณภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถึง ดี 2-3 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ช่วั โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย
11. ผลการประเมนิ นักเรยี นทัง้ หมด………………คน ดา้ น (K) นักเรียนอธิบายโครงสรา้ งและการทำงานของระบบลำเลยี งนำ้ และแร่ธาตุได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยู่ในระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ดา้ น (P) นกั เรยี นทำการทดลองหนา้ ทขี่ องรากในการดูดน้ำและแร่ธาตไุ ด้ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ดา้ น (A) นกั เรียนใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน และมวี ินัยในการเรยี น ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. รายชือ่ นักเรียนที่ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน สาเหตุ-ปัญหา แนวทางแก้ไข ลำดบั ช่อื -สกลุ ลงช่อื ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)
ใบกิจกรรม เร่ืองพืชลำเลียงน้ำและธาตุอาหารอย่างไร จุดประสงค์ สังเกต รวบรวมข้อมูล เขียนแผนภาพทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ำ และบรรยายลักษณะ และหน้าท่ีของเน้ือเย่ือท่อลำเลียงน้ำ วัสดุและอุปกรณ์ 1. ต้นเทียน 4. สไลด์ 7. ใบมีดโกน 2. แว่นขยาย 5. กระจกปิดสไลด์ 8. น้ำสีแดง 3. บีกเกอร์ 6. กล้องจุลทรรศน์ 9. สารละลายซาฟรานิน วิธีการทดลอง 1. สังเกตลักษณะภายนอกของราก ลำต้น และใบของต้นเทียน บันทึกผล 2. นำต้นเทียนมาล้างรากและวางผึ่งลมไว้ประมาณ 2 ชั่วโมง แล้วแช่รากในน้ำสีแดงดังภาพ สังเกต ทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ำสีในรากและลำต้นของต้นเทียน จนกระทั่งเห็นน้ำสีเคลื่อนไปทั่วทั้งต้น บันทึก ผลโดยการเขียนแผนภาพทิศทางการเคล่ือนที่ของน้ำสีในต้นเทียน 3. ตัดรากและลำต้นของต้นเทียนที่ผ่านการแช่น้ำสีตามยาวและตามขวาง หนาประมาณ 0.5 เซนติเมตร สังเกตการณ์ติดสีแดงในเนื้อเยื่อรากและลำต้นด้วยแว่นขยาย บันทึกผล 4. ตักรากและลำต้นของต้นเทียนที่ผ่านการแช่น้ำสีตามยาวและตามขวางบางๆ ดังภาพ แช่ เนื้อเยื่อในน้ำเปล่า จากนั้นย้ายไปแช่ในสารละลายซาฟรานินความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 วินาที แล้วนำเนื้อเยื่อไปวางบนหยดน้ำบนสไลด์ ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์แล้วสังเกตลักษณะของเนื้อเยื่อที่ ติดสีด้วยกล้องจุลทรรศน์ บันทึกผลโดยการวาดภาพหรือถ่ายภาพ 5. อภิปรายเกี่ยวกับเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำและธาตุอาหารของต้นเทียน และรวบรวม ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อเยื่อของรากและลำต้นที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของน้ำและธาตุอาหาร เปรยี บเทยี บขอ้ มูลทไี่ ด้จากการสังเกต ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง ตารางที่1 ผลการสังเกตรากและลำตน้ ของต้นเทียนหลังแช่นำ้ สแี ดงด้วยแวน่ ขยาย ส่ิงทส่ี ังเกต ผลการสังเกต ลกั ษณะของต้น
ตารางที่ 1 ผลการสงั เกตรากและลำตน้ ของตน้ เทียนหลงั แชน่ ้ำสแี ดงดว้ ยแว่นขยาย (ต่อ) สง่ิ ท่สี ังเกต ผลการสงั เกต เนอื้ เยื่อรากตดั ตามยาว เน้ือเยอ่ื รากตดั ตามขวาง เน้อื เย่อื ลำต้นตัดตามยาว
ส่งิ ท่สี ังเกต ผลการสังเกต เนือ้ เยอื่ ลำตน้ ตัดตามขวาง
ตารางท่ี 2 ผลการสังเกตรากและลำตน้ ของตน้ เทยี นหลังแชน่ ำ้ สแี ดงดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ ส่ิงท่สี ังเกต เนอ้ื เยอื่ ราก เน้ือเยอ่ื ลำต้น ตัดตามยาว ตัดตามขวาง แผนภาพแสดงทิศ ทางการเคลอ่ื นที่ ของนำ้ และธาตุ อาหารในต้อนเทยี น
คำถามท้ายกจิ กรรม 1. นำ้ สเี คลอื่ นทีเ่ ขา้ สู่พืชทางใด และมีทิศทางการเคล่ือนที่อย่างไร ทราบได้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………… 2. เมื่อสังเกตเนื้อเยื่อรากและลำต้นด้วยกล้องจุลทรรศน์ ลักษณะเนื้อเยื่อของรากและลำต้นของต้นเทียนเป็น อยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………… 3. เพราะเหตใุ ดกิจกรรมนจี้ ึงใช้ต้นเทยี น ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………… 4. จากกิจกรรม สรุปไดอ้ ยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………
เฉลยใบกจิ กรรม จุดประสงค์ สังเกต รวบรวมข้อมูล เขียนแผนภาพทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ำ และบรรยายลักษณะ และหน้าที่ของเน้ือเยื่อท่อลำเลียงน้ำ วัสดุและอุปกรณ์ 1. ต้นเทียน 4. สไลด์ 7. ใบมีดโกน 2. แว่นขยาย 5. กระจกปิดสไลด์ 8. น้ำสีแดง 3. บีกเกอร์ 6. กล้องจุลทรรศน์ 9. สารละลายซาฟรานิน วิธีการทดลอง 1. สังเกตลักษณะภายนอกของราก ลำต้น และใบของต้นเทียน บันทึกผล 2. นำต้นเทียนมาล้างรากและวางผ่ึงลมไว้ประมาณ 2 ชั่วโมง แล้วแช่รากในน้ำสีแดงดังภาพ สังเกต ทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ำสีในรากและลำต้นของต้นเทียน จนกระทั่งเห็นน้ำสีเคลื่อนไปทั่วทั้งต้น บันทึก ผลโดยการเขียนแผนภาพทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ำสีในต้นเทียน 3. ตัดรากและลำต้นของต้นเทียนที่ผ่านการแช่น้ำสีตามยาวและตามขวาง หนาประมาณ 0.5 เซนติเมตร สังเกตการณ์ติดสีแดงในเน้ือเย่ือรากและลำต้นด้วยแว่นขยาย บันทึกผล 4. ตักรากและลำต้นของต้นเทียนที่ผ่านการแช่น้ำสีตามยาวและตามขวางบางๆ ดังภาพ แช่ เนื้อเยื่อในน้ำเปล่า จากนั้นย้ายไป แช่ในสารละลายซาฟรานินความเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 วินาที แล้วนำเนื้อเยื่อไปวางบนหยดน้ำบนสไลด์ ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์แล้วสังเกตลักษณะของเนื้อเยื่อที่ ติดสีด้วยกล้องจุลทรรศน์ บันทึกผลโดยการวาดภาพหรือถ่ายภาพ 5. อภิปรายเกี่ยวกับเนื้อเยื่อที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำและธาตุอาหารของต้นเทียน และรวบรวม ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อเยื่อของรากและลำต้นที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของน้ำและธาตุอาหาร เปรียบเทยี บขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการสังเกต ตารางบันทึกผลการทดลอง ตารางที1่ ผลการสังเกตรากและลำต้นของตน้ เทียนหลงั แช่น้ำสีแดงดว้ ยแว่นขยาย ส่ิงที่สังเกต ผลการสังเกต ลักษณะของต้น
ตารางที1่ ผลการสังเกตรากและลำต้นของตน้ เทียนหลังแช่นำ้ สีแดงดว้ ยแว่นขยาย (ต่อ) ส่ิงท่ีสังเกต ผลการสังเกต เนือ้ เยอ่ื รากตดั ตามยาว เนื้อเยือ่ รากตดั ตามขวาง เนือ้ เยอ่ื ลำตน้ ตัดตามยาว
เนือ้ เย่อื ลำต้นตัดตามขวาง ตารางท2่ี ผลการสังเกตรากและลำตน้ ของตน้ เทียนหลงั แช่นำ้ สีแดงดว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์ ส่ิงท่ีสังเกต เนื้อเยอ่ื ราก เน้ือเย่ือลำต้น ตดั ตามยาว ตดั ตามขวาง
แผนภาพแสดงทศิ ทางการเคลอื่ นที่ ของนำ้ และธาตุ อาหารในตอ้ นเทยี น คำถามท้ายกิจกรรม 1.น้ำสีเคลอ่ื นทีเ่ ขา้ สู่พชื ทางใด และมีทศิ ทางการเคลอ่ื นท่อี ยา่ งไร ทราบไดอ้ ยา่ งไร น้ำสีเคลื่อนที่เข้าสู่พืชทางราก และมีทิศทางการเคลื่อนที่ขึ้นสู่ส่วนบนไปสู่ลำต้นและใบ ทราบได้จาก การสังเกตเหน็ นำ้ สีแดงเคล่ือนทเี่ ป็นเสน้ ตอ่ เน่ืองจากรากขนึ้ ไปสู่ลำตน้ และใบ 2. เมื่อสังเกตเนื้อเยื่อรากและลำต้นด้วยกล้องจุลทรรศน์ ลักษณะเนื้อเยื่อของรากและลำต้นของต้นเทียน เปน็ อยา่ งไร เม่อื สังเกตด้วยกล้องจลุ ทรรศน์ ลักษณะเนื้อเยื่อตัดตามขวางของรากเห็นกลุ่มเซลล์เรียงชิดติดกันและ แยกเป็นแฉกคล้ายรูปดาว เมื่อตัดตามยาวจะเห็นกลุ่มเซลล์เรียงต่อกันเป็นท่อ ลักษณะเนื้อเยื่อลำต้นของต้น เทียน เมือ่ ตดั ตามขวางจะเหน็ กลุ่มเซลล์ติดสีแดงเรียงเป็นกลุ่มๆ รอบลำตน้ และเมื่อตัดตามยาวส่วนที่ติดสีแดง จะเห็นเปน็ กลุม่ เซลล์เรียงต่อกนั เป็นท่อไปสสู่ ว่ นยอดและแยกไปสใู่ บ 3. เพราะเหตุใดกจิ กรรมนจี้ ึงใช้ต้นเทยี น เพราะเทียนมลี ำตน้ ใส สามารถสังเกตการเคล่อื นท่ขี องนำ้ สีได้ 4. จากกจิ กรรม สรปุ ได้อย่างไร เส้นทางการเคล่ือนท่ีของน้ำสีเร่ิมจากรากขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช คือ ลำต้น ใบ ดอก โดยผ่านกลุ่ม เซลล์ทีเ่ รียงตอ่ กนั เป็นท่อจากรากข้นึ สลู่ ำต้น และต่อไปยงั ส่วนต่างๆ ของพืช
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 36 ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 การดำรงชีวิตของพืช เวลา 1 ช่วั โมง แผนการจัดการเรยี นรเู้ รื่อง การแกป้ ัญหาการขาดธาตอุ าหารของพชื โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ผสู้ อนนางสาวจนั จิรา ธนันชยั 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบต่างๆ ของสตั ว์และมนุษย์ที่ทำงาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงาน สัมพนั ธก์ นั รวมท้งั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ 2. ตัวช้ีวัด อธิบายความสำคัญของธาตุอาหารบางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต ว 1.2 ม.1/14 ของพืช 3. สาระสำคัญ พืชต้องการธาตุอาหารในการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต เพราะธาตุอาหารเป็นองค์ประกอบของ โครงสรา้ งตา่ งๆของพืช และยังเปน็ ส่วนประกอบของสารที่ทำหน้าที่ในกระบวนการสำคัญ เช่น การสังเคราะห์ ด้วยแสง การหายใจ ในดินมีธาตุอาหารหลายชนิดที่จำเป็นต่อพืช แต่ดินในแต่ละพื้นที่อาจมีชนิดและปริมาณ ของธาตอุ าหารแตกต่างกนั ขน้ึ อยกู่ ับชนดิ ของอนิ ทรยี วตั ถแุ ละอินทรยี วัตถุที่เป็นสว่ นประกอบของดิน 4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (1) นักเรยี นสามารถอธิบายการแกป้ ญั หาการขาดธาตอุ าหารของพืชได้ (K) (2) นักเรียนมที กั ษะในการแนะแนวทางการแกป้ ญั หาการขาดธาตุอาหารของพชื ได้ (P) (3) นกั เรียนใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน และมีวนิ ัยในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น (1) ความสามารถในการสอื่ สาร - การอธบิ าย การเขียน การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคิด - การสงั เกต การสำรวจ การคิดวิเคราะห์ การสร้างคำอธิบาย การอภิปราย การสื่อความหมาย การทำกิจกรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแก้ไขปญั หา - สามารถแกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ได้อยา่ งเหมาะสม
6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - มีวนิ ยั - มุ่งม่ันในการทำงาน - ใฝ่เรียนรู้ 7. สาระการเรยี นรู้ การแก้ปัญหาการขาดธาตุอาหารของพืชมีขั้นตอนหลักๆ คือ สังเกตลักษณะอาการ วิเคราะห์ดิน และวิเคราะห์เนื้อเย่ือพืช จากน้ันหาแนวทางการจัดการปรับปรุงดินเพ่ือเพิ่มธาตุอาหารแก่พืช การเพิ่มธาตุอาหารของพืชในดิน ทำได้โดยการใส่ปุ๋ย (FERTILIZER) ซึ่งเป็นวัสดุหรือสารที่มีธาตุ อาหารของพืชเป็นองค์ประกอบ หรือเป็นสิ่งมีชีวิตที่ช่วยสร้างธาตุอาหารให้แก่พืช การใส่ปุ๋ยนอกจากเป็น การเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดินแล้วยังช่วยในการปรับปรุงดินให้พืชสามารถดูดธาตุอาหารไปใช้ได้ดีขึ้น สามารถแบ่งประเภทของปุ๋ยได้ดังนี้ 1. ปุ๋ยเคมี คือ ปุ๋ยที่มาจากสารประกอบที่สังเคราะห์ขึ้น จะมีธาตุอาหารที่พืชสามารถดูดนำไปใช้ ได้ทันที ปุ๋ยเคมีมีหลายชนิดแตกต่างกันไปตามลักษณะ สมบัติและการใช้งาน ปุ๋ยเคมีที่มีการขายใน ท้องตลาดท่ัวไปจะมีเลขสูตรปุ๋ยกำกับซึ่งเป็นเลขที่ระบุปริมาณของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ที่มีอยู่ในปุ๋ยน้ำหนัก 100 กิโลกรัม เช่น สูตร 30-20-10 หมายถึงปุ๋ย 100 กิโลกรัม จะมีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมธาตุละ 30 20 และ 10 กิโลกรัม ตามลำดับ ส่วนอีก 40 กิโลกรัมจะเป็นสาร อื่นๆ ท่ีไม่ให้ธาตุอาหารแก่พืช 2. ปุ๋ยอินทรีย์ คือ ปุ๋ยที่ได้จากการย่อยสลายซากพืชซากสัตว์ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ย เหล่านี้นอกจากจะมีธาตุอาหารที่เหลืออยู่ในซากแล้วยังช่วยปรับสมบัติทางกายภาพของดินให้ดีขึ้น เช่น ระบายน้ำได้ดี อากาศถ่ายเทได้สะดวก ช่วยให้รากดูดธาตุอาหารได้ดีข้ึน 3. ปุ๋ยชีวภาพ คือปุ๋ยท่ีประกอบด้วยจุลินทรีย์ซ่ึงยังมีชีวิตอยู่ จุลินทรีย์เหล่านี้มีสมบัติที่สามารถตรึง ไนโตรเจนในอากาศ หรือเปลี่ยนธาตุอาหารที่อยูในรูปที่พืชยังไม่สามารถนำไปใช้ได้ให้อยู่ในรูปที่พืช สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ในปัจจุบันมีการใช้ปุ๋ยชนิดนี้เพิ่มขึ้น เช่น การใช้สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินที่ อาศัยอยู่ในโพรงใบแหนแดงมาช่วยในการเพิ่มปริมาณไนโตรเจนในนาข้าว การใช้ไมเคอร์ไรซ่าช่วยให้ ฟอสฟอรัสท่ีอยู่ในดินละลายออกมาอยู่ในรูปที่พืชนำไปใช้ประโยชน์ได้ 8. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใชร้ ูปแบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขัน้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) (5 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนสังเกตภาพที่เกี่ยวกับพืชที่ขาดธาตุอาหาร แลว้ ถามคำถามนักเรียนดังต่อไปน้ี -นกั เรยี นคดิ ว่าพืชเหลา่ น้ที ำไมถึงมีลักษณะแบบน้ี (แนวคำตอบ เปน็ เพราะพืชขาดธาตุอาหาร บางอยา่ ง) -นักเรียนจะมีวิธีในการแก้ปัญหาในการขาดธาตุอาหารของพืชเหล่านี้ อย่างไร (แนวคำตอบ ใส่ปุย๋ ทีม่ ีธาตอุ าหารที่พืชเหลา่ น้นั ขาด) (2) ครชู ี้แจงใหน้ กั เรยี นวา่ วันน้คี รูจะสอนเก่ยี วกับการแกป้ ัญหาการขาดธาตุอาหารของพชื
8.2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (40 นาที) (1) ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับการแก้ปัญหาการขาดธาตุอาหารของพืชให้นักเรียนฟัง โดยใช้ ส่ือการสอน PowerPoint และใหศ้ ึกษาเนือ้ หาความร้เู พิม่ เตมิ ในหนังสือเรยี น (2) นักเรยี นรับใบงาน เรอ่ื ง แนวทางการแก้ปัญหาการขาดธาตุอาหารของพืช จากครู และลง มือทำใบงาน (3) สุ่มตัวแทนนักเรยี น 1 คน ออกมาอภิปรายและสรปุ ความรู้ใหเ้ พื่อนๆฟัง 8.3 ข้นั อภิปรายและลงข้อสรุป (Explain) (5 นาท)ี (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (ธาตุอาหารในดินมีความสำคัญต่อ การเจริญเติบโตของพืช ถ้าพืชขาดธาตุอาหารพืชก็จะแสดงอาการผิดปกติจึงจำเป็นต้องทำให้พืชได้รับธาตุ อาหารอย่างเพียงพอ โดยอาจเพ่มิ ธาตอุ าหารในดิน พชื นำธาตอุ าหารไปใช้ประโยชนใ์ นส่วนต่างๆ ของพืชได้) 8.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาที) (1) ครูเพิ่มเติมความรู้ให้นักเรียนโดยเปิดวีดีโอ เรื่องการแก้ปัญหาการขาดธาตุอาหารของพชื โดยวธิ ที ำป๋ยู ชวี ภาพ จาก https://www.youtube.com/watch?v=yp0TGvji8L4 ใหน้ กั เรียนฟัง 8.5 ขัน้ ประเมนิ (Evaluation) (5 นาที) (1)ครตู ั้งคำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียน (2) นกั เรยี นถามในสง่ิ ท่สี งสยั และยังไมร่ ู้และครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ 9. สอื่ การเรียนรู้ (1) สอ่ื การสอน PowerPoint (2) หนงั สอื วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) ใบงาน เร่อื ง แนวทางการแก้ปัญหาการขาดธาตอุ าหารของพืช (4) วีดีโอ เร่ืองการแกป้ ัญหาการขาดธาตุอาหารของพืชโดยวธิ ีทำป๋ยู ชวี ภาพ
10. การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวัดผล เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน ผู้ประเมนิ ครูผสู้ อน 1.ด้านความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบงาน ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อน ระดับพอใช้ขน้ึ ไป นักเรียนสามารถอธิบาย คำตอบในใบงาน ครผู สู้ อน ผ้เู รยี นผา่ นเกณฑ์ การแก้ปัญหาการขาด ระดบั พอใชข้ น้ึ ไป ธาตอุ าหารของพชื ได้ ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์ ระดบั พอใช้ขึ้นไป 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะในการแนะแนว แบบประเมินทักษะใน กระบวนการ (P) ทางการแก้ปัญหาการ การแนะแนวทางการ นักเรียนมีทักษะในการ ขาดธาตุอาหารของพืช แก้ปัญหาการขาดธาตุ แ น ะ แ น ว ท า ง ก า ร ในใบงาน อาหารของพืชในใบ แก้ปัญหาการขาดธาตุ งาน อาหารของพืชได้ 3.ด้านคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เรียน ตั้งใจ ในการ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ชี้ ในการทำงาน และมีวินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอัน พึ ง ในการเรียน ตอ่ เวลาในการส่งงาน ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑป์ ระเมินดา้ น K รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถอธิบาย นกั เรียนอธิบายการแก้ปัญหา น ั ก เ ร ี ย น อ ธ ิ บ า ย ก า ร อธิบายการแก้ปัญหา การแก้ปัญหาการขาดธาตุ การขาดธาตอุ าหารของพืชได้ แก้ปัญหาการขาดธาตุ การขาดธาตุอาหาร อาหารของพืชได้ อย่าง ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- อาหารของพืชได้เพียงส่วน ของพืชได้ ถูกต้องและครบถ้วน(8- 7คะแนน) นอ้ ย(ต่ำกวา่ 5คะแนน) 10คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขึน้ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพดา้ นคณุ ลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อยูใ่ นระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อย่ใู นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดบั 1 หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑ์ประเมนิ ดา้ น P รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนมีทักษะใน นักเรยี นมีทกั ษะในการแนะ นักเรียนมีทักษะในการแนะ นักเรียนมีทักษะในการ การแนะแนวทางการ แนวทางการแก้ปัญหาการ แนวทางการแก้ปัญหาการ แนะแนวทางการแก้ปัญหา แก้ปัญหาการขาดธาตุ ขาดธาตุอาหารของพืชได้ ขาดธาตุอาหารของพืชได้ การขาดธาตุอาหารของพืช อาหารของพชื ได้ ถูกต้องและครบถ้วน ( 8- ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ( 5-7 ได้เพียงส่วนน้อย (ต่ำกว่า 10 คะแนน) คะแนน) 5 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ขึ้นไป เกณฑ์การตดั สนิ ระดับคณุ ภาพด้านคณุ ลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยู่ในระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 5 คะแนน อยใู่ นระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง
เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมวี ินัยในการเรียน เวลาทกุ ครั้ง(4คะแนน) เวลาบางครัง้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ข้ึนไป เกณฑก์ ารตัดสินระดับคุณภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 2-3 คะแนน อย่ใู นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 2 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ……………… เรื่อง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนรทู้ ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้นั …………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครูผสู้ อน …………………………………………….. ตำแหนง่ …………………………………… เวลาที่ใช้ ……… ชวั่ โมง ************************* ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทีม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของ ผเู้ รยี น ลงชอื่ …..........………….......................…….. ครผู จู้ ัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย
11. ผลการประเมิน นกั เรยี นท้ังหมด………………คน ดา้ น (K) นักเรยี นสามารถอธิบายการแกป้ ัญหาการขาดธาตอุ าหารของพชื ได้ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอย่ใู นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. ดา้ น (P) นกั เรยี นมีทกั ษะในการแนะแนวทางการแก้ปญั หาการขาดธาตุอาหารของพืชได้ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ุณภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑก์ ารประเมินมีคณุ ภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ด้าน (A) นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ ม่นั ในการทำงาน และมีวนิ ยั ในการเรยี น ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมคี ุณภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………… ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ มคี ณุ ภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. รายชอื่ นักเรยี นท่ีไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแก้ไข ลำดบั ชื่อ-สกลุ ลงชอ่ื ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)
ใบงาน เรื่อง แนวทางการแก้ปญั หาการขาดธาตุอาหารของพชื ชือ่ ............................................................................ชั้น..................เลขที่.............. คำช้แี จง : จงตอบคำถามต่อไปน้ใี ห้ถูกตอ้ ง 1. ขน้ั ตอนของการแกป้ ญั หาการขาดธาตอุ าหาร คอื ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................... 2. การเพมิ่ ธาตุอาหารพชื ในดิน ทำไดโ้ ดยการ .................................................................................... 3. ปยุ๋ ม.ี ...................ประเภท ดังนี้......................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................. ................................................................... ............................................................................................................................. ................................... 4. ป๋ยุ เคมี คือ ........................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 5. ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ คือ ............................................................................................................................. ..... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................................................................... ......................... 6. ปุ๋ยชีวภาพ คอื .................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ...................................
7. จงบอกข้อดี และข้อเสยี ของปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยชวี ภาพ ขอ้ เสยี ขอ้ ดี 1. ปยุ๋ เคมี 2. ปุ๋ยอินทรีย์ 3. ป๋ยุ ชีวภาพ
8. ปุ๋ยในภาพท้งั 2 ถงุ มีปรมิ าณของไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม เหมอื นหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154