ม.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 1 สารรอบตัวเรา โดย นางสาวจนั จริ า ธนนั ชยั ตำแหน่งครูผู้ช่วย โรงเรยี นรำชประชำนุเครำะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ สำนักบรหิ ำรงำนกำรศกึ ษำพิเศษ กระทรวงศึกษำธกิ ำร
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 เวลา 2 ชั่วโมง หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตัวเรา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 แผนการจัดการเรยี นรเู้ ร่อื ง โครงสร้างของอะตอม ผสู้ อนนางสาวจนั จิรา ธนนั ชัย 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสารการเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี 2. ตวั ช้ีวัด อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้ ว 2.1 ม.1/8 แบบจำลอง 3. สาระสำคัญ อะตอม คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุซึ่งเข้าทำปฏิกิริยาเคมีได้หรือหน่วยพื้นฐานของสสาร ไม่ สามารถแบ่งแยกได้ วิวัฒนาการของแบบจำลองของอะตอม ได้แก่ แบบจำลองอะตอมของจอห์นดอลตัน แบบจำลองอะตอมของทอมสัน แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอรด์ แบบจำลองอะตอมของนีลส์โบร์ และ แบบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ (1) นกั เรียนสามารถอธบิ ายววิ ฒั นาการของแบบจำลองของอะตอมได้ (K) (2) นักเรยี นสามารถเขียนแผนผงั ความคิดวิวฒั นาการของแบบจำลองของอะตอมได้ (P) (3) นกั เรยี นใฝ่เรียนรู้ ม่งุ ม่ันในการทำงาน และมวี นิ ัยในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (1) ความสามารถในการส่ือสาร - การอธบิ าย การเขียน การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคิด - การสังเกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสรา้ งคำอธิบาย การอภปิ ราย การสือ่ ความหมาย การทำกิจกรรมโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบคน้ โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา - สามารถแกป้ ญั หาที่เกดิ ข้นึ ได้อยา่ งเหมาะสม
6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - มวี นิ ยั - มงุ่ มนั่ ในการทำงาน - ใฝ่เรียนรู้ 7. สาระการเรยี นรู้ ววิ ฒั นาการของแบบจำลองอะตอม โครงสรา้ งของอะตอม ดีโมครตี สั ( นกั ปราชญช์ าวกรีก) ได้กลา่ วว่าทุกส่ิงทุกอยา่ งประกอบข้นึ จาก อนภุ าคที่เล็กมาก เล็กมาก จนไม่สามารถมองเหน็ ได้ อนภุ าคเล็กๆ เหล่านี้จะรวมพวกเข้าด้วยกนั โดยวธิ ิการต่างๆ สำหรับอนุภาคเองนั้นไม่ มีการเปลี่ยนแปลงและไม่สามารถจะแตกแยกออกเปน็ ชิ้นส่วนที่เล็กลงไปอีกได้ ดีโมครี- ตัสตั้งชือ่ อนุภาคน้ีวา่ อะตอม (Atom) จากภาษากรีกที่ว่า atoms ซึ่งมีความหมายว่า ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก ตามความคิดเห็น ของเขา สรุป อะตอม คือ อนภุ าคท่ีเลก็ ทส่ี ดุ ของธาตุซง่ึ เขา้ ทำปฏกิ ริ ยิ าเคมีได้หรอื หน่วยพื้นฐานของสสาร ภาพการแปรยี บเทยี บขนาดของอะตอม ประโยชนจ์ ากการเรยี นเรอ่ื งโครงสร้างอะตอม 1. ทราบสมบตั ิทางเคมแี ละสมบัติการเปล่งแสงของธาตุ 2. เราสามารถศึกษาแกแล็กซี่ (galaxy) ดวงดาวและดาวเคราะห์ต่างๆ โดยพิจารณาจากการศึกษา สเปกตรมั ทไ่ี ดจ้ ากดวงดาว ➢ แบบจำลองอะตอมของจอห์นดอลตนั จอห์น ดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษได้เสนอทฤษฎีอะตอมโดยอาศัยข้อมูลจากการทดลองที่ พอจะศึกษาได้และนับว่าเป็นทฤษฎีแรกที่เกี่ยวกับอะตอมที่พอจะเชื่อถือได้ ซึ่งมีใจความดังนี้ สารทุกชนิด ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กที่สุดเรียกว่า “ อะตอม” จะไมส่ ามารถแบ่งแยกได้ และไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่ ได้ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกันทุกประการ อะตอมของธาตุต่างกันจะมีสมบัติต่างกัน ธาตุตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปสามารถรวมตวั กันเกิดเปน็ สารประกอบ โดยมีอัตราส่วนการรวมตัวเปน็ ตัวเลขอย่าง ง่าย เชน่ CO CO 2 จากทฤษฎอี ะตอมของดาลตัน แบบจำลองอะตอมมลี ักษณะดังรูป ลักษณะแบบจำลองอะตอมของดอลตัน
(ตามทฤษฎอี ะตอมของดอลตนั อะตอมในแนวคดิ ปจั จุบัน ข้อ 1, 3, 4 ใช้ไมไ่ ดใ้ นปจั จุบนั ) ข้อ 1. อะตอมไม่ใช่สง่ิ ท่ีเลก็ ท่ีสดุ อะตอมยังประกอบดว้ ยอนุภาคอิเลก็ ตรอน,โปรตอน, นวิ ตรอน เป็น ตน้ ขอ้ 3 - 4 อะตอมของธาตชุ นิดเดียวกันมคี ุณสมบตั ิทางกายภาพไมเ่ หมอื นกัน กลา่ วคอื มีมวลไม่เท่ากัน ซ่ึงจะไดก้ ล่าวต่อไป ในเร่ือง \" ไอโซโทรป\" ➢ แบบจำลองอะตอมของทอมสัน - ทอมสนั คน้ พบ อเิ ล็กตรอน - การทดลองของรอเบิร์ด แอนดรูส์ มิลลิแกน ได้ผลการทดลองว่า อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าเท่ากับ 1.60 x 10-19 คูลอมบ์ และอเิ ลก็ ตรอนมมี วลเทา่ กบั 9.11 x 10-18 กรัม - โกลด์สไตน์ คน้ พบ โปรตอน จากผลการทดลองของทอมสัน โกลด์สไตน์ ทำให้ทอมสันได้ข้อมูลเกี่ยวกับอะตอมมากขึ้นเขาจึงเสนอ แบบจำลองอะตอมวา่ อะตอมมลี กั ษณะเปน็ ทรงกลม - อะตอมไมใ่ ชส่ ง่ิ ท่ีเลก็ ทสี่ ุด แต่อะตอมจะประกอบดว้ ยอเิ ลก็ ตรอน และอนุภาคอืน่ ๆอกี - อะตอมประกอบด้วยอนภุ าคอเิ ลก็ ตรอนท่มี ปี ระจุเป็นลบ อนุภาคโปรตอนมปี ระจเุ ปน็ บวก - อะตอมจะมีโปรตอนและอเิ ลก็ ตรอนกระจายอย่ทู ั่วไปอยา่ งสม่ำเสมอ - อะตอมเปน็ กลางทางไฟฟา้ เพราะ มีจำนวนประจบุ วกเท่ากับประจลุ บ - จากทฤษฎอี ะตอมของทอมสนั แบบจำลองอะตอมมีลักษณะดงั รปู ลักษณะแบบจำลองอะตอมของทอมสนั ➢ แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด อะตอมจะประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนและนิวตรอนรวมตัวกันอยู่อย่างหนาแน่นอยู่ตรงกลาง นิวเคลยี สมีขนาดเล็กมากมีมวลมาก และมีประจบุ วกส่วนอเิ ล็กตรอนซึ่งมีประจุเปน็ ลบและมีมวลนอ้ ยมาก จะ วง่ิ รอบนิวเคลียสเปน็ วงกว้าง การค้นพบนวิ ตรอน เนื่องจากมวลของอะตอมสว่ นใหญอ่ ยูท่ ี่นิวเคลยี สซึ่งเป็นมวล ของโปรตอนแต่โปรตอนมมี วลประมาณครงึ่ หน่ึงของนิวเคลียสเท่านั้น แสดงว่าตอ้ งมอี นภุ าคซึง่ ไม่มีประจุไฟฟ้า แต่มีมวลใกล้เคียงกับโปรตอนอยู่ในอะตอมด้วย เจมส์ แชวิก นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ จึงศึกษาทดลอง เพ่ิมเติมจนพบนิวตรอนซ่งึ เป็นกลางทางไฟฟ้า อะตอมของธาตุทกุ ชนิดในโลกจะมนี ิวตรอนเสมอ ยกเวน้ อะตอม ของไฮโดรเจนในรูปของไอโซโทป สรุปแบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอรด์ อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสทีม่ โี ปรตอนรวมกันอย่ตู รง กลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็ก แต่มีมวลมากและมีประจุเป็นบวก ส่วนอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุเป็นลบ และมีมวล
น้อยมาก จะวงิ่ อย่รู อบนิวเคลยี สเปน็ บริเวณกว้าง จากทฤษฎีอะตอมของ รัทเทอรฟ์ อรด์ แบบจำลองอะตอมมี ลักษณะดงั รปู ลักษณะแบบจำลองอะตอมของรทั เทอร์ฟอรด์ ➢ แบบจำลองอะตอมของนลี ส์โบร์ นักวิทยาศาสตร์ได้พยายามศึกษาลักษณะของการจัดอิเล็กตรอนรอบๆ อะตอม โดยแบ่งการศึกษา ออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นการศึกษษเกีย่ วกับสเปกตรัมของอะตอม ซึ่งทำให้ทราบว่าภายในอะตอมมีการ จดั ระดบั พลงั งานเปน็ ชนั้ ๆ ในแต่ละช้ันจะมีอิเล็กตรอนบรรจุอยู่ ส่วนท่สี องเป็นการศกึ ษาเกี่ยวกบั พลงั งานไอโอ ไนเซชัน เพ่อื ดูวา่ ในแตล่ ะระดบั พลงั งานจะมอี ิเล็กตรอนบรรจุอยู่ไดก้ ี่ตวั สเปกตรัม หมายถึง อนุกรมของแถบสีหรือเส้นท่ีได้จากการผ่านพลังงานรังสีเข้าไปในสเปกโตรสโคป ซึง่ ทำใหพ้ ลงั งานรงั สีแยกออกเป็นแถบหรอื เป็นเสน้ ทมี่ คี วามยาวคลน่ื ตา่ งๆเรยี งลำดบั กนั ไป นลี ส์โบร์ ไดเ้ สนอแบบจำลองอะตอมขน้ึ มา สรุปไดด้ ังนี้ 1 . อเิ ลก็ ตรอนจะเคลือ่ นทร่ี อบนวิ เคลียสเปน็ ชั้นๆ ตามระดบั พลังงาน และแต่ละชั้นจะมพี ลังงานเป็น ค่าเฉพาะตัว 2. อิเลก็ ตรอนทอ่ี ยูใ่ กลน้ วิ เคลียสมากที่สุดจะเรียกว่าระดับพลังงานต่ำสุดย่งิ อย่หู ่างจากนิวเคลียสมาก ขนึ้ ระดบั พลงั งานจะย่ิงสูงข้ึน 3. อเิ ลก็ ตรอนที่อยู่ใกลน้ วิ เคลียสมากท่ีสดุ จะเรยี กระดับพลังงาน n = 1 ระดบั พลังงานถัดไปเรียก ระดับพลังงาน n =2, n = 3,... ตามลำดบั หรอื เรียกเปน็ ชัน้ K , L , M , N ,O , P , Q .... จากทฤษฎอี ะตอมของ นีลสโ์ บร์ แบบจำลองอะตอมมลี กั ษณะดงั รปู ลักษณะแบบจำลองอะตอมของนลี ส์โบร์ ➢ แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก เป็นแบบจำลองที่นักวิทยาศาสตร์คิดว่าเปน็ ไปได้มากที่สุดทง้ั นีไ้ ด้จากการประมวลผลการทดลองและ ข้อมลู ตา่ งๆ อะตอมภายหลังจากท่ีนีลส์โบร์ ไดเ้ สนอแบบจำลองอะตอมขึน้ มา อาจสรปุ ได้ดังนี้
1. อิเล็กตรอนไม่สามารถวิง่ รอบนิวเคลียสด้วยรัศมีที่แน่นอน บางครั้งเข้าใกลบ้ างครั้งออกห่าง จึงไม่ สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนได้ แต่ถ้าบอกได้แต่เพียงที่พบอิเล็กตรอนตำแหน่งต่างๆภายในอะตอมและ อเิ ล็กตรอนที่เคลือ่ นท่ีเรว็ มากจนเหมือนกบั อเิ ลก็ ตรอนอยู่ทว่ั ไป ในอะตอมลกั ษณะนเี้ รยี กว่า \" กลมุ่ หมอก\" 2. กลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆจะมีรูปทรงต่างกันขึ้นอยู่กับจำนวนอิเล็กตรอน และระดับพลงั งานอเิ ลก็ ตรอน 3. กล่มุ หมอกท่ีมอี ิเล็กตรอนระดับพลังงานตำ่ จะอยู่ใกลน้ ิวเคลียสส่วนอิเลก็ ตรอนที่มีระดับพลังงานสูง จะอย่ไู กลนวิ เคลียส 4. อิเล็กตรอนแต่ละตัวไม่ได้อยใู่ นระดบั พลงั งานใดพลงั งานหน่งึ คงท่ี 5. อะตอมมอี เิ ล็กตรอนหลายๆระดับพลังงาน ลักษณะแบบจำลองอะตอมแบบกลุม่ หมอก สรุปแบบจำลองอะตอม 8. กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ใช้รปู แบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) (10 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยถามนักเรียนว่าอะตอมคืออะไร สารชนิดใดบ้างท่ี ประกอบไปด้วยอะตอม และอะตอมเปรียบเสมือนอะไรองสงิ่ มีชีวิต (ใหน้ กั เรยี นตอบตามความคิดของตัวเอง) (แนวคำตอบ อะตอม คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุซึ่งเข้าทำปฏิกิริยาเคมีได้หรือหน่วย พื้นฐานของสสาร ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก ซึ่งสารทุกชนิดจะประกอบไปด้วยอะตอม และอะตอม เปรยี บเสมือนเซลล์ของสิ่งมีชีวิต)
(2) ครชู ี้แจงใหน้ กั เรยี นวา่ วนั น้ีครูจะสอนเรื่องโครงสรา้ งของอะตอม 8.2 ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) (75 นาที) (1) ครูอธิบายความรู้เรื่องโครงสร้างของอะตอมให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint แล้วนักเรียนดูเพมิ่ เติมในหนังสอื หนา้ 52 (2) ครูเปิดวีดีโอ เรื่องวิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม จากhttps://www.youtube. com/watch?v=mZspImyEYyw ใหน้ กั เรียนดูเพ่ือใหเ้ ข้าใจมากข้นึ (3) นักเรียนทุกคนรับกระดาษเอ 4 คนละ 1 แผ่น แล้วให้เขียนแผนผังความคิดวิวัฒนาการ ของแบบจำลองอะตอม พร้อมวาดภาพและระบายสใี ห้สวยงาม (4) ครสู ่มุ ตัวแทนนกั เรียนท่วี าดสวยออกมาอธบิ าย แลว้ ครเู พิม่ คะแนนให้ 8.3 ขน้ั อภิปรายและลงขอ้ สรปุ (Explain) (10 นาที) (1) นกั เรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดงั นี้ (อะตอม คอื อนภุ าคที่เล็กท่ีสุดของ ธาตุซึ่งเข้าทำปฏิกิริยาเคมีไดห้ รือหน่วยพื้นฐานของสสาร ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีก ดอลตัน กล่าวว่าสารทุก ชนิดประกอบด้วยอนภุ าคขนาดเล็กท่ีสุดเรียกว่า “ อะตอม” จะไม่สามารถแบ่งแยกได้ และไม่สามารถสร้างข้ึน ใหม่ได้ ทอมสนั กลา่ วว่า อะตอมจะมีโปรตอนและอเิ ล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วไปอย่างสม่ำเสมอ รัทเทอร์ฟอร์ด กล่าวว่า อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมกันอยู่ตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็ก แต่มีมวลมาก และมปี ระจุเปน็ บวก สว่ นอิเล็กตรอนซ่งึ มปี ระจุเปน็ ลบ และมมี วลนอ้ ยมาก จะวิง่ อย่รู อบนวิ เคลียสเป็นบริเวณ กวา้ ง นลี ส์โบร์ กลา่ ววา่ อิเล็กตรอนจะเคลอ่ื นทีร่ อบนิวเคลียสเปน็ ชนั้ ๆ ตามระดับพลงั งาน และแต่ละช้ันจะมี พลงั งานเปน็ ค่าเฉพาะตัว และกลุม่ หมอกท่มี อี เิ ลก็ ตรอนระดบั พลงั งานต่ำจะอยู่ใกลน้ วิ เคลียสสว่ นอิเล็กตรอนท่ี มรี ะดับพลังงานสูงจะอยไู่ กลนวิ เคลียส) 8.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (15 นาที) (1) ครูเพิ่มเติมความรู้โดยเปิดวีดีโอ เรื่องการยิงอนุภาคแอลฟาของรัทเทอร์ฟอร์ดจาก https://www.youtube.com/watch?v=R8tM_vTfnFk ใหน้ กั เรยี นดู 8.5 ขัน้ ประเมิน (Evaluation) (10 นาท)ี (1) ครตู ง้ั คำถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี น (2) นักเรียนถามในสง่ิ ท่สี งสัยและยังไมร่ ูแ้ ละครอู ธบิ ายเพ่มิ เตมิ (3) สงั เกตความสนใจและความกระตอื รอื ร้นของนกั เรยี น 9. สื่อการเรียนรู้ (1) ส่ือการสอน PowerPoint (2) หนังสอื วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) การดาษเอ 4 (4) วดี โี อ เร่ืองววิ ฒั นาการของแบบจำลองอะตอม (5) วีดีโอ เรอ่ื งการยงิ อนุภาคแอลฟาของรทั เทอรฟ์ อรด์
10. การวัดผลและประเมินผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวดั ผล เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน ผู้ประเมนิ ครผู สู้ อน 1.ด้านความรู้ (K) ตรวจสอบความถูกต้อง แผนผงั ความคิด ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ครูผูส้ อน ระดบั พอใชข้ น้ึ ไป นกั เรียนสามารถอธบิ าย ของเนื้อหาในแผนผัง ครผู ูส้ อน ผ้เู รยี นผ่านเกณฑ์ ววิ ฒั นาการของ ความคิด ระดบั พอใชข้ นึ้ ไป แบบจำลองของอะตอมได้ ผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ ระดับพอใชข้ ึ้นไป 2.ดา้ นทักษะ/ ดูทกั ษะการเขียนแผนผัง แบบประเมินทักษะการ กระบวนการ (P) ความคิดวิวัฒนาการของ เขียนแผนผังความคิด นกั เรียนสามารถเขยี น แบบจำลองของอะตอม ว ิ ว ั ฒ น า ก า ร ข อ ง แผนผงั ความคิด แบบจำลองของอะตอม ววิ ฒั นาการของ แบบจำลองของอะตอมได้ 3.ดา้ นคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตัง้ ใจเรยี น แบบประเมินพฤติกรรม นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน ตั้งใจในการทำงาน และ บ่งชี้คุณลักษณะอันพึง ในการทำงาน และมีวินัย ความตรงต่อเวลาในการ ประสงค์ ในการเรียน ส่งงาน
เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ประเมินดา้ น K รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น สา ม า ร ถ นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนอธิบายวิวัฒนาการ น ั ก เ ร ี ย น อ ธ ิ บ า ย อธิบายวิวัฒนาการ ววิ ัฒนาการของแบบจำลอง ของแบบจำลองของอะตอม ว ิ ว ั ฒ น า ก า ร ข อ ง ของแบบจำลองของ ของอะตอมได้อย่างถูกต้อง ได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- แบบจำลองของอะตอมได้ อะตอมได้ แ ล ะ ค ร บ ถ ้ ว น ( 8- 7คะแนน) เพียงส่วนน้อย(ต่ำกว่า5 10คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสินระดบั คณุ ภาพด้านคณุ ลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อยู่ในระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 5 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์ประเมินดา้ น P รายการประเมิน ดี (3) ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถเขียน นักเรียนสามารถเขียน น ั ก เ ร ี ย น เ ข ี ย น แ ผ น ผั ง นักเรียนเขียนแผน ผัง แ ผ น ผ ั ง ค ว า ม คิ ด แ ผ น ผ ั ง ค ว า ม คิ ด ความคิดวิวัฒนาการของ ความคิดวิวัฒนาการของ ว ิ ว ั ฒ น า ก า ร ข อ ง ววิ ฒั นาการของแบบจำลอง แบบจำลองของอะตอมได้ แบบจำลองของอะตอมได้ แ บ บ จ ำ ล อ ง ข อ ง ของอะตอมได้ อย่างถกู ต้อง ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ( 5-7 เพียงส่วนน้อย (ต่ำกว่า 5 อะตอมได้ แ ล ะ ค ร บ ถ ้ ว น ( 8 - 1 0 คะแนน) คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั 2 ขน้ึ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดับคุณภาพดา้ นคณุ ลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยูใ่ นระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง
เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวินยั ในการเรียน เวลาทกุ ครัง้ (4คะแนน) เวลาบางครง้ั (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั 2 ข้ึนไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คุณภาพด้านคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยใู่ นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ……………… เร่ือง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนร้ทู ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้ัน…………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครผู สู้ อน …………………………………………….. ตำแหน่ง …………………………………… เวลาทใี่ ช้ ……… ชว่ั โมง ************************* ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทมี่ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของ ผูเ้ รยี น ลงชื่อ …..........………….......................…….. ครผู ู้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย
12.4 ผลการประเมนิ นกั เรยี นท้งั หมด………………คน ดา้ น (K) นักเรยี นสามารถอธบิ ายวิวฒั นาการของแบบจำลองของอะตอมได้ ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคุณภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยู่ในระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ดา้ น (P) นักเรียนสามารถเขียนแผนผังความคดิ ววิ ัฒนาการของแบบจำลองของอะตอมได้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ……………. ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. ดา้ น (A) นกั เรียนใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และมวี นิ ยั ในการเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมินมีคุณภาพอย่ใู นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเป็นรอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยูใ่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. รายชอื่ นักเรยี นที่ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแกไ้ ข ลำดบั ชื่อ-สกุล ลงช่ือ...............................................(ผู้สอน) (..............................................)
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 เวลา 2 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั เรา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 แผนการจัดการเรียนรู้เร่ือง องคป์ ระกอบของอะตอม ผสู้ อนนางสาวจันจริ า ธนนั ชัย 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสารการเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี 2. ตวั ชีว้ ัด อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้ ว 2.1 ม.1/8 แบบจำลอง 3. สาระสำคัญ ชนิดของอนุภาคมูลฐานของอะตอม ทุกอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่สำคัญคือ โปรตอน,นิวตรอน และอิเลก็ ตรอน โดยมีโปรตอนกับนวิ ตรอนอยภู่ ายในนิวเคลยี ส นิวเคลยี สนีจ้ ะครอบครองเนื้อที่ภายในอะตอม เพียงเล็กน้อย และมีอิเลก็ ตรอนวงิ่ รอบๆ นวิ เคลียสด้วยความเรว็ สูง เลขอะตอม เลขมวล สัญลักษณ์นิวเคลียร์ การเขยี นสัญลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์ และคำศัพทท์ ่ีควรทราบ ได้แก่ ไอโซโทป ไอโซบาร์ และไอโซโทน 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (1) นักเรียนสามารถอธิบายความหมายของสัญลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์ได้ (K) (2) นักเรียนมีทักษะในการคำนวณหาจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอนได้ (P) (3) นักเรียนใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน และมวี ินยั ในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน (1) ความสามารถในการส่อื สาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสงั เกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสรา้ งคำอธบิ าย การอภิปราย การสื่อความหมาย การทำกจิ กรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบคน้ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแก้ไขปัญหา - สามารถแกป้ ญั หาทเี่ กดิ ข้นึ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - มีวินัย - ม่งุ มนั่ ในการทำงาน - ใฝ่เรยี นรู้ 7. สาระการเรียนรู้ อนภุ าคมลู ฐานของอะตอม ชนิดของอนุภาคมูลฐานของอะตอม ทุกอะตอมประกอบด้วยอนุภาคที่สำคัญคือ โปรตอน,นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน โดยมีโปรตอนกับนวิ ตรอนอยู่ภายในนิวเคลียส นวิ เคลียสนีจ้ ะครอบครองเน้ือที่ภายในอะตอม เพียงเล็กน้อย และมีอิเล็กตรอนวิ่งรอบๆ นิวเคลียสด้วยความเร็วสูง คล้ายกับมีกลุ่มประจุลบปกคลุมอยู่ โดยรอบ อนภุ าค ประจุ ( หน่วย) ประจุ (C) มวล (g) มวล (amu) อิเลก็ ตรอน -1 1.6 x 10-19 0.000549 9.1096 x 10-28 โปรตอน +1 1.6 x 10-19 1.007277 1.6726 x 10-24 นิวตรอน 0 1.008665 1.6749 x 10-24 0 อิเลก็ ตรอน สัญลักษณ์ e - มแี ระจุลบ และมีมวลน้อยมาก โปรตอน สัญลกั ษณ์ p + มีประจเุ ป็นบวก และมีมวลมากกว่า อเิ ล็กตรอน ( เกือบ 2,000 เท่า) นิวตรอน สญั ลกั ษณ์ n มีประจุเป็นศนู ย์ และมมี วลมากพอๆ กับโปรตอน เลขอะตอม เลขมวล และสัญลักษณน์ วิ เคลียร์ 1. จำนวนโปรตอนในนวิ เคลยี สเรยี กว่า เลขอะตอม (atomic number, Z) 2. ผลบวกของจำนวนโปรตอนกบั นวิ ตรอนเรยี กว่า เลขมวล (mass number, A) (จำนวนอิเลก็ ตรอนเทา่ กับจำนวนโปรตอน) A = Z + N โดยท่ี N เปน็ จำนวนนิวตรอน ( เลขเชิงมวลจะเปน็ จำนวนเตม็ และมคี า่ ใกล้เคียงกบั มวลของอะตอม) การเขยี นสัญลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ เขียน (A) ไว้ข้างบนดา้ นซ้ายของสญั ลกั ษณธ์ าตุ เขียน (Z) ไว้ขา้ งลา่ งดา้ นซ้ายของสญั ลักษณธ์ าตุ X = สัญลักษณ์ของธาตุ
คำศัพท์ทค่ี วรทราบ ไอโซโทป( Isotope ) หมายถึง อะตอมของธาตุชนดิ เดียวกัน มีเลขอะตอมเท่ากัน แตม่ เี ลขมวลตา่ งกัน เชน่ ไอโซบาร์( Isobar ) หมายถึง อะตอมของธาตุต่างชนิดกันที่มีเลขมวลเท่ากัน แต่มีเลขอะตอมไม่ เทา่ กัน เช่น ไอโซโทน( Isotone ) หมายถงึ อะตอมของธาตตุ ่างชนดิ กนั แตม่ จี ำนวนนวิ ตรอนเทา่ กนั เช่น การหาอนภุ าคมลู ฐานของอะตอม จากสัญลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ ดังนน้ั อะตอมของธาตลุ ิเทยี ม ( Li ) มีจำนวน โปรตอน = 3 ตวั อเิ ลก็ ตรอน = 3 ตวั นิวตรอน = 4 ตวั 8. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใชร้ ูปแบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) (10 นาท)ี (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยนำรูปภาพสัญลักษณ์นิวเคลียร์ให้นกั เรียนดู แล้วถาม วา่ ภาพท่เี ห็นคอื อะไร (ใหน้ ักเรียนตอบตามความคดิ ของตัวเอง) (2) ครูชีแ้ จงใหน้ ักเรียนวา่ วันน้ีครูจะสอนเรือ่ งองค์ประกอบของอะตอม 8.2 ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) (80 นาท)ี (1) ครูอธิบายความรู้เรื่ององค์ประกอบของอะตอมให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint (2) ครูเปิดวีดีโอ เรื่องโครงสร้างอะตอมและสัญลักษณ์นิวเคลียร์ จากhttps://www. youtube.com/watch?v=LQAqCKMU5Co ใหน้ กั เรยี นดูเพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจมากข้ึน (3) นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม นักเรียนรบั ใบกิจกรรมและอปุ กรณ์จากครู และครูอธิบายการ ทำกจิ กรรมตามขนั้ ในหนงั สือหนา้ 164 ใหน้ ักเรยี นฟัง (4) นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ทำการทดลองตามในหนงั สอื
8.3 ข้นั อภิปรายและลงข้อสรปุ (Explain) (10 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังน้ี (อะตอมของธาตุประกอบด้วย โปรตอน (proton) นวิ ตรอน (neutron) และอิเล็กตรอน (electron) โปรตอนมปี ระจุบวก นิวตรอนเป็นกลาง ทางไฟฟ้า ส่วน อิเล็กตรอนมปี ระจุลบ โดยโปรตอนและนวิ ตรอนอยู่รวมกันตรงกลางของอะตอม อิเล็กตรอน อยู่ในที่ว่างรอบ ๆ แต่ละ ธาตุมีจำนวนโปรตอน นิวตรอนและอิเล็กตรอนของแตกต่างกัน แต่จำนวนโปรตอน และอเิ ล็กตรอนของแตล่ ะธาตจุ ะเท่า กนั ) 8.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาที) (1) ครูเพ่ิมเติมความรู้เก่ียวกบั ธาตุทค่ี ้นพบในยคุ แรกๆของเอกภพให้นกั เรียนดงั น้ี เมื่อประมาณ 13,000 ล้านปีมาแล้วตามทฤษฏีบิกแบง ในยุคเริ่มแรกจักรวาลมีขนาดเล็ก พลังงาน มหาศาลอัดแน่นเป็นสสาร ตามทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอสไตน์ (E = mc2) เมื่อจักรวาลเยน็ ตัวลง ธาตุ แรกท่เี กิดขึ้นคอื ไฮโดรเจน ซงึ่ ประกอบขนึ้ อยา่ งเรียบง่ายด้วยโปรตอนและอิเลค็ ตรอนอยา่ งละตวั ไฮโดรเจนจึง เป็นธาตุที่มีอยู่มากที่สุดในจักรวาล เมื่อไฮโดรเจนเกาะกลุ่มกันจนเป็นกลุ่มแก๊สขนาดใหญ่เรียกว่า เนบิวลา (Nebula) แรงโน้มถ่วงที่ศูนย์กลางทำให้กลุ่มแก๊สยุบตัวกันจนเกิดปฏิกริยานิวเคลียร์ฟิวชัน หลอมรวม ไฮโดรเจนใหเ้ ป็นฮเี ลียม ดาวฤกษ์จึงกำเนดิ ข้นึ เม่ือดาวฤกษ์เผาผลาญไฮโดรเจนจนหมด ก็จะเกดิ ฟิวชนั ฮีเลียม เกิดธาตุลำดบั ตอ่ ไป ได้แก่ คารบ์ อน ออกซเิ จน ซลิ ิกอน และเหลก็ (เรยี งลำดับในตารางธาตุ) ธาตุเหลา่ นี้จึงเป็น ธาตสุ ามัญและพบอยมู่ ากมายบนโลก ในท้ายทส่ี ุดเม่ือดาวฤกษ์ขนาดใหญ่สิ้นอายุขัย กจ็ ะระเบิดเป็นซูเปอร์โน วา เกิดธาตุหนักทห่ี ายากในลำดบั ต่อมา เชน่ เงิน ทอง เป็นตน้ ธาตุเหลา่ น้จี ึงเป็นธาตุทหี่ ายากบนโลก 8.5 ขนั้ ประเมิน (Evaluation) (20 นาท)ี (1) นกั เรยี นและครรู ว่ มกันเฉลยใบงาน (2) ครูต้งั คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน (3) นกั เรยี นถามในส่งิ ทสี่ งสัยและยงั ไมร่ แู้ ละครูอธบิ ายเพ่มิ เตมิ 9. สือ่ การเรยี นรู้ (1) สื่อการสอน PowerPoint (2) หนังสอื วทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน ม.1 เล่ม 1 (สสวท) (3) ใบงาน เร่ืององคป์ ระกอบของอะตอม (4) วดี ีโอ เรื่องโครงสรา้ งอะตอมและสัญลกั ษณ์นวิ เคลยี ร์
10. การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั ผล เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมิน ผู้ประเมนิ ครผู ้สู อน 1.ด้านความรู้ (K) ตรวจสอบความถูกต้อง ใบงาน ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์ ครูผูส้ อน ระดบั พอใชข้ นึ้ ไป นักเรียนสามารถอธิบาย ของคำตอบในใบงาน ครูผู้สอน ผูเ้ รียนผา่ นเกณฑ์ ความหมายของ ระดบั พอใชข้ น้ึ ไป สัญลักษณ์นิวเคลยี รไ์ ด้ ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ระดับพอใชข้ น้ึ ไป 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดู ท ั ก ษ ะ ใ น ก า ร แบบประเมินทักษะใน กระบวนการ (P) ค ำ น ว ณ ห า จ ำ น ว น การคำนวณหาจำนวน นักเรียนมีทักษะในการ โปรตอน นวิ ตรอน และ โปรตอน นิวตรอน ค ำ น ว ณ ห า จ ำ น ว น อเิ ล็กตรอน และอเิ ล็กตรอน โปรตอน นิวตรอน และ อเิ ลก็ ตรอนได้ 3.ดา้ นคุณลักษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น เร ียน ตั้ง ใจ ใน ก าร พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ชี้ ในการทำงาน และมวี ินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอ ัน พึง ในการเรียน ตอ่ เวลาในการส่งงาน ประสงค์
เกณฑ์การประเมิน เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน K รายการประเมิน ดี (3) ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามา ร ถ นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนอธิบายความหมาย น ั ก เ ร ี ย น อ ธ ิ บ า ย อธิบายความหมาย ความหมายของสัญลักษณ์ ของสัญลักษณ์นิวเคลียร์ได้ ความหมายของสัญลักษณ์ ข อ ง ส ั ญ ล ั ก ษ ณ์ นิวเคลียร์ได้อย่างถูกต้อง ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- นิวเคลียร์ได้เพียงส่วนน้อย นวิ เคลียรไ์ ด้ แ ล ะ ค ร บ ถ ้ ว น ( 8- 7คะแนน) (ตำ่ กว่า5คะแนน) 10คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั 2 ขนึ้ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดบั คุณภาพดา้ นคณุ ลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยูใ่ นระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑ์ประเมินดา้ น P รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนมีทักษะใน นักเรียนมีทักษะในการ นักเรียนมีทักษะในการ นักเรียนมีทักษะในการ การคำนวณหาจำนวน คำนวณหาจำนวนโปรตอน คำนวณหาจำนวนโปรตอน คำนวณหาจำนวนโปรตอน โปรตอน นิวตรอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนได้ นิวตรอน และอิเล็กตรอน และอิเลก็ ตรอนได้ ไ ด้ อย่าง ถูก ต้อ ง แ ล ะ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ( 5-7 ได้ เพียงส่วนน้อย (ต่ำกว่า ครบถว้ น ( 8-10 คะแนน) คะแนน) 5 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดับ 2 ขึ้นไป เกณฑก์ ารตัดสินระดบั คณุ ภาพด้านคณุ ลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวินัยในการเรียน เวลาทุกครั้ง(4คะแนน) เวลาบางครงั้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 2 ขึน้ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คณุ ภาพด้านคุณลักษณะ (A) 4 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 2 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถึง ปรับปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ……………… เร่ือง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนร้ทู ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้ัน…………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครผู สู้ อน …………………………………………….. ตำแหน่ง …………………………………… เวลาทใี่ ช้ ……… ชว่ั โมง ************************* ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทมี่ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของ ผูเ้ รยี น ลงชื่อ …..........………….......................…….. ครผู ู้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนันชยั ) ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
11. ผลการประเมิน นักเรยี นทงั้ หมด………………คน ด้าน (K) นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของสญั ลกั ษณน์ วิ เคลียรไ์ ด้ ผ่านเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ดา้ น (P) นกั เรียนมีทักษะในการคำนวณหาจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอนได้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยใู่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ด้าน (A) นักเรียนใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มนั่ ในการทำงาน และมีวนิ ัยในการเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…………… ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. รายชอ่ื นกั เรียนทีไ่ มผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมิน สาเหตุ-ปัญหา แนวทางแกไ้ ข ลำดับ ชอ่ื -สกุล ลงชอื่ ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)
ใบงาน เร่อื งองค์ประกอบของอะตอม 1. จงเตมิ คำในชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกต้อง 2. จงเตมิ ตัวเลขลงในตารางใหถ้ ูกตอ้ ง สัญลกั ษณ์ จำนวน จำนวน จำนวน เลขมวล เลขอะตอม โปรตอน อิเลก็ ตรอน นิวตรอน O186 Ba15367 N2100 He24 F199 3. จงอธบิ ายคำต่อไปน้ใี ห้ถกู ต้อง 3.1 เลขมวล คือ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.2 เลขอะตอม คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.3 ไอโซโทป คือ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.4 ไอโซบาร์ คือ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.5 ไอโซโทน คือ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลยใบงาน 1. จงเตมิ คำในชอ่ งว่างใหถ้ ูกตอ้ ง สัญลักษณธ์ าตุ เลขมวล เลขอะตอม 2. จงเตมิ ตัวเลขลงในตารางให้ถกู ต้อง สญั ลักษณ์ธาตุ จำนวน จำนวน จำนวน เลขมวล เลขอะตอม โปรตอน อิเล็กตรอน นวิ ตรอน 16 8 O186 137 56 Ba15367 8 8 8 20 10 N2100 4 2 He42 56 56 81 19 9 F199 10 10 10 2 2 2 9 9 10 3. จงอธิบายคำต่อไปนี้ให้ถกู ต้อง 3.1 เลขมวล หมายถงึ ผลบวกของจำนวนโปรตอนกบั นิวตรอนของธาตุนน้ั ๆ 3.2 เลขอะตอม หมายถงึ จำนวนโปรตอนในนิวเคลยี สของธาตุนน้ั ๆ 3.3 ไอโซโทป( Isotope ) หมายถงึ อะตอมของธาตชุ นดิ เดียวกนั มเี ลขอะตอมเทา่ กัน แต่มเี ลขมวลตา่ งกัน 3.4 ไอโซบาร์( Isobar ) หมายถึง อะตอมของธาตตุ า่ งชนดิ กนั ที่มเี ลขมวลเท่ากัน แตม่ เี ลขอะตอมไม่ 3.5 ไอโซโทน( Isotone ) หมายถงึ อะตอมของธาตุต่างชนิดกนั แต่มจี ำนวนนิวตรอนเท่ากนั
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 เวลา 1 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 สารรอบตวั เรา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 แผนการจัดการเรียนรู้เรอ่ื ง ธาตแุ ละสญั ลกั ษณข์ องธาตุ ผูส้ อนนางสาวจนั จิรา ธนันชัย 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสารการเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี 2. ตัวชี้วัด อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอะตอม ธาตุและสารประกอบ โดยใช้แบบจำลอง ว 2.1 ม.1/7 และสารสนเทศ 3. สาระสำคญั ประวัติศาสตร์ของตารางธาตุ เริ่มต้นจาก จอห์น นิวแลนด์สได้พยายามเรียงธาตตุ ามมวลอะตอมแต่ เขากลับทำใหธ้ าตุที่มีสมบัติ ต่างกนั มาอย่ใู นหมเู่ ดยี วกัน ธาตุ คอื สารบริสุทธิท์ ่ีประกอบด้วยธาตุหรือสารชนิด เดยี ว ไม่สามารถแยกหรอื สลายออกเปน็ สารอื่นได้ ตารางธาตุ คอื ตารางท่ใี ช้แสดงรายชื่อธาตุเคมีคิดค้นข้ึนโดย นกั เคมชี าวรสั เซีย ดมีตรี เมนเดเลเยฟ ในปี พ.ศ. 2412 และชือ่ ธาตุแบง่ ตามหมู่ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ (1) นกั เรียนสามารถจำชื่อธาตุในตารางธาตุได้ (K) (2) นักเรยี นสามารถเขียนชื่อธาตใุ นตารางธาตุได้ (P) (3) นักเรยี นใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน และมีวินัยในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (1) ความสามารถในการสื่อสาร - การอธบิ าย การเขียน การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคิด - การสังเกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสร้างคำอธิบาย การอภิปราย การส่อื ความหมาย การทำกิจกรรมโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบค้นโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแก้ไขปัญหา - สามารถแก้ปญั หาท่เี กิดข้ึนไดอ้ ย่างเหมาะสม
6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - มวี ินยั - มุ่งมน่ั ในการทำงาน - ใฝ่เรยี นรู้ 7. สาระการเรยี นรู้ ประวตั ิศาสตรข์ องตารางธาตุ เริ่มต้นจาก จอห์น นิวแลนด์สได้พยายามเรียงธาตุตามมวลอะตอมแต่เขากลับทำให้ธาตุที่มีสมบัติ ต่างกันมาอย่ใู นหม่เู ดียวกนั นักเคมสี ่วนมากจึงไม่ยอมรบั ตารางธาตุของนิวแลนด์ส ต่อมา ดมตี รี เมนเดเลเยฟ จงึ ไดพ้ ฒั นาโดยพยายามเรยี งใหธ้ าตุทม่ี ีสมบตั เิ หมอื นกันอยใู่ นหม่เู ดยี ว กันและเวน้ ชอ่ งวา่ งไวส้ ำหรบั ธาตุทีย่ งั ไม่ ค้นพบพร้อมกันนั้นเขายังได้ ทำนายสมบัติของธาตุใหม่ไว้ด้วย โดยใช้คำว่า เอคา (Eka) นำหน้าชื่อธาตุที่อยู่ ด้านบนของธาตุที่ยังว่างอยู่นั้น เช่น เอคา-อะลูมิเนียม(ต่อมาคือธาตุแกลเลียม) เอคา-ซิลิคอน (ต่อมาคือธาตุ เจอร์เมเนียม)แต่นักเคมีบางคนในยุคนั้นยังไม่แน่ใจเนื่อง จากว่าเขาได้สลับที่ธาตุบางธาตุโดยเอาธาตุทีม่ ีมวล อะตอมมากกว่ามาไว้หน้า ธาตทุ ม่ี ีมวลอะตอมน้อยกว่าดมีตรีได้อธิบายว่า เขาตอ้ งการใหธ้ าตุทีม่ ีสมบัติเดียวกัน อยู่ในหมู่เดียวกันเมื่อดมีตรีสามารถ ทำนายสมบัติของธาตุได้อย่างแม่นยำและตารางธาตุของเขาไม่มีข้อน่า สงสัยตารางธาตุของดมีตรีกไ็ ดร้ บั ความนยิ มจากนักเคมีในสมยั น้นั จนถงึ ยุคปจั จุบัน ธาตุ (Element) ธาตุ คือ สารบริสทุ ธิ์ท่ีประกอบด้วยธาตหุ รือสารชนิดเดียว ไมส่ ามารถแยกหรือสลายออกเป็นสารอื่น ได้ อนุภาคท่ีเล็กท่ีสุดของธาตุเรยี กว่า อะตอม ซง่ึ ประกอบด้วยอิเล็กตรอนวิง่ วนรอบนิวเคลียสท่ีประกอบด้วย โปรตอน และ นวิ ตรอน ตารางธาตุ (Periodictable) ตารางธาตุ คือ ตารางที่ใช้แสดงรายชื่อธาตุเคมีคิดค้นขึ้นโดยนักเคมีชาวรัสเซีย ดมีตรี เมนเดเลเยฟ (Dmitri Mendeleev) ในปี พ.ศ. 2412 จากการสงั เกตวา่ เม่อื นำธาตุท่ีรู้จกั มาวางเรยี งตามลำดับเลขอะตอมจะ พบว่า คุณสมบัติพื้นฐานบางอย่างคล้ายกัน สามารถจำแนกเป็นกลุ่มๆ ได้ทำให้เกิดรูปแบบตารางธาตุ และ พัฒนาตอ่ เนอ่ื งมาจนเปน็ อย่างที่เห็น ตารางธาตุเปน็ สว่ นหน่งึ ในการเรียนการสอนวชิ าเคมีดว้ ย ขณะนน้ั ตารางธาตุได้รับการยอมรับและถูกตีพมิ พ์อย่างแพรห่ ลาย แต่บนตารางธาตุมีธาตุปรากฏอยู่ เพียง 69 ชนิด ก่อนได้รับการค้นพบธาตุชนิดใหม่ภายหลัง ทำให้ตารางธาตุได้รับการพัฒนาและปรับปรุงให้ สมบรู ณย์ ิง่ ขนึ้ ปจั จุบัน มธี าตมุ ากถึง 118 ธาตุ ทถ่ี ูกค้นพบแลว้ ประกอบไปดว้ ย 98 ธาตุ จากในธรรมชาติและ อกี 20 ธาตทุ ่ีถกู สงั เคราะหข์ ้ึนในห้องปฏิบตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ หรือในเตาปฏกิ รณน์ ิวเคลยี รโ์ ดยมนุษย์ การจดั ธาตใุ นตารางธาตุ ในตารางธาตุมาตรฐาน ธาตุแต่ละตัวถูกจัดเรียงจากซ้ายไปขวาและจากบนลงล่างตามเลขอะตอม (Atomic Number) หรือจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุ โดยตารางธาตุในปัจจุบันแบ่งธาตุทั้งหมด ออกเป็น 18 หมู่ (Group) ตามแนวด่ิง โดยธาตุทม่ี สี มบัตคิ ล้ายกันจะถกู จดั จำแนกให้อย่ใู นหม่เู ดียวกนั จากการ จัดเรียงเวเลนซอ์ ิเล็กตรอน (Valence Electron) หรือมีจำนวนอิเล็กตรอนในวงนอกสดุ เท่ากนั ทั้ง 18 หมู่ใน ตารางธาตุมีสัญลกั ษณ์เปน็ ตวั เลขโรมันหรือเลขอารบิก จาก 1 ถึง 18 และตัวอักษร เชน่ IA หรือ 1A นอกจากน้ี ธาตุในบางหมยู่ ังมชี ่ือเรียกเฉพาะอีกด้วย เช่น ธาตหุ มู่ IA มชี ือ่ เฉพาะว่า “โลหะแอลคาไล” (Alkali Metal) หรือธาตุหมู่ IIA ที่มีชื่อเฉพาะว่า “โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท” (Alkaline Earth) ธาตุหมู่ VIIA มี ชอื่ เฉพาะว่า “ฮาโลเจน” (Halogen) และธาตุหมทู่ ่ี VIIIA มักถกู เรียกวา่ “กา๊ ซเฉอ่ื ย” (Inert Gas) เป็นตน้
ขณะที่อีก 7 คาบ (Period) ในแนวนอนเป็นตัวบ่งบอกจำนวนชั้นของอิเล็กตรอน (Electron Shell) โดยจำนวนของอิเลก็ ตรอนและโปรตอนของธาตุในคาบเดียวกนั นี้ จะเพิ่มจำนวนขน้ึ ทลี ะหนึ่งชัน้ พร้อมทง้ั ความ เปน็ โลหะทล่ี ดลงจากธาตุหมทู่ างดา้ นซ้ายไปยงั ด้านขวาของตารางธาตุ ในขณะท่ีอิเล็กตรอนจะถกู จัดเรียงในช้ัน ใหม่ เมอ่ื ชั้นเดิมถูกจัดเรยี งจนเตม็ ซ่งึ คือการเริม่ ต้นของคาบใหม่ในตารางธาตุ การจัดเรียงเช่นนี้ ทำให้เกิดการวนซ้ำของธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีที่ใกล้เคียงกันเมื่อเลขอะตอม เพิม่ ข้ึน นอกจากน้ี เม่ือมีมวลมากขน้ึ ธาตสุ ว่ นใหญจ่ ะไม่สามารถคงความเสถียรไว้ได้ ทำใหธ้ าตุที่มีเลขอะตอม สูง มักมโี อกาสพบไดน้ อ้ ยมากในธรรมชาติ ชือ่ ธาตุแบ่งตามหมู่ หมู่ 1A ลิเทียม (Lithium) โซเดียม (Sodium -Natrium) โพแทสเซียม (Potassium – Kalium) รูบิเดียม (Rubidium) ซีเซียม (Cesium) แฟรนเซยี ม(Francium) หมู่ 2A เบริลเลียม (Beryllium) แมกนีเซียม (Magnesium)แคลเซียม (Calcium) สตรอนเชียม (Strontium) แบเรียม (Barium) เรเดียม (Radium) หมู่ 3A โบรอน (Boron) อะลูมิเนียม (Aluminum) แกลเลียม (Gallium) อินเดียม (Indium) แทลเลยี ม (Thallium) หมู่ 4A คาร์บอน (Carbon) ซิลิกอน (Silicon) เจอร์เมเนียม (Germanium) ดีบุก (Tin -Stannum) ตะกวั่ (Lead – Plumbum) หมู่ 5A ไนโตรเจน (Nitrogen) ฟอสฟอรัส (Phosphorous) อะซินิค (สารหนู) (Arsenic) พลวง (Antimony -Stibium) บสิ มัท (Bismuth) หมู่ 6A ออกซิเจน (Oxygen) ซัลเฟอร์ (กำมะถัน) (Sulfur)ซีลีเนียม (Selenium) เทลลูเรียม (Tellurium) พอโลเนียม (Polonium) หมู่ 7A ฟลูออรีน (Fluorine) คลอรีน (Chlorine) โบรมีน (Bromine) ไอโอดีน (Iodine) แอสทาทีน (Astatine) หมู่ 8A ฮีเลียม (Helium) นีออน (Neon) อาร์กอน (Argon) คริปตอน (Krypton) ซีนอน (Xenon) เรดอน (Radon) ยกเว้น ไฮโดรเจน เพราะยังถกเถียงกนั อยู่ว่าจะจัดลงไปที่หมู่ 1 หรือ 7 ดี เพราะคุณสมบัติเปน็ กึง่ ๆ กัน ระหวา่ ง 1A กบั 7A และธาตปุ ระเภททรานซชิ ัน แหล่งกำเนิดของธาตใุ นจกั รวาล 1. ไฮโดรเจนและฮีเลียมเกิดเริม่ แรกในจักรวาลหลังบกิ แบง 2. ธาตุตวั ท่ี 3 คอื ลเิ ทียม ถงึ ตวั ที่ 26 คือเหลก็ เกิดจากภาวะอัดแนน่ ในดวงดาว 3. ธาตตุ ัวที่หนักกวา่ เหล็กจนถงึ ยูเรเนียมเกิดจากดาวระเบดิ หรือปรากฏการณ์ นิวเคลียร์ฟิวช่ันในดาว ฤกษ์ (กรณีหลงั จะไดก้ มั มนั ตภาพรงั สีเป็นสว่ นมาก)
ตารางธาตุ 8. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใชร้ ูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (5 นาที) (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยถามนักเรียนว่าธาตุคืออะไร (ให้นักเรียนตอบตาม ความคดิ ของตัวเอง) (แนวคำตอบ ธาตุ คือ สารบริสุทธท์ิ ป่ี ระกอบด้วยธาตหุ รือสารชนดิ เดียว ไมส่ ามารถแยกหรือ สลายออกเปน็ สารอนื่ ได้) (2) ครูช้ีแจงใหน้ กั เรียนวา่ วันนีค้ รูจะสอนเรอื่ งธาตุและสัญลักษณ์ของธาตุ 8.2 ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration) (35 นาท)ี (1) ครูอธิบายความรู้เรื่องธาตุและสัญลักษณ์ของธาตุให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint (2) ครูเปิดรูปตารางธาตุ แล้วสอนนักเรียนอ่านชื่อธาตุ 20 ธาตุแรก และให้เขียนลงในสมุด โดยวาดตาราง เขียนสัญลกั ษณธ์ าตุ ชื่อภาษาไทย และชอ่ื ภาษาอังกฤษ (3) ครูชแี้ จงให้นักเรยี นวา่ ใหน้ กั เรียนทกุ คนหาเวลาว่างมาสอบท่องชอ่ื 20 ธาตุแรก 8.3 ขน้ั อภิปรายและลงขอ้ สรปุ (Explain) (5 นาท)ี (1) นกั เรยี นและครรู ่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดงั นี้ (ธาตุ คอื สารบรสิ ุทธ์ิทป่ี ระกอบด้วย ธาตุหรือสารชนิดเดียว ไม่สามารถแยกหรือสลายออกเป็นสารอนื่ ได้ ซึ่งมีเยอะมากเป็นร้อยธาตุ การเรียกชื่อก็ แตกต่างกนั ไป ตารางธาตุ คอื ตารางท่ีใชแ้ สดงรายชื่อธาตุเคมีคดิ คน้ ข้ึนโดยนกั เคมีชาวรัสเซีย ดมีตรี เมนเดเล เยฟ ในปี พ.ศ. 2412 และชื่อธาตุแบ่งตามหมู่ที่นักวิทยาศาสตรด์ จั ดั เรยี งไว้) 8.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาที) (1) ครูเพิ่มเติมความรู้โดยเปิดวีดีโอ เรื่องอะไรคือธาตุที่หายากที่สุดในโลก จาก https://www.youtube.com/watch?v=zgiGU4IK7X8 ให้นักเรยี นฟัง
8.5 ขัน้ ประเมิน (Evaluation) (5 นาท)ี (1) ครูตง้ั คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน (2) นกั เรียนถามในส่งิ ทสี่ งสัยและยงั ไมร่ แู้ ละครอู ธบิ ายเพ่มิ เตมิ (3) สงั เกตความสนใจและความกระตือรอื รน้ ของนักเรียน 9. ส่อื การเรียนรู้ (1) ส่ือการสอน PowerPoint (2) หนงั สอื วิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) วีดโี อ เรือ่ งอะไรคือธาตทุ หี่ ายากท่ีสดุ ในโลก
10. การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัดผล เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ ผ้ปู ระเมนิ ครผู สู้ อน 1.ด้านความรู้ (K) ความถูกต้องในการ ชอื่ ธาตุ ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ระดับพอใชข้ ้ึนไป ครผู ู้สอน นักเรียนสามารถจำช่ือ ทอ่ งชอื่ ธาตุ ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ธาตุในตารางธาตุได้ ระดบั พอใช้ขน้ึ ไป 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะเขียนชื่อธาตุใน แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) ตารางธาตุ เขียนชื่อธาตุในตาราง นักเรียนสามารถเขียนชื่อ ธาตุ ธาตใุ นตารางธาตุได้ 3.ดา้ นคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผู้เรียนผ่านเกณฑ์ ครผู ูส้ อน ระดับพอใชข้ ึน้ ไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เร ียน ตั้ง ใจ ใน ก าร พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ชี้ ในการทำงาน และมวี ินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอ ัน พึง ในการเรยี น ต่อเวลาในการส่งงาน ประสงค์
เกณฑ์การประเมิน เกณฑป์ ระเมินด้าน K รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นกั เรียนสามารถจำชื่อ นักเรียนสามารถจำชื่อธาตุ นักเรียนจำชื่อธาตุในตาราง นักเรียนจำชื่อธาตุใน ธาตใุ นตารางธาตุได้ ใน ตาร าง ธ าตุไ ด้ อ ย่าง ธาตุได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ตารางธาตุได้เพียงส่วน ถูกต้องและครบถ้วน(8- (5-7คะแนน) น้อย(ตำ่ กว่า5คะแนน) 10คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั 2 ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตัดสินระดบั คุณภาพด้านคณุ ลกั ษณะ (K) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑ์ประเมินด้าน P รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถเขียน นักเรียนสามารถเขียนชื่อ นักเรียนเขียนชื่อธาตุใน นักเรียนเขียนชื่อธาตุใน ชื่อธาตุในตารางธาตุ ธาตุในตารางธาตุได้ อย่าง ตารางธาตุได้ถูกต้องเป็นส่วน ตารางธาตุได้เพียงส่วน ได้ ถูกต้องและครบถ้วน ( 8- ใหญ่ ( 5-7 คะแนน) นอ้ ย (ต่ำกวา่ 5 คะแนน) 10 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 2 ข้ึนไป เกณฑก์ ารตัดสินระดบั คณุ ภาพดา้ นคณุ ลักษณะ (P) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยูใ่ นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถึง ปรบั ปรุง
เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมวี นิ ยั ในการเรียน เวลาทุกครง้ั (4คะแนน) เวลาบางครงั้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 2 ขึน้ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดบั คณุ ภาพดา้ นคณุ ลักษณะ (A) 4 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 2-3 คะแนน อยูใ่ นระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ตำ่ กว่า2 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถงึ ปรับปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ……………… เร่ือง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนร้ทู ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้ัน…………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครผู สู้ อน …………………………………………….. ตำแหน่ง …………………………………… เวลาทใี่ ช้ ……… ชว่ั โมง ************************* ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทมี่ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของ ผูเ้ รยี น ลงชื่อ …..........………….......................…….. ครผู ู้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนันชยั ) ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
11. ผลการประเมนิ นักเรยี นทัง้ หมด………………คน ด้าน (K) นักเรียนสามารถจำช่ือธาตุในตารางธาตไุ ด้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……………. ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอยู่ในระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ด้าน (P) นกั เรียนสามารถเขยี นชือ่ ธาตุในตารางธาตุได้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ……………. ผ่านเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ด้าน (A) นกั เรยี นใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน และมีวินัยในการเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…………… ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. รายช่อื นกั เรียนทไี่ มผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ สาเหตุ-ปัญหา แนวทางแกไ้ ข ลำดบั ชอื่ -สกลุ ลงชอ่ื ...............................................(ผู้สอน) (..............................................)
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 เวลา 2 ชวั่ โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั เรา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 แผนการจดั การเรยี นร้เู รื่อง การจำแนกธาตุและคณุ สมบตั ิของธาตตุ ่างๆ ผ้สู อนนางสาวจนั จริ า ธนนั ชัย 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสารการเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี 2. ตัวชวี้ ัด อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของ ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใช้ ว 2.1 ม.1/1 หลักฐาน เชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกตและการทดสอบ และใช้สารสนเทศที่ได้จาก แหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ รวมท้งั จดั กลุ่มธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ และ ก่ึงโลหะ 3. สาระสำคัญ ธาตุ (Elements) หมายถงึ สารบรสิ ทุ ธ์เิ นื้อเดียวท่มี ีองค์ประกอบอย่างเดียว ธาตุไม่สามารถแยกสลาย ให้กลายเป็นสารอื่นโดยวิธีการทางเคมี ธาตุมีคุณสมบัติทั้ง 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ธาตุยัง สามารถจำแนกคุณสมบตั อิ อกเป็น ธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ และธาตุก่งึ โลหะ และสมบัตทิ างกายภาพของธาตุ 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (1) นักเรียนสามารถอธบิ ายเกีย่ วกบั สมบตั ติ ่างๆของธาตุได้ (K) (2) นักเรยี นสามารถทำการทดลองเกีย่ วสมบตั ติ ่างๆของธาตุได้ (P) (3) นกั เรียนใฝ่เรียนรู้ มงุ่ ม่ันในการทำงาน และมวี ินัยในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (1) ความสามารถในการส่ือสาร - การอธิบาย การเขียน การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสงั เกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสรา้ งคำอธิบาย การอภิปราย การสอ่ื ความหมาย การทำกจิ กรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื คน้ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปญั หา - สามารถแก้ปญั หาทเี่ กดิ ข้ึนไดอ้ ย่างเหมาะสม
6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ - มวี ินัย - มงุ่ มั่นในการทำงาน - ใฝ่เรียนรู้ 7. สาระการเรียนรู้ ธาตุ (Elements) หมายถึง สารบริสุทธิ์เนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบอย่างเดียว ธาตุไม่สามารถ แยกสลายใหก้ ลายเป็นสารอ่นื โดยวิธกี ารทางเคมี ธาตมุ ีคณุ สมบัตทิ ัง้ 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง เชน่ ธาตุสังกะสี ตะกวั่ เงนิ ของเหลว เชน่ ปรอท และก๊าซ เชน่ ออกซิเจน ไฮโดรเจน เป็นต้น ธาตุยงั สามารถจำแนกคุณสมบัติ ออกเป็น ธาตโุ ลหะ ธาตอุ โลหะ และธาตุก่งึ โลหะ ธาตุโลหะ (metal) เปน็ ธาตุทีม่ ีสถานะเปน็ ของแขง็ (ยกเว้นปรอท ที่เป็นของเหลว ) มีผวิ ท่ีมันวาว นำ ความร้อน และไฟฟ้าได้ดี มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง (ช่วงอุณหภูมิระหว่างจุดหลอมเหลวกับจุดเดือด ต่างกนั มาก) เช่น โซเดียม เหลก็ แคลเซยี ม ปรอท อะลมู เิ นยี ม เปน็ ตน้ ธาตุอโลหะ (non-metal) เป็นกลุ่มธาตุที่มีสมบัติไม่นำไฟฟ้า มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำ เปราะบาง และมีการแปรผันทางด้านคุณสมบัติทางกายภาพมากกว่าโลหะ เช่น ออกซิเจน กำมะถัน ฟอสฟอรัส เป็นตน้ ธาตุกึ่งโลหะ (metalloid) เป็นกลุ่มธาตุที่มีสมบัติก้ำกึ่งระหว่างโลหะและอโลหะ เช่น ธาตุซิลิคอน และเจอเมเนยี ม มสี มบตั ิบางประการคล้ายโลหะ เชน่ นำไฟฟ้าได้บา้ งท่อี ุณหภูมิปกติ และนำไฟฟ้าได้มากข้ึน เมือ่ อุณหภมู เิ พิม่ ขึ้น เป็นของแข็ง เป็นมนั วาวสีเงิน จุดเดือดสงู แต่เปราะแตกง่ายคลา้ ยอโลหะ ใช้สมบตั ทิ างกายภาพเปน็ เกณฑ์ ได้แก่ ความมันวาว การนำไฟฟ้าและนำความร้อน จุดเดือดและ จุดหลอมเหลว ความเหนียว นอกจากนส้ี ามารถจำแนกธาตกุ มั มันตรงั สีโดยใช้สมบัติการแผ่รงั สีเป็นเกณฑ์ ธาตุโลหะมีพื้นผิวมันวาว นำไฟฟ้าและนำ ความร้อนได้ดีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง ไม่เปราะ เหนยี ว เช่น อะลมู เิ นยี ม ทองแดง สังกะสีธาตอุ โลหะมี พ้นื ผวิ ดา้ น ไมม่ ันวาว นำไฟฟา้ และนำความร้อนได้ไม่ดี จุดเดอื ดและจุดหลอมเหลวตำ่ เปราะไม่เหนียวเช่น โบรมีน กำมะถนั คารบ์ อน ธาตุก่งึ โลหะมีสมบัติบางอย่าง เหมือนโลหะและสมบัติบางอย่างเหมือนอโลหะ นำไฟฟ้าได้ดีกว่า อโลหะแต่ไม่ดีเท่าโลหะเช่น พลวง โบรอน ซลิ ิคอน ส่วนธาตกุ มั มนั ตรังสีแผร่ งั สีได้เชน่ ยเู รเนยี ม เรดอน พอโลเนยี ม
แผนภาพสมบตั ิทางกายภาพของธาตุ ตารางธาตุ (Periodic table of elements) คือ ตารางที่นักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมธาตุต่างๆ ไว้ เป็นหมวดหมตู่ ามลกั ษณะ และคุณสมบตั ิทีเ่ หมือนกนั เพ่อื เป็นประโยชนใ์ นการศึกษา ในแตล่ ะส่วนของตาราง ธาตุ โดยคาบ (Period) เป็นการจัดแถวของธาตุแนวราบ ส่วนหมู่ (Group) เป็นการจัดแถวของธาตุในแนวด่ิง ซ่งึ มรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) (10 นาที) (1) กระตนุ้ ความสนใจของนกั เรียนโดยนำรูปภาพตารางธาตุให้นกั เรยี นดู แล้วถามวา่ นักเรียน รู้หรอื ไม่ว่าทำไมตารางธาตุตอ้ งมหี ลายๆสี (ใหน้ กั เรยี นตอบตามความคดิ ของตวั เอง)
(2) ครูชี้แจงให้นักเรียนว่า วันนี้ครูจะสอนเรื่องการจำแนกธาตุและคุณสมบัติของต่างๆของ ธาตุ 8.2 ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) (80 นาที) (1) ครูอธบิ ายความรู้เรอ่ื งการจำแนกธาตุและคุณสมบัติของต่างๆของธาตุใหน้ กั เรยี นฟัง โดย ใช้ส่อื การสอน PowerPoint (2) ครูเปิดวีดีโอ เรื่ององค์ประกอบ สมบัติของธาตุและสารประกอบ จาก https://www. youtube.com/watch?v=qXSMRHhDgy8 ให้นกั เรียนเขา้ ใจมากขนึ้ (3) นกั เรียนแบ่งกล่มุ 6 กลมุ่ และรับใบกจิ กรรม เร่อื งเราจำแนกธาตุไดอ้ ยา่ งไรจากครู (4) ครูชี้แจงและแนะนำให้นักเรียนวางแผนการทำงานร่วมกัน พร้อมทั้งออกแบบตาราง บนั ทกึ ผลให้เรยี บร้อยกอ่ นทำกจิ กรรม และตรวจสอบการออกแบบตารางบนั ทกึ ผลของนกั เรียนแต่ละกลุ่ม โดย อาจใหบ้ างกลมุ่ นำเสนอ แลว้ ครูให้คำแนะนำ ปรบั แกต้ ารางตามความเหมาะสม (5) ให้นักเรียนอ่านขั้นตอนการทำการทดลองในหนังสือหน้า 54 และลงมือทำการทดลอง ตามขนั้ ตอน บนั ทกึ ผลลงในใบกจิ กรรม (6) ครูสมุ่ ตัวแทน 2 กล่มุ ออกมาสรุปผลการทดลอง 8.3 ขน้ั อภปิ รายและลงข้อสรปุ (Explain) (10 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (ธาตุแบ่งได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ซึ่งมีสมบตั ิแตกต่างกันธาตุแต่ละชนิดอาจมี สมบัติที่เหมือนหรือแตกต่างกัน สามารถใช้ สมบัตเิ หล่าน้ีเปน็ เกณฑใ์ นการจำแนกธาตุได้ธาตุที่มพี น้ื ผิวมันวาว นำไฟฟ้า และนำความร้อนได้ดีจุดเดือดและ จดุ หลอมเหลวสูง ไมเ่ ปราะเหนยี วจัดเป็นธาตโุ ลหะ (metal) สว่ นธาตทุ ม่ี ีพื้นผวิ ดา้ น ไม่มันวาว นำไฟฟา้ และนำ ความร้อนไดไ้ มด่ ีจุดเดือดและจดุ หลอมเหลวต่ำ เปราะไมเ่ หนียวจัดเป็นอโลหะ (non-metal) ) 8.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาท)ี (1) ครูเพิม่ เติมความรู้โดยเปดิ วดี ีโอ เร่ืองโลหะทรานซชิ ัน่ (Transition Metal) คอื อะไร 8.5 ขั้นประเมิน (Evaluation) (20 นาท)ี (1) นกั เรยี นและครรู ่วมกันเฉลยคำถามท้ายกจิ กรรม (2) ครตู ั้งคำถามเพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียน (3) นกั เรยี นถามในส่ิงท่สี งสยั และยังไมร่ ้แู ละครอู ธิบายเพิ่มเติม
9. ส่อื การเรยี นรู้ (1) ส่อื การสอน PowerPoint (2) หนังสอื วิทยาศาสตร์พน้ื ฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) วดี โี อ เร่อื งองค์ประกอบ สมบัตขิ องธาตแุ ละสารประกอบ (4) ใบกจิ กรรม เรอ่ื งเราจำแนกธาตไุ ดอ้ ยา่ งไร (5) วดี โี อ เรือ่ งโลหะทรานซชิ ั่น (Transition Metal) คืออะไร
10. การวัดผลและประเมินผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวดั ผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน ผปู้ ระเมนิ ครูผ้สู อน 1.ดา้ นความรู้ (K) ตรวจสอบความถูกต้อง ใบกิจกรรม ผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ ครผู สู้ อน ระดับพอใชข้ ึ้นไป นักเรียนสามารถอธิบาย ข อ ง ค ำ ต อ บ ใ น ใ บ ครผู ูส้ อน ผ้เู รยี นผ่านเกณฑ์ เกี่ยวกับสมบัติต่างๆของ กิจกรรม ระดับพอใช้ขึ้นไป ธาตไุ ด้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะทำการทดลอง แบบประเมนิ ทักษะทำ กระบวนการ (P) เกี่ยวสมบัติต่างๆของ การทดลองเกี่ยว นักเรียนสามารถทำการ ธาตุ สมบัตติ ่างๆของธาตุ ทดลองเกี่ยวสมบัติต่างๆ ของธาตุได้ 3.ดา้ นคณุ ลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ระดบั พอใช้ขนึ้ ไป นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เร ียน ตั้ง ใจ ใน ก าร พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมีวินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอ ัน พึง ในการเรียน ตอ่ เวลาในการส่งงาน ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์ประเมินดา้ น K รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถอธิบาย นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับ อธิบายเกี่ยวกบั สมบัติ เกี่ยวกับสมบัติต่างๆของ สมบัติต่างๆของธาตุได้ สมบัติต่างๆของธาตุได้ ตา่ งๆของธาตไุ ด้ ธาตุได้อย่างถูกต้องและ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- เพียงส่วนน้อย(ต่ำกว่า5 ครบถ้วน(8-10คะแนน) 7คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 2 ข้ึนไป เกณฑ์การตัดสินระดบั คุณภาพด้านคุณลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อย่ใู นระดับ 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑ์ประเมนิ ดา้ น P รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถทำ นักเรียนสามารถทำการ นักเรียนสามารถทำการ นักเรียนสามารถทำการ ก า ร ท ด ล อ ง เ ก ี ่ ย ว ทดลองเกี่ยวสมบัติต่างๆ ทดลองเกี่ยวสมบัติต่างๆของ ทดลองเกี่ยวสมบัติต่างๆ สมบัตติ า่ งๆของธาตุได้ ของธาตุได้อย่างถูกต้อง ธาตุได้ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ของธาตุได้เพียงส่วนน้อย แ ล ะ ค ร บ ถ ้ ว น ( 8 - 1 0 ( 5-7 คะแนน) (ตำ่ กวา่ 5 คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คณุ ภาพดา้ นคณุ ลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยูใ่ นระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อย่ใู นระดบั 1 หมายถึง ปรบั ปรุง
เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวนิ ัยในการเรียน เวลาทกุ ครงั้ (4คะแนน) เวลาบางครงั้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 2 ขึน้ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดับคณุ ภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยู่ในระดบั 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยู่ในระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า2 คะแนน อย่ใู นระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ……………… เร่ือง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนร้ทู ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้ัน…………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครผู สู้ อน …………………………………………….. ตำแหน่ง …………………………………… เวลาทใี่ ช้ ……… ชว่ั โมง ************************* ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทมี่ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของ ผูเ้ รยี น ลงชื่อ …..........………….......................…….. ครผู ู้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนันชยั ) ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
11. ผลการประเมนิ นกั เรยี นทั้งหมด………………คน ด้าน (K) นักเรยี นสามารถอธบิ ายเก่ียวกบั สมบัติตา่ งๆของธาตไุ ด้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยู่ในระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……………. ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ด้าน (P) นกั เรยี นสามารถทำการทดลองเกี่ยวสมบัติตา่ งๆของธาตุได้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……………. ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยูใ่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. ด้าน (A) นกั เรยี นใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มน่ั ในการทำงาน และมีวินยั ในการเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยู่ในระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………… ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. รายช่อื นักเรียนทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแกไ้ ข ลำดับ ชือ่ -สกุล ลงช่ือ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)
ใบกจิ กรรม เร่อื งเราจำแนกธาตไุ ดอ้ ยา่ งไร จดุ ประสงค์………………………………………………………………………………………………………………………………………… วสั ดุและอุปกรณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตารางบนั ทกึ ผลการทดลอง สรุปผลการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คำถามท้ายกิจกรรม 1. ธาตใุ ดบ้างทม่ี สี มบัติความมนั วาว การนำไฟฟา้ และความเหนยี ว เหมอื นกนั ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เมอ่ื จำแนกธาตุโดยใช้สมบัตติ ่อไปนเ้ี ปน็ เกณฑร์ ว่ มกนั ไดแ้ กค่ วามมนั วาวการนำไฟฟ้า ความเหนียวจุดเดือด จดุ หลอมเหลว และการนำความร้อน ได้ผลการจำแนกเปน็ อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ธาตุแบ่งเปน็ ประเภทใดไดบ้ ้าง แตล่ ะประเภทมีสมบตั ิอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ถา้ จำแนกธาตุเปน็ โลหะอโลหะและกง่ึ โลหะโดยใช้เกณฑ์ข้างตน้ จากขอ้ มลู ทีไ่ ด้สังเกตลกั ษณะทางกายภาพ และข้อมูลจากตาราง แต่ละกล่มุ มธี าตใุ ดบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลยใบกิจกรรม จดุ ประสงค์ ทดสอบและเปรยี บเทยี บสมบัติทางกายภาพของธาตุ เพ่ือใช้ในการจำแนกธาตุ วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 1. ตัวอยา่ งธาตตุ า่ งๆไดแ้ ก่อะลมู เิ นียม เหล็ก ทองแดงสงั กะสี กำมะถัน ถา่ นไม้ 1 ชดุ 2. หลอดไฟ 2.5 โวลต์ 1 หลอด 3. สายไฟ พร้อมคลปิ ปากจระเข้ 2 เสน้ 4. แบตเตอรี่ 1.5 โวลต์ 1 กอ้ น 5. คอ้ นยางขนาดเล็ก 1 อัน 6. ถุงพลาสติกขนาดเลก็ 1 ถุง 7. แว่นตานริ ภัย (ถา้ ม)ี 1 อนั /คน 8. กระดาษทราย (ถา้ มี) 1 แผน่ สรุปผลการทดลอง ธาตแุ ตล่ ะชนิดอาจมสี มบตั ิทเ่ี หมือนหรอื แตกตา่ งกนั สามารถใช้สมบัตเิ หลา่ นี้เปน็ เกณฑ์ในการ จำแนก ธาตุได้ธาตุที่มีพื้นผิวมันวาว นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง ไม่เปราะ เหนียว จัดเป็นกลุ่มหนึ่ง ส่วนธาตุที่มีพื้นผิวด้าน ไม่มันวาว นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ ไม่ดีจุดเดือดและจุด หลอมเหลวต่ำ เปราะ ไมเ่ หนียว จดั เปน็ อีกกลมุ่ หนึ่ง
เฉลยคำถามทา้ ยกิจกรรม 1. ธาตุใดบ้างที่มสี มบัติความมนั วาว การนำไฟฟ้า และความเหนยี ว เหมอื นกัน แนวคำตอบ ธาตุอะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง สังกะสีและพลวง มีความมันวาว การนำไฟฟ้าได้ดีและเหนียว เหมือนกนั ส่วนธาตกุ ำมะถันและถ่านไม้ไมม่ ันวาว นำไฟฟา้ ไดไ้ มด่ แี ละไม่เหนยี วเหมือนกัน 2. เมื่อจำแนกธาตุโดยใช้สมบตั ติ อ่ ไปน้ีเปน็ เกณฑ์ร่วมกนั ได้แก่ความมันวาวการนำไฟฟา้ ความเหนียวจุดเดอื ด จุดหลอมเหลว และการนำความรอ้ น ได้ผลการจำแนกเปน็ อย่างไร แนวคำตอบ เมอ่ื ใชส้ มบัติต่างๆเป็นเกณฑ์รว่ มกัน สามารถจำแนกธาตุเป็น 2 กลมุ่ โดยกลุม่ ที่1 มีความมันวาว นำไฟฟา้ ไดด้ เี หนียว จุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลวสงู นำความร้อนไดด้ ไี ด้แก่ อะลมู ิเนียม เหลก็ ทองแดง สังกะสี กลุ่มท่ี 2 ไมม่ นั วาว นำไฟฟา้ ได้ไม่ดไี ม่เหนยี ว จดุ เดือดและจุดหลอมเหลวต่ำ นำความร้อนได้ไมด่ ีไดแ้ ก่กำมะถัน และถา่ นไม้ 3. ธาตแุ บ่งเปน็ ประเภทใดไดบ้ ้าง แต่ละประเภทมีสมบัตอิ ยา่ งไร แนวคำตอบ ธาตุแบง่ เป็น 3 ประเภท คอื โลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ แตล่ ะประเภทมสี มบัติทางกายภาพ ดังน้ี โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูง มีผิวมันวาว นำความร้อน นำไฟฟ้า เหนียว อโลหะส่วนมากมี จุดเดือดจุด หลอมเหลวต่ำ มผี วิ ไม่มันวาว ไมน่ ำความร้อน เปราะแตกหกั ง่าย มีความหนาแน่นต่ำ ไมน่ ำไฟฟ้า ยกเว้นถ่าน ไม้ส่วนธาตุกง่ึ โลหะมสี มบัตบิ างประการเหมือนโลหะ และสมบตั ิบาง ประการเหมอื นอโลหะ 4. ถา้ จำแนกธาตุเป็นโลหะอโลหะและก่งึ โลหะโดยใช้เกณฑ์ข้างตน้ จากข้อมูลทไี่ ดส้ งั เกตลักษณะทางกายภาพ และขอ้ มูลจากตาราง แต่ละกลุ่มมีธาตใุ ดบา้ ง แนวคำตอบ กลมุ่ โลหะ ประกอบด้วย อะลูมิเนยี ม เหลก็ ทองแดง สงั กะสกี ลมุ่ อโลหะ ประกอบดว้ ย กำมะถัน และถา่ นไม้
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เวลา 2 ช่วั โมง หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตัวเรา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 แผนการจัดการเรยี นรเู้ รือ่ ง ธาตกุ มั มนั ตรงั สี ผู้สอนนางสาวจนั จริ า ธนันชยั 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะ ของสสารการเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 2. ตวั ชีว้ ัด วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสีที่มีต่อสิ่งมีชีวิต ว 2.1 ม.1/2 สิง่ แวดล้อม เศรษฐกจิ และสังคม จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ 3. สาระสำคญั ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element) คือธาตุที่มีองค์ประกอบภายในนิวเคลียส (Nucleus) ไม่ เสถียร สง่ ผลให้เกดิ การสลายตวั หรอื การปล่อยรังสีของธาตอุ ยู่ตลอดเวลา กัมมันตภาพรังสี คือ ความสามารถใน การแผร่ ังสีออกมาได้เองอย่างตอ่ เนอ่ื งหรือการปลดปล่อยหรอื ส่งรงั สีออกมา การคน้ พบธาตุกมั มนั ตรังสี ชนิดของ รังสี จำแนกเปน็ 3 ชนดิ คอื แอลฟา บีตา และแกมมา และการเกิดปฏิกิรยิ าของธาตกุ ัมมนั ตรังสี ได้แก่ ปฏิกิริยา ฟิวชั่น และปฏิกิริยาฟิชชัน่ 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (1) นกั เรียนสามารถระบกุ ารเคลอ่ื นทผี่ ่านของรังสแี ต่ละชนิดได้ (K) (2) นักเรียนมีทักษะในการเขียนอธิบายเกีย่ วรังสีแตล่ ะชนิดได้ (P) (3) นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมนั่ ในการทำงาน และมีวินยั ในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน (1) ความสามารถในการส่อื สาร - การอธิบาย การเขียน การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสังเกต การสำรวจ การคิดวเิ คราะห์ การสร้างคำอธบิ าย การอภิปราย การสื่อความหมาย การทำกิจกรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื ค้นโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแก้ไขปัญหา - สามารถแกป้ ัญหาที่เกิดขึ้นได้อยา่ งเหมาะสม
6.คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ - มวี นิ ัย - มุง่ มน่ั ในการทำงาน - ใฝ่เรยี นรู้ 7.สาระการเรียนรู้ ธาตุกัมมันตรังสี ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element) คือธาตุที่มีองค์ประกอบภายในนิวเคลียส (Nucleus) ไม่ เสถียร สง่ ผลให้เกดิ การสลายตวั หรอื การปล่อยรังสขี องธาตุอยู่ตลอดเวลา เน่ืองจากปรากฏการณก์ ารแผ่รังสีของ ธาตเุ ปน็ กระบวนการปรับสมดุล เพอ่ื สรา้ งความเสถียรภายในธาตุ ซ่ึงในธรรมชาติธาตุกัมมันตรังสีมักเป็นธาตุท่ีมี มวลมากหรอื มีเลขอะตอมสูงเกนิ กวา่ 82 เช่น เรเดยี ม (Radium) ท่มี เี ลขมวลอยู่ที่ 226 และเลขอะตอม 88 หรือ ยเู รเนียม (Uranium) มีเลขมวลอยู่ท่ี 238 และเลขอะตอม 92 ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุที่แผ่รังสีแอลฟา แกมมา หรือบีตาได้ เนื่องจากนิวเคลียสของอะตอมไม่เสถียร และเปน็ ธาตุทีม่ เี ลขอะตอมสูงกว่า 82 ซงึ่ เอ. เฮนรี่ เบคเคอเรล เป็นผคู้ ้นพบกัมมนั ตภาพรังสี สญั ลักษณ์มาตรฐานของรังสี การค้นพบธาตุกมั มันตรงั สี ธาตุกัมมันตรงั สีค้นพบครงั้ แรกในปี 1896 โดยนกั เคมีชาวฝรง่ั เศส อองตวน อองรี แบก็ เกอเรล (Antoine Henri Becquerel) จากความบงั เอญิ ท่ีเขานำฟิลม์ ถ่ายรูปวางไว้ใกล้เกลอื โพแทสเซยี มยูเรนิลซัลเฟต ซึ่งสร้างรอย ดำบนแผ่นฟิล์มเสมือนการถูกแสงผ่านเข้าไป เขาจึงเชื่อว่ามีรงั สีพลังงานสูงบางชนิดปลดปล่อยออกมาจากเกลอื ยูเรเนยี มก้อนนัน้ นอกจากนี้ เขาทำการทดลองกับสารประกอบของยูเรเนียมชนดิ อน่ื ต่างให้ผลลัพธ์ไป ในทศิ ทางเดียวกนั โดยหลงั จากการค้นพบดังกลา่ วเพยี ง 2 ปี มารี คูรี (Marie Curie) และปีแอร์ คูรี (Pierre Curie) นักเคมีเชื้อสายโปแลนด์ ทำการทดลองกับธาตุหลาย ชนิดและพบว่าธาตุทอเรียม (Thorium) เรเดียม (Radium) และพอโลเนียม (Polonium) ต่างสามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกัน จึงส่งผลให้เกิดข้อสรุปร่วมกันที่ว่า ธาตุบางชนิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งธาตุท่ีมีมวลอะตอมสงู มีความสามารถในการแผ่รังสี ออกมาไดเ้ องอยา่ งต่อเนื่องหรือการปลดปล่อยหรือส่งรังสีออกมา โดยปรากฏการณ์ การแผ่รังสีที่เกดิ ขึ้นนีเ้ รียกว่า “กัมมันตภาพรังสี” ขณะที่ธาตดุ งั กล่าวเรียกว่า “ธาตุ กมั มนั ตรงั สี”
การแผร่ งั สขี องธาตุ ภายในนิวเคลียสของธาตุประกอบไปดว้ ยโปรตอน (Proton) ทม่ี ปี ระจุบวก และนวิ ตรอน (Neutron) ท่ีมี สถานะเป็นกลางทางไฟฟ้า ซ่ึงการมีสัดส่วนหรอื จำนวนโปรตอนต่อจำนวนนิวตรอนภายในอะตอมไม่เหมาะสม ทำ ให้ธาตุดังกล่าวขาดเสถียรภาพและเกิดการปล่อยรงั สอี อกมา การแผ่รังสขี องธาตนุ ้ันเปน็ กระบวนการปรับสมดุล ภายในตัวเองของธาตุตามธรรมชาติ ซึ่งสามารถก่อกำเนิดธาตุชนิดใหม่หรืออาจสร้างการเปลี่ยนแปลงภายใน องค์ประกอบอะตอมของธาตุชนิดเดมิ เช่น จำนวนโปรตอนหรือนวิ ตรอนในนวิ เคลยี สเพิ่มขึน้ หรอื ลดลง โดยธาตุ กัมมันตรังสีแต่ละชนิดจะมีระยะเวลาในการสลายตัวและการแผ่รังสีที่แตกต่างกันออกไป หรือที่เรียกว่า “คร่ึง ชีวติ ” (Half Life) รงั สีจำแนกเปน็ 3 ชนิด ไดแ้ ก่ • รงั สแี อลฟา (Alpha: α) เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีขนาดใหญ่และมมี วลมาก หรอื มจี ำนวนโปรตอนภายในนิวเคลียสมาก เพ่ือ ปรับตัวให้มีเสถียรภาพมากขึ้น รังสีแอลฟา หรืออนุภาคแอลฟาในรูปของนวิ เคลียสของฮีเลียม (Helium) จึงถูก ปล่อยออกมา โดยมสี ถานะทางไฟฟา้ เป็นประจุบวก มมี วลค่อนข้างใหญ่ สง่ ผลให้รังสแี อลฟาเกิดการเบ่ยี งเบนจาก การเคลอื่ นทไี่ ดย้ าก มอี ำนาจทะลุทะลวงต่ำ ไม่สามารถทะลุผ่านสง่ิ กีดขวางหรอื ไม่สามารถผา่ นแผ่นกระดาษหรือ โลหะทีบ่ างๆได้ เช่น ผวิ หนงั แผ่นโลหะบางๆ หรอื แผ่นกระดาษไปได้ ดังน้นั เมื่อเกิดการชนเข้ากับสิ่งกีดขวาง รังสี แอลฟาจะถา่ ยทอดพลังงานเกอื บท้ังหมดออกไป สง่ ผลใหเ้ กิดการแตกตวั เป็นไอออนของสารท่รี ังสผี ่านได้ดี • รังสีบีตา (Beta: β) เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสที่มีจำนวนนิวตรอนมาก รังสีบีตามีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับอิเล็กตรอน (Electron) ซึ่งมีประจุไฟฟ้าเป็นลบและมีมวลต่ำ แต่มีอำนาจทะลุทะลวงสูง (สูงกว่ารังสีแอลฟาราว 100 เท่า) ทะลผุ า่ นแผน่ โลหะบางๆได้ และมคี วามเรว็ ในการเคลือ่ นทสี่ ูงถงึ ระดับใกลเ้ คียงกบั ความเร็วแสง • รงั สีแกมมา (Gamma: γ) เกิดจากการที่นิวเคลียสภายในอะตอมมีพลังงานสูงหรอื ถูกกระตุ้น จึงก่อให้เกิดรังสีแกมมาที่มสี ถานะเป็นกลาง ทางไฟฟ้า มีสมบัติคล้ายรังสีเอกซ์ (X-ray) คือเป็นคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นหรือมีความถี่สูง ไม่มี ประจุและไม่มีมวล เป็นรังสีที่มพี ลังงานสูง เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็วเทา่ แสง และมีอำนาจทะลทุ ะลวงสงู ที่สุด ทะลุ แผน่ ตะกว่ั ทห่ี นาๆได้ ไม่เบ่ียงเบนในสนามไฟฟ้า และทำใหเ้ กิดอนั ตรายต่อร่างกายคนได้มากดว้ ยเคร่ืองมือที่ใช้วัด ปริมาณรังสี เช่น กลกั ฟิล์ม เครื่องไกเกอร์เคานเ์ ตอร์ ความสามารถในการทาให้เกิดการแตกตัวเป็นไอออนในสารท่ีรังสีผ่านเข้าไปจากมากไปน้อย คือ รังสี แอลฟา รังสีบตี าและรงั สีแกมมาตามลําดับ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154