Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรชีววิทยา 2564 เเก้ไข

หลักสูตรชีววิทยา 2564 เเก้ไข

Published by Jiab Chanchira, 2021-09-19 15:00:22

Description: หลักสูตรชีววิทยา 2564 เเก้ไข

Search

Read the Text Version

หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง 2560) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระที่ 4 ชีววทิ ยา (สาระเพิม่ เตมิ ) สำนกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำสั่งโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ท่ี ………. / 2564 เร่อื ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวิชาการกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ****************** เพื่อให้การบริหารหลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมหมวด 4 มาตรา 27 ที่กำหนด ไว้ใหส้ ถานศกึ ษา มกี ารจัดทำสาระของหลกั สูตรเพ่ือความเปน็ ไทย ความเปน็ พลเมืองทด่ี ขี องชาติ การดำรงชวี ติ และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาต่อ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพของปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพ่อื เป็นสมาชกิ ท่ีดขี องครอบครวั ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ อาศัยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ข้อ 5 และประกาศการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันท่ี 11 กรกฎาคมพ.ศ. 2551 และคำส่ังกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. 1237/2560 สัง่ ณ วันที่ 9 สิงหาคม 2560 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จึงแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ดงั น้ี 1. นางสาวณัฐธนญั า บุญถึง ประธานกรรมการ 2. นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา กรรมการ 3. นางกมลชนก เทพบุ กรรมการ 4. นางสาวกานดา วุฒเิ ศลา กรรมการ 5. นางสาวจนั ริรา ธนันชยั กรรมการ 6. นางอมลสิริ คำฟู กรรมการ 7. นางสาวฐติ ารัตน์ คัมภรี ะ กรรมการ 8. นางสาวปารชิ าติ สงิ คำโล กรรมการ 9. นางธญั ญรตั น์ ศลิ าคำ กรรมการ 10. นายพงศธ์ ร เปงวงศ์ กรรมการ 11. วา่ ท่รี ้อยตรีสมพงษ์ ตระการศภุ กร กรรมการ 12. นายเสรี แซ่จาง กรรมการ 13. นางสาวจริ ัชญา ชัยธรี ธรรม กรรมการ 14. นางสาวศริ ิวรรณ มุนมิ คำ กรรมการ 15. นายเอกราช หมีแกว้ กรรมการ 16. นางสาวธันชนก ชัยบุตร กรรมการ 17. นางสาวสุดาภรณ์ สืบบุญเปีย่ ม กรรมการและเลขานุการ

มหี น้าท่ี 1. วางแผนดำเนินงาน กำหนดสาระ รายละเอียดของหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและผล การเรยี นรขู้ องกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใหส้ อดคลอ้ งกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560) 2. จัดทำคู่มือบริหารหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นิเทศ กำกับ ติดตาม เกี่ยวกับ การพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้สอดคล้องและเป็นไปตาม มาตรฐานหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร เกี่ยวกับ การพัฒนาหลักสูตรและการจัดกระบวนการ เรยี นรู้ การวดั และประเมินผล ใหเ้ ปน็ ไปตามจดุ ม่งุ หมายและแนวทางในการดำเนนิ การของหลักสตู ร 4. ประสานความร่วมมือจากบุคคล หน่วยงาน องค์กรต่างๆและชุมชน เพื่อให้การใช้หลักสูตรเป็นไป อย่างมีประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพ 5. ประชาสัมพันธห์ ลักสูตรและการใชห้ ลักสูตรแกแ่ ก่ผเู้ รยี น ผู้ปกครองชุมชนและผู้ท่ีเก่ียวข้องและนำ ข้อมูลป้อนกลับจากฝ่ายต่างๆ มาพิจารณาเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตรของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. ส่งเสรมิ และสนับสนุนการวิจยั เกี่ยวกบั การพัฒนาหลกั สตู รและกระบวนการเรียนรู้ 7. ติดตามผลการเรยี นของผเู้ รยี นรายบุคคล ระดับชนั้ ในปีการศึกษาที่ผ่านมา เพื่อปรบั ปรุง แก้ไขและ พฒั นาการดำเนินงานตา่ งๆของสถานศึกษา 8. ตรวจสอบทบทวนประเมนิ มาตรฐาน การปฏิบัตงิ านของครูและการบริหารหลักสตู รและกลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในรอบปีที่ผ่านมา แล้วใช้ผลการประเมินหลักสูตรเพื่อวางแผน พัฒนาการปฏิบัติงานของครูและการบรหิ ารหลักสตู รและในปีการศึกษาต่อไป 9. รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการบริหาร หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีโดย เน้นผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการฝ่าย บรหิ าร สาธารณะชนและผู้ที่เกีย่ วขอ้ ง ท้ังน้ี ตั้งแต่บัดน้ีเปน็ ต้นไป สง่ั ณ วันท่ี 20 เดือนเมษายน พ.ศ. 2564 (นายอดิศร แดงเรือน) ผู้อำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

ประกาศโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 เรอ่ื ง ให้ใช้หลกั สูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ………………………………. ตามที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 พุทธศักราช 2564 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยเริ่มใช้หลักสูตรดังกล่าว กับผู้เรียนทุกระดับชั้นในปี การศึกษา 2563 ต่อมาในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ได้เพิ่มรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อให้ สอดคล้องกบั นโยบายเร่งด่วนของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนพฒั นาทักษะกระบวนการ คดิ วเิ คราะห์ มีเวลาในการทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะ ปลูกฝงั คุณธรรม จริยธรรม การสร้างวินัย การมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีความ ภาคภมู ิใจในความเป็นไทย โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ได้ดำเนนิ การจดั ทำหลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 พุทธศักราช 2564 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) สอดคล้องตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การบริหารจัดการเวลาเรยี นและปรบั มาตรฐานและ ตัวชี้วัด สอดคล้องกับ คำสั่ง สพฐ. ที่ 1239/60 และประกาศ สพฐ.ลงวันที่ 8 มกราคม 2561 เป็นที่เรียบร้อย แลว้ ทั้งนี้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 พุทธศักราช 2564 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2564 จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) ตง้ั แตบ่ ดั นเี้ ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี 20 เดอื น เมษายน พ.ศ. 2564 ลงชื่อ ลงชอื่ (นายกฤกษฎิ์ พยคั กาฬ) (นายอดศิ ร แดงเรือน) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ บทนำ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พุทธศักราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) นไี้ ด้กำหนด สาระการเรียนรู้ออกเป็น 8 สาระ ไดแ้ ก่ สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ สาระ ที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ สาระที่ 4 ชีววิทยา สาระที่ 5 เคมี สาระที่ 6 ฟิสิกส์ สาระที่ 7 โลก ดารา ศาสตร์และอวกาศ และสาระท่ี 8 เทคโนโลยี ซึ่งองค์ประกอบของหลักสูตร ทั้งในด้านของเนื้อหา การจัดการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้นั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ของผเู้ รยี นในแต่ละระดบั ช้ันใหม้ ีความต่อเน่ืองเช่ือมโยงกัน ต้ังแต่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 จนถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้กำหนดตัวชี้วัดและสาระ การเรียนรแู้ กนกลางท่ีผู้เรียนจำเปน็ ต้องเรยี นเปน็ พ้นื ฐาน เพ่อื ใหส้ ามารถนำความรนู้ ีไ้ ปใชใ้ นการดำรงชีวติ หรือ ศึกษาต่อ ในวิชาชีพที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ โดยจัดเรียงลำดับความยากง่ายของเนื้อหา ทั้ง 8 สาระ ในแต่ละระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะท่ี สำคัญทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล หลากหลายและประจกั ษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสำคัญของการจัด การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนมากที่สุด จึงได้จัดทำตัวชี้วัดและ สาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษา ครูผู้สอน ตลอดจนหน่วยงาน ตา่ งๆ ไดใ้ ชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนาหนงั สือเรยี น คูม่ ือครู ส่อื ประกอบการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและ ประเมินผล โดยตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ที่จัดทำขึ้นนี้ ได้ ปรับปรุงเพื่อให้มคี วามสอดคลอ้ งและเชื่อมโยงกันภายในสาระการเรยี นรู้เดียวกันและระหว่างสาระการเรียนรู้ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์กับ คณิตศาสตร์ด้วย นอกจากนี้ ยังได้ปรับปรุงเพื่อให้มีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหนา้ ของวิทยาการต่างๆ และทัดเทียมกับนานาชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สรุปเป็น แผนภาพได้ ดังน้ี

เป้าหมายของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม่งุ เน้นให้ผเู้ รยี นได้ค้นพบความรดู้ ว้ ยตนเองมากทส่ี ดุ เพ่อื ใหไ้ ด้ ทั้งกระบวนการและความรูจ้ ากวธิ กี ารสงั เกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลที่ได้มา จดั ระบบ เป็นหลกั การ แนวคิดและองคค์ วามรู้ การจัดการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จงึ มีเป้าหมายท่ี สำคญั ดงั นี้ 1. เพ่อื ให้เข้าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎที่เปน็ พน้ื ฐานในวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจขอบเขตของธรรมชาตขิ องวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละข้อจำกดั ในการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ 3. เพ่อื ให้มที กั ษะที่สำคัญในการศึกษาค้นควา้ และคิดคน้ ทางเทคโนโลยี 4. เพื่อให้ตระหนักถงึ ความสัมพนั ธ์ระหว่างวิชาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และสภาพแวดลอ้ ม ในเชงิ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลและผลกระทบซ่ึงกนั และกัน 5. เพอ่ื นำความรคู้ วามเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม และ การดำรงชีวติ 6. เพอ่ื พฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ ทักษะ ในการสือ่ สาร และความสามารถในการตัดสินใจ 7. เพื่อใหเ้ ปน็ ผู้ทมี่ จี ติ วทิ ยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มในการใชว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อยา่ งสร้างสรรค์

เรยี นรู้อะไรในวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุง่ หวงั ใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้และแก้ปญั หาที่หลากหลาย ใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำกจิ กรรมด้วยการลงมือปฏบิ ัตจิ รงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ชัน้ โดยกำหนดสำระสำคญั ดังน้ี วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ เรยี นร้เู ก่ียวกบั ชีวติ ในส่งิ แวดล้อม องค์ประกอบของสงิ่ มชี ีวิต การดำรงชีวิตของ มนษุ ย์และสัตว์ การดำรงชวี ิตของพชื พันธกุ รรม ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของส่งิ มชี วี ิต วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลื่อนท่ี พลงั งานและคลน่ื วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรยี นรเู้ ก่ียวกบั โลกในเอกภพ ระบบโลก และมนุษยก์ บั การเปลี่ยนแปลง ของโลก ชีววิทยา เรียนรู้เกี่ยวกับ การศึกษาชีววิทยา สารเคมีในสิ่งมีชีวิต เซลล์ของสิ่งมีชีวิต พันธุกรรมและ การถ่ายทอด วิวัฒนาการ ความหลากหลายทางชีวภาพ โครงสร้างและการทำงานของส่วนต่างๆ ในพืชดอก ระบบและการทำงานในอวยั วะต่างๆ ของสัตวแ์ ละมนุษยแ์ ละส่ิงมชี วี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม เคมี เรียนรู้เกี่ยวกับ ปริมาณสาร องค์ประกอบและสมบัติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร ทักษะ และการแกป้ ญั หาทางเคมี ฟิสกิ ส์ เรียนร้เู ก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละการคน้ พบทางฟิสกิ ส์ แรงและการเคล่ือนทแ่ี ละพลังงาน โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ เรียนรเู้ กยี่ วกบั โลกและกระบวนการเปลีย่ นแปลงทางธรณีวิทยาข้อมูล ทางธรณวี ทิ ยาและการนำไปใช้ประโยชน์ การถา่ ยโอนพลงั งานความร้อนของโลก การเปล่ยี นแปลงลกั ษณะ ลม ฟา้ อากาศกบั การดำรงชวี ติ ของมนุษย์ โลกในเอกภพและดาราศาสตรก์ ับมนษุ ย์ เทคโนโลยี * การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรู้เกี่ยวกับ การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพื่อดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการ ออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคมและส่งิ แวดล้อม * วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับ การพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการคิด เชิง คำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศสอื่ สารในการแกป้ ัญหาท่พี บในชีวติ จริงได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธ์ระหว่างส่งิ ไมม่ ชี วี ิตกบั สง่ิ มชี วี ิต ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กับสิ่งมชี ีวติ ต่างๆ ในระบบนิเวศการถา่ ยทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมแนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไข ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ มรวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของสิ่งมีชีวติ หนว่ ยพื้นฐานของส่งิ มีชีวติ การลำเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ทข่ี องระบบตา่ ง ๆของสตั วแ์ ละมนษุ ย์ท่ีทำงานสัมพนั ธ์ กนั ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ท่ีของอวัยวะตา่ งๆ ของพชื ท่ีทำงานสมั พันธ์กัน รวมทัง้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรม เปลย่ี นแปลงทางพนั ธกุ รรมที่มีผลต่อสิง่ มีชีวติ ความหลากหลายทางชวี ภาพและวิวัฒนาการ ของสิง่ มชี วี ติ รวมท้งั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมบัตขิ องสสารกบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปล่ียนแปลง สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลกั ษณะการเคล่ือนท่ี แบบต่างๆ ของวตั ถุรวมทง้ั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งานปฏิสมั พนั ธ์ ระหว่างสสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวติ ประจำวัน ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ที่ เกย่ี วข้องกบั เสยี ง แสง และคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้งั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพกาแล็กซดี าวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ ประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทง้ั ผลตอ่ สงิ่ มีชวี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม

สาระที่ 4 ชีววทิ ยา มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของส่งิ มชี ีวติ การศึกษาชวี วิทยาและวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ สารท่ีเปน็ องคป์ ระกอบของสง่ิ มชี วี ิต ปฏกิ ิรยิ าเคมีในเซลล์ของส่ิงมชี วี ติ กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและ หน้าทีข่ องเซลล์ การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ การแบง่ เซลล์ และการหายใจระดบั เซลล์ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหนา้ ท่ี ของสารพนั ธกุ รรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลกั ฐาน ข้อมูลและแนวคิด เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสง่ิ มีชวี ิต ภาวะสมดุลของฮารด์ ี-ไวน์เบริ ก์ การเกดิ สปชี สี ์ใหม่ ความหลากหลายทางชวี ภาพ กำเนิดของสงิ่ มีชีวติ ความหลากหลายของสิ่งมชี ีวิต และ อนุกรมวิธาน รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 4.3 เขา้ ใจส่วนประกอบของพชื การแลกเปล่ยี นแก๊สและคายนำ้ ของพชื การลำเลยี งของพืช การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง การสบื พันธข์ุ องพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนอง ของพืช รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 4.4 เข้าใจการย่อยอาหารของสตั ว์และมนุษย์ รวมทง้ั การหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊ส การลำเลยี งสารและการหมุนเวียนเลอื ด ภมู ิคมุ้ กันของร่างกาย การขบั ถ่าย การรบั ร้แู ละ การตอบสนอง การเคลอ่ื นท่ี การสบื พนั ธ์ุและการเจรญิ เตบิ โต ฮอร์โมนกับการรักษา ดลุ ยภาพและพฤติกรรมของสตั ว์ รวมทั้งนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 4.5 เข้าใจแนวคิดเก่ียวกบั ระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมนุ เวยี นสาร ในระบบนเิ วศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลีย่ นแปลงแทนทข่ี องสิ่งมชี วี ิตในระบบ นเิ วศ ประชากรและรูปแบบการเพ่มิ ของประชากร ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ปญั หาและผลกระทบทเี่ กดิ จากการใช้ประโยชน์ และแนวทางการแก้ไขปญั หา สาระท่ี 5 เคมี มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรยี งธาตุในตารางธาตุ สมบัตขิ องธาตุ พนั ธะเคมีและสมบตั ิ ของสาร แก๊สและสมบัตขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอนิ ทรยี ์และพอลิเมอร์ รวมทัง้ การนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 5.2 เขา้ ใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพนั ธ์ในปฏิกิรยิ าเคมี อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ า เคมี สมดุลในปฏกิ ิริยาเคมี สมบตั ิและปฏิกริ ยิ าของกรด–เบส ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์และเซลลเ์ คมี ไฟฟา้ รวมท้ังการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 5.3 เข้าใจหลักการทำปฏิบตั กิ ารเคมี การวัดปรมิ าณสาร หนว่ ยวัดและการเปลีย่ นหนว่ ย การ คำนวณ ปรมิ าณของสาร ความเขม้ ข้นของสารละลาย รวมทง้ั การบูรณาการความรู้และทักษะ ในการอธิบาย ปรากฏการณ์ในชวี ติ ประจำวนั และการแก้ปญั หาทางเคมี

สาระท่ี 6 ฟิสกิ ส์ มาตรฐาน ว 6.1 เขา้ ใจธรรมชาติทางฟสิ ิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลือ่ นท่ีแนวตรง แรงและ กฎการเคลื่อนท่ีของนวิ ตนั กฎความโนม้ ถ่วงสากล แรงเสยี ดทาน สมดุลกลของวตั ถุ งาน และกฎการอนรุ กั ษ์พลงั งานกล โมเมนตัมและกฎการอนรุ กั ษ์โมเมนตัม การเคลอ่ื นท่ีแนวโค้ง รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 6.2 เข้าใจการเคลอ่ื นที่แบบฮาร์มอนกิ ส์อย่างง่าย ธรรมชาตขิ องคล่นื เสยี งและการไดย้ นิ ปรากฏการณท์ เ่ี กย่ี วข้องกับเสยี ง แสงและการเหน็ ปรากฏการณ์ทเี่ ก่ยี วข้องกบั แสง รวมทัง้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 6.3 เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศกั ยไ์ ฟฟา้ ความจไุ ฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และ กฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกำลงั ไฟฟ้า การเปลย่ี นพลงั งาน ทดแทนเป็นพลงั งานไฟฟ้า สนามแมเ่ หลก็ แรงแมเ่ หล็กท่ีกระทำกบั ประจไุ ฟฟา้ และ กระแสไฟฟา้ การเหนีย่ วนำแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และกฎของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลับ คลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ และการส่อื สาร รวมท้ังนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 6.4 เข้าใจความสัมพันธข์ องความร้อนกบั การเปล่ียนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุน่ ของวัสดุ และมอดลู สั ของยงั ความดนั ในของไหล แรงพยุง และหลกั ของอาร์คมิ ีดสี ความตึง ผวิ และแรงหนืดของของเหลว ของไหลอดุ มคติ และสมการแบร์นลู ลี กฎของแกส๊ ทฤษฎจี ลน์ ของแก๊ส อุดมคติและพลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณโ์ ฟโตอเิ ลก็ ทริก ทวิภาวะของคลืน่ และอนภุ าค กัมมนั ตภาพรังสี แรงนิวเคลยี ร์ ปฏกิ ิรยิ านิวเคลยี ร์ พลงั งาน นิวเคลยี ร์ ฟิสกิ ส์ อนภุ าค รวมทัง้ นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี 7 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจกระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก ธรณีพบิ ตั ภิ ยั และผลต่อส่ิงมีชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม การศกึ ษาลำดบั ช้นั หิน ทรพั ยากรธรณี แผนท่แี ละการนำไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 7.2 เข้าใจสมดลุ พลังงานของโลก การหมนุ เวยี นของอากาศบนโลก การหมนุ เวียนของน้ำใน มหาสมุทร การเกดิ เมฆ การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศโลกและผลตอ่ สงิ่ มชี ีวิตและสง่ิ แวดล้อม รวมทง้ั การพยากรณ์อากาศ มาตรฐาน ว 7.3 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิดและววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ ความสัมพันธข์ องดาราศาสตร์กบั มนุษยจ์ ากการศึกษาตำแหน่งดาว บนทรงกลมฟา้ และปฏสิ มั พันธภ์ ายในระบบสุริยะ รวมทงั้ การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ สาระที่ 8 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พ่ือการดำรงชวี ติ ในสงั คมที่มกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใช้ความรแู้ ละทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และศาสตร์อ่ืน ๆ เพือ่ แกป้ ัญหา หรือ พัฒนางานอย่างมคี วามคดิ สร้างสรรคด์ ้วยกระบวนกำรออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใช้ เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชีวติ สังคม และส่ิงแวดล้อม มาตรฐาน ว 8.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชวี ติ จริงอยา่ งเป็นขัน้ ตอนและเป็น ระบบใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ญั หาได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี รยิ ธรรม

คณุ ภาพผู้เรยี น จบชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ❖ เข้าใจการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ กลไกการรักษาดุลยภาพของมนุษย์ภูมิคุ้มกันใน ร่างกายของมนุษย์และความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การใช้ประโยชน์จากสารต่างๆที่พืชสร้างข้ึน การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมวิวัฒนาการที่ทำให้เกิดความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิตความสำคญั และผลของเทคโนโลยีทางดเี อน็ เอตอ่ มนุษย์สงิ่ มีชีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม ❖ เขา้ ใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมศิ าสตรต์ ่างๆของโลก การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบ นเิ วศปญั หา ผลกระทบท่มี ตี ่อทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหาส่งิ แวดล้อม ❖ เข้าใจชนิดของอนุภาคสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบัติบางประการของธาตุ การจัดเรียงธาตใุ นตารางธาตุ ชนิดของแรงยดึ เหน่ียวระหว่างอนุภาคและสมบัติต่างๆของสารท่ีมีความสัมพันธ์ กับแรงยึดเหนี่ยวพันธะเคมีโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ การเกิดปฏิกิริยาเคมีปัจจัยที่มีผลต่ออัตรา การเกิดปฏิกิรยิ าเคมีและการเขยี นสมการเคมี ❖ เข้าใจปริมาณทีเ่ กี่ยวกบั การเคลื่อนที่ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างแรงมวลและความเร่งผลของความเร่ง ที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่างๆของวัตถุแรงโน้มถ่วงแรงแม่เหล็ก ความสัมพันธ์ระหว่างสนามแม่เหล็กและ กระแสไฟฟา้ และแรงภายในนวิ เคลยี ส ❖ เข้าใจพลังงานนิวเคลียร์ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงาน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็น พลังงานไฟฟ้าเทคโนโลยีด้านพลังงาน การสะท้อนการหักเหการเลี้ยวเบนและการรวมคลื่น การได้ยิน ปรากฏการณ์ท่เี ก่ียวข้องกับเสียงสกี บั การมองเห็นสี คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและประโยชนข์ องคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า ❖ เข้าใจการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก สาเหตุและรูปแบบการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีที่ สัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐาน สาเหตุกระบวนการเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิผลกระทบ แนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ัติตนให้ปลอดภัย ❖ เข้าใจผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิสที่มีต่อการหมุนเวียน ของอากาศการหมุนเวียนของอากาศ ตามเขตละติจูดและผลที่มีต่อภูมิอากาศ ความสัมพนั ธ์ของการหมุนเวียน ของอากาศและการหมนุ เวียนของกระแสน้ำผวิ หน้าในมหาสมุทร และผลต่อลักษณะลมฟ้าอากาศส่ิงมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อมปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกและแนวปฏบิ ัติ เพื่อลดกิจกรรมของมนุษย์ท่ี ส่งผลต่อการเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก รวมทั้งการแปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศท่ีสำคัญจากแผนท่ี อากาศและขอ้ มูลสารสนเทศ ❖ เข้าใจการกำเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงานสสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพ หลักฐานที่ สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงประเภทของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก กระบวนการเกดิ และการสร้างพลงั งาน ปจั จยั ทีส่ ่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์ และความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสีอุณหภูมิผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะการแบ่งเขต บริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะและผลที่มี ตอ่ โลกรวมทง้ั การสำรวจอวกาศและการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

ธรรมชาต/ิ ลกั ษณะเฉพาะ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560) เป็น หลักสูตรที่โรงเรียนได้พัฒนาขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยยึดองค์ประกอบหลักสำคัญ 5 ส่วน คือ 1) หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 2) มาตรฐานการเรยี นร้ตู วั ชว้ี ัด และผลการเรยี นรู้ กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.2560) 2) นโยบายการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 4) กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และ 5) สาระสำคัญ จุดเน้นที่โรงเรียนพัฒนาเพิ่มเติม เป็นกรอบในการจัดทำรายละเอียดเพื่อให้เป็นไปตาม มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานที่กำหนด เหมาะสมกับสภาพชุมชนและท้องถิ่นและจุดเน้นของโรงเรียน โดย หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ 2560) ที่พัฒนาขึ้นมีลักษณะของหลักสตู ร ดังนี้ 1. เปน็ หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 สำหรบั จดั การศึกษาในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจัดในระดบั มธั ยมศึกษา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6) 2. เป็นหลักสูตรที่มีความเป็นเอกภาพสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 สำหรับให้ครูผสู้ อนนำไปจดั การเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย โดยกำหนดให้มรี ายละเอยี ด ดังน้ี 2.1 สาระการเรียนรู้ที่โรงเรียนใช้เป็นหลักเพื่อสร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้ และการ แกป้ ญั หาประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.2 สาระการเรียนรู้ทเ่ี สริมสร้างความเปน็ มนุษย์ ศักยภาพการคดิ การทำงาน ประกอบดว้ ย สุขศึกษาและพลศึกษา ศลิ ปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีและภาษาองั กฤษ 2.3 สาระการเรยี นร้เู พมิ่ เติม โดยจดั ทำเป็นรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามความเหมาะสมและ สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียน สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ความต้องการของผู้เรียน และบริบทของโรงเรียน และเพ่มิ วชิ าหนา้ ที่พลเมืองให้สอดคลอ้ งกับนโยบายหน่วยเหนือดว้ ย 2.4 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และ สังคม เสริมสรา้ งการเรียนรู้นอกจากกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่ม และการพฒั นาตนตามศักยภาพ 2.5 การกำหนดมาตรฐานของโรงเรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับต่างๆ เพื่อเป็น เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน จัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจัด กระบวนการเรียนรู้ใหส้ อดคล้องกบั สภาพในชมุ ชน สังคมและภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน 3. มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปา้ หมายสำคัญ ของการพัฒนาคุณภาพหลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560) เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานเป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับ ความรู้ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการ ประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีการกำหนดมาตรฐานไว้ ดงั น้ี 3.1 มาตรฐานหลักสูตร เป็นมาตรฐานด้านผู้เรียนหรือผลผลิตของหลักสูตรโรงเรียน เกิดขึ้นจาก การจัดกิจกรรมตามโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมดของครู และใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพ โดยรวมของการจดั การศึกษาตามหลกั สูตรในทุกระดับ ซึ่งโรงเรียนต้องใช้สำหรับการประเมินตนเองเพื่อจดั ทำ รายงานประจำปีตามบทบัญญัติในพระราชบัญญตั ิการศึกษา เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการกำหนดแนวปฏิบัติใน การส่งเสริม กำกับ ติดตาม ดูแลและปรบั ปรุงคณุ ภาพ เพ่อื ให้ไดต้ ามมาตรฐานท่ีกำหนด

3.2 มีตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียน ในแต่ละระดับชั้นซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มคี วามเฉพาะเจาะจง และมคี วามเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการ กำหนดเน้ือหา จัดทำหนว่ ยการเรียนรู้ จดั การเรยี นรู้และเป็นเกณฑ์สำคญั สำหรับการวัดประเมินผลเพ่ือตรวจสอบ คุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบพฒั นาการผู้เรยี น ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึง ประสงค์ และเป็นหลักในการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากการศึกษาในระบบ นอกระบบและตาม อัธยาศยั 3.3 มีความเป็นสากล ความเปน็ สากลของหลกั สูตรโรงเรยี น มุง่ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความสามารถ ในเรอื่ งเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาษาองั กฤษ การจดั การสงิ่ แวดล้อม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น มคี ณุ ลกั ษณะที่จำเป็นใน การอยู่ในสังคม ได้แก่ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การเสียสละ การเอื้อเฟื้อ โดยอยู่บน พนื้ ฐานของความพอดรี ะหวา่ งการเปน็ ผู้นำและผ้ตู าม การทำงานเป็นทีม และการทำงานตามลำพัง การแข่งขัน การรู้จักพอ และการร่วมมือกันเพื่อสังคม วิทยาการสมัยใหม่และภูมิปัญญาท้องถิ่น การรับวัฒนธรรม ต่างประเทศและการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมไทยการฝึกฝนทักษะเฉพาะทางและการบรู ณาการในลกั ษณะทีเ่ ป็น องคร์ วม 4. มีความยืดหยุ่นหลากหลาย หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 31 พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง 2560) เป็นหลักสูตรที่โรงเรียนจัดทำรายละเอียดต่างๆ ขึ้นเอง โดยยึดโครงสร้างหลกั ที่กำหนดไว้ใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เป็นขอบข่ายในการ จัดทำ จึงทำให้หลักสูตรของโรงเรียนมีความยืดหยุ่นหลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ ของทอ้ งถิน่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงมคี วามเหมาะสมกับตวั ผู้เรียน 5. การวัดและประเมินผล เน้นหลักการพื้นฐาน 2 ประการ คือ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและ เพื่อตดั สินผลการเรียน โดยผูเ้ รียนตอ้ งได้รับการพัฒนาและประเมินตามตวั ชี้วัด เพือ่ ใหบ้ รรลตุ ามมาตรฐานการ เรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรยี น ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ ระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ เป็นกระบวนการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน และใช้ผลการประเมนิ เป็น ข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้าและความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจน ข้อมูลที่เปน็ ประโยชนต์ ่อการส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกดิ การพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพ วิสัยทศั นห์ ลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 พทุ ธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรุง 2560) มุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่มีสมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ภมู ใิ จในทอ้ งถ่นิ มีสำนกึ ความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บนพ้ืนฐานความเช่อื ว่าทุกคนสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ

จุดมงุ่ หมายหลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติโดยมนุษย์ใช้กระบวนการ สังเกต สำรวจตรวจสอบและการทดลอง เกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและนำผลมาจัดระบบหลักการ แนวคิดและทฤษฎีดังนั้นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์จึงมุ่งเน้น ให้ผู้เรียนได้เป็นผู้เรียนรู้และค้นพบด้วย ตนเองมากทีส่ ดุ นั่นคอื ให้ได้ทง้ั กระบวนการและองคค์ วามรู้ ตั้งแต่วัยเริม่ แรกกอ่ นเข้าเรียนเมื่ออยู่ในสถานศึกษา และเมอ่ื ออกจากสถานศึกษาไปประกอบอาชพี แล้ว การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ในสถานศกึ ษามเี ป้าหมายสำคัญดงั นี้ 1. เพ่อื ใหเ้ ข้าใจหลักการทฤษฎที ่เี ปน็ พนื้ ฐานในวทิ ยาศาสตร์ 2. เพ่อื ใหเ้ ข้าใจขอบเขตธรรมชาตแิ ละข้อจำกดั ของวทิ ยาศาสตร์ 3. เพือ่ ให้มีทกั ษะทสี่ ำคญั ในการศึกษาคน้ ควา้ และคดิ ค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการความสามารถในการแกป้ ัญหาและการจัดการทักษะใน การสือ่ สารและความสามารถในการตัดสินใจ 5. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีมวลมนุษย์และสภาพแวดล้อมใน เชิงทมี่ ีอิทธิพลและผลกระทบซ่ึงกันและกัน 6. เพื่อนำความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ การดำรงชีวิต 7. เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช 2560) มุง่ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรบั หรือไม่รับข้อมลู ข่าวสาร ด้วยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ เลอื กใชว้ ิธีการส่อื สารทมี่ ีประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสมั พันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปญั หา และมีการตดั สนิ ใจทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่เี กิดขนึ้ ต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องการทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่าง

เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงคท์ ีส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อน่ื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านตา่ งๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ แก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสมและมคี ุณธรรม คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมี ความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก มี 8 ประการ ได้แก่ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซอื่ สัตย์สจุ ริต 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจติ สาธารณะ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ การกำหนดผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระ มาตรฐาน ผลการเรียนรู้รายปี ม. 5 ม. 6 สาระ 1. เขา้ ใจ ม. 4 ชีววิทยา ธรรมชาตขิ อง สง่ิ มชี วี ติ 1. อธิบาย และสรุปสมบัติที่สำคัญของสิ่งมีชีวิต การศกึ ษา และความสัมพันธ์ของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิต ชวี วิทยาและ ทีท่ ำให้สิ่งมชี ีวิตดำรงชวี ิตอย่ไู ด้ วธิ ีการทาง 2. อภิปราย และบอกความสำคัญของการระบุ วทิ ยาศาสตร์ ปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐาน สารทเี่ ป็น และวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน รวมทง้ั ออกแบบ องค์ประกอบ การทดลองเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน ของส่งิ มชี วี ิต 3. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของน้ำ ปฏิกริ ยิ าเคมีใน และบอกความสำคัญของน้ำที่มีต่อสิ่งมีชีวิต และ เซลล์ของ ยกตัวอย่างธาตุชนิดต่างๆ ที่มีความสำคัญ สิ่งมีชีวติ กลอ้ ง ตอ่ ร่างกายสิง่ มีชีวติ จุลทรรศน์ 4. ส ื บ ค ้ น ข ้ อ ม ู ล อ ธ ิ บ า ย โ ค ร ง ส ร ้ า ง ข อ ง โครงสรา้ งและ คาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มของคาร์โบไฮเดรต หน้าทข่ี องเซลล์ รวมทั้งความสำคัญของคาร์โบไฮเดรตที่มีต่อ การลำเลียงสาร สง่ิ มีชวี ิต เข้าและออก 5. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ ายโครงสรา้ งของโปรตีน และ จากเซลล์ การ ความสำคญั ของโปรตนี ทมี่ ตี อ่ สงิ่ มชี ีวติ แบ่งเซลล์ และ 6. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ ายโครงสรา้ งของลิพดิ การหายใจ และความสำคญั ของลิพิดทมี่ ตี ่อสงิ่ มชี ีวติ ระดับเซลล์ 7. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลิอิกและระบุ ชนิดของกรดนวิ คลอิ ิก และความสำคัญของ กรดนวิ คลิอกิ ท่มี ีต่อสงิ่ มีชวี ติ 8. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปฏิกิริยาเคมีท่ี เกิดขึน้ ในสง่ิ มีชวี ติ

สาระ มาตรฐาน ผลการเรยี นรู้รายปี ม. 6 ม. 4 ม. 5 สาระ ชีววิทยา 1. เขา้ ใจ 9. อธิบายการทำงานของเอนไซม์ในการ ธรรมชาติ เร่งปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต และระบุ ของสิ่งมชี ีวติ ปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการทำงาน ของเอนไซม์ การศกึ ษา 10. บอกวิธีการ และเตรียมตัวอย่าง ชีววทิ ยาและ สิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาภายใต้กล้อง วิธีการทาง จุลทรรศน์ใช้แสงวัดขนาดโดยประมาณ วทิ ยาศาสตร์ และวาดภาพที่ปรากฏภายใต้กล้อง บอก สารท่เี ปน็ วิธีการใช้ และการดูแลรักษากล้อง องคป์ ระกอบ จุลทรรศนใ์ ช้แสงทถ่ี กู ต้อง ของส่ิงมีชีวติ 11. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของ ปฏิกิริยาเคมี สว่ นทีห่ ่อหุ้มเซลล์ของเซลล์พืชและเซลล์ ในเซลล์ของ สัตว์ สงิ่ มชี ีวิต 12. สืบค้นข้อมูล อธิบายและระบุชนิด กลอ้ ง และหน้าที่ของออร์แกเนลล์ จุลทรรศน์ 13. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของ โครงสร้าง นิวเคลียส และหน้าท่ี 14. อธิบาย และเปรียบเทียบการแพร่ ของเซลล์ ออสโมซสิ การแพรแ่ บบฟาซลิ ิเทต และ การลำเลยี ง แอกทฟี ทรานสปอรต์ สารเข้าและ 15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียน ออกจาก แผนภาพ การลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ เซลล์ การ ออกจากเซลล์ ดว้ ยกระบวนการเอกโซไซ แบ่งเซลล์ โทซิสและการลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ และการ เข้าสู่เซลล์ด้วยกระบวนการเอนโดไซโท หายใจระดบั ซสิ เซลล์ 16. สงั เกตการแบง่ นิวเคลยี สแบบ ไมโทซิสและแบบไมโอซิสจากตัวอย่าง ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พร้อมทั้งอธิบาย และเปรียบเทียบการแบ่ง นิวเคลียส แบบไมโทซิสและแบบไมโอซิส 17. อธิบาย เปรียบเทียบและสรุป ขั้นตอน การหายใจระดับเซลล์ในภาวะท่ี มีออกซิเจน เพียงพอ และภาวะที่มี ออกซิเจนไมเ่ พยี งพอ

สาระ มาตรฐาน ผลการเรยี นร้รู ายปี ม. 4 ม.5 ม.6 สาระชวี วิทยา 2. เข้าใจการ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย 1. อภิปรายความสำคัญ ถา่ ยทอดลักษณะ และสรุปผลการทดลอง ของความหลากหลายทาง ทางพนั ธกุ รรม ของเมนเดล ชีวภาพและความเชื่อมโยง การถ่ายทอดยนี 2. อธิบาย และสรุปกฎ ระหว่างความหลากหลาย บนโครโมโซม ทางพันธุกรรม ความ สมบตั ิ และหน้าท่ี แห่งการแยก และกฎแหง่ หลากหลายของสปีชีส์ และ ของสารพนั ธกุ รรม การรวมกลมุ่ อยา่ งอสิ ระ ความหลากหลายของ การเกิดมวิ เทชัน และนำกฎของ เมนเดลนี้ ระบบนิเวศ เทคโนโลยีทางดี ไปอธบิ ายการถ่ายทอด 2. อธิบายการเกิดเซลล์ เอ็นเอ หลกั ฐาน ลกั ษณะทาง พนั ธุกรรม เริ่มแรกของสิ่งมีชีวิต และ ขอ้ มูลและแนวคิด และใช้ในการคำนวณ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต เกย่ี วกับ โอกาสในการเกิดฟโี น เซลลเ์ ดียว วิวฒั นาการของ ไทปแ์ ละจโี นไทปแ์ บบ สง่ิ มีชีวติ ภาวะ ตา่ ง ๆ ของร่นุ F1 และ 3. อธิบายลักษณะสำคัญ และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิต สมดลุ ของฮารด์ ี- F2 กลุ่มแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิต กลุ่มโพรทิสต์ สิ่งมีชีวิต ไวนเ์ บริ ์ก การ 3. สืบคน้ ขอ้ มูล วิเคราะห์ กลมุ่ พืช ส่งิ มชี ีวิตกลุ่ม ฟัง เกดิ สปีชสี ใ์ หม่ อธิบายและสรุปเกี่ยวกับ ไจ และสงิ่ มชี วี ิต ความหลากหลาย การถ่ายทอดลักษณะทาง ทางชวี ภาพ กลมุ่ สัตว์ พันธุกรรมที่เป็นส่วน กำเนดิ ของ 4. อธิบายและยกตัวอย่าง ขยายของพันธศุ าสตร์ การจำแนกสิ่งมีชีวิต จาก ส่ิงมชี ีวติ ความ เมนเดล ห ม ว ด ห ม ู ่ ใ ห ญ ่ จ น ถึ ง หลากหลาย ของ 4. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ หมวดหม่ยู ่อยและวธิ ี เขยี น ส่ิงมชี ีวติ และ และเปรียบเทียบลักษณะ อนุกรมวิธาน ทางพนั ธุกรรมท่ีมีการแปร รวมท้ังนำความรู้ ผ ั น ไ ม ่ ต ่ อ เ น ื ่ อ ง แ ล ะ ชื่อวิทยาศาสตร์ในลำดับ ไปใชป้ ระโยชน์ ลักษณะทางพันธุกรรมที่มี ข้ันสปีชสี ์ การแปรผนั ต่อเน่ือง 5. สร้างไดโคโทมัสคีย์ใน 5. อธบิ ายการถา่ ยทอดยีน ก า ร ร ะ บ ุ ส ิ ่ ง ม ี ช ี ว ิ ต ห รื อ บนโครโมโซมและ ตัวอย่างที่กำหนดออกเป็น ยกตัวอย่างลักษณะทาง หมวดหมู่ พันธุกรรมที่ถูกควบคุม ด้วยยีนบนออโตโซมและ ยีนบนโครโมโซมเพศ

สาระ มาตรฐาน ผลการเรียนรูร้ ายปี ม.6 ม. 4 ม.5 สาระชวี วิทยา 2. เขา้ ใจการ 6. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย ถา่ ยทอดลักษณะ สมบัติและหน้าที่ของ สาร ทางพนั ธุกรรม พันธุกรรม โครงสร้างและ การถา่ ยทอดยีน องคป์ ระกอบ ทางเคมีของ บนโครโมโซม DNA และสรุปการจำลอง สมบตั ิ และหนา้ ท่ี DNA ของสารพันธุกรรม 7. อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ ร ะ บุ การเกิดมิวเทชนั ขั้นตอนในกระบวนการ เทคโนโลยีทางดี สังเคราะห์โปรตีนและ เอ็นเอ หลักฐาน ห น ้ า ท ี ่ ข อ ง DNA แ ล ะ ขอ้ มูลและแนวคดิ RNA แ ต ่ ล ะ ช น ิ ด ใ น เก่ียวกับ กระบวนการสังเคราะห์ ววิ ฒั นาการของ โปรตีน สิง่ มีชวี ิต ภาวะ 8. สรุปความสัมพันธ์ สมดุลของฮารด์ ี- ระหว่างสารพันธุกรรม ไวน์เบิรก์ การ แอลลีล โปรตีน ลักษณะ เกิดสปชี ีส์ใหม่ ท า ง พ ั น ธ ุ ก ร ร ม แ ล ะ ความหลากหลาย เชื่อมโยงกับความรู้เรื่อง ทางชีวภาพ กำเนิดของ พันธศุ าสตรเ์ มนเดล สง่ิ มชี วี ิต ความ 9. ส ื บ ค ้ น ข ้ อ ม ู ล แ ล ะ หลากหลาย ของ อธิบายการเกิดมิวเทชัน สงิ่ มีชีวติ และ ร ะ ด ั บ ย ี น แ ล ะ ร ะ ดั บ อนุกรมวิธาน โครโมโซม สาเหตุการเกิด รวมทงั้ นำความรู้ ม ิ ว เ ท ช ั น ร ว ม ทั้ ง ไปใช้ประโยชน์ ยกตัวอย่างโรคและกลุ่ม อาการที่เป็นผลของการ เกิดมิวเทชนั 10. อธิบายหลักการสร้าง ส่ิงมีชีวติ ดัดแปรพนั ธกุ รรม โดยใช้ดีเอ็นเอรีคอม บิแนนท์ 11. ส ื บ ค ้ น ข ้ อ มู ล ยกตัวอย่าง และอภิปราย การนำ เทคโนโลยีทางดี เอ็นเอไปประยุกตใ์ ช้ทั้งใน ดา้ น สงิ่ แวดล้อม นติ ิ

สาระ มาตรฐาน ผลการเรียนร้รู ายปี ม.6 ม. 4 ม.5 สาระชวี วิทยา 2. เขา้ ใจการ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ ถา่ ยทอดลักษณะ การเกษตรและ ทางพนั ธุกรรม อุตสาหกรรม และข้อควร การถา่ ยทอดยีน คำนึง ถงึ ด้านชีวจรยิ ธรรม บนโครโมโซม 12. สืบคน้ ข้อมูลและ สมบตั ิ และหนา้ ท่ี อธบิ ายเกยี่ วกบั หลักฐาน ของสารพันธุกรรม ท่ีสนับสนนุ และข้อมลู ท่ีใช้ การเกิดมิวเทชนั อธิบายการเกดิ เทคโนโลยีทางดี ววิ ัฒนาการของสง่ิ มชี วี ติ เอ็นเอ หลักฐาน 13. อธิบายและ ขอ้ มูลและแนวคดิ เปรยี บเทียบแนวคดิ เก่ียวกับ เกยี่ วกบั ววิ ัฒนาการของ ววิ ฒั นาการของ ส่ิงมชี ีวติ ของฌอง ลา สิง่ มีชวี ิต ภาวะ มาร์ก และทฤษฎเี กย่ี วกบั สมดุลของฮารด์ ี- วิวฒั นาการของสิ่งมีชวี ิต ไวน์เบิรก์ การ ของชาลส์ ดาร์วิน เกิดสปชี ีส์ใหม่ 14. ระบุสาระสำคญั และ ความหลากหลาย อธบิ ายเงือ่ นไขของภาวะ ทางชีวภาพ สมดลุ ของฮารด์ -ี ไวนเ์ บิรก์ กำเนิดของ ปจั จัยทีท่ ำให้เกิดการ สง่ิ มชี วี ิต ความ เปลีย่ นแปลงความถี่ของ หลากหลาย ของ แอลลลี ในประชากร สงิ่ มีชีวติ และ พรอ้ มทง้ั คำนวณหา อนุกรมวิธาน ความถ่ี ของแอลลลี และจี รวมทงั้ นำความรู้ โนไทปข์ องประชากร โดย ไปใช้ประโยชน์ ใชห้ ลักของ ฮารด์ ี-ไวน์ เบิรก์ 15. สบื ค้นขอ้ มลู อภิปราย และอธบิ าย กระบวนการเกดิ สปีชสี ์ ใหมข่ องสง่ิ มชี ีวิต

สาระ มาตรฐาน ม. 4 ผลการเรยี นร้รู ายปี ม. 6 ม. 5 สาระ 3. เข้าใจ 1. อธิบายเกี่ยวกับชนิดและลักษณะของ ชีววิทยา สว่ นประกอบ เนื้อเยื่อพืช และเขียนแผนผังเพื่อสรุปชนิด ของพืช การ ของเนือ้ เย่อื พืช แลกเปลย่ี นแก๊ส 2. สังเกต อธิบายและเปรียบเทียบ และคายน้ำของ โครงสร้าง ภายในของรากพชื ใบเล้ยี งเดีย่ ว พืช การลำเลยี ง และรากพืช ใบเลย้ี งคจู่ ากการตัดตามขวาง ของพืช การ 3. สังเกต อธิบาย และเปรียบเ ที ยบ สังเคราะห์ดว้ ย โครงสร้าง ภายในของลำต้นพชื ใบเลี้ยงเด่ียว แสง การ และลำตน้ พืช ใบเลี้ยงคจู่ ากการตดั ตามขวาง สบื พันธ์ุของพชื 4. สังเกต และอธบิ ายโครงสร้างภายในของ ดอกและการ ใบพชื จากการตดั ตามขวาง เจรญิ เติบโตและ 5. สืบคน้ ข้อมูล สังเกต และอธบิ ายการ การ ตอบสนอง แลกเปลย่ี น แก๊สและการคายนำ้ ของพชื ของพชื รวมท้งั 6. สบื ค้นขอ้ มลู และอธิบายกลไกการ นำความรู้ไปใช้ ลำเลียงน้ำและธาตอุ าหารของพชื ประโยชน์ 7. สืบค้นข้อมูล อธิบายความสำคัญของธาตุ อาหารและยกตัวอย่างธาตุอาหารที่สำคัญ ทม่ี ผี ลต่อการเจริญเติบโตของพชื 8. อธิบายกลไกการลำเลียงอาหารในพชื 9. สืบค้นข้อมูล และสรุปการศึกษาที่ได้จาก การ ทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีต เกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง 10. อธิบายขนั้ ตอนที่เกิดข้ึนในกระบวนการ สังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช C3 11. เปรยี บเทยี บกลไกการตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ในพชื C3 พชื C4 และพืช CAM

สาระ มาตรฐาน ม. 4 ผลการเรียนรรู้ ายปี ม. 6 ม. 5 สาระ 3. เข้าใจ 12. สบื คน้ ข้อมลู อภิปรายและสรปุ ปัจจยั ชีววิทยา สว่ นประกอบ ความเข้มของแสงความเข้มข้นของ ของพืช การ คาร์บอนไดออกไซด์และอุณหภูมิ ที่มีผล แลกเปล่ียนแกส๊ ตอ่ การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช และคายน้ำของ 13. อธิบายวฏั จกั รชีวติ แบบสลบั ของพืช พืช การลำเลียง ดอก ของพืช การ 14. อธิบายและเปรียบเทยี บกระบวนการ สังเคราะห์ด้วย สร้าง เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียของ แสง การสบื พันธุ์ พืชดอกและอธิบายการปฏิสนธิของพืช ของพชื ดอกและ ดอก การเจรญิ เตบิ โต 15. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผล และการ ของพืชดอก โครงสร้างของเมล็ดและผล ตอบสนองของ และยกตัวอย่าง การใช้ประโยชน์จาก พชื รวมทง้ั นำ โครงสร้างต่างๆ ของเมล็ดและผล ความรไู้ ปใช้ 16. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปัจจัย ประโยชน์ ต่างๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพ พักตัวของเมล็ดและบอกแนวทางในการ แกส้ ภาพพกั ตัวของเมลด็ 17. สืบค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและ หน้าที่ของออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอ- เรลลิน เอทิลีนและกรด แอบไซซิก และ อภิปรายเกี่ยวกับการนำไปใช้ประโยชน์ ทางการเกษตร 18. สืบค้นข้อมูล ทดลองและอภิปราย เกี่ยวกับสิ่งเร้าภายนอกที่มีผลต่อการ เจริญเติบโตของพืช

สาระ มาตรฐาน ม. 4 ผลการเรยี นรรู้ ายปี ม. 6 ม. 5 สาระ 4. เข้าใจการ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบายและ 1. สื บ ค้ น ข้ อ มู ล อธ ิบาย และ ชีววิทยา ย่อยอาหารของ เปรียบเทียบโครงสร้างและ เปรียบเทียบโครงสร้าง และหน้าท่ี สตั วแ์ ละมนษุ ย์ การหายใจและ กระบวนการย่อยอาหารของ ของระบบประสาทของไฮดรา พลา การแลกเปล่ยี น แกส๊ การ สตั วท์ ไ่ี มม่ ที างเดินอาหารสัตว์ท่ี นาเรีย ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย แมลง ลำเลียงสารและ การหมุนเวียน มีทางเดินอาห ารแ บ บ ไ ม่ และสตั ว์มกี ระดูกสันหลัง เลือด ภมู คิ มุ้ กัน สมบูรณ์และสัตว์ที่มีทางเดิน 2. อธบิ ายเก่ียวกับโครงสรา้ ง ของรา่ งกาย และหนา้ ท่ขี องเซลลป์ ระสาท การขับถ่าย การ อาหารแบบสมบรู ณ์ รับรู้ และการ 2. สังเกต อธิบายการกินอาหาร 3. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ตอบสนอง การ ของไฮดราและพลานาเรีย ของศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ของ เคลอ่ื นท่ี การ 3. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง เซลล์ประสาท แ ล ะ ก ล ไ ก ก า ร สืบพนั ธุ์และการ หน้าที่และกระบวนการย่อย ถ่ายทอดกระแสประสาท เจริญเติบโต อ า ห า ร แ ล ะ ก า ร ด ู ด ซึ ม 4. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับ ฮอร์โมนกับ สารอาหารภายในระบบย่อย โครงสร้างของระบบประสาท การรักษา ส่วนกลางและระบบประสาทรอบ ดลุ ยภาพ และ อาหารของมนุษย์ พฤติกรรมของ 4. สืบค้นข้อมูล อธิบายและ นอก สตั ว์ รวมท้งั นำ เปรียบเทียบโครงสร้าง ที่ทำ 5. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้าง ความรูไ้ ปใช้ หน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของ และหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ในสมอง ประโยชน์ ฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ส่วนหนา้ สมองส่วนกลาง สมองสว่ น ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ หลัง และ และนก ไขสนั หลัง 5. สังเกต และอธบิ ายโครงสร้าง 6. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ าย เปรียบเทียบ ของปอดในสัตว์ เลี้ยงลูกด้วย และ ยกตัวอย่างการทำงานของ นำ้ นม ระบบ 7. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบายโครงสรา้ ง 6. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ าย และหน้าท่ขี องตา หู จมกู ล้ินและ โครงสร้างทใี่ ช้ในการ ผิวหนังของมนุษย์ ยกตัวอยา่ งโรค แลกเปลี่ยนแกส๊ และ ตา่ งๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งและบอกแนวทาง กระบวนการแลกเปลย่ี น แก๊ส ในการดูแลป้องกนั และรกั ษา ของมนุษย์ 8. สงั เกต และอธบิ ายการหา 7. อธบิ ายการทำงานของปอด ตำแหน่งของจุดบอด โฟเวยี และ และทดลองวดั ปริมาตรของ ความไวในการรบั สัมผสั ของผวิ หนงั อากาศในการหายใจออกของ มนุษย์

สาระ มาตรฐาน ม. 4 ผลการเรยี นร้รู ายปี ม. 6 ม. 5 สาระ 4. เขา้ ใจการ 8. สืบค้นข้อมูลอธิบายและ 9. สืบค้นข้อมูล อธิบายและ ชีววิทยา ย่อยอาหารของ เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ ร ะ บ บ เปรียบเทียบโครงสร้างและ สัตวแ์ ละมนษุ ย์ การหายใจและ หมุนเวียนเลอื ดแบบเปิดและ หน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับ การแลกเปล่ียน ระบบหมุนเวียนเลือดแบบ การเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน แก๊ส การ ปิด หมึก ดาวทะเล ไส้เดือนดิน ลำเลียงสารและ 9. สังเกตและอธิบายทิศ แมลง ปลา และนก การหมุนเวยี น ทางการไหลของเลือด และ 10. สบื คน้ ขอ้ มูล และอธิบาย เลอื ด ภูมคิ ุม้ กัน การเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ด โครงสร้างและหน้าที่ของ ของร่างกาย เลือดในหางปลา และสรุป กระดูกและกล้ามเนื้ อ ที่ การขับถ่าย การ ความสัมพันธ์ระหว่างขนาด เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว รับรู้ และการ ของหลอดเลือดกับความเร็ว และการเคล่อื นทข่ี องมนุษย์ ตอบสนอง การ 11. สังเกตและอธิบายการ เคลือ่ นที่ การ ในการไหลของเลือด สืบพนั ธแุ์ ละการ 10. อธิบายโครงสร้างและ ทำงานของข้อต่อชนิดต่าง ๆ เจรญิ เตบิ โต การทำงานของหัวใจและ และการทำงานของกล้ามเนื้อ ฮอร์โมนกับ การ โครงร่างที่เกี่ยวข้องกับการ รักษา หลอดเลอื ดในมนุษย์ ดุลยภาพ และ 11. สงั เกต และอธิบาย เคลื่อนไหวและการเคลื่อนท่ี พฤติกรรมของ โครงสร้างหวั ใจของสตั ว์ ของมนษุ ย์ สตั ว์ รวมทั้งนำ เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ทิศ 12. สืบค้นข้อมูล อธิบายและ ความร้ไู ปใช้ ทางการไหลของเลือดผ่าน ยกตัวอย่าง การสืบพันธุ์แบบไม่ ประโยชน์ หัวใจของมนุษย์ และเขียน อาศัยเพศและการสืบพันธุ์ แบบ แผนผังสรุปการหมุนเวียน อาศยั เพศในสัตว์ 13. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เลือดของมนุษย์ 12. สืบค้นข้อมูล ระบุความ โครงสร้างและหน้าที่ของ แตกต่างของเซลล์เม็ดเลือด อวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศ แดง เซลล์เม็ดเลือดขาว ชายและระบบสืบพันธุ์เพศ เพลตเลต และพลาสมา หญิง 13. อธิบายหมู่เลือดและ 14. อธิบายกระบวนการสร้าง หลกั การใหแ้ ละรับเลอื ด สเปิร์ม กระบวนการ สร้างเซลล์ ไข่ และการปฏิสนธใิ นมนุษย์ ABO และระบบ Rh 14. อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ ส รุ ป 15. อธิบายการเจรญิ เตบิ โต เกี่ยวกับส่วนประกอบและ ระยะเอ็มบรโิ อและระยะหลงั หน้าที่ของน้ำเหลือง รวมทั้ง เอม็ บริโอของกบ ไก่และมนุษย์ โครงสร้างและ หน้าที่ของ 16. อธิบายการเจริญเติบโต หลอดน้ำเหลือง และต่อม ระยะเอ็มบริโอและระยะหลัง น้ำเหลือง

สาระ มาตรฐาน ม. 4 ผลการเรยี นรรู้ ายปี ม. 6 ม. 5 15. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย สาระ 4. เข้าใจการ และเปรียบเทียบกลไก เอ็มบริโอของกบ ไก่ และมนษุ ย์ ชีววิทยา ย่อยอาหารของ การตอ่ ต้านหรอื ทำลายสงิ่ 17. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย และ สตั ว์และมนุษย์ แปลกปลอม แบบไม่ เขยี นแผนผังสรุปหน้าทข่ี อง การหายใจและ จำเพาะและแบบจำเพาะ ฮอร์โมนจากตอ่ มไรท้ อ่ และ การแลกเปลี่ยน 16. สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย เนือ้ เย่ือ ท่สี รา้ งฮอรโ์ มน แก๊ส การ และเปรยี บเทียบการสร้าง 18. สบื คน้ ข้อมลู อธิบาย ลำเลยี งสารและ ภมู ิคุ้ม เปรียบเทียบ และยกตัวอยา่ ง การหมุนเวยี น กนั ก่อเองและภมู ิคมุ้ กนั พฤติกรรมทเ่ี ปน็ มาแต่กำเนิด เลอื ด ภูมคิ มุ้ กัน รับมา และพฤตกิ รรมท่ีเกิดจากการ ของรา่ งกาย 17. สืบคน้ ข้อมูลและอธบิ าย เรียนรู้ของสัตว์ การขับถ่าย เกีย่ วกับความผิดปกตขิ อง 19. สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย และ การรับรู้ และ ระบบภมู คิ มุ้ กันท่ีทำให้เกิด การตอบสนอง เอดส์ ภมู ิแพ้ การสรา้ งภมู ิ ยกตวั อยา่ ง ความสัมพนั ธ์ การเคลอื่ นที่ ตา้ นทานตอ่ เน้อื เย่ือตนเอง การสบื พนั ธแ์ุ ละ 18. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ าย ระหวา่ งพฤติกรรมกับ การเจรญิ เติบโต และเปรียบเทยี บ โครงสร้าง ฮอรโ์ มนกับ และหน้าทใี่ นการกำจัดของ ววิ ฒั นาการของระบบประสาท การรักษา เสีย ออกจากร่างกายของ ดุลยภาพ และ ฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรยี 20. สืบคน้ ข้อมูล อธิบายและ พฤติกรรมของ ไส้เดือนดนิ แมลง และสัตว์ ยกตัวอยา่ งการสื่อสาร ระหว่าง สัตว์ รวมทั้ง มีกระดูกสันหลัง สัตว์ นำความรูไ้ ปใช้ 19. อธิบายโครงสรา้ งและ ทีท่ ำให้สัตว์แสดงพฤติกรรม ประโยชน์ หนา้ ทขี่ องไต และโครงสรา้ ง ท่ีใชล้ ำเลียงปัสสาวะออก จาก รา่ งกาย 20. อธบิ ายกลไกการทำงาน ของหน่วยไต ในการ กำจดั ของเสยี ออกจากร่างกาย และเขยี น แผนผงั สรปุ ข้นั ตอนการกำจัดของเสยี ออกจากรา่ งกายโดยหนว่ ย ไต 21. สบื คน้ ข้อมูล อธิบาย และยกตวั อย่างเกย่ี วกบั ความผดิ ปกติของไตอัน เน่อื งมาจากโรคต่าง ๆ

สาระ มาตรฐาน ม. 4 ผลการเรยี นรูร้ ายปี ม. 5 ม. 6 สาระ 5. เขา้ ใจแนวคดิ ชีววิทยา เก่ียวกับระบบนเิ วศ 1. วิเคราะห์ อธิบาย และยกตัวอย่างกระบวนการ กระบวนการ ถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ ถ่ายทอดพลังงาน 2. อธิบาย ยกตัวอย่างการเกิดไบโอแมกนิฟิเคชัน และ การหมุนเวยี น และบอกแนวทางในการลดการเกิด ไบโอแมก- สารในระบบนิเวศ นิฟิเคชนั ความหลากหลาย ของไบโอม การ 3. สืบค้นข้อมูลและเขียนแผนภาพ เพื่ออธิบาย เปลี่ยนแปลงแทนที่ วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรกำมะถัน และวัฏจักร ของสิง่ มีชีวติ ใน ฟอสฟอรัส ระบบนเิ วศ 4. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง และอธิบายลักษณะ ประชากรและ ของไบโอมที่กระจายอยูต่ ามเขตภมู ศิ าสตรต์ ่างๆ รูปแบบการเพิ่ม บนโลก ของประชากร 5. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง อธิบาย และเปรียบเทยี บ ทรพั ยากรธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ และ การ และสงิ่ แวดล้อม เปล่ียนแปลงแทนทีแ่ บบทุตยิ ภมู ิ ปญั หาและ ผลกระทบทเี่ กดิ 6. สืบค้นข้อมูล อธิบาย ยกตัวอย่าง และสรุป จากการใช้ เกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของประชากรของ ประโยชน์ และ สิง่ มีชีวติ บางชนิด แนวทางการแกไ้ ข 7. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอย่าง ปญั หา การเพิ่มของประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียลและการ เพ่มิ ของประชากรแบบลอจิสติก 8. อธิบายและยกตัวอย่างปัจจยั ที่ควบคุมการเติบโต ของประชากร 9. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหาการขาด แคลนน้ำ การเกิดมลพิษทางน้ำ และผลกระทบที่มี ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสนอแนวทางการ วางแผนการจัดการนำ้ 10. วิเคราะห์ อภิปรายและสรุปปัญหามลพิษทาง อากาศ และผลกระทบท่ีมีต่อมนุษยแ์ ละ สิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั เสนอแนวทางการแก้ไขปญั หา

สาระ มาตรฐาน ม. 4 ผลการเรียนรรู้ ายปี สาระ 5. เขา้ ใจแนวคดิ ม. 5 ม. 6 ชีววิทยา เกย่ี วกับระบบนเิ วศ กระบวนการ 11. วิเคราะห์ อภปิ ราย และสรุปปัญหาท่ีเกิดกับ ถา่ ยทอดพลงั งาน ทรัพยากรดิน และผลกระทบทม่ี ตี ่อมนษุ ย์และ และการหมนุ เวียน ส่ิงแวดลอ้ ม รวมทง้ั เสนอแนวทางการแกไ้ ข สารในระบบนิเวศ 12. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหา ผลกระทบ ความหลากหลาย ที่เกิดจากการทำลายป่าไม้ รวมทั้งเสนอแนวทางใน ของไบโอม การ การป้องกันการทำลายป่าไมแ้ ละการอนุรักษ์ป่าไม้ เปลยี่ นแปลงแทนที่ 13. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหา ผลกระทบ ของส่ิงมชี ีวิตใน ที่ทำให้สัตว์ป่ามีจำนวนลดลงและแนวทางในการ ระบบนิเวศ อนรุ ักษ์สัตว์ป่า ประชากรและ รปู แบบการเพ่ิม ของประชากร ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ปญั หาและ ผลกระทบทเี่ กิด จากการใช้ ประโยชน์ และ แนวทางการแก้ไข ปญั หา

สาระชวี วิทยา 1. เข้าใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สารที่เป็น องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ชั้น ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรเู้ พ่ิมเตมิ ม.4 1. อธิบาย และสรุปสมบัติที่สำคัญของ - สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการสารอาหารและพลังงาน มีการ สิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ของการ เจริญเติบโต มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า มีการรักษาดุลยภาพ จัดระบบในสิ่งมีชีวิต ที่ทำให้สิ่งมีชีวิต ของร่างกาย มกี ารสืบพนั ธุ์ มกี ารปรับตัวทางววิ ัฒนาการ และ ดำรงชวี ิตอยไู่ ด้ มีการทำงานรว่ มกนั ขององคป์ ระกอบตา่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบ สิง่ เหลา่ น้ีจัดเปน็ สมบัตทิ ี่สำคัญของสิ่งมชี ีวติ - การจัดระบบในส่งิ มชี วี ิตเริม่ จากหน่วยเลก็ ไปหน่วยใหญ่ ได้แก่ เซลล์เนือ้ เยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ และสิ่งมชี ีวติ ตามลำดบั 2. อภิปราย และบอกความสำคัญของ - วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ในการค้นหาคำตอบ เกยี่ วกบั ส่ิงมีชีวิต การระบุปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่าง เริ่มจากการตั้งปัญหาหรือคำถาม ตั้งสมมติฐาน ตรวจสอบ ปัญหา สมมติฐาน และวิธีการตรวจสอบ สมมติฐาน เกบ็ รวบรวมข้อมลู วเิ คราะห์ขอ้ มูล และสรุปผล สมมติฐาน รวมทั้งออกแบบการทดลอง - การศึกษาสงิ่ มชี วี ิตตอ้ งอาศัยความรูจ้ ากแขนงวิชา ตา่ ง ๆ ของ เพื่อตรวจสอบสมมติฐาน ชีววทิ ยา และสาขาวิชาอ่ืนทีเ่ กีย่ วขอ้ ง และควรคำนึงถึง ชีวจริยธรรม และจรรยาบรรณ การใช้สัตว์ทดลอง 3. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับสมบัติ - สิ่งมีชีวิตประกอบด้วย ธาตุและสารประกอบ ในร่างกายของ ของน้ำ และบอกความสำคัญของน้ำที่มี สิ่งมีชีวิตมีน้ำเป็นองค์ประกอบมากที่สุด น้ำประกอบด้วยธาตุ ตอ่ สิ่งมชี วี ติ และยกตัวอยา่ งธาตุชนิดต่าง ไฮโดรเจน และออกซิเจน มีสมบัติในการเป็นตัวทำละลายที่ดี ๆ ที่มีความสำคัญต่อร่างกายสิ่งมีชีวิต เก็บความร้อนได้ดี และมคี วามจคุ วามร้อนสงู ซงึ่ ชว่ ยรกั ษา ดุลยภาพของเซลลไ์ ด้ - ธาตุที่สิ่งมีชีวิตต้องการจะอยู่ในรูปของไอออนในมนุษย์และ สัตว์ ธาตุจะช่วยให้การทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย ดำเนนิ ไปตามปกติ นอกจากนใ้ี นกระดกู ฟนั และกล้ามเน้ือ จะมีธาตุ เปน็ องคป์ ระกอบดว้ ย 4. สืบค้นข้อมลู อธิบายโครงสรา้ งของ - คาร์โบไฮเดรตประกอบด้วย ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจนและ คาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มของ ออกซเิ จน แบ่งตามขนาดโมเลกลุ ออกได้เปน็ 3 กลมุ่ คือ คาร์โบไฮเดรต รวมทง้ั ความสำคญั ของ มอโนแซ็กคาไรด์ ไดแซ็กคาไรด์ และพอลแิ ซก็ คาไรด์ คาร์โบไฮเดรตที่มีต่อสงิ่ มชี ีวติ 5. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของ - โปรตนี มกี รดอะมโิ นเป็นหนว่ ยย่อย ประกอบด้วย โปรตีน และความสำคัญของโปรตีนที่มี ธาตคุารบ์อน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน บางชนิด ตอ่ ส่ิงมชี ีวติ อาจมี ธาตฟุ อสฟอรสั เหล็ก และกำมะถัน เป็นองคป์ ระกอบ 6.สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของ - ลิพิดประกอบด้วย ธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน ลิพิด และความสำคัญของลิพิดที่มีต่อ เป็นสารประกอบที่ละลายได้ดี ในตัวทำละลายที่เป็น สิง่ มีชีวติ

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม สารอินทรีย์ ลิพิดกลุ่มสำคัญที่พบในสิ่งมีชีวิต เช่น กรดไขมัน ไตรกลีเซอไรด์ ฟอสโฟลิพดิ สเตอรอยด์ 7.อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลิอิก - กรดนิวคลิอิกประกอบด้วย หน่วยย่อย เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ และระบุชนิดของกรดนิวคลิอิก และ โมเลกลุของนิวคลีโอไทด์ประกอบด้วย หมู่ฟอสเฟต น้ำตาลที่มี ความสำคัญของกรดนิวคลิอิกที่มีต่อ คารบ์ อน 5 อะตอม และเบสทม่ี ไี นโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ สง่ิ มีชีวติ - กรดนิวคลิอิกเป็นองค์ประกอบของสารพันธุกรรม ทำหน้าที่ เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมมี 2 ชนิดคือ DNA และ RNA 8. สืบค้นขอ้ มลู และอธิบายปฏิกิริยาเคมี - เมแทบอลิซึมเป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ของ ทเ่ี กิดข้นึ ในสง่ิ มชี วี ิต ส่งิ มีชีวติ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ประกอบด้วยปฏิกริ ิยาคายพลงั งาน และ 9. อธิบายการทำงานของเอนไซม์ในการ ปฏิกิริยาดูดพลังงาน ปฏิกิริยาเคมีเหล่านี้จะดำเนินไปได้อย่าง เร่งปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต และระบุ รวดเร็ว จำเป็นต้องอาศยั เอนไซม์ช่วยเร่งปฏิกิริยา ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของเอนไซม์ - เอนไซมส์ ่วนใหญเ่ ป็นสารประเภทโปรตนี ทำหนา้ ทีเ่ ร่ง ปฏกิ ิรยิ าเคมี ในขณะทีเ่ กิดปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ สารตั้งต้นจะ เข้าไปจับกบั เอนไซม์ ทีบ่ รเิ วณจำเพาะของเอนไซม์ทเี่ รียกว่า บรเิ วณเร่ง ถา้ สารตง้ั ตน้ มีโครงสรา้ งเข้ากบั บริเวณเรง่ ได้ สารต้ังตน้ นน้ั จะถูกเปลี่ยนเป็นสารผลติ ภณั ฑ์ - อณุ หภูมิ สภาพความเปน็ กรด-เบส และตัวยบั ยง้ั เอนไซม์ เป็น ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการทำงานของเอนไซม์ 10. บอกวิธีการ และเตรียมตัวอย่างส่ิง - กลอ้ งจุลทรรศน์เปน็ เครื่องมือท่ีใช้ศึกษาสง่ิ มีชีวิตขนาดเล็ก มีชีวิต เพื่อศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ที่ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าและรายละเอียดโครงสร้างของ ใช้แสง วัดขนาดโดยประมาณและวาด เซลล์ ภาพที่ปรากฏภายใต้กลอ้ ง บอกวธิ กี ารใช้ - กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเชิงประกอบ และกล้องจุลทรรศน์ใช้ และการดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้ แสงแบบสเตอรโิ ออาศัยเลนส์ ในการทำให้เกดิ ภาพขยาย แสงที่ถูกตอ้ ง - กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนทำให้เกิดภาพขยาย โดยอาศัย เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้ารวมลำอิเล็กตรอน ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คอื ชนิดส่องผา่ น และชนิดส่องกราด - ตัวอย่างส่งิ มชี วี ติ ที่นำมาศกึ ษาภายใตก้ ล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสง ต้องมีวธิ กี ารเตรียมท่ถี ูกต้องและเหมาะสม กบั ชนดิ ของ สิง่ มีชีวติ เพือ่ ให้เกดิ ประสิทธิภาพในการศึกษา - กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสงเปน็ เครอื่ งมือที่มีความละเอียดซับซ้อน และราคาค่อนข้างสูง จึงควรใช้อย่างถูกวิธี มีการเก็บและดูแล รกั ษาทีถ่ ูกต้อง เพ่ือให้สามารถใช้งานไดน้ าน

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรเู้ พิ่มเตมิ 11. อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ีของส่วน - เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตโครงสร้าง ทหี่ อ่ หุ้มเซลล์ของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ พื้นฐานของเซลล์ประกอบด้วย สว่ นทีห่ ่อห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซึม 12. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และระบุชนิด และนิวเคลยี ส และหน้าทข่ี องออร์แกเนลล์ - ส่วนทีห่ อ่ หมุ้ เซลล์ที่พบในเซลลท์ ุกชนิด คอื เยอ่ื หุม้ เซลล์ แต่ใน 13. อธบิ ายโครงสรา้ งและหน้าทีข่ อง แบทีเรีย สาหร่าย ฟังไจ และพืช จะมีผนังเซลล์เป็นส่วนห่อหุ้ม นิวเคลียส เซลลเ์ พม่ิ เติมข้นึ มาอีกชน้ั หนง่ึ - โครงสรา้ งของเย่ือห้มุ เซลลป์ ระกอบด้วยโมเลกลุ ของ ฟอสโฟลิพิดเรียงเป็นสองชั้น และมีโปรตีนแทรก หรืออยู่ที่ผิว ทงั้ สองดา้ นของฟอสโฟลิพดิ - ไซโทพลาซมึ อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ ประกอบด้วย ไซโทซอลและออร์แกเนลล์ - นิวเคลียสเป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของเซลล์ ยูคาริโอต ประกอบด้วยเยื่อหุ้ม ซึ่งภายใน DNA RNA และ โปรตีนบางชนดิ 14. อธิบาย และเปรียบเทยี บการแพร่ - สารตา่ ง ๆ มีการเคล่อื นที่เข้าและออกจากเซลล์อยู่ตลอดเวลา ออสโมซสิ การแพรแ่ บบฟาซิลิเทต และ โดยกระบวนการต่าง ๆ ได้แก่ การแพร่ออสโมซิส การแพร่ แอกทีฟทรานสปอร์ต แบบฟาซลิ เิ ทต แอกทฟี ทรานสปอร์ต กระบวนการ 15. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย และเขียน เอกโซไซโทซสิ กระบวนการเอนโดไซโทซสิ แผนภาพ การลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ - แก๊สต่าง ๆ เข้าหรือออกจากเซลล์โดยการแพร่ ส่วนน้ำเข้า ออกจากเซลล์ ด้วยกระบวนการ หรอื ออกจากเซลล์ผ่านเย่อื หมุ้ เซลล์ โดยออสโมซิส เอกโซไซโทซสิ และการลำเลยี งสาร - ไอออนและสารบางอย่างที่ไม่สามารถลำเลียง ผ่านเยื่อหุ้ม โมเลกลุ ใหญเ่ ขา้ สู่เซลลด์ ้วยกระบวนการ เซลล์โดยตรงได้ จำเป็นต้องอาศัยโปรตีนที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ เอนโดไซโทซิส เป็นตัวพาสารนั้นเข้าและออกจากเซลล์ เรียกว่า การแพร่ แบบฟาซิลเิ ทต - แอกทีฟทรานสปอร์ต เป็นการลำเลียงสารจาก บริเวณที่มี ความเขม้ ข้นต่ำไปยงั บริเวณทม่ี คี วามเข้มขน้ สูง - สารบางอย่างที่ไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ หรือลำเลียง ผา่ นโปรตีนท่เี ป็นตวั พาได้จะถูกลำเลยี งออกจากเซลล์ ดว้ ยกระบวนการเอกโซไซโทซิส - สารที่มีขนาดใหญ่จะสามารถลำเลียงเข้าสู่เซลล์ ด้วย กระบวนการเอนโดไซโทซิส ซึ่งแบ่งเป็น 3 แบบ ได้แก่ พิโนไซโทซิส ฟาโกไซโทซสิ และการนำสารเข้าสู่เซลลโ์ ดยอาศัย ตัวรับ

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นร้เู พิ่มเติม 16. สังเกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโท - การแบ่งเซลล์ของสง่ิ มีชีวติ เป็นการเพิ่มจำนวนเซลล์ ซิส และแบบไมโอซสิ จากตัวอย่าง ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึน้ ต่อเน่ืองกันเป็นวฏั จักรโดยวัฏจักร ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พร้อมทั้งอธิบาย ของเซลล์ ประกอบด้วย อนิ เตอรเ์ ฟส การแบ่งนิวเคลยี ส และเปรียบเทียบการแบ่งนิวเคลียสแบบ แบบ ไมโทซิส และการแบ่งไซโทพลาซึม ไมโทซสิ และแบบไมโอซสิ - การแบ่งนวิ เคลียสมี 2 แบบ คือ การแบ่งนิวเคลียสแบบ ไมโทซสิ และการแบง่ นวิ เคลยี สแบบไมโอซิส - การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส ประกอบด้วย ระยะโพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโลเฟส การแบ่งนิวเคลยี สแบบ ไมโอซิสประกอบด้วย ระยะโพรเฟส I เมทาเฟส I แอนาเฟส I เทโลเฟส I ระยะโพรเฟส II เมทาเฟส II แอนาเฟส II และ เทโลเฟส II - การแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสทำให้เซลล์รา่ งกายเพิม่ จำนวน เพ่อื การเจริญเติบโต และซอ่ มแซมส่วนทส่ี ึกหรอหรือถูกทำลาย ไปได้ สว่ นการแบ่งนวิ เคลียสแบบไมโอซสิ มีความสำคญั ต่อ ส่งิ มีชีวติ ในกระบวนการสร้างเซลล์สบื พันธุ์ - การแบ่งไซโทพลาซึมในเซลล์พืชจะมีการสร้างแผ่นกั้นเซลล์ และเซลลส์ ัตว์จะมีการคอดเวา้ เขา้ หากนั ของเย่ือหุ้มเซลล์ 17. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุป - การหายใจระดับเซลล์เป็นการสลายสารอาหารท่ีมีพลังงานสูง ขน้ั ตอน การหายใจระดบั เซลล์ในภาวะท่ี โดยมีออกซเิ จนเปน็ ตัวรับอิเล็กตรอนตัวสดุ ท้าย ประกอบดว้ ย 3 มีออกซิเจน เพียงพอ และภาวะที่มี ขั้นตอน คือ ไกลโคลิซิส วัฏจักรเครบส์ และกระบวนการ ออกซิเจนไม่เพียงพอ ถ่ายทอดอิเล็กตรอน - การหายใจระดับเซลล์ พลังงานส่วนใหญ่ได้จากข้ัน ตอนการถ่ายทอดอิเล็กตรอน พลังงานนี้จะถูกเก็บไว้ในพันธะ เคมใี นโมเลกลุ ของ ATP - ในภาวะที่มีออกซิเจนไม่เพียงพอ ทำให้การหายใจ ของเซลล์ ไม่สมบูรณ์ จึงเกิดได้เฉพาะไกลโคลิซิส ผลที่ได้จากการหายใจ ในสภาวะนี้ในสัตว์จะได้กรดแลกติก ในจุลินทรีย์และพืชอาจได้ กรดแลกติก หรือเอทิลแอลกอฮอล์

2. เขา้ ใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยนี บนโครโมโซม สมบตั ิ และหน้าทขี่ องสาร พันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐาน ข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของ สง่ิ มีชีวติ ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก การเกิดสปชี สี ์ใหม่ ความหลากหลายทางชวภี าพ กำเนดิ ของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของส่ิงมีชีวติ และอนกุ รมวิธาน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ชัน้ ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เพมิ่ เตมิ ม.4 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และสรุปผลการ - เมนเดลศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทดลองของเมนเดล โดยการผสมพันธุ์ถัว่ ลันเตา จนสรุปเปน็ กฎแห่งการแยก 2. อธบิ าย และสรปุ กฎแห่งการแยก และกฎแหง่ การรวมกลมุ่ อย่างอิสระ และกฎแหง่ การรวมกลุ่มอยา่ งอิสระ - กฎแหง่ การแยกมีใจความวา่ แอลลลี ท่อี ยเู่ ปน็ คูจ่ ะแยก และนำกฎของเมนเดลไปอธบิ ายการ ออกจากกันในระหว่างการสร้างเซลลส์ บื พันธุ์ โดยเซลล์ ถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมและใช้ สบื พนั ธแุ์ ตล่ ะเซลลจ์ ะมีเพยี งแอลลลี ใดแอลลลี ในการคำนวณโอกาสในการเกิดฟีโนไทป์ หนึง่ และจโี นไทปแ์ บบต่าง ๆ ของร่นุ F1 และ - กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระมีใจความว่า หลังจาก F2 คู่ของแอลลีลแยกออกจากกัน แต่ละแอลลีลจะจัดกลุ่ม อย่างอิสระกับแอลลีลอื่น ๆ ที่แยกออกจากคู่เช่นกันใน การเขา้ ไปอย่ใู นเซลลส์ ืบพันธุ์ 3. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย และ - การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมบางลักษณะ สรุปเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทาง ให้อัตราส่วนที่แตกต่างจากผลการศึกษาของเมนเดล พันธกุ รรม ทเ่ี ปน็ สว่ นขยายของ เรียกลักษณะเหล่านี้ว่า ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็น พนั ธศุ าสตร์เมนเดล ส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล เช่น การข่มไม่ 4. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และเปรียบ สมบูรณ์การข่มร่วมกัน มัลติเปิลแอลลีลยีนบน เทียบลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการแปร โครโมโซมเพศและพอลยิ นี ผันไม่ต่อ เนื ่ อง แล ะล ั กษ ณ ะ ท า ง - ลักษณะพันธุกรรมบางลักษณะมีความแตกต่างกัน พันธุกรรมทีม่ กี ารแปรผนั ต่อเนอื่ ง ชัดเจน เช่น การมีติง่ หหู รือไมม่ ีติ่งหู ซงึ่ เป็นลักษณะทาง พนั ธกุ รรมทีม่ กี ารแปรผันไม่ต่อเนื่อง - ลักษณะทางพันธุกรรมบางลักษณะมีความแตกต่างกัน เล็กน้อยและลดหลั่นกันไป เช่น ความสูงและสีผิวของ มนุษย์ ถูกควบคุมโดยยีนหลายคู่ซึ่งเป็นลักษณะทาง พันธุกรรมที่มีการแปรผันต่อเนื่องและสิง่ แวดล้อมอาจมี ผลต่อการแสดงลกั ษณะนั้น

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรูเ้ พมิ่ เตมิ 5. อธิบายการถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม - โครโมโซมภายในเซลล์ร่างกายแบ่งเป็นออโตโซม และ และยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมท่ี โครโมโซมเพศ ลักษณะทางพันธุกรรมส่วนใหญ่ถูก ถูกควบคุมด้วยยีนบนออโตโซมและยีน ควบคุมด้วยยีนบนออโตโซม บางลักษณะถูกควบคุม บนโครโมโซมเพศ ด้วยยีนบนโครโมโซมเพศ ซึ่งส่วนมากเป็นยีนบน โครโมโซม X - เมื่อมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ยีนบนโครโมโซมเดียวกัน ที่อยู่ใกล้กันมักจะถูกถ่ายทอดไปด้วยกัน แต่การเกิด ครอสซิงโอเวอรใ์ นการแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซสิ อาจทำให้ ยีนบนโครโมโซมเดียวกันแยกจากกันได้ ส่งผลให้รูป แบบของเซลล์สืบพันธุ์ที่ได้แตกต่างไปจากกรณีที่ไม่ เกิดครอสซิงโอเวอร์ 6. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายสมบัติและหน้าที่ - DNA เป็นพอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ แต่ละนิวคลีโอ ของสารพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ ไทด์ประกอบด้วยน้ำตาลดีออกซีไรโบส หมู่ฟอสเฟต ประกอบทางเคมขี อง DNA และสรปุ การ และไนโตรจีนัสเบส คือ A T C และ G จำลองDNA - โมเลกุลของ DNA เป็นพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สาย เรียง 7. อธิบายและระบุขั้นตอนในกระบวน สลับทิศและบิดเป็นเกลียวเวียนขวา โดยการเข้าคู่กัน การสงเคราะห์โปรตีนและหน้าที่ของ ของสาย DNA เกิดจากการจับคู่ของเบสคู่สม คือ A คู่ DNA แล RNA แต่ละชนดิ ในกระบวนการ กบั T และ C คกู่ ับ G สงเคราะห์โปรตนี - ยีน คือสาย DNA บางช่วงที่ควบคุมลักษณะทาง 8. สรุปความสัมพันธ์ระหว่างสาร พันธุกรรมได้โดยยีนกำหนดลำดับกรดอะมิโนของ พันธุกรรมแอลลีล โปรตีน ลักษณะทาง โปรตีนซงึ่ ทำหนา้ ท่ีเป็นโครงสรา้ งเอนไซม์ และอน่ื ๆ พันธุกรรม และเชื่อมโยงกับความรู้เรื่อง มีผลทำใหเ้ ซลลแ์ ละสิ่งมีชวี ิตปรากฏลักษณะตา่ ง ๆ ได้ พันธุศาสตรเ์ มนเดล - DNA จำลองตวั เองได้โดยใชส้ ายหน่งึ เปน็ แม่แบบ และ สร้างอีกสายขึ้นมาใหม่ซึ่งจะมีโครงสร้าง และลำดับ นิวคลีโอไทด์เหมือนเดิม DNA ควบคุมลักษณะทาง พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตได้ โดยการสร้าง RNA 3 ประเภท คือ mRNA tRNA และ rRNA ซึ่งร่วมกันทำ หน้าท่ีในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน -RNA เป็นพอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว แต่ละ นิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วยน้ำตาลไรโบส หมู่ฟอสเฟต และไนโตรจนี ัสเบสคอื A U C และ G

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้เู พมิ่ เติม 9. สืบคน้ ข้อมูลและอธิบายการเกิด - มิวเทชันเป็นการเปลี่ยนแปลงของลำดับ หรือจำนวน มิวเทชันระดับยีนและระดับโครโมโซม นิวคลีโอไทด์ใน DNA ซึ่งอาจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง สาเหตุการเกิดมิว เทช ัน รว มทั้ง โครงสร้างและการทำงานของโปรตีน ซึ่งถ้าการเปลี่ยน ยกตัวอย่างโรคและกลุ่มอาการที่เป็นผล แปลงดังกล่าวเกิดในเซลล์สืบพันธุ์จะสามารถถ่ายทอด ของการเกิด ไปยังรุ่นต่อ ๆ ไปได้และทำให้เกิดความแปรผันทาง มวิ เทชนั พนั ธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การเกดิ มวิ เทชนั มสี าเหตุมาจาก ปจั จัยต่าง ๆ เชน่ รงั สแี ละสารเคมี - การขาดหายไปหรือเพ่มิ ขึ้นของนวิ คลโี อไทด์ และการ แทนท่ีคูเ่ บส เปน็ การเกิดมวิ เทชนั ระดบั ยีน เชน่ โรค โลหิตจาง ชนดิ ซกิ เคิลเซลล์ เป็นผลมาจากการแทนท่ี คเู่ บส - การเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งของโครโมโซม เช่น หายไป หรือเพิ่มขึ้นบางส่วน และการเปลี่ยนแปลงจำนวน โครโมโซม เชน่ การลดลงหรือเพิ่มขึน้ ของโครโมโซมบาง แท่งหรือทั้งชุด เป็นสาเหตุของการเกิดมิวเทชันระดับ โครโมโซม เช่น กลุ่ม อาการคริดูชาต์และกลุ่มอาการ ดาวนก์ ลมุ่ อาการ เทอรเ์ นอรแ์ ละกลุ่มอาการ ไคลนเ์ ฟลเตอร์ 10. อธิบายหลักการสร้างสิ่งมีชีวิตดัด - การใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ ในการสร้างดีเอ็นเอ แปรพันธุกรรมโดยใช้ดีเอ็นเอ รีคอมบิแนนท์ สามารถนำไปใชใ้ นการสร้างส่งิ มีชวี ิต รีคอมบแิ นนท์ ดัดแปรพนั ธุกรรม โดยนำยนี ท่ตี ้องการมาตัดต่อใส่ใน 11. สืบค้นข้อมูลยกตัวอย่าง และ สิ่งมชี วี ิต ทำให้สิง่ มีชวี ิตนน้ั มีสมบตั ิตามต้องการ อภิปรายการนำเทคโนโลยที างดเี อนเอไป - เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ประยุกต์ใช้ทั้งในด้านสงิ่ แวดลอ้ ม ด้านต่าง ๆ เชน่ ส่งิ แวดล้อม นติ ิวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ นิติวิทยาศาสตร์การแพทย์ การเกษตร การเกษตร และอุตสาหกรรม โดยการ ใชเ้ ทคโนโลยีทาง และอุตสาหกรรมและข้อควรคำนึงถึง ดเี อ็นเอตอ้ งคำนึงถงึ ความปลอดภยั ดา้ นชวี จรยิ ธรรม ทางชีวภาพ ชีวจริยธรรม และผลกระทบต่อสังคม 12. สืบค้นข้อมูล และอธิบายเกี่ยวกับ - หลักฐานทท่ี ำใหเ้ ชอ่ื วา่ สง่ิ มชี ีวติ มีวิวัฒนาการ เชน่ ซาก หลักฐาน ที่สนับสนุนและข้อมูลที่ใช้ ดึกดำบรรพ์กายวิภาคเปรียบเทยี บ วิทยาเอ็มบริโอ การ อธบิ ายการเกดิ วิวฒั นาการของสงิ่ มีชวี ิต แพร่กระจายของสิ่งมีชีวิตทาง ภูมิศาสตร์การศึกษาทาง ชวี ภมู ิศาสตร์ และดา้ นชวี วิทยาระดบั โมเลกุล - มนุษย์มกี ารสบื สายววิ ฒั นาการมาเป็นเวลานาน โดยมี หลักฐานทส่ี นับสนุนจากซากดกึ ดำบรรพ์ของบรรพบุรุษ มนุษย์ที่ค้นพบ และจากการเปรียบเทียบลำดับเบสบน DNA ระหว่างมนษุ ยก์ ับไพรเมตอนื่ ๆ

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เพิม่ เติม 13. อธิบายและเปรียบเทียบแนวคิด - ฌอง ลามาร์ก ได้เสนอแนวคิดเพื่ออธิบายเกี่ยวกับ เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตของ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตว่า สิ่งมีชีวิตมีการเปล่ียนแปลง ฌอง ลามาร์กและทฤษฎีเกี่ยวกับ โครงสร้างให้เข้ากับสภาพแวดล้อม โดยอาศัยกฎการใช้ ววิ ฒั นาการของสิง่ มีชีวติ ของ และไม่ใช้และกฎแห่งการ ถ่ายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นมา ชาลสด์ ารวิน ใหม่ - ชาลส์ ดาร์วิน เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต ว่าเกิดจากการคัดเลือกโดยธรรมชาติ โดย ส่งิ มีชีวิตมีแนวโน้มท่จี ะให้กำเนดิ ลูกท่ีมลี กั ษณะแตกต่าง กันจำนวนมาก แต่มีเพียงจำนวนหนึ่งที่เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อม สามารถมีชีวิตรอด และถ่ายทอด ลักษณะทเ่ี หมาะสมไปยงั รุ่นต่อไปได้ 14. ระบุสาระสำคัญและอธิบายเงื่อนไข - เมื่อประชากรอยู่ในภาวะสมดุลของฮาร์ดีไวน์เบิร์ก ของภาวะสมดุลของฮาร์ด ไวน์เบิร์ก โดยประชากรมีขนาดใหญ่ ไม่มีการถ่ายเทยีนระหว่าง ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ประชากร ไม่เกิดมิวเทชัน สมาชิกทุกตัวมีโอกาสผสม ความถี่ของแอลลีลในประชากรพร้อมทั้ง พนั ธุไ์ ด้เทา่ กนั และไม่เกิดการคัดเลือกโดยธรรมชาติ จะ คำนวณหาความถี่ของแอลลีลและจีโน ทำใหค้ วามถีข่ องแอลลลี ของลักษณะนั้นไม่เปล่ียนแปลง ไทป์ของประชากรโดยใช้หลักของฮาร์ด ไม่ว่าจะผ่านไปกี่รุ่นก็ตาม เป็นผลให้ลักษณะนั้นไม่เกิด ไวน์เบิรก์ ววิ ฒั นาการ - การเปลย่ี นแปลงความถี่ของยีนหรือแอลลีล ในประชากร เกิดจากปจั จัยหลายประการนำไปสู่ การเกดิ วิวัฒนาการ 15. สบื ค้นข้อมูล และอธบิ ายกระบวน - สปีชีส์ใหมจ่ ะเกิดขึ้นได้เม่ือไม่มีการถ่ายเท เคลื่อนย้าย การเกดิ สปชี ส์ใหม่ของสิ่งมีชีวติ ยีนระหว่างประชากรหนึ่งกับอีกประชากรหนึ่งในรุ่น บรรพบุรุษ ทำให้ประชากรทั้งสอง มีโครงสร้างทาง พันธุกรรมที่แตกต่างกัน และวิวัฒนาการเกิดเป็นสปีชีส์ ใหม่ - ปจั จัยท่ีทำใหเ้ กิดสปีชีสใ์ หม่อาจเกิดได้ 2 แนวทาง คือ การเกิดสปีชีส์ใหม่จากการแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และ การเกดิ สปชี ีส์ใหม่ในเขตภูมศิ าสตร์เดียวกัน

3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊ส และคายน้ำของพืช การลำเลียงของพืช การ สังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเตบิ โต และการตอบสนองของพืช รวมทั้งนำความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ชัน้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้เพ่มิ เติม ม.5 1. อธบิ ายเก่ียวกับชนิดและลักษณะของ - เนื้อเย่อื พชื แบ่งเป็น 2 กลุม่ ใหญ่ คือ เนือ้ เยอื่ เจริญและ เนอื้ เยือ่ พืชและเขยี นแผนผงั เพือ่ สรุป เนือ้ เย่อื ถาวร ชนดิ ของเน้ือเยื่อพืช - เนื้อเยือ่ เจรญิ แบง่ เป็นเน้ือเย่ือเจริญสว่ นปลาย เนือ้ เยื่อ เจรญิ เหนือข้อ และเนอ้ื เย่อื เจริญด้านขา้ ง - เนื้อเยื่อถาวรเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อถาวร อาจแบ่งได้เป็น 3 ระบบ คือ ระบบ เนื้อเยื่อผิว ระบบเนื้อเยื่อพื้น และระบบเนื้อเยื่อท่อ ลำเลียง ซึ่งทำหน้าท่ีต่างกนั 2. สังเกต อธบิ าย และเปรียบเทยี บ - ราก คือ ส่วนแกนของพืช ที่โดยทั่วไปเจริญอยู่ใต้ โครงสรา้ งภายในของรากพืชใบเล่ยี ง ระดับผิวดิน ทำหน้าที่ยึดหรือค้ำจุนให้พืชเจริญเติบโต เดี่ยวและรากพืชใบเล้ียงคจู่ ากการตดั อยู่กับท่ีได้ และยงั มีหน้าทสี่ ำคัญในการดูดน้ำและ ตามขวาง ธาตุอาหารในดนิ เพอื่ ส่งไปยังส่วนตา่ ง ๆ ของพชื - โครงสร้างภายในของปลายรากที่ตัดตามยาว ประกอบด้วย เนื้อเยื่อเจริญ แบ่งเป็นบริเวณต่าง ๆ คือ บริเวณหมวกราก บริเวณเซลล์กำลังแบ่งตัว บริเวณ เซลล์ขยายตัวตามยาว และบริเวณที่เซลล์มีการ เปลย่ี นแปลงไปทำหน้าที่เฉพาะและเจรญิ เตบิ โตเตม็ ท่ี - โครงสรา้ งภายในของรากระยะการเติบโตปฐมภมู ิ เมื่อตัดตามขวางจะเห็นโครงสร้างแบ่งเป็น 3 ชั้น เรียง จากด้านนอกเข้าไป คือ ชั้นเอพิเดอร์มิส ชั้นคอร์เทกซ์ และชั้นสตีล ในชั้นสตีลจะพบมัดท่อลำเลยี งที่มีลักษณะ แตกตา่ งกันในพืชใบเล้ียงเด่ยี วและพืชใบเลีย้ งคู่ - โครงสร้างภายในของรากระยะการเตบิ โตทุติยภูมิ ชั้นเอพเิ ดอร์มสิ จะถูกแทนทดี่ ้วยชัน้ เพรเิ ดริ ม์ ซึง่ มีคอร์ก เปน็ เนอ้ื เยอ่ื สำคัญ ช้นั คอร์เทกซ์ อาจมีการเปลี่ยนแปลง เกิดเซลล์ท่ีทำให้มคี วามแข็งแรงเพิม่ ขึ้น หรือเกิดเซลล์ที่ สะสมอาหารเพิ่มขึ้น ส่วนลักษณะมัด ท่อลำเลียงจะ เปลี่ยนไป เนอ่ื งจากมีการสร้างเนอ้ื เยอ่ื ลำเลยี งเพิม่ ขน้ึ 3. สังเกตอธิบายและเปรียบเทียบโครง - ลำต้น คือ ส่วนแกนของพืชที่โดยทั่วไปเจริญอยู่เหนือ สร้างภายในของลำตนพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ระดบั ผวิ ดนิ ถดั ข้นึ มาจากราก ทำหนา้ ท่สี รา้ งใบและชูใบ และลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่จากการตัดตาม ลำเลยี งน้ำ ธาตอุ าหาร และอาหารทีพ่ ชื สร้างขึ้นส่งไปยัง ขวาง ส่วนต่าง ๆ

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพิ่มเติม - โครงสร้างภายในของลำต้นระยะการเติบโตปฐมภูมิ เม่ือตดั ตามขวางจะเห็นโครงสรา้ งแบ่งเป็น 3 ช้นั เรียงจากด้านนอกเข้าไป คือ ชั้นเอพิเดอร์มิส ชั้นคอร์ เทกซ์ และชั้นสตีล ซึ่งชั้นสตีลจะพบมัดท่อลำเลียงที่มี ลกั ษณะแตกตา่ งกนั ในพืชใบเลีย้ งเด่ียวและพชื ใบเลีย้ งคู่ - ลำต้นในระยะการเติบโตทุติยภูมิ จะมีเส้นรอบวง เพิ่มขึ้น และมีโครงสร้างแตกต่างจากเดิม เนื่องจากมี การสรา้ งเนอ้ื เยอื่ เพรเิ ดริ ม์ และเนอื้ เยือ่ ท่อลำเลียง ทตุ ิยภมู ิเพม่ิ ขน้ึ 4.สังเกตและอธิบายโครงสร้างภายใน - ใบมีหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสง แลกเปลี่ยนแก๊สและ ของใบพืชจากการตัดตามขวาง คายน้ำ ใบของพืชดอกประกอบด้วย ก้านใบ แผ่นใบ เส้นกลางใบ และเส้นใบ พืชบางชนิดอาจไม่มีก้านใบท่ี โคนก้านใบอาจพบหรอื ไม่พบหใู บ - โครงสร้างภายในของใบตัดตามขวาง ประกอบด้วย เนื้อเยื่อ 3 กลุ่ม ได้แก่ เอพิเดอร์มิส มีโซฟิลล์ และ เนอื้ เยอื่ ท่อลำเลยี ง 5. สืบค้นข้อมูล สังเกตและอธิบายการ - พืชมีการแลกเปล่ียนแก๊สและการคายนำ้ ผ่านทางปาก แลกเปลีย่ นแกส๊ และการคายน้ำของพืช ใบเป็นสว่ นใหญ่ ปากใบพบไดท้ ใ่ี บและลำตน้ ออ่ น เมื่อความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศภายนอกต่ำกว่าความช้ืน สัมพัทธ์ภายในใบพืช ทำให้น้ำภายในใบพืชระเหยเป็น ไอออกมาทางรูปากใบ เรียกว่า การคายน้ำ - ความชื้นในอากาศ ลม อุณหภมู ิ สภาพน้ำในดิน ความเข้มของแสง เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้ำของ พืช 6. สืบค้นข้อมูลและอธิบายกลไกการ - พืชดูดน้ำและธาตุอาหารต่าง ๆ จากดิน โดยเซลล์ขน ลำเลยี งนำและธาตุอาหารของพชื รากแล้วลำเลียงผา่ นช้ันคอร์เทกซ์ เข้าสู่เนื้อเยื่อลำเลียง 7. สืบค้นข้อมูล อธิบายความสำคัญของ น้ำในชั้นสตลี ซ่ึงเป็นการดูดนำ้ จากดนิ สูเ่ นื้อเย่อื ลำเลยี ง ธาตุอาหาร และยกตัวอย่าง ธาตุอาหาร น้ำในแนวระนาบ และลำเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช ทส่ี ำคัญท่ีมผี ลต่อการเจริญเติบโตของพืช ในแนวด่ิง - ในสภาวะปกติการลำเลียงน้ำจากรากสู่ยอดของพืช อาศยั แรงดึงจากการคายนำ้ ร่วมกบั แรงโคฮชี ัน แรงแอดฮชี นั - ในภาวะที่บรรยากาศมีความชื้นสัมพัทธ์สูงมากจนไม่ สามารถเกิดการคายน้ำได้ตามปกติ น้ำที่เข้าไปในเซลล์ รากจะทำให้เกิดแรงดันเรียกว่าแรงดันราก ทำให้เกิด ปรากฏการณก์ ัตเตชัน

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เติม - พชื แต่ละชนดิ ต้องการปริมาณและชนดิ ของธาตุอาหาร แตกต่างกัน สามารถนำความรู้เกี่ยวกับสมบัติของธาตุ อาหารชนิดต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชใน สารละลายธาตุอาหาร เพื่อให้พืชเจริญเติบโตได้ตามท่ี ตอ้ งการ 8. อธิบายกลไกการลำเลยี งอาหารในพชื - อาหารที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจาก แหล่งสร้าง จะถูกเปลี่ยนแปลงเป็นซูโครส และลำเลียง ผ่านทางท่อโฟลเอ็ม โดยอาศัยกลไกการลำเลียงอาหาร ในพืชซ่งึ เกย่ี วข้องกบั แรงดันน้ำ ไปยงั แหล่งรับ 9. สืบค้นข้อมูลและสรุปการศึกษาที่ได้ - การศกึ ษาคน้ คว้าของนักวิทยาศาสตรใ์ นอดีตทำให้ได้ จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ ใน ความรเู้ กีย่ วกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมาเปน็ อดีตเกี่ยวกับกระบวน การสังเคราะห์ ลำดบั ข้ันจนได้ข้อสรุปว่า คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ ดว้ ยแสง เป็นวตั ถดุ ิบท่พี ืชใชใ้ นกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง และผลผลติ ทไี่ ด้ คือ นำ้ ตาล ออกซเิ จน 10. อธบิ ายข้ันตอนที่เกิดขนึ้ ในกระบวน - กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมี 2 ขั้นตอน คือ การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช C3 ปฏกิ ริ ิยาแสง และการตรงึ คาร์บอนไดออกไซด์ - ปฏกิ ริ ยิ าแสงเปน็ ปฏกิ ิริยาที่เปล่ียนพลังงานแสงเปน็ พลังงานเคมี โดยแสงออกซิไดซ์โมเลกุลสารสี ทไ่ี ทลาคอยด์ของคลอโรพลาสต์ ทำให้เกิดการถา่ ยทอด อเิ ลก็ ตรอน ไดผ้ ลิตภณั ฑ์เปน็ ATP และ NADPH ใน สโตรมาของคลอโรพลาสต์ - การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดในสโตรมา โดยใช้ RuBP และเอนไซม์รูบิสโก ได้สารที่ประกอบด้วย คารบ์ อน 3 อะตอม คอื PGA โดยใช้ ATP และ NADPH ที่ได้จากปฏิกิริยาแสงไปรีดิวซ์สารประกอบคาร์บอน 3 อะตอม ได้เป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 3 อะตอม คือ PGAL ซึ่งส่วนหนึ่งจะถูกนำไปสร้าง RuBP กลับคืน เป็นวัฏจักร โดยพืชC3จะมีการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยวฏั จักรคลั วินเพยี งอย่างเดยี ว 11. เปรียบเทียบกลไกการตรึงคาร์บอน- - พชื C4 ตรึงคาร์บอนอนนิ ทรยี ์ 2 ครงั้ คร้งั แรกเกดิ ขึ้นที่ ไดออกไซด์ในพืช C3 พืช C4 และพืช เซลล์มโี ซฟิลล์ โดย PEP และเอนไซมเ์ พบคาร์บอกซิเลส CAM ได้สารประกอบที่มีคาร์บอน 4 อะตอม คือ OAA ซึ่งจะ มีการเปลย่ี นแปลงทางเคมไี ดส้ ารประกอบที่มคี ารบ์ อน

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรเู้ พมิ่ เติม 4 อะตอม คือ กรดมาลกิ ซ่ึงจะถูกลำเลียงไปจนถึงเซลล์ บันเดลิ ชที และปล่อยคาร์บอนไดออกไซดใ์ น คลอโรพลาสต์เพอ่ื ใชใ้ นวฏั จกั รคัลวินตอ่ ไป - พชื CAM มีกลไกในการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์คล้าย พืช C4 แต่มีการตรึงคาร์บอนอนินทรีย์ทั้ง 2 ครั้งใน เซลล์เดียวกัน โดยเซลล์มีการตรึงคาร์บอนอนินทรีย์ ครั้งแรกในเวลากลางคืนและปล่อยออกมาในเวลา กลางวัน เพอื่ ใชใ้ นวฏั จกั รคัลวนิ ต่อไป 12. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุป - ปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง เช่นความเข้ม ปัจจัยความเข้มของแสง ความเข้มข้น ของแสง ความเขม้ ข้นของคารบ์ อนไดออกไซด์ อุณหภูมิ ของคาร์บอนไดออกไซด์ และอณุ หภูมิ ที่ ปริมาณน้ำในดนิ ธาตอุ าหาร อายใุ บ มผี ลตอ่ การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช 13. อธิบายวฏั จักรชวี ติ แบบสลับของ - พืชดอกมีวัฏจักรชีวิตแบบสลับ ประกอบด้วย ระยะที่ พชื ดอก สร้างสปอร์ เรียก ระยะสปอโรไฟต์ (2n) และระยะที่ สรา้ งเซลล์สืบพนั ธุ์ เรียก ระยะแกมีโทไฟต์ (n) - ส่วนประกอบของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์โดย ตรงคือชนั้ เกสรเพศผ้แู ละช้ันเกสรเพศเมียซึ่งจำนวน รังไข่เกย่ี วขอ้ งกบั การเจริญเป็นผลชนดิ ต่าง ๆ 14. อธิบาย และเปรียบเทียบกระบวน - พืชดอกสร้างไมโครสปอร์ และเมกะสปอร์ ซึ่งอาจ การสร้างเซลล์สบื พันธุ์เพศผู้และเพศเมีย สร้างในดอกเดยี วกันหรือตา่ งดอกหรอื ต่างต้นกัน ของพืชดอก และอธิบายการปฏิสนธิของ - การสรา้ งไมโครสปอรข์ องพชื ดอกเกิดขึน้ โดย พืชดอก ไมโครสปอร์มาเทอร์เซลล์ แบ่งเซลลแ์ บบไมโอซิสได้ ไมโครสปอร์ โดยไมโครสปอร์นี้ แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ได้ 2 เซลล์ คือ ทิวบ์เซลล์และเจเนอเรทิฟเซลล์ เมื่อมี การถ่ายเรณูไปตกบนยอดเกสรเพศเมีย ทิวบ์เซลล์จะ งอกหลอดเรณู และเจเนอเรทิฟเซลล์แบ่งไมโทซิสได้ เซลลส์ ืบพนั ธุ์ เพศผู้ 2 เซลล์ - การสร้างเมกะสปอร์เกิดขึ้นภายในออวุลในรังไข่ โดย เซลล์ที่เรียกว่าเมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์ แบ่งไมโอซิสได้ เมกะสปอร์ ซึ่งในพืชส่วนใหญ่จะเจริญพัฒนาต่อไปได้ เพียง 1 เซลล์ ที่เหลืออีก 3 เซลล์จะฝ่อ เมกะสปอร์จะ แบ่งไมโทซิส 3 ครัง้ ได้ 8 นวิ เคลียส ท่ปี ระกอบด้วย 7 เซลลโ์ ดยมี 1 เซลล์ ที่ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ เซลล์สืบพันธุ์ เรยี กเซลล์ไข่ ส่วนอีก 1 เซลลม์ ี 2 นวิ เคลยี ส เรยี ก โพลาร์นวิ คลไี อ - การปฏิสนธิของพืชดอกเป็นการปฏิสนธิคู่ โดยคู่หนึ่ง เป็นการรวมกันของสเปิร์มเซลล์หนึ่งกับเซลล์ไข่ได้เป็น

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม ไซโกต ซง่ึ จะเจรญิ และพัฒนาไปเปน็ เอ็มบริโอ และอีกคู่ หนึ่งเป็นการรวมกันของสเปิร์มอีกเซลล์หนึ่งกับ โพลาร์นิวคลีไอได้เป็นเอนโดสเปิร์มนิวเคลียส ซึ่งจะ เจรญิ และพฒั นาตอ่ ไปเปน็ เอนโดสเปิร์ม 15. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผล - ภายหลังการปฏิสนธิ ออวุลจะมีการเจริญและพัฒนา ของพืชดอก โครงสร้างของเมล็ดและผล ไปเป็นเมล็ด และรังไข่จะมีการเจริญและพัฒนาไปเป็น และยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์จาก ผล โครงสรา้ งต่าง ๆ ของเมลด็ และผล - โครงสร้างของเมล็ดประกอบด้วย เปลือกเมล็ด เอ็มบริโอ และเอนโดสเปิร์ม โครงสร้างของผลประกอบ ด้วย ผนังผล และเมล็ด ซึ่งแต่ละส่วนองโครงสร้างจะมี ประโยชน์ตอ่ พืชเองและต่อส่งิ มชี วี ิตอนื่ 16. ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับปัจจัย - เมล็ดที่เจริญเต็มที่จะมีการงอกโดยมีปัจจัยต่าง ๆ ที่มี ต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด ผลต่อการงอกของเมล็ด เช่น น้ำ หรือความช้ืน สภาพพักตัวของเมล็ด และบอกแนวทาง ออกซิเจน อุณหภูมิ และแสง เมล็ดบางชนิดสามารถ ในการแกส้ ภาพพักตวั ของเมลด็ งอกได้ทันที แต่เมล็ดบางชนิดไม่สามารถงอกได้ทันที เพราะอยู่ในสภาพพักตัว - เมล็ดบางชนิดมีสภาพพักตัวเนื่องจากมีปัจจัย บาง ประการที่มีผลยับยั้งการงอกของเมล็ดซึ่งสภาพพักตัว ของเมลด็ สามารถแกไ้ ขไดห้ ลายวธิ ตี ามปัจจยั ท่ียบั ยัง้ 17. สบื ค้นข้อมูล อธิบายบทบาท และ - พืชสร้างสารควบคุมการเจริญเติบโตหลายชนิดที่ส่วน หนา้ ท่ขี องออกซิน ไซโทไคนนิ ต่าง ๆ ซึ่งสารนี้เป็นสิ่งเร้าภายในที่มีผลต่อการเจริญ จิบเบอเรลลิน เอทลีน และ เติบโตของพืช เช่น ออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน กรดแอบไซซกิ และอภปิ รายเกยี่ วกบั การ เอทลิ นี และกรดแอบไซซิก นำไปใชป้ ระโยชน์ทางการเกษตร - แสงสว่าง แรงโน้มถ่วงของโลก สารเคมี และน้ำ 18. สืบค้นข้อมูล ทดลองและอภิปราย เป็นสิ่งเร้าภายนอกทม่ี ีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื เกี่ยวกับสิ่งเร้าภายนอกที่มีผลต่อการ - ความรู้เกี่ยวกับการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายในและสิ่ง เจริญเติบโตของพชื เร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช สามารถ นำมาประยกุ ตใ์ ชค้ วบคุมการเจริญเติบโตของพืช เพิ่มผลผลติ และยดื อายุผลผลติ ได้

4. เข้าใจการยอ่ ยอาหารของสัตว์และมนุษย์ การหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊ส การลำเลียงสารและ การหมุนเวยี นเลือด ภูมคมุ้ กนั ของร่างกาย การขับถา่ ย การรับรู้ และการตอบสนอง การเคลื่อนท่ี การสืบพันธ์ุ และการเจริญเตบิ โต ฮอร์โมนกบั การรกั ษาดลุ ยภาพ และพฤติกรรมของสัตว์ รวมทงั้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ชัน้ ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรเู้ พมิ่ เตมิ ม.5 1. สืบค้นข้อมูล อธิบายและเปรียบเทียบ - รา มกี ารปล่อยเอนไซม์ออกมายอ่ ยอาหาร นอกเซลล์ โครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหาร ส่วนอะมีบาและพารามีเซียมมีการย่อย อาหารภายใน ของสัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหารสัตว์ที่มี ฟดู แวควิ โอลโดยเอนไซม์ในไลโซโซม ทางเดนิ อาหารแบบไม่สมบูรณแ์ ละสัตว์ที่มี - ฟองน้ำไม่มีทางเดินอาหารแต่จะมีเซลล์พิเศษ ทำหน้า ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ ที่ จับอาหารเข้าสู่เซลล์ด้วยอยู่ภายในเซลล์โดยเอนไซม์ 2. สงั เกต อธบิ ายการกนิ อาหารของไฮดรา ในไลโซโซม และพลานาเรีย - ไฮดราและพลานาเรียมีทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ จะกินอาหารและขับกากอาหารออกทางเดียวกนั - ไส้เดือนดิน แมลง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังส่วนใหญ่ และสัตว์มีกระดูกสันหลังจะมีทางเดินอาหารแบบ สมบรู ณ์ 3. อธิบายเกย่ี วกับโครงสรา้ งหนา้ ท่ีและ - การยอ่ ยอาหารของมนุษย์ประกอบดว้ ยการย่อยเชงิ กระบวนการย่อยอาหารและการดูดซมึ กล โดยการบดอาหารให้มีขนาดเล็กลงและการยอ่ ยทาง สารอาหารภายในระบบย่อยอาหารของ เคมีโดยอาศยั เอนไซม์ในทางเดินอาหาร ทำใหโ้ มเลกุล มนษุ ย์ ของอาหารมีขนาดเลก็ จนเซลลส์ ามารถดดู ซมึ และ นำไปใช้ได้ - การยอ่ ยอาหารของมนุษย์เกิดข้นึ ท่ชี ่องปาก กระเพาะ อาหารและลำไส้เล็ก - สารอาหารที่ย่อยแล้ววิตามินบางชนิด และธาตุอาหาร จะถูกดูดซึมที่วิลลัส เข้าสู่หลอดเลือดฝอย แล้วผ่านตับ ก่อนเข้าสู่หัวใจ ส่วนสารอาหารประเภทลิพิด และ วิตามินที่ละลายในไขมัน จะถูกดูดซึมเข้าสู่หลอด น้ำเหลืองฝอย อาหารที่ไม่ถูกย่อยหรือย่อยไม่ได้จะ เคลื่อนต่อไป ยังลำไส้ใหญ่ น้ำ ธาตุอาหาร และวิตามิน บางส่วน ดูดซึมเข้าสผู่ นังลำไสใ้ หญท่ ่ีเหลอื เป็น กากอาหาร จะถูกกำจดั ออกทางทวารหนกั 4. สืบค้นขอ้ มูล อธิบายและเปรียบเทยี บ - ไส้เดือนดินมีการแลกเปลี่ยนแก๊สผ่านเซลล์บริเวณ โครงสรา้ งท่ที ำหนา้ ที่แลกเปลี่ยนแกส๊ ของ ผิวหนงั ท่เี ปยี กชืน้ ฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไสเ้ ดือนดนิ - แมลงมกี ารแลกเปลี่ยนแก๊สโดยผ่านทางท่อลมซ่ึงแตก แมลง ปลา กบและนก แขนงเป็นท่อลมฝอย 5. สังเกตและอธิบายโครงสร้างของปอดใน - ปลาเปน็ สัตวน์ ้ำมกี ารแลกเปล่ียนแกส๊ ที่ละลายอยู่ในน้ำ สัตวเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยน้ำนม ผา่ นเหงอื ก

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เติม - สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกใช้ปอดและผิวหนังในการ แลกเปลีย่ นแก๊ส - สัตวเ์ ล้อื ยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อาศยั ปอดในการแลกเปลย่ี นแก๊ส 6. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างที่ใช้ใน - ทางเดนิ หายใจของมนุษย์ประกอบด้วย ชอ่ งจมูก การแลกเปลี่ยนแก๊ส และกระบวนการ โพรงจมูก คอหอย กล่องเสียง ท่อลม หลอดลมและถุง แลกเปลยี่ นแกส๊ ของมนษุ ย์ ลมในปอด 7. อธิบายการทำงานของปอด และ - ปอดเป็นบริเวณที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างถุงลม ทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการ กับหลอดเลือดฝอยและบริเวณเซลล์ของเนื้อเยื่อต่าง ๆ หายใจออกของมนษุ ย์ มีการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยการแพร่ผ่านหลอดเลือดฝอย เช่นกนั - การหายใจเข้าและการหายใจออกเกิดจากการเปลี่ยน แปลงความดันของอากาศภายในปอดโดยการทำงาน ร่วมกันของกล้ามเนื้อกะบังลมและกล้ามเนื้อระหว่าง กระดูกซโ่ี ครงและควบคมุ โดยสมองสว่ นพอนส์ และ เมดัลลาออบลองกาตา 8. สืบค้นข้อมูล อธิบายและเปรียบเทียบ - สง่ิ มชี ีวติ เซลล์เดียวและสัตวท์ ่ีมีโครงสร้างรา่ งกาย ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบ ไม่ซับซ้อนมีการลำเลียงสารต่าง ๆ โดยการแพร่ระหว่าง หมุนเวียนเลือดแบบปดิ เซลล์กับสงิ่ แวดล้อม 9. สังเกต และอธิบายทิศทางการไหลของ - สัตว์ที่มีโครงสร้างร่างกายซับซ้อนจะมีการลำเลียงสาร เลือดและการเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือด โดยระบบหมนุ เวียนเลือด ซึ่งประกอบดว้ ยหวั ใจ ในหางปลาและสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง หลอดเลือด และเลอื ด ขนาดของหลอดเลือดกบความเร็วในการ - ระบบหมุนเวียนเลือดมี 2 แบบ คือ ระบบหมุนเวียน ไหลของเลือด เลอื ดแบบเปดิ และระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปิด - ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดพบในสัตว์จำพวก หอย แมลง กุ้งส่วนระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด พบใน ไส้เดอื นดนิ และสตั ว์มีกระดกู สันหลงั 10. อธิบายโครงสร้างและการทำงานของ - ระบบหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ประกอบด้วย หัวใจ หัวใจและหลอดเลอื ดในมนุษย์ หลอดเลือดและเลือดซึ่งเลือดไหลเวียนอยู่เฉพาะใน 11. สังเกตและอธิบายโครงสร้างหัวใจของ หลอดเลอื ด สัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยน้ำนมทิศทางการไหลของ - หัวใจมีเอเตรียมทำหน้าที่รับเลือดเข้าสู่หัวใจและ เลือดผ่านหัวใจของมนุษย์และเขียนแผน เวนตรเิ คลิ ทำหนา้ ท่ีสูบฉดี เลอื ดออกจากหัวใจ โดยมี ผงสรุปการหมุนเวยี นเลือดของมนษุ ย์ ลิ้นกั้นระหว่างเอเตรียมกับเวนตริเคิลและระหว่าง 12. สืบค้นข้อมูล ระบุความแตกต่างของ เวนตรเิ คลิ กบั หลอดเลอื ดทน่ี ำเลือดออกจากหวั ใจ เซลล์เม็ดเลือดแดงเซลล์เม็ดเลือดขาว เพล็ตเลตและพลาสมา

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เติม -เลือดออกจากหัวใจทางหลอดเลือดเอออตาร์ อาร์เตอรี อาร์เตอร์โอล หลอดเลือดฝอย เวนูล เวนและเวนาคาวา แล้วเขา้ สูห่ ัวใจ 13. อธิบายหมู่เลือดและหลักการให้และ - ขณะที่หัวใจบีบตัวสูบฉีดเลือดทำให้เกิดความดันเลือด รบั เลือดในระบบ ABO และระบบ Rh และชีพจรสภาพการทำงานของรา่ งกาย อายุ และเพศ ของมนษุ ย์เป็นปจั จัยทม่ี ผี ลต่อความดนั เลอื ดและชพี จร - เลือดมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ เพลตเลตและพลาสมาซ่งึ ทำหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั - หมู่เลือดของมนุษย์จำแนกตามระบบ ABO ได้เป็น เลือดหมู่ A B AB และ O ซึ่งเรียกชื่อตามชนิด ของ แอนติเจนที่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงและจำแนกตาม ระบบ Rh ได้เป็น เลือดหมู่ Rh+ และ Rh• การให้และรับ เ ล ื อ ด ม ี ห ล ั ก ว ่ า แ อ น ต ิ เ จ น ข อ ง ผ ู ้ ใ ห ้ ต ้ อ ง ไ ม ่ ต ร ง กั บ แอนติบอดีของผู้รับและการให้และรับเลือดที่เหมาะสม ทส่ี ุดคือ ผูใ้ หแ้ ละผู้รับควรมีเลอื ดหมู่ตรงกัน 14. อธิบายและสรุปเกี่ยวกับส่วน - ของเหลวที่ซึมผ่านผนังหลอดเลือดฝอยออกมาอยู่ ประกอบและหน้าที่ของน้ำเหลืองรวมท้ัง ระหว่างเซลลเ์ รียกวา่ น้ำเหลือง ทำหน้าที่หล่อเลี้ยงเซลล์ โครงสร้างและหน้าที่ของหลอดน้ำเหลือง และสามารถแพร่เข้าสู่หลอดน้ำเหลืองฝอย ซึ่งต่อมา และต่อมนำ้ เหลอื ง หลอดน้ำเหลืองฝอย จะรวมกันมีขนาดใหญ่ขึ้นและเปิด เขา้ ส่รู ะบบ หมนุ เวียนเลอื ดที่หลอดเลือดเวนใกลห้ ัวใจ - ระบบน้ำเหลืองประกอบด้วย น้ำเหลือง หลอดน้ำ เหลือง และต่อมน้ำเหลือง โดยทำหน้าที่นำน้ำเหลือง กลับเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือดต่อมน้ำเหลืองเป็นที่อยู่ ของเซลล์เม็ดเลือดขาวทำหน้าท่ีทำลายสง่ิ แปลกปลอมท่ี ลำเลียงมากับนำ้ เหลือง

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เพมิ่ เตมิ 15.สืบค้นข้อมูล อธิบายและเปรียบเทียบ - กลไกทีร่ ่างกายต่อตา้ นหรือทำลายส่ิงแปลกปลอม มีอยู่ กลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลก 2 แบบ คือ แบบจำเพาะ และแบบไม่จำเพาะ ปลอมแบบไม่จำเพาะและแบบจำเพาะ - ต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อที่ผิวหนังช่วยป้องกันและยับย้ัง 16. สบื ค้นข้อมลู อธิบายและเปรียบ การเจริญของจุลินทรีย์บางชนิดและเมื่อเชื้อโรคหรือส่ิง เทยี บการสร้างภูมิคมุ้ กนั ก่อเองและ แปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดนิวโทร ภมู ิคุม้ กนั รบั มา ฟิลและโมโนไซต์จะมีการต่อต้านและทำลายสิ่งแปลก 17. สบื คน้ ขอ้ มลู และอธบิ ายเกี่ยวกบั ปลอมโดยกระบวนการฟาโกไซโทซิส ส่วนอีโอซิโนฟิล ความผิดปกติของระบบภมู ิคุ้มกนั ท่ีทำให้ เกีย่ วข้องกบั การทำลายปรสติ เบโซฟลิ เกีย่ วขอ้ งกับ เกดิ เอดสภ์ ูมิแพ้การสรา้ งภูมิต้านทานตอ่ ปฏกิ ิริยาการแพ้ซ่งึ เป็นการตอ่ ตา้ น หรอื ทำลายสิ่ง เนอื้ เยื่อตนเอง แปลกปลอมแบบไม่จำเพาะ - การต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบจำเพาะ จะเกี่ยวข้องกับการทำงานของลิมโฟไซต์ ชนิดเซลล์บี และเซลลท์ ี - อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและตอบสนองของลิม โฟไซต์ประกอบด้วยต่อมน้ำเหลือง ทอนซิล ม้าม ไทมัส และเนื้อเยอื่ น้ำเหลืองทผี่ นงั ลำไส้เลก็ - การสร้างภมู ิคมุ้ กนั แบบจำเพาะของร่างกาย มี 2 แบบ คือ ภูมคิ มุ้ กันกอ่ เองและภมู ิคมุ้ กนั รับมา - การได้รับวัคซีนหรือทอกซอยด์เป็นตัวอย่างของ ภูมิคุ้มกันก่อเองโดยการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิ คุ้มกันขึ้นด้วยวิธีกาให้สารท่ีเป็นแอนติเจนเข้าสู่ร่างกาย ส่วนภูมิคุ้มกันรับมาเป็นการรับแอนติบอดีโดยตรง เช่น การได้รบั ซรี มั การได้รับน้ำนมแม่ - เอดส์ ภูมิแพ้และการสร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อ ตนเองเป็นตัวอย่างของอาการที่เกิดจากระบบภูมิคุ้ม กันของรา่ งกายที่ทำงานผิดปกติ 18. สบื คน้ ข้อมูล อ ธ ิ บ า ย แ ล ะ เ ป ร ี ย บ - อะมีบาและพารามีเซียมเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มี เทียบโครงสร้างและหน้าที่ในการกำจัด คอนแทรกไทล์แวคิวโอลทำหน้าที่ในการกำจัด และ ของเสียออกจากร่างกายของฟองน้ำไฮดรา รกั ษาดุลยภาพของนำ้ และแร่ธาตุในเซลล์ พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลงและสัตว์มี - ฟองน้ำและไฮดรามีเซลล์ส่วนใหญ่สัมผัสกับน้ำโดย กระดกู สันหลงั ตรงของเสียจึงถูกกำจัดออกโดยการแพร่สู่ สภาพ แวดลอ้ ม - พลานาเรียใช้เฟลมเซลล์ซึ่งกระจายอยู่ 2 ข้างตลอด ความยาวของลำตวั ทำหนา้ ท่ขี ับถา่ ยของเสีย - ไส้เดอื นดนิ ใชเ้ นฟริเดียม แมลงใช้มัลพิเกียนทิวบูลและ สตั ว์มีกระดูกสันหลงั ใชไ้ ตในการขับถ่ายของเสีย

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เติม 19. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของไต - ไตเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการขับถ่าย และ และโครงสร้างที่ใช้ลำเลียงปัสสาวะออก รกั ษาดุลยภาพของน้ำและแรธ่ าตใุ นรา่ งกาย จากรางกาย - ไตประกอบด้วยบริเวณส่วนนอกที่เรียกว่า คอร์เท็กซ์ และบริเวณส่วนในทเ่ี รยี กวา่ เมดลั ลา และบริเวณส่วน 20. อธิบายกลไกการทำงานของหน่วยไต ปลายของเมดัลลาจะยื่นเข้าไปจรดกับส่วนที่เป็นโพรง ในการกำจัดของเสียออกจากร่างกายและ เรียกว่า กรวยไต โดยกรวยไตจะต่อกับท่อไตซึ่งทำหน้า เขียนแผนผังสรุปขั้นตอนการกำจัดของ ที่ลำเลียงปัสสาวะไปเก็บไว้ที่กระเพาะปัสสาวะ เพื่อ เสียออกจากรา่ งกายโดยหนว่ ยไต ขบั ถ่ายออกนอกรา่ งกาย 21. สบื ค้นข้อมลู อธิบายและยกตัวอย่าง - ไตแตล่ ะข้างของมนษุ ยป์ ระกอบดว้ ยหน่วยไต ลกั ษณะ เกี่ยวกับความผิดปกติของไตอันเนื่อง เป็นท่อปลายข้างหนึ่งเป็นรูปถ้วย เรียกว่า โบว์แมนส์ มาจากโรคต่าง ๆ แคปซลู ล้อมรอบกลมุ่ หลอดเลอื ดฝอยท่ีเรยี กวา่ โกลเมอรลู ัส - กลไกในการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย ประกอบ ดว้ ย การกรอง การดูดกลบั และการหล่ังสารทเ่ี กินความ ต้องการออกจากรา่ งกาย - โรคนิ่วและโรคไตวายเป็นตัวอย่างของโรคที่เกิดจาก ความผิดปกติของไต ซึ่งส่งผลกระทบต่อการรักษา ดุลยภาพของสารในรา่ งกาย - นอกจากไตที่ทำหน้าที่รักษาดุลยภาพของน้ำแร่ธาตุ และกรด-เบส ผิวหนงั และระบบหายใจ ยงั มีสว่ นช่วยใน การรกั ษาดุลยภาพเหลา่ นดี้ ้วย

ชั้น ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนร้เู พิ่มเตมิ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 ม.6 1. สืบค้นข้อมูล อธิบายและเปรียบเทียบ - สัตวส์ ว่ นใหญ่มรี ะบบประสาททำให้สามารถรบั รู้ และ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาท ตอบสนองตอ่ ส่งิ เร้าได้ เชน่ ไฮดรา มรี า่ งแหประสาท ของไฮดรา พลานาเรีย ไสเ้ ดอื นดนิ กงุ้ หอย พลานาเรีย ไสเ้ ดือนดนิ กุ้ง หอย และแมลง แมลง และสัตว์มีกระดูกสนั หลัง มีปมประสาทและเส้นประสาท สว่ นสตั วม์ ีกระดูก 2. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง และหน้าที่ สันหลัง มสี มอง ไขสนั หลงั ปมประสาท ของเซลล์ประสาท และเส้นประสาท 3. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของ - หนว่ ยทำงานของระบบประสาท คือ เซลล์ประสาท ซ่ึง ศักยไ์ ฟฟ้าทเี่ ย่ือหมุ้ เซลล์ของเซลลป์ ระสาท ประกอบด้วยตัวเซลล์ และเส้นใยประสาทที่ทำหน้าทีร่ บั และกลไกการถ่ายทอดกระแสประสาท และส่งกระแสประสาท เรียกว่า เดนไดรต์และแอกซอน ตามลำดบั - หน่วยทำงานของระบบประสาท คอื เซลล์ประสาท ซึ่งประกอบด้วยตัวเซลล์ และเส้นใยประสาทที่ทำ หน้าที่รับและส่งกระแสประสาท เรียกว่า เดนไดรต์และ แอกซอน ตามลำดับ - เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่ได้เป็นเซลล์ ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทสั่งการ และเซลล์ ประสาทประสานงาน - เซลล์ประสาทจำแนกตามรูปร่างได้เป็นเซลล์ประสาท ขั้วเดียว เซลล์ประสาทขั้วเดียวเทียม เซลล์ประสาทสอง ขัว้ และเซลล์ประสาทหลายข้ัว - กระแสประสาทเกิดจากการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้าที่ เยื่อหุ้มเซลล์ของเดนไดรต์และแอกซอน ทำให้มีการ ถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์ประสาทไปยังเซลล์ ประสาท หรอื เซลลอ์ น่ื ๆ ผา่ นทางไซแนปส์ - ระบบประสาทของมนุษย์แบ่งได้เป็น 2 ระบบตาม ตำแหน่งและโครงสร้าง คือ ระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ สมองและไขสันหลัง และระบบประสาทรอบนอก ได้แก่ เสน้ ประสาทสมองและเสน้ ประสาทไขสันหลงั

ช้นั ผลการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้เพ่มิ เตมิ 4. อธิบายและสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างของ - สมองแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ สมองส่วนหน้า สมอง ระบบประสาทส่วนกลางและระบบ ส่วนกลาง และสมองส่วนหลัง สมองแต่ละส่วนจะ ประสาทรอบนอก ควบคุมการทำงานของร่างกายแตกต่างกัน โดยมี 5. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและ เส้นประสาทที่แยกออกจากสมอง 12 คู่ไปยังอวัยวะต่าง หน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ในสมองส่วนหน้า ๆ ซ่งึ บางคู่ทำหน้าท่รี บั ความร้สู ึกเข้าสู่สมอง หรอื สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง และไขสัน นำคำสั่งจากสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน หรือทำหน้าที่ หลงั ทง้ั สองอย่าง 6. สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ าย เปรยี บเทยี บ และ - ไขสันหลังเป็นส่วนที่ต่อจากสมองอยู่ภายในกระดูกสัน ยก ตัวอยา่ ง การทำงานของระบบประสาท หลงั และมีเสน้ ประสาทแยกออกจากไขสันหลงั เปน็ คู่ โซมาติกและระบบประสาทอัตโนวตั ิ ซึ่งทำหน้าที่ประมวลผลการตอบสนองโดยไขสันหลัง เช่น การเกิดรีเฟล็กซ์ชนิดต่าง ๆ และการถ่ายทอด กระแสประสาทระหวา่ งไขสนั หลงั กบั สมอง - เส้นประสาทไขสันหลังทุกคู่จะทำหน้าที่รับความรู้สึก เข้าสูไ่ ขสันหลังและนำคำส่งั ออกจาก ไขสันหลงั - ระบบประสาทรอบนอกส่วนที่สั่งการแบ่งเป็น ระบบ ประสาทโซมาติกซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ โครงรา่ ง และระบบประสาทอัตโนวตั ซิ ง่ึ ควบคุมการ ทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจกล้ามเนื้อเรียบ และต่อม ต่าง ๆ - ระบบประสาทอัตโนวัติแบ่งการทำงานเป็น 2 ระบบ คือ ระบบประสาทซิมพาเทติก และระบบประสาทพารา ซิมพาเทติก ซึ่งส่วนใหญ่ทำงานตรงกันข้ามเพื่อรักษา ดุลยภาพของกระบวนการตา่ ง ๆ ในร่างกาย 7. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและ - ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง เป็นอวัยวะรับความรู้สึกท่ี หนา้ ท่ขี อง ตา หู จมกู ลน้ิ และผิวหนังของ รับสิ่งเร้าที่แตกต่างกัน จึงมีความสำคัญที่ควรดูแล มนุษย์ ยกตัวอย่างโรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ปอ้ งกนั และรักษาให้สามารถทำงานไดเ้ ปน็ ปกติ และบอกแนวทางในการดูแลป้องกัน และ - ตาประกอบด้วย ชั้นสเคลอราโครอยด์ และเรตินา รกั ษา เลนส์ตาเป็นเลนส์นูนอยู่ถัดจากกระจกตาทำหน้าที่รวม 8. สังเกต และอธิบายตำแหนง่ ของจุดบอด แสงจากวัตถุไปที่เรตินา ซึ่งประกอบด้วย เซลล์รับแสง โฟเวีย และความไวในการรับสัมผัสของ และเซลลป์ ระสาทท่ีนำกระแสประสาทสู่สมอง ผิวหนงั - หูประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หูส่วนนอก หูส่วนกลาง และหูส่วนใน ภายในหูส่วนในมีคอเคลีย ซึ่งทำหน้าที่รับ และเปลี่ยนคลื่นเสียงเป็นกระแสประสาท นอกจากนี้ยัง มเี ซมเิ ซอรค์ วิ ลาร์แคเเนลทำหน้าทรี่ ับรเู้ ก่ียวกับการ

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เตมิ ทรงตัวของร่างกาย - จมูกมเี ซลล์ประสาทรับกล่ินอยภู่ ายในเยื่อบจุ มูก ที่เป็น ตัวรับสารเคมีบางชนิดแล้วเกิดกระแสประสาทส่งไปยัง สมอง - ลิ้นทำหน้าที่รับรส โดยมีตุ่มรับรสกระจายอยู่ทั่วผิวล้นิ ด้านบน ตุ่มรับรสมีเซลล์รับรสอยูภ่ ายใน เมื่อเซลล์รบั รส ถูกกระตุ้นด้วยสารเคมี จะกระตุ้นเดนไดรต์ของเซลล์ ประสาทเกดิ กระแสประสาทส่งไปยงั สมอง - ผิวหนัง มีหน่วยรับสิ่งเร้าหลายชนิด เช่น หน่วยรับ สมั ผัสหน่วยรบั แรงกด หนว่ ยรบั ความเจบ็ ปวด หนว่ ยรับ อณุ หภมู ิ 9. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบ - สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิดเคลื่อนที่โดยการไหลของ โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะท่ี ไซโทพลาซึม บางชนิดใช้แฟลเจลลัม หรือซิเลีย ในการ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน เคลอื่ นที่ หมึก ดาวทะเล ไส้เดือนดิน แมลง ปลา - สตั วไ์ มม่ ีกระดูกสันหลงั เชน่ แมงกะพรุน เคล่ือนที่โดย และนก อาศัยการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณขอบกระดิ่งและ แรงดันน้ำ - หมึกเคลอ่ื นที่โดยอาศัยการหดตัวของกล้ามเน้ือบริเวณ ลำตัว ทำให้น้ำภายในลำตัวพ่นออกมาทางไซฟอน ส่วน ดาวทะเลใช้ระบบท่อน้ำในการเคลื่อนที่ - ไส้เดือนดินมีการเคลื่อนที่โดยอาศัยการหดตัวและ คลายตัวของกล้ามเนื้อวงและกล้ามเนื้อตามยาวซ่ึง ทำงานในสภาวะตรงกนั ข้าม - แมลงเคลื่อนที่โดยใช้ปีกหรือขา ซึ่งมีกล้ามเนื้อภายใน เปลอื กหุม้ ทำงานในสภาวะตรงกันข้าม - สัตว์มกี ระดกู สันหลัง เช่น ปลา เคลื่อนที่โดยอาศัยการ หดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อที่ยึดติดอยู่กับกระดูก สันหลังทั้ง 2 ข้าง ทำงานในสภาวะตรงกันข้าม และมี ครีบที่อยู่ในตำแหน่งต่าง ๆ ช่วยโบกพัดในการเคลื่อนท่ี ส่วนนกเคลื่อนที่ โดยอาศัยการหดตัวและคลายตัวของ กล้ามเนื้อกดปีกกับกล้ามเนื้อยกปีกซึ่งทำงานในสภาวะ ตรงกันข้าม 10. สืบค้นข้อมูล และอธิบายโครงสร้าง - มนุษย์เคลื่อนที่โดยอาศัยการทำงานของกระดูกและ และหน้าที่ของกระดูกและกล้ามเนื้อที่ กล้ามเนื้อซ่งึ ยดึ กันดว้ ยเอ็นยดึ กระดูก

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้เู พิ่มเตมิ เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและการ - บริเวณที่กระดูกตั้งแต่ 2 ชิ้นมาต่อกัน เรียกว่า ข้อต่อ เคลอ่ื นทีข่ องมนุษย์ และยึดกนั ดว้ ยเอน็ ยดึ ขอ้ 11. สงั เกต และอธบิ ายการทำงานของ - กระดูกเป็นเนื้อเยื่อที่ใช้ค้ำจุนและทำหน้าที่ในการ ข้อต่อชนิดต่าง ๆ และการทำงานของ เคลื่อนไหวของร่างกาย แบ่งตามตำแหน่งได้เป็นกระดูก กล้ามเนื้อ โครงร่างที่เกี่ยวข้องกับการ แกนและกระดกู รยางค์ เคล่อื นไหวและการเคล่อื นทขี่ องมนษุ ย์ - กล้ามเนื้อในร่างกายมนุษย์แบ่งออกเป็น กล้ามเน้ือ โครงร่าง กล้ามเนื้อหัวใจ และกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อ ทั้ง 3 ชนิด พบในตำแหน่งที่ต่างกันและมหี น้าที่แตกตา่ ง กนั - กล้ามเนื้อโครงร่างส่วนใหญ่ทำงานร่วมกันเป็นคู่ ๆ ใน สภาวะตรงกันขา้ ม 12. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่าง - การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของสัตว์เป็นการสืบพันธ์ุ การ สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการ ที่ไม่มีการรวมของเซลล์สืบพันธุ์ เช่น การแตกหน่อและ สบื พันธ์ุแบบอาศัยเพศในสตั ว์ การงอกใหม่ - การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของสัตว์เป็นการสืบพันธุ์ท่ี เกิดจากการรวมนิวเคลียสของเซลล์สืบพันธุ์ซึ่งมีทั้งการ ปฏิสนธิภายนอกและการปฏิสนธิภายใน สัตว์บางชนิดมี 2 เพศในตัวเดียวกัน แต่การผสมพันธุ์ส่วนใหญ่จะผสม ข้ามตวั

ช้นั ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรูเ้ พม่ิ เติม 13. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและ - การสืบพันธุ์ของมนุษย์มีกระบวนการสร้างสเปิร์มจาก หนา้ ที่ของอวยั วะในระบบสบื พนั ธุ์เพศชาย เซลล์สเปอร์มาโทโกเนียมภายในอัณฑะ และกระบวน และระบบสบื พันธุเ์ พศหญงิ การสรา้ งเซลลไ์ ขจ่ ากเซลลโ์ อโอโกเนียมภายในรังไข่ 14. อธิบายกระบวนการสร้างสเปิร์ม - อวัยวะสืบพันธุ์ของเพศชายประกอบด้วย อัณฑะ ทำ กระบวนการสร้างเซลล์ไข่ และการ หน้าทส่ี รา้ งสเปิรม์ และฮอร์โมนเพศชาย และมีโครงสร้าง ปฏิสนธใิ นมนษุ ย์ อื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ลำเลียงสเปิร์มสร้างน้ำเลี้ยงสเปิร์ม และสารหลอ่ ลนื่ ทอ่ ปัสสาวะ - อัณฑะประกอบด้วยหลอดสร้างสเปิร์ม ซึ่งภายในมี เซลล์สเปอร์มาโทโกเนียมที่เป็นเซลล์ตั้งต้นของ กระบวนการสรา้ งสเปิร์ม - อวัยวะสืบพนั ธุ์ของเพศหญงิ ประกอบดว้ ย รังไข่ ทอ่ นำไข่ มดลกู และชอ่ งคลอด รงั ไขท่ ำหนา้ ทส่ี รา้ งเซลล์ ไขแ่ ละฮอรโ์ มนเพศหญิง - กระบวนการสร้างสเปิร์ม เริ่มต้นจากสเปอร์มาโทโก- เนียมแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้ สเปอร์มาโทโกเนียม จำนวนมาก ซึ่งต่อมาบางเซลลพ์ ฒั นาเป็นสเปอร์มา- โทไซต์ระยะแรก โดยสเปอร์มาโทไซต์ระยะแรกจะแบ่ง เซลล์แบบไมโอซิส I ได้สเปอร์มาโทไซต์ ระยะที่สองซึ่ง จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส II ได้สเปอร์มาทิดตามลำดับ จากน้ันพฒั นาเป็นสเปริ ม์ - กระบวนการสร้างเซลล์ไข่เริ่มจากโอโอโกเนียมแบ่ง เซลล์แบบไมโทซิสไดโ้ อโอโกเนียม ซึ่งจะพัฒนาเปน็ โอโอ ไซต์ระยะแรก แล้วแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส I ได้โอโอไซต์ ระยะทีส่ องซึ่งจะเกดิ การตกไขต่ อ่ ไป เมอื่ ไดร้ ับการ กระตุ้นจากสเปริ ม์ โอโอไซตร์ ะยะทสี่ องจะแบง่ แบบ ไมโอซสิ II แลว้ พัฒนาเป็นเซลล์ไข่ - การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายในท่อนำไข่ได้ไซโกต ซึ่งจะ เจริญเป็นเอ็มบริโอและไปฝังตัวที่ผนังมดลูกจนกระท่ัง ครบกำหนดคลอด 15. อธบิ ายการเจรญิ เตบิ โตระยะเอ็มบริโอ - การเจริญเตบิ โตของสัตว์ เช่น กบ ไก่ และสัตว์เลี้ยงลูก และระยะหลังเอ็มบริโอของกบ ไก่ และ ด้วยน้ำนม จะเริ่มต้นด้วยการแบ่งเซลล์ของไซโกต มนษุ ย์ การเกดิ เน้ือเยือ่ เอม็ บรโิ อ 3 ชน้ั คอื เอกโทเดิร์ม เมโซเดิร์ม และเอนโดเดิร์ม การเกิดอวัยวะ โดยมีการ เพิ่มจำนวน ขยายขนาด และการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ของเซลล์เพื่อทำหน้าที่เฉพาะอย่าง ซึ่งพัฒนาการของ อวัยวะต่าง ๆจะทำให้มีการเกิดรูปร่างที่แน่นอนในสัตว์ แตล่ ะชนิด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook