Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3 มนุษย์กับความยั่งยืน

หน่วยที่ 3 มนุษย์กับความยั่งยืน

Published by Jiab Chanchira, 2019-03-21 09:01:46

Description: หน่วยที่ 3 มนุษย์กับความยั่งยืน

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ ช่ือหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 เร่ือง มนุษยก์ ับความยง่ั ยนื ของ สงิ่ แวดลอ้ ม รายวชิ าชวี ทิ ยา 6 รหัสวชิ า ว 33206 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31

แผนการจัดการเรยี นรู้ ชอ่ื หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 เร่อื ง มนุษยก์ ับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม แผนการสอนท่ี 12 เรื่อง การใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ ปญั หาและการจัดการ รายวชิ าชีววิทยา 6 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 รหัสวิชา ว 33206 ครูผสู้ อน นางสาวจันจริ า ธนนั ชัย ตาแหน่ง พนักงานราชการ เวลาทีใ่ ช้ 2 ชั่วโมง ตวั ชีว้ ดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ ช้ินงาน ประเมนิ ผล 4. สืบค้นข้อมลู 2.1 ทรพั ยากรน้า แหลง่ นา้ ที่มนษุ ย์ 1. แผนผงั สรปุ ผา่ นระดบั การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี น อภิปรายเรือ่ งระบบ น้ามาใช้ประโยชน์มาจากแหล่งใด การใชป้ ระโยชน์ คะแนนร้อย 1. ขนั สรา้ งความสนใจ ชีววทิ ยาเลม่ 6 ของ นเิ วศและ *** น้าในโลกมีประมาณ 3 ใน 4 จากทรัพยากรธ ละ 60 ขนึ ไป ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายเพ่ือน้าไปส่ขู ้อ สถาบันส่งเสริมการ ทรพั ยากรธรรมชาติ ส่วน ร้อยละ 97.41 เปน็ นา้ เค็มใน รรมชาติ สรปุ วา่ การเพ่มิ ของประชากรมนุษย์ ความ สอนวทิ ยาศาสตร์ มาประยุกตใ์ ชเ้ พื่อ มหาสมุทร ร้อยละ 2.59 เป็นนา้ จดื ปญั หาและการ เจรญิ ก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทา้ ให้มี และเทคโนโลยี แก้ปัญหา จดั การ แต่นา้ จืดท่นี า้ มาใช้ประโยชน์ได้มี จดั การ ความต้องการใชท้ รัพยากรธรรมชาตเิ พ่ิมมากขึนและ 2. อินเทอรเ์ น็ต และหาแนวทางใน เพียง ร้อยละ 0.014 เทา่ นัน รวดเรว็ ส่งผลกระทบให้สภาพแวดลอ้ มตามธรรมชาติมี การอนรุ ักษ์ฟ้ืนฟู เนอื่ งจากเปน็ นา้ แข็งรอ้ ยละ 1.984 การเปลีย่ นแปลงและปรมิ าณทรัพยากรธรรมชาติลดลง ส่งิ แวดลอ้ ม และอีกรอ้ ยละ 0.592 เปน็ น้าใต้ดิน เกิดมลพิษต่างๆ และขาดการจัดการที่ดี สถานการณ์ 5. จัดนิทรรศการ นา้ ทม่ี นุษยน์ า้ มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ มา ของทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอ้ มในบางแหง่ มี เสวนาวชิ าการ จากแหล่งใหญ่ๆ 3 แหลง่ ดว้ ยกนั คอื ปญั หาถงึ ขนั วกิ ฤตสง่ ผลกระทบมายงั มนุษย์ เช่น การ เกีย่ วกบั ปัญหา 1. หยาดน้าฟา้ เป็นนา้ ที่ไดจ้ าก ใช้ถา่ นหิน นา้ มนั แก๊สธรรมชาตอิ ยา่ งฟุ่มเฟือยท้าให้ ส่งิ แวดลอ้ มใน บรรยากาศ เชน่ ฝน นา้ คา้ ง หิมะ เกดิ ปัญหาการขาดแคลนพลังงาน ปา่ ไมท้ ีเ่ ป็นแหลง่ ตน้ ทอ้ งถิ่น แนวทางการ ลูกเห็บ เมฆ หมอก ไอน้า เป็นตน้ น้าลา้ ธารถูกท้าลายท้าใหข้ าดแคลนแหลง่ ต้นนา้ ล้าธาร แกไ้ ขปญั หา การใช้ 2. นา้ ผิวดนิ เปน็ นา้ ท่ไี ดม้ าจากแม่น้า เกดิ ความแห้งแลง้ หรือเกดิ น้าท่วมฉับพลันในฤดฝู น ทรัพยากรอย่างย่ังยืน ล้าคลอง ทะเลสาบ ทะเล และ ฯลฯ ร่วมกับชมุ ชน มหาสมทุ ร

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ช้นิ งาน ประเมนิ ผล 3. น้าใตด้ นิ เปน็ นา้ ท่ีอย่ใู ต้ระดับ 2. ขนั สา้ รวจและค้นหา ผิวดนิ ทมี่ นษุ ย์ขุด และสูบขึนมาใช้ 1. ครูยกตวั อย่างโครงการต่างๆ ของ เช่น น้าบอ่ และน้าบาดาล เป็นตน้ ***มนษุ ย์ใชป้ ระโยชนจ์ ากนา้ ใน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั รชั กาลปจั จบุ นั ซึง่ เป็น กิจกรรมต่างๆ นา้ ที่ใชแ้ ลว้ หากปล่อย โครงการพระราชดา้ ริเกีย่ วกับการจดั การทรัพยากรดนิ ลงสแู่ หล่งน้าจะท้าใหน้ ้าเน่าเสียได้ ใหน้ ักเรียนได้รับทราบดงั นี เช่น 2.1.2 มลพษิ ทางนา้ และการจัดการ หมายถึง ภาวะของน้าทีม่ ีมลสาร 1.1 ทฤษฎี “แกล้งดิน” อันเน่อื งมาจาก ปนเปือ้ น ในระดบั ที่ท้าคุณภาพนา้ พระราชดา้ ริ เปล่ยี นไปจนมนุษย์ และสิง่ มีชีวติ ไม่ โครงการ “แกล้งดิน” เกิดขนึ อนั เน่อื งมาจากการที่ สามารถใช้ประโยชนจ์ ากน้านันได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสดจ็ เยีย่ มราษฎรในเขต จังหวัดนราธิวาส ในปี พ.ศ. 2524 ทรงพบว่าราษฎร ประสบปัญหาเก่ียวกบั ดินในพืนที่พรทุ ่ีมสี ภาพเปน็ ดิน เปรียวจดั หลงั จากที่ราษฎรชกั น้าออกจากพนื ที่พรุเพอื่ ใช้ พนื ทที่ ้าการเกษตร พระองค์จึงทรงมีพระราชด้ารใิ ห้ ส่วนราชการต่างๆ พิจารณาหาแนวทางในการปรบั ปรงุ พนื ท่ีพรุที่มนี า้ แชข่ ังตลอดปีให้เกดิ ประโยชนใ์ นทาง การเกษตรมากทีส่ ุด และให้คา้ นงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ระบบ นเิ วศดว้ ย ศนู ย์ศกึ ษาพัฒนาพกิ ุลทองอันเนือ่ งมาจาก พระราชดา้ ริจงึ ได้ดา้ เนนิ การสนองพระราชดา้ ริโครงการ “แกล้งดิน” เพื่อศึกษาการเปลย่ี นแปลงความเปน็ กรด ของดนิ เริ่มจากวิธกี าร “แกล้งดินให้เปรยี ว” ด้วยการ ท้าใหด้ ินแหง้ และเปียกสลับกันไป เพื่อเร่งปฏกิ ริ ยิ าทาง เคมขี องดิน ซึง่ จะไปกระตุ้นใหส้ าร

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล ไพไรทท์ ้าปฏกิ ริ ิยากับออกซเิ จนในอากาศ ปลดปล่อย กา้ มะถันออกมา ท้าให้ดนิ เป็นกรดจัดจนถึงขนั “แกล้ง ดินใหเ้ ปรยี วสุดขีด” จนกระทั่งถงึ จดุ ท่ีพชื ไมส่ ามารถ เจริญงอกงามได้ จากนันจงึ หาวธิ ีการปรบั ปรุงดนิ ดังกล่าวให้สามารถปลูกพชื ได้ วิธกี ารแกไ้ ขปัญหาดิน เปรยี วจัดตามแนวพระราชดา้ ริมดี งั นี ควบคุมระดบั นา้ ใตด้ นิ เพื่อป้องกันการเกดิ กรดก้ามะถัน จงึ ต้องควบคุม นา้ ใต้ดินให้อยู่เหนอื ชันดนิ เลนทีม่ สี ารไพไรท์อยู่ เพ่ือมิ ใหส้ ารไพไรทท์ ้าปฏกิ ิริยากบั ออกวเิ จนหรอื ถกู ออกซิไดซ์ 1.2 ทฤษฎปี ้องกนั การเสื่อมโทรมและ พงั ทลายของดินโดยหญา้ แฝก ทฤษฎปี อ้ งกนั การเสื่อมโทรมและพงั ทลายของดนิ โดยหญ้าแฝก พืชจากพระราชดา้ ริ : ก้าแพงท่มี ีชวี ิตใน การอนรุ ักษค์ ืนธรรมชาตสิ ่แู ผ่นดนิ พระบาทสมเดจ็ พระ เจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงสภาพปัญหาการชะลา้ ง พังทลายของดินและการสูญเสยี หนา้ ดนิ ทอ่ี ุดมสมบูรณ์ จึงทรงศกึ ษาถึงศักยภาพของ “หญ้าแฝก” ซงึ่ เป็นพืช พนื บ้านของไทยท่ีมคี ณุ สมบัติพิเศษในการช่วยป้องกัน การชะล้างพังทลายของหน้าดินและอนรุ ักษค์ วามช่มุ ชืน ใต้ดนิ ซ่งึ มวี ิธกี ารปลูกแบบง่ายๆ เกษตรกรสามารถ ด้าเนินการได้เองโดยไมต่ ้องให้การดแู ลหลงั การปลูกมาก

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล นัก ทังประหยดั ค่าใช้จ่ายกว่าวธิ ีอืน่ ๆ อีกดว้ ย จึงได้ พระราชทานพระราชด้าริให้ด้าเนนิ การศึกษาทดลอง เกีย่ วกบั หญ้าแฝก ลักษณะของหญา้ แฝก หญา้ แฝกมีชื่อสามัญเปน็ ภาษาองั กฤษวา่ Vetiver Grass มีด้วยกนั 2 สาย พนั ธ์ุคอื หญา้ แฝกดอน (Vetiveria nemoralis A. Camus) และหญา้ แฝกหอม (Vetiveria zizanioides Nash) เปน็ พชื ทขี่ นึ เปน็ กอแน่น มใี บ ยาว 35-80 cm มีรากยาวหย่ังลกึ ลงในดนิ หญ้า แฝกมกี ารขยายพนั ธ์ทุ ไ่ี ด้ผลรวดเร็ว โดยการแตกหน่อ จากลา้ ตน้ ใต้ดิน ในบางโอกาสสามารถแตกแขนงและ รากออกในสว่ นของกา้ นชอ่ ดอกได้ เมอื่ หญ้าแฝกโนม้ ลง ดนิ ทา้ ให้มีการเจรญิ เตบิ โตเป็นกอหญา้ แฝกใหม่ได้ จากการดา้ เนินงานท่ีทุกหนว่ ยงานได้ รว่ มมอื กนั ใหเ้ ป็นไปตามพระราชดา้ รทิ ้าใหม้ ีผล การศึกษาและการปฏบิ ตั ิได้ผลอย่างชดั เจน จนเปน็ ท่ี ยอมรบั ของธนาคารโลกว่า “ประเทศไทยท้าไดผ้ ลและมี ประสทิ ธิภาพยอดเยย่ี ม” ดังนนั เมอ่ื วนั ที่ 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2536 International Erosion Control Association(IECA) ได้มีมตถิ วายรางวัล The International Erosion Control

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล Association’s International Merit Award แด่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวในฐานะท่ที รง เปน็ แบบอยา่ งในการนา้ หญา้ แฝกมาใช้ในการอนุรักษด์ นิ และน้า และเมื่อวนั ท่ี 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2536 ผเู้ ชยี่ วชาญเรือ่ งหญ้าแฝกเพ่อื การอนรุ ักษด์ ินและนา้ แห่ง ธนาคารโลก ไดน้ ้าคณะเข้าเฝา้ ทลู ละอองธุลีพระบาท ทลู เกล้าฯ ถวายแผน่ เกียรติบัตรเป็นภาพรากหญา้ แฝก ชบุ สา้ รดิ ซึ่งเปน็ รางวัลสดดุ ีพระเกียรติคุณ (Award of Recognition) ในฐานะทีท่ รงมงุ่ มัน่ ในการพัฒนาและ ส่งเสรมิ การใช้หญ้าแฝกในการอนุรกั ษด์ ินและนา้ และ ผลการดา้ เนินงานหญ้าแฝกในประเทศไทยไดร้ ับการ ตีพิมพ์เผยแพร่ไปท่วั โลก ความอดุ มสมบูรณ์ของผืน แผน่ ดินท่กี ลบั คนื มานี เปน็ เพราะพระวิริยะอุตสาหะ และพระปรีชาญาณอันยาวไกลแห่งองค์พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัวท่ที รงศกึ ษาวิเคราะหเ์ พ่ือหาหนทางในการ แกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติของ ประเทศไทยกา้ ลังถูกท้าลายไปอยา่ งรวดเร็ว ทังนเี พ่ือ ความมั่งคั่งอุดมสมบรู ณ์พนู สุขของประชาชนอยา่ ง แทจ้ ริง 1.3 ทฤษฎีใหม่ : การจดั การที่ดินเพ่ือการเกษตรตาม พระราชด้าริ

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล ในทุกครังท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั เสดจ็ พระ ราชด้าเนินเย่ียมราษฎรตามพืนท่ีตา่ งๆ ทัว่ ประเทศนัน ได้ทรงถามเกษตรกรและทอดพระเนตรพบสภาพปญั หา การขาดแคลน นา้ เพ่ือการปลกู ข้าวและเกดิ แรงดลพระ ราชหฤทยั อันเปน็ แนวคดิ ขนึ ว่า 1. ขา้ วเปน็ พชื ที่แขง็ แกรง่ มาก หากได้นา้ เพยี งพอจะ สามารถเพิ่มปรมิ าณเมล็ดข้าวได้มากยิง่ ขึน 2. หากเกบ็ น้าฝนทต่ี กลงมาไว้ไดแ้ ลว้ นา้ มาใช้ในการ เพาะปลูกกจ็ ะสามารถเกบ็ เกี่ยวได้มากขนึ เชน่ กัน 3. การสร้างอ่างเกบ็ น้าขนาดใหญน่ บั วนั แตจ่ ะยากที่จะ ด้าเนนิ การได้ เนอื่ งจากการขยายตัวของชุมชนและ ขอ้ จา้ กัดของปริมาณทด่ี นิ ทเ่ี ป็นอปุ สรรคส้าคัญ 4. หากแตล่ ะครัวเรือนมสี ระน้าประจา้ ไรน่ าทกุ ครัวเรอื นแลว้ เม่ือรวมปริมาณกันยอ่ มเทา่ กับปริมาณใน อ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ แต่สินค่าใช้จา่ ยน้อยและเกิด ประโยชนส์ ูงสดุ ในเวลาต่อมาได้พระราชทาน พระราชดา้ รใิ ห้ทา้ การทดลอง “ทฤษฎีใหม่” เกีย่ วกบั การจดั การท่ีดินและแหล่งน้าเพือ่ การเกษตรขึน ณ วัด มงคลชยั พฒั นา ตา้ บลหว้ ยบง อ้าเภอเมือง จังหวดั สระบรุ ี แนวทฤษฎใี หมก่ ้าหนดขนึ ดงั นี ให้แบง่ พืนที่ ถือครองทางการเกษตร ซง่ึ โดยเฉลีย่ แลว้ เกษตรกรไทย มีเนอื ทีด่ นิ ประมาณ 10 – 15 ไร่ตอ่ ครอบครวั แบ่ง

ตวั ชวี้ ดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล ออกเปน็ สดั ส่วน 30-30-30-10 คือ สว่ นแรก : รอ้ ยละ 30 เนือท่ีเฉลยี่ 3 ไร่ ให้ทา้ การขุดสระกักเกบ็ น้าไวใ้ ชใ้ น การเพาะปลกู โดยมคี วามลึกประมาณ 4 เมตร ซ่ึงจะ สามารถรบั น้าได้จถุ ึง 19,000 ลกู บาศก์เมตร โดยการ รองรับจากนา้ ฝนราษฎรจะสามารถน้านา้ นีไปใช้ใน การเกษตรไดต้ ลอดปีและยงั สามารถเลียงปลาและปลกู พืชน้าพชื รมิ สระ เพ่ือเพ่ิมรายไดใ้ หก้ ับครอบครวั อีกทาง หนึ่งดว้ ย ส่วนที่ 2 : รอ้ ยละ 60 เฉลยี่ ประมาณ 10 ไร่ เป็นพนื ท่ีท้าการเกษตรปลกู พืชผลตา่ งๆ โดยแบ่งพืนทน่ี ี ออกเปน็ 2 ส่วน คือร้อยละ 30 ในส่วนท่ีหนึ่ง : ทา้ นา ข้าว ประมาณ 5 ไร่ รอ้ ยละ 30 ในสว่ นที่สอง : ปลูก พืชไร่ หรอื พืชสวน ตามแต่สภาพของพนื ทแี่ ละภาวะ ตลาด ประมาณ 5 ไร่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงคา้ นวณโดยใชห้ ลักเกณฑ์ว่าในพืนที่ที่ท้าการเกษตร นีต้องมีน้าใช้ในชว่ งฤดูแลง้ ประมาณ 1,000 ลกู บาศก์ เมตรต่อไร่ ถ้าหากแบ่งแต่ละแปลงเกษตรใหม้ เี นือที่ 5 ไร่ ทัง 2 แหง่ แลว้ ความต้องการน้าจะต้องใชป้ ระมาณ 10,000 ลกู บาศกเ์ มตร ที่จะต้องเป็นนา้ ส้ารองไวใ้ ชใ้ น ยามฤดแู ล้ง สว่ นทส่ี าม : รอ้ ยละ 10 เปน็ พืนท่ีทเ่ี หลอื มีเนอื ท่เี ฉล่ียประมาณ 2 ไร่ จัดเป็นทีอ่ ยู่อาศัย ถนน หนทาง คนั คดู ินหรือคคู ลอง ตลอดจนปลกู พชื สวนครัว และเลียงสตั ว์

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวได้พระราชทานแนว พระราชด้าริอนั เป็นหลักปฏิบัตสิ า้ คัญยงิ่ ในการ ด้าเนินการ คือ 1. วธิ ีการนีสามารถใช้ปฏิบัติได้กบั เกษตรกรผู้เปน็ เจา้ ของทีด่ นิ ท่มี ีพนื ทีด่ ินจ้านวนน้อย แปลงเล็กๆ ประมาณ 15 ไร่ (ซึง่ เป็นอัตราถอื ครองเนือที่ การเกษตร โดยเฉลี่ยของเกษตรกรไทย) 2. ม่งุ ใหเ้ กษตรกรมีความพอเพยี งในการเลียงตวั เองได้ (self sufficiency) ในระดับชวี ติ ท่ีประหยดั ก่อน โดย มงุ่ เน้นให้เห็นความสา้ คัญของความสามคั คีกันในท้องถิ่น 3. ก้าหนดจุดมงุ่ หมายให้สามารถผลิตขา้ วบรโิ ภคได้ เพยี งพอทังปี โดยยดึ หลักวา่ การท้านา 5 ไร่ ของ ครอบครัวหนึง่ นัน จะมีข้าวพอกินตลอดปีซง่ึ เปน็ หลัก สา้ คัญของทฤษฎีใหม่นี นอกจากนียังทรงค้านงึ ถึงการ ระเหยของนา้ ในสระหรอื อ่างเก็บนา้ ลึก 4 เมตร ของ เกษตรกรด้วยว่าในแต่ละวนั ที่ไมม่ ฝี นตกคาดว่าน้าระเหย วันละ 1cm ดงั นัน เมื่อเฉล่ียฝนไม่ตกปลี ะ 300 วัน นัน ระดบั นา้ ในสระจะลดลง 3 เมตร จงึ ควรมกี าร เติมน้าให้เพยี งพอ เนอ่ื งจากนา้ เหลอื ก้นสระเพยี ง 1 เมตร เท่านัน ดังนันการมีแหลง่ นา้ ขนาดใหญเ่ พ่อื คอย เติมน้าในสระเล็ก จึงเปรยี บเสมอื นมแี ทงกน์ ้าใหญๆ่ ที่

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล มนี า้ ส้ารองทีจ่ ะเติมน้าอา่ งเล็กใหเ้ ต็มอย่เู สมอจะทา้ ให้ แนวทางปฏบิ ตั ิสมบูรณ์ขนึ กรณีของการทดลองท่ีวดั มงคลชัยพัฒนา ทรงเสนอวิธีการ ดังนีจากภาพตุ่มน้าเลก็ คอื สระน้าท่รี าษฎรขดุ ขนึ ตามท ฤษใี หม่นีเมื่อเกิดชว่ งขาดแคลนนา้ ในฤดูแลง้ ราษฎรก็ สามารถสูบน้ามาใชป้ ระโยชน์ได้และหากนา้ ในสระไม่ เพียงพอกข็ อรับน้าจากอ่างห้วยหินขาว ซงึ่ ได้ท้าระบบ สง่ นา้ เชอื่ มต่อลงมายังสระนา้ ท่ไี ด้ขุดไวใ้ นแตล่ ะแปลงซึ่ง จะช่วยให้สามารถมนี า้ ใช้ตลอดปี ในกรณรี าษฎรใช้นา้ มาก อ่างห้วยหินขาวกอ็ าจมีปรมิ าณนา้ ไม่เพยี งพอ หากโครงการพฒั นาลมุ่ น้าปา่ สักสมบูรณ์แล้วก็ใช้วิธกี าร สูบนา้ จากลมุ่ น้าป่าสักมาพักในหนองน้าใดหนองนา้ หนง่ึ แล้วสบู ตอ่ ลงมาในอ่างเกบ็ น้าหว้ ยหินขาวก็จะช่วยให้มี ปริมาณนา้ ใช้มากพอตลอดปี ทฤษฎีใหมจ่ ึงเปน็ แนวพระราชด้าริใหม่ ทบ่ี ัดนีได้รบั การพิสจู น์และยอมรบั กนั อย่างกว้างขวางใน หมเู่ กษตรกรไทยแล้ววา่ พระราชด้ารขิ องพระอง๕เกิดขนึ ด้วยพระอจั ฉริยภาพสูงสง่ ที่สามารถน้าไปปฏบิ ัตไิ ด้ อย่างแทจ้ ริง ความอุดมสมบูรณ์พูนสุขแห่ง ราชอาณาจกั รไทยอุบัติขึนในครงั นีดว้ ยพระปรีชา สามารถอนั เฉียบแหลมของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยผู้มิเคย

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล หยดุ นงิ่ ท่จี ะระดมสรรพกา้ ลังทงั ปวงเพ่ือความผาสุกของ ชาวไทย 2. เกยี่ วกับการน้าอภิปราย เรือ่ ง ทฤษฎี “แกล้งดิน” อันเน่ืองมาจากพระราชด้าริ, ทฤษฎีป้องกัน การเส่ือมโทรมและพังทลายของดนิ โดยหญ้าแฝก, ทฤษฎีใหม่ : การจัดการท่ีดินเพื่อการเกษตรตาม พระราชดา้ ริ ครูอาจมอบหมายให้นกั เรียนไปศึกษา ค้นควา้ ความรูแ้ ละมานา้ เสนอและร่วมกนั อภปิ รายในชนั เรียน 3. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเนือหา เร่ือง การใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหา และการจดั การ (โครงการพระราชดา้ รเิ กี่ยวกับการ จดั การทรพั ยากรดนิ ) ว่ามีสว่ นไหนท่ีไมเ่ ขา้ ใจและให้ ความรเู้ พิ่มเตมิ ในส่วนนัน 3. ขนั ลงขอ้ สรุป 1. ครูมอบหมายให้นกั เรียนสรุปความคิดรวบ ยอดเกย่ี วกับเนือหาทีไ่ ด้เรยี นในวันนี 2. ครมู อบหมายให้นกั เรียนไปศึกษาความรู้ เร่อื ง ทรพั ยากรน้า/ ผลกระทบจากมลพิษทางน้าจาก บ้านเรอื น ซึ่งจะเรียนในคาบต่อไปมาล่วงหนา้

แผนการจดั การเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 เรื่อง มนุษยก์ บั ความย่ังยนื ของส่ิงแวดล้อม แผนการสอนท่ี 12 เรอื่ ง การใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ ปญั หาและการจัดการ รายวิชาชีววิทยา 6 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 รหัสวิชา ว 33206 ครผู สู้ อน นางสาวจนั จริ า ธนนั ชยั ตาแหนง่ พนกั งานราชการ เวลาทีใ่ ช้ 2 ชวั่ โมง ตวั ชีว้ ดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิน้ งาน ประเมนิ ผล 4. สบื ค้นขอ้ มลู 2.1 ทรัพยากรนา้ แหล่งน้าที่มนษุ ย์ 1. ใบงาน ผา่ นระดบั การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี น อภิปรายเรือ่ งระบบ นา้ มาใชป้ ระโยชน์มาจากแหลง่ ใด การใชป้ ระโยชน์ คะแนนร้อยละ 1. ขนั สรา้ งความสนใจ ชีววิทยาเล่ม 6 ของ นิเวศและ *** นา้ ในโลกมีประมาณ 3 ใน 4 จากทรพั ยากรธ 60 ขึนไป ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื น้าไปสู่ข้อ สถาบนั สง่ เสริมการ ทรัพยากรธรรมชาติ สว่ น รอ้ ยละ 97.41 เปน็ นา้ เค็มใน รรมชาติ สรุปวา่ การเพ่ิมของประชากรมนุษย์ ความ สอนวทิ ยาศาสตร์ มาประยุกตใ์ ช้เพ่ือ มหาสมุทร ร้อยละ 2.59 เป็นน้าจดื ปัญหาและการจั เจริญกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทา้ ให้มี และเทคโนโลยี แก้ปญั หา จัดการ แตน่ ้าจดื ทน่ี ้ามาใช้ประโยชน์ไดม้ ี ดการ ความต้องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพ่ิมมากขึนและ 2. อนิ เทอรเ์ น็ต และหาแนวทางใน เพยี ง ร้อยละ 0.014 เท่านนั รวดเรว็ ส่งผลกระทบใหส้ ภาพแวดล้อมตามธรรมชาติมี การอนรุ ักษ์ฟื้นฟู เนื่องจากเปน็ นา้ แข็งรอ้ ยละ 1.984 การเปล่ียนแปลงและปรมิ าณทรัพยากรธรรมชาติลดลง สิ่งแวดลอ้ ม และอีกร้อยละ 0.592 เป็นน้าใตด้ นิ เกิดมลพิษต่างๆ และขาดการจดั การทด่ี ี สถานการณ์ 5. จัดนิทรรศการ นา้ ท่มี นุษย์นา้ มาใชป้ ระโยชน์ได้ มา ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอ้ มในบางแหง่ มี เสวนาวิชาการ จากแหลง่ ใหญ่ๆ 3 แหล่ง ด้วยกันคอื ปัญหาถึงขันวิกฤตสง่ ผลกระทบมายังมนุษย์ เชน่ การ เก่ยี วกับปญั หา 1. หยาดน้าฟา้ เปน็ น้าที่ได้จาก ใชถ้ า่ นหนิ น้ามนั แก๊สธรรมชาติอยา่ งฟุ่มเฟือยท้าให้ ส่งิ แวดลอ้ มใน บรรยากาศ เช่น ฝน นา้ คา้ ง หิมะ เกิดปญั หาการขาดแคลนพลงั งาน ปา่ ไมท้ ี่เปน็ แหล่งต้น ท้องถิน่ แนวทางการ ลกู เหบ็ เมฆ หมอก ไอน้า เป็นต้น น้าลา้ ธารถกู ท้าลายท้าให้ขาดแคลนแหลง่ ตน้ นา้ ลา้ ธาร แก้ไขปญั หา การใช้ 2. น้าผิวดนิ เปน็ น้าท่ีได้มาจากแมน่ า้ เกิดความแห้งแล้ง หรอื เกิดน้าทว่ มฉับพลันในฤดูฝน ทรัพยากรอยา่ งยั่งยืน ล้าคลอง ทะเลสาบ ทะเล และ ฯลฯ ร่วมกับชมุ ชน มหาสมทุ ร

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมินผล 3. น้าใต้ดิน เปน็ นา้ ท่ีอยู่ใต้ระดับ 2. ขันสา้ รวจและคน้ หา ผวิ ดิน ท่ีมนุษยข์ ุด และสบู ขนึ มาใช้ 1. ครยู กตัวอย่างโครงการตา่ งๆ ของ เช่น นา้ บอ่ และนา้ บาดาล เป็นตน้ ***มนษุ ยใ์ ช้ประโยชนจ์ ากน้าใน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวรชั กาลปจั จุบนั ซง่ึ เปน็ กิจกรรมต่างๆ นา้ ทีใ่ ช้แล้วหากปล่อย โครงการพระราชด้ารเิ กย่ี วกับการจัดการทรัพยากรดิน ลงสู่แหล่งนา้ จะท้าให้น้าเนา่ เสียได้ ใหน้ กั เรยี นไดร้ บั ทราบดังนี เช่น 2.1.2 มลพิษทางนา้ และการจัดการ หมายถงึ ภาวะของนา้ ที่มีมลสาร 1.1 ทฤษฎี “แกลง้ ดนิ ” อนั เน่อื งมาจาก ปนเปือ้ น ในระดับท่ที ้าคณุ ภาพน้า พระราชด้าริ เปลีย่ นไปจนมนุษย์ และสิ่งมีชวี ิตไม่ สามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากน้านันได้ โครงการ “แกล้งดนิ ” เกิดขนึ อนั เนือ่ งมาจากการท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวเสด็จ เย่ียมราษฎรในเขตจังหวัดนราธวิ าส ในปี พ.ศ. 2524 ทรงพบว่าราษฎรประสบปัญหาเกีย่ วกับดนิ ในพืนท่ีพรทุ ่ี มสี ภาพเปน็ ดินเปรียวจดั หลงั จากท่รี าษฎรชกั นา้ ออก จากพนื ท่ีพรุเพอื่ ใช้พืนท่ีท้าการเกษตร พระองค์จึงทรงมี พระราชดา้ ริให้ส่วนราชการต่างๆ พจิ ารณาหาแนวทาง ในการปรับปรงุ พนื ท่ีพรทุ ่มี ีนา้ แช่ขงั ตลอดปีใหเ้ กดิ ประโยชน์ในทางการเกษตรมากท่ีสดุ และให้คา้ นึงถงึ ผลกระทบต่อระบบนิเวศดว้ ย ศนู ยศ์ ึกษาพฒั นาพิกลุ ทองอันเนือ่ งมาจากพระราชด้าริจึงไดด้ ้าเนนิ การสนอง พระราชดา้ รโิ ครงการ “แกลง้ ดนิ ” เพอื่ ศกึ ษาการ เปลยี่ นแปลงความเป็นกรดของดนิ เร่ิมจากวธิ ีการ “แกล้งดนิ ให้เปรียว” ดว้ ยการทา้ ใหด้ ินแหง้ และเปยี ก

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล สลับกันไป เพื่อเร่งปฏกิ ริ ยิ าทางเคมีของดนิ ซึ่งจะไป กระตุน้ ให้สารไพไรท์ท้าปฏกิ ริ ิยากับออกซิเจนในอากาศ ปลดปล่อยก้ามะถนั ออกมา ทา้ ให้ดนิ เปน็ กรดจัดจนถึง ขนั “แกลง้ ดินใหเ้ ปรียวสุดขีด” จนกระทั่งถึงจดุ ท่พี ชื ไม่ สามารถเจริญงอกงามได้ จากนันจงึ หาวธิ ีการปรบั ปรงุ ดินดงั กล่าวใหส้ ามารถปลกู พืชได้ วธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาดิน เปรียวจดั ตามแนวพระราชด้ารมิ ีดงั นี ควบคุมระดบั น้า ใตด้ ินเพื่อปอ้ งกันการเกิดกรดก้ามะถัน จึงตอ้ งควบคุม น้าใต้ดินใหอ้ ยู่เหนือชันดนิ เลนทม่ี สี ารไพไรท์อยู่ เพ่ือมิ ให้สารไพไรท์ท้าปฏกิ ิรยิ ากับออกวเิ จนหรอื ถูกออกซิไดซ์ 1.2 ทฤษฎปี ้องกันการเสื่อมโทรมและ พงั ทลายของดินโดยหญ้าแฝก ทฤษฎปี อ้ งกนั การเสื่อมโทรมและพังทลายของดนิ โดยหญา้ แฝก พชื จากพระราชด้าริ : ก้าแพงท่ีมีชวี ิตใน การอนุรักษ์คนื ธรรมชาติสแู่ ผ่นดิน พระบาทสมเดจ็ พระ เจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงสภาพปัญหาการชะล้าง พงั ทลายของดินและการสญู เสยี หนา้ ดินทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ จึงทรงศึกษาถึงศักยภาพของ “หญา้ แฝก” ซ่งึ เปน็ พืช พืนบ้านของไทยท่ีมีคุณสมบตั ิพเิ ศษในการช่วยปอ้ งกัน การชะล้างพงั ทลายของหนา้ ดินและอนรุ ักษค์ วามช่มุ ชืน ใตด้ นิ ซึ่งมวี ธิ ีการปลูกแบบง่ายๆ เกษตรกรสามารถ ดา้ เนินการไดเ้ องโดยไมต่ ้องใหก้ ารดแู ลหลังการปลูกมาก

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชน้ิ งาน ประเมนิ ผล นกั ทังประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยกว่าวธิ ีอนื่ ๆ อกี ดว้ ย จงึ ได้ พระราชทานพระราชด้ารใิ หด้ ้าเนินการศึกษาทดลอง เกีย่ วกับหญ้าแฝก ลกั ษณะของหญ้าแฝก หญ้าแฝกมีชือ่ สามัญเป็นภาษาอังกฤษว่า Vetiver Grass มีดว้ ยกนั 2 สายพันธุ์คอื หญ้าแฝกดอน (Vetiveria nemoralis A. Camus) และหญ้าแฝกหอม (Vetiveria zizanioides Nash) เปน็ พชื ที่ขนึ เปน็ กอ แน่น มใี บยาว 35-80 cm มีรากยาวหยงั่ ลกึ ลงในดนิ หญา้ แฝกมีการขยายพนั ธท์ุ ่ไี ด้ผลรวดเรว็ โดยการแตก หนอ่ จากลา้ ต้นใตด้ ิน ในบางโอกาสสามารถแตกแขนง และรากออกในส่วนของกา้ นช่อดอกได้ เม่ือหญา้ แฝก โนม้ ลงดินท้าให้มีการเจริญเติบโตเปน็ กอหญา้ แฝกใหม่ได้ จากการดา้ เนินงานท่ที ุกหน่วยงานได้ รว่ มมือกันให้เป็นไปตามพระราชด้ารทิ ้าใหม้ ีผล การศึกษาและการปฏิบตั ิได้ผลอยา่ งชดั เจน จนเป็นท่ี ยอมรับของธนาคารโลกวา่ “ประเทศไทยท้าได้ผลและมี ประสทิ ธภิ าพยอดเย่ียม” ดังนนั เมอื่ วันที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2536 International Erosion Control Association(IECA) ไดม้ มี ตถิ วายรางวลั The International Erosion Control

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล Association’s International Merit Award แด่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ในฐานะท่ที รง เป็น แบบอยา่ งในการน้าหญ้าแฝกมาใช้ในการอนรุ กั ษด์ ินและ นา้ และเมอื่ วนั ท่ี 30 ตุลาคม พ.ศ. 2536 ผู้เชย่ี วชาญ เรอ่ื งหญ้าแฝกเพ่ือการอนรุ ักษ์ดินและนา้ แหง่ ธนาคารโลก ไดน้ ้าคณะเข้าเฝ้าทูลละอองธลุ พี ระบาท ทลู เกล้าฯ ถวายแผน่ เกยี รติบัตรเป็นภาพรากหญ้าแฝก ชุบสา้ ริด ซึ่งเป็นรางวัลสดดุ ีพระเกยี รติคุณ (Award of Recognition) ในฐานะทีท่ รงมุ่งม่ันในการพฒั นาและ สง่ เสริมการใช้หญ้าแฝกในการอนรุ ักษด์ นิ และนา้ และ ผลการดา้ เนินงานหญ้าแฝกในประเทศไทยได้รับการ ตีพมิ พ์เผยแพร่ไปท่ัวโลก ความอุดมสมบูรณ์ของผนื แผ่นดินท่กี ลบั คนื มานี เปน็ เพราะพระวิรยิ ะอุตสาหะ และพระปรชี าญาณอนั ยาวไกลแหง่ องค์พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หวั ทีท่ รงศกึ ษาวเิ คราะหเ์ พ่ือหาหนทางในการ แก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาตขิ อง ประเทศไทยก้าลงั ถูกทา้ ลายไปอย่างรวดเรว็ ทังนเี พื่อ ความมงั่ ค่ังอุดมสมบรู ณ์พูนสุขของประชาชนอย่าง แท้จรงิ 1.3 ทฤษฎใี หม่ : การจัดการที่ดินเพื่อการเกษตรตาม พระราชดา้ ริ

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล ในทกุ ครังท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั เสด็จพระ ราชดา้ เนินเยยี่ มราษฎรตามพืนท่ีต่างๆ ทว่ั ประเทศนนั ได้ทรงถามเกษตรกรและทอดพระเนตรพบสภาพปญั หา การขาดแคลน นา้ เพื่อการปลูกข้าวและเกิดแรงดลพระ ราชหฤทยั อนั เปน็ แนวคิดขึนว่า 1. ขา้ วเป็นพืชที่แข็งแกรง่ มาก หากได้ น้าเพยี งพอจะสามารถเพ่ิมปริมาณเมล็ดข้าวได้มาก ย่ิงขึน 2. หากเกบ็ นา้ ฝนทีต่ กลงมาไว้ไดแ้ ล้ว น้ามาใชใ้ นการเพาะปลกู ก็จะสามารถเกบ็ เกยี่ วได้มากขึน เช่นกัน 3. การสรา้ งอา่ งเก็บนา้ ขนาดใหญ่ นับวนั แต่จะยากท่ีจะดา้ เนินการได้ เนอื่ งจากการ ขยายตัวของชมุ ชนและข้อจา้ กดั ของปริมาณทีด่ ินท่ีเปน็ อปุ สรรคส้าคญั 4. หากแต่ละครวั เรือนมีสระน้าประจ้า ไรน่ าทุกครวั เรอื นแล้ว เมอื่ รวมปริมาณกันยอ่ มเทา่ กบั ปรมิ าณในอ่างเกบ็ นา้ ขนาดใหญ่ แต่สินค่าใชจ้ า่ ยน้อย และเกิดประโยชน์สูงสุด ในเวลาตอ่ มาได้พระราชทาน พระราชดา้ ริให้ท้าการทดลอง “ทฤษฎใี หม่” เก่ียวกบั การจดั การท่ีดินและแหล่งน้าเพือ่ การเกษตรขนึ ณ วดั มงคลชัยพฒั นา ต้าบลหว้ ยบง อ้าเภอเมือง จงั หวดั

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล สระบรุ ี แนวทฤษฎใี หมก่ า้ หนดขนึ ดังนี ให้แบ่งพืนที่ ถือครองทางการเกษตร ซึ่งโดยเฉล่ยี แลว้ เกษตรกรไทย มีเนือทด่ี ินประมาณ 10 – 15 ไร่ต่อครอบครัว แบ่ง ออกเป็นสดั สว่ น 30-30-30-10 คือ สว่ นแรก : ร้อยละ 30 เนือท่ีเฉลยี่ 3 ไร่ ให้ทา้ การขุดสระกักเกบ็ น้าไวใ้ ช้ใน การเพาะปลกู โดยมคี วามลกึ ประมาณ 4 เมตร ซ่ึงจะ สามารถรับนา้ ได้จถุ ึง 19,000 ลกู บาศกเ์ มตร โดยการ รองรบั จากน้าฝนราษฎรจะสามารถน้านา้ นีไปใช้ใน การเกษตรไดต้ ลอดปแี ละยงั สามารถเลียงปลาและปลูก พืชน้าพชื รมิ สระ เพ่ือเพ่ิมรายไดใ้ ห้กบั ครอบครัวอีกทาง หน่งึ ด้วย ส่วนที่ 2 : ร้อยละ 60 เฉลี่ยประมาณ 10 ไร่ เป็นพืนที่ท้าการเกษตรปลกู พืชผลตา่ งๆ โดยแบง่ พนื ท่ีนี ออกเป็น 2 สว่ น คอื รอ้ ยละ 30 ในสว่ นท่ีหนึ่ง : ทา้ นา ขา้ ว ประมาณ 5 ไร่ รอ้ ยละ 30 ในส่วนทส่ี อง : ปลูก พืชไร่ หรือพชื สวน ตามแต่สภาพของพืนท่ีและภาวะ ตลาด ประมาณ 5 ไร่ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงค้านวณโดยใช้หลักเกณฑ์ว่าในพืนทีท่ ่ีท้าการเกษตร นีต้องมีน้าใช้ในชว่ งฤดูแลง้ ประมาณ 1,000 ลูกบาศก์ เมตรตอ่ ไร่ ถ้าหากแบง่ แตล่ ะแปลงเกษตรใหม้ ีเนือที่ 5 ไร่ ทงั 2 แหง่ แลว้ ความต้องการน้าจะต้องใช้ประมาณ 10,000 ลกู บาศกเ์ มตร ท่จี ะต้องเป็นนา้ ส้ารองไวใ้ ชใ้ น ยามฤดแู ล้ง สว่ นที่สาม : ร้อยละ 10 เปน็ พืนทีท่ ่ีเหลอื

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล มเี นอื ที่เฉลย่ี ประมาณ 2 ไร่ จดั เปน็ ทอี่ ยู่อาศยั ถนน หนทาง คนั คูดนิ หรือคคู ลอง ตลอดจนปลูกพืชสวนครวั และเลยี งสตั ว์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้ พระราชทานแนวพระราชดา้ รอิ ันเป็นหลักปฏิบัติส้าคญั ย่ิงในการดา้ เนินการ คือ 1. วิธีการนสี ามารถใชป้ ฏิบตั ไิ ดก้ ับเกษตรกรผู้เปน็ เจ้าของทดี่ ิน ทม่ี ีพืนท่ีดินจา้ นวนนอ้ ย แปลงเล็กๆ ประมาณ 15 ไร่ (ซึง่ เปน็ อตั ราถอื ครองเนือที่ การเกษตร โดยเฉลย่ี ของเกษตรกรไทย) 2. มงุ่ ให้เกษตรกรมีความพอเพยี งในการเลยี งตัวเองได้ (self sufficiency) ในระดับชีวติ ท่ปี ระหยัดก่อน โดย มุง่ เนน้ ใหเ้ หน็ ความสา้ คญั ของความสามคั คกี ันในทอ้ งถนิ่ 3. กา้ หนดจุดมุ่งหมายใหส้ ามารถผลติ ขา้ วบรโิ ภคได้ เพียงพอทังปี โดยยดึ หลกั วา่ การทา้ นา 5 ไร่ ของ ครอบครวั หนง่ึ นัน จะมขี ้าวพอกินตลอดปซี ึ่งเป็นหลัก สา้ คัญของทฤษฎีใหม่นี นอกจากนียงั ทรงคา้ นึงถึงการ ระเหยของนา้ ในสระหรอื อ่างเกบ็ นา้ ลึก 4 เมตร ของ เกษตรกรดว้ ยวา่ ในแตล่ ะวันที่ไม่มฝี นตกคาดวา่ น้าระเหย วันละ 1cm ดังนัน เมอื่ เฉลี่ยฝนไมต่ กปลี ะ 300 วนั นัน ระดับน้าในสระจะลดลง 3 เมตร จึงควรมกี าร

ตวั ชวี้ ดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล เตมิ นา้ ให้เพียงพอ เนอ่ื งจากนา้ เหลอื กน้ สระเพียง 1 เมตร เทา่ นนั ดังนนั การมีแหลง่ น้าขนาดใหญเ่ พ่อื คอย เติมนา้ ในสระเล็ก จงึ เปรียบเสมอื นมแี ทงกน์ ้าใหญๆ่ ท่ี มีน้าส้ารองท่จี ะเติมน้าอา่ งเล็กให้เต็มอยเู่ สมอจะท้าให้ แนวทางปฏบิ ัตสิ มบรู ณ์ขนึ กรณีของการทดลองที่วัด มงคลชัยพฒั นา ทรงเสนอวธิ กี ารดงั นีจากภาพตมุ่ น้าเลก็ คอื สระนา้ ทรี่ าษฎรขุดขึนตามทฤษีใหมน่ เี มื่อเกดิ ช่วงขาด แคลนนา้ ในฤดูแล้ง ราษฎรก็สามารถสบู น้ามาใช้ ประโยชน์ไดแ้ ละหากน้าในสระไม่เพยี งพอกข็ อรบั น้าจาก อา่ งหว้ ยหินขาว ซึง่ ได้ท้าระบบสง่ นา้ เชอื่ มต่อลงมายงั สระน้าท่ีได้ขดุ ไวใ้ นแต่ละแปลงซ่ึงจะชว่ ยใหส้ ามารถมีนา้ ใชต้ ลอดปี ในกรณรี าษฎรใชน้ า้ มาก อา่ งห้วยหินขาวก็ อาจมีปริมาณนา้ ไม่เพียงพอ หากโครงการพฒั นาลุ่ม น้าป่าสักสมบูรณแ์ ล้วก็ใช้วธิ ีการสบู น้าจากล่มุ น้าปา่ สกั มาพักในหนองน้าใดหนองน้าหน่งึ แล้วสบู ต่อลงมาใน อา่ งเก็บน้าห้วยหนิ ขาวกจ็ ะชว่ ยใหม้ ีปริมาณน้าใช้มากพอ ตลอดปี ทฤษฎใี หม่จึงเป็นแนวพระราชด้าริใหม่ ท่ีบดั นไี ดร้ ับการพิสจู นแ์ ละยอมรับกนั อย่างกวา้ งขวางใน หมู่เกษตรกรไทยแลว้ ว่าพระราชดา้ ริของพระอง๕เกดิ ขนึ ดว้ ยพระอจั ฉริยภาพสูงส่ง ที่สามารถน้าไปปฏบิ ัตไิ ด้ อย่างแท้จริง ความอุดมสมบูรณพ์ ูนสขุ แห่ง

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล ราชอาณาจักรไทยอุบัตขิ ึนในครงั นีดว้ ยพระปรชี า สามารถอนั เฉียบแหลมของพระมหากษตั รยิ ์ไทยผู้มิเคย หยดุ นิง่ ท่ีจะระดมสรรพกา้ ลังทงั ปวงเพ่ือความผาสุกของ ชาวไทย 2. เกย่ี วกบั การน้าอภปิ ราย เรอ่ื ง ทฤษฎี “แกลง้ ดนิ ” อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ, ทฤษฎปี อ้ งกนั การเสอ่ื มโทรมและพังทลายของดินโดยหญา้ แฝก, ทฤษฎใี หม่ : การจัดการทีด่ ินเพือ่ การเกษตรตาม พระราชดา้ ริ ครูอาจมอบหมายให้นักเรียนไปศกึ ษา คน้ คว้าความรแู้ ละมานา้ เสนอและรว่ มกนั อภปิ รายในชัน เรียน 3. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเนือหา เรอื่ ง การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ปญั หา และการจัดการ (โครงการพระราชดา้ ริเกี่ยวกบั การ จดั การทรัพยากรดิน) วา่ มสี ่วนไหนท่ไี มเ่ ข้าใจและให้ ความรูเ้ พ่ิมเตมิ ในสว่ นนัน 3. ขนั ลงขอ้ สรุป 1. ครมู อบหมายให้นักเรยี นสรุปความคดิ รวบ ยอดเก่ยี วกับเนอื หาท่ีไดเ้ รียนในวนั นี 2. ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นไปศึกษาความรู้ เร่ือง ทรพั ยากรน้า/ ผลกระทบจากมลพิษทางน้าจาก บา้ นเรอื น ซึ่งจะเรยี นในคาบตอ่ ไปมาลว่ งหนา้

แผนการจดั การเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง มนุษย์กบั ความย่ังยืนของสิ่งแวดลอ้ ม แผนการสอนท่ี 13 เร่ือง ทรัพยากรนา้ / ผลกระทบจากมลพิษทางน้าจากบ้านเรอื น/การตรวจสอบมลพิษทางนา้ รายวชิ าชีววิทยา 6 ชันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 รหัสวิชา ว 33206 ครูผู้สอน นางสาวจนั จิรา ธนันชัย ต้าแหนง่ พนกั งานราชการ เวลาที่ใช้ 2 ชัว่ โมง ตัวชีวัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ งาน ประเมนิ ผล 4. สบื คน้ ขอ้ มลู อภิปราย - ทรัพยากรน้า 1. สรุปทรพั ยากร ผา่ นระดบั คะแนน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรียน เร่ืองระบบนิเวศและ - ผลกระทบของมลพิษทาง นา้ / ผลกระทบ ร้อยละ 60 ขนึ ไป 1. ขนั สรา้ งความสนใจ ชีววทิ ยาเลม่ 6 ของ ทรพั ยากรธรรมชาติมา น้าจากบ้านเรือน จากมลพิษทางน้า ครนู ้าอภปิ รายร่วมกบั นักเรยี นในประเดน็ ของ สถาบนั ส่งเสริมการ ประยุกตใ์ ช้เพือ่ แก้ปัญหา - การตรวจสอบมลพษิ ทาง จากบา้ นเรอื น/ ประโยชนจ์ ากทรัพยากรน้าที่มนษุ ย์ได้รับ สอนวิทยาศาสตร์ จดั การ และหาแนวทาง นา้ การตรวจสอบ แหลง่ น้าจดื ท่ีมนุษย์สามารถน้ามาใช้ได้ ปรมิ าณและ และเทคโนโลยี ในการอนรุ ักษ์ฟ้นื ฟู มลพิษทางนา้ สดั สว่ นน้าในโลก 2. อนิ เทอรเ์ น็ต สง่ิ แวดลอ้ ม 2. ขนั สา้ รวจและค้นหา 5. จัดนิทรรศการ 1. ครนู ้าอภิปราย เรอ่ื ง ทรัพยากรนา้ ตาม เสวนาวิชาการเกีย่ วกับ รายละเอียดในใบความรู้ จากนนั ตอบค้าถาม ดงั นี ปัญหาสิง่ แวดล้อมใน - นกั เรยี นคดิ ว่าแหลง่ น้าจืดทมี่ นุษย์สามารถน้ามาใช้ ทอ้ งถ่ิน แนวทางการ ประโยชน์ได้จริงนนั มแี นวโน้มเป็นอยา่ งไรในอนาคต แกไ้ ขปัญหา การใช้ (เนอื่ งจากแหลง่ น้าจืดในโลกที่ใชไ้ ดจ้ รงิ มเี พียงรอ้ ยละ ทรพั ยากรอยา่ งย่ังยืน 0.014 ของน้าในโลกเทา่ นนั และประชากรโลกก็ ร่วมกับชมุ ชน แนวโน้มที่จะเพิ่มขนึ อยู่ตลอดเวลา ปจั จุบนั พบว่าทว่ั โลกก้าลังประสบกับปัญหามลพิษทางน้าอนั เกิดจากการ กระท้าของมนุษย์ท้าใหแ้ หลง่ น้าจืดที่มนษุ ย์

ตวั ชีวดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ งาน ประเมนิ ผล น้ามาใช้ประโยชนไ์ ด้ลดลง และถา้ หากเป็นอยู่อยา่ งนี ตลอดไป แนวโนม้ ท่จี ะทา้ ใหเ้ กดิ การขาดแคลนน้าจะย่งิ สูงขึน) - ปญั หาที่เกดิ จากการใช้นา้ มอี ะไรบา้ ง และเกิด จากสาเหตุใด ( ปัญหาทเ่ี กดิ จากการใช้น้าและสาเหตทุ ีเ่ กิด เช่น 1. การปนเปอ้ื นของมลสารในน้า ซึ่งเกิดได้ทัง ทางธรรมชาติ เช่น การพัดพาตะกอนดินลงส่แู หลง่ นา้ ทา้ ใหน้ ้าขนุ่ ข้น และเกิดจากการกระทา้ ของมนษุ ย์ เช่น การทงิ ขยะลงสูแ่ หลง่ นา้ การปลอ่ ยน้าทงิ จากอาคาร บา้ นเรอื น และโรงงานอตุ สาหกรรมลงสู่แหล่งนา้ เปน็ ตน้ 2. การขาดแคลนนา้ เพ่ือการอุปโภคบริโภค ซ่ึง เกดิ จากแหลง่ น้าทีม่ ีอยู่ตามธรรมชาติเกิดการเน่าเสยี รวมทงั แหลง่ นา้ ท่ีมีอยูป่ ริมาณนา้ ลดลงในฤดูแลง้ 3. การจัดการนา้ ท่ผี า่ นการใช้ประโยชนแ์ ล้ว โดยพบวา่ ส่วนใหญน่ า้ ทีผ่ า่ นการใชง้ านในกจิ กรรมตา่ งๆ มาแล้ว มกั จะมีการระบายลงสู่แหล่งน้าสาธารณะ โดยตรง หรอื ระบายออกตามทอ่ นา้ ทิงต่างๆ ท้าให้เกิด ปัญหาท่ออดุ ตนั และมมี ลสารปนเปอื้ นในแหลง่ นา้ )

ตวั ชีวัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ชนิ งาน ประเมนิ ผล - มนุษยใ์ ชป้ ระโยชน์จากแหล่งน้าประเภทใดมากทสี่ ุด และใช้อย่างไร (มนษุ ยใ์ ชป้ ระโยชนจ์ ากแหล่งนา้ ผิดดนิ มากทสี่ ดุ ได้แก่ แมน่ ้า ล้า คลอง หนอง บงึ น้าตก ทะเลสาบ มนษุ ย์น้าน้าจากแหล่งนา้ เหลา่ นมี าใชใ้ นการ อุปโภคบรโิ ภค การเกษตร อุตสาหกรรม ประมง การ คมนาคม เป็นตน้ ) - แหล่งนา้ ในชุมชนท่นี ักเรียนอาศัยอยูเ่ กิดปญั หา มลพษิ หรือไม่ ถ้ามคี ิดวา่ มีสาเหตมุ าจากอะไร (ให้ นักเรียนตอบตามสภาพของท้องถิ่นทนี่ ักเรียนอาศัยอยู่ แนวการตอบคา้ ถามอาจดูจากลกั ษณะสภาพแวดลอ้ ม รอบๆ ชุมชนที่อยู่ใกล้แหลง่ น้าและกจิ กรรมทเ่ี ก่ยี วข้อง กับน้าหรือการใช้นา้ ของชมุ ชน เชน่ ถ้าแหลง่ น้านันมี โรงงานอุตสาหกรรมตังอยู่รอบๆ ก็มแี นวโน้มว่าจะเกดิ ปญั หามลพิษอันเนื่อง มาจากการปลอ่ ยนา้ ทงิ จากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่ แหล่งนา้ ทา้ ให้นา้ มีสภาพเน่าเสีย ดังเชน่ แม่น้าทา่ จนี แม่น้าแม่กลองท่มี โี รงงานนา้ ตาลตงั อยู่ ของเสยี จาก โรงงานนา้ ตาลเมอื่ ปล่อยลงสู่แมน่ ้าทา้ ให้สตั ว์นา้ ตายลอย เป็นแพ เปน็ ต้น) - ปัญหามลพิษทางน้ามผี ลกระทบตอ่ การดา้ รงชวี ติ ของสิ่งมชี วี ิตในแหล่งน้าและต่อคนในชมุ ชนอย่างไร (มลพษิ ทางนา้ มีผลกระทบต่อการดา้ รงชีวิตของสิง่ มชี ีวิต

ตวั ชีวดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ งาน ประเมนิ ผล ในแหลง่ น้าคือ ท้าใหส้ งิ่ มชี วี ิตในแหลง่ นา้ ไม่สามารถ ด้ารงชวี ิตอยไู่ ด้ เนื่องจากการปนเปอื้ นของมลสารที่อยู่ ในนา้ โดยเฉพาะสารอนิ ทรียซ์ ึ่งมีผลต่อการใช้ O2 ใน การย่อยสลายสารอินทรียข์ องจุลินทรยี ์ในนา้ ทา้ ให้ ปริมาณ O2 ในนา้ ลดลง สงิ่ มชี ีวิตกจ็ ะตายและทา้ ให้ แหลง่ อาหารของมนษุ ย์ลดลงดว้ ย หรือการปนเปอื้ น ของสารพิษประเภทโลหะหนักและสารฆ่าแมลงในแหลง่ นา้ ส่งผลให้เกดิ การสะสมสารพษิ ในโซ่อาหารได้) 2. นักเรียนแบง่ กลุ่มๆ ละ 4-5 คน ท้ากิจกรรม ที่ 23.1 กจิ กรรมที่ 23.1 ผลกระทบของมลพษิ ทางนา้ จากบ้านเรือน จดุ ประสงค์ของกจิ กรรม เพอ่ื ให้นักเรียนสามารถ 1) ระบปุ ญั หาและตงั สมมุติฐานเพ่ือศึกษา ผลกระทบของเหลือทงิ หรือน้าทิงจากการอปุ โภคบริโภค ในบ้านเรอื นท่ีมผี ลตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม 2) ออกแบบการทดลองโดยก้าหนดและ ควบคมุ ตัวแปร 3) ท้าการทดลอง บนั ทึกขอ้ มลู ได้ถูกต้อง และสรปุ ผลการศึกษา 4) เสนอผลการศึกษา พรอ้ มทังระบุ แนวทางในการแก้ไขเพ่อื เผยแพรใ่ นห้องเรยี น

ตวั ชีวดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ งาน ประเมนิ ผล - ในการทา้ กิจกรรมนี นักเรียนอาจวิเคราะหป์ ัญหา จากข่าวสารทีเ่ ผยแพร่ในสือ่ ต่างๆ ซง่ึ ครูอาจต้องตดิ ตาม ขอ้ มลู ขา่ วสาร จากส่ือด้านต่างๆ เพื่อนา้ มาเป็นข้อมูลในการตังปัญหา และอภิปรายให้ทันตอ่ เหตกุ ารณ์ 3. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มนา้ ผลที่ศกึ ษามา รายงานและแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ กันในชันเรียน เพื่อใหก้ ารอภิปรายน้าไปสูส่ าเหตทุ ี่ทรัพยากรธรรมชาติ แต่ละชนิดของประเทศไทยและในท้องถ่ินของตน เปลีย่ นแปลงไป และใหเ้ ห็นความสา้ คัญของการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเนน้ ให้เหน็ ถึงความรบั ผดิ ชอบ ของทกุ คนที่มตี ่อสภาวะแวดล้อมและ ทรพั ยากรธรรมชาติ เพอ่ื การพัฒนาคุณภาพชีวิตทีด่ ีขึน ของมนุษย์ 4. ครนู า้ อภปิ ราย เรอ่ื ง “แหลง่ ที่มาของน้าเสีย” เพอ่ื ให้ได้ขอ้ สรปุ วา่ นา้ เสียมที ่ีมาจากแหล่งใดบ้าง ก่อให้เกดิ ผลกระทบกับมนุษย์และธรรมชาตอิ ยา่ งไร ใน ท้องถ่ินของนักเรียนมเี หตุการณเ์ ชน่ นเี กิดขึนหรือไม่ ควรวางแผนในการจดั การกบั ปัญหาทเี่ กิดขนึ นโี ดยวิธใี ด จากนนั ตอบคา้ ถามในหนังสือเรยี น ซึง่ มีแนวการตอบ ดงั นี

ตวั ชีวดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สือ่ /แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ งาน ประเมนิ ผล - น้าเสยี ทมี่ าจากแหล่งต่างๆ มีชนิดของสารที่ ปนเป้ือน เหมือนหรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไร (นา้ เสียท่ีมา จากแหลง่ ต่างๆ จะมีชนดิ ของสารปนเปื้อนเหมือนกันคอื พวกสารอนิ ทรียจ์ ากซากพืชวากสตั ว์ สว่ นสารปนเป้อื น ทแี่ ตกตา่ งกันก็คือ สารเคมที ่ีเปน็ องค์ประกอบในวัสดุ ต่างๆ ทใ่ี ช้ในกิจกรรมตา่ งๆ เชน่ จากโรงงาน อตุ สาหกรรมและเหมืองแร่ ก็จะมีสารปรอท ตะก่วั แคดเมยี ม ฯลฯ เจอื ปน จากการเกษตรกจ็ ะมีสารเคมี จากปุ๋ยและสารปราบศัตรพู ืช เปน็ ตน้ ) - นักเรียนคดิ ว่านา้ เสยี ท่ีมาจากแหล่งใดมสี ารท่ี กอ่ ใหเ้ กิดอันตรายต่อส่งิ มีชวี ิตมากทีส่ ุด (น้าเสยี ที่มาจาก ทุกแหลง่ ก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อส่งิ มชี วี ิต เพราะมีสง่ิ ที่ เป็นมลสารปนเปอ้ื นในนา้ ทงั นนั แต่นา้ เสียท่มี าจาก โรงงานอุตสาหกรรมจะก่อให้เกิดอันตรายมากทีส่ ดุ เนือ่ งจากมีมลสารท่เี ปน็ สารเคมีประเภทต่างๆ ทจี่ ะ กอ่ ให้เกดิ อันตรายต่อสง่ิ มชี ีวิต เช่น โรงงานผลติ แบตเตอรี่ สที าบา้ น สารฆ่าแมลง จะมีการปนเปอื้ น ของสารเคมีประเภทโลหะหนกั เช่น ปรอท ตะก่วั และแคดเมียม ซึ่งถา้ หากสารเหล่านเี ขา้ ไปสะสมใน รา่ งกายสิง่ มชี วี ติ ในปรมิ าณท่ีมาก ก็อาจก่อใหเ้ กิด อนั ตรายถงึ แกช่ ีวิตได้)

ตวั ชวี ดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ชินงาน ประเมนิ ผล 5. ครูนา้ อภปิ ราย เรอ่ื ง การตรวจสอบมลพษิ ทางนา้ ที่ สามารถท้าไดใ้ นห้องปฏิบัตกิ ารในห้องปฏบิ ัตกิ าร เช่น การหาค่า DO COD และ BOD จากนนั รว่ มกนั อภิปราย เกยี่ วกับคา่ มาตรฐานคุณภาพน้าแหล่งน้าผวิ ดนิ ซ่งึ ใชเ้ ปน็ ดชั นใี นการบ่งบอกวา่ แหล่งนา้ ใดมีคุณภาพดหี รือไม่ โดยใช้ค้าถามในหนังสอื เรียนและแนวการตอบค้าถามมี ดงั นี - นักเรียนทราบได้อย่างไรวา่ แหล่งนา้ นนั เกดิ น้าเสยี สามารถวดั และตรวจสอบได้อย่างไร ( สามารถบอกไดว้ ่าแหลง่ น้านันเกิดนา้ เสียหรือไม่ โดยสังเกตจาก 1. สภาพทางกายภาพ จากสแี ละกล่นิ ของน้า ซง่ึ น้าท่ีมีคณุ ภาพดีจะต้องปราศจากสแี ละกลน่ิ 2. สภาพทางเคมี จากการวดั คา่ DO และ BOD โดยน้าทม่ี ีคุณภาพดีจะต้องมีคา่ DO ประมาณ 5-7 mg/l และถา้ คา่ BOD สงู กวา่ 12 mg/l จดั เป็นนา้ เสีย 3. สภาพทางชวี ภาพ โดยการสังเกตจาก สิ่งมชี วี ติ บางชนิดทีใ่ ช้เปน็ ดชั นบี ง่ บอกถงึ น้าเสยี เช่น หนอนแดง หรอื การตรวจวดั แบคทีเรยี กลมุ่ โคลิฟอร์ม ถา้ แหล่งนา้ ใดมีแบคทีเรียนกลุ่มโคลิฟอร์มทังหมดเกิน

ตวั ชวี ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ชินงาน ประเมนิ ผล 20,000 เอ็มพเี อ็น (MPN) ต่อ 100 มิลลลิ ิตร ไม่ควร ลงไปอาบน้าหรือน้านา้ ไปใชใ้ นการอปุ โภคบริโภค) - การตรวจสอบมลพษิ ทางน้า นอกจากหาค่า ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายในนา้ แลว้ ยงั สามารถใชเ้ กณฑ์ ใดได้อกี บ้าง ( เกณฑ์ที่ใช้ในการตรวจสอบมลพิษทางน้า นอกจากค่า DO แลว้ ยงั มีค่าอื่นๆ อีก เช่น 1. ตรวจคา่ BOD คือปรมิ าณออกซิเจนท่ี จลุ ินทรยี ์ในน้าใช้ในการย่อยสลายสารอินทรยี ์ในน้า ถ้า BOD สงู กวา่ 12 mg/l แสดงว่านา้ เสีย 2. ตรวจคา่ COD คือปรมิ าณออกซิเจนที่ จลุ นิ ทรียใ์ นน้าใช้ในการออกซิไดซ์สารอินทรีย์ ถา้ COD สูงกว่า 44 mg/l จัดเป็นน้าเสยี 3. ตรวจสอบแบคทีเรียกลุ่มโคลฟิ อร์มทังหมด ไมค่ วรเกนิ 20,000 เอ็มพเี อ็นตอ่ 100 มิลลลิ ติ ร 4. คา่ pH ไมค่ วรจะต่้ากว่า 4 หรอื สงู กว่า 9 ) - น้าเสยี ส่งผลกระทบตอ่ พชื และสตั ว์อย่างไร ( นา้ เสียส่งผลกระทบต่อพืชและสตั ว์ ดังนี ผลกระทบต่อพืช โดยเฉพาะอย่างย่ิงพืชนา้ ถ้าหากว่าแหลง่ น้าเสยี นนั เกดิ จากสารอนิ ทรียเ์ ป็นสว่ น

ตวั ชีวดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ งาน ประเมนิ ผล ใหญ่จะท้าให้แหล่งน้านันขาด O2 เนอื่ งจากจลุ ินทรยี ์ ในแหลง่ น้านนั ใช้ O2 ในการย่อยสลายสารอนิ ทรยี ์ ท้าให้พืชนา้ ขาด O2 ในการหายใจและถ้าแหล่งนา้ นัน มีมลสารทเ่ี ปน็ พิษปนเป้ือน พชื น้าก็จะดดู สารพิษเขา้ ไป สะสมในเนือเยื่อ เมื่อสตั ว์กนิ พชื นีเข้าไปก็จะรับสารพิษ เข้าไปในร่างกายดว้ ยตามการถ่ายทอดในโซ่อาหาร ผลกระทบต่อสัตว์ ถา้ แหล่งน้านันมี O2 ท่ลี ะลายอยูใ่ นน้าน้อยกส็ ่งผลใหส้ ตั ว์นา้ ขาดแคลน O2 ท่ีใชใ้ นการหายใจ ทา้ ให้สตั ว์นา้ เหลา่ นีไมส่ ามารถ ด้ารงชวี ติ อยไู่ ด้จะค่อยๆ ตายไปหรืออาจสูญพนั ธุ์ได้ และเป็นผลให้ปริมาณสตั วน์ ้าท่เี ป็นอาหารของมนษุ ย์ ลดลงดว้ ย ) - มนษุ ย์ไดร้ ับประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรน้า ทังทางตรงและทางอ้อม ถ้าหาก แหล่งน้าตา่ งๆ ที่มนษุ ย์ ใชป้ ระโยชนเ์ กดิ การเน่าเสยี จะส่งผลกระทบตอ่ มนษุ ย์ อย่างไรบ้าง ( น้าเสียส่งผลกระทบต่อมนุษยด์ ังนคี ือ 1. ผลเสียต่อการประมง เม่อื เกดิ สภาวะน้าเสยี ปรมิ าณออกซเิ จนในนา้ จะลดลง นา้ จะมีสารพิษตา่ งๆ เจือปนอยู่ เปน็ ปจั จัยจา้ กดั ต่อการสบื พันธแ์ ละการดา้ รง ชีพของสตั วน์ า้ ท้าใหป้ ริมาณของสัตว์นา้ ซ่งึ เปน็ อาหาร ของมนษุ ย์ลดลง

ตวั ชีวดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ งาน ประเมนิ ผล 2. ผลเสียตอ่ สขุ ภาพ น้าเสียทม่ี เี ชอื โรคและ สารพิษเป็นอนั ตรายต่อสตั ว์นา้ และสุขภาพอนามยั ของ ประชาชน กอ่ ให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหาร เชน่ อหิวาต์ ไทฟอยด์ โรคบิด สารพษิ เช่น ปรอท แคดเมยี ม ตะกัว่ ท้าให้มนุษยเ์ ปน็ โรคต่างๆ ได้ 3. ผลเสยี ต่อการเกษตรกรรม นา้ เสยี ท่ีมี สารพิษปะปนอย่เู มื่อไหลลงสดู่ นิ ท้าให้สภาพดิน เปลย่ี นไปเป็นกรดหรือเบส ไม่เหมาะสมในการ เพาะปลูกพืช นอกจากนยี งั สะสมเพ่ิม ปริมาณอยู่ในโซอ่ าหารตามล้าดบั ขนั ตอนของการ ถา่ ยทอด 4. ผลเสยี ตอ่ ระบบนิเวศ เมอื่ สงิ่ มชี ีวิต เชน่ พชื และสตั ว์ทอ่ี าศัยในแหลง่ น้าที่เสยี ไดร้ บั ผลกระทบจน ไม่สามารถด้ารงชวี ิตอยู่ได้ ก็จะส่งผลกระทบต่อไปยัง ส่ิงมชี ีวิตอืน่ ในระบบนเิ วศดว้ ย เช่น ทา้ ใหโ้ ซ่อาหาร หรือสายใยอาหารในแหล่งน้าลดลงและอาจสง่ ผล กระทบต่อสิง่ มีชีวิตอ่นื ทเ่ี ปน็ ผู้บรโิ ภคบนบกดว้ ย และ อาจทา้ ให้สมดลุ ธรรมชาติเปลีย่ นแปลงไป 5. ผลเสยี ตอ่ การทัศนาการ เม่อื แหล่งน้าถูกท้า ใหส้ กปรก เนา่ เสีย ทัศนียภาพท่ีสวยงามถกู ท้าลายไป

ตวั ชีวดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ งาน ประเมนิ ผล ทา้ ให้จิตใจไม่เบกิ บาน ไมม่ ีแหล่งท่องเท่ียวและพักผอ่ น หยอ่ นใจ) - การเกดิ คลนื่ ยักษส์ นึ ามิสง่ ผลกระทบต่อสิ่งมชี วี ิต และสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งไรบา้ ง (เกิดผลกระทบต่อสิง่ มชี วี ติ คอื ท้าให้พืช สัตว์ และมนุษย์ลม้ ตายและสูญหาย จ้านวนมาก ทังนีคลน่ื ยักษไ์ ด้พัดพาสิ่งมีชีวติ ทังหมดที่ อยู่บริเวณเกาะที่ไดร้ บั ผลกระทบหายไปในทะเล เม่ือ คลืน่ สงบแล้วการฟ้ืนฟใู ห้มสี ง่ิ มชี วี ติ ดังเดมิ ใช้ระยะ เวลานานเน่อื งจากสภาพแวดล้อมเปล่ยี นไป นอกจากนี ยังมผี ลกระทบตอ่ สิง่ มชี ีวิตในน้า เช่น ปะการังเสียหาย จากการถูกส่ิงปรักหักพังทับถมลงในทะเลทา้ ใหเ้ กิด ความเสยี หายตอ่ แนวปะการังด้วย ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อมท้าให้เกิดตะกอนขุ่นขน้ ในแหลง่ นา้ ทศิ ทาง ลมเปล่ียนไป เป็นตน้ ) 6. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเนือหา เร่อื ง ทรัพยากรนา้ / ผลกระทบจากมลพิษทางน้าจาก บ้านเรือน / การตรวจสอบมลพษิ ทางนา้ วา่ มีส่วนไหนที่ ไมเ่ ขา้ ใจและให้ความร้เู พิ่มเติมในส่วนนนั 3. ขันลงขอ้ สรปุ 1. ครูมอบหมายให้นกั เรยี นสรปุ ความคดิ รวบ ยอดเกีย่ วกบั เนอื หาที่ได้เรียนในวนั นี

ตวั ชวี ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ ชนิ งาน ประเมินผล 2. ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นไปศึกษาความรู้ เรื่อง โครงการพระราชด้าริของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว เกีย่ วกบั การอนุรกั ษน์ า้ และการบา้ บดั น้าเสีย (โครงการ ฝนหลวงและโครงการแก้มลิง) ซ่งึ จะเรียนในคาบต่อไปมาล่วงหนา้

แผนการจัดการเรียนรู้ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เรอ่ื ง มนุษยก์ บั ความย่ังยนื ของสิ่งแวดล้อม แผนการสอนที่ 14 เรือ่ ง ทรพั ยากรดินและการใชท้ ีด่ นิ รายวชิ าชีววิทยา 6 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 รหัสวิชา ว 33206 ครผู ู้สอน นางสาวจนั จิรา ธนนั ชยั ตาแหนง่ พนักงานราชการ เวลาทีใ่ ช้ 2 ชว่ั โมง ตวั ช้ีวัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ ชนิ้ งาน ประเมินผล 4. สืบคน้ ขอ้ มลู อภิปราย นา้ ดิน อากาศ ปา่ ไมแ้ ละสัตว์ป่า 1. ใบงาน ผ่านระดบั คะแนน การจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี น เร่อื งระบบนิเวศและ เปน็ ทรัพยากรธรรมชาติที่สา้ คัญ ทรพั ยากรดิน ร้อยละ 60 ขึนไป 1. ขนั สรา้ งความสนใจ ชีววิทยาเลม่ 6 ของ ทรพั ยากรธรรมชาติมา และจ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตของ และการใชท้ ่ีดิน 1. ครตู ังค้าถาม เพื่อโยงไปสู่ประเภท สถาบันสง่ เสรมิ การ ประยกุ ต์ใช้เพอ่ื แก้ปญั หา มนษุ ย์ มนษุ ย์น้า ของทรพั ยากรธรรมชาติว่า “ดินจัดเป็นทรัพยากร สอนวิทยาศาสตรแ์ ละ จดั การ และหาแนวทาง ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ ถา้ ใช้ ธรรมชาตปิ ระเภทใด” (ดนิ จัดเป็น เทคโนโลยี ในการอนุรักษ์ฟืน้ ฟู ทรัพยากรอย่างไม่เห็นคณุ ค่าจะ ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทเกิดขนึ ทดแทนได)้ 2. อินเทอรเ์ น็ต ส่ิงแวดล้อม สง่ ผลใหป้ รมิ าณของ 2. ครูใหน้ ักเรยี นอภปิ รายถึงเรอ่ื ง 5. จัดนิทรรศการ ทรัพยากรธรรมชาตลิ ดลง และ ความส้าคัญของทรัพยากรดนิ โดยชีให้นักเรยี น เสวนาวิชาการเก่ยี วกับ กอ่ ใหเ้ กดิ มลพิษต่อสง่ิ แวดลอ้ ม เห็นว่า ถงึ แม้ดนิ จะสามารถเกดิ ขนึ ทดแทนไดแ้ ต่ ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มใน รวมทงั สง่ ผลกระทบต่อคณุ ภาพ ระยะเวลาในการเกิดดนิ นนั ใชเ้ วลานานมากถงึ ทอ้ งถน่ิ แนวทางการ ชวี ติ ของมนุษย์ด้วย ดงั นนั มนุษย์ 200 ปีขนึ ไป)และใหน้ ักเรยี นดูภาพที่ 23-6 ใน แก้ไขปัญหา การใช้ จงึ ตอ้ งมีความรูค้ วามเข้าใจ หนังสือเรียนเร่ือง ชนั ของดนิ ประกอบเหตผุ ล ทรัพยากรอย่างยั่งยืน เก่ียวกับทรัพยากรธรรมชาติ เพอ่ื ในการอธบิ ายว่าท้าไมการเกิดดินจงึ ตอ้ งใชร้ ะยะ รว่ มกับชุมชน ใชแ้ ละจัดการไดอ้ ย่างเหมาะสม เวลานานมากดังกลา่ ว การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ช้นิ งาน ประเมนิ ผล และส่งิ แวดล้อมเพื่อเป็นแนวทาง 2. ขันส้ารวจและค้นหา ในการด้าเนินงาน 1. ครูให้นกั เรยี นแบง่ กลุม่ ๆละ 4-5 คน ทา้ กิจกรรมท่ี 23.2 ในสังคมที่มกี ารพัฒนา อยา่ งยัง่ ยืน จะตอ้ งมกี ารจัดการ กิจกรรมที่ 23.2 มนษุ ย์กบั การใช้ทด่ี นิ ทรพั ยากรธรรมชาติและ จดุ ประสงค์ของกิจกรรม เพอ่ื ให้นกั เรยี นสามารถ สิ่งแวดล้อมทดี่ ี ซ่ึงตอ้ งอาศัย ความรว่ มมือจากหลายๆฝ่าย ทัง 1. ส้ารวจ สบื ค้นข้อมลู และ ภาครัฐและเอกชน ในเรอ่ื งการ วเิ คราะหป์ ัญหา สาเหตเุ ก่ียวกับสถานการณ์ การ ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการใช้ ใชท้ ี่ดิน ของเกษตรกรในท้องถิน่ ของประเทศไทย ทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งถูกวิธี 2. เสนอแนวทางในการแกป้ ัญหา และการจัดการทด่ี ิน การใชท้ ่ีดินของเกษตรกรท่ี ถูกต้อง ตามหลกั วิชาการเกษตร การทา้ กิจกรรมนีนักเรยี นต้องไปสืบคน้ ข้อมลู สถานการณ์การใชท้ ี่ดินของเกษตรกรใน ประเทศไทยทีม่ ปี ัญหากลมุ่ ละ 1 เรอื่ ง ซึง่ อาจจะ เปน็ ปัญหาในท้องถิน่ ของนักเรยี นเองก็ได้ เม่ือได้ ปัญหาแลว้ แต่ละกลุม่ ต้องมาร่วมกนั วเิ คราะห์ ปัญหาที่เกดิ ชว่ ยกันเสนอแนะแนวทาง ในการ แกไ้ ขปญั หา เหลา่ นนั แล้วส่งตวั แทนอภิปราย ผลการวิเคราะห์

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล 2. หลังการท้ากจิ กรรม ครแู ละนักเรียนรว่ มกัน สรุปผล และตอบคา้ ถามในหนังสือเรยี น ซึ่งมี แนวการตอบ ดังนี - จากขอ้ มลู ในภาพที่ 23-10 แนวโนม้ การใช้ และน้าเข้าปยุ๋ ของเกษตรกรในปี พ.ศ. 2534- 2541 เป็นอย่างไร เพราะเหตใุ ดจงึ เป็นเชน่ นนั (จากภาพที่ 23-10 พบว่าในชว่ งปี พ.ศ. 2534- 2541 เกษตรกรมีการนา้ เขา้ ปยุ๋ N P และ K ปริมาณมาก และหลังจากนนั ปรมิ าณการน้าเข้า ปยุ๋ N มีแนวโน้มคอ่ นขา้ งจะคงที่ สว่ นปยุ๋ P และ K มีแนวโนม้ น้าเขา้ ไมค่ งทีแ่ ต่ก็ไม่มกี าร เปลี่ยนแปลงมากนัน สาเหตุทีม่ กี ารนา้ เข้าป๋ยุ N ค่อนข้างคงที่ แสดงวา่ เกษตรกรมคี วามต้องการ เพ่ิมผลผลติ พืชประเภทท่ีใหใ้ บมาก เช่น พวก ผักต่างๆ ซ่ึงเปน็ อาหารหลกั ของมนุษย์ สว่ น P และ K มีความผันแปรตามประเภทการผลติ พืช ทีใ่ ห้ดอกและพืชทใ่ี หผ้ ลตามความนยิ มใน ท้องตลาด เป็นตน้ )

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ สือ่ /แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ช้ินงาน ประเมนิ ผล - การใช้สารเคมที างการเกษตรในภาพท่ี 23- 11 มแี นวโนม้ เป็นอยา่ งไร เพราะเหตุใดจงึ เปน็ เช่นนนั (การใช้สารเคมีทางการเกษตรในปี พ.ศ 2534-2540 มแี นวโน้มเปลยี่ นแปลงดังนีคือ 1. สารกา้ จัดแมลงมปี ริมาณการใช้ ค่อนข้างคงท่ชี ่วงปี พ.ศ. 2534-237 และในปี พ.ศ. 2538-2539 ปริมาณการใชเ้ พิ่มขึนอย่าง เห็นได้ชัด และพบว่าในปี พ.ศ. 2540 ปริมาณ การใช้ลดลง 2. สารกา้ จดั วัชพชื มีปริมาณการใช้ ค่อนข้างคงท่ีในช่วง 4 ปีแรก และมแี นวโนม้ เพม่ิ ขนึ ในชว่ งปี พ.ศ. 2538-2539 และลดลงใน ปี พ.ศ. 2540 3. สารก้าจดั ราและแบคทีเรยี ในชว่ งปี พ.ศ. 2535-2540 ปรมิ าณการใช้ค่อนขา้ งคงท่ี 4. สารควบคมุ การเจรญิ เติบโตของพืช พบว่าปรมิ าณการใช้ค่อนขา้ งคงที่ตลอด อาจ สรุปไดว้ ่า ปริมาณการใช้ของสารกา้ จดั วัชพชื มี ปรมิ าณมากทสี่ ดุ รองลงมาคือสารกา้ จดั แมลง และสารกา้ จัดราและแบคทเี รีย ตามลา้ ดับ สว่ น สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมีการใช้ ค่อนข้างนอ้ ย)

ตวั ช้ีวัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ชิ้นงาน ประเมินผล - ปริมาณการใชส้ ารเคมที างการเกษตรของ เกษตรกรน่าจะมผี ลกระทบต่อทรพั ยากรดินและ ส่ิงแวดลอ้ มอย่างไรบ้าง (การใช้สารเคมีทาง การเกษตรของเกษตรกรสว่ นใหญจ่ ะอยู่ในรปู ของ ปยุ๋ เคมีและสารกา้ จัดศัตรูพชื และสตั วต์ ่างๆ การ ใช้ถ้าหากใช้ในปริมาณมากและใช้เปน็ ประจา้ ทกุ วนั ยอ่ มมีสารเคมตี กค้างลงในดิน สารเคมีบาง ชนิดมีการสลายตวั ไดเ้ ร็วในธรรมชาติ แตบ่ าง ชนดิ มฤี ทธิต์ กค้างเป็นระยะเวลานาน ซ่งึ จะ สง่ ผลกระทบต่อดินคือ ทา้ ให้สมบัตขิ องดินบาง ประการอาจเปลี่ยนไป เช่น ความเป็นกรด-เบส นอกจากนอี าจทา้ ใหส้ ิง่ มชี วี ิตทอ่ี าศัยอยู่ในดินตาย ได้ ซึ่งสง่ิ มชี วี ิตเหล่านมี ีสว่ นช่วยในการยอ่ ยสลาย สารอินทรยี ท์ ี่อย่ใู นดนิ และชว่ ยในการพรวนดิน ทา้ ให้ดินมีชอ่ งวา่ งระหว่างอนุภาคของดนิ และท้า ให้อากาศแทรกเข้าไปได้ สา้ หรับพืชท่ีปลูกจะ ไดร้ ับการสะสมสารเคมีทีต่ กค้างในดินเหลา่ นี และเม่ือสัตว์หรือคนรบั ประทานเข้าไปกจ็ ะมกี าร สะสมสารพิษ และถา่ ยทอดไปตามโซ่อาหารได้)

ตวั ชวี้ ดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล - สารพษิ และสารเคมที สี่ ะสมในดินสามาร ถา่ ยทอดไปตามโซอ่ าหารและสายใยอาหารได้ อยา่ งไร (การถ่ายทอดสารพิษและสารเคมีไปตาม โซ่อาหารและสายใยอาหาร เร่ิมตน้ จากผู้ผลิตซ่งึ ดูดธาตุอาหารจากดินไปใชใ้ นการเจริญเตบิ โต สารพิษเหลา่ นกี จ็ ะสะสมอยู่ในส่วนตา่ งๆ ของพชื เชน่ ใบ ดอก ผล ราก และลา้ ตน้ เป็นตน้ เม่อื ผ้บู รโิ ภคลา้ ดับที่ 1 ใบริโภคส่วนตา่ งๆ ของ พชื สารพษิ ก็จะถ่ายทอดไปสู่ผู้บรโิ ภคนนั และ สะสมตามชนั ไขมนั ในผ้บู รโิ ภคล้าดับที่ 1 เม่ือ ผ้บู ริโภคล้าดับถัดไปมากินต่อกนั อีกเปน็ ทอดๆ สารพษิ ก็จะถา่ ยทอดไปตามล้าดบั ขนั ของการ บรโิ ภคเช่นกัน โดยพบวา่ ปริมาณสารพิษทส่ี ะสม นีจะเพ่ิมขนึ เร่ือยๆ ตามล้าดับขันในโซอ่ าหาร หรือสายใยอาหาร) - ใหน้ ักเรยี นยกตวั อย่างผลดแี ละผลเสยี จาก การใช้สารเคมใี นทางการเกษตร ( ผลดีจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร 1. สามารถใช้ปราบศัตรูพืชและสัตว์ เช่น สารฆา่ แมลงตา่ งๆ หรอื สารกา้ จดั วัชพชื 2. ชว่ ยเพมิ่ ผลิตทางการเกษตร เช่น ปุ๋ยเคมตี ่างๆ

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล 3. ชว่ ยปรับปรงุ คณุ ภาพดิน เชน่ เติมยปิ ซัมแกด้ นิ เค็ม เตมิ ปูนขาวหรือดนิ มารล์ แก้ดินเปรียว เตมิ แคลเซยี มและแมกนีเซยี มท้า ให้สมบตั ิทางกายภาพของดนิ ดีขึน เตมิ N P K ให้พอดที ้าให้แบคทีเรียในดินทา้ งานดขี ึน ทา้ ให้ ดินอุดมสมบูรณ์ ผลเสียจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร 1. ท้าใหเ้ กิดสารเคมตี กค้างใน สง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ ตกคา้ งในดิน แหลง่ นา้ และ อากาศ ซง่ึ มีผลต่อสุขภาพรา่ งกาย และเปน็ อันตรายต่อส่ิงมีชีวิต 2. ท้าใหส้ มบัติของดินเปลี่ยนไป โดย การใช้ปุ๋ยชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ เปน็ ปริมาณมาก และ ใชต้ อ่ เนื่องเปน็ ระยะเวลานาน จะทา้ ให้ดินเส่ือม คุณภาพ เช่น ค่า pH เปล่ียนไป ดนิ ขาด ความอุดมสมบูรณ์ เปน็ ตน้ 3. ทา้ ใหศ้ ตั รูพชื และสตั วเ์ กดิ การดือยา อาจเกดิ การระบาดเพิ่มมากขึน ฯลฯ ) - ให้นกั เรียนบอกวธิ ีการแกไ้ ขปัญหาดนิ เปรียว และดนิ เค็มว่ามีวธิ ีการใดบา้ ง

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล ( ดินเปรยี ว เปน็ ดินที่มคี วามเปน็ กรดมาก มี ค่า pH ต่า้ กวา่ 4.5 ซ่ึงเกดิ จากการมีแรธ่ าตุที่ สลายตัวแล้วให้กรดในปรมิ าณมาก เชน่ แร่ไพ ไรท์ (FeS2) หรือแร่ก้ามะถันอ่ืนๆ พบไดท้ าง ภาคกลางและบรเิ วณชายฝ่ังทะเลภาคตะวนั ออก เชน่ พระนครศรีอยธุ ยา ปทมุ ธานี สระบรุ ี สมทุ รปราการ สพุ รรณบุรี ฉะเชงิ เทรา นครนายก ปราจีนบรุ ี นครปฐม ชลบรุ ี และ จนั ทบุรี โดยเฉพาะรังสติ จ.ปทมุ ธานี และ องครักษ์ จ. นครนายก พนื ดินมีความเป็นกรด จัดค่า pH ต่้ากวา่ 4 วิธีแกไ้ ขดินเป็นกรด ท่ีนิยมกันมากคือการ ใชป้ นู มารล์ ซ่ึงเปน็ ปูนทีเ่ กดิ ขึนเองคามธรรมชาติ สว่ นใหญ่จะอยู่ในรปู แคลเซียมคาร์บอเนต ปูน มารล์ จะช่วยแก้ความเป็นกรดในดินได้ดี มีผลทา้ ให้ดินรว่ น ระบายน้าได้ดี ไม่แนน่ ทึบ ดินเค็ม ประเทศไทยมีอยู่ 2 พืนท่ีส้าคัญ คือ ดินเค็มบรเิ วณชายทะเล และที่ราบสงู ภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื สาเหตุเนื่องมาจากมีการ สลายตวั ของดนิ และหินท่มี เี กลืออยู่ด้วย ท้าให้ ดินมปี ริมาณเกลือสะสมมากกวา่ ปกติ

ตวั ชวี้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรียนรู้ สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล วิธีแกไ้ ขดินเค็ม อาจทา้ ไดโ้ ดยอาศยั กระบวนการชะลา้ งดว้ ยนา้ จดื ชะพาเอาเกลอื ออกไปจากหนา้ ดิน หรือใชส้ ารประกอบยิปซมั (CaSO4,1H2O) เขา้ ช่วยปรบั ปรุงฟ้ืนฟู และตอ้ ง พยายามให้ดนิ ชนื อยเู่ สมอ เพ่อื มิให้นา้ ใตด้ ินถูก ดึงขนึ มาทผ่ี ิวหนา้ ดนิ เพราะจะทา้ ให้เกลือถกู ดงึ ขนึ มาตามผิวดนิ ดว้ ย นอกจากนีอาจปลูกไม้ยนื ต้นที่ทนเค็ม ทนแล้ง โตเรว็ รากลึกและใช้น้า มาก ได้แก่ ต้นยูคาลิปตสั กระถนิ สะเดา แค บา้ น มะขาม) - ปัญหาท่ีเกดิ จากทรัพยากรดินนอกจากท่ี กลา่ วมาแลว้ ยงั มปี ญั หาอื่นใดอกี บา้ ง (ปญั หา อ่ืนๆ ได้แก่ 1. ดินท่มี สี ารกัมมันตรงั สีปนเป้ือนเป็น ดินทเี่ กิดจากการสลายตัวของแร่ธาตทุ ีม่ สี ่วนผสม ของแรย่ ูเรเนยี ม ทอเรยี ม เรเดียม หรอื เกดิ จาก การทงิ กากกมั มันตรังสลี งในดินทา้ ใหเ้ กดิ การ ปนเปือ้ น 2. ดนิ ที่มีการผสมของโลหะหนกั มัก เกิดจากการสลายตวั ของโลหะหนักของหินที่เป็น

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล วัตถุตน้ ก้าเนดิ ท่ีมีสารประกอบพวกปรอท แคดเมยี ม ตะกว่ั โครเมียม สงั กะสี ฯลฯ 3. การใชท้ ่ดี นิ ผิดประเภท เช่น นา้ ทด่ี ิน เกษตรกรรมมาสร้างบา้ นจัดสรร สร้างโรงงาน อตุ สาหกรรม ท้านากงุ้ เป็นตน้ ) - อุปสรรคส้าคัญในการอนรุ ักษด์ นิ ในประเทศ ไทยได้แก่อะไรบา้ ง (การอนรุ ักษด์ ิน เปน็ การใช้ ประโยชนจ์ ากดินอยา่ งถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ เปน็ การจดั การและแกป้ ญั หามลพษิ ของดนิ และ การเสอื่ มโทรมของดนิ ซ่ึงพบว่าอุปสรรคส้าคัญ ในการอนรุ ักษ์ดิน เชน่ 1. การใชด้ นิ ไม่ถูกหลกั วิชาการ เช่น การปลูก พืชซ้าชนิดเดียว การใช้สารเคมี ท่ีใช้ก้าจดั ศัตรูพชื และสัตว์ การเผาหนา้ ดนิ 2. การทิงของเสยี จากแหลง่ ชุมชน จากโรงงาน อตุ สาหกรรม จากแหลง่ ประกอบการ ต่างๆ ท้า ให้สมบตั ิของดนิ เปลี่ยนแปลงไป 3. การตดั ตน้ ไม้ทา้ ลายปา่ มีผลทา้ ให้เกดิ ความ เสียหายกับดนิ ได้ เนื่องจากผิวหนา้ ดิน ปราศจาก พืชปกคลุม หรือไมม่ ีรากพืชยึดเหน่ียว เมอ่ื ฝนตก หรอื มีลมพายุ จะท้าให้หน้าดินพังทลาย และ สูญเสีย ความอดุ มสมบูรณ์ได้โดยงา่ ย)

ตวั ชวี้ ดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล 3. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นสอบถามเนอื หา เรื่อง ทรพั ยากรดินและการใชท้ ่ดี ิน ว่ามสี ่วนไหน ท่ีไมเ่ ขา้ ใจและให้ความรูเ้ พมิ่ เตมิ ในสว่ นนัน 3. ขนั ลงขอ้ สรปุ 1. ครมู อบหมายให้นักเรยี นสรปุ ความคดิ รวบยอดเกีย่ วกบั เนือหาท่ีไดเ้ รยี นในวนั นี 2. ครูมอบหมายให้นกั เรยี นไปศกึ ษา ความรู้ เรอื่ ง การตรวจสอบคุณภาพอากาศ และการวเิ คราะหค์ ุณภาพอากาศ ซึง่ จะเรียนใน คาบตอ่ ไปมาลว่ งหน้า

ใบงานทรพั ยากรดนิ และการใช้ทด่ี นิ คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นสรุปองค์ความรทู้ ี่ไดจ้ ากทรัพยากรดินและการใชท้ ่ีดิน เปน็ แผนผงั ความคดิ



แผนการจดั การเรียนรู้ ชือ่ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เร่อื ง มนุษยก์ บั ความย่ังยืนของส่ิงแวดล้อม แผนการสอนที่ 15 เร่ือง ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ รายวชิ าชีววิทยา 6 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 รหัสวิชา ว 33206 ครผู สู้ อน นางสาวจนั จริ า ธนนั ชัย ตาแหน่ง พนักงานราชการ เวลาทใ่ี ช้ 2 ชวั่ โมง ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิน้ งาน ประเมนิ ผล 1. หนงั สือเรียน 4. สบื คน้ ขอ้ มูล อภปิ ราย น้า ดิน อากาศ ป่าไม้และสัตว์ปา่ 1. ใบงาน ผา่ นระดับคะแนน การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชีววิทยาเล่ม 6 ของ สถาบนั ส่งเสรมิ การ เรอื่ งระบบนิเวศและ เปน็ ทรัพยากรธรรมชาติทสี่ า้ คัญ ผลกระทบจาก ร้อยละ 60 ขึนไป 1. ขันสร้างความสนใจ สอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี ทรพั ยากรธรรมชาติมา และจา้ เปน็ ต่อการดา้ รงชวี ิตของ มลพิษทางอา ครนู ้าอภิปรายทบทวน เรอ่ื ง การ 2. อนิ เทอร์เนต็ ประยกุ ต์ใชเ้ พอ่ื แก้ปญั หา มนุษย์ มนษุ ยน์ า้ กาศ ตรวจสอบคณุ ภาพอากาศ และการวิเคราะห์ จดั การ และหาแนวทาง ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ ถา้ ใช้ คณุ ภาพอากาศ ท่เี รียนผา่ นมา จากนันนา้ ภาพ ในการอนรุ ักษ์ฟน้ื ฟู ทรพั ยากรอยา่ งไมเ่ ห็นคุณค่าจะ ข่าวเก่ยี วกับผลกระทบจากมลพษิ ทางอากาศ ส่ิงแวดล้อม สง่ ผลให้ปรมิ าณของ เชน่ การลดลงของโอโซน ปรากฏการณโ์ ลกร้อน 5. จดั นทิ รรศการ ทรัพยากรธรรมชาติลดลง และ ปรากฏการณ์เรือนกระจก และการเกิดฝนกรด เสวนาวชิ าการเก่ียวกับ กอ่ ให้เกดิ มลพษิ ต่อสิ่งแวดลอ้ ม เปน็ ตน้ (หรืออาจน้าภาพเก่ยี วกบั ผลกระทบจาก ปัญหาสิ่งแวดล้อมใน รวมทงั ส่งผลกระทบต่อคณุ ภาพ มลพษิ ทางอากาศ ดังกล่าว มาใหน้ ักเรยี นดแู ละ ทอ้ งถิน่ แนวทางการ ชีวติ ของมนษุ ย์ด้วย ดงั นัน มนุษย์ อภิปรายรว่ มกนั ) แกไ้ ขปญั หา การใช้ จงึ ตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจ 2. ขันส้ารวจและคน้ หา ทรัพยากรอย่างย่ังยนื เกยี่ วกับทรัพยากรธรรมชาติ เพ่ือ 1. ครใู หน้ ักเรยี นท้ากจิ กรรมท่ี 23.5 รว่ มกบั ชมุ ชน ใชแ้ ละจดั การไดอ้ ย่างเหมาะสม ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรมที่ 23.5 ผลกระทบจากมลพิษทาง อากาศ

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ้ งาน ประเมนิ ผล และสิง่ แวดล้อมเพื่อเป็นแนวทาง จดุ ประสงค์ของกิจกรรม เพื่อให้นักเรยี น ในการดา้ เนินงาน สามารถ ในสงั คมท่ีมีการพัฒนา 1) สบื คน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกับมลพษิ ทาง อยา่ งย่ังยืน จะตอ้ งมกี ารจัดการ อากาศท่ีก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อสงิ่ มีชีวติ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมท่ดี ี ซ่ึงตอ้ งอาศยั 2) วิเคราะห์ถงึ สาเหตุ ผลกระทบ ความรว่ มมอื จากหลายๆฝา่ ย ทงั และเสนอแนะแนวทางป้องกันการเกดิ มลพิษทาง ภาครฐั และเอกชน ในเรอ่ื งการ อากาศ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมการใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติอยา่ งถูกวิธี 2. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปราย เกยี่ วกบั ผลกระทบจากการเกิดมลพิษทางอากาศ โดยยกตวั อย่าง เช่น 2.1 การลดลงของโอโซน โอโซนส่วนใหญ่อยู่ในบรรยากาศชันสตราโตส เฟียร์สูงจากพืนผิวโลกขึนไป 12-50 กโิ ลเมตร เมือ่ รังสจี ากดวงอาทติ ยส์ อ่ งมายังผวิ โลก รงั สี สว่ นหนึง่ จะเป็นรงั สคี ล่นื สันหรือรังสี อลั ตราไวโอเลตจะถกู โอโซนดูดกลนื ไว้ และ บางสว่ นจะถกู สะท้อนกลบั หรือกระจายไปใน บรรยากาศ โอโซนจงึ ท้าหน้าท่ปี อ้ งกนั ไม่ให้รังสี อลั ตราไวโอเลตสอ่ งลงมาบนผิวโลก ซึ่งก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อพืชและสตั วไ์ ด้ หากปราศจากโอโซน แลว้ สิ่งมชี วี ติ บนโลกจะไม่สามารถเจรญิ เตบิ โตได้ โอโซนประกอบด้วยออกซิเจน 3 อะตอม ซึง่

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สอื่ /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล เกดิ ขึนเองตามธรรมชาติ คือ แสงอาทิตย์ท่ีมี รังสอี ัลตราไวโอเลตทช่ี ่วงคลืน่ 180-240 นาโน เมตร เปน็ ตวั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าทา้ ใหโ้ มเลกลุ ของ ออกซเิ จน (O2) แตกออกเปน็ อะตอมออกซิเจน (O) แล้วไปรวมตวั กบั โมเลกลุ ของออกซิเจนได้ เป็นโอโซน (O3) ดงั สมการ บรรยากาศชันสตราโตสเฟยี ร์ทมี่ คี วามสูง 20-25 กโิ ลเมตร เปน็ ช่วงท่มี ีโอโซนหนาแน่นมากทส่ี ุด ข้อดีของโอโซน มนุษย์นา้ โอโซนมาใช้ประโยชน์ ดังนี 1. ใชใ้ นอตุ สาหกรรมอาหารทางการเกษตร ชว่ ยในการเกบ็ รกั ษาพชื ผล ในไขไก่สามารถใช้ โอโซนในการทา้ ลายแบคทเี รีย 2. ใช้ในการท้าให้อากาศสะอาดปราศจากกล่ิน เหม็น 3. ใชท้ ้าความสะอาดขวดบรรจนุ ้าอดั ลม 4. ใชใ้ นกระบวนการผลิตไวน์ น้าผลไม้ เหล้า ฯลฯ 5. ใชใ้ นการฆา่ เชือโรคในน้าเช่นเดียวกบั การเตมิ คลอรนี

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สอื่ /แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล 6. ใช้ในการท้าลายสีในแมน่ า้ ทีเ่ กิดจากดินหรือ พืชใตน้ ้าท้าให้นา้ มสี ีตามธรรมชาติ สาเหตปุ รมิ าณโอโซนในชนั บรรยากาศลดลง สาเหตุทที่ า้ ใหป้ รมิ าณโอโซนในบรรยากาศลดลง มาจากสารเคมีท่มี นุษย์ผลติ ขึนคอื คลอโรฟลูออโร คาร์บอน (chorofluorocarbons เขยี นยอ่ วา่ CFCs) หรือสาร CFC (ซีเอฟซ)ี เป็นตัวทา้ ลาย โอโซน เป็นสารซึ่งใชใ้ นตู้เย็น ใช้ท้าโฟมและ พลาสตกิ บางชนิดและใช้เปน็ สารขบั ดันใน กระป๋องสเปรย์ สารซีเอฟซไี มล่ ะลายน้า นา้ ฝนจึงไมส่ ามารถชะลา้ งลงสูด่ นิ ได้ สาร ซีเอฟซจี งึ สามารถอยใู่ นบรรยากาศไดเ้ ปน็ เวลานาน และใช้เวลา 8-12 ปี เคล่อื นขนึ สู่ บรรยากาศชันสตราโตสเฟยี ร์ซงึ่ เป้นบรเิ วรท่มี ี โอโซน ผลกระทบจากโอโซนในบรรยากาศมีปริมาณ ลดลง 1. ผลกระทบต่อมนษุ ย์ ทา้ ใหต้ าเป็นต้อ ตาพร่า มัว เปน้ มะเร็งท่ีผวิ หนัง ผวิ หนา้ เหีย่ วยน่ ก่อนวัย ผิวหนงั ไหมเ้ กรยี ม เน่ืองจากไดร้ ับรงั สี UV ท่ี ส่องผ่านจากดวงอาทติ ย์ ผา่ นชอ่ งโหว่ ของโอโซน มาสมู่ นษุ ย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook