'ร>: /e*y(D'? /X
ivM t %*,^ร01i Ml ฟม o พระธรรมเทศนาของ พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตซีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี ขอมอบเป็นธรรมบรรณาการ
นิทานฃาดก เล่ม 0 พระธรรมเทศนาของ พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ฑตตซีโว) รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี จัดพิมพ์และพิมพ์โดย บริษัท คราฟืคอาร์ตพรนติ้ง จํไกิท ๑๐๙๑๙-๒® ถนนนเรศ แขวงส์พระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ ๑๐๕๐๐ โทร. ๐-๒๒รท๓-๐ฅ๐๒-๕ โทรสาร ๐-๒๒๓๗-๕๙๔๕ E-mail : [email protected] จัดจัาหน่ายโดย บริบท บี!อ็น!ฟิ บุเกส์ จำ ภัค ๑๐๗ ถนนนเรศ แขวงส์พระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ ๑๐๕๐๐ โทร. ๐-๒๒๓๕-๗๗๗๕,๐-๒๒๓๕-๗๙๗๔ โทรสาร ๐-๒๒๓๗-๕๙๔๕ ธนาเนติส์งจ่าย \"บริษัท บีเอนเค บ๊คส์ จำ กัด\" ปณ.กสาง ลิฃสิทธิ้เป็นของมูลนิ00รรมกาย ISBN 974-89321-0-9 ราคา G)00 บาท 004-2-0744-3000
คาปรารภ คนในโลกนี้อยากทำดี อยากเป็นคนดีทุกคน แต่เพราะเหตุที่ ไม่มีต้นแบบดีๆ เป็นแบบอย่าง จึงต่างคิดหามาตรฐานทำความดี ต่างๆ กันไป ที่พอมีปัญญาก็ทำดีถูกวิธีไต้สร้างสมความดีเป็นบารมีเพิ่มพูน ติดตัวไปไม่เสียทีที่ไต้เกิดมาเป็นคน แต่ที่มีปัญญาน้อยเห็นผิดเป็นชอบ ก็หลงทาง ขาดทุนไปชาติหนึ๋ง ต้วยเหตุนี้ เราจึงควรคิกษาต้นแบบการทำความดีจาก \"ชาดก\" แม้ว่ามีบางเรื่องที่เป็นนิทานพื้นบ้านปนเปเข้ามา แต่กระนั้นก็ดี เราก็น่า จะคิกษาชาดกในต้านที่เป็นวัฒนธรรมชาวพุทธ แทนที่จะตั้งข้อกังขา ในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด เมื่อเดีอนมีถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๙ ระหว่างที่เตินทางไปยุโรป และประเทศอังกฤษ อาตมภาพไต้มีโอกาสพบปะ สนทนากับอาจารย์ ทางปรัชญาในมหาวิทยาลัยออกชฟอร์ด และเคมบริดจ์หลายทำน ศาสตราจารย์ทำนหนึ่งไต้ให้ข้อคิดว่า ทำ นไต้ทราบข่าวว่าขณะนี้พระภิกษุไทย และพุทธศาสนิกชน ชาวไทยไม่สนใจชาดก เนึ่องจากเพราะไต้พบว่า บางเรื่องมีนิทานพื้นบ้าน มาปะปนอยู่ต้วย เดี๋ยวนี้ใครพูดถึงชาดกทำให้รู้สิกว่าเป็นเรื่องศรื่าครึ งมงาย
ดังtfนท่านจึงขอฝากเตือนใจว่าคนที่คิดอย่างนี่นนแหละงมงาย เพราะถ้าเราเรียนแต่ทฤษฏีล้วนๆ เราก็ได้แต่ท่องจำเป็นเพียงความรู้ดิบ ความรู้เกิดจากการจำไfนไม่สามารถนำมาใช้งาน อย่าว่าแต่จะโปสอน ลูกพสานเสย แม้แต่จะนำมาสอนดัวเองก็ไม่ได้ ความรู้ทางทฤษฏีเช่น นี้ผู้เป็นครูบาอาจารย์ต้องสองแล้วสองอีก กว่าจะไต้ความรู้สุกๆ ขึ้นมา ก็ฝานการสองชนิดผิดๆ ถูกๆ มาเล้ยมากต่อมาก แต่ถ้ามีเรื่องราว ประกอบ ก็จะมองเห็นวิธีการนำทฤษฏีมาใช้เปลี่ยนจากนามธรรมเป็น รูปธรรมไต้ช้ดเจนขึ้น ท่านคาสดราจารย์ไต้ยกด้วอย่างถึงนิทานอีสป ขึ้งเป็นเรื่อง ไม่จริงก็ยังเอามาสอนคนไต้ ส่วนนิทานชาดกเป็นวัฒนธรรมชาวพุทธ เป็นแบบแผนในการทำความตื เป็นเครื่องยืนยันการเวียนว่ายตายเกิด ชาวพุทธเองยังเมินไม่เอาใจใส่ใยตื เป็นการดูถูกคำสอนของพระ- ล้มมาล้มพุทธเจ้า แสะดูถูกด้วเอง ดังนั้นอาตมภาพจึงใคร่ขอให้เราลองพิจารณาความหมาย และ คุณค่าของนิทานซาดกช่งเป็นสมบ้ติทางปัญญาอันลํ้าค่าของชาวพุทธ ให้ลี่ถ้วนและรอบคอบ นิทาน แปลว่า เหตุเป็นเครื่องมอบให้^งผล, มูลเค้า, เรื่องเดิม, สมุฏฐาน ชาดก แปลว่า ประว้ติการทำความดีของพระอัมมาอัมพุทธเจ้า ที่มีมาในซาดีก่อนๆ นิทานซาดก มิใซ่เรื่องที่แต่งขึ้นเพื่อสอนคุณธรรม แต่นิทาน
ชาดก คือ เรื่องในอดีตชาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่พระองค์ทรง แสดงแก่พระภิกษุในโอกาฝ็ต่างๆ บางครั้งก็เพื่อแสดงภูมิหสังของผู้ที่ พระองค์ต้องการแสดงธรรมให้ฟิงบางครั้งก็เพื่ออธิบายเหตุการณ์ต่างๆ ที่ เกิดขึ้น เมื่ออ่านนิทานชาดก นอกจากจะไต้ทราบเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว เรายังไต้ทราบอุปนิสัยใจคอของบุคคล ในแง่มุมที่เราอาจนึกไม่ถึงว่า จะมิหรือเป็นไปไต้อีกต้วย ไม่เพียงแต่เท่านี้ เรายังทราบอีกว่า ทำ ไม เขาจึงเป็นเซ่นนั้น และพระพุทธองค์ไต้ทรงซ่วยเหลือเขาอย่างไรบ้าง ในวัฏสงสารอันยาวนานนับภพนับชาติไม่ถ้วนนี้พระพุทธองค์ เมื่อครั้งดำรงพระชนม์เป็นพระโพธิสัตว์ ไต้เวียนว่ายตายเกิดเป็นมนุษย์ บ้าง พลาดพลั้งไปเป็นสัตว์เดียรัจฉานบ้าง แต่ก็ไต้ประกอบคุณงาม ความดีมาทุกภพทุกชาติ จนกระทงไต้มาเป็น พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในพระชาติสุดท้าย ผู้ที่อ่านหรือพีงนิทานชาดก จึงควรอ่านหรือพีงต้วยความ พิจารณา และในที่สุด นำ หสักธรรมที่ไต้ไปใช้เป็นคุณประโยชน์แก่ตน เองและผู้อื่น จึงจะถือว่าถูกต้อง ส่วนความสนุกสนานเพลิดเพลินนั้น ให้ถือว่า เป็นเพียงผลพลอยไต้เท่านั้น จึงจะนับว่าไต้ประโยชน์จาก นึทานชาดกที่พระพุทธองค์ทรงแสดงไว์ให้แล้วอย่างแท้จรืง <9 มกราคม ๒๕๓9
คำ นำ ในระหว่างปีพุทธส์กราซ ๒๕๒๗ ถึงต้นปี ๒๕๒๘ หลวงพ่อ ทัตตซีโวไต้นำ นิทานซาดกมาแสดงพระธรรมเทศนาทุกบ่ายวันอาทิตย์ ติดต่อกันเป็นเวลากว่า ๑ ปี การเล่านิทานชาดกของหลวงพ่อมิไต้เป็น เพียงการเล่าเรื่องล่กันฟ้งอย่างเดียวเท่านั้น แต่ท่านไต้อธิบายสรุบ่ และวิเคราะห์ชาดกเรื่องนั้นๆ ทั้งยังให้ข้อคิดจากชาดกอันเป็นบ่ระไยชนํ ต่อผู้พีงอย่างยิ่งทำให้การพีงพระธรรมเทศนาเป็นเรื่องที่ต้องติดตามพีง ติดต่อกันทุกอับ่ดาห์ผู้พีงต่างจดบันทึกเอาไว้เพื่อจะไต้อ่านอีกในภายหลัง อาทิตย์ใดที่มิได้ไบ่วัดทำให้ต้องพลาดเรื่องชาดกก็จะต้องติดตามชออ่าน จากบันทึกของกัลยาณมิตรที่ไต้บันทึกไว้ กาลเวลาผ่านไบ่ ผู้ที่เศยพีงนิทานชาดกยังศงระลึกถึงเรื่องราว ที่สนุกสนานของชาดก แม้จะไต้มิการนำนิทานชาดกหสายเรื่องมา เรียบเรียงใหม่ ล่าหรับนักอ่านรุ่นเยาว์ แต่หลายคนยังคงระลึกถึง ต้นเรื่อง ที่หลวงพ่อไต้แสดงพระธรรมเทศนาไว้ นิทานชาดกที่บรีษฑ กราพีคอาร์ตพริ้นติ้ง จำ กัดไต้รับอนุญาต ให้นำมาจัดพีมพไนครั้งนี้เป็นการรวมหัวข้อนิทานชาดกที่หสวงพ่อเทคนํ ทั้งหมดเรียงล่าดับในอรรถกถา จากวรรค 9 ถึงวรรค ๗ และเพื่อ ความเหมาะสมในการจัดพิมพ์ จึงไต้แยกพิมพ์เป็น ๗ เล่ม บริษัท กราพิคอาร์ตพริ้นติ้ง จำ กัด ขอกราบขอบพระคุณ หลวงพ์อทัตตซีไว ที่ไต้อนุญาตให้จัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ขึ้น บริพั กรา(รคอารตพรนติ้ง จำ กัด
mm mพ อป็ณณกชาดก ๒๖ วัณณุปถชาดก ๓๔ เสรีววานิชชาดก ๔๔ ๖๔ จุลสกเศรษฐีชาดก ตัณฑุลนาฬิชาดก ๘๒ เทวธรรมชาดก ๙๘ กัฏฐหาริชาดก ๑6)0 มฆเหวชาดก ๑๑๘ สุขวิหาริชาดก ๖๒๓) วรฝกลมาธ
อปีณณกฃาดก f0S. ซาดกว่าด้วยข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันความผิดพลาด สถานที่ตรัสซาดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัฅถี สาเหตุที่ตรัสซาดก วันหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีและบริวารได้นำดอกไม้ธูปเทียน และสิงของควรแก่สมณะบริโภคไปกราบถวายบูชาพระสัมมาส์มพุทธ- เจ้าและพระสงฆ์ ณ เซตวันมหาวิหารตามปกติ ในวันนั้นมีสหายของ ท่านเศรษฐีอีก ๕00 ศน ซึ่งเป็นสาวกของ อัญญเดียรถีย์ ตามไปด้วย นิทานชาดทเล่มทนง ร)(ร)
ครั้นฟ้งพระธรรมเทศนาจบแล้ว สหายของอนาถบิณฑิกเศรษฐี ๕00 ศนนั้น เกิดศรัทธาเลื่อมใสในพระล้มมาล้มพุทธเจ้าอย่างเปียมล้น จึงละ มิจฉาทิฐิ ศวามเห็นผิด เลิกนับถือล้ทธิอัญญเดียรถีย์ ประกาศ ตนเป็น พุทธมามกะ ถือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะที่พึ่ง ตลอดไป นับแต่วันนั้นเป็นต้นมา ต่างก็ตั้งใจไปรัดให้ทาน รักษาดีล เจริญภาวนามิไต้ขาด ต่อมา พระล้มมาล้มพุทธเจ้าเสด็จจากเซตวันมหาวิหาร นศรสาวัตถืไปประทับ ณ กรุงราชศฤห์ พวก อุบาสก สาวกเก่า อัญญ เดียรถืย์ทั้ง (Too ศน ก็เลิกไปรัด หันกลับไปนับถืออัญญเดียรถืย์ ตามเดิมอีก ศรั้นอีก ๗-๘ เดีอนต่อมา พระล้มมาล้มพุทธเจ้าเสด็จกลับไป ยังเซตวันมหาวิหารตามเดิม อัญญเดียรถืย์ทั้ง ๕00 ศนนั้น ก็ตามอนาถ บิณฑิกเศรษฐีไปวัดอีก พระล้มมาล้มพุทธเจ้าจึงตรัสเตีอนสติต้วย การตรัส อานิสง^ของการบูชา พระรัตนตรัย ว่ามีอานิสงส์มาก คีอ ๑. ผู้ถีงพระรัตนตรัยเป็นสรณะที่พึ่ง ย่อมไม่ไปอบาย คือไม่ไป เกิดในนรก เป็นต้น ๒. ผู้ถีงพระรัตนตรัยเป็นสรณะที่พึ่ง ย่อมไปบังเกิดในเทวโลก ไต้เสวยทิพยสมปีตอย่างแน่นอน ฉะนั้น การที่อัญญเดียรถืย์ทั้ง ๕00ศนนี้เป็นศนโลเลกลับกลอก รับไตรสรณศมน์แล้วละทิ้งเสิย ย่อมเป็นศวามผิดมหันต่ไม่สมศวร อย่างยิ่ง ๑๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
พระสัมมาส์มพุทธเจ้าทรงระลึกชาติหนหลังของอัญญเดียรถีย์ ทั้ง ๕00 คนนี้ด้วย บุพเพนิวาลานุสติญาฌ แล้วตรัฝ็เป็นปริศนา- ธรรมว่า \"แม้ในกาลก่อนมนุษย์ทั้งหลายถือเอาติงทีใม่ใช่สรณะว่า เป็น สรณะโดยการถือเอาด้วยการคาดคะเน โดยการถือเอาผิดๆ จึงตกเป็น ภักษาหารของยักษ[นทางกันดาร ถึงความพินาศอย่างใหญ่หลวง ติวน เหติามนุษย์ผู้ถือการยึดถือชอบธรรม คือ ยึดถือเหตุผล ยึดถือไม่ผิด ได้ถืงความสวัสดีในทางกันดาร\" ครั้นตรัลแล้วก็นิ่งเลึย อนาถบิณฑิกเศรษฐีจึงกราบทูลอาราธนา พระพุทธองค์จึงตรัสเล่า อป็ณณกชาดก มีความโดยย่อว่า เนื้อหาซาดก ครั้งหนึ่ง ในอดีตกาล ณ เมีองพาราณลึ มีพ่อค้าใหญ่ ๒ คน เป็นเพื่อนกันต่างนำสินค้าบรรทุกเกวียนไปขายยังต่างถิ่นเมีองไกลเป็น ประจำ แต่นิสัยใจคอของพ่อค้าทั้งสองคนนี้แตกต่างกันราวฟ้ากับดิน พ่อค้าคนหนิ่งเป็นคนเจ้าอารมณ์ หูเบา เชื่อคนง่าย และขาด ความสังเกต จึงมักตัดสินใจผิดพลาดเป็นประจำ ล่วนพ่อค้าอีกคนหนิ่งเป็นคนมีสติปัญญา มีความรูดี และช่าง สังเกต ที่ล่าคัญที่สุด คือไม่หูเบา ไม่เชื่อคนง่าย นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๓
พ่อค้าช่างสิงเกตนี้มีหลักธรรมประจำใจที่เรียกว่า อปัณณก ธรรม แปลว่า ข้อปฏิบัติที่ไม่ผิดพลาด ๓ ประการคือ 9. เตรียมป้องกันความลุ่มหลงเมามัวในการดูรูปสวยๆใน การฟิงเสิยงไพเราะในการสูดกลิ่นหอมหวนในการลิ้มรส ในการลัมผัส ในอารมณ์น่าใคร่ อันเป็นเหตุให้ต้องเสิยงานโดยมี อินทรียลังวร คือ สำ รวมตา หู จมูก ลิ้น กาย แสะใจ ของตน เมื่อไต้เห็น ไต้ฟ้ง ไต้กลิ่น ไต้ลิ้มรส ไต้แตะต้อง ไต้นึกคืต จึงมีสติมั่นไม่ยินดียินร้าย ไม่ประมาท ว่าลิ่งเหล่านั้นมีโทษเพียงเล็กน้อย มีดวามตื่นตัว รู้จักระแวงภัยจากวัตถุ แสะอารมณ์น่าใคร่ แสะรู้จักระวังป้องกันภัยที่จะมาถึง เสมีอนกระต่าย ขุดโพรงอาตัยอยู่เพียงโพรงเดียว แต่ขุดปล่องเตรียมทางหนึทีไล่ไว้ ถึง ๕ ปล่อง ๒. เดรียมป้องกันป้ญหาเรื่องปากท้อง โดยเฉพาะเรื่อง อาหารการกิน(ล้ากินน้อยไปก็ไม่มีแรง ล้ากินมากไปก็ง่วงเหงาหาวนอน จิตใจฟ้งช่วน ล้ากินไม่เป็นเวสา ป้าย่อยก็กัดกระเพาะสำไล้ ล้ากิน ลิ่งมีนเมาให้โทษก็เสิยสุขภาพ) โดยมี โภชเนมัตตัญฌุตา คือรู้จัก ประมาณในการกินอาหาร ไต้แก่ กินแต่พอดีไม่มากไม่น้อยเกินไป เลือกกินแต่ของที่เป็นประโยชน์แก่ร่างกายเท่านั้น ในการรับประทาน อาหารเมื่อรู้สิกว่าอีก ๔-๕ คำ จะอิ่มให้หยุดเสิย แล้วตื่มป้าแทนลักแล้ว หนึ่งก็จะอิ่มพอดี ๓. เตรียมป้องกันป้ญหาเกียจคร้านลันหลังยาว ไม่เห็นแก่ ความสุขในการนอน โดยประกอบ ชาคริยานุโยค คือแกสติให้เป็นคน ตื่นตัวอยู่เสมอ เช่น ระลึกถึงหน้าที่การงานที่รับผิดชอบตสอดเวสา ๑(T นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ออกกำลังแต่พอดี พักผ่อนตามเวลาอันควร สวดมนต์ภาวนา รักษาดีล เป็นกิจวัตร นอกจากตนเองจะตั้งอยู่ในอปัณณกธรรมทั้ง ๓ประการนี้ แล้ว พ่อค้าช่างลังเกตยังอบรมบริวารทั้ง ๕00 คนของตน ให้ปฏิบตตาม อีกด้วย อยู่มาคราวหนี่งพ่อค้าทั้งสองคนต่างคิดจะเดินทางข้ามทะเล- ทรายข้งกันดารมาก ไปค้าขายยังเมีองเดียวกัน แต่ไม่อาจไปพร้อม กันได้ เพราะอาหาร นํ้า และหญ้าระหว่างทางจะขาดแคสนไม่พอเพียง สำ หรับคนแสะโค พ่อค้าหูเบาคิดว่าตนควรจะออกเดินทางไปก่อนด้วยเหตุผลว่า ๑. หนทางยังราบเรียบ ไม่ถูกเหยียบยั๋าให้แตกเป็นฝ่น ๒. หญ้าเลี้ยงโคก็มีเต็มที่ ยังไม่มีใครแตะต้อง ๓. พีซผักผสไม้ก็ยังบริบูรณ์อยู่ทั้งสองข้างทาง ๔. นํ้าตามทางยังใสสะอาดอยู่ น่าดื่มกิน ๔. สามารถตั้งราคาสินค้าขายไต้ตามใจขอบ ส่วนพ่อค้าช่างลังเกดคิดว่าควรจะออกเดินทางไปทีหลัง ต้วย เหตุผสว่า 'ริ). หนทางที่ขรุขระจะราบเรียบสม่าเสมอ เพราะคน'ชุดก่อน ถากถางไว้แล้ว ๒. หญ้าเลี้ยงโคก็จะงอกขึ้นใหม่ อ่อนกำลังดี ๓. พีซผักขึ้งคนชุดแรกเด็ดกินไป จะแตกยอดขึ้นมาใหม่ อ่อน นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑&'
กำ ลังน่ารับประทาน ๔. ในบริเวณไม่มีนํ้า คนชุดแรกก็จะต้องขุดปอนํ้าเอาไว้แล้ว ๕. การตั้งราคาสินค้าเป็นการยาก ถ้าหากขายสินค้าตามที่ คนชุดแรกตั้งไว้ย่อมสะดวกกว่า พ่อค้าหูเบาน่าบริวาร ๕00 คน พร้อมค้วยเกวียน ๕00 เล่ม บรรทุกสินค้าไปเต็มที่ เตริยมนํ้าไล่ตุ่มใหญ่ๆ บรรทุกเกวียนไปค้วยกะ ให้พออาบกินตลอดระยะทางกันดาร ๖0 โยช!!เดินทางไปจนเข้าเขต ทะเลทราย จนถึงเขตแดน ยักษ์ กินคน พวกยักษ์กลุ่มหนึ่งประมาณ ๒0 ตน จำ แลงกายเป็นคนนึ่งรถเทียมค้วยโคขาวปลอดประดับ ประดาอย่างลวยงามลวนทางมา โคลนติดล้อหนาเตอะเหมือนเพิ่ง เดินทางฝ่าลายฝนที่ดกหนักมาใหม่ๆ แต่ละคนท่าทางแข็งกระค้าง กำ แหงหาญ ยีนบ้าง นึ่งบ้างบนรถ เคี้ยวกินเหง้าบัวอย่างเอร็ดอร่อย แลดงว่าลองข้างทางที่พวกเขาฝานมานั้น มืห้วยหนองคลองบึงเต็ม ไปหมด ยักษ์แปลงนั้นแสร้งพูดหลอกพ่อค้าหูเบาให้ตายใจว่า หนทาง ที่ฝานมานั้นฝนตกหนัก นํ้าท่าอุดมลมบูรณ์ ไม่จำเป็นค้องขนตุ่มนั้าไป ให้หนักเปล่า แล้วขับเกวียนฝานไป พอลับตาก็กลับเป็นยักษ์กินคน ย้อนติดตามหลังขบวนเกวียนของพ่อค้า พ่อค้าหูเบาเห็นแก่ความสะดวกลบาย ไม่คิดหน้าคิดหลังให้ รอบคอบลังบริวารให้เทนํ้าในตุ่มทิ้งเสิยหวังจะไค้ป้าปอหน้า แต่ เดินทาง ไปตลอดวัน จะหานํ้าลักหยดก็ไม่พบ จึงรู้ว่าถูกหลอกเสืยแล้ว ครั้น ตกเย็นก็อ่อนเปลี้ยเพลียแรง หิวโหย อดทั้งข้าวและนํ้า ทั้งคนและโค ๑๖ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ก็ฝ็ลบไสล กลายเป็นอาหารอันโอซะของยักษ์กินคนในคาคืนนั้นเอง เหลือไว้แต่เกวียนบรรทุกสินค้า จอดอยู่กลางทะเลทรายอันเวิ้งว้าง เท่านั้น ต่อมาประมาณเดือนครึ่งพ่อค้าช่างอังเกดก็ออกเดืนทางพร้อม ด้วยบริวาร ๕00 คน ขับเกวียน ๕00 เล่ม ตามมาอย่างระมัดระวัง ค้าที่ไหนก็พักที่นั้น ก่อนนอนก็จัดขบวนเกวียนให้เรียบร้อย และตั้ง เวรยามคอยป้องกันรักษาสินค้าอย่างรัดกุม จนกระทั่งล่วงเข้าเขต ทะเลทราย พ่อค้าช่างอังเกดก็เรียกประชุมบริวารทั้งหมดให้โอวาท แก่คนเหล่านั้นให้ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท ยํ้าให้ลึอปฏิบ้ดือปัณณก- รรรมทั้ง ๓ ประการอย่างเคร่งครัด คือ มีอินทรียอังวร โภซเนมัด ตัญฌุตา และซาครียานุโยค แล้วตั้งกฎข้อบังคับขึ้นเป็นหอักปฏิบัติ ชั่วคราว ๓ ข้อ คือ ๑. ให้ทุกคนใข้นํ้าอย่างประหยัด ๒. ห้ามรับประทานพืซผักผลไม้ประหลาด ที่ไม่เคยรู้จักมาก่อน เป็นการป้องกันไม่ให้หลงกินพันธุไม้มีพิษ ๓. ให้ช่วยกันอังเกดธรรมซาติ และความเคลื่อนไหวผิดปกติ ต่างๆ ตลอดทาง ไม่เห็นแก่พักผ่อนหอับนอน เมื่อเดินทางข้ามทะเลทรายมาได้ครึ่งทาง ยักษ์กินคนก็แสดง ตนเป็นคนขับเกวียนสวนทางมา และทำอุบายเช่นเดิมพ่อค้าช่างอังเกด พอเห็นก็จับพิรุธได้ทันทีว่า ๑. บุคคลเหล่านี้มีท่าทางแข็งกร้าวห้าวหาญผิดมนุษย์ ๒. บุคคลเหล่านี้มีนัยน์ตาแดงเหมีอนคนโกรธจัด ผิดมนุษย์ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑ฝ
๓. บุคคลเหล่านี้แม้ยีนอยู่ท่ามกลางแลงแดดก็ไม่มีเงาปรากฏ ผิดมนุษย์ พ่อค้าช่างสังเกตเ^อว่า กลุ่มบุคคลประหลาดที่ลวนทางมานี้ ต้องไม่ใช่มนุษย์แน่นอน คงจะเป็นยักษ์จำแลงมาทำอุบายหลอกลวง จึง ประชุมให้โอวาทแก่บริวารทั้ง ๕:00 คน ชี้แจงให้ทราบถึงธรรมชาติ ของฝนตกว่า 9. เมื่อฝนตก ลมฝนอันเย็นชุ่มชื่นจะต้องพัดครอบคลุมไป เป็นระยะทาง ๓ โยซน่ แต่พวกตนมาใกล้บริเวณที่ว่าฝนตกแล้วก็ยังมีได้ ต้องลมนั้นเลย ๒. เมื่อฝนดก ฟ้าย่อมแลบแปลบปลาบแลเห็นไดในระยะทาง ๕:-๖ โยซน่ แต่ก็ยังไม่เคยเห็นสายฟ้าแลบสักแปลบเดียว ๓. เมื่อฝนตก เมฆฝนดำครึ้มย่อมปรากฏให้เห็นไดในระยะทาง ๓ โยชน์ แต่ก็ยังไม่เคยเห็นเมฆแม้แต่ก้อนเดียว ๔. เมื่อฝนดกฟ้าย่อมร้องครึนๆ ไปไกล ไต้ยินในระยะทาง ๒ โยชน์ แต่ก็ยังไม่เคยได้ยินเสียงฟ้าร้องสักครืนเดียว ครั้นไต้ชี้แจงให้บริวารทราบดังนี้แล้ว จึงกำชับให้ทุกคนใช้นํ้า อย่างประหยัดยิ่งขึ้น เร่งชับเกวียนไป เย็นวันนั้นเองก็เดินทางไปถึง บริเวณที่กองเกวียนของพ่อต้าหูเบาจอดสงบอยู่ รายรอบด้วยกอง กระดูกของคนและโค ที่ยักษ์กินทิ้งไว้ พ่อค้าช่างสังเกตแกปฏิบ้ติอปัณณกธรรมมาเป็นปกติวิสัย จึงไม่ หวาดหวั่นครั้นคร้ามกุมสติได้อย่างดี สังให้บริวารปลดเกวียนออกตั้ง กองค่ายเกวียนเป็นวงรอบทั้งคนและโคแล้วพักกินอาหารเย็นท่ามกลาง (ร)๘ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
กองเกวียนใfน ตกคาก็จัดคนแข็งแรง มีอาวุธครบมือผลัดกันอยู่เวร ยามตลอดคืน ยักษ์จึงไม่กล้าเข้ามากลํ้ากราย รุ่งเข้าก็ลังบริวารใ'พ้รีบทำกิจส่วนตัวใ'ท้โคกินหญ้า แล้วเสือก เอาแต่เกวียนที่แข็งแรงแน่นหนาไว้ คัดเอาสินค้ามีค่าของพ่อค้า'พูเบา ตาใจชอบ แล้วออกเดินทางไปยังเมืองที่ตนปรารถนา ขายสินค้า เหส่า'นั้น ทั้งหมดได้กำไรงามกว่าที่คิดไว้ถึง ๒-๓ เท่าตัว และกลับส่ เมืองพาราณสิโดยลวัฝ็ดิภาพ 'นับแต่ครั้งนั้นเป็นต้นมา พ่อค้าและบริวารทั้ง ๕00 คน ล้วน ขาบซึ้งถึงอานิสงส์อันประเสริฐของอปัณณกธรรม ว่าเป็นธรรมสำหรับ คุ้มครองซีวิด และป้องกันความผิดพลาดไค้ดิเสิค ต่างคนต่างปฏินัติ อปัณณกธรรมเต็มที่ดามกำลังความสามารถของตน ทำ ใ'ท้เป็นผู้มืสติ มีเหตุผล รู้คุณและโทษ รู้ความเจริญและความเสือม รู้ประโยชน์และ มิใช่ประโยชน์ รู้ฐานะและมิใช่ฐานะ แล้วถือเอาฐานะที่ไม่ผิดไว้ ไม่ ถือเอาโดยการคาดคะเน เป็นผู้มืปัญญาปฏิบัติตรงตามหนทางของ บัณฑิตตลอดอายุขัย ครั้นละโลกแล้วก็ไปส่สุคติโลกสวรรค์ สมแก่ กรรมติที่ดนทำไว้โดยทั่วหน้า ท้ายที่สุดแห่งชาดก พระลัมมาลัม'พุทธเจ้า ตรัสสุภาษิตว่า \"การถือเอาโดยการคาดคะเนเป็นประมาณ จัดเป็นการถือที่ ผิด การถือดามเหตุผลซึ๋งเป็นจริง จัดเป็นการถือที่ถูก ถืงใดที่ไม่ผิด ผู้เป็นบัณฑิดย่อมถือถืงนั้น\" นิทานชาดกเล่มทนึ่ง ๑๙
ประชุมซาดก เมื่อจบซาดกแล้วพระพุทธองค์ทรงแลดงพระธรรมเทศนาให้ ลุ่มลึกยิ่งขึ้นไปตามลำดับ อุบาลกทั้ง(Too คนนั้น ส่งใจไปตามพระธรรม เทศนาด้วยใจจดจ่อ สามารถทำใจให้หยุดนิ่งที่ศูนย์กลางกายได้ เข้าถึง ธรรมกายพระโลดา เป็นพระโลดาบัน เที่ยงแห้ว่าจะได้บรรลุอรหัตผล เป็นพระอรหันต์ลึบต่อไปภายในไม่เกิน ๓) ซาติ เบื้องหน้า พระบรมศาลดา ศรั้นทรงแลดงพระธรรมเทศนานี้แล้ว ทรง ประชุมซาดกว่า พ่อค้าหูเบา ได้มาเป็นพระเทวทัด บริวาร ๕00 คนของพ่อค้าหูเบา ได้มาเป็นบริวารของพระเทวทัต บริวาร ๕00 คนของพ่อค้าช่างล้งเกต ได้มาเป็นพุทธบริษัท พ่อค้าช่างล้งเกต ได้มาเป็นพระองค์เอง ข้อคิดจากซาดก ๑. คนพาลย่อมถือเอาการคาดคะเนเป็นประมาณ จึงมัก ดัดสินใจผิดๆ เซ่อผิดๆ หูเบา ถือลึงที่ไม่เป็นลรณะว่าเป็นลรณะ เหมือนเห็นกงจักรเป็นดอกบัว ๒.ไม่ว่าในกาลไหนๆ ก็ดาม บัณฑิตย่อมหมั่นอบรมดนและหมู่ คณะให้ตั้งอยู่ในอปัณณกธรรมเป็นประจำ ผู้ที่จะประพฤติอปัณณกธรรม ให้ลมบูรณ์เต็มที่ด้องรักษาติล ๕ เป็นปกติ และแกลมาธิภาวนาอย่าง ลมั่าเลมอ ๒อ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
๓. บัณฑิตย่อมไม่ถืออารมณ์ตนเป็นใหญ่(อัตตารปไตย)ไม่ถือ คนหมู่มากเป็นใหญ่ไม่หลงค่านิยมผิดๆ ตามอังคม (โลกาธิปไตย) แต่ถือ ธรรม คือ เหตุผล ความถูกต้องเป็นใหญ่ (ธรรมาธิปไตย) ๔. อุปนิอัยใจคอ กรรมดี กรรมชั่ว ที่ตนทำไว้ไม่ลูญเปล่าย่อม ติดตามตนไปทุกภพทุกชาติ ๕. การไม่คบคนพาล เลือกคบแต่บัณฑิต ย่อมเป็นมงคลจริง ๖. การบูชาบุคคลที่ควรบูชา เซ่น ยกย่องบัณฑิตให้เป็นผู้นำ ยึดพระรัตนตรัยเป็นลรณะที่พึ๋ง ย่อมเป็นมงคลจริง ๗.การเป็นพหูสูต คืกษามาก ย่อมเป็นมงคลจริง ๘. การเป็นคนมีวินัย ตั้งอยู่ในโอวาทชองบัณฑิต ย่อมเป็น มงคลจริง ๙. การไต้ฟ้งธรรม ย่อมเป็นมงคลจริง ๑0. การแกตนให้เป็นคนไม่ประมาทไม่หวังนํ้าปอหน้าย่อมเป็น มงคลจริง ๑๑. การแกอินทรียอังวรชึ่งเป็นตบะ คือคุณเครื่องเผาผลาญ บาปอย่างหนึ่ง ย่อมเป็นมงคลจริง ๑๒.โลกนี้ โลกหน้า มีจริง ๑๓. พระอัมมาอัมพุทธเจ้าเป็นผู้บริสุทธิ'หมดจดจากกิเลลจริง วิธีปฏิบัติอป้ณณกธรรม ในระดับพระภิกษุ ๑. อินทรียอังวร ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ เห็นรูปต้วยดา ฟิงเลืยงด้วยหู ฯลฯ แล้วไม่ถือโดยนิมีด ไม่ถือโดยอนุพยัญชนะเพื่อ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๒๑
ไม่ให้อกุศลบาปกรรม คืออภิซฌาและโทมนัลหลั่งไหลเข้าส่จิตใจได้ โดยย่อ คือไม่ให้ยินดียินร้าย ในเมื่อได้เห็นรูป ฟ้งเสียง เป็นด้น ไม่ถือโดยนิมิต หมายถึงไม่ถือรวมๆ ว่า บุคคลนี้ลวยงามจริง หนอ หล่อจริงหนอ ไม่ถือโดยอนุพยัญชนะหมายถึง ไม่ถือแยกว่า แขนงาม ขางาม หน้างาม ฯลฯ การจดกั้นอภิซฌา และโทมนัล มิให้รั่วไหล เข้าครอบงำ จิตใจโดยทางดา หู จมูก ฯลฯ นี้ข้อว่า เป็นผู้สำรวมอินทริย์ด้วยดี เมื่อสำรวมอินทรีย์ดีแล้ว ก็เหมือนจดประตูบ้านไว้ดี โจรจึงเข้าบ้าน ไม่ได้ คืลย่อมอยู่อย่างครบถ้วน ๒.โภชเนมัดตัญญตา รู้จักประมาณในอาหาร พิจารณาอาหาร โดยแยบคายก่อนบริโภคว่า อาหารเหล่านี้ มิใช่จะบริโภคเพื่อเล่น เพื่อ มัวเมา เพื่อประดับ เพื่อดกแต่ง แต่บริโภคเพียงเพื่อให้กายนี้ดำรงอยู่ เพื่อให้ดำเนินไป เพื่องดเว้นการเบียดเบียน เพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์ ดังนั้น เราจะบำบัดเวทนาเก่า ไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึ้น การยังชีวิตให้ ดำ เนินไป ความไม่มืโทษและการอยู่อย่างผาสุก จะมืแต่เราดังนี้ ๓.ประกอบชาคริยานุโยค ชำ ระจิตจากนิวรณด้วยการ จงกรม ด้วยการนั้งลมาธิติดต่อกันตลอดวัน ในเวลากลางคืนก็จงกรม และทำสมาธิภาวนาตลอดปฐมยาม นอนสีหไสยาสน์ ตะแคงขวา เอาเท้าข้อนเท้า มืสติล้มปข้ญญะ ตั้งใจจะลุกขึ้นในมัซฌิมยาม ลุกขึ้น แล้วก็ริบเร่งชำระจิต จากนิวรณ์ด้วยการจงกรม ด้วยการนั้งสมาธิตสอด ปัจฉิมยาม ๒๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
อริฃายสัพท์ อป็ณณกซาดก (อ่านว่า อะ-ป็น-นะ-กะ-ชา-ดก) สาวก ผู้ฟิงคำสอน คํษย์ อัญญเดียรถีย์ นักบวซนอกพระพุทธศาสนาประเภทหนึ่ง นึ่ง มิจฉาทิฐิ หลงเข้าใจผิดว่าการทรมานตัวด้วยวิธีต่างๆ พุทธมามกะ ย่อมสามารถทำให้หมดกิเลสเป็นพระอรหันต์ได้ อุบาสก ความเห็นผิดจากทำนองคลองธรรมเซ่น เห็นว่า อานิสงส์ บิดามารดาไม่มีพระคุณต่อเรา นรก-สวรรค์ไม่มี บุญ-บาปไม่มี เป็นด้น พระรัตนตรัย หรือเรียกอีกนึ่อหนึ่งว่า พุทธคาสนิกซนหรือ ซาวพุทธหมายถึงผู้ยึดเอาพระรัตนดรัยเป็นที่พึ่ง ที่ระลึก เป็นแนวทางปฏิบิติ แสะเป็นแบบแผน ในการดำเนินซ่วิต ฆราวาสผู้ซายที่นับถึอพระพุทธคาสนาอย่างมั่นคง ผลบุญ ผลแห่งกุคสกรรม ประโยซน่ แปลว่าแก้วประเสรืฐ ๓ ดวง เป็นตัพทํเฉพาะ หมายถึง สิงเคารพนับถือสูงสุดของพุทธคาส- นิกซนได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ผู้ใด เคารพนับถือและปฏิบัติตามด้วยความจรืงใจ ย่อมสามารถยกใจของผู้นั้นให้สูงขึ้น พ้นจาก อำ นาจกิเสสทั้งหลายได้แสะนำความปลาบปลื้ม ใจมาให้ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๒๓
สรณะ แปลว่า ที่พึ่ง ที่ระลึก หมายถึงที่พึ่งทางใจ เมื่อ เกิดปัญหาชีวิตขึ้น ผู้ถึอสิงโตเป็นสรณะ ก็ จะระลึกถึงสิงนั้น ซาวพุทธพึ่งพระรัตนตรัย ด้วยการระลึกถึงคุณความดีของพระส์มมา สิ'มพุทธเจ้าที่ได้ทำไว้แล้วเป็นตัวอย่าง แล้ว ปฏิบัติตามพระธรรมคำล้งสอนอย่างเคร่ง ดรัต โตยมีพระสงฆ์ทำหน้าที่เป็นทั้งครูและ กัลยาณมิตรคอยแนะนำตักเตือนให้ บุพเพนิวาสานุสติญาณ ความรู้อันเป็นเครื่องระลึกได้ถึงขันธ์อันตน และล้ตว้อื่นเคยอาตัยอยู่ในกาลก่อน หรือ การระลึกชาตินั้นเอง โยชน์ ระยะทางยาว ๔00 เล้น ยักษ์ เป็นอมนุษย์พวกหนื่ง เป็นกายกึ๋งหยาบ กึ๋ง ละเอียด คีอไม่หยาบเท่ากายมนุษย์ แต่ไม่ ละเอียดเท่ากายเทวดา เพราะฉะนั้น บางครั้ง จึงเหาะได้ หายตัวได้เซ่นเดียวกับเทวดา แต่ในเวลาเดียวกันก็สามารถกินอาหาร หยาบๆ เซ่นเดียวกับมนุษย์ได้ เดิมทียักษ์ เคยเป็นมนุษย์มาก่อน แต่เป็นคนมินิล้ยมัก โกรธ ถึงแม้จะให้ทานรักษาดีสแต่ก็ทำด้วย อารมณ์ขุ่นมัว เมื่อละโลกไปแล้วจึงไปเกิด เป็นยักษ์ ๒(ร: นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
พระคาถาประจำชาดก อปณฺณกฏจานเมเก ทุติยํ อาหุ ตกฺกิกา เอตทฌฺฌาย เมธาวี ตํ คณฺเห ยทปณฺณกํ คนพวกหนึ่ง กล่าวฐานะอันหนึ่งว่า ไม่ผิด นักเตาทั้งหลายกล่าวฐานะอันนั้นว่าเป็นที'สอง คนมีปัญญารู้ฐานะและมีใซ่ฐานะนั้นแล้ว ควรถือฐานะที่ไม่ผิดไว้ M: นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๒&'
k f[■๚' วัณณุปคชาดก ซาดกว่าด้วยความเพียรไม่เกียจคร้าน สถานที่ตรัสซาดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สาเหตุที่ตรัสซาดก ในสมัยพุทธกาล มีพระภิกษุรูปหนึ่ง ประพฤติตนเรียบร้อยขยัน หมั่นเพียรในการภิกษาพระธรรมวินัยและช่วยกิจของสงฆ์อย่างดีเยี่ยม จนเป็นที่รักของเพื่อนพระภิกษุด้วยกัน นิทานชาดกเล่มหนง ๒๙
ครั้นสืกษาพระธรรมวินัยได้ครบ ๕ พรรษา แตกฉานในพระ ปริย้ติธรรมดีแล้ว จึงได้ไปขออุบายจากพระล้มมาล้มพุทธเจ้าเพื่อ เจริญภาวนาให้ใจสงบ แล้วกราบทูลลาไปทำความเพียรอยู่ในป่าลึก หวังจะได้เข้าถึงพระธรรมกายในตน จะได้อาล้ยพระธรรมกายนั้นเป็น เครื่องปราบกิเลส บรรลุมรรคผลนิพพานตามพระล้มมาล้มพุทธเจ้า และพระอรหันต์ทั้งหลาย ตลอดเวลา ๓ เดีอนในฤดูเข้าพรรษา พระภิกษุรูปนี้ได้ตั้งใจ เจริญภาวนา ปรารภความเพียรอย่างเต็มกำล้ง แต่มิได้ประลบความ สำ เร็จ ไม่ลามารถทำใจให้สงบได้แม้เพียงข้วครู่ นิมิตหริอโอภาล คีอ ความลว่าง ก็ไม่เคยเห็น เหตุที่เป็นเซ่นนี้เพราะไม่เคยปฏิป่ตธรรมอย่าง จริงจังมาก่อน และขาดกัลยาณมิตรอยู่ใกล้ซ่ดคอยแนะนำตักเตือน ขี้แจงให้กำล้งใจ และซ่วยแก้ไขข้อบกพร่องอันเป็นอุปสรรคในการ เจริญภาวนา เมื่อการปฏิป่ติธรรมมิได้เป็นไปตามที่คาดหวัง พระภิกษุผู้ตั้งใจ ปรารภความเพียรอย่างยิ่งก็ท้อใจ คิดว่าตนคงจะเป็นคนอาภัพไม่มี บุญวาลนาเซ่นผู้อื่น ถึงแม้จะนำเพ็ญเพียรต่อไปก็คงไม่ลามารถบรรลุ ธรรมในขาตินี้ได้ ควรจะกล้บไปปฏิบัติรับใช้พระล้มมาล้มพุทธเจ้า และพีงพระธรรมเทศนาให้ชุ่มข้นใจดีกว่า คิดตังนี้แล้วจึงเดินทางกล้บ เซตวันมหาวิหาร พระภิกษุทั้งหลายเห็นพระภิกษุรูปนี้กล้บมาอย่างท้อแท้จึงซ่วย กันให้โอวาทนานาประการ แล้วพากันไปเฝืาพระล้มมาล้มพุทธเจ้า ๒๘ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
เพี่อเป็นกำลังใจในการปฏิบ้ตธรรมของพระภิกษุรูปใ!นพระ ลัมมาลัมพุทธเจ้าจึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณแล้ว ตรัสเล่า วัณณุปถชาดก ดังนี้ เนื้อหาซาดก ในอดีตกาส ณ เมีองพาราณสิ มีพ่อค้าคนหนึ่งบรรทุกสินด้า ไปขายต่างเมีองเป็นประจำ คราวหนึ่งพ่อค้าแสะบริวารนำสินค้าบรรทุก เกวียน ๕:00 เล่ม เดินทางข้ามทะเสทรายเป็นระยะทางถึง ๖0 โยชน์ ในการเดินทางนั้น เนึ่องจากผืนทรายร้อนจัดมาก จึงค้องหยุดพักผ่อน ในเวสากสางวัน ต่อเมื่อรับประทานอาหารเย็นแล้วจึงเดินทางต่อไปไค้ เมื่อพ่อค้าแสะบริวารเดินทางรอนแรมใกล้จะถึงจุดหมายปลาย ทาง เหลืออีกเพียง 9 โยชน์ นึ่งใข้เวสาเดินทางอีกคืนเดียวก็จะข้าม พันเชดทะเลทราย พ่อค้าแสะบริวารต่างซะล่าใจ เมื่อรับประทาน อาหารเย็นแล้ว ก็ใข้นํ้าแสะพีนจนหมด ครั้นถึงเวลากลางคืนก็ออกเดินทางค้นหนนึ่งนั้งดูทิศทางจาก ดวงดาวบนท้องฟ้า เผลอหลับไปด้วยความอ่อนเพลืย กองเกวียนจึง เดินหลงทาง เข้าวันรุ่งขึ้นก็เดินวนกลับมาอยู่ที่เดิมบริวารทั้งหลายเลึก อ่อนล้าและหิวโหย พีนและนํ้าสำหรับหุงหาอาหารไม่มีเสิยแล้ว ต่าง พากันท้อแท้ทอดอาลัยไปตามๆ กัน พ่อค้าเห็นดังนั้น จึงคิดว่า ถ้าเราละความเพียรเลึยอีกคนหมู่ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๒๙
คณะก็จะถึงแก่ความตายเป็นแน่แท้ จึงออกเดินสำรวจดูบริเวณโดยรอบ พบว่ามีหญ้าแพรกกอหนึ่งขึ้นอยู่ แสดงว่าได้รับความขึ้นจากแหล่งนํ้า เบื้องล่าง จึงกลับไปบอกบริวารให้มาช่วยกันระดมขุดพื้นทรายใด้ กอหญ้านั้น ครั้นขุดไปจนลึกถึง ๖อ ศอกแล้วก็ยังไม่พบนํ้า กลับพบแต่ แผ่นหินขวางอยู่ เหล่าบริวารเห็นดังนั้นก็พากันหมดหวัง ทอดอาลัย ยิ่งขึ้น ต่างละความเพียรมิได้คิดหาหนทางอื่น พ่อค้านายกองเกวียนมิได้ท้อใจ ลองแนบหูพีงที่พื้นหิน ได้ยิน เลึยงนํ้าไหลอยู่เบื้องล่าง จึงบอกคนรับใช้คนลนิทให้เอาฆ้อนเหล็กทุบ หินจนแดก ก็ปรากฏเป็นสำนั้าพุ่งขึ้นมาราวกับสำดาลทุกคนดีใจเหมิอน ดายแล้วเกิดใหม่ ที่ได้นํ้ามาดื่มกิน หุงหาอาหารรับประทาน ครั้นดก กลางคื'พึงได้ออกเดินทางอีกครั้งและถึงที่หมายในวันรุ่งขึ้นอย่างราบรื่น เมื่อพระลัมมาลัมพุทธเจ้าดรัล วัณณุปถชาดก จบแล้วได้ดรัล คาถาว่า \"ชนทั้งหลายผู้ไม่เกียจคร้าน ขุดภาคพี้นที่ทางทราย ได้พบนํ้า ในทางทรายนั้น ณ ที่ลานกลางแจ้งฉันใด มุนีผู้ประกอบด้วยความ เพียรและกำลัง เป็นผู้ไม่เกียจคร้าน พีงได้ความสงบใจฉันนั้น\" ประชุมซาดก พระพุทธองค์ทรงแลดงอริยลัจ ๔โดยอเนกปริยาย ภิกษุผู้ละ ความเพียรลามารถทำใจให้หยุดนึ่งที่ศูนย่กลางกาย ได้เช้าถึงธรรมกาย อรหัด บรรลุความเป็นพระอรหันต์ ณ ที่นั้นเอง ๓0 นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
พระสัมมาส์มพุทธเจ้าทรงประชุมซาดกว่า คนรับใช้คนสนิท ได้มาเป็นพระภิกษุรูปนี้ หยู่คณะในกองเกวียน ได้มาเป็นพุทธบริษัท พ่อค้าหัวหน้ากองเกวียน ได้มาเป็นพระองค์เอง ข้อคิดจากชาดก ข้อคิดสำหรับผู้นำ 'รุ). คนส่วนมาก เมื่อเห็นว่างานใกล้สำเร็จ มักจะประมาททำให้ เกิดความเสิยหาย เพราะคาดไม่ถึง ดังคำที่ว่า \"เรือล่มเมื่อจอด\" ดังนั้น ผู้นำ ที่ดี ควรจะติดดามควบคุมงานอยู่เสมอ โดยเฉพาะเมื่อใกล้เสร็จ ด้องระมัดระวัง เป็นพิ เศษ ๒. ผู้นำ ที่ดีจะด้องให้กำสังใจเป็น เพราะทุกคนด้องการกำสังใจ แม้ผู้ที่สะสมบุญบารมีมากพอที่จะเป็นพระอรหันต์แล้ว ก็ยังด้องการ กำ สังใจเซ่นกัน วิธีให้กำสังใจประการหนี้งคีอเตือนให้คำนึงถึงความดีที่เคย ทำ มาก่อนแล้ว ๓. ผู้นำ ที่ดีด้องทำหน้าที่เป็นกัสยาณมิดร ไม่ใช้อำนาจบาตร ใหญ่อย่างเดียว การเป็นกัสยาณมีดรนั้น ด้องทำหน้าที่สำดัญ ๔ ประการ คือ 9. เป็นพ่อแม่ คอยปกป็องผองภัยให้แก่ลูก นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๓๑
๒. เป็นเพื่อน คอยเตือนสติให้ได้คิด ๓. เป็นแพทย์ คอยดูแลเมื่อเจ็บไข้ได้ปวย ๔. เป็นครูผู้ส่องประทีปภายใน คือ ให้ป็ญญา ความรอบf ข้อคิดสำหรับผู้ใต้บังคับบัญชา ๑. ต้องเชื่อฟ้งและปฏิบ้ติตามคำแนะนำของผู้นำอย่างเคร่งครัด ๒. ต้องอดทนเมื่อพบอุปสรรค ไม่ท้อถอย ไม่ทอดอาลัยตาย อยาก ไม่คิตน้อยเนื้อต้าใจโนโชคซะตา เป็นต้น ๓. ต้องมีความเพียร เมื่อตั้งใจทำสิงใตแล้ว ต้องทำให้ถึงที่สุด ทำ ให้สำเร็จตามที่ตั้งใจ ไม่ทำครึ่งๆ กลางๆ อริบายสัพท์ วัณณุปถซาตก (อ่านว่า วัน-นุ-ปะ-ถะ-ชา-ดก) วัณณุปล พื้นที่ทางทราย ต้นหน คนนำทาง ๓๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
พระคาฉา*ประจำซาดก อภิลาสุโน วณฺณุปเถ ขณนฺตา อุทงฺคเณ ตตฺถ ปป๋ อวินฺทุ เอวํ มุนิ วิริยพลูปปนฺโน อภิลาสุ วินุเท หทยสฺล ลนฺตึ ซนทั้งหลายผู้ไม่เกียจคร้าน ขุดภาคพื้นที่ทางทราย ได้พบนํ้าในทางทรายนั้น ณ ที่ลานกลางแจ้ง ฉันใด มุนิผู้ประกอบด้วยความเพียรและกำลัง เป็นผู้ไม่เกียจคร้าน พึงได้ความสงบใจ ฉันนั้น -4 'ไ--''-'w ' Mi' - นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๓๓
เส่ธีวจาผิซฃาคก ซาดกว่าด้วยปฐมเหตุแห่งการอาฆาตจองเวร ที่พระเทวทัตมีต่อพระด้มมาด้มพุทธเจ้า สถานที่ตรัสซาดก นครสาวัตถี สาเหตุที่ตรัสซาตก ครั้งหนึ๋ง ในสมัยพุทธกาล มีภิกษุรูปหนึ่งเมื่อเข้ามาบวซเรียน ในพระพุทธศาสนาใหม่ๆ ได้ตั้งใจปฏิบัติธรรม รักษาติส เจรีญภาวนา อย่างเคร่งครัดด้วยความอุตสาหะพากเพียร แต่ครั้นอยู่ไปนานเข้าๆ ยังไม่เห็นผลแห่งการปฏิบัติอย่างแจ่มข้ดตามที่หวังไว้ ก็บังเกิดความ เบื่อหน่ายท้อแท้ หมดกำลังใจที่จะประพฤติธรรมต่อไป จึงคลาย ความเพียรสง เพื่อนภิกษุด้วยกันปรารถนาจะสงเคราะห์ภิกษุรูปนี้ จึงพาไปเฝึาพระลัมมาลัมพุทธเจ้า นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๓&'
พระพุทธองค์ทรงกอปรด้วยพระเมตตาธิคุณและพระมหา กรุณาธิคุณอันไพศาล ใคร่จะอนุเคราะห์ภิกษุรูปนี้ จึงทรงระลึกชาติ ด้วยบุพเพนิวาลานุลติญาณ แล้วตรัลเตือนด้วยพระลุรเลึยงกังวาน และอ่อนโยนว่า \"ดูก่อนภิกษุ เธอบวชในศาฝ็นาที่มีแก่นสาร ให้มรรคผลเห็น ปานนี้ เมื่อละความเพียรเภิยแล้ว จะต้องโศกเศร้าไปตลอดกาลนาน เหมือนดังเลรีววาณิชที่ไม่ไต้ถาดทองมีค่านับแลนนั่นเทียว\" ภิกษุทั้งหลายได้ฟิงดังนั้น ใคร่จะทราบเรื่องราวโดยตลอดจึง กราบทูลอาราธนาพระล้มมาล้มพุทธเจ้าให้ตรัลเล่าเรื่องของเสรีววาณิช โปรดแก่ตนทั้งหลาย เนื้อหาซาดก ในอดีตกาล นับย้อนกล้บไป ๕ กัปจาก ภัทรกัป นี้ มีพ่อค้าเร่ ๒ คน อาดัยอยู่ในเมีองเลรีวะพ่อค้าทั้งลองมีซื่อตรงกันกับเมีองที่อาดัย คือ เสรีวะ แม้ว่าจะมีซื่อเหมีอนกัน แต่ทว่าทั้งลองกล้บมีอุปนิล้ยใจคอ แตกต่างกันราวฟ้ากับคืน วันหนึ่ง ทั้งลองต่างนำสินค้าของตนข้ามแม่นํ้าไปยังเมีอง อัฏรูปุระ เพื่อจำหน่ายและแลกซื่อข้าวของที่เห็นว่าพอจะนำกล้บมา ค้าขายทำกำไรงามต่อไปได้ ที่เมีองอัฏฐปุระ มีหมู่บ้านแห่งหนึ่งเป็นที่อยู่อาดัยของอดีต ๓๖ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
เศรษฐีตระกูลเก่าแก่มากตระกูลหนี่ง ซี่งบัดนี้ใต้ถึงกาลฉิบหาย คนใน ตระกูลล้มหายตายจากไปจนเกือบหมด คงเหลือแต่ยายหลายคู่หนึ่ง ตกทุกข์ไต้ยาก ตรากตรำรับจ้างเขาเลี้ยงข์พพอประทังข์วิตไปรัน หนึ่งๆ เท่านั้น พ่อค้าคนแรกไต้ตะโกนเร่ขายสินค้าของตน ผ่านมาถึงบ้านยาย หลานคู่นี้ เมื่อไต้ยินเลืยงตะโกนเร่ขายสินค้า หลานสาวจึงวิ่งออกมาดู เห็นแก้วแหวน เครื่องประดับ ล้วนเป็นของสวยๆ งามๆ ก็อยากไต้ จึง อ้อนวอนยายซื้อให้ล้กข์นหนึ่ง ยายฺก็ไต้แต่ทอดถอนใจเพราะไม่อาจทำ ตามความประสงค์ของหลานสาวไต้ จึงไต้แต่ปลอบใจและเตือนสติว่า \"หลานรัก เราน่ะเป็นคนยากคนจน เงินที่หามาได้ก็แทบจะไม่ พอกินพอใด้อยู่แล้ว จะเอาอะไรไปแลกของของเขาได้เล่า อย่าไป อยากได้มันเลย\" แต่หลานสาวไม่ละความพยายาม ล้อุตส่าหวงเข้าไปในบ้าน หยิบถาดเก่าครื่าคร่าไปหนึ่งซื้งเห็นว่าไม่มีประโยชน์อะไรแล้วนำออกมา ขออนุญาตยายแลกกับเครื่องประดับ ยายก็ตามใจ เมื่อพ่อค้ารับถาดมาถือ รู้ลืกว่ามีนํ้าหนักมากผิดถาดธรรมดา จึงเอาเข็มลองขีดหลังถาดดู ปรากฏว่ามีรอยเล้นเหลืองอร่าม จึงทราบ ทันทีว่า ถาดใบนี้ทำต้วยทองคำ มีมูลค่านับแสนทีเดียว แต่เพราะความ โลภจัด คิดจะไต้ของพ่รี จึงแสร้งพูดว่า \"ถาดโบนี้ไม่มีราคาพอที่จะแลกกินค้าอะไรได้หรอก\" ว่าแล้วก็โยนถาดทิ้งลงกับพื้นอย่างไม่ยี่หระ แล้วเดินจากไป นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๓ฝ
พอตกบ่าย พ่อค้าอีกคนก็มาถึง ตะโกนเร่ขายสินค้าเซ่นคนก่อน หลานฝ็าวก็ยังคงรบเร้ายายให้ซื้อเครื่องประดับให้ตนยายจึงกล่าวยํ้าว่า \"เมื่อเช้า พ่อค้าคนนั้นโยนถาดของเราทิ้ง เจ้าก็เห็นอยู่แล้ว จะเอาอะไรไปแลกกับเขาอีกล่ะ?\" หลานเป็นเด็กซ่างสังเกต จึงบอกยายว่า \"ยายจ้า พ่อค้าคนเมื่อเช้าพูดจาหยาบคาย ผิดกับคนนี้ท่าทาง ใจดี พูดจาก็อ่อนโยน เขาคงไห้เราแลกหรอกนะจ๊ะยาย\" เมื่อเรียกพ่อค้าแวะบ้านแล้ว ก็ล่งถาดให้เพื่อขอแลกกับเครื่อง บ่ระดับสักซื้นหนึ่ง แต่เมื่อพ่อค้ารับถาดซื้นดู ก็เห็นว่าเป็นถาดทองคำ ด้วยความมีใจเป็นธรรม และมีนิสัยสัตย์ซื่อ เขาจึงบอกความจริงแก่ ยายหลานทั้งลองว่า \"ถาดใบนี้เป็นถาดทองคำ มีคำ นับแลนทีเดียว ล่นค้าของ ข้าพเจ้าทั้งหมดนี้ยังมีค่าไม่พอที่จะแลกกับถาดทองใบนี้ไค้เลย\" ทั้งสองยายหลานต่างตะลึงด้วยความแปลกใจ แต่เมื่อพ่อค้า ยืนยันว่าเป็นถาดทองจริง ยายจึงกล่าวกับพ่อค้าใจซื่อผู้นี้ว่า \"ถาดใบนี้กลายเป็นถาดทองคำขึ้นมาไค้ ก็เพราะบุญของท่าน เอง จงรับไปเถิด แล้วจะให้ค่าตอบแทนแก่เราเท่าไร ก็ลุดแต่ท่านจะ เห็นสมควร\" พ่อค้าใจซื่อจึงยกสินค้าและเงินทั้งหมดที่ตนมีอยู่แก่ยายหลาน คู่นี้ ขอไว้เพียงตาซื่'งและเงินติดดัวเล็กน้อยพอเป็นค่าเดินทางข้าม แม่นํ้ากสับเมีองของตนเท่านั้น 0(\\๘ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ส่วนพ่อค้าใจคด เมื่อออกจากบ้านฝ็องยายหลานแล้ว ก็เดิน เร่ขายสินค้าไปตามลำดับ ด้วยใจคอที่กระวนกระวายจดจ่ออยู่แต่ถาด ทองคำที่ตนขว้างทิ้งนั้นในที่สุดก็ดัดสินใจย้อนกลับไปยังบ้านของสอง ยายหลานทำทีว่ามีเมตตาจะอนุเคราะห์ให้ได้แลกเครื่องประดับได้ตาม ประลงค์ \"เอาถาดใบนั้นมาเถิด เราจะยอมให้แลกถินค้าได้สักชิ้นหนี่ง ตามชอบใจ\" พ่อค้าใจคดร้องบอก ยายได้ยินดังนั้น จึงกล่าวตำหนิอย่างไม่ ไว้หน้าว่า \"เจ้าคนใจคด เมื่อเช้านี้นี่เองเจ้าบอกว่า ถาดทองของเราไม่มี ราคาค่างวดพอที่จะแลกถินค้าของเจ้าไค้ แต่เมื่อสักครู่นี้ มีพ่อค้าเร่ อย่างเจ้า เขาใจชื่อและมีคุณธรรม ไค้แลกถาดทองใบนั้นไปเถิยแล้ว ให้เงินและถินค้าทั้งหมดนี้แก่สันทีเดียว\" พ่อค้าใจคดได้ฟ้งดังนั้นก็รู้ว่าตนพลาดโอกาลที่จะเป็นเจ้าของ ถาดทองคำใบนั้นเสิยแล้ว บังเกิดความเสิยใจโศกเศร้าจนสุดระงับได้ ถึงกับเป็นลมหมดลติไป พอฟินขึ้นมา ความเสิยดายได้พุ่งแล่นท่วมท้น หัวใจจนควบคุมลติไว้ไม่อยู่ ลุกขึ้นโปรยปรายเงินทองข้าวของเรื่ยราด ท่าทางเลื่อนลอย คว้าดันชั่งถือไว้ต่างอาวุธ วิ่งไล่ตามพ่อค้าใจซื่อไป อย่างไม่คิดชีวิต เมื่อถึงท่าป้าเห็นเรือกำลังลอยลำอยู่กลางเฟนํ้า จึงร้องตะโกน อย่างบ้าคลั่งให้คนแจวเรือรับจ้างย้อนกลับมารับตนแต่พ่อค้าใจซื่อรู้ทัน นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๓๙
จึงส์งเร่งแพายให้เร็วขึ้นอีก พ่อค้าใจคด เมื่อทำอะไรไม่ไค้ ก็ยิ่งคุมแค้นหนักขึ้น มือทั้งสอง กำ เม็ดทรายซูขึ้น พร้อมกับกล่าวอาฆาตว่า \"หากจำนวนเม็ดทรายในกำมือนี้คือ ภพชาติที่เจ้าและข้าจะ ต้องเกิดอีก ข้าก็จะขอติดตามจองล้างจองผลาญเจ้าไปจนถึงที่สุด จนกว่าจะเข้านิพพานกันโปข้างหนี้ง!\" ด้วยจึตที่เร่าร้อนแผดเผาค้วยเพลิงโทสะอันรุนแรงบีบคั้นจน หัวใจวาณิชใจคดผู้นี้แดกสลาย กระอักเลือดทะลักออกมาแดงฉาน ขาดใจตายอยู่ตรงนั้นเอง จิตที่ผูกเวรนี้ เมื่อละโลกไปแล้ว ก็ดำ ดิ่งล่นรก ทนทุกข์ทรมานอยู่เป็นเวลานานแสนนาน ล่วนพ่อค้าใจซื่อไค้กลับบ้านตน นำ ถาดทองคำไปขายตั้งตัว ทำ การค้า ร้ารวยเป็นเศรบรูและไค้ทำบุญทำทานอยู่จนดลอดข์วิต ของเขา นับแต่นั้นมา พ่อค้าทั้งลอง หากเกิดมาพบกันขาติใด ไม่ว่า จะเกิดเป็นลัตว์ เป็นมนุษย์ หรีอแม้แต่เกิดมาเป็นญาติกันก็ดามพ่อค้า ใจคดก็ตามล้างผลาญจองเวรกับพ่อค้าใจซื่อตลอดมาทุกๆ ขาติ (to นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ประชุมซาดก พระสัมมาส์มพุทธเจ้าทรงจบพระธรรมเทศนาแล้ว ทรงแสดง อริยสัจสิโดยอเนกปริยาย พระภิกษุนั้นสามารถประคับประคองใจให้ สงบนิ่ง ตั้งมั่นไม่หวั่นไหวที่ศูนย์กลางกาย ได้เข้าถึงธรรมกายอรหัด บรรลุอรหัตผส ณ ที่นั้นเอง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประชุมซาดกว่า พ่อค้าใจคด ได้มาเป็นพระเทวทัต พ่อค้าใจซื่อ ได้มาเป็นพระองศ์เอง ข้อคิดจากชาดก <5). โสภนักมักลาภหาย ๒. คนพาสมองเห็นโทษของผู้อื่นอยู่ราไป แต่มองไม่เห็นโทษ ของดนเอง ๓. คนพาลแม้รู้ธรรมก็ไม่ยอมปฏิบติตามธรรม ความรู้นั้นย่อม เป็นไปเพื่อความฉิบหายแก่เขา เพราะแม้รู้เรื่องภพซาติซื่งเป็นเรื่องที่ รู้ได้ยากยิ่งก็ยังนำความรู้นั้นไปเพื่อผูกอาฆาตจองเวร นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๔(ร)
อริฃายสัพท์ เสรีววาณิชซาดก (ย่านว่า เส-รี-วะ-วา-นิด-ชะ-ชา-ดก) กัป ช่วงระยะเวลาที่ยาวนานมาก นับตั้งแต่โลกยังเป็นหมอก ภัทรกัป เพลิง แล้วเริ่มเย็นลงๆ จนกระทั่งมีพีช ล้ตว์มนุษย์ เกิดขึ้น เมื่ออยู่ไปนานๆ มนุษย์มีกิเลลมากขึ้น ทำ ความทั่วมากขึ้น ในที่สุดโลกก็กลับเป็นหมอกเพลิงอีกครั้งหนึ่ง รวมเรียกว่า ๑ กัป ขึ้งจะเป็นระยะเวลาเท่าใดยากที่จะคำนวณได้ อุปมาว่ามีภูเขากิลาแท่งทึบลูกหนึ่ง กว้าง ๑โยชน์ ยาว «!> โยชน์ สูง 9โยชน์(๑โยชน์ =9๖ กิโลเมตร)ทุกๆ 900ปี เอาผ้าบางเหมีอนควันไฟมาลูบครั้งหนึ่งจนกระทั่งภูเขารูป ลูกบาศก์นี้สิกไป จนเรียบเลมอพึ้นดิน จึงนับได้ 9 กัป กัปที่เจริญ เป็นกัปที่มีพระลัมมาลัมพุทธเจ้ามาตรัลถึง ๕ พระองค์ ดังเช่นกัปในปัจจุบันนี้ (บางกัปไม่มีพระลัมมา- ลัมพุทธเจ้ามาตรัลเลย เป็นยุคที่โลกเมื่อมจากความดี เรียกว่า สุญกัป คือ กัปเมื่อม บางกัปมีพระลัมมาลัมพุทธ เจ้ามาบังเกิด 9 พระองค์บ้าง ๒ พระองค์บ้าง ๓ พระองค์ บ้าง อย่างมากที่สุดไม่เกิน ๕ พระองค์) (5:๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
พระคาถาประจำชาดก อิธ เจ นํ วิราเธสิ สทฺธม.มสฺส นิยามกํ จิรํ ตุวํ อนุตปฺเปสิ เสริวายํ ว พาณิโซ ถ้าท่านพลาดโสดาปัตติมรรค คือ ความแน่นอนแห่งสัทธรรมในศาสนานี้ ท่านจะต้องเดีอดร้อนใจในภายหสังสินกาลนาน ดุจพาณิช^อเสรีวะผู้นี้ ฉะนั้น 4' นิทานชาดกเล่มหนึ่ง (TCT
ไ-J • > <-/ ไ; |,ไ :;ไ -SsL 1||||\"^ไ11<ไ®\"''^'®4''''®'ไไ:^:1^|ไ..5!-ร1!1-' แร: ร-ไไไ'\" tjl ^ไ''''''\"'■ไP '■ไโ; ;■ '??f ไไ, ไ '/.ไ■ -ไ■.■ ไ'. '■. •' \". - จุลลกเศรบเชาคก ซาดกว่าด้วยความฉลาดในการสร้างฐานะ สถานที่ตรัสชาดก วัดซวกัมพวัน กรุงราชคฤห์ สาเหตุที่ตรัสชาดก ครั้งหนึ่ง ในลมัยพุทธกาล มีธิดาของเศรษฐีผู้หนึ่ง ในกรุง ราชคฤห์ ลอบได้เสียกับทาลชายในบ้าน แล้วเกรงว่าถ้าเรื่องทราบถึง บิดามารดา ตนจะด้องถูกลงโทษอย่างหนัก จึงพากันหนีออกจากบ้าน ไปอยู่เสียที่เมีองอื่น นิทานชาดกเล่มหนึ่ง (ริ:^
ต่อมา นางได้ตั้งครรภ์ เมื่อครรภ์แก่ นางคำนึงถึงสวัสดิภาพ ของทารกในครรภ์ จึงชวนสามีกลับไปยังบ้านเดิมของตน เพื่อจะได้ อาลัยบิดามารดาช่วยเหลือดูแลในระหว่างการคลอด ฝ่ายสามียังเกรง ความผิดของตัวอยู่ จึงได้แต่ผัดวันประกันพรุ่งไม่ยอมออกเดินทาง วันหนึ่งขณะที่สามีไม่อยู่บ้าน นางจึงตัดสินใจออกเดินทางไปตามลำพัง ค'ฒั้สามีกลับมา ทราบความแล้ว ก็รีบเดินทางติดตามไป พบว่า นางได้คลอดบุตรในระหว่างทางแล้ว จึงพากันกลับบ้านของตนแล้ว ตั้งซื่อบุตรขายตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นว่า ปันถก แปลว่า หนทาง ต่อมาไม่นานนัก นางตั้งครรภ์บุตรคนที่สอง เหตุการณ์ก็เป็น ไปในทำนองเดียวกันอีก คีอนางได้คลอดบุตรชายในระหว่างทาง จึง เรียกบุตรคนแรกว่า มหาปันถก บุตรคนรองว่า จุลลปันถก เมื่อบุตรขายทั้งสองของนางโตขึ้น เห็นเพื่อนๆ มีญาดิ^หญ่ ทั้ง ลุง ปัา น้า อา มาเยี่ยมเยียนดูแลให้ความอบอุ่น ตลอตจนมีขนม นมเนยมาฝาก แต่ตนเองไม่มีญาติแม้ลักคนเดียว ให้รู้ลืกว้าเหว่ หงอยเหงาเป็นกำลัง จึงถามมารตาว่า ทำ ไมเราไม่มีญาติบ้างเลย นางก็ตอบว่า ญาติของเรามีมาก แต่ทว่าอยู่ที่กรุงราขคฤห้โน้น คุณตา ของเจ้าก็เป็นเศรษฐีอยู่ที่นั่น เด็กทั้งสองก็ยังช่'กต่ออีกว่าแล้วทำไม เราจึงไม่ไปอยู่กับญาติของเราที่โน่นล่ะ นางก็ได้แต่อํ้าอึ้ง ครั้นถูกบุตร ทั้งสองรบเร้าขอไปหาคุณตาคุณยายอยู่ปอยๆและนางเห็นว่าเหตุการณ์ ก็ล่วงเลยมานานแล้ว อย่างไรเลืยบิตามารดาก็คงจะให้อภัย เพราะ เห็นแก่หลานตาดำๆ ซื่งกำลังน่ารักทั้งสองคนจึงตัดสินใจให้สามีพา ครอบครัวเดินทางกลับกรุงราขคฤห์ ร:๖ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
เมื่อถึงกรุงราซคฤห์แล้ว นางให้สามีรออยู่ที่ประตูเมีอง ส่วน ตนเองพาบุตรทั้งสองตรงไปยังคฤหาสน์ของบิดา ครั้นถึงแล้ว นางก็ส์ง คนไซ้ให้เข้าโปกราบเรียนให้บิดามารดาทราบ ฝ่ายเศรษฐียังไม่หายขุ่นเคืองใจ จึงล้งฝากคนใข้มาว่า \"บรรดาชาวโลกทั้งหลายผู้ท่องเที่ยวอยู่ใน สังสารวัฏย่อมไม่ มีใครที่ไม่เคยเกิดเป็นบุตรเป็นบิดากันเลย แต่เขาทั้งสองกระทำ ความผิดไว้อย่างมหันต่ ฉะนั้นเราจึงไม่ต้องการเห็นหน้าอีก จงนำ ทรัพย์จำนวนนี้ไปมอบให้เขาแล้วให็รับไปอยู่เอียที่อื่น แต่เด็กทั้งสอง ไม่มีความผิด จงล้งมาอยู่กับเรา'' นางรับทรัพย์จำนวนนั้นแล้ว คำ นึงถึงอนาคตของลูกน้อยทั้ง สองจึงตัดใจมอบบุตรให้กับเศรษฐีผู้บิดา พร้อมกับรับทรัพย์จำนวน นั้นมา แล้วจากไปด้วยนํ้าตานองหน้า เด็กทั้งสองจึงเติบโตในตระกูส ของคุณตาสิบมา ค'ณั้ท่านเศรษฐีเห็นว่ามหาปันถกโตพอรู้ความแล้วจึงพาไปฟิง พระธรรมเทศนาเฉพาะพระพักตร์พระล้มมาล้มพุทธเจ้าอยู่เสมอๆ เป็นเหตุให้บังเกิดความศรัทธาเลื่อมใสในพระศาสนาใคร่จะบวช ท่าน เศรษฐีจึงพาหลานไปกราบพระล้มมาล้มพุทธเจ้าเพี่อขอบวข เมื่อบวชแล้ว สามเณรมหาปันถกตั้งใจคืกษๆพุทธธรรมอย่าง จริงจัง เมื่ออายุครบแล้วก็ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุและตั้งใจบำเพ็ญ สมณธรรมอย่างเคร่งครัด ต่อมาไม่นานก็สามารถส่ารวมใจให้สงบ หยุดนิ่งตั้งมั่นไม่หวั่นไหว เข้าถึงธรรมกายอรหัต หมดกิเลส โดย นิทานชาดกเล่มหนึ่ง (td
สมุจเฉทปหาน เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งในพระพุทธศาสนา พระมหาปันถกเสวยสุขที่เกิดจากการบรรลุคุณธรรมอันวิเศษ แล้ว ปรารถนาจะให้น้องซายคู่ทุกฃ์คู่ยากได้รับความสุขอันเป็นอมตะ เซ่นท่านบ้าง จึงกลับไปรับจุสลปันถกมาบวชเป็นสามเณรอยู่ด้วย สามเณรจุลลปันถกซึ๋งแต่เดิมเป็นคนมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีปฏิภาณไหวพริบดีอย่างไม่มีใครเทียบได้ ก็กลับกลายเป็นคนโง่ทึบไป อย่างกะทันหัน แม้พระมหาปันถกสอนให้ท่องคาถาเนๆ เพียง «9 บท เท่านั้น ท่องอยู่ถึง ๔ เดีอนก็ยังไม่ได้ แม้ต่อมาอุปสมบทเป็นพระภิกษุ แล้ว ก็ยังคงโง่ทึบอยู่เซ่นเดิม จึงเข้าใจว่าภิกษุน้องขายคงจะอาภัพ เกียจคร้านไม่เอาจริง แล้วไล่ให้ถึกเลีย ฝ่ายพระจุลลปันถกไม่ปรารถนา จะถึก ยังมีความอาลัยในพุทธธรรมอย่างยิ่ง สมัยนั้นพระมหาปันถกรับหน้าที่เป็น ภัตตุเทศก์ เมื่อหมอซีวก โกมารภัจจ์มานิมนต์พระภิกษุทั้งวัดให้ไปฉันภัตตาหารยังบ้านของตน ในวันรุ่งขึ้นโดยมีพระลัมมาลัมพุทธเจ้าเป็นประมุข พระมหาปันถกจึง รับนิมนต์ไว้หมด เว้นแต่พระจุลลปันถกรูปเดียวเพราะเห็นว่าเป็นคน โง่ทึบ ไม่ควรให้ไปร่วมฉันภัตตาหารด้วย ฝ่ายพระจุลลปันถกทราบดังนั้น ก็คิดน้อยใจว่า พี่ชายของเรา คนหมดเยื่อใยในเราแล้วอย่างแน่นอน จะมีประโยชน์อะไรที่จะบวช อยู่ต่อไปควรถึกไปเป็นคฤหัสถ์สร้างบุญสร้างกุคลไปตามกำลังจะดีกว่า จึงดัดสินใจว่าจะถึกในเข้ามีดวันรุ่งขึ้น เข้ามีดวันนั้นเองพระลัมมาลัมพุทธเจ้าทรงสอดล่องพระญาณ (tc;? นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ตรวจดูสัตว์โลกว่าจะมีใครควรแก่การบรรลุธรรมบ้าง จะได้เสด็จไป โปรตถึงคราวที่กุศลกรรมที่เคยทำไนอดีตจะส่งผล ภาพพระจุลลปันถก ปรากฏขึ้นไนข่ายพระญาณ พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับยืนดักรอ อยู่บริเวณหน้าซุ้มประตูวัดนั้น ขณะนั้นพระจุลลปันถกเดินร้องไห้ผ่านมา พระสัมมาสัมพุทธ เจ้าจึงตรัสไห้สติว่า \"จุลลป็นถก เธอบวชในสำนักของเรา ฒื่อถูกพี่ชายขับไล่ทำไม ไม่ไปหาเราเล่า มาเถอะ มาอยู่ในสำนักชองเรา\"แล้วทรงนำพระจุลล ปันถกไปยังพระคันธกุฎี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงระลึกชาติหนหสัง ด้วยบุพเพนิวาสา- นุสติญาณ พบว่าไนอดีตชาติ พระจุลลปันถกเคยเกิดเป็นพระราชา ขณะกำลังทรงเลึยบพระนคร พระเสโท ไหลจาก พระพสา//ก็เอาผ้า ขาวผีนไหญ่เช็ด ผ้านั้นก็เปรอะเอ้อนหมองคลํ้าไปจึงเกิดความสลดไจ รำ พึงว่า ผ้าขาวสะอาดหมดจด แต่เมื่อถูกกายของเราเข้าเท่านั้น ก็ กลับกลายเป็นของเศร้าหมองไป สังขารของคนเราไม่นำชื่นชมอย่าง นี้เอง ชีวิตของพวกเราไม่เที่ยงอย่างนี้เอง พระพุทธองค์ทรงเห็นว่า พระจุลลปันถกมีอุปนิสัยไนการ พิจารณาเซ่นนี้มาก่อน จึงทรงเนรมิตผ้าขาวบริสุทธึ๋ผืนหนึ่งด้วย พุทธานุภาพ ประทานแก่พระจุลลปันถก ตรัสสังไห้นั้งทันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก แล้วลูบศลำผ้าผืนนั้น พร้อมกับบริกรรมภาวนาว่า \"รโขหรณํ รโชหรณํ(ผ้าเช็ดธุลึ ผ้าเช็ดธุลี)\" ไปเรื่อยๆ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง (ร:๙
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138