ศาสนา ท่ีแม้แต่ชาวมุสลิมเองก็ต้องช�ำระร่างกายให้สะอาดปราศจากสง่ิ อันเปน็ มลทนิ เสยี กอ่ นจงึ จะสัมผสั ได้ จะเห็นได้ว่าทรงพิถีพิถันกับรายละเอียดแม้จะไม่ใช่ศาสนาท่ีทรงยึดถือก็ตาม ส่ิงนี้แสดงถึงความใส่ใจ อีกท้ังยังเป็นการให้เกียรติซึ่งกันและกนั อีกด้วย ทนี ้ี เมอ่ื เขา้ ถงึ ใจประชาชนไดแ้ ลว้ ไดเ้ วลาลงมอื แกป้ ญั หาเสยี ทีป่าพรุ คอื ตัวการส�ำคัญของเร่ืองน้ี ในจังหวัดนราธิวาส มีพื้นที่ป่าพรุอยู่ถึงสามแสนไร่ จากจ�ำนวนประมาณสี่แสนไร่ท่ัวประเทศ ด้วยความท่ีป่าพรุเป็นแอ่งน้�ำขังธรรมชาติท�ำให้ประชาชนท่ีนี่มีท่ีดินส�ำหรับเพาะปลูกท�ำมาหากินไม่เพียงพอต่อความตอ้ งการ ในหลวงจึงทรงคิดว่า หากจัดการน้�ำในพรุได้ชาวบ้านก็จะมีพื้นที่ปลกู ข้าวเพิม่ ขน้ึ เม่ือศึกษาไประยะหน่ึง พระองค์ก็ทรงพบว่านอกจากเรื่องน้�ำท่วมแล้ว สภาพดินท่ีเป็นกรดจัดของนราธิวาสก็ท�ำให้ดินเปร้ียวจนปลูกพืชไม่ขึ้น พระองค์จึงทรงสร้างพ้ืนท่ีทดลองแก้ปัญหาดินเปร้ียวข้ึนท่ีศนู ยศ์ กึ ษาฯ พกิ ลุ ทอง มกี ารลงสำ� รวจพนื้ ทที่ มี่ ปี ญั หาหนกั เชน่ บา้ นโคกอฐิ -โคกใน ท่ีเดินทางไปล�ำบากเพราะเป็นเกาะในป่าพรุ แต่ก็ประทับเรือห้ามจำ�หน่าย 51
ข้อมูลจากกองส�ำรวจดิน กรมพัฒนาที่ดิน เม่ือปี 2525รายงานว่า ป่าพรุท่ัวประเทศมี 400,000 ไร่ พบในจังหวัดนราธิวาส 283,350 ไร่ นครศรีธรรมราช 76,875 ไร่ ชุมพร16,900 ไร่ สงขลา 5,545 ไร่ พทั ลุง 2,786 ไร่ ปัตตานี 1,127 ไร่และตราด 11,980 ไร่ สว่ นจงั หวดั ทพี่ บเลก็ นอ้ ย ไดแ้ ก่ สรุ าษฎรธ์ านีตรงั กระบ่ี สตูล ระยอง จนั ทบุรี เชยี งใหม่ (อ.พร้าว) และจงั หวดัชายทะเลอ่นื ๆ
และมีชาวบ้านช่วยกันเข็นเรือเข้าไปถึงหมู่บ้าน บางคร้ังก็ถึงข้ันลุยลงไปในพรุลึกถึงเอวเพ่ือให้รู้สภาพป่าพรุ กระท่ังทรงชิมน�้ำในนั้นเพื่อทดสอบความเปรย้ี วของดนิ ทรงทมุ่ เททง้ั แรงกายแรงใจ เพอ่ื ใหช้ วี ติ ชาวบา้ นทน่ี น่ั ดำ� เนนิ ไปอยา่ งเป็นปกตสิ ขุ ให้ได้ จนวันหนึ่งก็ถึงเวลาท่ีจะน�ำผลการทดลองไปใช้ในพ้ืนท่ีจริงท่ีบ้านโคกอฐิ -โคกใน กป็ รากฏวา่ ไดผ้ ลดเี กนิ คาด พระองคม์ คี วามสขุ อยา่ งยงิ่ เมอ่ืไดเ้ หน็ ภาพทงุ่ นาเหลอื งอรา่ ม ถงึ กบั ตรสั วา่ “เราเคยมาโคกอฐิ -โคกใน ตรงนน้ัทำ� นาไดแ้ ค่ 5 ถัง 10 ถัง แตต่ อนนี้ไดถ้ งึ 40-50 ถงั อนั นสี้ ิเปน็ ชัยชนะ” เพราะนอกจากชาวบา้ นจะไมต่ อ้ งซอื้ ขา้ วกนิ แลว้ วนั นย้ี งั สามารถขายขา้ วไดอ้ ีกด้วย ตลอดเวลาหลายสิบปีท่ีในหลวงทรงเข้ามาทุ่มเทช่วยแก้ไขปัญหาของชาวบ้านในภาคใต้ หลายๆ อย่างก็เปล่ียนไปในทางท่ีดีข้ึน จากเดิมทไ่ี มม่ อี ะไรเลย แตว่ นั นกี้ ลบั มที งั้ โรงพยาบาล โรงเรยี น แหลง่ นำ้� ทเ่ี พาะปลกูถนน กระแสไฟฟ้า และอ่ืนๆ อกี มาก เชน่ เดียวกบั ความร้สู กึ ของผ้คู นทเ่ี ปลย่ี นไป อย่างเม่อื ครัง้ ที่เสดจ็ ฯกลบั จากอำ� เภอเบตง จงั หวดั ยะลา ซง่ึ เปน็ ทางทลี่ ำ� บากมากเพราะเปน็ ภเู ขาห้ามจำ�หน่าย 53
และมีหลุมบ่อตลอดทาง และระหว่างเดินทางฟ้าก็เริ่มมืดลงเร่ือยๆจนดเู ป็นอันตรายตอ่ การเดนิ ทาง เม่ือชาวบ้านในบริเวณน้ันได้ข่าวก็รีบเดินทางมาเฝ้าฯ ทันทีโดยแต่ละคนน�ำตะเกียงและเทียนมาจุดให้เกิดแสงไฟส่องสว่างเป็นทางเสดจ็ ฯ ในหลวงและสมเด็จพระราชินีเห็นดังน้ันก็ทรงแวะลงมาทักทายพูดคุยกับชาวบ้าน ขบวนเสด็จฯ จึงเคลื่อนที่ไปได้ช้ามาก กว่าทั้งสองพระองคจ์ ะถงึ พระตำ� หนกั กเ็ ปน็ เวลาตหี า้ ครง่ึ ของวนั รงุ่ ขน้ึ ใชเ้ วลาเดนิ ทางทง้ั สน้ิ ยาวนานกว่า 12 ชั่วโมง แม้จะเป็นเส้นทางสายเดิม แต่วันนี้ความรู้สึกของประชาชนที่นี่กลับต่างออกไป เพราะในหลวงทรงเข้ามาเปลี่ยนแปลงความรู้สึกของคนไทยในสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ไปอย่างส้นิ เชงิ ทุกๆ เดือนกันยายนของเมื่อหลายสิบปีก่อนจะเป็นช่วงเวลาท่ีชาวบ้านท่ีน่ีรอคอย เพราะน่ันคือเวลาท่ีในหลวงจะเสด็จฯ มาประทับที่ภาคใต้ คำ� พดู ‘รายอซีแย’ ทเ่ี คยติดปากคนในพื้นท่ี ก็เปลี่ยนไปกลายเปน็ค�ำว่า ‘รายอกีตอ’ ทแ่ี ปลว่า ‘กษัตรยิ ์ของเรา’ห้ามจำ�หน่าย 55
KEYS OF SUCCESS� ยอมรบั ในความต่าง แตกต่างกนั เปน็ เร่ืองธรรมชาติ ถ้ายอมรับในตัวเขาได้ เขากย็ อมรบั ในตวั เราเช่นกัน� ใจเขาเป็นหลัก ใจเราเป็นรอง คิดถงึ ใจคนอน่ื ใหม้ ากกวา่ ตวั เราเอง แลว้ ใครจะไมร่ กั เราได้ลงคอ
04
ลงทนุ กับสง่ิ ที่มคี า่ ที่สดุ
60 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
ห้ามจำ�หน่าย 61
ส่ิงทีม่ คี า่ มากทีส่ ดุ สำ� หรับประเทศนีค้ ืออะไร? เชื่อว่าแต่ละคนคงใช้เวลาคิดกันนานหน่อย เพราะค�ำตอบที่นึกได้อาจไมใ่ ชส่ ิง่ ทีม่ ีค่าทีส่ ุดสำ� หรบั ทกุ คนในประเทศจริงๆ แตส่ �ำหรบั ในหลวงแล้ว ค�ำตอบของคำ� ถามนค้ี อื น้ำ� ดว้ ยความทน่ี ำ้� เปน็ ทรพั ยากรจำ� เปน็ ทต่ี อ้ งใชก้ บั ทกุ กจิ กรรมของชวี ติตง้ั แต่การอุปโภคบรโิ ภคในครวั เรอื น ไปจนถงึ การใชง้ านในภาคธุรกจิ เช่นร้านค้าหรืออุตสาหกรรม และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในภาคการเกษตรที่เรียกว่าขาดไม่ได้ หากเปรียบประเทศเป็นบริษัท น�้ำก็คงไม่ต่างอะไรจากเงินทนุ ทีค่ อยหล่อเลย้ี งธรุ กิจสว่ นตา่ งๆ ใหเ้ ดินหนา้ ต่อไปได้ แต่แน่นอนว่าทรัพยากรบนโลกนี้มีอยู่อย่างจ�ำกัด น้�ำที่เรามีก็ต้องการการลงทุนและบริหารจดั การไมต่ า่ งจากเม็ดเงินในธรุ กิจห้ามจำ�หน่าย 63
สมดุล ปัญหาของน้�ำน้ันไม่ใช่เรื่องก�ำไรขาดทุนเหมือนกับตัวเงิน แต่คือการจัดสรรให้ในแต่ละพื้นท่ีมีน้�ำอย่างพอดี เพราะจากการไปเย่ียมเยียนประชาชนหลายพ้ืนที่ ในหลวงพบว่าความไม่สมดุลของน้�ำคือปัญหาหลักทส่ี ง่ ผลตอ่ วถิ ชี วี ติ และความเปน็ อยขู่ องประชาชนอยา่ งมาก พน้ื ทบ่ี างแหง่ทนี่ ำ้� ขาดดลุ กจ็ ะแหง้ แลง้ แตบ่ างแหง่ มนี ำ้� เกนิ ดลุ กเ็ กดิ อทุ กภยั หรอื บางพนื้ ที่ก็เจอท้ังปัญหาน�้ำขาดดุลจนแล้ง และเกินดุลจนท่วมสลับกันไปมาอย่างน่าอัศจรรย์ โครงการจัดการน�้ำจึงถือก�ำเนิดขน้ึ โดยเร่ิมต้นคร้งั แรกในสถานท่ที ี่คงไมม่ ใี ครนกึ วา่ จะมปี ญั หาขาดแคลนนำ�้ อยา่ งทบี่ า้ นเขาเตา่ อำ� เภอหวั หนิจังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ เม่ือพูดถึงพื้นท่ีขาดแคลนน้�ำ หลายคนคงนึกถึงภาคอีสานกันเป็นอันดับแรก ด้วยภาพจ�ำที่เป็นพื้นดินแตกระแหงสุดแห้งแล้ง แต่ความเปน็ จรงิ แลว้ ปญั หานม้ี อี ยใู่ นทกุ ภมู ภิ าคของประเทศ เพราะการขาดแคลนนำ้�นนั้ ไมไ่ ดห้ มายความเฉพาะแคค่ วามแหง้ แลง้ แตย่ งั รวมไปถงึ ภาวะทนี่ ำ�้ เคม็ไหลเข้ามาแทนทน่ี �้ำจืดจนไมส่ ามารถน�ำน้�ำไปใชง้ านไดอ้ ีกด้วย64 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
ชาวบา้ นเขาเตา่ กป็ ระสบปญั หานำ�้ ขาดแคลนจากนำ้� ทะเลหนนุ แบบนี้จนตอ้ งเดนิ หาบนำ้� จดื มาจากพนื้ ทท่ี หี่ า่ งไกลออกไปเพอ่ื นำ� มาใชใ้ นหมบู่ า้ น ในหลวงมโี อกาสขบั รถแวะเวยี นไปทน่ี อี่ ยเู่ สมอ ดว้ ยความทอ่ี ยใู่ กล้กบั วังไกลกังวล จงึ มีพระราชด�ำรวิ ่าจะสร้างอา่ งเกบ็ นำ้� เขาเต่าขนึ้ ด้วยการสร้างคันดนิ เพื่อก้นั นำ้� ทะเลไม่ใหไ้ หลเขา้ มาในคลองนำ�้ จืด และยังสามารถเกบ็ น้�ำฝนเอาไวใ้ ชไ้ ดอ้ กี ด้วย แต่อธิบดีกรมชลประทานในขณะนั้นไม่เห็นด้วย เพราะมองว่าสดุ ทา้ ยแลว้ นำ�้ ทกี่ กั เกบ็ ไวจ้ ะกลายเปน็ นำ้� กรอ่ ย ใชป้ ระโยชนไ์ มไ่ ด้ จงึ เสนอโครงการสรา้ งเขอ่ื นท่ใี ชง้ บประมาณหนง่ึ ลา้ นบาทแทน แต่ในหลวงทรงตัดสินใจท�ำตามวิธีของพระองค์ โดยพระราชทานเงินส่วนพระองค์หกหมื่นบาท และรับส่ังว่า “หกหม่ืนบาทก็ถือว่าไม่น้อยแต่ถ้าท�ำได้ประโยชน์ดี ก็นับว่าเป็นประโยชน์มหาศาล ถ้าท�ำแล้วก็ไม่ได้ประโยชน์ กย็ งั ไมเ่ สียหายมากนกั และเงนิ งบประมาณไม่ได้เสียเลย” และกค็ งเหมอื นนกั ลงทนุ หนา้ ใหมท่ ย่ี งั ขาดประสบการณ์ เพราะเมอ่ืใช้การไปสักพักน้�ำในอ่างเก็บน้�ำก็กลายเป็นน�้ำกร่อยจริงๆ อย่างที่อธิบดีห้ามจำ�หน่าย 65
กรมชลฯ พดู สดุ ทา้ ยพระองคก์ ต็ อ้ งใหก้ รมชลประทานเขา้ มาชว่ ยปรบั ปรงุและสรา้ งอา่ งเกบ็ นำ�้ แหง่ ใหมต่ งั้ อยไู่ กลออกไปจากหมบู่ า้ น เพอ่ื ใหส้ ง่ นำ�้ จดืกลบั มา สว่ นอา่ งเกบ็ นำ�้ เขาเตา่ กใ็ ชเ้ ปน็ ทเี่ ลยี้ งปลาในกระชงั ของชาวบา้ นแทน แม้โครงการอ่างเก็บน�้ำเขาเต่าจะไม่ประสบความส�ำเร็จเท่าที่ควรแตก่ ถ็ อื เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ และบทเรยี นสำ� คญั ทจี่ ะนำ� ไปสโู่ ครงการอน่ื ๆ ในอนาคต หลงั จากนนั้ ในหลวงกท็ รงศกึ ษาการทำ� ชลประทานมากขนึ้ ทง้ั เรยี นรู้จากเจา้ หนา้ ทชี่ ลประทานทต่ี ามเสดจ็ ศกึ ษาจากตวั อยา่ งทงั้ ในและตา่ งประเทศหรือถ้ามีจุดไหนที่ทรงเสนอแล้วเจ้าหน้าที่ชลประทานทักท้วงก็จะรับฟังซง่ึ ทง้ั หมดนท้ี �ำใหท้ ่านช�ำนาญเรื่องการจดั สรรน�ำ้ มากขนึ้ เรื่อยๆ66 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
คุ้มค่า หนงึ่ ในหลกั การสำ� คญั ทใี่ นหลวงทรงยดึ ถอื เมอ่ื พดู ถงึ การจดั สรรนำ้�ก็คอื ความคุม้ ค่า เพราะเงนิ ทจ่ี ะใชน้ นั้ เปน็ งบประมาณของประเทศ ดงั นนั้ เวลาทใี่ ครมากราบทูลขอให้ทรงสร้างอ่างเก็บน้�ำหรือเขื่อนพระองค์จะทรงซักถามโดยละเอียด ว่าสร้างแล้วจะเล้ียงไร่นาไปได้นานแค่ไหน สามารถเพิ่มผลผลติ ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด พรอ้ มกนั นนั้ กท็ รงทำ� แผนทง้ั ระยะสนั้ และยาวเพื่อให้จดั การน�ำ้ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากท่ีสดุ ซงึ่ หากพจิ ารณาแลว้ พบวา่ คมุ้ คา่ ในหลวงจะทรงรบี ลงมอื ทนั ทีไมม่ ีรอช้า นนั่ เพราะคา่ เสยี โอกาสคอื อกี หนงึ่ ปจั จยั ความคมุ้ คา่ ทที่ รงพจิ ารณา เราจะเหน็ วา่ แมบ้ างโครงการจะตอ้ งใชเ้ งนิ ลงทนุ จำ� นวนมาก และอาจมมี ลู คา่ สงู หากเทยี บกบั การทำ� ประกวดราคา ทอี่ าจตอ้ งใชเ้ วลาดำ� เนนิ การนานกว่าแต่ไดโ้ ครงการทง่ี บประมาณไม่สงู เทา่ ในหลวงก็จะทรงเลอื กทางท่ีคมุ้ คา่ ไมใ่ ช่ในทางตวั เลข แตค่ ือคุ้มคา่ กบั ความสุขของประชาชนห้ามจำ�หน่าย 67
เพราะถ้าเลือกประกวดราคา เราอาจได้โครงการท่ีราคาถูกกว่าแตก่ ต็ อ้ งใชเ้ วลา แลว้ ในเมอ่ื ปญั หายงั ดำ� เนนิ อยู่ รฐั บาลกต็ อ้ งจา่ ยคา่ เยยี วยาใหช้ าวบ้านท่ปี ระสบภัย รวมทงั้ ความทุกข์ของประชาชนกจ็ ะดำ� เนินไปอกีหนง่ึ หรือสองปี จนกว่าการประกวดราคาจะส้ินสุด น่นั ท�ำให้ชาวบา้ นเสียโอกาสที่จะมีความสขุ แตถ่ า้ เรายอมจา่ ยแพง แมจ้ ะขาดทนุ ในปแี รก แตเ่ รากจ็ ะไดก้ ำ� ไรคนืกลบั มาเป็นความสขุ ของประชาชน ตวั อย่างที่เหน็ ได้ชัดที่สดุ คอื โครงการสรา้ งเขื่อนป่าสกั ชลสิทธ์ิ สมัยก่อนชาวบ้านบริเวณลุ่มแม่น�้ำป่าสักมักประสบปัญหาเร่ืองการเกษตร พอถึงหน้าน้�ำ น�้ำก็มามาก แต่พอถึงหน้าแล้งก็แล้งสุดขีดในหลวงจึงสั่งการไปยังกรมชลประทานให้หาทางแก้ปัญหา ด้วยการสร้างเขอ่ื นขนาดใหญ่เพอื่ กกั เกบ็ และระบายนำ้� แมจ้ ะตอ้ งใชง้ บประมาณในการดำ� เนนิ การร่วมสองหมื่นล้าน แต่ถ้าเทียบกับความเสียหายและค่าเยียวยาปีละเกือบหมนื่ ล้านแลว้ ก็ถอื วา่ คุ้มค่า68 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
แต่กับบางโครงการ พระองค์ก็แทบไม่ต้องใช้งบประมาณเลยเพียงแค่ใช้ประโยชน์จากส่ิงท่ีตัวเองมีอยู่มาบริหารจัดการให้เกิดประสทิ ธภิ าพสูงสุดกเ็ พยี งพอ อาทิการสร้างฝายชะลอน้�ำ หรือ check dam ที่เป็นส่วนส�ำคัญในการฟ้ืนฟูปา่ ของในหลวง หลักการของการฟื้นคุณภาพป่าคือต้องสร้างความชุ่มชื้นแก่พื้นที่ใหม้ ากทสี่ ดุ ในหลวงจงึ ใหเ้ จา้ หนา้ ทห่ี ารอ่ งหว้ ยตา่ งๆ แลว้ สรา้ งอา่ งเกบ็ นำ�้เลก็ ๆ ไวเ้ หนอื รอ่ งหว้ ยเหลา่ น้ี จากนน้ั กส็ รา้ งฝายชะลอนำ้� เพอื่ กกั นำ�้ ไวเ้ ปน็ช้นั ๆ แบบงา่ ยๆ ด้วยวัสดทุ หี่ าได้แถวนัน้ ไม่ว่าจะเป็นกิ่งไม้ กอ้ นหนิ ฯลฯเม่ือน้�ำไหลช้าลงเพราะถกู อา่ งเก็บนำ�้ และฝายกักไว้ กท็ �ำใหน้ �้ำซมึ ลงในดินมากขนึ้ ความชุ่มชื้นก็กลบั มา ปา่ ก็ฟื้นคืน นอกจากนนั้ ฝายท่ีสร้างงา่ ยๆ นก้ี ย็ ังชว่ ยกกั ให้เมลด็ พนั ธ์พุ ชื มาตดิจนหยงั่ รากเตบิ โตเปน็ ตน้ ใหญไ่ ดอ้ กี ดว้ ย ครนั้ พอมปี า่ มนี ำ้� ทงั้ ปา่ กก็ ลายเปน็พื้นท่ีช่วยเก็บน�้ำ เรียกได้ว่าในหลวงใช้กลไกธรรมชาติให้ท�ำงานโดยแทบไม่ต้องลงงบประมาณหรอื ลงแรงมากมายอะไรเลยห้ามจำ�หน่าย 69
หรือใครจะคิดว่าปัญหาน้�ำเสียจะแก้ได้ด้วยเคร่ืองมือง่ายๆ อย่างผักตบชวา เร่ืองก็คือ ตอนน้ันน�้ำในบึงมักกะสันท่ีมีพ้ืนที่ประมาณ 103 ไร่เกดิ เนา่ เสยี แทบทงั้ หมด กอ่ ใหเ้ กดิ ความเดอื ดรอ้ นตามมาอกี มาก ดว้ ยความทนี่ ำ้� ในบึงนี้จะไหลลงสู่คลองลาดพร้าวและกระจายไปทั่วเมือง ในหลวงทรงเข้ามาดูแลปัญหาน้ีและพบว่าผักตบชวา วัชพืชที่ไม่มีใครเหน็ คา่ มคี ณุ สมบตั ชิ ว่ ยกรองนำ้� และดดู ซบั ความสกปรกออกจากนำ�้ ได้หลงั จากทดลองกบั บอ่ นำ�้ ทงิ้ ทสี่ วนจติ รลดาจนเหน็ ผลวา่ ทำ� ไดจ้ รงิ พระองค์ก็นำ� ไอเดียนไี้ ปดำ� เนินการ วิธีการก็คอื พอนำ� ผกั ตบชวาไปลงนำ้� ท่ีบึงมกั กะสัน ผ่านไป 40 วนัผักตบจะขยายพันธุ์เป็นสามเท่า ให้น�ำไมไ้ ผม่ ากั้นเปน็ คอกผักตบชวา แลว้ผักตบจะท�ำหนา้ ท่ีดูดซบั ความสกปรกออกจากน�้ำเอง จากน้ันทกุ ๆ สิบวนัจะตอ้ งดงึ ต้นแก่ออกไปทิง้ ท�ำปยุ๋ เพือ่ ใหต้ น้ ใหม่ขึน้ มาดูดซบั ตอ่ และใหก้ อผกั ตบไมห่ นาแน่นเกนิ จนแสงแดดส่องไมถ่ งึ ใตน้ ้ำ�ห้ามจำ�หน่าย 71
พอทดลองแบบนี้ไปได้สักระยะก็ปรากฏว่าน้�ำในบึงมักกะสันเริ่มใสขึน้ เรมิ่ มปี ลามาอาศยั อยู่ รวมท้งั มีพชื พนั ธอุ์ นื่ ๆ เจริญเติบโต ทั้งผักบงุ้ผกั กระเฉด เหน็ ดงั นใ้ี นหลวงกโ็ ปรดฯ ใหน้ ำ� เครอ่ื งพน่ อากาศเขา้ มาชว่ ยเตมิออกซเิ จนในนำ้� ผลคอื นำ้� สะอาดขนึ้ แบบไมต่ อ้ งสรา้ งโรงงานบำ� บดั นำ้� เสยีมูลค่ากว่าสองรอ้ ยล้านบาทเลย จะเหน็ วา่ ความคมุ้ คา่ ทใ่ี นหลวงทรงคำ� นงึ ถงึ ไมใ่ ชก่ ารใชง้ บประมาณทุ่มลงไปเพื่อแก้ปัญหา หรือประหยัดเงินลงทุนเสียจนอัตคัด แต่คือการพจิ ารณาความเหมาะสม นำ� ปจั จยั ตา่ งๆ มาชงั่ ตวง วดั ถา้ โปรเจกตใ์ ดต้องการงบมากกท็ มุ่ มาก โปรเจกตใ์ ดมีต้นทุนดอี ยู่แล้วกจ็ ัดสรรใหด้ ี นน่ั จงึ เรยี กวา่ ความคุ้มค่าห้ามจำ�หน่าย 73
ครบวงจร ถ้าในเมื่อประเทศไทยมีพ้ืนท่ีท่ีท้ังแห้งแล้งและน้�ำท่วม แล้วท�ำไมเราถงึ ไมเ่ กบ็ น�้ำทีเ่ คยท่วมเอาไวใ้ ช้ตอนหน้าแลง้ ซะเลยล่ะ จากแรงบันดาลใจเมื่อครั้งทรงพระเยาว์ ท่ีในหลวงทรงสังเกตการเคย้ี วอาหารของลงิ วา่ ถา้ เราสง่ กลว้ ยให้ ลงิ จะรบี ปอกเปลอื กเอากลว้ ยนนั้ เขา้ ปากไปเกบ็ ไวใ้ นกระพงุ้ แกม้ จนเตม็ แลว้ คอ่ ยทยอยเอาออกมาเคย้ี วและกลนื ทหี ลงั แล้วโครงการแก้มลิงก็ถือกำ� เนิดข้นึ โดยใชห้ ลกั การเดยี วกบั การเกบ็ อาหารของลงิ กค็ อื เราจะสรา้ งพน้ื ท่ีเก็บกักน�้ำไว้ตามจุดต่างๆ เมื่อน้�ำหลากเราก็ผันน�้ำเข้าพ้ืนที่เพ่ือป้องกันนำ�้ ทว่ ม และเมอ่ื นำ�้ แลง้ กส็ ามารถนำ� นำ�้ ทเ่ี กบ็ ไวม้ าใชไ้ ด้ หรอื อาจใชร้ ะบายลงในคูคลองเพื่อทำ� ให้น�้ำเน่าเสียเจอื จางลงก็ได้ เรียกวา่ เพียงโครงการเดียวก็สามารถบรหิ ารจดั การนำ�้ ไดค้ รบวงจร หนง่ึ ในแกม้ ลงิ ทเี่ ปน็ ตวั อยา่ งไดช้ ดั เจน คอื ทท่ี งุ่ มะขามหยอ่ ง จงั หวดัพระนครศรีอยธุ ยา ด้วยความท่ีอยธุ ยาเปน็ เมอื งอตุ สาหกรรม เต็มไปด้วยห้ามจำ�หน่าย 75
โรงงานน้อยใหญ่ ถ้าเกิดน�้ำท่วมข้ึนมาจะเสียหายเป็นมูลค่านับหมื่นล้านบาท ในชว่ งนน้ั เพงิ่ มกี ารกอ่ สรา้ งทงุ่ มะขามหยอ่ งเปน็ สวนสาธารณะใหมๆ่ปลูกตน้ ไมส้ วยๆ ไวเ้ ตม็ ไปหมด ในช่วงปี 2538 เกิดอุทกภัยขึ้นที่อยุธยา แต่ด้วยความที่ราชการเห็นว่าสวนสาธารณะทุ่งมะขามหย่องเป็นโครงการของสมเด็จพระราชินีเลยพยายามกันไม่ให้น้�ำท่วมสวนน้ี จนในหลวงต้องรับสั่งผ่านไปยังผู้ว่าราชการจงั หวดั วา่ ใหใ้ ชพ้ นื้ ทท่ี งุ่ มะขามหยอ่ งเปน็ แกม้ ลงิ สว่ นตน้ ไมด้ อกไม้ท่ีเสยี หายนัน้ พระองค์จะทรงไปขอโทษสมเด็จพระราชนิ ีเอง เรียกได้ว่าโครงการแก้มลิงเป็นการบริหารจัดการนำ�้ แบบครบวงจรเพราะเมอื่ นำ้� มามาก กผ็ นั นำ้� เขา้ สพู่ นื้ ทร่ี บั นำ้� แกม้ ลงิ เพอื่ ปอ้ งกนั นำ้� ทว่ มได้และเมื่อน้�ำแล้ง เราก็สามารถน�ำน�้ำที่กักเก็บไว้ มาหล่อเล้ียงพื้นที่ให้มีชีวติ ชีวาตอ่ ไปได้ ความจรงิ แลว้ ในหลวงยงั ทรงลงทนุ ในโครงการทเ่ี กย่ี วกบั นำ้� อกี มากพูดได้เต็มปากว่าพระองค์ลงทุนกับน�้ำมากกว่าโครงการด้านอ่ืนๆ อย่างห้ามจำ�หน่าย 77
เหน็ ได้ชัด เพราะทรงเห็นว่าหากทรพั ยากรน้ำ� ถกู จัดสรรไดด้ ี ประเทศก็จะมีกำ� ไรมหาศาลอย่างแนน่ อน ซงึ่ กำ� ไรและผลตอบแทนทไี่ ดไ้ มไ่ ดห้ มายความเพยี งแคต่ วั เลขเทา่ นน้ั แตม่ นั รวมถงึ ความสขุ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากความกนิ ดอี ยดู่ ขี องประชาชนชาวไทยดว้ ยนน่ั เอง78 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
KEYS OF SUCCESS� เรียนร้จู ากข้อผดิ พลาด ความผิดพลาดไม่ใช่ความล้มเหลว แต่เปน็ พ้นื ฐานส�ำหรบั เรยี นรู้� ลงทนุ แบบมองอนาคต การลงทุนทีต่ ัง้ เปา้ หมายระยะยาว อาจขาดทุนในช่วงแรก แตผ่ ลก�ำไร มหาศาลจะรออยใู่ นอนาคต� คิดให้ครบวงจร มองปญั หาใหร้ อบด้าน เพื่อแกป้ ญั หาแบบรวบยอด
05
แยแ่ ค่ไหนก็กลบั มาดไี ด้
84 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
ห้ามจำ�หน่าย 85
“มาอีกแลว้ แบดแลนด”์ เปน็ คำ� พดู ตดิ ปากของในหลวง เวลาทม่ี ผี ถู้ วายทด่ี นิ แยๆ่ ใหพ้ ระองค์ แบดแลนด์ (badland) ไมไ่ ดเ้ กยี่ วอะไรกบั แบทแมน และไมไ่ ดห้ มายถงึทด่ี นิ ทไ่ี มม่ มี ลู คา่ ทด่ี นิ ทร่ี กรงุ รงั หรอื พนื้ ทที่ เ่ี ตม็ ไปดว้ ยอนั ตราย แตห่ มายถงึที่ดินท่ีตัวดินมีคุณภาพแย่จนไม่สามารถปลูกอะไรได้ ซ่ึงมีอยู่มากในประเทศไทย ค�ำพูดที่ว่าในน้�ำมีปลา ในนามีข้าว ท่ีเปรียบเปรยให้เห็นภาพว่าประเทศไทยช่างอุดมสมบูรณ์นั้น เป็นเร่ืองไม่จริง เพราะจากการส�ำรวจสภาพดินระหว่างประเทศไทย เมยี นมา มาเลเซยี และเวียดนาม พบว่าดินของไทยมคี ณุ ภาพต่ำ� กว่าชาตอิ ่นื มาก ในหลวงก็ทรงทราบเร่ืองนี้ดี เพราะหลายคร้ังท่ีมีผู้ถวายท่ีดินใหพ้ ระองค์ กล็ ว้ นแล้วแต่เป็นดนิ สภาพแย่ ที่ผถู้ วายคิดว่าถา้ หากในหลวงทรงเอาไปสร้างวงั ก็น่าจะท�ำใหพ้ นื้ ทโี่ ดยรอบมมี ูลค่าเพิ่มสงู ข้ึนแนน่ อน แต่ในหลวงกลับเห็นต่าง ด้วยคิดว่าการสร้างพระราชวังบนท่ีดินผนื นนั้ คงไม่ไดช้ ่วยให้อะไรดีข้นึ การทำ� ใหผ้ ืนดนิ นีก้ ลับมาใชก้ ารไดอ้ ีกครัง้ ต่างหากคอื คำ� ตอบห้ามจำ�หน่าย 87
รา้ ยกร็ บั จุดเรม่ิ แรกของการตอ่ สูร้ ะหว่างพระองคก์ ับดนิ คอื ทเี่ ขาเต่า พ้ืนทซี่ งึ่ ครอบครองดินท่เี ลวทีส่ ุดในโลกเอาไว้ เร่ืองเร่ิมข้ึนเม่ือปี 2506 ในตอนนั้นในหลวงทรงริเริ่มโครงการอา่ งเกบ็ นำ�้ ทเ่ี ขาเตา่ ประจวบเหมาะกบั ที่ ดร.แฟรงค์ อาร์ มอรแ์ มน ผเู้ ชยี่ วชาญเรอื่ งดนิ ระดบั โลกเดนิ ทางมายงั ประเทศไทยพอดี และไดม้ โี อกาสมาเขา้ เฝา้ ฯ เมอ่ื ดร.มอรแ์ มน เจาะดนิ ตรวจดู กพ็ บวา่ ดนิ ทเี่ ขาเตา่ แยม่ าก มสี ภาพเปน็ กรดจดั เรียกวา่ ดนิ เปร้ยี วจดั หรอื ดินกรดกำ� มะถนั (Acid sulfate soils)เกิดจากตะกอนนำ้� ทะเลหรือตะกอนนำ้� กร่อย ทำ� ใหค้ วามอุดมสมบรู ณต์ �ำ่ ขาดสารอาหารสำ� หรบั พชื ใชเ้ พาะปลกู ไมไ่ ด้ ชาวฮอลแลนดเ์ รยี กดนิ แบบน้ีวา่ แคต-เคลย์ (cat-clays) ซ่งึ เช่อื กันว่าเป็นดนิ ทน่ี �ำความโชครา้ ยมาให้ สรปุ วา่ ในวนั นนั้ ดร.มอรแ์ มน กอ็ ธบิ ายใหใ้ นหลวงทราบความแตกตา่ งระหว่างดินประเภทต่างๆ จนพระองค์รู้จักดินมากข้ึนและเกิดสนพระทัยในศาสตรข์ องดิน88 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
ปัญหาดินเป็นเรื่องใหญ่ เพราะผืนดินเป็นทรัพยากรท่ีมีจ�ำกัดเสียยง่ิ กวา่ นำ้� ซะอีก ถงึ ตรงนเี้ ราขอเปรยี บเทยี บใหเ้ หน็ ภาพ สมมตใิ หม้ หี อ้ งอยหู่ อ้ งหนงึ่ท่ีมีน�ำ้ ขังเจง่ิ นองอยูค่ ร่งึ หอ้ ง ทกุ คนในหอ้ งต่างก็พยายามเลย่ี งไมเ่ หยยี บพนื้ ทเ่ี จิ่งน้�ำนน้ั แต่เม่ือมีคนเดินเข้ามาในห้องเยอะเข้า ก็จะต้องมีคนลงไปยืนย่�ำอยู่ตรงบริเวณน�้ำขังอย่างแน่นอน ไม่ว่าเราจะพยายามแบ่งปันพ้ืนท่ีหรือยืนกันอย่างเบยี ดเสยี ดยัดเยียดแคไ่ หน ก็เหมือนกับสถานการณ์ของประเทศไทย ตัวห้องคือพ้ืนที่ท้ังหมดของประเทศ พน้ื ทนี่ ำ้� ขงั คอื แบดแลนด์ สว่ นคนกค็ อื ประชากรของไทยทเ่ี พมิ่มากขึ้นทุกวนั จากขอ้ มลู เราจะพบวา่ ประเทศไทยนนั้ มที ด่ี นิ อยู่ 312 ลา้ นไรเ่ ทา่ นนั้ไม่มีทางเพม่ิ ขึ้นได้ สวนทางกับจ�ำนวนประชากรทเ่ี พมิ่ ข้ึนเร่อื ยๆ ในหลวงห้ามจำ�หน่าย 89
ทรงมองเห็นว่าสักวันหนึ่งก็ต้องมีคนใช้สอยพื้นที่แบดแลนด์เหล่าน้ีอยู่ดีไม่มีทางหลีกเล่ียงได้ พระองค์จึงทรงคิดหาทางปลุกปล�้ำปรับปรุงพื้นท่ีเหล่าน้ีให้กลับมาใช้เพาะปลกู ได้อีกคร้งั เพอื่ ประชาชนในอนาคต ครนั้ ปี 2520 มีผู้ถวายทด่ี ินบริเวณเขาหนิ ซ้อน จงั หวัดฉะเชิงเทราเพ่ือให้ในหลวงใช้สร้างพระต�ำหนัก ซ่ึงเม่ือได้ลองศึกษาดูพระองค์ก็ทรงพบวา่ ทดี่ นิ ตรงนท้ี รดุ โทรมอยา่ งหนกั ปา่ ถกู โคน่ หมดเพอ่ื ปลกู ขา้ วโพดและมันส�ำปะหลังซ�้ำๆ จนดนิ เสอื่ มสภาพแทบไม่เหลอื ดี กลายเปน็ ดนิ จืดและดนิ ทราย หลงั จากทรงพนิ จิ พจิ ารณาอยสู่ องปี ในหลวงกต็ ดั สนิ ใจถามผทู้ มี่ าถวายว่าจะขอเปล่ียนท่ีดินตรงนี้เป็นสถานที่ส�ำหรับศึกษาเรื่องการเกษตรแทนได้ไหม เม่ือผู้ถวายไม่ปฏิเสธ พระองค์จึงโปรดให้สร้างศูนย์ศึกษาพัฒนาอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� รขิ น้ึ ทนี่ ีเ่ ปน็ แห่งแรกของประเทศ90 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
แมจ้ ะมผี ทู้ ดั ทานเปน็ จำ� นวนมากวา่ ทำ� โครงการดนิ นน้ั ไมค่ มุ้ เพราะดินที่น่ีไม่ดี แต่ในหลวงก็ทรงอธิบายว่า “หากบอกว่าที่น่ีดินไม่ดี ไม่ช่วยไม่ทำ� ลงทา้ ยประเทศไทยทง้ั ประเทศจะกลายเปน็ ทะเลทรายหมด” เพราะดินมีจ�ำกดั ถ้าไม่หาทางพัฒนาดิน แลว้ สุดท้ายเราจะหนไี ปอย่ทู ไี่ หนได้ หนทางการแกป้ ญั หาอาจเรมิ่ ตน้ ไดด้ ว้ ยการยอมรบั ในความเลวรา้ ยที่เรามีห้ามจำ�หน่าย 91
เปลีย่ น เมือ่ ยอมรับไดแ้ ล้ว กา้ วตอ่ ไปคือการปรับปรงุ ดินในประเทศไทยเต็มไปด้วยปัญหา ไม่ว่าจะเป็นสภาพดินเค็มดินจืด ดินทราย ดินดาน เป็นต้น แต่ดินเปร้ียวเป็นปัญหาดินท่ีคนไทยประสบกนั อยา่ งหนักหน่วง ในหลวงเองกท็ รงตระหนกั ในเรอ่ื งนดี้ ี ดว้ ยความทที่ รงมพี ระตำ� หนกัที่นราธิวาส ท่ีดินแถบน้ันล้วนแล้วแต่เป็นดินพรุ คือดินในป่าพรุที่มีน�้ำขังเกดิ จากการทับถมของซากพชื หนา 40 ซม. ขน้ึ ไป สภาพดินเปน็ สีน้ำ� ตาลแดงเข้มหรือคลำ้� เมื่อสูบน้ำ� ออกเพือ่ ทำ� การเพาะปลูก ดนิ จะยุบตัวลงมากน�้ำหนักเบา จนพืชไม่สามารถตง้ั ล�ำต้นตรงอย่ไู ด้ อกี ทงั้ ยงั มีความเป็นกรดสูงจนเปร้ยี วจดั จากก�ำมะถัน ท�ำใหเ้ พาะปลูกอะไรไม่ไดเ้ ลย ในหลวงจึงโปรดฯ ให้ศึกษาวิจัยเรื่องดินเปรี้ยวอย่างจริงจัง ทรงเร่ิมตน้ โครงการพิกุลทองใกลๆ้ พระตำ� หนักทกั ษณิ ราชนเิ วศน์ โดยมโี จทย์ว่าตอ้ งเปลย่ี นดนิ เปรยี้ วใหเ้ ปน็ ดนิ ดใี ห้ได้ อยู่มาวันหนึ่ง พระองค์ก็มีรับสั่งกับ อาจารย์สิทธิลาภ วสุวัตอดตี อธบิ ดีกรมพัฒนาทีด่ ินว่าห้ามจำ�หน่าย 93
“สิทธิลาภ เราแกลง้ ดินกันไหม…” ไอเดียก็คือท�ำให้ดินเปร้ียวท่ีสุด ด้วยการท�ำให้ดินแห้งกับเปียกสลับกันเพื่อเร่งให้ดินปล่อยกรดก�ำมะถันออกมาโดยเร็ว แล้วน�ำดินเปร้ยี วจัดนัน้ มาทดลอง ทรงแนะให้แบ่งท่ีดินออกเป็นหกแปลง แปลงละหนึ่งไร่ มีคันดินคูน้�ำล้อมรอบ แล้วก็จัดการแกล้งมันด้วยการปั๊มน้�ำเข้าออกแปลงดินสลับกนั ไปประมาณสองปี จนดินกลายสภาพเปน็ เปรี้ยวจัด จากน้ันก็ทรงทดลองก�ำจัดกรดก�ำมะถันออกไปโดยมีเป้าหมายให้ดนิ แตล่ ะแปลงนนั้ สามารถปลูกข้าวได้ วธิ ีการก็มีตงั้ แต่ใช้น�ำ้ ชะลา้ ง ใช้ปูนปรบั คา่ ความเปน็ กรดของดนิ ใชท้ งั้ นำ�้ และปนู รว่ มกนั ไปจนถงึ ปลอ่ ยเอาไว้เฉยๆ ตามธรรมชาติ ซ่ึงผลที่ออกมาก็ปรากฏว่าการใช้น�้ำร่วมกับปูนน้ันไดผ้ ลดที ีส่ ดุ คือสามารถนำ� ดินมาปลูกขา้ วได้ภายในสามปี พระองค์จึงทรงให้น�ำวิธีนี้ไปทดลองใช้ในพื้นท่ีจริงอย่างบริเวณโคกอิฐ-โคกในซ่ึงมีดินพรุมากมายห้ามจำ�หน่าย 95
ผลลพั ธค์ อื เกษตรกรทนี่ ป่ี ลกู ขา้ วไดเ้ พม่ิ ขน้ึ จากทเ่ี คยปลกู ได้ 4-5 ถงัต่อไร่ กก็ ลายเป็น 40-50 ถังต่อไร่ แถมขา้ วพืน้ เมืองทน่ี ยี่ งั กลายเป็นสนิ ค้าข้นึ ชื่อของจงั หวดั ด้วย จากความส�ำเร็จในคร้ังน้ัน ในหลวงจึงโปรดฯ ให้จัดท�ำเป็นต�ำราแก้ไขดินเปร้ียว ซ่ึงถือเป็นคร้ังแรกของโลก และยังน�ำวิธีการน้ีไปปรับใช้ทจี่ ังหวัดนครนายก ซึ่งมีปญั หาคล้ายคลงึ กนั อกี ดว้ ย96 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
หาตัวช่วย เพ่ือเพมิ่ ประสิทธภิ าพ หากวา่ นำ้� กบั ไฟเปน็ ปฏปิ กั ษต์ อ่ กนั นำ้� กบั ดนิ กค็ งเปน็ เหมอื นเพอ่ื นซี้ ในชว่ งทใ่ี นหลวงทรงเรมิ่ ศกึ ษาดนิ ทศี่ นู ยพ์ ฒั นาเขาหนิ ซอ้ น นอกจากกรมพัฒนาที่ดินแล้ว พระองค์ก็ทรงให้กรมชลประทานเข้ามาช่วยขบคิดแก้ปัญหาด้วย เพราะทรงยดึ หลกั วา่ ดนิ แยแ่ คไ่ หนก็แก้ไขได้ด้วยน�ำ้ คราวนน้ั ทรงเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการสรา้ งอา่ งเกบ็ นำ�้ ขน้ึ ในพน้ื ที่ แลว้ ปลกู หญา้เพอ่ื ยดึ ดนิ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั รว่ มกบั การใชป้ ยุ๋ เพอ่ื ฟน้ื สภาพดนิ กลบั มา นำ้� เปน็สว่ นสำ� คญั ในการหลอ่ เลยี้ งใหด้ นิ ชมุ่ ชน้ื ทำ� ใหด้ นิ กลบั สสู่ ภาพดเี หมอื นเดมิเรียกวา่ ถา้ มนี ้ำ� ไหลริน ดนิ กม็ สี ภาพดี แตด่ นิ ในบางพื้นทีก่ ต็ ้องการตัวชว่ ยมากกว่าแค่น�ำ้ เดมิ ที พนื้ ทต่ี รงห้วยทรายเปน็ ปา่ โปร่ง แตภ่ ายหลงั มีการท�ำไร่และปลูกสับปะรดจนดินจืดกลายเป็นทราย ต่อมาก็ถูกลมและน�้ำชะล้างทรายไปจนหมด เหลอื เพยี งดนิ ดานซงึ่ เปน็ ดนิ ทแี่ ขง็ ตวั เมอื่ ถกู อากาศ ไมม่ แี รธ่ าตุที่มีประโยชน์จนถึงขั้นว่าในหลวงรับส่ังว่าดินท่ีน่ีเป็น ‘แม่รัง’ ซึ่งสภาพเลวรา้ ยกวา่ ดินลกู รงั หลายเท่าตัวห้ามจำ�หน่าย 97
ซำ�้ รา้ ยไปกวา่ นน้ั พนื้ ทตี่ รงนยี้ งั เปน็ เขตอบั ฝน มปี รมิ าณนำ�้ ฝนเฉลยี่ปลี ะ 800 มิลลเิ มตรเทา่ น้ัน แถมเมือ่ ฝนตกลงมา ลักษณะดินกไ็ มส่ ามารถช่วยกกั เก็บน�ำ้ เอาไว้ ยากที่จะปลกู พืชผลอะไรได้ ในหลวงจงึ ต้องหาตัวช่วย แล้วพระองคก์ ไ็ ด้พบกับหญา้ แฝก แต่เดิมคนไทยมักจะใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝกเพียงแค่เอามามุงหลังคาเท่านั้น จนกระท่ังปี 2534 ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ได้รับเอกสารเล่มเล็กๆ ของธนาคารโลกเล่มหนึ่งเกี่ยวกบั หญ้าแฝกมาอา่ น เมือ่ อา่ นจบก็ตัดสินใจทูลเกล้าฯ ถวายในหลวงทันที คร้ันพระองค์ได้อ่านก็พบว่าหญ้าแฝก คอื พืชวเิ ศษทีน่ ำ� มาใชแ้ ก้ปัญหาดินได้ โดยแทบจะไม่ตอ้ งลงทุนอะไรนอกจากแค่ลงแรงปลกู เท่าน้นั เมื่อได้ทราบอย่างนี้ในหลวงจึงมีรับสั่งให้เอาหญ้าแฝกมาทดลองใช้งานทันที ซึ่งวนั นน้ั ดร.สุเมธ อยูท่ ีค่ า่ ยพระราม 6 จงั หวัดเพชรบรุ ีพอดีกเ็ ลยให้ ตชด. ไปหาหญ้าแฝกมาให้ ผ่านไปไมก่ ชี่ วั่ โมง ปรากฏว่าตำ� รวจเอาหญ้าแฝกมาเรยี งเป็นตบั เตรียมไวใ้ ห้เรียบรอ้ ย พรอ้ มมงุ หลงั คา 98 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
ดร.สเุ มธจึงต้องบอกวา่ ขอใหม่ เอาแบบเป็นตน้ ไมเ่ อาเป็นตบั แล้วพอน�ำหญ้าแฝกมาท�ำการทดลองจริง ผลที่ออกมาก็เป็นที่น่าพึงพอใจ เพราะหญ้าแฝกนั้นมีประโยชน์หลากหลายมาก เริ่มตั้งแต่รากท่ีสามารถชอนไชลงในดินได้ดี แถมยังยึดดินได้แน่นจนสามารถชะลอความเรว็ ของนำ�้ ทไี่ หลบา่ และรกั ษาหนา้ ดินได้อกี ด้วย กลับมาทห่ี ้วยทราย หลังจากในหลวงน�ำหญา้ แฝกมาปลูก กพ็ บว่ารากของหญ้าแฝกชอนไชลงไปใต้ดินดานที่แห้งแข็งได้ แล้วยังท�ำหน้าท่ีคอยยดึ ดิน ประสานกนั เปน็ เหมอื นก�ำแพงอย่ขู ้างใต้ ท�ำให้นำ�้ สามารถซมึและกักเก็บไว้ในดินไดด้ ีขน้ึ ดินกอ็ อ่ นนุ่มลง พอปลกู เสรจ็ กท็ รงปลอ่ ยทิ้งไว้ใหป้ า่ ฟ้ืนฟสู ภาพดว้ ยตวั เองต่อไป ตามหลกั การปลูกปา่ โดยไมต่ อ้ งปลกู นอกจากหว้ ยทรายแล้ว ในหลวงยังโปรดฯ ใหน้ ำ� หญา้ แฝกไปปลกูตามพืน้ ทตี่ ่างๆ เพือ่ แก้ปญั หาดนิ เช่น ในโครงการหลวง ทท่ี รงน�ำไปปลูกเป็นคันดินเพื่อเตรียมท�ำเกษตรแบบข้ันบันได หรือท่ีเขาชะงุ้ม ท่ีมีสภาพเปน็ ทรายจดั ไมม่ พี ชื ขน้ึ ไดเ้ ลยแมแ้ ตห่ ญา้ แตด่ ว้ ยคณุ สมบตั สิ ำ� คญั ของรากหญ้าแฝกที่เป็นปล้องเหมือนหลอดกาแฟ ก็ท�ำให้หญ้าแฝกช่วยดินอุ้มน�้ำห้ามจำ�หน่าย 99
เอาไว้ ท�ำให้ดนิ ร่วนซุย และยงั กักเก็บความช่มุ ช้นื เอาไว้ไดจ้ นถงึ หน้าแล้งเลยทีเดยี ว จากต้นหญ้าไร้ประโยชน์ที่ไม่มีใครสนใจ หญ้าแฝกกลายเป็นเครอ่ื งมอื แกป้ ญั หาดนิ สดุ คมุ้ ราคาประหยดั ทช่ี ว่ ยทำ� ใหด้ นิ เลวๆ กลายเปน็ดินดีอีกครัง้ หนึ่ง การก�ำจัดปญั หาด้วยการตัดส่วนร้ายทิง้ น่าจะเปน็ วิธีการที่สะดวกทสี่ ดุ แต่ไม่ใช่ว่าทุกๆ ปัญหาจะจัดการด้วยการก�ำจัดได้ท้ังหมด ดังเช่นปัญหาดิน ที่ไม่ว่าสภาพดินจะดีหรือเลว เราทุกคนก็ต้องใช้ชีวิตอยู่บนผืนดินด้วยกันทั้งน้ัน อีกท้ังประชาชนหลายคนหรือหลายครอบครัวก็ล้วนต้องพ่ึงพาอาศยั ดนิ การยอมรบั เขา้ ใจ และศกึ ษาอย่างหนกั เพือ่ เปลย่ี นแปลง จึงเป็นส่งิ ท่พี ระองค์ทรงเลือกท�ำ แม้หลายคนจะคดิ วา่ ในหลวงไมอ่ าจท�ำได้100 T H E V I S I O N A R Y ห้ามจำ�หน่าย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192