Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิติที่1หลักสูตร(1)

มิติที่1หลักสูตร(1)

Published by เดชา โพนทอง, 2021-05-28 07:51:52

Description: มิติที่1หลักสูตร(1)

Search

Read the Text Version

คำนำ การจัดการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานจะต้องสอดคล้องกับการเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และความรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทเ่ี จริญก้าวหนา้ อย่างรวดเร็ว เพื่อพฒั นาและ เสรมิ สรา้ งศักยภาพคนของชาติใหส้ ามารถเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ โดยการยกระดับคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู้ใหม้ ีคณุ ภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคลอ้ งกบั ประเทศไทย ๔.๐ และโลก ในศตวรรษท่ี ๒๑ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพืน้ ฐานจึงได้ดาเนินการทบทวนหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยนาขอ้ มูล จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี และแผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ มาใช้เป็นกรอบ และทศิ ทางในการพัฒนาหลักสตู รใหม้ ีความเหมาะสมชดั เจนยิง่ ข้นึ และ เห็นควรปรบั ปรงุ หลกั สตู รในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกล่มุ สาระ การเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่งึ มีความสาคญั ต่อการพัฒนาประเทศ และเปน็ รากฐานสาคัญ ทีจ่ ะช่วยให้มนษุ ย์มคี วามคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ คิดอยา่ งมีเหตผุ ล เปน็ ระบบ สามารถวิเคราะห์ปัญหา หรือ สถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถถี่ ว้ น สามารถ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนการใชเ้ ทคโนโลยีที่ เหมาะสมในการบรู ณาการกบั ความรู้ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพ่อื แกป้ ญั หา หรือพฒั นางานดว้ ย กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมท่นี าไปส่กู ารคดิ คน้ ส่ิงประดิษฐ์ หรือสรา้ งนวตั กรรมต่างๆ ท่เี อื้อประโยชน์ ต่อการดารงชวี ิต การใชท้ กั ษะการคดิ เชิงคานวณ ความรู้ ทางดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยี และ การสอื่ สาร ในการแก้ปญั หาท่ีพบในชวี ติ จรงิ ได้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รวมทง้ั ใช้ความรู้ ความสามารถ ทักษะ กระบวนการ และเครื่องมือทางภมู ิศาสตร์ เรยี นรูส้ ง่ิ ตา่ ง ๆ ที่อยรู่ อบตวั อย่างเขา้ ใจสภาพที่เป็นอยู่ และการ เปล่ยี นแปลงเพื่อนาไปสู่การจัดการและปรับใช้ในการดารงชีวติ และการประกอบอาชพี อย่างสรา้ งสรรค์ ท้งั น้ี กระทรวงศึกษาธิการได้มอบหมายให้สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) รับผิดชอบในการปรับปรงุ หลกั สูตรกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระ เทคโนโลยี และสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานรับผดิ ชอบปรบั ปรงุ สาระภูมิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระ การเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชวี้ ดั ฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และเพอื่ ใหก้ ารขับเคลือ่ นนโยบาย การพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาสู่ห้องเรยี นอย่างเป็นรูปธรรม สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษา อดุ รธานี เขต 2 ไดจ้ ดั คู่มือ 6 มติ คิ ณุ ภาพสู่การปฏิบัติ เพื่อเปน็ แนวทางให้สถานศึกษาในสังกัด ใชเ้ ปน็ กรอบในการ พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาและจดั การเรียนการสอน ตลอดจนเปน็ แนวทางให้ผ้ทู ี่เกีย่ วข้อง เข้าใจในเปา้ หมาย การพฒั นาผูเ้ รยี น และมสี ่วนรว่ มในการสง่ เสริม สนับสนนุ ให้ผเู้ รยี นบรรลุตามเปา้ หมายที่ กาหนดไว้ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 2 ขอขอบคุณ คณะกรรมการดาเนินการ จัดทาคมู่ ือ 6 มิติคุณภาพสู่การปฏบิ ัติทกุ ท่าน ที่ช่วยใหก้ ารพฒั นาหลกั สูตรฉบบั น้ี มีความสมบูรณแ์ ละ เหมาะสมต่อการจดั การศึกษาเพ่อื คุณภาพของผู้เรยี น กลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 2

สำรบัญ หนำ้ ความรู้พืน้ ฐานเก่ียวกบั หลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 1 และฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560......................................................... 1 2 บทนา .................................................................................................................. 3 สาระสำคญั ของการปรบั ปรงุ หลักสตู ร ............................................................. 4 กระบวนการจัดทำหลกั สูตรสถานศกึ ษา ……………………………………………………… 28 องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา ……………………………………………………………… 34 แนวทางการตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลกั สตู รสถานศึกษา ............................ 35 การวจิ ัยและตดิ ตามผลการใช้หลกั สูตร ……………………………………………………….. 45 การนาหลกั สูตรสู่การปฏิบตั ิ ................................................................................................................................ 49 การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ ……………………………………………………………….. เอกสารประกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา ……………………………………………………….. 50 การนำหลักสตู รสถานศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 53 54 พุทธศักราช 2551 ไปใช้ ……………………………………………………………… 55 บทสรปุ …………………………………………………………………………………………………… บรรณานกุ รม ………………………………………………………………………………………….. คาสงั่ แต่งต้งั คณะกรรมการจัดทาคูม่ ือ 6 มติ คิ ุณภาพส่กู ารปฏิบัติ .......................

1 ความรูพ้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 และฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช 2560 บทนา กระทรวงศกึ ษาธิการได้ประกาศใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ให้เปน็ หลกั สูตรแกนกลางของประเทศ เมื่อวนั ที่ 11 กรกฎาคม 2551 เริ่มใช้ในโรงเรียน ต้นแบบการใช้หลกั สตู รและโรงเรียนท่มี ีความพร้อมในปีการศกึ ษา 2552 และเริ่มใชใ้ นโรงเรยี นทวั่ ไป ตงั้ แต่ปกี ารศึกษา 2553 เป็นตน้ มา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐานโดยสานกั วิชาการ และมาตรฐานการศึกษาได้ดาเนินการติดตามผลการนาหลกั สูตรไปสู่การปฏบิ ัติอย่างต่อเน่ืองในหลาย รูปแบบพบวา่ มีขอ้ ดีในหลายประการ เช่น กาหนดเป้าหมายการพฒั นาไวช้ ดั เจน มคี วามยืดหยุ่น เพยี งพอให้สถานศึกษาบรหิ ารจดั การหลกั สตู รสถานศึกษาได้ สาหรบั ปัญหาทพ่ี บส่วนใหญ่เกิดจาก การนาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สูก่ ารปฏบิ ัตใิ นสถานศกึ ษาและใน หอ้ งเรียน นอกจากน้ที ศิ ทางของกรอบยุทธศาสตร์ แผนแมบ่ ท และกฎหมายที่เก่ยี วข้องกับการพัฒนา ประเทศ พบวา่ ประเด็นสาคัญเพื่อเปลี่ยนแปลงแผนไปสู่การปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผลสัมฤทธ์ิไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ คอื การเตรยี มพรอ้ มดา้ นกาลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกชว่ งวัย มุ่งเนน้ การยกระดับคุณภาพมนุษย์ของประเทศ โดยพัฒนาคนให้เหมาะสมตามชว่ งวัย เพื่อให้เติบโตอยา่ ง คุณภาพ การพัฒนาทักษะทสี่ อดคล้องกับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะที่จาเป็นต่อ การดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ของคนในแตล่ ะช่วงวยั ตามความเหมาะสม การเตรียมความพร้อมของ กาลงั คนด้านวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ีจ่ ะเปลี่ยนแปลงในอนาคต ตลอดจนการยกระดับคณุ ภาพ การศึกษาสู่ความเปน็ เลิศ ในการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรช์ าตเิ พื่อเตรยี มความพร้อมคนใหส้ ามารถปรับตัวรองรับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ในยคุ โลกาภิวตั น์ไดอ้ ย่างเหมาะสม กระทรวงศึกษาธิการจงึ กาหนด เป็นนโยบายสาคัญและเรง่ ด่วนให้มกี ารปรับปรุงหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมรวมท้งั สาระเทคโนโลยี โดยมอบหมายให้สถาบนั ส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ดาเนินการปรับปรุง กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระ การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และสาระเทคโนโลยี และมอบหมายให้สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ข้นั พนื้ ฐานดาเนนิ การปรบั ปรุงสาระภมู ิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม การปรบั ปรุงหลกั สูตรคร้งั น้ี ยังคงหลกั การและโครงสรา้ งเดิมของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 คอื ประกอบดว้ ย 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ได้แก่ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนารรมและวัฒนธรรม สุขศึกษาและ พลศึกษา ศลิ ปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ แต่ม่งุ เน้นการปรับปรุงเนื้อหา ให้มคี วาม ทนั สมยั ทันต่อการเปลย่ี นแปลงและความเจริญกา้ วหน้าทางวทิ ยาการตา่ งๆ คานึงถึง การสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี น มีทักษะท่ีจาเป็นสาหรบั การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป็นสาคญั เตรยี มผู้เรยี นให้ มีความพรอ้ มท่ีจะ เรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ พร้อมทจ่ี ะประกอบอาชีพเม่ือจบการศึกษาหรือสามารถศกึ ษาตอ่ ใน ระดับทส่ี ูงขน้ึ สามารถแขง่ ขนั และอย่รู ว่ มกบั ประชาคมโลกได้

2 กรอบในการปรับปรุง คือ ให้มีองค์ความรูท้ ่เี ป็นสากลเทียบเทา่ นานาชาติ ปรับมาตรฐาน การเรยี นรู้และตัวช้ีวัดใหม้ ี ความชัดเจน ลดความซา้ ซ้อน สอดคล้องและเช่ือมโยงกนั ภายในกลุม่ สาระ การเรียนรูแ้ ละระหวา่ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตลอดจนเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยเี ขา้ ด้วยกนั จดั เรยี งลาดบั ความยากง่ายของเน้ือหาในแตล่ ะระดบั ชั้นตาม พฒั นาการแต่ละช่วงวยั ให้ มีความเช่ือมโยงความร้แู ละกระบวนการเรยี นรโู้ ดยใหเ้ รยี นร้ผู ่านการปฏิบตั ิ ทส่ี ่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นพฒั นาความคิด สาระสาคญั ของการปรบั ปรุงหลักสตู ร มดี ังนี้ 1. กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 1.1 จัดกลมุ่ ความรู้ใหม่และนาทักษะกระบวนการไปบูรณาการกบั ตัวช้ีวัด เนน้ ใหผ้ ู้เรยี น เกดิ การคิดวเิ คราะห์ คิดแกป้ ัญหา และมที ักษะในศตวรรษที่ 21 1.2 กาหนดมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้วี ดั สาหรบั ผู้เรยี นทุกคนท่ีเปน็ พนื้ ฐานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง กบั ชวี ติ ประจาวนั และเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการศึกษาต่อระดับทีส่ งู ข้ึน 1.3 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 กาหนดตวั ช้วี ัด เป็นรายปเี พอื่ เป็นแนวทางให้ สถานศึกษาจดั ตามลาดบั การเรยี นรู้ อยา่ งไรก็ตามสถานศกึ ษาสามารถพิจารณาปรบั เลื่อนไหลระหว่างปี ได้ตามความเหมาะสม 2. กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ได้เพิม่ สาระเทคโนโลยี ซึ่งประกอบดว้ ยการออกแบบ และเทคโนโลยีและวทิ ยาการคานวณ ทั้งน้เี พ่ือเออ้ื ต่อการจัดการเรียนรู้บรูณาการสาระทาง คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชงิ วิศวกรรม ตามแนวคิดสะเตม็ ศึกษา 3. สาระภูมิศาสตร์ ซง่ึ เปน็ สาระหนึง่ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ได้ปรบั มาตรฐานการ เรยี นรแู้ ละตัวช้ีวดั ให้มีความชัดเจน สอดคล้องกบั พัฒนาการตามช่วงวยั มีองค์ความรู้ ทีเ่ ป็นสากล เพมิ่ ความสามารถ ทกั ษะและกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ท่ีชัดเจนขี้น ๔. กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามคาสัง่ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขนั้ พื้นฐาน ท่ี 921/2561 เรอ่ื ง ใหย้ กเลิกมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชี้วดั สาระที่ ๒ การออกแบบ และเทคโนโลยี และสาระที่ 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ในกลุม่ สาระ การเรียนรกู้ ารงานอาชีพ และเทคโนโลยี ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 และเปลย่ี นช่ือกลุ่มสาระ การเรียนรูด้ ังน้ี 4.1 ยกเลกิ มาตรฐานการเรียนและตวั ช้วี ดั สาระท่ี 2 การออกแบบเทคโนโลยี และสาระ ที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 คงเหลอื 2 สาระ คือ สาระท่ี 1 การดารงชวี ิตและครอบครวั และสาระท่ี 4 การอาชีพ 4.2 เปลีย่ นชื่อ สาระท่ี 4 การอาชพี เป็นสาระที่ 2 การอาชีพ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

3 เง่ือนไขและระยะเวลาการยกเลิกและเปล่ียนชื่อสาระ ตามข้อ 1 และ ข้อ 2 ใหเ้ ป็นไป ดงั น้ี 1. ปีการศกึ ษา 2561 ให้ยกเลกิ และเปลย่ี นชอ่ื สาระในชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 และช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี1 และ 4 2. ปีการศึกษา 2562 ใหย้ กเลกิ และเปล่ียนชื่อสาระในช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 , 2 ,4 และ 5 และชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 , 2 , 4 และ 5 3. ตัง้ แตป่ ีการศกึ ษา 2563 เปน็ ต้นไป ให้ยกเลกิ และเปลยี่ นช่อื สาระทุกชั้นเรียน 4. ตง้ั แต่ปีการศกึ ษา 2563 เปน็ ตน้ ไป ให้เปล่ียนชื่อกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ดังนี้ 4.1 กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี เป็น กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงาน อาชพี 4.2 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ เปน็ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี กระบวนการจดั ทำหลักสูตรสถานศึกษา การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษามีกระบวนการ ดงั นี้ 1. แตง่ ต้ังคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและงานวชิ าการของสถานศกึ ษา และคณะทางาน 2. ศึกษา วิเคราะห์หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบ หลักสูตรระดับท้องถ่นิ และเอกสารประกอบหลักสูตรตา่ งๆ รวมท้ังข้อมลู สารสนเทศเกี่ยวกบั สภาพ หาจุดเน้น ความตอ้ งการของสถานศกึ ษา ผู้เรียนและชมุ ชน 3. จดั ทาหลักสูตรสถานศึกษา ซง่ึ มีองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้ ส่วนนาโครงสรา้ งหลกั สูตร สถานศึกษาคาอธบิ ายรายวชิ า เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล และเกณฑ์การจบการศึกษา 4. ตรวจสอบองคป์ ระกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยพิจารณาคุณภาพ ความถูกต้องและ ความเหมาะสม 5. นาเสนอคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ หากมี ขอ้ เสนอแนะจากคณะกรรมการ ให้นาขอ้ เสนอแนะไปพิจารณาปรับปรุงก่อนการอนมุ ตั ิใช้หลกั สตู ร 6. จัดทาเป็นประกาศหรือคาส่ัง เร่อื งให้ใชห้ ลกั สูตรสถานศกึ ษา โดยผู้บรหิ ารสถานศึกษา และประธานกรรมการสถานศึกษาเปน็ ผู้ลงนาม หรือผบู้ รหิ ารสถานศึกษาเปน็ ผ้ลู งนาม 7. การใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา ครูผ้สู อนนาหลกั สตู รสถานศึกษาไปกาหนดโครงสรา้ งรายวิชา และออกแบบหนว่ ยการเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาผู้เรยี นให้มีคณุ ภาพตามเป้าหมาย 8. วิจัยและตดิ ตามผลการใช้หลกั สูตร ดาเนนิ การติดตามผลการใชห้ ลักสตู รอย่างต่อเนื่องเป็น ระยะๆ เพ่ือนาผลจากการติดตามมาใช้เปน็ ข้อมลู พิจารณาปรับปรุงหลกั สูตรใหม้ คี ุณภาพและมีความ เหมาะสมย่งิ ข้ึน

4 องคป์ ระกอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย 1. สว่ นนา ขอ้ มูลในส่วนนี้ชว่ ยให้ครูผสู้ อนและผู้เก่ียวขอ้ ง ทราบถึงเป้าหมายโดยรวมขอ สถานศึกษาในการพัฒนาผูเ้ รียน ประกอบด้วยส่วนสาคญั คอื ความนา วสิ ัยทัศน์ สมรรถนะสาคัญ ของผู้เรยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2. โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา เปน็ สว่ นทใ่ี ห้ข้อมูลเก่ียวกับการกาหนดรายวิชาทจี่ ัดสอน ในแต่ละปี/ภาคเรียน ประกอบดว้ ยรายวิชาพนื้ ฐาน รายวิชาเพิ่มเติม กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนพรอ้ ม ทงั้ จานวนเวลาเรยี น หรอื หน่วยกิตของรายวิชาเหลา่ นั้น (โครงสรา้ งเวลาเรียน และโครงสร้างหลักสตู รชัน้ ปี) 3. คำอธบิ ายรายวิชา สว่ นนีเ้ ปน็ รายละเอยี ดท่ชี ว่ ยใหท้ ราบวา่ ผเู้ รยี นจะเรียนอะไรจากรายวิชา นน้ั ๆ ในคาอธบิ ายรายวชิ าจะประกอบดว้ ยรหัสวชิ า ชอ่ื รายวชิ า ประเภทวชิ า (พืน้ ฐาน/ เพิ่มเตมิ ) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ระดับชัน้ ท่ีสอนพร้อมทั้ง คาอธบิ ายใหท้ ราบว่าเม่ือเรียนรายวชิ านัน้ แล้วผ้เู รียนจะมี ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะหรือเจตคติอะไร ซ่งึ อาจระบุให้ทราบถงึ กระบวนการเรียน หรอื ประสบการณ์ สาคัญที่ผเู้ รียนจะได้รบั ดว้ ยก็ได้ 4. กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน แบง่ เป็น 3 ลักษณะ คอื 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนกั เรียน และ 3. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 5. เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา เป็นสว่ นทสี่ ถานศึกษากาหนดคุณสมบัติของผูท้ จี่ ะจบการศกึ ในแตล่ ะ ระดับ โดยพฒั นาเกณฑ์ดังกล่าวใหส้ อดคลอ้ งสมั พนั ธ์กับเกณฑ์การจบหลักสตู รแกนกลาง แต่สถานศกึ ษา จะตอ้ งจัดทาระเบียบวา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนเพ่อื ใช้ควบคกู่ บั หลักสตู รสถานศกึ ษาด้วย อีกเลม่ หน่ึง รายละเอยี ดรูปเลม่ ตามองคป์ ระกอบของหลักสูตรสถานศึกษา 1. ปกหลักสูตรสถานศกึ ษาควรประกอบไปดว้ ยตราสญั ลักษณ์ของโรงเรียน ชอ่ื โรงเรียน ปี พ.ศ.ทเ่ี รมิ่ ใชห้ ลกั สตู รและหน่วยงานที่โรงเรยี นสงั กัดหากหลังจากใชไ้ ประยะหนึง่ แลว้ สถานศึกษามี การปรับปรงุ หลักสตู ร ให้ปรับเปลีย่ นปี พ.ศ. ใหมใ่ ห้สอดคลอ้ งกบั ปีที่ปรบั ปรงุ ตวั อย่างที่ 1 ปกหลักสูตรสถานศกึ ษา ตราโรงเรียน ตราโรงเรียน หลกั สตู รสถานศึกษา หลกั สูตรโรงเรียน……………….……….. โรงเรียน....................... พทุ ธศกั ราช...2563....(ปีทเ่ี รม่ิ ใช้) พุทธศักราช...2563.....(ปที ี่เร่ิมใช้) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 พุทธศักราช2551 สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 2 อุดรธานี เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

5 2.ประกาศหรอื คาส่ังใหใ้ ช้หลักสตู รสถานศึกษา หลังจากคณะกรรมการสถานศกึ ษา ขั้นพื้นฐานเห็นชอบแล้วให้จัดทาประกาศหรือคาสัง่ โดยผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและประธานกรรมการ สถานศกึ ษา เปน็ ผู้ลงนาม หรือผู้บริหารสถานศกึ ษาเป็นผลู้ งนามแต่เพียงผ้เู ดียว ตวั อยา่ งประกาศโรงเรยี น ตัวอย่างที่ 1 ประกาศโรงเรียนเรอ่ื งให้ใชห้ ลกั ตัวอย่างที่ 2 ประกาศโรงเรียนเรือ่ งให้ใช้หลักสตู ร ประกาศโรงเรยี น................... ประกาศโรงเรียน............... เร่อื ง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรยี น.....พทุ ธศกั ราช...(ปีท่เี รมิ่ ใช)้ เรื่อง ให้ใชห้ ลกั สตู รโรงเรยี น......พทุ ธศกั ราช.....(ปีท่เี ริ่มใช)้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 พุทธศักราช 2551 …………………………………………. ……………………………………………………………. .................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ...................................................................................................................................... ................................................................................................................................. .................................................................................................................................... ................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ทงั้ นี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเหน็ ชอบจาก คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ทัง้ น้ี หลกั สูตรโรงเรียนไดร้ บั ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เม่อื วนั ที่ .....เดอื น................พ.ศ. ................ จึงประกาศใหใ้ ช้หลกั สูตรโรงเรียนตั้งแต่บดั นี้เปน็ ตน้ ไป เมอื่ วนั ที่ .....เดอื น................พ.ศ. ................ จงึ ประกาศใหใ้ ช้หลักสูตรโรงเรยี นต้งั แตบ่ ดั น้ีเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ....เดอื น.............พ.ศ. .......... ประกาศ ณ วันที่ ....เดอื น..........พ.ศ. .......... ................................... (.................................) ............................... ................................ ผู้อานวยการโรงเรยี น………………. (.............................) (....................................................) ประธานคณะกรรมการ......ผู้อานวยการโรงเรยี น....

6 3. ความนา เขยี นแสดงใหเ้ หน็ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พ้นื ฐานพุทธศักราช 2551 มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ สาระภมู ศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560 รวมทงั้ คาสงั่ และประกาศต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง กรอบหลักสตู รระดับท้องถิน่ จดุ เน้น และความต้องการของโรงเรยี น 4. วสิ ัยทัศนโ์ รงเรยี น เปน็ เจตนารมณ์ อุดมการณ์ หลักการ ความเช่ือ อนาคตท่ีพง่ึ ประสงค์ เอกลักษณ์ของโรงเรยี นเพือ่ สรา้ งศรัทธา จุดประกายความคดิ ในการพัฒนาองค์กรและคุณภาพผ้เู รยี น ทีส่ อดคลอ้ งกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถิ่น จดุ เน้น และความต้องการของโรงเรยี น มีแนวทางการกาหนด ดังน้ี 4.1 ศกึ ษาข้อมูล ตอ่ ไปน้ี 1. ศึกษา วิเคราะห์ วสิ ยั ทศั น์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. ศกึ ษากรอบหลักสูตรระดับท้องถนิ่ 3. ศึกษาข้อมลู ความต้องการ จดุ เนน้ ของท้องถ่ินและโรงเรยี น 4.2 กาหนดคาสาคญั ท่ีบ่งบอกถึงเจตนารมณ์ อุดมการณ์ หลักการ ความเชอ่ื อนาคต ท่พี ึงประสงคท์ จ่ี ะพฒั นาผู้เรยี นไปสู่จดุ หมายของสถานศึกษา 4.2 ลกั ษณะของวสิ ัยทัศน์ท่สี มบูรณ์ ควรประกอบด้วยประเด็นต่อไปนี้ 1. สอดคลอ้ งกับจดุ หมาย หลกั การของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. สอดคล้องกบั กรอบหลักสูตรระดับท้องถน่ิ 3. แสดงภาพอนาคตของผ้เู รยี นทค่ี รอบคลุมสภาพความตอ้ งการของโรงเรียน ชุมชน และ ทอ้ งถิ่น 4. ใช้ภาษาท่ีกระชับ ชัดเจน สามารถนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิได้ และไม่ควรคดั ลอกวสิ ัยทศั น์ ของหลักสูตรแกนกลางฯ มาท้งั หมด ควรนามาเทียบเคยี งและปรับให้เป็นของสถานศกึ ษาตนเอง 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น เป็นสมรรถนะจาเปน็ พื้นฐาน 5 ประการ ได้แก่ 1) ความสามารถในการ สือ่ สาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปญั หา 4) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทมี่ งุ่ พฒั นาผู้เรียนให้มี คณุ ภาพตามมาตรฐานการ เรยี นรู้ ซง่ึ กาหนดไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สมรรถนะสาคญั เหลา่ น้ไี ด้หลอมรวมอยูใ่ น มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั ของกลุ่มสาระการเรียนรตู้ า่ งๆ ทัง้ 8 กลมุ่ สาระการเรียนร้แู ละกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดไว้ 8 ประการ ได้แก่ 1) รกั ชาตศิ าสน์กษัตริย์ 2) ซ่ือสัตยส์ จุ ริต 3) มวี ินัย 4) ใฝ่เรียนรู้ 5) อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6) มุง่ ม่ันในการทางาน 7) รักความเปน็ ไทย 8) มจี ติ สาธารณะ เป็นคณุ ลกั ษณะ ทต่ี ้องการใหเ้ กดิ แก่ ผ้เู รียนทุกคนในระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน โรงเรยี นอาจจะเพ่ิมเติมตามจุดเนน้ ของโรงเรียนได้ตามความเหมาะสม  

7 7. โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา การจดั ทาโครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษา จะต้องทา 2 สว่ น ไดแ้ ก่ โครงสร้างเวลาเรยี น และ โครงสร้างหลกั สตู รชัน้ ปี โดยพจิ ารณาจากข้อมลู ตอ่ ไปน้ี 1. โครงสร้างเวลาเรยี น กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษา เวลาเรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตอนปลาย ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 - 6  กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240 ภาษาไทย (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 80 120 120 120 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) 240 สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ 120 120 120 120 120 120 160 160 160 (6 นก.) วัฒนธรรม (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) 320 (8 นก.)  ประวตั ศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40 40 40 40 80 ศาสนา ศลี ธรรม (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) (2 นก.) จริยธรรม 80 120 120 120 240 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (6 นก.)  หนา้ ท่พี ลเมือง วัฒนธรรม 80 80 80 80 80 และการดาเนนิ ชวี ิต 80 80 80 80 120 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) ในสังคม (3 นก.) 80 80 80 80  เศรษฐศาสตร์ (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) 120 (3 นก.)  ภมู ศิ าสตร์ 80 80 80 80 (2 นก.) (2 นก.) (2 นก.) 120 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 80 80 80 80 80 (3 นก.) ศลิ ปะ 80 80 80 80 80 การงานอาชพี 40 40 40 80 80 ภาษาต่างประเทศ 200/120 200/120 200/120 80 80 80 120 120 120 240 (6 นก.) รวมเวลาเรียน 840 840 840 840 840 (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) (พื้นฐาน) 1,640 840 880 880 880 (22นก.) (22นก.) (22 นก.) (41 นก.)  กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 120 120 120 120 120 120 120 120 120 360 รายวิชา/กิจกรรมท่สี ถานศกึ ษา ปลี ะไม่น้อยกวา่ 40 ชัว่ โมง เพ่ิมเติมตามความพร้อมและจุ ไม่น้อยกว่า 1,000 ช่วั โมง/ปี ไม่นอ้ ยกวา่ รวมเวลาเรียนทง้ั หมด ปีละไม่น้อยกว่า 220 ช่วั โมง 1,600 ชั่วโมง รวม 3 ปี ไม่ ไมน่ ้อยกว่า 1,200 ชวั่ โมง/ปี นอ้ ย กว่า ,3600 ชั่วโมง

8 ตวั อย่างโครงสร้างเวลาเรยี นระดบั ประถมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนร/ู้ กจิ กรรม เวลาเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา  กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ภาษาไทย 840 840 840 คณติ ศาสตร์ 840 840 840 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศกึ ษา ศาสนา และ วัฒนธรรม  ประวัติศาสตร์  ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม  หนา้ ท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชวี ติ ในสงั คม  เศรษฐศาสตร์  ภูมิศาสตร์ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชีพ ภาษาตา่ งประเทศ รวมเวลาเรยี น(พ้ืนฐาน)  กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น O กิจกรรมแนะแนว O กิจกรรมนกั เรียน -ลกู เสอื ยวุ กาชาด -ชมรม ชุมนุม O กิจกรรมเพอื่ สงั คมและ สาธารณประโยชน์ รวมเวลากจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น  รายวชิ า/กจิ กรรมที่ สถานศึกษาจัดเพมิ่ เตมิ ตามความพรอ้ มและ จุดเน้น รวมเวลาเรยี นทัง้ หมด ใหโ้ รงเรยี นระบเุ วลาเรยี นตามท่โี รงเรยี นกาหนด

9 ตวั อย่างโครงสรา้ งเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษา กลุม่ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม เวลาเรียน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ม.1 ม.2 ม.3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สงั คมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม  ประวัตศิ าสตร์  ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม  หนา้ ทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสังคม เศรษฐศาสตร์  ภมู ิศาสตร์ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศลิ ปะ การงานอาชีพ ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรยี น(พนื้ ฐาน)  รายวชิ าเพิ่มเตมิ  กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น O กิจกรรมแนะแนว O กจิ กรรมนักเรยี น -ลกู เสอื ยวุ กาชาด รด. -ชมรม ชมุ นมุ O กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลากิจกรรมพฒั นาผู้เรียน รวมเวลาเรียน  ให้โรงเรยี นระบุเวลาเรยี นตามทโ่ี รงเรียนกาหนด

10 2) โครงสร้างหลักสูตรช้นั ปี เวลาเรยี น(ชม./ปี) ตัวอย่างโครงสรา้ งหลกั สตู รชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ......... 840 รายวิชา/กิจกรรม รายวชิ าพื้นฐาน ท11101 ภาษาไทย ค11101 คณติ ศาสตร์ ว11101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ส11101 สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ส1110๒ ประวตั ิศาสตร์ พ11101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา ศ11101 ศิลปะ ง11101 การงานอาชพี อ11101 ภาษาองั กฤษ รายวิชา/กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 120 กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรียน - ลกู เสอื /เนตรนารี/ยุวกาชาด - ชมุ รม ชมุ นุม กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียนทง้ั หมด

11 ตัวอยา่ งโครงสร้างหลักสตู รชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ..... ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 รายวชิ า/ รายวิชา/กิจกรรม หนว่ ยกติ /ชว่ั โมง รายวิชา/กจิ กรรม กิจกรรม รายวชิ าพน้ื ฐาน 11.0(440) รายวิชาพ้นื ฐาน 11.0(440) ท21101 ภาษาไทย ท21102 ภาษาไทย ค21101 คณิตศาสตร์ ค21102 คณิตศาสตร์ ว21101 วิทยาศาสตร์ ว21102 วทิ ยาศาสตร์ ส21101 สงั คมศึกษา ส21103 สังคมศึกษา ส21102 ประวัติศาสตร์ ส21104 ประวตั ิศาสตร์ พ21101 สขุ ศกึ ษา พ2110๓ สขุ ศึกษา พ2110๒ พลศกึ ษา พ2110๔ พลศึกษา ศ21101 ดนตรีและนาฏศลิ ป์ ศ21102 ทศั นศิลป์ ง121101 การงานอาชีพ ง21102 การงานอาชพี อ21101 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน อ21102ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน รายวชิ าเพมิ่ เติม รายวชิ าเพม่ิ เติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 60 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 60 กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น กิจกรรมนกั เรยี น -ลกู เสอื -นตรนารี -ลกู เสือ-เนตรนารี -ชมรม ชมุ นมุ -ชมรม ชมุ นมุ กจิ กรรมเพือ่ สังคม กจิ กรรมเพ่อื สงั คม และสาธารณประโยชน์ และสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน รวมเวลาเรยี น

12 1) การจดั สรรเวลาเรยี นในรายวชิ าพืน้ ฐาน ผู้เรียนตอ้ งมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นูรู้และ ตวั ชี้วดั ทีห่ ลักสตู รแกนกลางฯ กาหนด 2) การจัดเวลาเรียนต้องใหส้ อดคล้องกับเกณฑก์ ารจบ และคานึงถงึ ศักยภาพของผเู้ รยี น 3) วชิ าหน้าทพ่ี ลเมอื ง สถานศึกษาทุกแห่งยงั คงต้องจัดการเรียนการสอนหนา้ ที่พลเมือง เป้าหมายของการจัด คือ การสง่ เสรมิ การสรา้ งความเปน็ พลเมอื งดีของชาติตามความพร้อม และ บริบทของสถานศึกษา โดยมีทางเลือกในการจัดการเรียนการสอน 4 ทางเลอื ก ดังน้ี (1) เพิ่มวิชาหนา้ ท่ีพลเมืองในหลกั สตู รสถานศึกษา โดยจดั เป็นรายวชิ าเพ่มิ เติมในกลุม่ สาระ การเรียนรสู้ ังคมฯ (วดั ผลรายวชิ าเพม่ิ เติมหน้าท่ีพลเมือง) (2) บรู ณาการกบั การเรียนรายวิชาอน่ื ทงั้ รายวชิ าพืน้ ฐาน หรือเพม่ิ เติมในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ สงั คมศึกษาฯ (วัดผลรวมอยู่ในรายวชิ าน้นั ๆ) (3) บูรณาการกับการเรยี นรใู้ นรายวชิ าพนื้ ฐาน หรอื รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่นื (วดั ผลรวมอยใู่ นรายวชิ านน้ั ๆ) (4) บรู ณาการการเรยี นรูก้ บั กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน หรอื กจิ กรรม/โครงการ/โครงการหรือวิถี ชีวติ ประจาวันในโรงเรียน (วดั ผล ผา่ น – ไม่ผา่ น ตามลกั ษณะของกจิ กรรม) ทัง้ น้ี สถานศกึ ษาควรระบุได้วา่ จัดการเรยี นการสอนหนา้ ท่พี ลเมอื งในลกั ษณะใด ผลการจดั บรรลุ เปา้ หมายหรอื ไม่ เชน่ ระบุในแผนการจัดการเรยี นรู้ หรอื หน่วยการเรยี นรู้ 4) การเรยี นการสอนประวตั ศิ าสตร์ ระดับประถมศึกษาให้เรยี นสาระประวตั ศิ าสตร์ 40 ชม/ปี ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 40 ชม/ปี (๓ หน่วยกิต) และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 80 ชม/ปี (2 หน่วยกิต) 5) การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ สถานศกึ ษาทุกแหง่ ยังคงต้องจัดการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษ ในชน้ั ป.1 – 3 จานวน 200 ชม/ปี โดยเสนอทางเลือก 2 ทาง ดังนี้ (1)จดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ เปน็ รายวิชาพ้ืนฐาน อย่างน้อย 200 ชม/ปี (2) จัดการการสอนภาษาองั กฤษ เปน็ รายวิชาพ้ืนฐาน อย่างน้อย 120 ชม/ปี และจดั เปน็ รายวิชา เพมิ่ เติม หรอื กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น หรือกจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร 80 ชม/ปี รวมเวลาเรยี น ภาษาอังกฤษทง้ั หมด จานวน 200 ชม/ปี 6) การจดั การเรียนการสอนหลกั สูตรตา้ นทุจริตศึกษา (Anti-Corruption Education) กลมุ่ เป้าหมายครอบคลุมทุกระดับชัน้ เรียน โดยมีแนวทางการนาไปใชต้ ามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน ดังน้ี (1) นาไปจดั ทาเปน็ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ของโรงเรยี น (2) นาไปใช้ในชว่ั โมงลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ (3) นาไปบูรณาการกับการจัดการเรยี นการสอนในกลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระหน้าที่พลเมือง) หรือนาไปบรู ณาการกับกลมุ่ สาระการเรียนร้อู น่ื ๆ โรงเรียนสามารถดาวนโ์ หลดหลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษา เพ่อื นาไปใช้ประกอบการเรียนการสอน ไดท้ ี่เว็บไซต์ สานักงาน ป.ป.ช. ท่ี www.nacc.go.th สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ที่ www.obec.go.th และโรงเรียนสุจริต ที่ www.uprightschool.net

13 7) การจดั กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ โรงเรียนสามารถปรับโครงสร้างเวลาเรยี นและโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ได้ดังน้ี (๑) ระดับประถมศึกษา ปรบั เวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ไดต้ ามความเหมาะสม และบรู ณาการการเรยี นรู้ ทั้งนีต้ ้องมีเวลาเรยี นรวมตามทกี่ าหนดไวใ้ นโครงสร้างเวลาเรยี น โดยรายวิชา พ้ืนฐาน เทา่ กับ ๘๔๐ ชัว่ โมง/ปี และรายวิชา/กจิ กรรมทส่ี ถานศึกษาจัดเพ่มิ เติมตามความพร้อมและจดุ เน้น ไม่น้อยกว่า ๔๐ ชวั่ โมง/ปี โดยผู้เรียนต้องมีคณุ ภาพตาม มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ัดทก่ี าหนด เวลาของการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น จานวน ๑๒๐ ชวั่ โมง/ป (๓ ช่วั โมง/สปั ดาห์) จดั เป็นกิจกรรม “ลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้” บังคบั ตามหลักสูตร ประกอบด้วย กิจกรรม แนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น และกิจกรรม เพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ โดยเวลาเรียนรวมท้งั หมดไม่น้อยกวา่ ๑,๐๐๐ ชวั่ โมง/ปี (๒) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ สถานศึกษาจัดแบง่ จานวนหนว่ ยกติ ทเ่ี รยี นของแตล่ ะรายวิชาต่อ ภาคเรียนได้ตามความเหมาะสม และบูรณาการการเรยี นรู้ แตท่ งั้ นต้ี ้องเปน็ ไปตามโครงสรา้ งเวลาเรียน ท่หี ลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กาหนด โดยรายวิชาพืน้ ฐาน เทา่ กบั ๘๘๐ ชัว่ โมง/ปี และ รายวิชา/กจิ กรรมท่ีสถานศึกษาจัดเพมิ่ เติมตามความพรอ้ มและจดุ เน้น อย่างน้อย ๒๐๐ ชวั่ โมง/ปี รวมท้งั ส้นิ โดยผู้เรยี นต้องมคี ุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชวี้ ัดทก่ี าหนด เวลาของการจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น จานวน ๑๒๐ ชวั่ โมง/ปี (๓ ชวั่ โมง/ สปั ดาห์) จดั เป็นกจิ กรรม “ลดเวลาเรียน เพมิ่ เวลารู้” บังคบั ตามหลักสตู ร ประกอบดว้ ย กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน และกิจกรรม เพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ เวลาเรยี นรวม ทัง้ หมดไม่น้อยกวา่ ๑,๒๐๐ ชว่ั โมง/ปี 8) จานวนมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวัด และลักษณะตวั ช้ีวดั 8.1 จานวนมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวช้ีวัด ศึกษาและพิจารณาจานวนตวั ชว้ี ัดชน้ั ปี และ ตวั ชี้วดั ช่วงชัน้ ในแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้ เพ่ือการกาหนดเวลาเรียนในหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้น พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 แต่ละวชิ าตามโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาใหเ้ ปน็ ไปอยา่ ง เหมาะสม สาหรบั จานวนมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ัดของกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) มดี ังนี้

14 คณติ ศาสตรพ์ นื้ ฐาน มาตรฐานการเรยี นรู้ จำนวนตัวช้ีวัดแตล่ ะระดับ/แต่ละสาระ รวม ช่อื สาระ จำนวน รหัส ประถมศึกษา ม.ตน้ จำนวน 1.จานวนและพชื คณิต มาตรฐาน มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั 3 ค 1.1 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 5 8 11 16 9 12 3 2 - 66 ค 1.2 1 - 1 - - 1 - 2 2 7 ค 1.3 - - - - - - 3 - 3 6 2.การวดั และเรขาคณติ 2 ค 2.1 2 6 13 3 4 3 - 2 2 35 ค 2.2 1 1 1 2 4 4 2 5 3 23 3.สถติ ิและความนา่ จะเป็น 2 ค 3.1 1 1 2 1 2 1 1 1 1 11 ค 3.2 - - - - - - - - 1 1 7- 10 16 28 22 19 21 9 12 12 149 รวมตวั ชี้วัด 116 33 วทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน มาตรฐานการเรยี นรู้ จานวนตัวชวี้ ดั แตล่ ะระดับ/แตล่ ะสาระ รวม จำนวน รหสั ประถมศกึ ษา ม.ต้น จำนวน ตวั ชี้วัด ช่ือสาระ มาตรฐาน มาตรฐาน ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 1.วิทยาศาสตร์ 3 ว 1.1 ชีวภาพ 2 - - - 4 - - - 6 12 ว 1.2 2 3 4 1 - 5 18 17 - 50 2.วิทยาศาสตร์ ว 1.3 - 1 - 4 2 - - - 11 18 กายภาพ 3 ว 2.1 2 4 2 4 4 1 10 6 8 41 ว 2.2 3.วทิ ยาศาสตรโ์ ลก ว 2.3 - - 4 3 5 1 1 15 - 29 และอวกาศ 2 ว 3.1 1 2 3 1 5 8 7 6 21 54 4.เทคโนโลยี ว 3.2 2 ว 4.1 2 - 3 3 2 2 - - 4 16 ว 4.2 1 2 4 - 5 9 7 10 - 38 10 - - - - - - - 5 5 5 15 รวมตวั ช้ีวัด 5 4 5 5 5 4 4 4 4 40 15 16 25 21 32 30 52 63 59 313 139 174

15 8.2 ลักษณะตัวช้ีวดั การทาความเข้าใจลักษณะตวั ช้ีวัดเพื่อนาไปใช้ประกอบการพิจารณา ตัดสินใจกาหนดรายวชิ า โดยศึกษาความยากง่าย และลาดับความต่อเน่ืองสมั พันธข์ องแต่ละตวั ช้วี ดั ตวั อยา่ งการบันทึก มดี ังนี้ กลุม่ สาระการเรียนรู้…………………… ชั้น……………………………. ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2 วชิ า......................จานวน.......................หน่วยกติ วชิ า......................จานวน.......................หนว่ ยกิต สาระ...................................................................... สาระ.................................................................... มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตวั ชวี้ ัด.................................................. ตวั ช้วี ัด........................................................ มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตวั ช้ีวดั .................................................. ตวั ชว้ี ดั ................................................... มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตวั ชวี้ ัด.................................................. ตัวชว้ี ัด................................................... สาระ..................................................................... สาระ.................................................................... มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตัวชวี้ ดั ..................................................... ตัวชวี้ ดั .................................................. มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน........................................................ ตวั ชี้วัด.................................................. ตวั ช้ีวดั ........................................................ มาตรฐาน......................................................... มาตรฐาน....................................................... ตัวชี้วดั ................................................ ตัวชว้ี ัด.................................................. 9) เปา้ หมาย จดุ เนน้ การพัฒนาผเู้ รียนของท้องถิน่ และของโรงเรียน เพอื่ ให้การจดั การศึกษาของแตล่ ะโรงเรียนสง่ ผลต่อคณุ ภาพผูเ้ รียนตามทที่ ้องถน่ิ และ โรงเรยี นต้องการ ดงั นัน้ โรงเรียนควรพิจารณากาหนดรายวิชาและกจิ กรรรมพฒั นาผ้เู รียนในโครงสรา้ ง หลกั สูตรสถานศึกษาให้สอดคลอ้ งกับเป้าหมาย/จุดเนน้ การพฒั นาผ้เู รยี นของกรอบหลกั สูตรระดับ ท้องถิ่น (จดั ทาโดยเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา) และความต้องการ/จุดเน้นของโรงเรียน 10) ระเบยี บ แนวปฏบิ ัตใิ นการบริหารจดั การหลกั สตู ร ไดแ้ ก่ 10.1 การกาหนดรายวชิ า สถานศึกษาจะต้องนาความรู้และทกั ษะตามมาตรฐาน การเรียนรูข้ องแต่ละ“กลุม่ สาระการเรียนรู้” (Learning areas ) ไปจัดทาเป็น“รายวชิ า” (courses) โดยตงั้ ช่อื รายวชิ าใหส้ ะทอ้ นสิง่ ทีส่ อนในรายวิชาน้ันๆ กาหนดรหัสวชิ า รวมทง้ั ระบุจานวนเวลาเรยี น หรือจานวนหนว่ ยกิตของรายวิชาเหล่านัน้ กากบั ไว้ดว้ ย ทงั้ นี้ระดับประถมศึกษาจดั ทารายวิชาเป็น รายปี ระดับมธั ยมศึกษาจัดทาเป็นรายภาคเรยี น

16 10.2 ประเภทของรายวิชา มีดงั น้ี 10.2.1 รายวชิ าพืน้ ฐาน เป็นรายวิชาท่ีเปิดสอนเพื่อพฒั นาผู้เรยี นตามมาตรฐาน การเรยี นรู้/ตัวชี้วดั และสาระการเรียนร้แู กนกลางที่ กาหนดไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลางซ่งึ เป็นส่งิ ที่ผูเ้ รยี น ทุกคน ในระดับ การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานต้องเรียนรู้ การต้ังชอ่ื รายวชิ าพ้นื ฐานสอดคลอ้ งกับ การเรียนรหู้ รอื สะทอ้ น ถึงจุดเน้นและเน้ือหาสาระท่สี อน และระดับความยากงา่ ยของสิ่งท่ีสอนในรายวชิ าน้นั 10.2.2 รายวิชาเพ่มิ เติม เป็นรายวิชาทส่ี ถานศกึ ษาแต่ละแหง่ สามารถเปดิ สอน เพม่ิ เติม จากส่งิ ทกี่ าหนดไว้ในหลักสตู รแกนกลาง เพือ่ ใหส้ อดคล้องกับจุดเน้น ความต้องการและ ความถนดั ของผ้เู รียน หรือความ ตอ้ งการของท้องถน่ิ โดยมีก“ผลการเรียนรู้ ”เปน็ เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรยี น ทง้ั น้ี จะตอ้ ง สอดคล้องกับเกณฑก์ ารจบการศกึ ษา สาหรับช่อื รายวิชาเพิ่มนนั้ ควรสอดคล้องกบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้ หรอื สะท้อนถงึ จุดเน้น และเน้อื หาสาระทส่ี อน และระดับ ความยากง่ายของสง่ิ ท่ีสอนในรายวิชาน้ัน 10.3 การจดั รายวชิ า 10.3.1 ระดับประถมศึกษา รายวิชาพื้นฐาน 1) ให้สถานศึกษาจดั รายวิชาพืน้ ฐานตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มละ 1 รายวิชาตอ่ ปียกเว้นกลุ่ม สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กาหนดเป็นรายวิชาสังคมศกึ ษา และรายวิชาประวตั ิศาสตร์ โดยรายวชิ า ประวตั ศิ าสตร์ ใหจ้ ัดการเรยี นการสอน 40 ชัว่ โมงตอ่ ปี 2) สาระเทคโนโลยี เป็นสาระหน่ึงในกลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ จึงจัดอยใู่ นรายวิชา วิทยาศาสตร์ โดยไม่แยกเปน็ รายวิชาเฉพาะ รายวิชาเพิ่มเตมิ สถานศึกษาสามารถกาหนดรายวิชาเพมิ่ เติมความพร้อม จดุ เน้นของสถานศึกษา ความต้องการและความถนัดของผเู้ รยี นโดยจัดเปน็ รายปีและมกี ารกาหนด “ผลการเรยี นรู้” ของรายวิชานน้ั ๆ 10.3.2 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ รายวชิ าพ้ืนฐาน 1) ในแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้ รวมทงั้ กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตรแ์ ละ วทิ ยาศาสตร์ อาจจัดไดม้ ากกว่า 1 รายวชิ าในแต่ละภาค/ปี 2) สามารถจดั รายวชิ าพื้นฐานใน 1 ภาคเรียนให้เรยี นครบ/ไมค่ รบ ทงั้ 8 กลมุ่ สาระการเรียนร้ไู ด้ แต่เม่ือจบหนงึ่ ปีการศกึ ษา สถานศึกษาต้องจดั ให้เรียนรายวิชาพื้นฐาน 8 กล่มุ สาระการ เรียนรู้ 3) กาหนดให้ 1 รายวชิ ามคี า่ น้าหนกั ไมน่ ้อยกวา่ 0.5 หนว่ ยกิต (1 หนว่ ยกติ คดิ เปน็ 40 ชว่ั โมง/ภาคเรียน) และเม่ือรวมจานวนหน่วยกิตของรายวิชาพื้นฐานในแตล่ ะกลมุ่ สาระ การเรยี นรู้แล้ว ต้องมเี วลาเรยี นรวม 880 ชว่ั โมงตอ่ ปี (22 หนว่ ยกติ ) 4) กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมให้จัดสาระ ประวัตศิ าสตรเ์ ปน็ รายวิชาเฉพาะ ภาคเรียนละ 1 รายวิชา (0.5 หน่วยกติ ) ทกุ ภาคเรยี น รวม 6 รายวิชา (3.0 หน่วยกติ ) รายวชิ าเพ่มิ เติม สถานศึกษาสามารถกาหนดรายวิชาเพมิ่ เตมิ ตามความ พรอ้ ม จุดเน้นของ สถานศึกษา ความต้องการและความถนดั ของผูเ้ รียนโดยจดั เปน็ รายภาคและมกี าร กาหนด“ผลการเรียนรู้” ของรายวชิ านั้นๆ

17 10.4 การกำหนดรหสั วชิ า เพือ่ ใหเ้ กิดความสะดวกและความเข้าใจตรงกันในการ ส่อื สาร สถานศกึ ษาจาเปน็ ต้องกาหนดรหสั วชิ าอยา่ งเปน็ ระบบ ระบบรหสั วชิ า การกาหนดรหัสวิชาควรใชต้ ัวเลขอารบิก เพือ่ ส่ือสารและการจัดทาเอกสาร หลักฐานการศึกษา สาหรับรายวชิ าพน้ื ฐานและรายวิชาเพม่ิ เติม ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยตวั อกั ษรและตวั เลข 6 หลัก ดงั นี้ หลักที่ 1 เป็นรหสั ตวั อักษรแสดงกลมุ่ สาระการเรียนรู้ คือ ท หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ค หมายถึง กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ส หมายถงึ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม พ หมายถึง กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา ศ หมายถึง กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ง หมายถึง กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หมายถึง กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศให้ใช้รหัสของแต่ละภาษาตาม รายการ

18 1. รหัสตัวอกั ษรกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ 1.1 รายการรหัสตวั อกั ษรกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศที่จะนาไปใสแ่ ทน ก หมายถึง ภาษาเกาหลี ข หมายถึง ภาษาเขมร จ หมายถึง ภาษาจีน ซ หมายถงึ ภาษารัสเซีย ญ หมายถึง ภาษาญป่ี ุ่น ต หมายถึง ภาษาเวยี ดนาม น หมายถึง ภาษาลาตนิ บ หมายถงึ ภาษาบาลี ป หมายถึง ภาษาสเปน ฝ หมายถึง ภาษาฝร่งั เศส ม หมายถงึ ภาษามลายู ย หมายถึง ภาษาเยอรมนั ร หมายถึง ภาษาอาหรับ ล หมายถงึ ภาษาลาว อ หมายถงึ ภาษาองั กฤษ ฮ หมายถงึ ภาษาฮินดู 1.2 กรณีทม่ี ีสถานศึกษาใดจดั ทารายวชิ าภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศอื่นๆ นอกเหนือจากท่ีกาหนดไวใ้ ห้สถานศึกษาทาเร่ืองเสนอสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน เพือ่ กาหนดรหสั ตัวอักษรกลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษตา่ งปรและประกาศใหส้ ถานศกึ ษาทวั่ เทศเพ่ิมเตมิ ประเทศได้รับทราบและใช้ตรงกนั 2. กรณกี าหนดรายวิชากลุ่มเทคโนโลยี ในกลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรใ์ หใ้ ชร้ หัสวชิ า ว และถา้ กาหนดในกลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยีใหใ้ ช้รหสั วิชา ง หลกั ที่ 2 เป็นรหสั ตัวเลขแสดงระดบั การศกึ ษาในระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น และ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สะท้อนระดับความรแู้ ละทักษะในรายวชิ าทกี่ าหนดไว้ คือ 1 หมายถงึ รายวิชาระดับประถมศกึ ษา 2 หมายถึง รายวชิ าระดบั มัธยมตอนตน้ 3 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมตอนปลาย หลักที่ 3 เปน็ รหสั ตัวเลขท่ีแสดงปที เ่ี รียนของรายวิชา ซ่ึงสะทอ้ นระดับความรู้และทักษะใน รายวชิ าที่กาหนดไว้ในแตล่ ะปี คอื 0 หมายถึง รายวชิ าทไ่ี ม่กาหนดปีที่เรียน จะเรียนปใี ดกไ็ ด้ในระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1 หมายถงึ รายวชิ าทเ่ี รยี นในปีท่ี 1 ของระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศกึ ษา ตอนปลาย (ป.1 , ม.1 และ ม.4) 2 หมายถงึ รายวิชาทีเ่ รยี นในปีที่ 2 ของระดบั ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น และ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ป.2 , ม.2 และ ม.5) 3 หมายถึง รายวิชาทเี่ รียนในปีท่ี 3 ของระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย (ป.3 , ม.3 และ ม.6) 4 หมายถงึ รายวิชาที่เรียนในปีท่ี 4 ของระดบั ประถมศึกษา (ป.4) 5 หมายถงึ รายวชิ าทีเ่ รียนในปีที่ 5 ของระดบั ประถมศึกษา (ป.5) 6 หมายถงึ รายวชิ าท่เี รยี นในปีที่ 6 ของระดบั ประถมศึกษา (ป.6) หลกั ท่ี 4 เปน็ รหสั ตวั เลขแสดงประเภทของรายวชิ า คือ 1 หมายถึง รายวชิ าพืน้ ฐาน 2 หมายถึง รายวชิ าเพม่ิ เติม

19 หลกั ท่ี 5 และหลักที่ 6 เป็นรหัสตวั เลขแสดงลาดบั ของรายวชิ าแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ในระดบั การศกึ ษาเดยี วกัน ในระดับประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลาย มีจานวน ตั้งแต่ 01 – 99 ดังน้ี รายวิชาทก่ี าหนดปที เ่ี รียน ใหน้ ับรหัสหลักที่ 5 - 6 ต่อเนอื่ งในปเี ดยี วกนั หากจัดรายวิชา เป็นรายภาคให้กาหนดเรยี งลาดบั รายวชิ าในกลมุ่ สาระการเรียนรู้เดียวกันให้เสรจ็ ในภาคเรียนแรกก่อน แล้วจึงกาหนดต่อในภาคเรยี นท่ีสอง รายวชิ าท่ีไมก่ าหนดปที เ่ี รยี น ให้นับรหสั หลักท่ี 5 – 6 ตอ่ เนอ่ื งในระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย รหสั หลักที่ 5 และหลักที่ 6 ของรายวชิ าเพิม่ เติม ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ให้กาหนดรหัสวิชา เป็นช่วงลาดบั ดังนี้ ลาดบั ที่ 01 - 19 หมายถึง รายวิชาในกลมุ่ ฟสิ ิกส์ ลาดับที่ 21 - 39 หมายถงึ รายวิชาในกลมุ่ เคมี ลาดบั ที่ 41 - 59 หมายถงึ รายวิชาในกลมุ่ ชีววิทยา ลาดับที่ 61 - 79 หมายถึง รายวชิ าในกลมุ่ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ลาดับที่ 81 - 99 หมายถงึ รายวชิ าในกลุ่มวทิ ยาศาสตร์อื่นๆ ตัวอยา่ งรายวิชาพื้นฐานและเพ่มิ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ระดับประถมศกึ ษา รายวิชาพ้ืนฐาน ท11101 ภาษาไทย จานวน 200 ช่วั โมง ท12101 ภาษาไทย จานวน 200 ชวั่ โมง ท13101 ภาษาไทย จานวน 200 ชว่ั โมง ท14101 ภาษาไทย จานวน 160 ชัว่ โมง ท15101 ภาษาไทย จานวน 160 ชั่วโมง ท16101 ภาษาไทย จานวน 160 ชว่ั โมง รายวชิ าเพิม่ เติม ท11201 ภาษาไทย จานวน 40 ชั่วโมง ท12201 ภาษาไทย จานวน 40 ชว่ั โมง ท13201 ภาษาไทย จานวน 40 ชว่ั โมง ท14201 ภาษาไทย จานวน 40 ชว่ั โมง ท15201 ภาษาไทย จานวน 40 ชั่วโมง ท16201 ภาษาไทย จานวน 40 ชั่วโมง

20 ตวั อย่างรายวิชาพ้นื ฐานและเพม่ิ เตมิ กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ รายวิชาพน้ื ฐาน ท21101 ภาษาไทย จานวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หนว่ ยกติ ท21102 ภาษาไทย จานวน 60 ช่วั โมง 1.5 หน่วยกติ ท22101 ภาษาไทย จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ ท22102 ภาษาไทย จานวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต ท23101 ภาษาไทย จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ ท23102 ภาษาไทย จานวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกิต รายวิชาเพิม่ เติม ท21201 เสริมทักษะการอ่านร้อยแกว้ ร้อยกรอง จานวน 40 ชั่วโมง 1 หน่วยกติ ท21202 เสรมิ ทกั ษะการอา่ นจับใจความ จานวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกติ ท22201 เสรมิ ทักษะอ่านบทประพนั ธ์ จานวน 40 ชว่ั โมง 1 หน่วยกิต ท22202 เสริมทกั ษะการเขยี นเรื่องสัน้ จานวน 40 ชว่ั โมง 1 หน่วยกิต ท23201 เสรมิ ทกั ษะการเขยี นสรา้ งสรรค์ จานวน 40 ชว่ั โมง 1 หนว่ ยกติ ท23202 เสรมิ ทักษะการพดู ในช้นั เรยี น จานวน 40 ชั่วโมง 1 หนว่ ยกิต 11) คำอธบิ ายรายวิชา เมอื่ สถานศกึ ษากาหนดรายวิชาทจี่ ะเปดิ สอนในแต่ละปี/ภาคเรียน เรียบร้อยแล้ว จะต้อง เขียนคาอธิบายรายวิชา ทั้งรายวชิ าพ้ืนฐาน และรายวิชาเพ่ิมเติมไวใ้ นหลักสูตรสถานศึกษาด้วย คาอธบิ ายรายวิชา เป็นข้อมูลรายละเอียดของแต่ละรายวิชา ประกอบด้วยมาตรฐาน การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ เวลาเรยี น รหัสวชิ า จานวนหนว่ ยกิต ระดบั ช้นั เพ่ือใชเ้ ป็นกรอบทิศทาง ในการวางแผนและออกแบบการเรียนการสอน คาอธิบายรายวิชามีไว้เพอื่ อะไร ๑. เพ่ือสรา้ งความเขา้ ใจวา่ ในรายวิชานัน้ ผ้เู รียนจะได้เรยี นรู้องค์ความรู้ ฝกึ ทกั ษะ กระบวนการ มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคท์ ส่ี าคัญอะไรบ้าง และเกิดสมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียนอะไรบ้าง ๒. เพื่อเป็นแนวทางใหผ้ สู้ อนนาไปออกแบบการจัดการเรยี นรู้ คาอธิบายรายวชิ ามลี ักษณะอย่างไร คาอธิบายรายวชิ ามลี ักษณะเปน็ ความเรียงทป่ี ระกอบดว้ ยองค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และสมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คาอธิบายรายวชิ าของรายวิชาพืน้ ฐาน ใหว้ เิ คราะหจ์ ากตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางทหี่ ลักสตู รแกนกลางฯ กาหนด สาหรับคาอธบิ ายรายวิชา เพม่ิ เตมิ ให้ วเิ คราะห์ จากผลการเรยี นรู้ทีส่ ถานศึกษากาหนดข้ึน คาอธบิ ายรายวชิ าเขยี นเปน็ รายปีสาหรับระดับ ประถมศึกษา และเป็นรายภาคเรียนสาหรับระดับมัธยมศึกษา

21 องค์ประกอบสำคัญของคำอธบิ ายรายวชิ าคืออะไร องคป์ ระกอบสาคัญของคาอธิบายรายวชิ า............................จาแนกได้ ๓ ส่วนดังน้ี ส่วนท่ี 1 ประกอบดว้ ย รหสั วชิ า..................ช่อื รายวชิ า................................กลุ่มสาระการเรยี นรู้................... ชน้ั ปี..........................จานวนชวั่ โมงหรือหน่วยกติ สว่ นที่ 2 ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญ โดยมีแนวทางเขยี นท่ีสาคัญดังนี้ 1. ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้อะไรบ้าง 2. ผเู้ รยี นสามารถทาอะไร ไดบ้ า้ ง 3. ผเู้ รียนมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์อะไรบ้างตามหลักสตู รแกนกลางฯ และตามธรรมชาติของวชิ า 4. ผ้เู รยี นเกิดสมรรถนะสาคัญ อะไรบา้ งตามหลักสูตรแกนกลางฯ สว่ นท่ี 3 ประกอบด้วยรหัสตวั ช้วี ดั หรอื ผลการเรยี นรู้ท้ังหมดในรายวิชานนั้ คำอธบิ ายรายวิชาเขยี นอย่างไร รายวชิ าพ้ืนฐาน เป็นรายวิชาท่ีสอนให้ผ้เู รยี นบรรลุมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวดั ตาม หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 การเขยี นคาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน มขี ัน้ ตอนดังนี้ 1. วเิ คราะห์ตวั ชว้ี ดั ชัน้ ปีในระดบั ประถมศึกษา สาหรับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ วเิ คราะห์ ตัวช้วี ดั ชัน้ ปเี พ่ือกาหนดเปน็ รายภาค หรอื ตัวชีว้ ดั ช่วงช้ันในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายเปน็ รายภาค และ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตามทกี่ าหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 2. วิเคราะห์สาระการเรยี นรทู้ ้องถ่นิ จากกรอบหลักสูตรระดับท้องถิน่ ของสานักงานเขตพน้ื ที่ การศกึ ษา ความต้องการและบรบิ ทของโรงเรียน เพ่อื กาหนดสาระการเรียนร้ทู ้องถ่ินท่ีเกี่ยวข้องกั ตัวช้ีวัด ในรายวิชานั้น 3. จัดกลุ่มตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่ินที่มีความเชอื่ มโยง สมั พันธก์ ันเพื่อหลอม รวมและเรียบเรียง เขยี นเป็นความเรียง ใหเ้ ห็นสงิ่ ทีต่ ้องการให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ ความสามารถ คณุ ลักษณะ และสมรรถนะสาคัญ ในรายวิชาน้ัน 4. เขียนรายละเอยี ดตามองค์ประกอบของคาอธิบายรายวชิ า รายวิชาเพมิ่ เติม เป็นรายวชิ าทโ่ี รงเรียนกาหนดขึ้น ตามจุดเน้น ความตอ้ งการของโรงเรียน หรือ ทอ้ งถน่ิ การเขียนคาอธิบายรายวิชาเพ่มิ เตมิ มขี นั้ ตอน ดังน้ี 1. กาหนดผลการเรยี นรู้ซึง่ โรงเรียนเปน็ ผู้กาหนดขน้ึ 2. กาหนดสาระการเรยี นรูท้ ีส่ อดคลอ้ งกับผลการเรยี นรู้ 3. จดั กลุ่มผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ ท่ีมคี วามเชือ่ มโยงสมั พนั ธ์กันเพ่ือหลอมรวม และ เรียบเรยี ง เขียนเปน็ ความเรยี ง ใหเ้ หน็ ส่ิงท่ีตอ้ งการให้ผ้เู รยี นมีความร้คู วามสามารถ และคณุ ลักษณะ ในรายวิชาน้ัน 4. เขยี นรายละเอียดตามองค์ประกอบของคาอธบิ ายรายวิชา การวเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั สามารถทาได้หลายวธิ ี ในทีน่ ไ้ี ดเ้ สนอตัวอยา่ งการวเิ คราะหต์ ัวชี้วดั ประกอบการ สร้างความเข้าใจ 2 รูปแบบ ดังตอ่ ไปนี้

22 รปู แบบที่ 1 การวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด เปน็ สิ่งทผ่ี ู้เรยี นควรรแู้ ละสามารถ ปฏบิ ตั ิได้ แบบบนั ทึกการวิเคราะห์เพื่อจัดทาคา อธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรู้.............................รายวชิ า..........................................ชน้ั ............................. สาระ............................................................................................................................. ......................... มาตรฐาน............................................................................................. ................................................ ตวั ชี้วดั รู้อะไร ทำอะไรได้ สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ แกนกลาง ทอ้ งถิ่น รูปแบบที่ 2 การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด ทกั ษะ/กระบวนการ และคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ แบบบนั ทกึ การวิเคราะห์เพื่อจดั ทำคำอธิบาย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้....................................รายวิชา...............................................ชั้น……………………………….. สาระ........................................................ มาตรฐาน..................................................................................... ตวั ช้วี ดั ความรู้ ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะ สมรรถนะสาคญั สาระการเรยี นรู้ กระบวนการ อนั พึงประสงค์ ท้องถ่นิ

23 คำอธบิ ายรายวิชา รหสั วิชา…………………………………..................................................................... ช่ือรายวิชา ............................ รายวิชาพื้นฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้ ........................... ชัน้ ....................................................................................................................ภาคเรียนท่ี.......เวลา............ช่วั โมง (จำนวนหน่วยกิต) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……. (เขียนเปน็ ความเรยี งให้ไดใ้ จความวา่ ผ้เู รยี นไดเ้ รียนรอู้ ะไร สามารถทาอะไรได้ และมี คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญ ใดบ้างตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และธรรมชาติของวชิ า) .................................................................................................................................................................................................. ......... ......................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................ .......... .................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... รหัสตวั ชี้วัด (รายวิชาพ้นื ฐาน) .............................................. ........................................................................................................................................................... ............................................. ........................................................................................................................................................... ............................................. ........................................................................................................................................................... .............................................. ........................................................................................................................................................... ............................................. ........................................................................................................................................................... ............................................. ........................................................................................................................................................... รวมทัง้ หมด............ตวั ชี้วัด

24 คำอธิบายรายวิชา รหสั วิชา…………………………………..................................................................... ชือ่ รายวิชา ............................ รายวิชาเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ........................... ชั้น....................................................................................................................ภาคเรียนท่ี.......เวลา............ช่วั โมง (จำนวนหน่วยกิต) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (เขยี นเปน็ ความเรียงให้ได้ใจความวา่ ผ้เู รียนไดเ้ รียนรู้อะไร สามารถทาอะไรได้ และมี คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ใดบา้ งตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน และธรรมชาตขิ องวชิ า) .................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................ .......... .................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................... ผลการเรียนรู้(รายวิชาเพิม่ เติม) .............................................. ............................................. ............................................. .............................................. ............................................. ............................................. รวมทงั้ หมด............ผลการเรียนรู้

25 12) กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนแบง่ เป็น 3 ลักษณะ คือ 1) กจิ กรรมแนะแนว 2) กจิ กรรมนักเรยี น และ 3) กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ โดยพิจารณาจากโครงสร้างเวลาเรียนที่กาหนดไว้ ในหลกั สูตรแกนกลาง และเป้าหมาย/จดุ เนน้ ของท้องถ่ิน พรอ้ มท้งั พจิ ารณาความต้องการและจุดเนน้ ของสถานศกึ ษา เพ่ือจัดเวลาใหเ้ หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาแต่ละแห่ง หลักสูตรแกนกลางได้ กาหนดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น สาหรับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีละ 120 ชัว่ โมง และชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 4 – 6 จานวน 360 ช่วั โมง จานวนเวลาที่กาหนด เปน็ เวลารวมในการปฏบิ ตั ิ กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรยี น และกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ในส่วนของ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนน์ น้ั หลกั สตู รแกนกลางระบุให้สถานศึกษาจดั สรรเวลาให้ ผเู้ รียนได้ปฏิบตั กิ จิ กรรม ดงั นี้ ระดับประถมศึกษา (ป.1 - 6) รวม 6 ปี จานวน 60 ชวั่ โมง ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1 - 3) รวม 3 ปี จานวน 45 ชัว่ โมง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ปี จานวน 60 ชัว่ โมง จากโครงสร้างเวลาเรยี นดังกล่าว สถานศึกษาสามารถพจิ ารณาจัดแบ่งจานวนเวลาสาหรับ ผูเ้ รยี นแตล่ ะระดบั ชั้นปฏบิ ตั ิกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ไดต้ ามความเหมาะสมและอาจ จัดใหผ้ ู้เรียนได้ทากจิ กรรมดังกลา่ วในบางชั่วโมงของลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด หรือกิจกรรมชุมนุม ต่างๆ ก็ได้ นอกจากนัน้ ยังสามารถสอดแทรกในการเรยี นการสอนรายวิชาตา่ งๆ โดยมีหลักฐานที่ สามารถยืนยนั เวลาทผ่ี เู้ รยี นไดป้ ฏิบัตกิ จิ กรรมดังกลา่ วครบตามเวลาทสี่ ถานศึกษากาหนด พรอ้ มทัง้ การประเมินการปฏิบัติไวอ้ ยา่ งชดั เจน การจบหลกั สูตรในแต่ละระดับ ผ้เู รยี นจะตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามกจิ กรรมดงั นี้ ระดับประถมศึกษา และมธั ยมศกึ ษาตอนต้นจัดให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม ดงั น้ี 1. กจิ กรรมแนะแนว 2. กจิ กรรมนักเรียน 2.1 ลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพญ็ ประโยชน์ 2.2 ชมุ นุม ชมรม ผเู้ รยี นตอ้ งเข้ารว่ มและได้รบั การประเมินกิจกรรมทั้ง 2.1 และ 2.2 3. กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ระดบั มธั ยมศึกษาตอน ปลายจัดให้ผเู้ รยี นไดเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ดังนี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรยี น 2.1 ลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ หรือนกั ศึกษาวิชาทหาร 2.2 ชมุ นุม ชมรม ผเู้ รยี นสามารถเข้าร่วมกิจกรรมท้งั 2.1 และ 2.2 หรือเลือกอย่างใดอย่างหน่ึงได้ตามความ เหมาะสม 3 .กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์

26 แนวทางการจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น แนวการเขยี นการจัดกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียนของ โรงเรยี น แบ่งเป็น 3 ลักษณะตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ไดแ้ ก่ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กจิ กรรมนักเรยี น และ 3) กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชนใ์ นแต่ละกิจกรรมให้ระบแุ นวการจดั กิจกรรม เวลา และการจดั กจิ กรรม และแนวทางการประเมินกิจกรรมทโี่ รงเรยี นกาหนด ตวั อยา่ งกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นเป็นกจิ กรรมท่ีมุ่งใหผ้ ู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือความเปน็ มนษุ ย์ทีส่ มบรู ณ์ ทัง้ ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และเสรมิ สร้าง ใหเ้ ป็นผมู้ ศี ลี ธรรม จริยธรรม มรี ะเบียบวินัย ปลูกฝงั และสรา้ งจิตสานกึ ของการทาประโยชนเ์ พอ่ื สงั คม สามารถจดั การตนเองได้ และอยู่ร่วมกบั ผอู้ ืน่ อยา่ งมคี วามสุข โรงเรยี น………………………………………………………………..ไดจ้ ัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น โดยแบง่ ออกเปน็ ๓ ลักษณะ ดงั นี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว เป็นกจิ กรรมทสี่ ง่ เสริมและพัฒนาผเู้ รยี นให้ .......................................................................................... .............................................................. นกั เรยี นทุกคนควรเขา้ ร่วมกจิ กรรมแนะแนว ระดบั ประถมศึกษา.............ชวั่ โมงต่อ ปกี ารศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษา...........ช่วั โมงต่อภาคเรียน แนวการจดั กจิ กรรมแนะแนว ............................................................................................................................. ... ........................ 2. กจิ กรรมนกั เรยี น เป็นกิจกรรมท่สี ง่ เสริมและพัฒนาผู้เรยี นให้ ........................................................................................................................................................ กจิ กรรมนักเรียนประกอบด้วย 2.1 กจิ กรรมลกู เสอื /เนตรนารี /ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนกั ศกึ ษา วชิ าทหาร นกั เรยี นทกุ คนต้องเขา้ ร่วมกิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวิชาทหาร ระดับประถมศกึ ษา.......ชว่ั โมงต่อปีการศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษา.......... ชัว่ โมงตอ่ ภาคเรยี น แนวการจดั กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนาร/ี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และ นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร ........................................................................................................................... . ........................ 2.2 กจิ กรรมชุมนุม ผ้เู รยี นทุกคนต้องเข้าร่วมกจิ กรรมชุมนุม ระดับประถมศึกษา ..........ชั่วโมงตอ่ ปกี ารศึกษาระดับมธั ยมศึกษา.........ชว่ั โมงต่อภาคเรียน แนวทางจัดกจิ กรรมชมุ นุม ..................................................................................................................... ....... .......................... หมายเหตุ สามารถระบชุ ื่อกิจกรรมชุมนุมทโ่ี รงเรียนจัดให้ผูเ้ รียนเลอื กเรียน หรอื ช่ือ กจิ กรรมชุมนุมที่ โรงเรยี นจัดใหม้ ี 3. กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพฒั นาผูเ้ รียนให้ ผเู้ รียนทุกคน ตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ ระดบั ประถมศกึ ษา.......ชั่วโมงตอ่ ปกี ารศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษา............ช่วั โมงต่อภาคเรียน

27 แนวการจดั กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ........................................................................................................................ ................................. แนวทางการประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ............................................................................................................................. ............................ หมายเหตุ การประเมินผลอาจเขียนแยกการประเมนิ ผลแตล่ ะกจิ กรรม หรอื เขยี นรวมในภาพรวม ของกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นก็ได้ 13) เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรบั การจบการศกึ ษาเปน็ 3 ระดับ คอื ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้นและมธั ยมศึกษาตอนปลาย 13.1 เกณฑก์ ารจบระดับประถมศึกษา 1. ผเู้ รยี นเรยี นรายวิชาพืน้ ฐานและรายวชิ า /กจิ กรรมเพิ่มเติม โดยเปน็ รายวิชา พื้นฐานตามโครงสรา้ ง เวลาเรียนท่ีหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานกาหนด และรายวชิ า/ กจิ กรรมเพ่ิมเตมิ ทส่ี ถานศึกษากาหนด 2. ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ รายวิชาพน้ื ฐาน ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามทส่ี ถานศกึ ษา กาหนด 3. ผเู้ รยี นมีผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนในระดับผา่ นเกณฑ์ การประเมินตามท่ี สถานศึกษากาหนด 4. ผู้เรยี นมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมิน ตามที่ สถานศกึ ษากาหนด 5. ผูเ้ รียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นและมผี ลการประเมินผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามทสี่ ถานศึกษากาหนด 13.2 เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 1. ผ้เู รยี นเรียนรายวิชาพน้ื ฐานและเพม่ิ เติม โดยเปน็ รายวชิ าพ้ืนฐาน 66 หน่วยกติ และ รายวิชาเพมิ่ เติมตามทสี่ ถานศึกษากาหนด 2. ผเู้ รยี นต้องได้หน่วยกติ ตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อ 77 หน่วยกิตว่า โดยเปน็ รายวิชา พน้ื ฐาน 66 หน่วยกติ และรายวิชาเพ่มิ เติมไม่น้อยกวา่ 11 หน่วยกิต 3. ผู้เรียนมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นในระดับเกณฑ์ การประเมนิ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด 4. ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมนิ ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด 5. ผูเ้ รียนเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนและมผี ลการประเมินผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด 13.3 เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1. ผ้เู รยี นมีรายวิชาพนื้ ฐานและเพ่ิมเตมิ โดยเป็นรายวชิ าพืน้ ฐาน 41 หน่วยกติ และ รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ตามทีส่ ถานศึกษากาหนด 2. ผู้เรียนต้องได้หนว่ ยกติ ตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกวา่ 77 หน่วยกติ โดยเป็นรายวชิ า พืน้ ฐาน 41 หนว่ ยกติ และรายวิชาเพิ่มเตมิ ไมน่ ้อยก 36 หูน่วยกิต

28 3. ผู้เรียนมผี ลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นในระดบั ผา่ นเกณฑ์ การประเมินตามทสี่ ถานศึกษากาหนด 4. ผู้เรียนมผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่ี สถานศกึ ษากาหนด 5. ผเู้ รียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนและมีผลการประเมนิ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด นอกจากนัน้ การจดั ทาโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จะต้อง ให้ ความสาคัญกับเง่ือนไขคณุ สมบัติผู้สมคั รสอบเข้าเรียนตอ่ ในระดับอดุ มศึกษา คณะ/สาขาตา่ งๆ เชน่ แพทย์ศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ พยาบาลศาสตรแ์ ละสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถานศกึ ษาจาเป็นต้อง จดั ทาโครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาให้มรี ายวชิ าและหนว่ ยกิตทเี่ รยี นครบตามคุณสมบัติ แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา การตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลักสตู รสถานศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 มวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั นี้ 1. เพ่อื หาแนวทางแกไ้ ขปรับปรุงส่งิ ท่ีพบในองค์ประกอบหลกั สูตรสถานศึกษา การตรวจสอบ ในลักษณะน้สี ามารถทาได้ในขณะที่กาลังยกรา่ งเอกสารหลักสตู รหรือในขณะท่ีนาหลักสูตรไปใช้ โดยพิจารณา วา่ องค์ประกอบของหลักสูตรสถานศกึ ษาทีจ่ ัดทามคี วามเหมาะสมและสอดคล้องเพยี งใดเพือ่ หาแนวทาง ในการแก้ไขและปรบั ปรุงใหด้ ีขนึ้ 2. เพือ่ เปน็ ขอ้ มลู ในการช่วยตดั สินใจของผู้บรหิ ารโรงเรียนก่อนนาหลกั สตู รสถานศกึ ษาไปใช้ ใหพ้ จิ ารณาวา่ หลกั สูตรทีย่ กรา่ งหรือจดั ทามีความครอบคลมุ หรือไม่ และเมือ่ โรงเรยี นใชห้ ลกั สตู รไปได้ระยะหนึ่งควรนาข้อมลู ในสว่ นนไี้ ปสรปุ รวมกบั การประเมนิ คุณภาพของหลักสตู รวา่ มีคณุ ภาพดมี ากนอ้ ย เพียงไร บรรลุตาม มาตรฐานและตวั ช้วี ดั ทห่ี ลักสูตรแกนกลางกาหนดหรือไม่ และเหมาะสมทจี่ ะนา หลกั สูตรน้ไี ปใช้หรอื ไม่ ขอ้ เสนอแนะในการตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลักสตู รสถานศกึ ษา ดำเนนิ การดงั นี้ 1. ดาเนินการในรปู ของคณะกรรมการ 2. สรา้ งความเขา้ ใจและชแี้ จงวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลักสูตร สถานศกึ ษา ใหบ้ คุ ลากรในโรงเรียนและผูท้ ่ีเก่ียวขอ้ งทราบอย่างท่ัวถึง 3. ดาเนินการตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลักสตู รสถานศึกษาเป็นรายบุคคล 4. หลงั จากตรวจสอบองคป์ ระกอบของหลักสูตรสถานศึกษา ควรจัดใหม้ กี ารจัดประชมุ เสนอ ผลการ ตรวจสอบในภาพรวม ปัญหา ขอ้ เสนอแนะ เพื่อนาไปปรบั ปรงุ และพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา ใหม้ คี ณุ ภาพย่งิ ข้ึน

29 แบบตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรยี น โรงเรยี น…….……………………………….. อำเภอ………………………. จงั หวดั ………………………………. สังกัด………………………………………………………………………………………………………………..…………... คาชแ้ี จง ใหค้ ณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและงานวชิ าการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานและผ้ทู ่ีเก่ยี วข้อง ดาเนินการตรวจสอบองคป์ ระกอบหลักสตู รโรงเรียน ตามลาดับดงั นี้ ๑. ตรวจสอบองคป์ ระกอบหลักสตู รโรงเรยี นตามรายการท่ีกาหนดแลว้ เขียนเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ งผล การตรวจสอบตามความเปน็ จรงิ 2. บันทึกแนวทางในการปรับปรงุ /แก้ไขเพอ่ื ให้โรงเรียนนาไปใชป้ ระโยชน์ในการปรบั ปรุง และพัฒนาหลักสตู รโรงเรยี นตอ่ ไป ๓. สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสตู รโรงเรียน โดยเขยี นเคร่ืองหมาย ลงในตาราง แสดงผลการตรวจสอบภาพรวมองคป์ ระกอบหลักสตู รโรงเรียน ๔.หากมีขอ้ คดิ เหน็ หรือข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ ใหบ้ นั ทึกลงในช่องวา่ งท่ีกาหนดให้

30 องคป์ ระกอบของหลกั สตู รโรงเรยี น ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรากฏ ไม่ปรากฏ ปรบั ปรงุ /แก้ไข 1. ส่วนนา 1.1 ความนำ แสดงความเชอ่ื มโยงระหวา่ งหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบหลักสูตรระดบั ท้องถิ่น จุดเนน้ และความต้องการของโรงเรียน 1.2 วสิ ัยทศั น์ 1.2.1 แสดงภาพอนาคตของผูเ้ รียนทสี่ อดคล้องกบั วิสัยทัศน์ของหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 อย่างชัดเจน 1.2.2 แสดงภาพอนาคตของผเู้ รยี นสอดคล้องกับ กรอบหลักสตู รระดบั ท้องถ่นิ 1.2.3 แสดงภาพอนาคตของผูเ้ รยี น ครอบคลุมสภาพ ความตอ้ งการของโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น 1.2.4 มีความชดั เจนสามารถปฏบิ ัตไิ ด้ 1.3 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น มีความสอดคล้องกบั หลักสูตรแกนกลางการศึกษา พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 1.4 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.4.1 มคี วามสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 1.4.2 มีความสอดคล้องกับเป้าหมายจดุ เน้นกรอบหลักสตู ร ระดบั ทอ้ งถน่ิ 1.4.3 สอดคล้องกับวสิ ัยทัศน์ของโรงเรยี น

31 รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรากฏ ไม่ปรากฏ ปรับปรุง/แก้ไข 2. โครงสร้างเวลาเรยี นของหลกั สูตรโรงเรยี น 2.1 มีการระบรุ ายวิชาพนื้ ฐานทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ พรอ้ มทง้ั ระบเุ วลาเรยี นและ/หรอื หนว่ ยกิต 2.2 มีการระบุรายวิชาเพม่ิ เตมิ หรอื กจิ กรรมเพ่มิ เติมท่ี สถานศึกษากาหนดพร้อมทงั้ ระบุเวลาเรยี นและ/หรอื หน่วยกติ 2.3 มีการระบกุ จิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นพรอ้ มทง้ั ระบุเวลาเรยี น 2.4 เวลาเรียนรวมของหลักสูตรโรงเรียนสอดคล้องกับโครงสร้าง เวลาเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 2.5 มีการกาหนดโครงสรา้ งกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ไวอ้ ยา่ งชดั เจน 2.6 มกี ารระบุรหสั วิชา ช่ือรายวชิ า จานวน เวลาเรียนและ หนว่ ยกติ ไว้อย่างถกู ต้องชดั เจน 2.7 รายวิชาเพิม่ เติม/กจิ กรรมเพ่ิมเติมสอดคลอ้ งกับวสิ ยั ทศั น์ ของโรงเรียน 3. คำอธบิ ายรายวิชา 3.1 มีการระบรุ หัสวชิ า ชอื่ รายวชิ า และชือ่ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ไวอ้ ย่างถูกต้องชัดเจน 3.2 มกี ารระบุชัน้ ปที ส่ี อนและจานวนเวลาเรียนและ/หรอื หนว่ ยกติ ไว้อย่างถกู ต้องชัดเจน 3.3 การเขยี นคาอธบิ ายรายวิชา เขียนเปน็ ความเรยี ง โดยระบอุ งค์ความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะหรือ เจตคตทิ ตี่ ้องการ ๓.๔ มีการจดั ทาคาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐานครอบคลมุ ตวั ช้ีวดั สาระ การเรยี นรแู้ กนกลาง ๓.๕ มีการระบรุ หสั ตวั ชี้วดั ในรายวิชาพนื้ ฐานและจานวนรวมของ ตัวชวี้ ดั ๓.๖ มกี ารระบผุ ลการเรียนรู้ ในรายวิชาเพิม่ เติม และจานวนรวม ของผลการเรยี นรู้ ๓.๗ มีการกาหนดสาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ สอดแทรกอยู่ใน คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐานหรอื รายวชิ าเพม่ิ เตมิ

32 รายการ ผลการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะ ปรากฏ ไมป่ รากฏ ปรับปรงุ /แกไ้ ข ๔. กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๔.๑ จดั กิจกรรมทงั้ 3 กิจกรรมตามที่กาหนดไวใ้ นหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ๔.๒ จัดเวลาทง้ั 3 กจิ กรรมสอดคล้องกับโครงสรา้ งเวลาเรียนท่ี หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๔.๓ มีแนวทางการจดั กจิ กรรมทชี่ ดั เจน ๔.๔ มีแนวทางการประเมินกจิ กรรมท่ชี ัดเจน 5. เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ๕.๑ มกี ารกาหนดเกณฑ์การประเมนิ รายวิชาพนื้ ฐานครบ 8 กล่มุ สาระและรายวชิ าเพ่ิมเติมตามโครงสรา้ งเวลาเรยี นที่ กาหนด ๕.๒ มกี ารกาหนดเกณฑ์การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ๕.๓ มกี ารกาหนดเกณฑ์การประเมินคณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค์ ๕.๔ มกี ารกาหนดเกณฑ์การผ่านกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน เกณฑก์ ารตรวจสอบ ผา่ น หมายถึง ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลกั สตู รโรงเรียนปรากฏข้อมูล ตามรายการที่กาหนดทกุ รายการ ควรปรบั ปรงุ หมายถึง ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสตู รโรงเรยี นปรากฏข้อมูล ครบหรือขาดบางรายการท่ีกาหนด ลงนาม ……………………………..……… ผู้ตรวจสอบ ( …………………………….... ) ตาแหนง่ .................................................. ………/………../………

33 ส่วนที่ 4 : สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองคป์ ระกอบหลักสูตรโรงเรยี น โรงเรยี น............................................................ อาเภอ....................................................... สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต ๒ ตอนที่ 1 ตารางแสดงผลการตรวจสอบภาพรวมองคป์ ระกอบหลกั สตู รโรงเรยี น ผลการตรวจสอบองค์ประกอบ ที่ รายการตรวจสอบโรงเรยี น หลกั สตู รโรงเรียน ผ่าน ควรปรบั ปรุง 1 สว่ นนา 2 โครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรโรงเรยี น 3 คาอธิบายรายวิชา 4 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 5 เกณฑ์การจบหลกั สูตร สรุปผลการตรวจสอบภาพรวม ตอนท่ี 2 สรุปผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสตู รโรงเรียน จดุ เด่น จุดที่ต้องเพมิ่ เติมและพฒั นา จดุ เด่นของหลักสตู รโรงเรียน ................................................................................................................................................................................................................................... จดุ ที่ต้องเพ่ิมเตมิ /พฒั นา 1. ส่วนนำ 1.1 ความนา ..................................................................................................................................................................................... 1.2 วสิ ยั ทศั น์โรงเรยี น..................................................................................................................................................................... 1.3 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน....................................................................................................................................................... 1.4 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์............................................................................................................................................................ 2. โครงสร้างเวลาเรยี นของหลักสตู รโรงเรียน.................................................................................. 3. คำอธิบายรายวิชา...................................................................................................................... 4. กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น................................................................................................................. 5. เกณฑ์การจบหลกั สตู ร............................................................................................................... .................................... ผู้รบั รองข้อมูล (...................................) ตาแหน่ง ................................................

34 การวจิ ัยและตดิ ตามผลการใช้หลกั สตู ร การวจิ ัยจะเปน็ ท่ีมาของข้อมลู ข่าวสารที่แม่นตรงแสดงจุดแขง็ จุดออ่ น ปัญหาสาเหตุ และ แนวทางปรบั ปรงุ พัฒนาให้สถานศึกษาสามารถจดั หลกั สตู รการเรียนการสอนไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ดังนั้นสถานศึกษาควรดาเนินการ ดังนี้ การวิจยั พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษามงุ่ เนน้ การวจิ ัยเพอื่ นาผลมาประกอบการพจิ ารณา ปรับปรงุ หลักสูตร สถานศึกษาใหเ้ หมาะสม สอดคลอ้ งกับผเู้ รียนและความต้องการของผปู้ กครอง ชมุ ชน 1) การประเมินความต้องการจาเปน็ ในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพของผู้เรียน ในอนาคต เพื่อนามาใช้กาหนดโครงการเรยี นรู้ และเวลาเรียน 2) การประเมินความต้องการของพ่อแมผ่ ู้ปกครอง และชุมชนในการพฒั นาผู้เรยี น เพื่อ นามาใช้กาหนดโปรแกรมการเรยี น และโครงการตา่ งๆ 3) การประเมินผลหลกั สตู รสถานศกึ ษาโดยมีหวั ข้อในการพิจารณา เชน่ ความครบถว้ น ขององคป์ ระกอบหลกั สูตร ความสอดคล้องของแตล่ ะองค์ประกอบสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรแกนกลางฯ และ กรอบหลักสูตรระดบั ท้องถนิ่ สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผูเ้ รยี น พ่อแม่ ผู้ปกครองและชุมชน ความเหมาะสมของแนว ทางการจดั การเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน และระบบการวดั และ ประเมนิ ผล เป็นตน้ การวจิ ัย ประเมนิ ผลการใช้หลักสตู ร การประเมินผล การใชห้ ลักสูตรเปน็ สว่ นสาคัญสว่ นหนึง่ ของกระบวนการพัฒนาหลักสตู ร ซ่ึงสถานศึกษาจะต้องมีความตระหนักในการปรบั ปรุงหรือพฒั นาหลักสตู รอย่างต่อเนอื่ ง เพอ่ื เป็น หลกั ประกัน ว่าผู้เรียนจะได้รับการพฒั นาทั้งดา้ นสตปิ ัญญา รา่ งกาย คณุ ธรรม บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ระดับชาตแิ ละสามารถ ดารงชวี ติ ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข กระบวนการประเมนิ ผลการใช้ หลักสตู รสามารถดาเนนิ การได้ ทัง้ ระหว่างการใช้หลักสูตร และเม่ือนาหลักสูตรไปใชเ้ รยี บร้อยแลว้ หรือการตดิ ตามจากผลผลติ ของหลกั สตู ร คือ ผูเ้ รยี นที่จบการศึกษาตามหลักสูตร เพอื่ ให้การประเมินผลการใช้หลักสูตรบรรลุเปา้ หมายของการควบคุมคุณภาพ สถานศึกษา ควรจดั ใหม้ กี ารประเมินทั้งระบบ คอื 1. กาหนดใหม้ ีการประเมนิ การใช้หลักสตู ร เป็นกิจกรรมหลกั ของสถานศกึ ษา 2. สรา้ งความเข้าใจเกยี่ วกับการประเมนิ การใชห้ ลกั สูตรดว้ ยตนเองใหเ้ กิดข้ึนกบั คณะครู 3. วางระบบเครือขา่ ยการทางานและมอบหมายงานประเมินให้คณะผู้ปฏิบตั งิ านแตล่ ะคณะ ดาเนนิ การประเมนิ เป็นระยะๆ โดยกาหนดใหช้ ัดเจนวา่ คณะใดต้องประเมินรายการใดบ้าง 4. สรุปผลการประเมนิ และนาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา การประเมินผลการใช้หลกั สตู รมีแนวทางการดาเนนิ การทสี่ าคญั คือ พจิ ารณาองคป์ ระกอบ ของหลกั สูตรที่ ประเมนิ พจิ ารณาหลกั เกณฑ์ท่จี ะใชใ้ นการประเมนิ ออกแบบการจัดเก็บขอ้ มลู ดาเนนิ การ เกบ็ รวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์ ้อมลู เพื่อใช้พจิ ารณาตัดสินใจในการปรับปรุงหลักสูตรต่อไป สาหรบั ประเด็น ในการประเมนิ นั้น สามารถประเมนิ ได้ทัง้ เร่ืองปจั จัยท่ีมีผลต่อการใช้หลกั สตู ร กระบวนการใชห้ ลักสูตร และผลจากการใช้หลกั สตู ร อย่างไรก็ตาม สถานศึกษาควรม่งุ เนน้ การประเมนิ สว่ นที่เกีย่ วขอ้ งต่อคุณภาพ ของผ้เู รยี นเป็นสาคัญและควรคานงึ ถงึ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรแู้ ละคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียน สถานศกึ ษาจะต้องให้ ความสาคัญ โดยนาผลการประเมนิ ระดับสถานศกึ ษา ระดบั เขตพนื้ ท่ีการศึกษา และระดบั ชาตมิ าพจิ ารณาท้งั ผลการประเมินใน ภาพรวมและผลการประเมนิ ทแ่ี ยกรายวชิ า และแยกรายมาตรฐาน หากผลการประเมนิ ไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมายทค่ี าดหวงั ควรศกึ ษาวิเคราะหเ์ พ่อื ค้นหา สาเหตุท่ีแท้จรงิ ซง่ึ สาเหตยุ ่อมเกดิ มาจากปัจจัย และกระบวนการใช้หลกั สูตรสถานศกึ ษานั่นเอง จากนั้นจึงหาวิธแี ก้ปัญหาเพ่ือ พัฒนาคณุ ภาพต่อไป

ประเดน็ เก่ยี วข้องในการประเมนิ ผลการใช้หลกั สูตร 35 ปจั จยั ของการใช้ กระบวนการใชห้ ลักสูตร ผลการเรยี นรขู้ องผู้เรียน หลักสูตร การออกแบบและ  คณุ ภาพของผูเ้ รียนตาม หลักสตู รสถานศกึ ษา การจดั การเรยี นรู้ของครู มาตรฐานการเรยี นรู้/ ความพร้อมของ การนิเทศ ติดตามผล ตวั ชวี้ ัด การใช้หลกั สูตร การเปลีย่ นแปลง บุคลากร พฤติกรรมของผเู้ รียน ทักษะการถ่ายทอด การประเมินผลการ คณุ ลักษณะอันพงึ เรยี นรู้ ประสงค์และสมรรถนะ ของครู ฯลฯ สาคญั ของผูเ้ รียน เทคนิคการสอน  ความสาเรจ็ ในการศึกษา ส่ือการเรียนการสอน ตอ่ และประกอบอาชพี การวัดผลประเมนิ การบรหิ ารจดั การ ฯลฯ หลักสตู ร ฯลฯ นอกจากนัน้ สถานศึกษาควรสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ใหค้ รูทาวิจัยปฏิบัตกิ าร (Action research) เพื่อแก้ปญั หา และ พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนของตนเองโดยการวิจัยนัน้ อาจเรม่ิ ตน้ จากการเลอื กปัญหาการวจิ ัยทมี่ ี ความสาคัญและสง่ ผล กระทบตอ่ ผเู้ รยี นมากทสี่ ุด และทม่ี าของปัญหาการวจิ ัยอาจเกดิ จากผเู้ รียน เชน่ ปญั หาพฤติกรรม ปญั หาการเรียน เปน็ ต้น หรอื อาจเกิดจากการจดั การเรียนรขู้ องครูไมเ่ หมาะสมสอดคล้องกบั ผเู้ รยี น รายคน เม่ือได้ปัญหาจากการวิจัยแลว้ จงึ ดาเนินการตามขั้นตอนการวิจยั ต่อไป การนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติ ให้มี การนาหลกั สูตรสู่การปฏิบตั ใิ นช้นั เรยี น ครผู สู้ อนจะต้องศกึ ษา วเิ คราะห์มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวช้วี ัด ท่รี ะบุคุณภาพของผูเ้ รยี นว่าควรรอู้ ะไร และทาอะไรได้ ไปสูก่ ารออกแบบการจดั การเรยี นรู้ และนาพาผ้เู รียนให้เกิดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยดาเนนิ การ ความเช่ือมโยงตัง้ แตร่ ะดับชาติ ซง่ึ ไดแ้ ก่ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั เขตพนื้ ท่ีการศึกษาในส่วนของจดุ เน้นคุณภาพของผู้เรยี น ระดับสถานศึกษา ซง่ึ ได้แก่ หลกั สตู ร ระดับชน้ั เรยี น ต้ังแตโ่ ครงสร้างรายวชิ า หนว่ ยการเรยี นรู้ และแผนการจดั การเรียนรู้ แผนภาพที่ 1 แสดงความเชื่อมโยงระหวา่ งหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 หลกั สตู ร สถานศึกษา สู่การจดั การเรียนรใู้ นช้ันเรยี น

ระดบั ชาติ ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษ ระดับสถานศึกษา 36 ระดบั ชั้นเรยี น หลักสตู ร 1.จุดเนน้ หลกั สตู รสถานศึกษา แกนกลาง คณุ ภาพผเู้ รยี คาอธิบายรายวิชา โครงสรา้ งรายวิชา การศึกษา 2.สาระ ขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช การเรยี นรู้ท้องถ่ิน 2551 หนว่ ย หนว่ ย การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ หน่วย การเรียนรู้ แผนการจัด การเรยี นรู้ แผนการจดั แผนการจดั การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ในการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องศึกษาความเชื่อมโยงของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 จุดเนน้ คุณภาพผูเ้ รียนและสาระการเรียนรทู้ ้องถนิ่ ของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา และหลักสูตร สถานศกึ ษา จากหลกั สตู รสถานศกึ ษาครผู ู้สอนต้องวิเคราะห์คาอธิบายรายวิชาโดยวเิ คราะห์ความสมั พนั ธ์ เชื่อมโยงของ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั ทป่ี รากฏในคาอธิบายรายวิชา ซ่ึงสามารถนามาจดั กิจกรรม การเรยี นการสอนร่วมกนั ได้ กาหนดเป็นโครงสรา้ งรายวิชา โดยโครงสร้างรายวชิ าประกอบด้วย หนว่ ยการเรียนรูท้ คี่ รอบคลุมมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ตลอดปกี ารศึกษา/ภาคเรียน พรอ้ มท้ัง กาหนดสาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด สดั ส่วนเวลาเรียน และนา้ หนกั ความสาคัญของแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้ ในแต่ละหนว่ ยการเรียน ครูผ้สู อนสามารถนาไปจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้สาหรบั ใช้ในห้องเรยี นต่อไปได้

37 แผนภาพท่ี 2 แสดงการนาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สู่การจดั การเรียนรู้

38 โครงสร้างรายวชิ า รายวิชาแต่ละรายวชิ านัน้ ประกอบด้วยหน่วยการเรียนร้หู ลายหน่วย ซงึ่ ไดว้ างแผนและออกแบบ ไวเ้ พอ่ื พฒั นา ผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ภาพตามเป้าหมาย ดงั นนั้ เพ่ือทีจ่ ะช่วยใหผ้ ู้สอนเห็นภาพรวมของแต่ละรายวิชา จาเปน็ ต้องมีการจดั ทาโครงสรา้ งรายวิชา เพื่อให้ไดท้ ราบว่ารายวชิ านั้นประกอบด้วยหนว่ ยการเรยี นรู้จานวน เท่าใด เรื่องใดบ้าง แต่ละหนว่ ยพฒั นาให้ผเู้ รียนบรรลุตวั ชว้ี ัดใด โดยใชเ้ วลาในการจดั การเรยี นการสอน เท่าใด สัดสว่ นการเกบ็ คะแนนของรายวิชานั้นเป็นอยา่ งไร โครงสร้างรายวิชาประกอบดว้ ยข้นั ตอน การจดั ทา ดงั นี้ 1. ศึกษาโครงสร้างเวลาเรยี นของหลกั สูตรสถานศึกษา ในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรู้หรือ รายวิชา และศกึ ษาคาอธบิ ายรายวิชา 2. ศกึ ษามาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด ในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวชิ าทีร่ บั ผิดชอบ 3. พจิ ารณาคัดเลือกมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดท่สี อดคล้อง และสามารถนามาจดั กจิ กรรม การ เรียนรู้ร่วมกันได้ก่อนจัดทาเป็นหน่วยการเรยี นรู้ 4. จัดทามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัดที่สอดคล้องกนั และนามาจดั กิจกรรมการเรียนรู้รว่ มกัน เป็นหนว่ ยการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมตามสาระการเรยี นรู้ ๕. วิเคราะห์แก่นความรู้/ความคิดรวบยอดของแต่ละตัวชว้ี ดั ที่นามาจดั กลุม่ รว่ มกันเปน็ หนว่ ย การเรยี นรู้ ๖. นาแก่นความรู้/ความคดิ หลัก มาหลอมรวมเป็นสาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอดของหน่วย การเรยี นรู้นัน้ ในบางกรณีให้พจิ ารณาสาระการเรยี นรู้ประกอบการเขียนสาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด ๗. ตั้งช่อื หน่วยการเรียนรู้ ๘. กาหนดเวลาเรยี นในแต่ละหนว่ ยการเรยี นรูค้ วรใหเ้ หมาะสมกบั กระบวนการเรยี นรทู้ ีจ่ ะใช้ ในการพฒั นาผเู้ รยี นตามตัวชว้ี ัด และสาระการเรยี นรู้ เม่อื กาหนดเวลาเรียนครบทกุ หนว่ ยการเรยี นรู้ แล้วเวลาเรียนต้องเท่ากับจานวนเวลาท่ีกาหนดไวใ้ นโครงสร้างเวลาเรยี นตามหลกั สูตรของกลุม่ สาระ การเรียนรนู้ ้ันๆ ๙. กาหนดน้าหนักคะแนนในแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ โดยพจิ ารณาจากจานวนตวั ชี้วดั ความยากง่าย ความซบั ซ้อนของเนอื้ หา และการจดั กิจกรรมการเรียนรเู้ พ่ือใหผ้ ู้เรียนเกิดคณุ ภาพ ตามตวั ช้วี ัด โดยสามารถกาหนดนา้ หนกั คะแนนทุกหนว่ ยการเรียนรู้ นา้ หนกั คะแนนแตล่ ะหน่วย การเรียนรถู้ ือเปน็ คะแนนระหว่างเรยี นให้นาไปรวมกบั คะแนนปลายปี/ปลายภาค รวมเป็น 100 คะแนน โดยมแี นวทางการกาหนดสดั ส่วนคะแนนระหว่างเรยี นให้นาไปรวมกบั คะแนนปลายปี : ปลายภาค เชน่ 60 : 40, 70 : 30, 80 : 20 ตามทีโ่ รงเรยี นกาหนด

39 รายวชิ า ........................... ตัวอยา่ งโครงสรา้ งรายวิชา หนว่ ยกติ ชน้ั ............................................. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้......................................................... ภาคเรียนท่ี ....................จำนวน....................... มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนัก (ช่ัวโมง) คะแนน หน่วยที่ ชอ่ื หน่วย ตวั ชว้ี ัด การเรียนรู้ (หรือผลการเรยี นรู้- รายวชิ าเพ่ิมเตมิ 1 ตัวอยา่ ง ได้จากการวเิ คราะห์แกน่ ความรู้ 10 12 ท 1.1 ม.3/1 ม.3/2 แตล่ ะมาตรฐานการเรยี นรู้ ม.3/3 ม.3/5 ตัวชีว้ ัด รวมท้ังความรู้ทีผ่ เู้ รยี น ม.3/6 ม.7/7 จะไดร้ ับ มาตรฐานการเรียนรู้ ม3/8,ม.3/9 ตัวช้วี ัดในหนว่ ยการเรยี นรู้ ม.3/10 ท 2.1 ม.3/1,ม.3/4 ตัวอย่าง ม.3/10 บทร้อยแก้วมคี ติสอนใจชว่ ยให้ ท 3.1 ม.3/1,ม.3/2 ม.3/4 ผู้อา่ นได้ขอ้ คิดแนวทาง ดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั โดยการ ท 4.1 ม.3/5 อ่านอย่างมวี จิ ารณญาณ ท 5.1 ม.3/1ม.3/2 นาเสนอแง่คิดโดยการพูด และ เขยี นอยา่ งมีมารยาท ม.3/3,ม.3/4 รวมทัง้ ส้ิน

40 หนว่ ยการเรียนรู้ ความสำคญั ของหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เป็นขนั้ ตอนท่ีสาคัญของการนาหลกั สูตรสถานศึกษาเข้าสชู่ ้นั เรยี น การออกแบบหน่วยการ เรยี นรู้ตอ้ งเปน็ หน่วยการเรยี นรทู้ ่อี ิงมาตรฐาน เชน่ เดยี วกบั หลักสูตร ในการ ออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ครูผู้สอนสามารถพิจารณาเลือกออกแบบได้หลายวิธี แต่ควร ครอบคลุมขน้ั ตอน การออกแบบ 3 ขนั้ ตอน ประกอบดว้ ย การกำหนดเปา้ หมายการเรยี นรู้ หลกั ฐานการเรยี นรู้ และ กิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับแนวคิดหน่ึงที่สามารถนาไปเปน็ แนวทางการออกแบบการเรยี นรู้ คอื การออกแบบย้อนกลบั (Backward Design) โดยในการกาหนดเปา้ หมายการเรยี นรู้ ควรมกี ารกาหนด ความเข้าใจท่คี งทน (Enduring Understanding) ซึ่งเปน็ ความรู้ความเข้าใจทฝ่ี งั แน่นติดอยู่ในตวั ผูเ้ รยี น อนั เกดิ จากการเรียนรู้ท่ผี า่ นกิจกรรมตามหน่วยการเรียนรนู้ ั้น ๆ ตดิ ตัวผู้เรยี นไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน องคป์ ระกอบหน่วยการเรยี นรู้ ตอ้ งเร่ิมจากการวเิ คราะห์ความสัมพนั ธเ์ ชื่อมโยงมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ที่สามารถนามา จดั กิจกรรมการเรยี นรู้รว่ มกนั ได้ รวมทัง้ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้ใู นหนว่ ยการเรียนรู้ตอ้ งสามารถนาพาผู้เรียน ใหเ้ กิดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไดด้ ้วย การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ ควรมอี งคป์ ระกอบสาคญั ดงั น้ี 1 ช่อื หน่วยการเรียนรู้ 2 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั 3 สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด 4 สาระการเรียนรู้ เปา้ หมายการเรียนรู้  สาระการเรียนรแู้ กนกลาง  สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น 5 สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น 6 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 7 ชน้ิ งาน/ภาระงาน 8 การวดั และประเมินผล หลกั ฐานการเรยี นรู้ 9 กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑๐ เวลาเรยี น/จานวนช่ัวโมง การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 1. ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ ต้องสะท้อนให้เหน็ ถงึ สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด หรือประเด็น หลกั ใน หน่วยการเรยี นรู้นัน้ ๆ ดงั น้ันช่อื หน่วยการเรียนร้คู วรมลี กั ษณะดังนี้ 1.1 นา่ สนใจ อาจเป็นประเด็นปัญหา ขอ้ คาถามหรือข้อโต้แยง้ ท่ีสาคญั 1.2 สอดคลอ้ งกบั ชีวิตประจาวันและสังคมของผเู้ รียน

41 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด ที่นามาจัดทาหน่วยการเรียนร้ตู ้องมีความสมั พนั ธ์เชื่อมโยงกนั และนามาจัดกจิ กรรมการเรยี นรรู้ ่วมกันได้ ซ่ึงอาจมาจากลุ่มสาระการเรียนรเู้ ดียวกันหรือตา่ งกลมุ่ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัดบางตัวอาจต้องฝึกซา้ เพ่ือใหเ้ กิดความชานาญ จงึ สามารถอยู่ในหน่วยการเรยี นรู้ มากกวา่ หนึ่งหนว่ ยการเรยี นร้ไู ด้เพ่ือใหผ้ ู้เรียนได้รับการพัฒนาให้บรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด 3. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอดไดจ้ ากการวิเคราะห์แกน่ ความรแู้ ต่ละมาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวช้ีวดั รวมถึงสาระการเรยี นรู้ที่ผู้เรยี นจะไดร้ บั จากการจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั ในหนว่ ยการเรยี นรู้ 4. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ที่นามาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนร้ตู ามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด ประกอบด้วยสาระ การเรียนร้แู กนกลาง และสาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น (ถา้ มี) 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น วิเคราะห์ได้จากหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ซึ่งเปน็ ผลจากการนามาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั มาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจน สอดคลอ้ งกับทักษะ/กระบวนการตามธรรมชาตวิ ิชา 6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ วเิ คราะห์ไดจ้ ากหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 จุดเน้นของเขตพน้ื ท่ีการศึกษา สถานศกึ ษา และกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ซง่ึ เปน็ ผล จากการนามาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัดมาจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน ช้นิ งาน/ภาระงาน ทกี่ าหนดต้องสะท้อนถึงความสามารถของผู้เรยี นจากการใช้ความรู้และ ทักษะท่ีกาหนดไว้ ซ่ึงสอดคล้องตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด โดยผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน อาจเป็นส่งิ ท่ีครูผู้สอนกาหนดให้ หรอื ครูผู้สอนและผ้เู รียนร่วมกนั กาหนดข้นึ เพ่ือให้ผ้เู รียน ได้ลงมือปฏิบตั ิในแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน ต้องแสดงให้เหน็ ถึงพฒั นาการ ในการเรียนร้ขู องผเู้ รยี น และเปน็ รอ่ งรอยหลักฐานแสดงวา่ ผู้เรียนมคี วามรู้ ทกั ษะและ ความสามารถ บรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัดที่กาหนดไว้ในหนว่ ยการเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน อาจจะเกิดข้นึ ไดใ้ นระหวา่ งการจัดการเรยี นรู้หรอื ช้ินงาน/ภาระงาน รวบยอด แตต่ อ้ งแสดงให้เห็นวา่ ผเู้ รยี นได้นาความรู้ ทักษะและความสามารถท่ีได้จากการเรียนร้ใู นหนว่ ยการเรยี นรู้ นั้นออกมาใช้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ตัวอย่างชิ้นงาน/ภาระงาน ชิ้นงาน เชน่ รายงาน เรียงความ จดหมาย โคลง กลอน หนังสือเลม่ เลก็ ภาพวาด แผนภาพ แผนผัง แผนภมู ิ กราฟ ตาราง งานประดษิ ฐ์ งานแสดงนทิ รรศการ หุ่นจาลอง แฟม้ สะสมงาน ฯลฯ ภาระงาน เช่น การพดู /รายงานปากเปลา่ การอภิปราย การอ่าน การกลา่ วรายงาน โตว้ าที รอ้ งเพลง เลน่ ดนตรี การเคลื่อนไหวร่างกาย ฯลฯ งานทม่ี ีลกั ษณะผสมผสานกนั ระหวา่ งชิ้นงาน/ภาระงาน เช่น โครงงาน การทดลอง การ สาธติ ละคร วดี ทิ ัศน์ ฯลฯ

42 8. การวดั และประเมินผล การวดั และประเมนิ ผล ประกอบด้วยการวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กจิ กรรม การเรียนรู้ และการวดั และประเมินผลเม่ือสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ในการกาหนดวิธกี ารวัดและ ประเมินผล ตลอดจนเกณฑ์การประเมินต้องเชอื่ มโยงกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั ที่กาหนดในหนว่ ย การเรยี นรู้ ครผู สู้ อนและผู้เรยี นควรรว่ มกันสรา้ งเกณฑ์การประเมิน ช้นิ งาน/ภาระงาน การปฏิบตั งิ าน เพอ่ื เปน็ แนวทางในการ ประเมินคุณภาพผเู้ รยี น 9. กิจกรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้เป็นการนาเทคนคิ การสอนตา่ งๆ มาใชใ้ นการจดั การเรยี นร้ใู ห้สอดคลอ้ ง กบั ธรรมชาติของวิชา/วิธีการจดั การเรยี นรู้ ซ่งึ จะนาผ้เู รียนไปสู่การสร้างชิ้นงาน/ภาระงาน เกดิ ทักษะและ ความสามารถตามสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน กระบวนการตามธรรมชาตวิ ชิ า คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และบรรลตุ ามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด ซึง่ กาหนดไว้ในหนว่ ยการเรียนรู้ 10. เวลาเรยี น/จำนวนช่วั โมงเรยี น เวลาการจดั กิจรรมการเรียนรูใ้ นแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะต้อง วิเคราะหใ์ หเ้ หมาะสมกบั ลักษณะของกจิ กรรมการเรยี นรู้และสอดคล้องกบั จานวนมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั ทปี่ รากฏในหนว่ ยการเรียนรู้ จาก โครงสร้างรายวิชา การจดั ทาหนว่ ยการเรยี นรู้ การจัดทาหน่วยการเรียนรู้มแี นวทางในการปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. สร้างความรู้ความเขา้ ใจ 1.1 ควรทาความเข้าใจกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 จุดเนน้ คุณภาพ ผเู้ รยี น สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่นของเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา (ถา้ มี) หลักสูตรสถานศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ่ีรบั ผิดชอบ และ องคป์ ระกอบที่สาคญั ของหนว่ ยการเรยี นรู้ 1.2 ควรร้วู ่าในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรทู้ ่จี ะจดั การเรียนรู้นน้ั ประกอบไปดว้ ยมาตรฐาน การเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด จานวนเทา่ ไร สาระการเรียนรู้ทไี่ ด้จากคาอธิบายรายวชิ า สมรรถนะสาคญั ของ ผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สตู ร และธรรมชาตขิ องกลุม่ สาระการเรยี นรู้ 1.3 ควรรูว้ ธิ กี ารออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ ซึง่ สามารถจดั ทาได้หลายลกั ษณะแต่ต้องยึด มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัดเป็นเปา้ หมายสาคญั ในการพฒั นาผเู้ รียน หน่วยการเรียนรูส้ ามารถออกแบบได้ 2 วธิ ี คอื วิธที ่ี 1 ออกแบบหนว่ ยการเรียนรูเ้ ร่ิมจากการวเิ คราะห์มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด วิธีที่ 2 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้เรม่ิ จากการกาหนดประเด็น/หวั เรอ่ื งจากสภาพปัญหา หรือสิ่งทผ่ี เู้ รยี นสนใจ 2. วางแผนและจัดทำหน่วยการเรยี นรู้ เมื่อมคี วามรู้ความเข้าใจในการจดั ทาหน่วยการเรยี นรแู้ ลว้ ในขัน้ ตอ่ มาเปน็ การวางแผนในการ จดั ทาหน่วยการเรียนรู้ ครูผสู้ อนตอ้ งนาตวั ชว้ี ดั ในกล่มุ สาระการเรียนรู้ที่รบั ผดิ ชอบมาพิจารณาว่าในแตล่ ะตวั ชี้วดั เมอ่ื นามาจัดการเรียนรู้ ผ้เู รียนควรรู้อะไรและทาอะไรได้ ควบคกู่ ับการวิเคราะห์สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี นวา่ จะ นาพาให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะใดจากสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนทหี่ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กาหนดไว้ 5 ประการ และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ท่หี ลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กาหนดไว้ 8 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในส่วนของคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

43 กรณีทว่ี ิเคราะห์แลว้ ไมป่ รากฏคุณลกั ษณะในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อย่างชดั เจน สามารถวเิ คราะห์เพิ่มเติมได้จากคุณลกั ษณะอันพึงประสงคท์ ่เี ป็นจดุ เนน้ ของเขตพื้นทก่ี ารศึกษา สถานศึกษาและ กลุ่มสาระการเรียนรู้ทส่ี อดคล้องกบั ตวั ชวี้ ัด กอ่ นนาหนว่ ยการเรยี นรู้ไปจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ควรมกี ารตรวจสอบคุณภาพ หนว่ ยการเรยี นรู้ เพื่อให้ครอบคลุมและมีความสอดคล้องแต่ละองคป์ ระกอบ ครผู ้สู อนอาจใชต้ ัวอยา่ ง แบบประเมนิ หน่วยการ เรียนรู้ ดังต่อไปนี้เป็นตัวอยา่ ง

44 ตวั อย่างแบบประเมนิ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้......................................ช้ัน..........................เวลา..........................ชว่ั โมง คาชแ้ี จง โปรดเขียนเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ งที่ตรงกับระดบั การประเมิน ระดับการประเมิน 4 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมมากทส่ี ุด 3 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมมาก 2 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชื่อมโยง/เหมาะสมนอ้ ย 1 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสมน้อยท่ีสดุ รายการประเมนิ ระดบั การ ประเมิน 4321 1.ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ น่าสนใจ กะทดั รัด ชดั เจน ครอบคลุมเนอ้ื หาสาระ 2.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์มีความ เช่อื มโยงกนั อยา่ งเหมาะสม 3.ความสอดคล้องของสาระสาคัญ/ความคิดรวบยอดกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด 4.ความสอดคลอ้ งของสาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอดกบั สาระการเรียนรู้ 5.ความเชือ่ มโยงสัมพันธ์กนั ระหวา่ งช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด/สาระสาคญั / ความคดิ รวบยอด สาระการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้ 6.กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรู้ 7.กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความครอบคลุมในการพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้ ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 8.กจิ กรรมการเรยี นรมู้ ีความเหมาะสมสามารถนาผู้เรยี นไปสู่การสรา้ งชิ้นงาน/ภาระงาน 9.มกี ารประเมนิ ผลตามสภาพจริงและสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด/กิจกรรมการ เรียนรู้ 10.ประเดน็ และเกณฑ์การประเมินสามารถสะทอ้ นคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั 11.ส่ือการเรยี นรู้ในแต่ละกิจกรรม มีความเหมาะสมกับเวลาและการนาไปประยุกตใ์ ช้ได้จริง 12.กาหนดได้เหมาะสมกบั กิจกรรมและสามารถนาไปปฏิบตั ไิ ด้จรงิ รวม/สรุปผล.......................................................... หรอื เฉลี่ย/สรปุ ผล.............................................. การแปลความหมายการประเมินหนว่ ยการเรียนรู้ เกณฑ์ คา่ เฉลยี่ 1.00 - 1.99 ปรับปรงุ 2.00 - 2.99 พอใช้ 3.00 - 3.99 ดี 3.99 - 4.00 ดีมาก หรือ คะแนน 12 - 20 ปรบั ปรงุ 21 - 30 พอใช้ 31 - 39 ดี 40 – 48 ดมี าก

45 การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้เป็นเครื่องมือสาคัญสาหรับครูในการจัดเตรยี มกิจกรรมการจัดการ เรียนร้ใู ห้แก่นกั เรยี นไดเ้ รยี น ครบถว้ นตรงตามหลักสตู รและบรรลุจุดประสงค์การเรยี นรู้ท่ีกาหนด ครูสามารถ สอนได้ทันเวลาที่กาหนดไว้ในโครงสรา้ งเวลา เรยี น และตรงตามมาตรฐานและตวั ชี้วดั ของหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ดงั แผนภาพแสดงความเชอื่ มโยงของหน่วยการเรยี นรู้สู่การ จัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ โครงสรา้ งรายวชิ า หน่วยการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ 10 ชัว่ โมง 13 ชัว่ โมง 15 ชว่ั โมง 10 ชั่วโมง จดั แบ่งเนอ้ื หาเวลา ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ แผนที่ 1 แผนท่ี 2 แผนที่ 3 แผนที่ 4 แผนท่ี 5 2 ช่ัวโมง 1 ชวั่ โมง 3 ช่วั โมง 4 ชวั่ โมง 5 ช่วั โมง แตล่ ะแผน 1.อะไรเปน็ เปา้ หมายสาหรับผู้เรยี นในการจัดการเรยี นรู้ครั้งน้ี (Goal Setting) ต้องตอบ 2.ทาอย่างไรผู้เรยี นจงึ บรรลุเป้าหมาย (Instructional Plan) คาถาม 3.ตัดสนิ อยา่ งไรว่าผเู้ รยี นบรรลเุ ป้าหมาย (Technical Evaluation) ต่อไปนี้

46 การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ มอี งคป์ ระกอบท่ีสาคัญและวิธเี ขยี น ดังน้ี 1. สาระสาคญั ได้จากการวเิ คราะห์แก่นความรู้แต่ละมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั รวมถึง สาระการเรียนรทู้ ่ี ผู้เรยี นจะไดร้ บั จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด ในหน่วย การเรยี นรทู้ นี่ ามาจากโครงสร้างรายวชิ าทไี่ ด้ทาการวเิ คราะห์ หรอื จะเขียนขนึ้ ใหม่ก็ได้ 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด นามาจากมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ท่ีกาหนดไวใ้ นหนว่ ยการเรยี นรู้ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ นามาจากจุดประสงค์การเรียนรู้ ตอ้ งมีความสัมพันธ์และสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ ทก่ี่ าหนดไว้ในหนว่ ยการเรียนรู้ เขียนให้ครอบคลุม พฤตกิ รรมของผเู้ รียน คือ ด้านพุทธพิ ิสัย ทกั ษะพสิ ัย และจิตพสิ ยั การเขยี นจุดประสงคก์ ารเรียนร้ทู แี่ สดงพฤติกรรมของผเู้ รียนด้านพทุ ธิพิสยั ทักษะพิสยั และ จิตพสิ ัยของบลูม (Bloom) แครทโรล (Krathrohl) และแฮร์โรว์ (Harrow) ได้แก่ 1. ดา้ นพุทธิพสิ ยั จุดประสงค์การเรยี นรดู้ า้ นพุทธพิ สิ ัย หมายถงึ จุดประสงค์ที่แสดง ความสามารถของ สตปิ ญั ญาในการประมวลข้อมูล พฤตกิ รรมทีช่ บี้ ่งความสามารถในดา้ นนีส้ ามารถ แบ่งได้ 6 ระดับ จากระดับพื้นฐานไปสูร่ ะดบั ที่ซับซ้อน ดังน้ี 1.1 ความรู้ ความจา (knowledge) เช่น เลือก ระบุ อธิบาย เติมคาใหส้ มบูรณ์ ช้บี ง่ จัดทารายการ จบั คู่ เรยี กช่อื ระลกึ บอก และกาหนด เป็นตน้ 1.2 ความเขา้ ใจ (comprehension) เช่น เปลี่ยน อธบิ าย ประมาณการ ขยายความ สรุป อา้ งองิ แปลความหมาย คาดคะเน ตคี วาม ขยายความ อุปมาอปุ มัยสรปุ และยกตวั อยา่ ง เป็นตน้ 1.3 การนาไปใช้ (application) เช่น การประยกุ ต์ การคานวณ การสาธติ การพัฒนา การคน้ พบ การดัดแปลง การดาเนินการ การมีส่วนรว่ ม การแสดง วางแผน ทานาย เชื่อมโยง แสดง และ ทาใหด้ ู เปน็ ต้น 1.4 การวเิ คราะห์ (analysis) เช่น วเิ คราะห์ แยกแยะ จดั พวก จัดชนั้ จดั ประเภท จัดกลุ่ม เปรยี บเทยี บ หาความแตกตา่ ง วิจารณ์ แสดงแผนภมู ิ จาแนก สรปุ อา้ งองิ และกาหนด องค์ประกอบ เปน็ ต้น 1.5 การสงั เคราะห์ (synthesis) เช่น การออกแบบ วางแผน และนาเสนอโครงการ คากรยิ าท่ีแสดงทักษะการสงั เคราะห์ ได้แก่ จัดเตรยี ม จดั ประเภท แบ่งพวกรวบรวมผสมผสาน กาหนด สร้าง ออกแบบ พฒั นา ผลิต ดัดแปลง จัดระบบ วางแผน ปฏริ ปู วางระบบ ปรับปรงุ ทบทวน สรปุ รวบยอด สังเคราะห์ ประพันธ์ แตง่ นาเสนอ และจดั การแสดง เป็นต้น 1.6 การประเมนิ คุณคา่ (evaluation) เชน่ โตแ้ ยง้ ประเมิน เปรยี บเทียบ สรุปความ วิจารณ์ ตัดสิน อธิบายตคี วาม จัดลาดบั ที่ จัดช้นั และเทียบกบั มาตรฐาน เปน็ ตน้ 2. ด้านจิตพิสัย จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ด้านจิตพิสัย หมายถึง จุดประสงค์ท่แี สดงพฤติกรรม ทเ่ี กย่ี วกบั ความรสู้ ึก เจตคติและคา่ นิยม ซ่ึงการเรยี นรดู้ ้านเจตคตแิ ละค่านยิ ม มีลาดบั ขน้ั ของการเกิด พฤติกรรม ดังน้ี 2.1 การรบั รู้ (receiving) เชน่ ถาม เลือก อธิบาย ตอบ บอกชอ่ื สาธิต ระบุ บอกความ แตกต่าง และบอกจุดเด่น เป็นตน้ 2.2 การตอบสนอง (responding) เชน่ พิสจู น์ รวบรวม ทาตามคาสัง่ แสดง ฝกึ ปฏบิ ัติ นาเสนอ และเลือก เป็นตน้

47 2.3 การเหน็ คณุ ค่า (valuing) เชน่ อธิบาย ทาตาม ริเริ่ม เขา้ รว่ ม นาเสนอ และทาให้ สมบรู ณ์ เป็นต้น 2.4 การจัดระเบยี บ (organizing) เชน่ จัดระเบยี บ รวบรวม สรุป บูรณาการ ดดั แปลง จัดลาดบั สงั เคราะห์ สรา้ ง และ จดั ระบบ เป็นตน้ 2.5 การสรา้ งระบบคา่ นยิ มของตนเอง (internalization of values) ไดแ้ ก่ ปฏิบัติ แสดงออก แกป้ ัญหา ประกาศตัว แสดงตน อทุ ิศตน ท่มุ เท ยอมรับ และเกิดสานึก เปน็ ต้น 3. ดา้ นทักษะพสิ ัย เป็นทักษะความสามารถทางกายท่อี าศัยการเคล่อื นไหว ของกล้ามเน้ือเลก็ และกลา้ มเนื้อใหญ่ในการทางาน เช่น การเลน่ กีฬาต่าง ๆ การเตน้ รา งานช่างฝมี ือตา่ งๆ การประกอบอาหาร การทางานประดษิ ฐ์ การเลน่ เครื่องดนตรี เขยี น ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บ ทาตามข้อกาหนด ขว้ันกิง่ ตอนก่ิง ทาตามข้ันตอน ทาความเคารพ ฝึกปฏิบัติงาน รอ้ งเพลง แสดงละคร ตรวจสอบ ประกอบ เคร่ืองมอื ใชเ้ ครื่องมือ ใชอ้ ปุ กรณ์ ปฏิบตั ิงาน ติดตง้ั อุปกรณ์ ตรวจและแก้ไข ซ่อมบารุง สรา้ ง ประดษิ ฐ์ เปน็ ตน้ 4. สาระการเรยี นรู้ นามาจากสาระการเรียนรแู้ กนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (รายวชิ าพื้นฐาน) หรอื สาระการเรียนรทู้ ้องถ่นิ (รายวชิ าเพ่ิมเตมิ ) ต้องเขียนให้ชดั เจนกะทัดรดั เหมาะสม ครอบคลุมเน้อื หาการเรียนรู้ เขียนเป็นความเรยี ง 5. ส่ือการเรยี นรู้ เป็นการใช้สอื่ อปุ กรณ์ วธิ กี าร ฯลฯ ทจ่ี ะนามาประกอบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนได้รบั ประสบการณ์ ไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรม หรอื ได้เรียนรู้ เพอ่ื ใหบ้ รรลุ การเรียนรู้ ตามแผน จดั การเรยี นรตู้ ้อง กาหนดใหส้ อดคล้องกบั จดุ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และเวลาเรียน ตอ้ งเขยี นระบุใหช้ ดั เจน 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นาคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 25๕๑ หรอื จุดเน้นท่เี ขตพนื้ ท่ีการศึกษา หรอื สถานศึกษากาหนด ทต่ี อ้ งการพฒั นาใน แผนการจัดการเรยี นรู้ 7. ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน นาสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี นตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หรือจดุ เนน้ ท่ีเขตพื้นที่การศกึ ษา หรอื สถานศกึ ษากาหนด ที่ต้องการ พฒั นาใน แผนการจดั การเรยี นรู้ 8. ดา้ นการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน แผนการจดั การเรยี นรู้ต้องพัฒนาการอา่ น คิดวิเคราะห์และเขยี น ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการจบ หลกั สตู รจึงต้องเขยี นให้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และกิจกรรมการ เรยี นรู้ 9. การบูรณาการ (ถ้ามีการบูรณาการ) การจดั การเรียนรบู้ างกจิ กรรมอาจมีการเช่ือมโยง ไปยังกลุม่ สาระการเรยี นรตู้ า่ งๆ ท่ีเก่ียวข้องและหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 10. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ลกั ษณะการเขียนกิจกรรมการเรียนรู้ ตอ้ งเน้นให้ผเู้ รยี นเป็น ผ้ลู งมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ (Active Learning) มากกวา่ การให้ผู้เรียนน่งั ฟงั อ่านหรือท่องจาเพียงอย่างเดยี ว (Passive Learning) การเขยี นกระบวนการจัดการเรยี นร้ใู นแผนการจดั การเรยี นรู้มี 3 ข้ันตอน คือ 1. ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น เขยี นระบกุ จิ กรรมที่นามาใชเ้ พ่ือกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความสนใจ เป็น กิจกรรมท่นี ่าสนใจ และเช่อื มโยงกบั บทเรียนท่ีเรยี นโดยใชร้ ะยะเวลาสัน้ ๆ 2. ขัน้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ เป็นการเขียนรายละเอยี ดของกจิ กรรมแต่ละขน้ั ตอน ของแต่ละสาระการเรยี นรู้ หลักการเขียนกิจกรรมต้องลาดับส่ิงทีผ่ เู้ รียนรู้ไปสสู่ ่ิงทผ่ี ้เู รยี นยงั ไมร่ ู้ กิจกรรมต้อง สอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรียนรทู้ ี่กาหนดไว้ และควรเน้นให้ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการวางแผน การจัดกจิ กรรม โดยการลงมือปฏิบตั จิ ริง 3. ขัน้ สรุปบทเรยี น เปน็ การเขยี นกิจกรรมหรือคาถามนาทางใหผ้ เู้ รยี นสรปุ บทเรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook