Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มิติ1.2 หลักสูตรปฐมวัยสู่การปฏิบัติ(1)

มิติ1.2 หลักสูตรปฐมวัยสู่การปฏิบัติ(1)

Published by เดชา โพนทอง, 2021-05-28 07:54:44

Description: มิติ1.2 หลักสูตรปฐมวัยสู่การปฏิบัติ(1)

Search

Read the Text Version

คำนำ เพื่อใหส้ อดคล้องกับรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๙) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐- ๒๕๖๔) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) เป้าหมายยทุ ธศาสตรก์ ารปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) และแผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเดก็ ปฐมวยั (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) นำไปสู่การกำหนด ทกั ษะสำคญั สำหรับเด็กในศตวรรษท่ี ๒๑ ทีม่ ีความสำคัญต่อการกำหนดเปา้ หมายในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ให้มีความสอดคล้องและทันตอ่ การเปลย่ี นแปลงทุกด้านนนั้ ประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา รบั มอบนโยบายดงั กล่าว และได้นำส่งตอ่ ให้กับสถานศกึ ษาโดยการจัดอบรมฝกึ ปฏิบตั กิ ารและใหค้ วามรู้ครูเพอ่ื นำไปพัฒนาหลักสตู ร สถานศึกษาโดยใช้พลังร่วมชมุ ชนวชิ าชีพขับเคลือ่ น กระบวนการดงั กล่าวเพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษามีหลกั สูตรปฐมวัย ใช้ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ทกุ โรงเรยี น สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต ๒ ได้ให้ความสำคัญในการพัฒนาหลกั สูตร สถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั พทุ ธคักราช ๒๕๖๐ จงึ ได้จดั ทำคู่มือการนำหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยพทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สู่การปฏบิ ัตขิ ึ้น เป็นแนวทางในการจดั ทำหลักสูตรสถานศกึ ษาและการจดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์ และเตมิ เตม็ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ไดแ้ ก่ ปรัชญาการศกึ ษา วิสยั ทศั น์ หลกั การ จดุ หมาย มาตรฐานคุณลักษณะ ทพี่ ึงประสงค์ การจัดเวลาเรยี น สาระการเรยี นรู้ การจดั ประสบการณ์ การประเมินพฒั นาการ การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ของสถานศกึ ษาให้เกดิ ความชดั เจน เหมาะสม ถกู ตอ้ ง ตามหลกั การและวยั ของเดก็ และสง่ ผลตอ่ การพฒั นารอบด้าน รวมท้งั มีความพร้อมทจี่ ะเรยี นตอ่ ในระดับทสี่ งู ข้นึ ไป ไดอ้ ย่างเตม็ ศกั ยภาพและเตม็ หลกั สตู ร

สารบัญ หนา้ เรื่อง ๑ ๑ การนำหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สกู่ ารปฏิบตั ิ ๕ การนำหลกั สตู รไปใช้ ๘ การจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ๒๙ การจดั ทำองค์ประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย การจดั ทำแผนการจัดประสบการณ์ ภาคผนวก

1 การนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ สกู่ ารปฏิบตั ิ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สำหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี หลักการที่สำคัญคือเด็ก ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กและได้รับการ จัดประสบการณ์เรียนรู้ตามลำดับข้ันของพัฒนาการอย่างเป็นองค์รวมมีคุณภาพและเต็มศักยภาพดังนั้น สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกแห่งจึงต้องจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่สอดคล้องกับ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐ ภายใต้บริบทและสภาพความต้องการของชุมชนโดยความ ร่วมมือของผู้เกยี่ วขอ้ ง ทกุ ฝ่ายเพ่ือใหห้ ลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั มคี วามเหมาะสมเปน็ ไปไดน้ ำไปสู่การปฏิบัติ ในการจดั ประสบการณ์ ในหอ้ งเรียนอย่างมคี ุณภาพ การนำหลักสตู รไปใช้ มโนทัศน(์ Concept) การนำหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาหลักสูตร เพราะเป็นการนำอุดมการณ์ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เนื้อหาวิชา และประสบการณ์การเรียนรู้ที่คัดสรรค์อย่างดีแล้วไปสู่ผู้เรียน นักพัฒนาหลักสูตรทุกคนต่างก็ยอมรับความสำคัญของขั้นตอนในการนำหลักสตู รไปใช้ ว่ามีความสำคัญยงิ่ กวา่ ขัน้ ตอนอนื่ ใดทัง้ หมด เป็นตวั บง่ ชถี้ ึงความสำเร็จหรือความลม้ เหลวของหลักสูตรโดยตรงหลักสูตรแม้จะ ไดส้ ร้างไว้ดีเพยี งใดก็ตามยังไมส่ ามารถจะกล่าวได้ว่าจะประสบความสำเร็จหรอื ไม่ ถ้าหากวา่ การนำหลักสูตร ไปใช้ดำเนนิ ไปโดยไม่ถูกตอ้ งหรือไม่ดเี พียงพอ ความล้มเหลวของหลักสูตรจะบงั เกิดขึ้นอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ เพราะฉะนั้นการนำหลกั สตู รไปใช้จงึ มีความสำคัญทบี่ ุคคลผู้เก่ียวขอ้ งในการนำหลกั สตู รไปใช้จะตอ้ งทำความ เข้าใจกับวิธีการขั้นตอนตา่ ง ๆ เพื่อให้สามารถนำหลักสูตรไปใช้อย่างมีประสิทธผิ ลสูงสุดสมความมุ่งหมาย ทกุ ประการ ผลการเรียนร้(ู Learning Outcome) มคี วามรู้ ความเข้าใจการนำหลกั สูตรไปใช้ มีความรู้ ความเข้าใจ เกย่ี วกบั การใชท้ รพั ยากรในท้องถนิ่ และแหล่งเรยี นรู้ สามารถบอกบคุ คลที่เกย่ี วข้องเพ่ือการประสานงานเมือ่ นำหลกั สูตรไปใช้ สาระเนอ้ื หา(Content) การนำหลกั สตู รไปใช้ การนำหลักสูตรไปใช้เป็นขนั้ ตอนสำคญั ของการพัฒนาหลกั สูตร เปน็ กระบวนการดำเนินงานและกิจกรรม ต่าง ๆ ในการนำหลักสูตรไปสู่โรงเรียนและจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการนำ หลกั สตู รไปใชเ้ ปน็ งานเกี่ยวขอ้ งกับบุคคลหลายฝา่ ย ตัง้ แต่ระดบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร แต่ละฝ่ายมีความเก่ียวข้อง ในแต่ละส่วนของการนำหลักสูตรไปใช้ เช่น หน่วยงานส่วนกลางเกีย่ วข้องในด้านการบริหารและบริหารหลักสูตร กบั การนเิ ทศและติดตามผลการใชห้ ลกั สตู ร การนำหลักสูตรไปใช้จำต้องเป็นขั้นตอนตามลำดับนับแต่ขั้นการวางแผน และเตรียมการในการ ประชาสัมพันธ์หลักสูตร และการเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้องขั้นต่อมาคือการดำเนินการนำหลักสูตรไปใช้อย่างมี ระบบนับแต่การจัดครูเข้าสอนตามหลักสูตร การบริการวัสดุหลักสูตรและสิ่งอำนวยความสะดวกในการนำ หลักสูตรไปใช้ และดำเนินการเรยี นการสอนตามหลกั สตู ร

2 ส่วนขั้นสุดท้ายต้องติดตามประเมินผลการนำหลักสูตรไปใช้ นับแต่การนิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตร การติดตามและประเมนิ ผลการใชห้ ลักสูตร การนำหลกั สตู รไปใชถ้ อื เปน็ กระบวนการทีส่ ำคัญ ที่จะทำให้หลักสูตรที่ สร้างขึ้นบรรลุผลตามจุดหมาย และเป็นกระบวนการที่ต้องได้รับความร่วมมือจากบุคคลทีเ่ กี่ยวขอ้ งหลาย ๆ ฝ่าย และท่สี ำคัญทส่ี ุดคอื ครผู ้สู อน ความหมายของการนำหลกั สตู รไปใช้ การนำหลักสตู รไปใช้ซึ่งเป็นข้ันตอนทีน่ ำหลักสูตรไปสู่การปฏบิ ัติงานท่ีมีขอบเขตกวา้ งขวาง ทำให้การให้ ความหมายของคำวา่ การนำหลกั สตู รไปใช้แตกต่างกนั ออกไป นกั การศกึ ษาหลายทา่ นได้แสดงความคดิ เห็นหรือให้ คำนิยามของคำวา่ การนำหลักสตู รไปใช้ ดงั น้ี โบแชมป์ (Beauchamp,1975:164)ได้ใหค้ วามหมายของการนำหลักสูตรไปใชว้ ่า การนำหลกั สูตรไปใช้ หมายถงึ การนำหลกั สูตรไปปฏบิ ตั ิ โดยกระบวนการท่ีสำคญั ทีส่ ดุ คอื การแปลงหลักสูตรไปสูก่ ารสอน การจัดสภาพ สิ่งแวดลอ้ มในโรงเรยี นให้ครูไดม้ พี ฒั นาการเรยี นการสอน สันติ ธรรมบำรงุ (2527.120)กล่าวว่า การนำหลักหลกั สตู รไปใช้หมายถงึ การที่ผู้บรหิ ารโรงเรยี นและครู นำโครงการของหลักสูตรที่เปน็ รูปเล่มนั้นไปปฏิบัติให้บังเกดิ ผล รวมถึงการบริหารงานด้านวิชาการของโรงเรียน เพือ่ อำนวยความสะดวกใหค้ รแู ละนกั เรยี นสามารถสอนและเรียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ จนั ทรา (Chandra, 1977:1) ได้ให้ความหมายของการนำหลักสูตรไปใชว้ ่าเป็นการทดลองใช้เน้ือหาวิชา วิธีการสอน เทคนิคการประเมิน การใช้อุปกรณ์การสอน แบบเรียนและทรัพยากรต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ นักเรียน โดยมคี รูและผู้ร่างหลักสตู รเป็นผปู้ ญั หาแลว้ หาคำตอบให้ได้จากการประเมินผล แนวคดิ เก่ียวกบั การนำหลักสูตรไปใช้ โบแชมป์ (Beauchamp, 1975: 169) กลา่ ววา่ ส่ิงแรกทคี่ วรทำคือ การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียน ครผู ูน้ ำหลกั สูตรไปใชม้ หี นา้ ทแี่ ปลงหลกั สูตรไปสู่การสอน โดยใชห้ ลักสตู รเป็นหลกั ในการพัฒนากลวธิ ีการสอนสิ่งที่ ควรคำนงึ ถึงในการนำหลักสูตรไปใช้ให้ไดผ้ ลตามเปา้ หมาย 1. ครูผู้สอนควรมสี ่วนร่วมในการรา่ งหลกั สตู ร 2. ผู้บริหารต้องเห็นความสำคัญและสนับสนุนการดำเนินงานให้เกิดผลสำเร็จได้ ผู้นำที่สำคัญที่จะ รับผดิ ชอบไดด้ ี คือครใู หญ่ หลกั การทสี่ ำคญั ในการนำหลักสตู รไปใช้ 1. จะต้องมีการวางแผนและเตรยี มการ 2. จะต้องมีองคค์ ณะบคุ คลทัง้ สว่ นกลางและส่วนท้องถ่ินทำหน้าทีป่ ระสานงานกัน 3. ดำเนินการอยา่ งเป็นระบบ 4. คำนงึ ถงึ ปจั จัยท่ีจะช่วยในการนำหลกั สูตรไปใช้ 5. ครเู ป็นบคุ คลท่ีสำคัญทีส่ ดุ ดังนัน้ ครูจะต้องได้รบั การพัฒนาอยา่ งเตม็ ทแี่ ละจรงิ จงั 6. จดั ตัง้ ให้มีหนว่ ยงานทีม่ ผี ูเ้ ชยี่ วชาญพิเศษ เพอ่ื ใหก้ ารสนบั สนนุ และพฒั นาครู 7. หนว่ ยงานและบุคคลในฝ่ายตา่ ง ๆ ตอ้ งปฏบิ ัติหนา้ ทอ่ี ยา่ งเตม็ ความสามารถ 8. มีการตดิ ตามและประเมินผลเป็นระยะ ๆ

3 กจิ กรรม/งานท่ีเกีย่ วข้องกับการนำหลกั สูตรไปใช้ สงัด อุทรานันท์ (2532 : 263-271) กล่าวว่า การนำหลกั สตู รไปใชม้ งี านหลกั 3 ประการ คอื 1. งานบริหารและบริการหลักสูตร จะเกี่ยวข้องกับ งานเตรียมบุคลากร การจัดครูเข้าสอนตามหลักสูตร การบรหิ ารและบรกิ ารวัสดหุ ลกั สูตร การบรกิ ารหลักสตู รภายในโรงเรยี น 2. งานดำเนนิ การเรียนการสอนตามหลกั สูตรประกอบด้วย การปรับปรุงหลกั สตู รให้สอดคล้องกับสภาพ ทอ้ งถ่นิ การจัดทำแผนการสอน การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 3. งานสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลกั สูตรประกอบด้วย การนิเทศและติดตามผลการใช้หลกั สูตรและ การตัง้ ศูนย์บรกิ ารเพอ่ื สนบั สนนุ และส่งเสริมการใช้หลักสตู ร ขัน้ ตอนการนำหลกั สตู รไปใช้ 1. ขั้นการเตรยี มการใช้หลกั สตู ร - การตรวจสอบลกั ษณะหลักสูตร - การวางแผนและการทำโครงการศกึ ษานำรอ่ ง - การประเมนิ โครงการศึกษานำรอ่ ง - การประชาสัมพนั ธห์ ลกั สตู ร - การเตรยี มบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง 2. ขัน้ ดำเนินการใชห้ ลกั สูตร - การบรหิ ารและบริการหลักสตู ร -การดำเนินการเรยี นการสอนตามหลักสูตร - การสนับสนุนและส่งเสริมการใช้หลกั สตู ร 3. ข้นั ตดิ ตามและประเมินผล - การนเิ ทศและการใช้หลักสูตรในโรงเรียน - การติดตามและประเมนิ ผลการใชห้ ลักสตู ร การประเมินหลกั สตู ร 1. การตรวจสอบประสิทธิผลและความตกต่ำของคุณภาพของหลกั สตู ร 2. การตรวจสอบหาเหตทุ ี่ทำให้คุณภาพตกตำ่ 3. แกไ้ ขและตรวจสอบประสทิ ธิผลของวิธกี ารท่ีนำมาแกไ้ ข ผู้ท่เี กยี่ วขอ้ งกับการนำหลักสูตรไปใช้ บทบาทของหน่วยงานสว่ นกลางและส่วนท้องถิน่ ในการนำหลกั สตู รไปใช้ 1. การใช้หลกั สตู รโดยหนว่ ยงานสว่ นกลางทม่ี ีบทบาทเตม็ ท่ี 2. การใชห้ ลกั สูตรโดยใหโ้ รงเรยี นมบี ทบาทเตม็ ที่ 3. การใชห้ ลักสูตรโดยให้หน่วยงานสว่ นกลางมบี ทบาทเปน็ ส่วนใหญ่ และมีหนว่ ยงานท้องถนิ่ เป็นผใู้ ห้ ความช่วยเหลือ 4. ใช้หลักสูตรโดยให้หนว่ ยงานสว่ นท้องถ่ินมบี ทบาทสำคญั และหนว่ ยงานสว่ นกลางเป็นผใู้ ห้การ สนบั สนุน

4 บทบาทของบุคลากรในการนำหลกั สูตรไปใช้ 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น 2. งานวชิ าการ 3. ครูผู้สอน สรุป (Summary) การนำหลักสูตรไปใชเ้ ปน็ การแปลงหลักสตู รไปสกู่ ารสอน เป็นกระบวนการท่เี กี่ยวขอ้ งกบั บุคคลหลายฝ่าย และเปน็ กจิ กรรมท่ีเปน็ ขั้นตอนการปฏบิ ัติหลายขน้ั ตอน วธิ กี ารของกระบวนการนำหลกั สูตรไปใช้ น่าจะเป็นหัวใจ สำคญั ของการพฒั นาหลกั สูตรมีผูก้ ล่าวว่า แม้เราจะมีหลกั สูตรทีด่ แี สนดี แต่ถา้ นำหลักสูตรไปใชอ้ ย่างไมถ่ ูกต้องแล้ว หลักสูตรนัน้ กไ็ มม่ ปี ระโยชน์อะไร เพราะฉะนนั้ ผทู้ มี่ ีหน้าที่เกยี่ วข้องกบั การนำหลกั สูตรไปใช้ จะตอ้ งศกึ ษา ทำความ เขา้ ใจกับการนำหลักสูตรไปใช้ตามบทบาทหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ทสี่ ุด เพือ่ ให้การใชห้ ลักสตู รน้นั สัมฤทธิ์ผลตาม จุดมงุ่ หมายท่กี ำหนดไว้

5 การจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ที่เปิดสอนระดับปฐมวัยแต่ละแห่งต้องจัดทำหลักสูตร สถานศึกษา ปฐมวัยที่ สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖0 เพื่อให้เด็กได้รบั การพัฒนา บรรลุตามมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ตัวบ่งช้ีและสภาพที่พึงประสงค์ตามที่หลักสูตร กำหนดโดย สถานศึกษาหรือสถานพัฒนา เด็กปฐมวยั สามารถออกแบบการจดั ประสบการณไ์ ดห้ ลากหลาย ตามแนวคดิ ทฤษฎี ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ปฐมวัย โดยต้องคำนึงถึงความสอดคล้องตามหลักการ ในหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัยพทุ ธศกั ราช ๒๕๖o ซึง่ มแี นวทาง การจัดทำหลกั สตู รสถานศึกษาตามแผนภาพดงั น้ี

6 ขั้นตอนการจัดทำหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยจะต้องสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและปรับเปลี่ยน ให้สอดคล้องกับธรรมชาติและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ควร ดำเนนิ การ ตามข้ันตอน ดงั น้ี ๑. สรา้ งความเข้าใจในเอกสารหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยและคู่มือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ให้แก่ บคุ ลากรท่เี ก่ียวข้อง ซึง่ ประกอบดว้ ย คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้บริหาร ครผู สู้ อน ผปู้ กครอง ชมุ ชน โดย ประชุมช้ีแจงเพ่ือทำความเขา้ ใจเกยี่ วกับหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖0 และคู่มือหลักสูตร การศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ทง้ั นี้ เพอ่ื ใหเ้ ห็นความสำคัญ ความจำเป็น ท่ตี ้องรว่ มมอื กนั จัดทำและ บรหิ ารจัดการหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา ๒. ศึกษาสภาพปจั จบุ ัน ปญั หา และความตอ้ งการ โดยการวิเคราะห์ขอ้ มูลพ้นื ฐานเกยี่ วกับสภาพตัว เดก็ ครอบครวั ความต้องการ ปัญหา จุดเดน่ จุดด้อย ตลอดจนนโยบาย วิสยั ทศั น์ อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ ของสถานศึกษาด้วยวิธีการต่าง ๆ เซ่น จัดประชมุ หรอื ศึกษาเอกสารท่เี กย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ แผนพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา หรือแผนกลยทุ ธ์ ของสถานศกึ ษา ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับเด็ก ผู้ปกครองและชุมชน ฯลฯ ๓. จัดทำหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัย โดยมขี ้อเสนอแนะเปน็ แนวทางการจดั ทำ ดังน้ี ๓.๑ แตง่ ตั้งคณะกรรมการจดั ทำหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย ประกอบดว้ ยคณะบุคคล ดัง ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี ๓.๑.๑ คณะกรรมการทีป่ รกึ ษา ไดแ้ ก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ศึกษานิเทศก์ ทีร่ บั ผิดชอบงานปฐมวัย ผู้ทรงคณุ วุฒิ หรอื อื่น ๆ ตามความ เหมาะสม ๓.๑.๒ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการ ไดแ้ ก่ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา หัวหนา้ งานปฐมวัย ครูผู้สอนปฐมวยั ตัวแทนครชู น้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ตัวแทนผูป้ กครอง ตวั แทนชุมชน หรืออ่ืน ๆ ตามความ เหมาะสม ๓.๒ คณะกรรมการจัดทำหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั ศึกษาทำความเขา้ ใจเอกสารท่ี เก่ยี วข้องตา่ ง ๆ ได้แก่ หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ คมู่ ือหลกั สูตร การศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ และ เอกสารอ่ืนๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง รวบรวมข้อมลู พน้ื ฐาน สภาพปัจจบุ ัน ความต้องการของชมุ ชนและท้องถนิ่ ตลอดจน นโยบาย จุดเน้นวิสยั ทศั น์ อัตลกั ษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ตามแผนพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษาของ สถานศกึ ษา ๓.๓ ดำเนินการจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย ตามองคป์ ระกอบดังน้ี ๓.๓.๑ ปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษา ๓.๓.๒ วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าหมาย ๓.๓.๓ จุดหมาย ๓.๓.๔ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ๓.๓.๕ ระยะเวลาเรยี น ๓.๓.๖ สาระการเรียนรู้รายปี ๓.๓.๗ การจดั ประสบการณ์ ๓.๓.๘ การจดั สภาพแวดล้อม ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้ ๓.๓.๙ การประเมินพฒั นาการ

7 ๓.๓.๑0 การบริหารจดั การหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัย ๓.๓.๑๑ การเชอ่ื มตอ่ ของการศึกษาระดับปฐมวัยกบั ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑ ๓.๓.๑๒ ภาคผนวก ๔. ตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเมื่อสถานศึกษาดำเนินการ จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เรยี บรอ้ ยแลว้ ควรกำหนดให้มีการประเมนิ กอ่ นนำไปใช้โดยอาศยั ความคิดเห็นจากผู้ใชห้ ลกั สูตร ผมู้ ีส่วนรว่ ม ในการ จัดทำหลักสูตร ผ้เู ช่ียวชาญดา้ นการศึกษาปฐมวยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิดา้ นตา่ ง ๆ ตรวจสอบองค์ประกอบ ของหลักสูตรว่า ครบถ้วน ชดั เจน สอดคลอ้ งและมคี ุณภาพมากน้อยเพียงใด สนองความตอ้ งการ ของสถานศึกษา โดยแทจ้ ริงหรือไม่ มีความเป็นไปได้ ทันเวลาในการนำไปใช้หรือไม่ มีจุดอ่อนหรือข้อบกพร่อง อย่างไร เพื่อตรวจสอบว่าสามารถ นำไปใช้ได้ดีหรอื ควรปรบั ปรงุ แกไ้ ขเร่ืองใด โดยวธิ สี นทนากลุ่ม หรือ ใชเ้ คร่อื งมอื ใน การตรวจสอบ เพือ่ ให้หลักสูตร สถานศกึ ษาปฐมวยั มีความเหมาะสมและมีคุณภาพ ๕. ขออนุมัติการใช้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ........... โดยผ่านความเห็นชอบ ของ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานหรือคณะกรรมการอำนวยการโรงเรียน ทง้ั นี้ ขึ้นอยู่กับหนว่ ยงาน ตน้ สังกดั ๖. ประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช .... เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น คณะกรรมการ สถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ครูปฐมวัย ผปู้ กครอง ชุมชน รับทราบและดำเนนิ การตามบทบาทของตนต่อไป ๗. นำหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัยไปใช้ โดยบคุ คลที่เกี่ยวข้อง เช่น ผูส้ อนนำหลักสูตรสถานศกึ ษา ปฐมวัย ไปใช้ในการวางแผนและออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเด็กให้บรรลุตาม มาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผู้บริหารสถานศึกษาสนบั สนุน ส่งเสริม นิเทศ ติดตาม และประเมินผล การใช้หลักสูตร สถานศึกษาปฐมวยั อย่างเปน็ ระบบและต่อเนอ่ื ง

8 การจัดทำองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา การกำหนดปรัชญาการศกึ ษาควรแสดงถงึ แนวคิดและความเชื่อในการจัดการศกึ ษา เพ่ือพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ชัดเจน ครบถ้วนมีความสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐ มีความเชื่อมโยงกบั ความเชื่อในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ในการกำหนดปรัชญา การศึกษา ตวั อย่าง ปรชั ญาการศึกษาโรงเรยี น โรงเรียนจัดการพฒั นาเดก็ อาย๓ุ -๖ บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดสู ่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อ ธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่น การลงมือ ปฏบิ ตั ิ ด้วยความรัก ความเขา้ ใจของทกุ คนและพัฒนาเดก็ โดยองค์ รวมเพื่อสรา้ งรากฐานคุณภาพชวี ติ ท่ีดี วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย มีความชัดเจนและสอดคลอ้ งกับปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา แสดงความคาดหวัง และ วิธีการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ในอนาคตได้ชัดเจนแสดงถงึ จดุ เน้น อัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ที่ต้องการของสถานศกึ ษา ผูม้ ี ส่วนเก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ่วนรว่ มในการกำหนด มกี ารกำหนดเปา้ หมายทตี่ ้องการในเชิงปรมิ าณหรอื เชงิ คณุ ภาพ ตวั อยา่ ง วสิ ยั ทัศนก์ ารศกึ ษาระดับปฐมวยั โรงเรียน ภายในปี........โรงเรียน...............มุ่งพัฒนา เด็กอายุ ๓ - ๖ ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาเหมาะสมกับวัยเน้นให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่นการลงมือปฏิบัติน้อมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้อย่างเหมาะสมกับวยั และบริบทของตนผู้ปกครองชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการพัฒนาเด็กให้มี พฒั นาการรอบดา้ นอยา่ งสมดุล เต็มศักยภาพ มีเจตคติทด่ี ีต่อทอ้ งถนิ่ สนใจใฝร่ ้แู ละเรยี นรูอ้ ยา่ งมคี วามสุข ตวั อย่าง พันธกจิ ๑. พฒั นาเด็กปฐมวยั ใหม้ ีพฒั นาการทัง้ ๔ ด้าน อย่างสมดุลและเตม็ ศกั ยภาพมเี จตคตทิ ่ดี ตี ่อท้องถ่ิน สนใจ ใฝร่ ูแ้ ละเรยี นรู้อย่างมคี วามสุข ๒. พัฒนาครูและบุคลากรให้สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติที่ หลากหลาย สอดคลอ้ งกบั พฒั นาการเดก็ ๓. นอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้อย่างเหมาะสมกบั วยั และบรบิ ทของสถานศึกษา ๔. นำสื่อ เทคโนโลยี ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ มาพัฒนาเด็กปฐมวยั ๕. ให้ผปู้ กครองและชุมชนมีสว่ นรว่ มพัฒนาเดก็ ปฐมวัย

9 ตวั อยา่ ง เป้าหมาย ๑. เดก็ ปฐมวัยทกุ คนมพี ฒั นาดา้ นร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญาอยา่ งสมดุลและเตม็ ศกั ยภาพ ๒. ครูทุกคนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ ท่หี ลากหลาย สอดคล้องกบั พฒั นาการเดก็ ๓. ครูทุกคนน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการจดั ประสบการณป์ ฐมวยั อยา่ งเหมาะสมกับ วยั และบริบทของสถานศกึ ษา ๔. สถานศึกษามีสภาพแวดล้อม สอื่ เทคโนโลยี แหลง่ เรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกับพัฒนาการเด็ก ๕. มีเครอื ขา่ ยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และชุมชน ใหค้ วามรว่ มมอื ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยดว้ ยวธิ ที ่ีหลากหลายและ มีความตอ่ เน่อื งในทศิ ทางเดียวกนั จดุ หมาย มีความสอดคล้องและครอบคลุมจุดหมายของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มีความ สอดคล้องกับปรชั ญา วิสัยทัศนก์ ารศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา และมีความเป็นไปได้ ในการนำ ไปสู่การปฏบิ ัติ ตามจดุ หมายท่กี ำหนดในหลกั สตู ร ทงั้ นส้ี ามารถนำจุดหมายของหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ มา กำหนดเปน็ จดุ หมายหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัยได้ ตวั อย่าง จุดหมาย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และเมื่อมีความพร้อมในการ เรียนรู้ตอ่ ไป จงึ กำหนดจดุ หมายเพอื่ ใหเ้ กดิ กบั เด็กเมอ่ื เด็กจบการศึกษาระดับปฐมวยั ดงั นี้ ๑. มรี ่างกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั แขง็ แรง และมีสุขนสิ ยั ทีด่ ี ๒. มีสขุ ภาพจิตดี มีสนุ ทรียภาพ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและจติ ใจท่ีดงี าม ๓. มีร่างกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั แข็งแรง และมีสุขนสิ ัยทดี่ ี ๔. มีทกั ษะการคดิ การใชภ้ าษาส่อื สาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวยั มาตรฐานคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคจ์ ำนวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบด้วย ๑. พัฒนาการดา้ นร่างกาย ประกอบดว้ ย ๒ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๑ รา่ งกายเจริญเติบโตตามวยั และมีสุขนสิ ัยท่ีดี มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเน้อื ใหญแ่ ละกล้ามเนอ้ื เล็กแขง็ แรงใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคลว่ และ ประสานสมั พันธก์ ัน

10 ๒. พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๓ มสี ุขภาพจิตดีและมคี วามสุข มาตรฐานท่ี ๔ ชืน่ ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีจิตใจท่ีดีงาม ๓. พฒั นาการด้านสงั คม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐานคอื มาตรฐานท่ี ๖ มที กั ษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม และความเป็นไทย มาตรฐานที่ ๘ อย่รู ว่ มกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมีความสุขและปฏิบตั ิตนเป็นสมาชิกทดี่ ขี อง สงั คมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข ๔. พัฒนาการด้านสติปญั ญา ประกอบด้วย ๔ มาตรฐานคอื มาตรฐานที่ ๙ ใชภ้ าษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกบั วัย มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดทีเ่ ป็นพื้นฐานในการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติที่ดตี ่อการเรียนรู้และมคี วามสามารถในการแสวงหาความรู้ ไดเ้ หมาะสมกบั วยั ตัวบง่ ชี้ ตัวบ่งชี้เปน็ เป้าหมายในการพฒั นาเดก็ ท่ีมคี วามสมั พนั ธ์สอดคล้องกบั มาตรฐานคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ สภาพทพี่ ึงประสงค์ สภาพที่พึงประสงคเ์ ป็นพฤติกรรมหรือความสามารถตามวัยที่คาดหวงั ให้เด็กเกดิ บนพื้นฐานพัฒนาการ ตามวัยหรอื ความสามารถตามธรรมชาตใิ นแตล่ ะระดับอายุเพอ่ื นำไปใช้ในการกำหนดสาระการเรยี นรู้ในการ จัดประสบการณ์ และประเมินพัฒนาการเด็ก โดยมีรายละเอียดของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ ดงั นี้ มาตรฐานท่ี ๑ ร่างการเจริญเติบโตตามวยั และมีสุขนิสัยที่ดี ตัวบ่งช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพทพ่ี ึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี อายุ ๔-๕ ปี ๑.๑ น้ำหนกั และ ๑.๑.๑ น้ำหนักและส่วนสูง ๑.๑.๑ นำ้ หนกั และ ๑.๑.๑ น้ำหนกั และสว่ นสูง ส่วนสงู ตามเกณฑ์ ตามเกณฑข์ องกรมอนามยั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ของ ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย กรมอนามยั ๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามัย ๑.๒.๑ ยอมรับประทาน ๑.๒.๑ รับประทาน ๑.๒.๑ รบั ประทานอาหารทม่ี ี สขุ นิสยั ทด่ี ี อาหารท่ีมีประโยชนแ์ ละ อาหารทมี่ ีประโยชนแ์ ละ ประโยชน์ได้หลายชนิดและ ดม่ื นำ้ ทส่ี ะอาดเมอ่ื มีผู้ ด่มื น้ำสะอาดด้วยตนเอง ดืม่ นำ้ สะอาดไดด้ ้วยตนเอง ชีแ้ นะ

11 ตัวบง่ ชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ๑.๓ รักษาความ อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ปลอดภยั ของ ๑.๒.๒ ล้างมือก่อน ตนเองและผ้อู น่ื รับประทานอาหารและ ๑.๒.๒ ลา้ งมือกอ่ น ๑.๒.๒ ล้างมอื หลังจากใช้หอ้ งนำ้ ห้อง สว้ มเมือ่ มีผู้ชี้แนะ รบั ประทานอาหารและ ก่อนรบั ประทานอาหารและ ๑.๒.๓นอนพักผอ่ นเปน็ เวลา ๑.๒.๔ ออกกำลังกายเปน็ หลังจากใช้หอ้ งนำ้ หอ้ ง หลังจากใช้ห้องน้ำหอ้ งสว้ ม เวลา ๑.๓.๑ เล่นและทำ สว้ มด้วยตนเอง ดว้ ยตนเอง กิจกรรมอย่างปลอดภัย เมอ่ื มีผชู้ แ้ี นะ ๑.๒.๓นอนพักผ่อนเปน็ เวลา ๑.๒.๓นอนพกั ผอ่ นเปน็ เวลา ๑.๒.๔ ออกกำลังกาย ๑.๒.๔ ออกกำลงั กายเปน็ เปน็ เวลา เวลา ๑.๓.๑ เล่นและทำ ๑.๓.๑ เลน่ ทำกิจกรรมและ กจิ กรรมอย่างปลอดภัย ปฏบิ ัติต่อผอู้ ่ืนอย่างปลอดภยั ดว้ ยตนเอง มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเน้ือใหญแ่ ละกลา้ มเนอื้ เล็กแขง็ แรง ใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคล่ว และประสาทสัมพนั ธ์กัน ตวั บ่งชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ๒.๑ เคลือ่ นไหว อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี รา่ งกายอย่าง คลอ่ งแคลว่ ๒.๑.๑ เดนิ ตามแนวที่ ๒.๑.๑ เดินตอ่ เทา้ ไป ๒.๑.๑ เดนิ ตอ่ เทา้ ถอยหลัง ประสานสมั พนั ธ์ และทรงตัวได้ กำหนดได้ ข้างหน้าเปน็ เสน้ ตรงได้ เป็นเส้นตรงไดโ้ ดยไม่ต้องกาง ๒.๒ใช้มอื ตาประสานสัมพนั ธ์ โดยไม่ต้องกางแขน แขน กัน ๒.๑.๒ กระโดดสองขาขึ้น ๒.๑.๒ กระโดดขาเดยี ว ๒.๑.๒ กระโดดขาเดียวไป ลงอยู่กับท่ไี ด้ อยู่กบั ที่ไดโ้ ดยไม่เสีย ข้างหนา้ ได้อย่างตอ่ เนื่องโดยไม่ การทรงตวั เสียการทรงตัว ๒.๑.๓ วิง่ แล้วหยดุ ได้ ๒.๑.๓ ว่งิ หลบหลีกสิง่ กดี ๒.๑.๓ วิง่ หลบหลีกสิง่ กดี ขวางได้ ขวางได้ อย่างคลอ่ งแคล่ว ๒.๑.๔ รับลูกบอลโดยใช้ ๒.๑.๔ รบั ลกู บอลโดยใช้ ๒.๑.๔ รบั ลกู บอลท่กี ระตอบ มอื และลำตัวชว่ ย มอื ท้ังสองขา้ ง ขึน้ จากพื้นได้ ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตัด ๒.๒.๑ ใชก้ รรไกรตัด ๒.๒.๑ ใช้กรรไกรตดั กระดาษ กระดาษขาดจากกนั ไดโ้ ดย กระดาษตามแนว ตามแนวเส้นโคง้ ได้ ใช้มอื เดียว เสน้ ตรงได้ ๒.๒.๒ เขียนรูปสามเหลี่ยม ๒.๒.๒ เขียนรปู วงกลม ๒.๒.๒ เขยี นรูปส่ีเหล่ยี ม ตามแบบได้อยา่ งมมี มุ ชดั เจน ตามแบบได้ ตามแบบไดอ้ ยา่ งมีมุม ชดั เจน

12 ตวั บ่งชี้ อายุ ๓-๔ ปี สภาพท่พี งึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี อายุ ๔-๕ ปี ๒.๒.๓ ร้อยวัสดทุ ีม่ รี ูขนาด ๒.๒.๓ ร้อยวสั ดุทม่ี รี ู ๒.๒.๓ รอ้ ยวัสดทุ มี่ ีรขู นาด เสน้ ผา่ นศูนย์กลาง ๑ ชม. ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลาง เสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง ๐.๒๕ ชม. ได้ ๐.๕ ชม. ได้ ได้ มาตรฐานที่ ๓ มสี ขุ ภาพจติ ดแี ละมีความสุข ตัวบ่งชี้ อายุ ๓-๔ ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ อายุ ๔-๕ ปี ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ ๓.๑ แสดงออก ความรูส้ กึ ได้เหมาะสมกบั ความรูส้ ึกไดส้ อดคล้องกับ ทางอารมณไ์ ด้ บางสถานการณ์ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ์ สถานการณอ์ ย่างเหมาะสม อย่างเหมาะสม ๓.๒.๑ กล้าพดู กล้า ความรสู้ กึ ไดต้ าม ๓.๒.๑ กลา้ พดู กล้า แสดงออก สถานการณ์ แสดงออกอย่างเหมาะสม ๓.๒ มคี วามรสู้ ึกท่ีดี ๓.๒.๑ กลา้ พูดกลา้ ตามสถานการณ์ ต่อตนเองและ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ แสดงออกอย่างเหมาะสม ๓.๒.๒ แสดงความพอใจใน ผู้อ่ืน ในผลงานตนเอง บางสถานการณ์ ผลงานและความสามารถ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจ ของตนเองและผู้อื่น ในผลงานและ ความสามารถของตนเอง มาตรฐานที่ ๔ ช่ืนชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว ตัวบ่งชี้ อายุ ๓-๔ ปี สภาพท่ีพึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี อายุ ๔-๕ ปี ๔.๑.๑ สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผา่ นงาน ๔.๑ สนใจ มีความสขุ ๔.๑.๑ สนใจ มีความสขุ ๔.๑.๑ สนใจ มคี วามสขุ ศิลปะ ๔.๑.๒ สนใจ มีความสขุ และแสดงออก และแสดงออกผา่ นงาน และแสดงออกผ่านงาน และแสดงออกผ่าน เสียงเพลง ดนตรี ผา่ นงานศิลปะ ศิลปะ ศิลปะ ๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และแสดงท่าทาง/ ดนตรี และ ๔.๑.๒ สนใจ มีความสขุ ๔.๑.๒ สนใจ มีความสุข เคล่ือนไหว ประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี การเคลอื่ นไหว และแสดงออกผ่าน และแสดงออกผ่าน เสียงเพลง ดนตรี เสียงเพลง ดนตรี ๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ ๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสุข และแสดงท่าทาง/ และแสดงท่าทาง/ เคลือ่ นไหว ประกอบเพลง เคลื่อนไหว ประกอบเพลง จงั หวะ และดนตรี จงั หวะ และดนตรี

13 มาตรฐานท่ี ๕ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ ใจที่ดีงาม ตวั บง่ ช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพที่พงึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี ๕.๑ ซือ่ สัตยส์ จุ รติ ๕.๑.๑ บอกหรอื ชี้ไดว้ ่าสงิ่ อายุ ๔-๕ ปี ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรอื รอ ใดเปน็ ของตนเองและส่ิง คอยเมือ่ ตอ้ งการสิง่ ของของ ๕.๒ มคี วามเมตตา ใดเปน็ ของผูอ้ ่ืน ๕.๑.๑ ขออนุญาตหรือรอ ผู้อ่ืนด้วยตนเอง กรุณา มีน้ำใจ ๕.๒.๑ แสดงความรกั คอยเม่ือต้องการสง่ิ ของ ๕.๒.๑ แสดงความรัก และช่วยเหลอื เพ่อื นและมีเมตตา สตั ว์ ของผอู้ ื่นเม่ือมีผูช้ ้ีแนะ เพ่ือนและมีเมตตา สัตว์เลี้ยง แบง่ ปัน เลี้ยง ๕.๒.๑ แสดงความรัก เพอ่ื นและมีเมตตา ๕.๓ มคี วามเห็นอก สัตวเ์ ล้ียง เหน็ ใจผูอ้ นื่ ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าหรอื ๕.๓.๑ แสดงสีหนา้ และ ๕.๓.๑ แสดงสีหน้าและ ๕.๔ มคี วามรบั ผดิ ชอบ ทา่ ทางรบั รคู้ วามร้สู กึ ผู้อื่น ทา่ ทางรับรู้ความรู้สกึ ผู้อ่ืน ท่าทางรับรคู้ วามรู้สึกผู้อื่น อยา่ งสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ ๕.๔.๑ ทำงานทไ่ี ด้รับ ๕.๔.๑ ทำงานท่ีไดร้ บั ๕.๔.๑ ทำงานที่ไดร้ ับ มอบหมายจนสำเรจ็ เมอื่ มี มอบหมายจนสำเรจ็ เมื่อมี มอบหมายจนสำเร็จด้วย ผู้ช่วยเหลือ ผู้ช้แี นะ ตนเอง มาตรฐานที่ ๖มีทักษะชีวิตและปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตวั บง่ ช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี ๖.๑ ช่วยเหลือตนเอง ๖.๑.๑ แตง่ ตวั โดยมผี ู้ อายุ ๔-๕ ปี ๖.๑.๑ แตง่ ตัวด้วยตนเองได้ ช่วยเหลอื อยา่ งคล่องแคลว่ ในการปฏบิ ัติ ๖.๑.๒ รับประทานอาหาร ๖.๑.๑ แตง่ ตัวดว้ ยตนเอง ๖.๑.๑ รับประทานอาหาร กจิ วตั รประจำวนั ด้วยตนเอง ดว้ ยตนเองอยา่ งถกู วธิ ี ๖.๑.๓ ใชห้ ้องนำ้ ห้องสว้ ม ๖.๑.๒ รบั ประทานอาหาร ๖.๑.๓ ใช้และทำความ ๖.๒ มวี ินยั ในตนเอง โดยมีผู้ชว่ ยเหลอื ด้วยตนเอง สะอาดหลังใช้ห้องน้ำห้อง ๖.๑.๓ ใช้ห้องนำ้ ห้องสว้ ม ส้วม ด้วยตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้ ดว้ ยตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเล่นของใช้ เขา้ ท่ีเมอ่ื มี เข้าทีอ่ ยา่ งเรยี บรอ้ ยดว้ ย ผูช้ ีแ้ นะ ๖.๒.๑ เกบ็ ของเล่นของใช้ ตนเอง เข้าท่ดี ้วยตนเอง

14 ตัวบ่งชี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค์ ๖.๓ ประหยัดและ อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี พอเพยี ง ๖.๒.๒เขา้ แถวตามลำดบั ๖.๒.๒เข้าแถวตามลำดับ ๖.๒.๒เขา้ แถวตามลำดับ ก่อนหลังไดเ้ มอื่ มผี ชู้ ้แี นะ กอ่ นหลังได้ด้วยตนเอง กอ่ นหลงั ไดด้ ว้ ยตนเอง ๖.๓.๑ใช้สง่ิ ของเคร่ืองใชอ้ ยา่ ง ๖.๓.๑ใช้สงิ่ ของเครื่องใชอ้ ย่าง ๖.๓.๑ใช้สง่ิ ของเครอ่ื งใชอ้ ย่าง ประหยัดและพอเพยี งเม่ือมี ประหยดั และพอเพียงเม่อื มี ประหยัดและพอเพยี งดว้ ยตนเอง ผชู้ ีแ้ นะ ผชู้ แี้ นะ มาตรฐานที่ ๗ รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และความเปน็ ไทย ตวั บง่ ช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพท่ีพึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี ๗.๑.๑ มสี ่วนร่วมดแู ล อายุ ๔-๕ ปี ๗.๑.๑ ดแู ลรักษา ๗.๑ ดูแลรักษา รักษาธรรมชาติและ ธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม เมอื่ มีผู้ ๗.๑.๑ มสี ว่ นร่วมดแู ลรกั ษา ดว้ ยตนเอง สิ่งแวดล้อม ชีแ้ นะ ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ๗.๑.๒ ท้งิ ขยะไดถ้ ูกที่ เมือ่ มผี ู้ชีแ้ นะ ๗.๒ มีมารยาทตาม ๗.๒.๑ ปฏิบตั ติ นตาม วัฒนธรรมไทย มารยาทไทยไดเ้ มอ่ื มีผู้ ๗.๑.๒ ท้ิงขยะได้ถกู ที่ ๗.๑.๒ ท้ิงขยะได้ถูกที่ และรักความเป็น ชแี้ นะ ไทย ๗.๒.๒ กลา่ วคำ ๗.๒.๑ ปฏิบัติตนตามมารยาท ๗.๒.๑ ปฏบิ ัติตนตาม ขอบคุณและขอโทษ เมื่อมีผู้ช้ีแนะ ไทยไดด้ ้วยตนเอง มารยาทไทยได้ตาม ๗.๒.๓ หยดุ ยนื เม่ือได้ ยินเพลงชาตไิ ทยและ กาลเทศะ เพลงสรรเสรญิ พระบารมี ๗.๒.๒ กลา่ วคำขอบคุณและ ๗.๒.๒ กล่าวคำขอบคณุ และ ขอโทษด้วยตนเอง ขอโทษด้วยตนเอง ๗.๒.๓ ยนื ตรงเม่ือไดย้ นิ เพลง ๗.๒.๓ ยืนตรงและร่วมร้อง ชาติไทยและเพลงสรรเสรญิ เพลงชาติไทยและเพลง พระบารมี สรรเสรญิ พระบารมี

15 มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ่วมกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมีความสขุ และปฏบิ ตั ติ นเป็นสมาชกิ ท่ีดขี องสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ตวั บง่ ชี้ อายุ ๓-๔ ปี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี ๘.๑ ยอมรบั ความ ๘.๑.๑ เล่นและทำ อายุ ๔-๕ ปี ๘.๑.๑ เล่นและทำกิจกรรม กจิ กรรมรว่ มกบั เด็กที่ ๘.๑.๑ เลน่ และทำกิจกรรม รว่ มกับเด็กทแ่ี ตกต่างไป เหมือนและความ แตกตา่ งไปจากตน ร่วมกบั เดก็ ท่ีแตกต่างไปจาก จากตน แตกต่างระหวา่ ง ตน บคุ คล ๘.๒ มีปฏสิ มั พันธท์ ี่ดี ๘.๒.๑ เลน่ รว่ มกับ ๘.๒.๑ เลน่ หรือทำงานร่วมกับ ๘.๒.๑ เล่นหรือทำงาน กับผอู้ ื่น เพือ่ น เพ่อื นเป็นกลมุ่ ร่วมมือกบั เพ่อื นอย่างมี ๘.๓ ปฏบิ ัตติ น ๘.๒.๒ ย้ิมหรือทกั ทาย เบ้อื งต้นในการ ผู้ใหญ่และบคุ คลที่ เป้าหมาย เปน็ สมาชิกท่ดี ี คนุ้ เคย เมื่อมีผู้ชี้แนะ ของสงั คม ๘.๒.๒ ยิม้ ทักทายหรอื พูดคุย ๘.๒.๒ ย้ิม ทกั ทายและ ๘.๓.๑ ปฏบิ ัตติ าม ข้อตกลงเมอื่ มีผ้ชู ี้แนะ กบั ผใู้ หญแ่ ละบุคคลทค่ี ุ้นเคย พดู คยุ กบั ผ้ใู หญ่และบุคคลที่ ๘.๓.๒ ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ไดด้ ้วยตนเอง คุน้ เคยไดเ้ หมาะสมกับ ผู้นำและผตู้ ามเมอ่ื มี ผชู้ ้ีแนะ สถานการณ์ ๘.๓.๓ ยอมรับการ ประนีประนอมแก้ไข ๘.๓.๑ มสี ว่ นร่วมสรา้ ง ๘.๓.๑ มีสว่ นร่วมสรา้ ง ปัญหาเมื่อมผี ชู้ แ้ี นะ ขอ้ ตกลงและปฏบิ ตั ิตาม ขอ้ ตกลงและปฏิบัติตาม ขอ้ ตกลงเมอ่ื มผี ชู้ ้ีแนะ ข้อตกลงด้วยตนเอง ๘.๓.๒ ปฏบิ ตั ิตนเป็นผนู้ ำและ ๘.๓.๒ ปฏิบตั ิตนเปน็ ผนู้ ำ ผตู้ ามไดด้ ว้ ยตนเอง และผตู้ ามได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ ๘.๓.๓ ประนปี ระนอมแกไ้ ข ๘.๓.๓ ประนปี ระนอมแกไ้ ข ปญั หาโดยปราศจากการใช้ ปัญหาโดยปราศจากการใช้ ความรุนแรง เมอื่ มผี ูช้ ้ีแนะ ความรุนแรงดว้ ยตนเอง มาตรฐานท่ี ๙ใชภ้ าษาส่อื สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั ตัวบ่งชี้ อายุ ๓-๔ ปี สภาพท่ีพึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี ๙.๑.๑ ฟังผู้อื่นพูดจน อายุ ๔-๕ ปี ๙.๑.๑ฟังผูอ้ นื่ พดู จนจบและ ๙.๑ สนทนาโตต้ อบ จบและพดู โตต้ อบ ๙.๑.๑ ฟังผอู้ ่ืนพดู จนจบและ สนทนาโตต้ อบอย่างต่อเนือ่ ง และเล่าเรื่องให้ เก่ียวกบั เร่อื งที่ฟงั สนทนาโต้ตอบสอดคลอ้ งกับ เชือ่ มโยงกบั เรอ่ื งท่ีฟัง ผูอ้ ่ืนเขา้ ใจ เรอื่ งที่ฟงั

16 ตัวบ่งช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพทพี่ งึ ประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี ๙.๑.๒ เลา่ เรอ่ื งด้วย อายุ ๔-๕ ปี ๙.๑.๒ เลา่ เป็นเรอ่ื งราว ๙.๒ อา่ น เขียนภาพ ประโยคสน้ั ๆ ๙.๑.๒ เลา่ เรื่องเป็นประโยค ต่อเน่ืองได้ และสญั ลกั ษณไ์ ด้ ๙.๒.๑ อา่ นภาพ และ อย่างตอ่ เนอ่ื ง ๙.๒.๑ อ่านภาพสัญลักษณ์ พดู ขอ้ ความดว้ ยภาษา ๙.๒.๑ อ่านภาพ สัญลักษณ์ คำ ด้วยการชี้หรือกวาดตา ของตน คำ พรอ้ มท้ังช้ีหรอื กวาดตา มอง จุดเร่ิมตน้ และจดุ จบ มองขอ้ ความตามบรรทัด ของขอ้ ความ ๙.๒.๒ เขยี นชอ่ื ของตนเอง ๙.๒.๒ เขยี นขดี เขี่ย ๙.๒.๒ เขยี นคล้ายตวั อักษร ตามแบบ เขยี นขอ้ ความ อยา่ งมที ิศทาง ด้วยวธิ ีที่คดิ ขน้ึ เอง มาตรฐานที่ ๑๐มีความสามารถในการคดิ ที่เปน็ พ้ืนฐานในการเรยี นรู้ ตวั บ่งชี้ อายุ ๓-๔ ปี สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี ๑๐.๑.๑ บอกลักษณะ อายุ ๔-๕ ปี ๑๐.๑.๑บอกลกั ษณะ ๑๐.๑ มีความสามารถ ของส่ิงต่าง ๆ จากการ ๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ และ ส่วนประกอบการเปลยี่ นแปลง ในการคิดรวบยอด สงั เกตโดยใช้ประสาท สว่ นประกอบของสงิ่ ตา่ ง ๆ หรือความสมั พนั ธ์ของส่ิงต่างๆ สัมผัส จากการสงั เกตโดยใชป้ ระสาท จากการสงั เกตโดยใชป้ ระสาท สัมผสั สัมผัส ๑๐.๑.๒ จับคูห่ รอื ๑๐.๑.๒ จับค่แู ละ เปรยี บเทียบสงิ่ ต่าง ๆ ๑๐.๑.๒ จับคู่และ เปรียบเทยี บความแตกต่าง โดยใช้ลกั ษณะหรอื เปรียบเทยี บความแตกต่าง และความเหมอื นของส่ิงตา่ งๆ หน้าท่ีการใชง้ านเพยี ง หรอื ความเหมอื นของส่งิ ต่างๆ โดยใช้ลักษณะท่สี งั เกตพบ ลักษณะเดียว โดยใชล้ กั ษณะที่สังเกตพบ สองลักษณะขน้ึ ไป ๑๐.๑.๓ คดั แยก เพียงลกั ษณะเดียว ๑๐.๑.๓ จำแนกและจัดกลุม่ ส่ิงตา่ ง ๆ ตามลักษณะ ๑๐.๑.๓ จำแนกและจดั กล่มุ สง่ิ ต่าง ๆ โดยใช้ต้ังแต่สอง หรอื หน้าทกี่ ารใช้งาน สิง่ ต่าง ๆ โดยใชอ้ ยา่ งน้อย ลักษณะขนึ้ ไปเป็นเกณฑ์ ๑๐.๑.๔ เรียงลำดับ หนึง่ ลักษณะเป็นเกณฑ์ ๑๐.๑.๔ เรยี งลำดบั ส่งิ ของ สง่ิ ของหรือเหตุการณ์ ๑๐.๑.๔ เรยี งลำดับส่งิ ของ และเหตกุ ารณอ์ ย่างน้อย ๕ อย่างนอ้ ย ๓ ลำดบั หรอื เหตุการณ์ อย่างน้อย ๔ ลำดบั ลำดบั

17 ตัวบ่งช้ี อายุ ๓-๔ ปี สภาพทพี่ ึงประสงค์ อายุ ๕-๖ ปี ๑๐.๒ มีความสามารถใน ๑๐.๒.๑ ระบทุ เี่ กิดขน้ึ อายุ ๔-๕ ปี ๑๐.๒.๑ อธิบายเชื่อมโยง การคิดเชงิ เหตุผล ในเหตุการณห์ รือการ ๑๐.๒.๑ ระบุสาเหตุหรือผลท่ี สาเหตุและผลทเ่ี กิดขนึ้ ใน กระทำเม่อื มีผชู้ ีแ้ นะ เกิดขึ้นในเหตกุ ารณ์หรอื การ เหตุการณห์ รือการกระทำ ๑๐.๓ มีความสามารถ กระทำเม่ือมผี ชู้ แี้ นะ ดว้ ยตนเอง ในการคดิ แกป้ ัญหาและ ๑๐.๒.๒ คาดเดา หรอื ๑๐.๒.๒ คาดคะเนสิง่ ท่ี ตดั สนิ ใจ คาดคะเนส่งิ ท่ีอาจจะ ๑๐.๒.๒ คาดเดา หรือ อาจจะเกดิ ขน้ึ และมีสว่ น เกิดข้นึ คาดคะเน ส่ิงที่อาจจะเกดิ ขึ้น รว่ มในการลงความเห็นจาก หรอื มสี ่วนร่วมในการลง ขอ้ มูลอยา่ งมีเหตุผล ๑๐.๓.๑ ตดั สนิ ใจใน ความเหน็ จากขอ้ มูล ๑๐.๓.๑ ตัดสินใจในเรือ่ ง เรื่องงา่ ยๆ ๑๐.๓.๑ ตัดสนิ ใจในเร่ือง งา่ ยๆ และยอมรบั ผลท่ี ง่ายๆ และเริ่มเรียนรู้ผลที่ เกดิ ขึ้น ๑๐.๓.๒ แก้ปญั หาโดย เกดิ ขน้ึ ๑๐.๓.๒ ระบุปัญหาสร้าง ลองผิดลองถูก ๑๐.๓.๒ ระบปุ ญั หา และ ทางเลอื กและเลอื กวธิ ี แก้ปญั หาโดยลองผดิ ลองถกู แก้ปัญหา มาตรฐานที่ ๑๑มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ สภาพทพี่ ึงประสงค์ ๑๑.๑ ทำงานศิลปะ อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี ความจนิ ตนาการและ ๑๑.๑.๑ สร้างผลงาน ความคดิ สร้างสรรค์ ศิลปะเพอ่ื ส่ือสาร ๑๑.๑.๑ สรา้ งผลงานศิลปะ ๑๑.๑.๑ สร้างผลงาน ความคดิ ความรสู้ ึก ของตนเอง เพ่ือส่ือสารความคิด ศลิ ปะเพ่ือสอ่ื สาร ความรูส้ กึ ของตนเองโดยมกี าร ความคิด ความรสู้ กึ ดดั แปลง และแปลกใหม่จาก ของตนเองโดยมีการ เดิมหรือมรี ายละเอยี ดเพ่ิมขนึ้ ดดั แปลงแปลกใหม่จาก เดิม และมรี ายละเอยี ด เพมิ่ ข้นึ ๑๑.๒ แสดงท่าทาง/ ๑๑.๒.๑ เคลอ่ื นไหว ๑๑.๒.๑ เคลอื่ นไหวท่าทาง ๑๑.๒.๑เคลื่อนไหวท่าทาง เคลอ่ื นไหวตามจนิ ตนาการ ทา่ ทางเพอื่ สื่อสาร เพอื่ ส่ือสารความคดิ เพื่อสอื่ สารความคิด อยา่ งสรา้ งสรรค์ ความคิด ความร้สู ึก ความรสู้ ึกของตนเองอย่าง ความร้สู กึ ของตนเองอย่าง ของตนเอง หลากหลายหรือแปลกใหม่ หลากหลายและแปลกใหม่

18 มาตรฐานที่ ๑๒มีเจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกบั วัย ตวั บ่งช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ ๑๒.๑ มีเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ อายุ ๓-๔ ปี อายุ ๔-๕ ปี อายุ ๕-๖ ปี การเรยี นรู้ ๑๒.๑.๑ สนใจฟังหรอื ๑๒.๑.๑ สนใจซกั ถามเกีย่ วกบั ๑๒.๑.๑ สนใจหยบิ ๑๒.๒ มคี วามสามารถ ในการแสวงหา อ่านหนงั สือดว้ ยตนเอง สญั ลักษณ์หรอื ตัวหนงั สือทพ่ี บ หนังสือมาอ่านและ ความรู้ เหน็ เขียนส่ือความคิดดว้ ย ตนเองเป็นประจำอย่าง ต่อเน่ือง ๑๒.๑.๒ กระตือรือรน้ ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรน้ ในการ ๑๒.๑.๒ กระตอื รอื รน้ ในการเข้ารว่ มกจิ กรรม เขา้ รว่ มกจิ กรรม ในการร่วมกิจกรรม ตั้งแต่ตน้ จนจบ ๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบ ๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบของขอ้ ๑๒.๒.๑ ค้นหาคำตอบ ของข้อสงสัยต่าง ๆ สงสยั ตา่ ง ๆ ตามวธิ กี ารของ ของขอ้ สงสัยตา่ ง ๆ ตามวิธีการทมี่ ผี ชู้ ้ีแนะ ตนเอง โดยใชว้ ิธกี ารท่ี หลากหลายดว้ ยตนเอง ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยค ๑๒.๒.๒ ใชป้ ระโยคคำถามว่า ๑๒.๒.๒ ใช้ประโยค คำถามวา่ “ใคร” “ที่ไหน” “ทำไม” ในการ คำถามวา่ “เมอื่ ไร” “อะไร” ในการคน้ หา คน้ หาคำตอบ “อย่างไร” ในการ ค้นหาคำตอบ การจัดเวลาเรียน หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดกรอบโครงสร้างเวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ๑-๓ ปี การศึกษาโดยประมาณ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับอายุของเด็กที่เริ่มเข้าสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเวลาเรียน สำหรับเด็กปฐมวัยจะขึ้นอยู่กับสถานศึกษาแต่ละแห่ง โดยมีเวลาเรียนไมน่ ้อยกว่า ๑๘๐ วันต่อ ๑ ปีการศึกษา ใน แต่ละวนั จะใชเ้ วลาไม่น้อยกว่า ๕ ช่วั โมง โดยสามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาและสถานพัฒนา เด็กปฐมวัย

19 สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ใหก้ ับเดก็ เพอ่ื สง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ทุกด้าน ใหเ้ ป็นไปตามจุดหมายของหลกั สตู รทีก่ ำหนด ประกอบดว้ ย ประสบการณส์ ำคัญ และสาระทีค่ วรเรียนรู้ ดงั น้ี ๑. ประสบการณ์สำคัญ ประสบการณ์สำคัญเป็นแนวทางสำหรับผู้สอนนำไปใช้ในการออกแบบการ จดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็กปฐมวยั เรยี นรู้ ลงมือปฏิบตั ิ และได้รบั การส่งเสรมิ พัฒนาการครอบคลุมทกุ ด้าน ดังนี้ ๑.๑ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส พัฒนาการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสมั พันธ์ระหว่างกล้ามเนือ้ และระบบประสาท ในการ ทำกิจวัตรประจำวนั หรือทำกิจกรรมต่าง ๆ และสนับสนนุ ให้เด็กมีโอกาสดแู ลสขุ ภาพและสุขอนามัย สุขนิสัย และ การรักษาความปลอดภยั ดังนี้ ด้านร่างกาย ประสบการณส์ ำคัญ ๑.๑.๑ การใช้กล้ามเน้ือใหญ่ (๑) การเคลอ่ื นไหวอยกู่ ับท่ี (๒) การเคลอ่ื นไหวเคลือ่ นท่ี ๑.๑.๒ การใชก้ ล้ามเนอื้ เลก็ (๓) การเคล่อื นไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ (๔) การเคล่อื นไหวที่ใช้การประสานสัมพนั ธ์ของการใช้ ๑.๑.๓ การรักษาสุขภาพ อนามัยส่วนตน กล้ามเนอื้ ใหญ่ในการขว้าง การจับ การโยน การเตะ (๕) การเลน่ เคร่อื งเล่นสนามอยา่ งอิสระ ๑.๑.๔ การรักษาความ (๑) การเล่นเครอื่ งเล่นสัมผัสและการสร้างจากแทง่ ไม้ บล็อก ปลอดภยั (๒) การเขียนภาพและการเลน่ กบั สี (๓) การป้นั ๑.๑.๕ การตระหนักรู้เก่ียวกบั (๔) การประดษิ ฐส์ ่ิงตา่ ง ๆ ด้วย เศษวัสดุ รา่ งกายตนเอง (๕) การหยิบจับ การใชก้ รรไกร การฉีก การตัด การปะ และการรอ้ ยวัสดุ (๑) การปฏิบัติตนตามสุขอนามยั สุขนิสัยทีด่ ีในกจิ วัตรประจำวัน (๑) การปฏบิ ัติตนให้ปลอดภัยในกิจวัตรประจำวนั (๒) การฟังนิทาน เรอ่ื งราว เหตกุ ารณ์ เกยี่ วกบั การป้องกนั และรกั ษาความ ปลอดภัย (๓) การเลน่ เครือ่ งเล่นอยา่ งปลอดภัย (๔) การเล่นบทบาทสมมตเิ หตุการณ์ต่าง ๆ (๑) การเคลื่อนไหวโดยควบคมุ ตนเองไปในทศิ ทาง ระดับ และพนื้ ท่ี (๒) การเคลอ่ื นไหวข้ามสิ่งกีดขวาง

20 ๑.๒ ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้ แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกบั วัย ตระหนกั ถงึ ลกั ษณะพเิ ศษเฉพาะ ท่เี ปน็ อัตลักษณ์ ความเปน็ ตัวของตัวเอง มคี วามสขุ ร่าเริงแจม่ ใส การเห็นอกเหน็ ใจผูอ้ ืน่ ได้พฒั นาคุณธรรมจริยธรรม สุนทรียภาพ ความรูส้ ึกทดี่ ีต่อตนเอง และความเช่อื ม่ันในตนเองขณะปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ดังนี้ ด้านอารมณ์ ประสบการณ์สำคัญ ๑.๒.๑ สุนทรยี ภาพ ดนตรี (๑) การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกริ ิยาโต้ตอบเสยี งดนตรี (๒) การเล่นเคร่ืองดนตรปี ระกอบจังหวะ ๑.๒.๒ การเลน่ (๓) การเคล่ือนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี (๔) การเล่นบทบาทสมมติ ๑.๒.๓ คณุ ธรรม จริยธรรม (๕) การทำกจิ กรรมศิลปะตา่ ง ๆ (๖) การสรา้ งสรรคส์ ่ิงสวยงาม ๑.๒.๔ การแสดงออกทาง (๑) การเลน่ อิสระ อารมณ์ (๒) การเล่นรายบุคคล กลมุ่ ยอ่ ย กลุ่มใหญ่ (๓) การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์ ๑.๒.๕ การมีอัตลกั ษณ์เฉพาะ (๔) การเล่นนอกหอ้ งเรียน ตนและเชื่อว่าตนเองมี (๑) การปฏิบตั ิตนตามหลักศาสนาทน่ี บั ถอื ความสามารถ (๒) การฟงั นทิ านเก่ียวกับคณุ ธรรม จริยธรรม (๓) การร่วมสนทนาและแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ เชิงจรยิ ธรรม ๑.๒.๖ การเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ่ืน (๑) การพูดสะทอ้ นความร้สู ึกของตนเองและผูอ้ ่ืน (๒) การเลน่ บทบาทสมมติ (๓) การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี (๔) การร้องเพลง (๕) การทำงานศิลปะ (๑) การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถของตนเอง (๑) การแสดงความยินดีเม่อื ผอู้ ื่นมีความสขุ เห็นใจเม่อื ผ้อู ืน่ เศร้าหรอื เสียใจและการ ช่วยเหลอื ปลอบโยนเม่อื ผอู้ ่ืนได้รับบาดเจบ็

21 ๑.๓ ประสบการณส์ ำคัญท่ีส่งเสรมิ พัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาสปฏสิ ัมพนั ธ์ กบั บุคคลและสงิ่ แวดล้อมตา่ ง ๆ รอบตัวจากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ ผ่านการเรยี นรู้ทางสังคม เช่น การเล่น การ ทำงานกบั ผู้อนื่ การปฏิบตั กิ ิจวตั รประจำวัน การแกป้ ัญหาข้อขดั แยง้ ตา่ ง ๆ ด้านสังคม ประสบการณส์ ำคัญ ๑.๓.๑ การปฏิบตั กิ จิ วัตร (๑) การช่วยเหลอื ตนเองในกจิ วัตรประจำวัน (๒) การปฏบิ ตั ิตนตามแนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ประจำวัน (๑) การมสี ว่ นร่วมรับผิดชอบดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมท้ังภายในและภายนอก ๑.๓.๒ การดูแลรักษา หอ้ งเรยี น (๒) การใชว้ ัสดแุ ละส่งิ ของเครือ่ งใช้อยา่ งคมุ้ ค่า ธรรมชาตแิ ละ (๓) การทำงานศิลปะท่ีนำวัสดุหรือสง่ิ ของเครอื่ งใช้ท่ใี ช้แลว้ มาใช้ซำ้ หรือแปรรูป สง่ิ แวดล้อม แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ (๔) การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้ ๑.๓.๓ การปฏบิ ัตติ าม (๕) การเล้ียงสัตว์ วฒั นธรรมทอ้ งถ่ินและ (๖) การสนทนาข่าวและเหตกุ ารณ์ท่ีเก่ยี วกับธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมใน ความเป็นไทย ชวี ิตประจำวนั (๑) การเล่นบทบาทสมมติการปฏิบัติตนในความเปน็ คนไทย ๑.๓.๔ การมีปฏสิ มั พันธ์ (๒) การปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นท่อี าศยั และประเพณีไทย มีวินัย มสี ว่ นรว่ ม (๓) การประกอบอาหารไทย และบทบาทสมาชิก (๔) การศึกษานอกสถานท่ี ของสงั คม (๕) การละเลน่ พ้นื บา้ นของไทย (๑) การรว่ มกำหนดข้อตกลงของห้องเรยี น ๑.๓.๕ การเล่นและทำงาน (๒) การปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกทดี่ ีของห้องเรียน แบบร่วมมือรว่ มใจ (๓) การให้ความร่วมมือในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ (๔) การดูแลหอ้ งเรยี นร่วมกนั ๑.๓.๖ การแก้ปัญหา (๕) การรว่ มกจิ กรรมวนั สำคญั ความขัดแย้ง (๑) การร่วมสนทนาและแลกเปล่ยี นความคิดเห็น (๒) การเลน่ และทำงานรว่ มกับผู้อนื่ (๓) การทำศลิ ปะแบบร่วมมอื (๑) การมีส่วนรว่ มในการเลอื กวิธกี ารแก้ปัญหา (๒) การมสี ่วนรว่ มในการแก้ปญั หาความขดั แย้ง

22 ดา้ นสงั คม ประสบการณส์ ำคัญ ๑.๓.๗ การยอมรบั ในความ (๑) การเลน่ หรอื ทำกิจกรรมร่วมกบั กลุม่ เพอื่ น เหมอื นและความ แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ๑.๔ ประสบการณส์ ำคัญที่ส่งเสรมิ พัฒนาการด้านสตปิ ัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับร้แู ละ เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลและสื่อต่าง ๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กพัฒนาการใช้ภาษา จินตนาการความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา การคิดเชิง เหตุผล และการคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ รอบตัวและมีความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของ การเรยี นรู้ในระดับทส่ี งู ขึ้นต่อไป การพฒั นาดา้ น ประสบการณส์ ำคญั .๔.๑ การใชภ้ าษา (๑) การฟังเสียงตา่ ง ๆ ในสงิ่ แวดลอ้ ม (๒) การฟังและปฏิบตั ิตามคำแนะนำ (๓) การฟังเพลง นิทาน คำคลอ้ งจอง บทรอ้ ยกรองหรอื เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ (๔) การพดู แสดงความคิด ความรสู้ ึก และความต้องการ (๕) การพดู กบั ผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรอื พดู เลา่ เรือ่ งราว เกย่ี วกับตนเอง (๖) การพดู อธบิ ายเก่ียวกบั สิง่ ของ เหตุการณ์ และความสมั พันธ์ของส่ิงต่าง ๆ (๗) การพูดอย่างสร้างสรรค์ในการเลน่ และการกระทำตา่ ง ๆ (๘) การรอจงั หวะท่ีเหมาะสมในการพูด (๙) การพดู เรยี งลำดบั คำเพ่ือใช้ในการสอ่ื สาร (๑๐) การอา่ นหนงั สอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รูปแบบ (๑๑) การอ่านอยา่ งอิสระตามลำพัง การอา่ นร่วมกัน การอา่ นโดยมีผชู้ แ้ี นะ (๑๒) การเห็นแบบอยา่ งของการอา่ นที่ถกู ตอ้ ง (๑๓) การสงั เกตทิศทางการอา่ นตัวอกั ษร คำ และขอ้ ความ (๑๔) การอ่านและชข้ี อ้ ความ โดยกวาดสายตาตามบรรทดั จากซ้ายไปขวา และ จากบนลงลา่ ง ๑๕) การสังเกตตวั อักษรในชอ่ื ของตน หรอื คำคุ้นเคย (๑๖) การสงั เกตตัวอักษรท่ปี ระกอบเปน็ คำผา่ นการอา่ นหรอื เขียนของผู้ใหญ่ (๑๗) การคาดเดาคำ วลี หรือประโยค ทมี่ ีโครงสรา้ งซำ้ ๆ กนั จากนิทาน เพลง คำคล้องจอง

การพัฒนาด้าน 23 ๑.๔.๒ การคดิ รวบยอด ประสบการณ์สำคัญ การคิดเชิงเหตุผล (๑๘) การเล่นเกมภาษา การตดั สินใจและ (๑๙) การเห็นแบบอยา่ งของการเขียนท่ถี ูกต้อง แก้ปัญหา (๒๐) การเขียนรว่ มกันตามโอกาส และการเขียนอิสระ (๒๑) การเขียนคำที่มีความหมายกบั ตวั เดก็ /คำคนุ้ เคย (๒๒) การคดิ สะกดคำและเขียนเพ่ือสื่อความหมายดว้ ยตนเองอย่างอิสระ (๑) การสงั เกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง และความสัมพนั ธข์ อง สง่ิ ต่าง ๆ โดยใชป้ ระสาทสมั ผัสอย่างเหมาะสม (๒) การสงั เกตสงิ่ ต่าง ๆ และสถานทจ่ี ากมุมมองท่ีตา่ งกัน (๓) การบอกและแสดงตำแหนง่ ทิศทาง และระยะทางของสิง่ ตา่ ง ๆ ดว้ ยการ กระทำ ภาพวาด ภาพถา่ ย และรูปภาพ (๔) การเลน่ กบั ส่อื ตา่ ง ๆ ท่ีเปน็ ทรงกลม ทรงสเี่ หลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย (๕) การคดั แยก การจัดกลมุ่ และการจำแนกส่ิงตา่ ง ๆ ตามลักษณะและรปู รา่ ง รูปทรง (๖) การตอ่ ของช้ินเลก็ เตมิ ในชิน้ ใหญใ่ ห้สมบรู ณ์ และการแยกช้นิ ส่วน (๗) การทำซ้ำ การตอ่ เติม และการสร้างแบบรปู (๘) การนับและแสดงจำนวนของส่งิ ต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั (๙) การเปรียบเทียบและเรียงลำดบั จำนวนของสิง่ ตา่ ง ๆ (๑๐) การรวมและการแยกสิ่งตา่ ง ๆ (๑๑) การบอกและแสดงอันดบั ที่ของสิง่ ตา่ ง ๆ (๑๒) การช่งั ตวง วดั ส่งิ ต่าง ๆ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื และหนว่ ยทไ่ี ม่ใชห่ นว่ ย มาตรฐาน (๑๓) การจับคู่ การเปรยี บเทยี บ และการเรียงลำดับ สง่ิ ตา่ ง ๆ ตามลกั ษณะ ความยาว/ความสูง น้ำหนกั ปรมิ าตร (๑๔) การบอกและเรยี งลำดับกจิ กรรมหรือเหตุการณต์ ามชว่ งเวลา (๑๕) การใช้ภาษาทางคณิตศาสตร์กบั เหตุการณใ์ นชีวิตประจำวัน (๑๖) การอธบิ ายเช่อื มโยงสาเหตุและผลทเี่ กดิ ขึน้ ในเหตกุ ารณห์ รอื การกระทำ (๑๗) การคาดเดาหรอื การคาดคะเนส่งิ ทอ่ี าจจะเกิดขนึ้ อยา่ งมีเหตผุ ล (๑๘) การมีสว่ นร่วมในการลงความเหน็ จากข้อมูลอย่างมเี หตุผล (๑๙) การตัดสนิ ใจและมีสว่ นร่วมในกระบวนการแกป้ ญั หา

การพฒั นาด้าน 24 ๑.๔.๓ จินตนาการ และ ประสบการณส์ ำคัญ (๑) การรับรู้ และแสดงความคิดความรสู้ ึก ความคิด ผ่านสือ่ วสั ดุ ของเล่นและชิ้นงาน สร้างสรรค์ (๒) การแสดงความคิดสรา้ งสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลือ่ นไหวและศลิ ปะ ๑.๔.๔ เจตคตทิ ี่ดีตอ่ (๓) การสรา้ งสรรคช์ ิน้ งานโดยใชร้ ปู รา่ งรปู ทรง การ จากวสั ดุที่หลากหลาย (๑) การสำรวจสง่ิ ตา่ ง ๆ และแหล่งเรียนรู้ เรยี นรแู้ ละ รอบตัว การ (๒) การตง้ั คำถามในเรื่องที่สนใจ (๓) การสืบเสาะหาความรเู้ พอ่ื ค้นหาคำตอบ แสวงหา ของขอ้ สงสัยตา่ ง ๆ ความรู้ (๔) การมีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลและ นำเสนอขอ้ มูลจากการสืบเสาะหาความรู้ใน รปู แบบต่าง ๆ และแผนภมู ิอยา่ งง่าย สาระท่คี วรเรยี นรู้ สาระท่ีควรเรยี นรู้ เป็นเรือ่ งราวรอบตัวเด็กทนี่ ำมาเป็นสอื่ กลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิด หลงั จากนำสาระทีค่ วรรูน้ น้ั ๆ มาจดั ประสบการณใ์ ห้เด็ก เพ่ือให้บรรลุจดุ หมายทีก่ ำหนดไว้ ท้ังน้ี ไมเ่ น้นการท่องจำ เนอื้ หา ผูส้ อนสามารถกำหนดรายละเอยี ดข้นึ เองให้สอดคล้องกับวัย ความตอ้ งการ และความสนใจของเดก็ โดยให้ เดก็ ได้เรียนร้ผู า่ นประสบการณส์ ำคญั ท้ังน้ี อาจยืดหยุ่นเน้ือหาได้ โดยคำนงึ ถึงประสบการณแ์ ละส่ิงแวดล้อมในชีวิต จริงของเด็ก ดังนี้ ๑. เรื่องราวที่เก่ียวกับตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้ชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา อวัยวะต่าง ๆ วิธีระวงั รักษาร่างกายให้สะอาดและมีสุขภาพอนามัยที่ดี การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ การระมัดระวังความ ปลอดภยั ของตนเองจากผอู้ น่ื และภยั ใกลต้ ัว รวมท้ังการปฏบิ ัติต่อผู้อน่ื อย่างปลอดภัย การรู้จกั ประวัติความเป็นมา ของตนเองและครอบครัว การปฏิบตั ิตนเปน็ สมาชิกทดี่ ีของครอบครัวและโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและ ผู้อื่น การรู้จักแสดงความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน การกำกับตนเอง การเล่นและทำส่ิง ตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเองตามลำพังหรอื กับผู้อ่นื การตระหนักร้เู กี่ยวกบั ตนเอง ความภาคภมู ิใจในตนเอง การสะท้อนการ รับรู้อารมณแ์ ละความรู้สึกของตนเองและผ้อู ่นื การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม การแสดง มารยาทท่ีดี การมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม ๒. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดลอ้ มเดก็ เด็กควรเรียนรูเ้ กี่ยวกับครอบครัวสถานศึกษา ชุมชน และบุคคลต่าง ๆ ที่เดก็ ต้องเกีย่ วขอ้ งหรอื ใกล้ชดิ และมีปฏสิ ัมพันธ์ในชวี ิตประจำวนั สถานทสี่ ำคัญ วนั สำคัญ

25 อาชีพของคนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สำคัญของชาติไทยและการปฏิบัติตาม วฒั นธรรมท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย หรอื แหลง่ เรียนรู้จากภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นอื่น ๆ ๓. ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับชื่อ ลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและ ความสัมพันธ์ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดนิ น้ำ ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรงและ พลังงานในชีวิตประจำวันทแี่ วดล้อมเดก็ รวมทง้ั การอนุรกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ มและการรักษาสาธารณสมบตั ิ ๔. สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับการใชภ้ าษาเพื่อสื่อความหมายในชีวิตประจำวนั ความรู้พื้นฐานเกีย่ วกับการใชห้ นังสอื และตัวหนงั สือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร นำ้ หนัก จำนวน ส่วนประกอบ การเปล่ยี นแปลงและความสมั พันธข์ องส่งิ ต่าง ๆ รอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์ การ ใช้งาน และการเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสารต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ใน ชีวิตประจำวนั อยา่ งประหยัด ปลอดภัยและรกั ษาสง่ิ แวดล้อม การจัดประสบการณ์ การจัดประสบการณส์ ำหรับเด็กปฐมวัยอายุ ๓-๖ ปี เป็นการจดั กิจกรรมในลักษณะการ บูรณาการผา่ น การเล่น การลงมือกระทำจากประสบการณ์ตรงอย่างหลากหลาย เกิดความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม รวมทั้ง เกิดการพัฒนาทง้ั ดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปญั ญา ไม่จัดเปน็ รายวชิ า โดยมีหลกั การ และแนวทาง การจดั ประสบการณ์ ดังน้ี ๑. หลกั การจัดประสบการณ์ ๑.๑ จัดประสบการณก์ ารเล่นและการเรียนรอู้ ยา่ งหลากหลาย เพือ่ พฒั นาเด็กโดยองคร์ วม อย่าง สมดลุ และตอ่ เนอื่ ง ๑.๒ เนน้ เด็กเป็นสำคญั สนองความตอ้ งการ ความสนใจ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและบริบท ของสังคมทีเ่ ด็กอาศัยอยู่ ๑.๓ จดั ใหเ้ ด็กได้รับการพฒั นา โดยใหค้ วามสำคัญกบั กระบวนการเรยี นรู้และพฒั นาการของเดก็ ๑.๔ จัดการประเมินพัฒนาการให้เปน็ กระบวนการอย่างต่อเนอ่ื ง และเปน็ สว่ นหนง่ึ ของการจดั ประสบการณ์ พร้อมทั้งนำผลการประเมินมาพฒั นาเด็กอยา่ งต่อเน่อื ง ๑.๕ ใหพ้ อ่ แม่ ครอบครัว ชมุ ชน และทุกฝา่ ยทเี่ กยี่ วข้องมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาเดก็ ๒. แนวทางการจัดประสบการณ์ ๒.๑ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและการทำงานของสมอง ที่เหมาะกับ อายุ วฒุ ิภาวะและระดบั พฒั นาการ เพ่อื ให้เด็กทกุ คนไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพ ๒.๒ จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับแบบการเรียนรู้ของเด็ก เด็กได้ลงมือกระทำ เรียนรู้ผ่าน ประสาทสมั ผัสท้งั ห้า ได้เคลื่อนไหว สำรวจ เลน่ สังเกต สืบคน้ ทดลอง และคิดแกป้ ัญหาด้วยตนเอง ๒.๓ จดั ประสบการณแ์ บบบรู ณาการ โดยบูรณาการท้งั กจิ กรรม ทักษะ และสาระการเรียนรู้ ๒.๔ จดั ประสบการณ์ใหเ้ ดก็ ไดร้ ิเริ่มคิด วางแผน ตดั สินใจลงมอื กระทำและนำเสนอความคิด โดย ผ้สู อนหรอื ผจู้ ัดประสบการณเ์ ป็นผู้สนับสนนุ อำนวยความสะดวก และเรียนรู้ร่วมกับเด็ก

26 ๒.๕ จดั ประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธก์ ับเด็กอน่ื กบั ผ้ใู หญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการ เรียนรู้ในบรรยากาศทอ่ี บอนุ่ มีความสุข และเรยี นร้กู ารทำกิจกรรมแบบรว่ มมือในลักษณะต่าง ๆ กัน ๒.๖ จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลายและอยู่ในวิถี ชีวิตของเดก็ สอดคลอ้ งกับบรบิ ท สังคม และวฒั นธรรมท่แี วดล้อมเด็ก ๒.๗ จดั ประสบการณ์ทส่ี ่งเสรมิ ลักษณะนิสยั ที่ดแี ละทกั ษะการใช้ชีวิตประจำวัน ตามแนวทางหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และการมีวินัยให้เป็นส่วนหนึ่งของการจัด ประสบการณ์การเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เน่อื ง ๒.๘ จดั ประสบการณ์ทั้งในลักษณะทีม่ กี ารวางแผนไวล้ ว่ งหน้าและแผนท่เี กิดขึ้นในสภาพจรงิ โดย ไมไ่ ดค้ าดการณ์ไว้ ๒.๙ จดั ทำสารนทิ ัศน์ด้วยการรวบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกับพฒั นาการและการเรียนรู้ของเดก็ เปน็ รายบคุ คล นำมาไตร่ตรองและใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ การพฒั นาเดก็ และการวิจัยในชัน้ เรยี น ๒.๑๐ จดั ประสบการณ์โดยให้พ่อแม่ ครอบครัว และชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มทั้งการวางแผนการสนับสนนุ ส่อื แหล่งเรยี นรู้ การเข้ารว่ มกิจกรรม และการประเมนิ พัฒนาการ ๓. การจัดกิจกรรมประจำวัน กิจกรรมสำหรับเด็กอายุ ๓ ปี - ๖ ปีบริบูรณ์ สามารถนำมาจัดเป็นกิจกรรมประจำวันได้หลายรูปแบบ เปน็ การช่วยใหผ้ ู้สอนหรอื ผ้จู ัดประสบการณท์ ราบว่าแตล่ ะวนั จะทำกิจกรรมอะไร เมอื่ ใด และอยา่ งไร ทัง้ น้ี การจัด กิจกรรมประจำวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและ สภาพชุมชน ท่สี ำคญั ผ้สู อนตอ้ งคำนงึ ถึงการจดั กจิ กรรมให้ครอบคลมุ พัฒนาการทุกดา้ น การจัดกิจกรรมประจำวนั มี หลกั การจัดและขอบข่ายของกจิ กรรมประจำวัน ดงั นี้ ๓.๑ หลักการจัดกจิ กรรมประจำวนั ๑. กำหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมแตล่ ะกจิ กรรมให้เหมาะสมกบั วยั ของเดก็ ในแต่ละวัน แต่ยดื หย่นุ ได้ตามความตอ้ งการและความสนใจของเด็ก เช่น วัย ๓-๔ ปี มีความสนใจประมาณ ๘-๑๒ นาที วยั ๔-๕ ปี มคี วามสนใจประมาณ ๑๒-๑๕ นาที วยั ๕-๖ ปี มีความสนใจประมาณ ๑๕-๒๐ นาที ๒. กิจกรรมที่ต้องใช้ความคดิ ท้ังในกลุ่มเล็กและกล่มุ ใหญ่ ไมค่ วรใช้เวลาตอ่ เน่ืองนานเกนิ กว่า ๒๐ นาที ๓. กิจกรรมทเ่ี ด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เพอ่ื ช่วยใหเ้ ด็กรจู้ กั เลอื กตัดสินใจ คิดแกป้ ัญหา คดิ สร้างสรรค์ เชน่ การเลน่ ตามมุม การเล่นกลางแจง้ ฯลฯ ใช้เวลาประมาณ ๔๐-๖๐นาที ๔. กจิ กรรมควรมีความสมดุลระหว่างกจิ กรรมในห้องและนอกห้อง กจิ กรรมท่ีใช้กลา้ มเนอื้ ใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก กิจกรรมที่เป็นรายบุคคล กลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมท่ีเดก็ เป็นผู้รเิ ร่ิมและผู้สอน หรือผจู้ ัดประสบการณ์เป็นผรู้ ิเริ่ม และกิจกรรมท่ใี ช้กำลังและไม่ใช้

27 กำลัง จดั ให้ครบทุกประเภท ท้ังน้ี กิจกรรมทตี่ ้องออกกำลงั กายควรจัดสลับกับกิจกรรมท่ี ไมต่ ้องออกกำลังมากนกั เพ่ือเด็กจะไดไ้ ม่เหนือ่ ยเกนิ ไป ๓.๒ ขอบข่ายของกจิ กรรมประจำวัน การเลือกกิจกรรมที่จะนำมาจัดในแต่ละวันสามารถจัดได้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมในการนำไปใช้ของแต่ละหน่วยงานและสภาพชุมชน ที่สำคัญผู้สอนต้องคำนึงถึงการจัดกิจกรรมให้ ครอบคลมุ พัฒนาการทกุ ดา้ น ดังต่อไปนี้ ๓.๒.๑ การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ เป็นการพัฒนาความแข็งแรง การทรงตัว การยืดหยุ่น ความคล่องแคลว่ ในการใช้อวยั วะต่าง ๆ และจังหวะการเคลื่อนไหวในการใช้กลา้ มเน้ือใหญ่ โดยจดั กิจกรรมให้เด็ก ไดเ้ ลน่ อสิ ระกลางแจง้ เลน่ เคร่อื งเล่นสนาม ปีนปา่ ยเลน่ อสิ ระ เคลอื่ นไหวร่างกายตามจังหวะดนตรี ๓.๒.๒ การพฒั นากลา้ มเนื้อเลก็ เปน็ การพฒั นาความแข็งแรงของกล้ามเนอ้ื เลก็ กล้ามเนื้อ มือ-นิ้วมือ การประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือและระบบประสาทตามือได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน สัมพันธ์กัน โดยจัดกิจกรรมให้เด็กได้เล่นเครื่องเล่นสัมผัส เล่นเกมการศึกษา ฝึกช่วยเหลือตนเองในการแต่งกาย หยิบจบั ช้อนสอ้ ม และใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ศิลปะ เช่น สเี ทียน กรรไกร พกู่ นั ดินเหนยี ว ฯลฯ ๓.๒.๓ การพัฒนาอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม เป็นการปลูกฝังใหเ้ ด็กมี ความร้สู กึ ทด่ี ตี อ่ ตนเองและผู้อ่นื มคี วามเช่อื มัน่ กล้าแสดงออก มวี นิ ัย รับผดิ ชอบ ซื่อสตั ย์ ประหยัด เมตตา กรุณา เอ้อื เฟ้อื แบ่งปนั มีมารยาทและปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทยและศาสนาที่นบั ถือโดยจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ผา่ นการเล่น ให้เดก็ ได้มีโอกาสตัดสินใจเลอื ก ได้รบั การตอบสนองความต้องการ ได้ฝึกปฏิบตั โิ ดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ๓.๒.๔ การพัฒนาสังคมนิสัย เป็นการพัฒนาให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่ดี แสดงออกอย่าง เหมาะสมและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข ช่วยเหลือตนเองในการทำกิจวัตรประจำวัน มีนิสัยรักการทำงาน ระมัดระวังความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทั้งระมัดระวังอนั ตรายจากคนแปลกหน้า ให้เด็กได้ปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ ขับถ่าย ทำความสะอาดร่างกาย เล่นและ ทำงานร่วมกับผอู้ ่นื ปฏบิ ตั ติ ามกฎกตกิ าขอ้ ตกลงของส่วนรวม เก็บของเขา้ ท่ีเม่อื เลน่ หรอื ทำงานเสรจ็ ๓.๒.๕ การพฒั นาการคดิ เปน็ การพัฒนาใหเ้ ดก็ มคี วามสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาความคิด รวบยอด และคดิ เชงิ เหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยจดั กจิ กรรมให้เดก็ ไดส้ นทนาอภปิ รายแลกเปล่ียน ความคดิ เห็น เชิญวิทยากรมาพูดคยุ กบั เด็ก ศกึ ษานอกสถานที่ เล่นเกมการศกึ ษา ฝึกการแกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวัน ฝึกออกแบบและสร้างขน้ึ งาน และทำกจิ กรรมทง้ั เปน็ กลมุ่ ย่อย กลมุ่ ใหญ่ และรายบุคคล ๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาให้เด็กใช้ภาษาสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ความรคู้ วามเข้าใจในส่ิงต่าง ๆ ที่เด็กมีประสบการณโ์ ดยสามารถต้งั คำถามในสิ่งท่ีสงสัยใคร่รู้ จัดกิจกรรมทางภาษา ให้มีความหลากหลายในสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้ มุ่งปลูกฝังให้เด็กได้กลา้ แสดงออกในการฟัง พูด อ่าน เขียน มีนิสัยรักการอ่าน และบุคคลแวดล้อมต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษา ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงหลักการจัด กจิ กรรมทางภาษาท่เี หมาะสมกับเดก็ เปน็ สำคัญ

28 ๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมให้เด็กมีความคิด รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ ได้ถา่ ยทอดอารมณ์ความรสู้ กึ และเห็นความสวยงามของสิง่ ต่าง ๆ โดยจดั กจิ กรรมศลิ ปะสร้างสรรค์ ดนตรี การเคล่ือนไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ อย่างอิสระ เล่นบทบาทสมมติ เล่นน้ำ เล่น ทราย เล่นบลอ็ ก และเล่นกอ่ สรา้ ง การประเมนิ พัฒนาการ การประเมินพัฒนาการเด็กอายุ ๓-๖ ปี เป็นการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญาของเด็ก โดยถือเป็นกระบวนการตอ่ เนอื่ ง และเปน็ ส่วนหน่งึ ของกจิ กรรมปกตทิ ี่จัดใหเ้ ด็กในแต่ละวัน ผลที่ได้จากการสังเกตพัฒนาการเด็กต้องนำมาจัดทำสารนิทัศน์หรือจัดทำข้อมูลหลักฐานหรือเอกสารอย่างเป็น ระบบ ด้วยการรวบรวมผลงานสำหรับเด็กเป็นรายบุคคลที่สามารถบอกเรื่องราวหรือประสบการณ์ที่เด็กได้รับวา่ เด็กเกิดการเรียนรู้และมีความก้าวหน้าเพียงใด ทั้งนี้ ให้นำข้อมูลผลการประเมินพัฒนาการเด็กมาพิจารณา ปรับปรุงวางแผนการจัดกิจกรรม และส่งเสริมให้เด็กแต่ละคนได้รับการพัฒนาตามจุดหมายของหลักสูตรอย่าง ตอ่ เน่ือง การประเมนิ พฒั นาการควรยดึ หลัก ดังนี้ ๑. วางแผนการประเมินพัฒนาการอยา่ งเปน็ ระบบ ๒. ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ครบทกุ ดา้ น ๓. ประเมนิ พัฒนาการเดก็ เปน็ รายบคุ คลอยา่ งสม่ำเสมอตอ่ เนอ่ื งตลอดปี ๔. ประเมนิ พัฒนาการตามสภาพจรงิ จากกจิ กรรมประจำวันดว้ ยเคร่อื งมอื และวิธกี ารท่ี หลากหลาย ไมค่ วรใช้แบบทดสอบ ๕. สรุปผลการประเมนิ จัดทำข้อมูลและนำผลการประเมินไปใชพ้ ัฒนาเด็ก สำหรบั วิธีการประเมนิ ทีเ่ หมาะสมและควรใช้กับเดก็ อายุ ๓-๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม การสนทนากับเดก็ การสมั ภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลจากผลงานเดก็ ทีเ่ กบ็ อย่างมีระบบ

29 การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ แผนการจัดประสบการณ์เปน็ เครอ่ื งมือสำคัญในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์ใหแ้ ก่เด็กช่วยให้ผู้สอน สามารถจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้สำหรับเด็กได้อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพซง่ึ สง่ ผลให้เด็กปฐมวยั เกิดแนวคิด ทักษะ ความสามารถ คุณลักษณะค่านิยมและความเข้าใจอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการได้รับประสบการณ์ การ เรียนรู้ ที่สมดุลสอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและมีความสุขในการเรียนรู้ผู้สอนทุกคนจึงจำเป็นต้อง วางแผน การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้เพื่อให้สามารถจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเดก็ ใหบ้ รรลุ เป้าหมายของ หลักสูตร สถานศึกษา ขนั้ ตอนการจดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์ การจดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์ใหบ้ รรลุจดุ หมายของหลักสตู รสถานศึกษา ผู้สอนควรดำเนนิ ตาม ข้ันตอนตอ่ ไปน้ี ๑. ศึกษาทำความเข้าใจหลักสูตรสถานศึกษา ผสู้ อนควรศึกษาหลกั สูตรสถานศกึ ษาอย่างละเอียดจนเกิด ความเขา้ ใจว่าจะต้องพัฒนาเดก็ อยา่ งไรเพ่ือให้บรรลุตามจุดหมายท่กี ำหนดไว้ การศกึ ษาหลกั สตู ร สถานศกึ ษา ช่วย ใหผ้ สู้ อนสามารถออกแบบการจดั ประสบการณ์ท่ีสอดคล้องคับหลกั สูตรสถานศึกษานอกจากนี้ ควรศกึ ษา เอกสาร ทีเ่ กยี่ วข้องเพิ่มเตมิ เพื่อให้มีความเข้าใจยง่ิ ขเึ้ ช่นค่มู ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั ขอ้ มลู พัฒนาการเด็ก เป็นต้น ๒. ออกแบบการจัดประสบการณ์ ผู้สอนควรออกแบบการจัดประสบการณ์ตามรูปแบบการจัด ประสบการณ์ ทีก่ ำหนดไวในหลกั สูตรสถานศกึ ษา ในกรณที ี่สถานศึกษากำหนดรปู แบบการจัดประสบการณ์ แบบ หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ ผสู้ อนต้องกำหนด หวั เร่ืองเพอ่ื ใช้เป็นแกนกลางในการจัดประสบการณ์ และ กำหนด รายละเอียด ของหน่วยการจัดประสบการณ์ โดยนำมาจากการวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รายปีในหลักสูตร สถานศกึ ษา ดังน้ี ๒.๑ กำหนดหัวเรื่องหรือข้อหน่วยการจัดประสบการณ์ผู้สอนต้องกำหนดหัวเรื่องเพื่อใช้ในการ จัดประสบการณ์ โดยพิจารณาจากสาระที่ควรเรียนรู้ซึ่งระบุไวในการวิเคราะห์สาระการเรียนรูร้ ายปีในหลักสูตร สถานศึกษาหวั เร่อื งที่กำหนดควรมีลกั ษณะเหมาะสมกับวยั และพัฒนาการของเดก็ ตรงตามความตอ้ งการและความ สนใจของเด็กสอดคล้องกับสภาพและบรบิ ทในการดำเนินชีวิตประจำวันของเด็กหรือสามารถผนวกคณุ ธรรมและ จรยิ ธรรมเขา้ ไปได้อยา่ งผสมกลมกลืน การกำหนดหวั เรอ่ื งสามารถทำได้ ๓ วิธดี งั น้ี วิธีที่ ๑ ผ้สู อนเป็นผู้กำหนดครูจะเปน็ ผกู้ ำหนดหน่วยการจดั ประสบการณ์ โดยพจิ ารณา จากสาระการเรียนรู้ ในหลกั สตู รสถานศึกษาและความสนใจของเด็ก วิธที ่ี ๒ ผู้สอนและเดก็ รว่ มกันกำหนด ผู้สอนจะกระตนุ้ ใหเ้ ด็กแสดง ความคดิ เหน็ แลว้ นำเร่ือง ท่ีสนใจมากำหนดเปน็ หนว่ ยการจัดประสบการณ์ วธิ ที ่ี ๓ เดก็ เปน็ ผ้กู ำหนดผสู้ อนจะเปีดโอกาสให้เด็กเปน็ ผู้กำหนดหัวเรอ่ื งไดต้ ามความสนใจของเดก็ ผสู้ อนสามารถนำหวั เรื่องหนว่ ยการจดั ประสบการณท์ ่กี ำหนดไวม้ าจดั ทำเปน็ กำหนดการจัดประสบการณ์ ประจำปีการศึกษา โดยคำนงึ ถึงฤดูกาล แหล่งเรยี นรู้ ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ เทศกาล ประเพณี และวันสำคัญต่าง ๆ เพอื่ เป็นการเตรียมวา่ จะจดั ประสบการณ์หัวเรื่องใดในชว่ งเวลาใด ให้ครบตามเวลาเรยี น ทีก่ ำหนดในหลกั สตู ร

30 สถานศึกษา ทง้ั น้ี ผู้สอนควรจัดเตรยี มใหมั ีชว่ งเวลาสำหรบั จัด ประสบการณต์ ามความสนใจ ของเด็ก และตระหนกั ว่าสามารถ เปลย่ี นแปลงหรอื ยืดหยุ่นกำหนดการจัดประสบการณไ์ ดต้ ามความสนใจของเดก็ ๒.๒ กำหนดรายละเอียดของหนว่ ยการจัดประสบการณ์ ผู้สอนควรกำหนดรายละเอยี ดของ หนว่ ยการจัดประสบการณ์ ประกอบด้วย มาตรฐาน ตวั บ่งข้ี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ และสาระ การเรยี นร้ทู ้ังประสบการณส์ ำคญั และสาระที่ควรเรียนรู้ ให้สมั พันธ์กนั ทุกองค์ประกอบ โดยนำมาจากการวิเคราะห์ สาระการเรยี นรใู้ นหลกั สตู รสถานศึกษา ซงึ่ อาจยดื หยุน่ ได้ตามความเหมาะสมกบั หัวเรื่องหรอื ชอ่ื หนว่ ยการจัด ประสบการณ์ พรอ้ มทง้ั กำหนดเวลาเรยี นของแต่ละหนว่ ยการจัดประสบการณ์ ๑-๒ สัปดาห์ ตามความเหมาะสม กบั สาระการเรยี นรูข้ องหน่วยการจัดประสบการณ์ ตัวอย่างการกำหนด รายละเอียดของหน่วยการจัดประสบการณ์ ๒.๒.๑ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ กำหนดมาตรฐาน ตวั บ่งชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ ของหนว่ ยที่คาดว่าการจดั ประสบการณ์ในหน่วยน้นั ๆ จะนำพาเด็กไปสู่ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ ตามวัย การกำหนด มาตรฐาน ตวั บ่งชี้ และสภาพท่ีพึงประสงคข์ องแตล่ ะหน่วยจะตอ้ ง ครอบคลุมพฒั นาการท้ัง ๔ ดา้ น แต่ไม่จำเป็น ต้องครบทกุ มาตรฐาน ผูส้ อนสามารถนำมาตรฐานตวั บ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงคจ์ ากการ วิเคราะห์ สาระการ เรียนรู้ รายปใี นหลกั สูตรสถานศกึ ษาในสว่ นทีส่ ัมพันธก์ บั สาระทีค่ วรเรยี นรทู้ ี่เลอื กมาจัดในหนว่ ย การจัดประสบการณ์ ๒.๒.๒ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ กำหนดจดุ ประสงค์การเรียนร้ซู ง่ึ เป็นพฤตกิ รรมท่ี ตอ้ งการ ใหเ้ กิดกบั เดก็ เมอ่ื ทำกิจกรรมในหน่วยแลว้ ผูส้ อนสามารถกำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ โดยพิจารณาจากสภาพ ท่ี พึงประสงคแ์ ล้วปรบั เปน็ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ท้งั นี้ การกำหนดจดุ ประสงคก์ าร เรยี นรู้กำหนดให้สัมพนั ธ์ กับสาระ ท่คี วรเรยี นรู้ของหน่วย หรอื ปรบั ใหส้ อดคลอ้ งกับความสามารถ ในขณะน้ันของเดก็ โดยเชอื่ วา่ ความสามารถ ดงั กล่าว เปน็ พนื้ ฐานทจี่ ะนำไปสู่ความสามารถตามสภาพท่พี ึงประสงคต์ อ่ ไปหรือกำหนดตาม สภาพทีพ่ ึงประสงค์ก็ ได้โดย พจิ ารณาจากความสามารถของเด็กทผ่ี ู้สอนรับผิดชอบเป็นหลกั จุดประสงคก์ ารเรียน ของแต่ละหน่วยการจัด ประสบการณจ์ ะครอบคลมุ พัฒนาการท้งั ๔ ด้าน โดยจำนวนจดุ ประสงคก์ ารเรยี น ของแต่ละหน่วยอาจแตกต่าง กนั ได้ แต่ควรกำหนด จำนวนจดุ ประสงค์การเรยี นร้ทู ี่ไม่มากเกนิ ไป เพ่ือให้สามารถ นำไปปฏิบัตไิ ด้จริง ๒.๒.๓ สาระการเรยี นรู้ กำหนดรายละเอียดของสาระการเรยี นร้ใู หเ้ ข้ากบั หวั เรอื่ งหนว่ ย การจัดประสบการณ์ การกำหนดสาระการเรยี นร้ตู อ้ งประกอบด้วยสาระทค่ี วรเรียนรแู้ ละ ประสบการณ์สำคัญ ดังน้ี (๑) สาระท่ีควรเรียนรู้ กำหนดรายละเอยี ดของสาระทีค่ วรเรยี นรู้ โดยการคดั เลือก สาระท่คี วรเรียนรู้ทสี่ มั พนั ธก์ ับหัวเรือ่ งของหนว่ ยจากหลักสูตรสถานศกึ ษามากำหนด รายละเอียดเพิ่มเติมทงั้ ใน ลกั ษณะ ที่เปน็ แนวคดิ เนอ้ื หา ทักษะ หรือเจตคติ ใหส้ มั พนั ธก์ บั ช่ือหนว่ ยการจัด ประสบการณ์ โดยคำนึงถึง สิ่งที่ เด็กร้แู ลว้ สิ่งท่ีเดก็ ตอ้ งการรู้ และสิง่ ท่เี ด็กควรรู้ พิจารณาให้มรี ะดับความ ยากง่ายของสาระการเรียนรู้ ทเ่ี หมาะสม กบั วัย และส่ิงแวดล้อมในชวี ิตจรงิ ของเด็ก ทงั้ น้ี เม่ือกำหนด สาระท่ีควรเรยี นรคู้ รบทุกหนว่ ยแลว้ ควรมีสาระท่ีควร เรียนรู้ ครบถว้ นตามทร่ี ะบไุ วใ้ นหลกั สูตรสถานศึกษา (๒) ประสบการณ์สำคัญ กำหนดประสบการณ์สำคญั ทจ่ี ะใช้เปน็ แนวทางในการ จัดกิจกรรมอยา่ งเหมาะสมกับหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ทีก่ ำหนด เพื่อพฒั นาเดก็ ใหบ้ รรลผุ ล ตามจดุ ประสงค์ การเรยี นรู้ ผู้สอนสามารถคัดเลอื กประสบการณ์สำคญั จากหลกั สตู รสถานศกึ ษาใน สว่ นท่ีสมั พนั ธก์ ับสาระ ทค่ี วร เรยี นรู้ ทีก่ ำหนดไวใ้ นการวิเคราะหส์ าระการเรยี นรู้รายปี โดยพิจารณาใหป้ ระสบการณ์สำคัญ ของแตล่ ะหน่วยการ

31 จัดประสบการณ์ ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ดา้ น ท้ังน้ี ผูส้ อนสามารถพจิ ารณาปรับเปลีย่ น หรอื เพ่มิ เตมิ ประสบการณ์ สำคญั ไดต้ ามความเหมาะสมเม่ือเวลาเขยี นแผนการจัดประสบการณ์และ ประสบการณส์ ำคัญท่ี กำหนดจะตอ้ งปรากฏ ในการดำเนนิ กจิ กรรมนั้น ๆ ๓. เขยี นแผนการจดั ประสบการณ์ ๓.๑ เขียนแผนการจัดประสบการณ์รายสัปดาห์ ออกแบบและกำหนดกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กเกิด การเรียนรู้ครบตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ของหน่วย ครอบคลุมกจิ กรรมประจำวนั ทีร่ ะบไุ ว้ในหลกั สูตรสถานศึกษา ตลอดทัง้ สัปดาห์ไว้ล่วงหน้าการเขียนแผนการจัดประสบการณ์รายสัปดาห์ต้องคำนึงถงึ มาตรฐานคุณลกั ษณะ ที่พึง ประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ รวมถึงสาระที่ควรเรียนรู้และประสบการณ์ สำคัญตามหน่วยการจัด ประสบการณ์ที่ได้ออกแบบไว้ การกำหนดกจิ กรรมต้องพิจารณาถงึ ความสมดุลของ พัฒนาการทกุ ดา้ น เป็นอันดับ แรกจดั ใหม้ คี วามหลากหลายของกจิ กรรมมีความสอดคลอ้ งกัน และ เป็นไปในทิศทางที่ส่งเสริมพัฒนาการ และการ เรยี นรู้ ของเด็กแตล่ ะคนให้บรรลจุ ุดประสงค์การเรียนรู้ของ หน่วย ตามคู่มือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัยพทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ๓.๒ เขียนแผนการจัดประสบการณ์รายวัน ระบุรายละเอียดท่ีครอบคลุม จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรูซ้ ึ่งประกอบด้วยสาระท่ีควรเรียนรู้และประสบการณ์สำคญั กิจกรรม สื่อ และการประเมนิ กำหนด วิธกี ารดำเนินกิจกรรมสอดคล้องกับประสบการณ์สำคัญท่ีวางแผนตามที่ได้ กำหนดไว้ในแผนการจัดประสบการณ์ รายสัปดาห์เป็นขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ โดยคำนึงถึงวัย พัฒนาการ ช่วงความสนใจของเด็ก และจุดประสงค์การ เรยี นรู้ ท่ีต้องการ ส่ิงทผี่ ูส้ อนควรคำนึงถึงในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์สำหรับ เด็กปฐมวัยคอื การออกแบบ กิจกรรม ตามหลักการจัดประสบการณ์และแนวทางการจัดประสบการณ์ของ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ไม่ใช่ รูปแบบ การเขียน แผนการจดั ประสบการณ์ เช่น การเขียนแบบตาราง แบบกึง่ ตาราง หรือแบบความเรียง ผู้สอน ควรพิจารณา เขยี นแผน การจัดประสบการณ์ท่ีนำไปไชไ้ ด้จรงิ และเกิดประโยชนส์ งู สุดต่อเด็ก เพอื่ เป็นแนวในการ ปฏิบตั จิ รงิ ไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ เม่อื เขยี นแผนการจดั ประสบการณ์แล้วผู้สอนควรนำแผนการจัดประสบการณไ์ ปใช้ในการจัดประสบการณ์ จรงิ ผ้สู อนควรให้ความสำคัญกับท้ังการเขียนแผนการจดั ประสบการณ์และการจัด ประสบการณจ์ รงิ สำหรับเด็ก ไม่ ควร ละเลยการเขียนแผนการจดั ประสบการณ์ เพราะแผนการจัด ประสบการณ์ที่ดีย่อมนำไปสู่การสอนที่ดี และ ควร ให้ความสำคัญกับการจัดประสบการณ์ทั้งที่มีการออกแบบ ไว้ล่วงหน้าและเกิดขึ้นในสภาพจริง โดยไม่ได้ คาดการณ์ไว้ รวมถงึ ประสบการณ์ทเี่ กิดจากการอบรมเล้ียงดู ในกจิ วตั รประจำวันดว้ ย ๔. ประเมินหลังการจัดประสบการณ์ หลังจากจัดประสบการณ์แล้วผู้สอนควรดำเนินการทั้งการ ประเมิน พัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแผนการจัด ประสบการณ์ และการประเมินการจัดประสบการณ์ของครูจากแผนการจัดประสบการณ์ โดยผู้สอนสามารถ บันทึกผลการประเมิน ได้ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดยพิจารณาให้เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูล ท่ี ต้องการ ซึ่งเป็นการบันทึก พฤติกรรมของเด็กตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในลักษณะของการตรวจสอบรายการ และบันทึก เกี่ยวกับ การจัดประสบการณ์ท้ังในเรือ่ งความยากง่ายของกิจกรรมที่กำหนด ความเหมาะสมของ สื่อ ระยะเวลา ในการจัดกิจกรรม และข้อมูลอื่น ๆ ที่ผู้สอนคาดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเด็กในการจัด ประสบการณ์ ครั้งต่อไปในลักษณะของการเขียนบรรยาย ทั้งนี้ ผู้สอนสามารถปรับเปลี่ยนหรือออกแบบ แบบ บนั ทึก หลังการจดั ประสบการณ์ ใหส้ อดคล้องกบั การปฏบิ ตั ิงานของตนเองได้ตามความเหมาะสม

32 บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๖๑). คมู่ ือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐. (พิมพ์ครง้ั ที่ ๑).กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมการเกษตร แหง่ ประเทศไทย จำกดั . กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๐). หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐. (พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑).กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ การเกษตร แหง่ ประเทศไทย จำกดั . สงัด อุทรานันที. (๒๕๓๒). พ้นื ฐานการพัฒนาหลกั สตู ร. กรุงเทพฯ : กระทรวงศกึ ษาธิการ. การนำหลักสตู รไปใช.้ (ออนไลน์). เขา้ ถึงขอ้ มูลได้จาก https://www.sites.google.com/site/phathnahlaksutr050/karna-hlaksutr-pi-chi

ภาคผนวก

ตราโรงเรยี น หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย โรงเรียน………………………………. พุทธศักราช ๒๕.... ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต ๒ สำนักงานคณะกรรมการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

แบบตรวจสอบหลักสูตรสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย กอ่ นการนำหลกั สตู รไปใช้ โรงเรียน........................................................................ อำเภอ........................จังหวดั ................................. สงั กดั .....................................................................................เขต ................................................................. คำช้ีแจง แบบตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยฉบบั น้ี เปน็ แบบสำรวจความคดิ เหน็ ทีใ่ ช้เป็นเคร่ืองมือ ในการ ตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยก่อนนำหลักสูตรไปใชแ้ ละให้ผูม้ ีสว่ นเก่ียวข้อง ของสถานศึกษาทำ หน้าที่ตรวจสอบ เช่น ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้สอนปฐมวัย คณะกรรมการสถานศึกษา / คณะกรรมการบริหาร โรงเรียน ผทู้ รงคณุ วุฒิ ผ้แู ทนผู้ปกครองและผ้แู ทนชุมชน เป็นดน้ ตอนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไปของผใู้ ห้ข้อมูล ๑. เพศ  ชาย  หญิง ๒. อายุ  ๒๐ - ๔๐ ปี  ๔๑ - ๔๐ ปี  ๔๑ - ๖๐ ปี  มากกว่า ๖๐ ปี ๓. สถานะ / ตำแหน่งหน้าท่ี  ผู้บรหิ ารสถานศึกษา  ครูปฐมวยั  ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ  ผูแ้ ทนคณะกรรมการสถานศกึ ษา  ผูแ้ ผนผู้ปกครอง  ผแู้ ทนชุมชน  อนื่ ๆ โปรดระบุ ................................................................................

ตอนท่ี ๒ การตรวจสอบคณุ ภาพหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั ก่อนนำไปใช้ โปรดทำเครือ่ งหมาย ✓ ในช่อง ใช่/ไมใ่ ช่ และบันทกึ ความคิดเห็นในข้อเสนอแนะเพม่ิ เดิม ท่ี รายการ ใช่ ไมใ่ ช่ ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เดิม ๑ ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษา ๑.๑ แสดงแนวคดิ และความเช่ือในการจัดการศกึ ษา เพ่อื พัฒนาเด็กปฐมวยั ชัดเจน ครบถ้วน ๑.๒ มคี วามสอดคล้องกบั หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๑.๓ มีความเชื่อมโยงกับความเชอ่ื ในการจดั การศึกษา เพ่ือ พฒั นาเดก็ ปฐมวัย ๑.๔ ผมู้ ีสว่ นเก่ียวข้องทุกฝ่ายมีสว่ นร่วมในการกำหนด ปรัชญาการศกึ ษา ๒ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมาย ๒.๑ มคี วามซดั เจนและสอดคล้องกบั ปรชั ญาการศึกษา ปฐมวยั ของสถานศึกษา ๒.๒ แสดงความคาดหวังและวิธีการพฒั นาเด็กปฐมวยั ใน อนาคตไดซ้ ัดเจน ๒.๓ แสดงถงึ จดุ เน้น อตั ลักษณ์ เอกลักษณ์ ทตี่ อ้ งการ ของ สถานศกึ ษา ๒.๔ ผู้มีส่วนเกยี่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ มในการกำหนด ๒.๕ มกี ารกำหนดเป้าหมายทตี่ ้องการในเชงิ ปรมิ าณหรอื เชงิ คุณภาพ ๓ จดุ หมาย ๓.๑ มีความสอดคลอ้ งและครอบคลุมจดุ หมาย ของหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๓.๒ มคี วามสอดคลอ้ งกับปรชั ญา วิสยั ทัศน์ การศกึ ษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา ๓.๓ มีความเป็นไปไดใ็ นการนำไปสูก่ ารปฏิบัติ ตามจุดหมาย ท่ีกำหนดในหลกั สูตร

ที่ รายการ ใช่ ไมใ่ ช่ ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ ๔ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ๔.๑ นำมาตรฐานคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์และ สภาพทีพ่ งิ ประสงค์ มากำหนดในหลกั สตู ร สถานศึกษาปฐมวัย ครบถ้วน ๔.๒ นำมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์และ สภาพทพ่ี งิ ประสงคม์ าจดั แบ่งกลุม่ อายุเด็ก และระดบั ชนั้ ได้ ชดั เจน ครบถ้วน ๕ การจดั เวลาเรียน ๔.๑ มีการกำหนดเวลาเรยี นตอ่ ๑ ปีการศกึ ษา ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๘๐ วัน ๔.๒ มกี ารกำหนดเวลาเรยี นแต่ละวนั ไมน่ อ้ ยกวา่ ๔ ชั่วโมง ๔.๓ มกี ารกำหนดชว่ งเวลาการจัดกจิ กรรมประจำวนั เหมาะสมกบั วยั และความสนใจของเดก็ ๖ สาระการเรยี นร้รู ายปี ๖.๑ มีความสอดคล้องกบั มาตรฐาน ตัวบ่งช้ี สภาพท่ีพงิ ประสงค์ ในแตล่ ะช่วงวัย ๖.๒ มีการกำหนดครอบคลมุ ประสบการณ์สำคญั และ สาระ ที่ควรเรยี นรู้ ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๓ มกี ารจัดแบง่ สาระการเรยี นร้เู หมาะสมกับชว่ งเวลา ใน การจดั หนว่ ยประสบการณ์ ๗ การจัดประสบการณ์ ๗.๑ มีกำหนดการจดั ประสบการณ์โดยใช้หลกั การ บรู ณาการผา่ นการเล่นทสี่ อดคลอ้ งกับพฒั นาการ ตาม วยั ของเดก็ ๗.๒ มีรปู แบบการจดั ประสบการณ์สอดคล้องกับปรชั ญา วสิ ยั ทศั น์ และจุดหมายของการจัดการศึกษาปฐมวยั ๗.๓ มีกำหนดการจัดประสบการณ์แตล่ ะช่วงอายุ ท่ี เหมาะสมกับวยั และความสนใจของเดก็ ๗.๔ มีกำหนดการจดั ประสบการณ์เน้นใหเ้ ด็กลงมือปฏิบัติ ริเรม่ิ และมสี ่วนร่วมในการออกแบบกจิ กรรม การเรยี นรู้

ท่ี รายการ ใช่ ไม่ใช่ ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ๗.๕ มีกำหนดการจัดประสบการณ์เปิดโอกาสให้เด็ก มี ปฏิสมั พันธ์กับบคุ คล สอื่ และใช้แหลง่ การเรยี นรู้ ที่ หลากหลาย ๗.๖ มกี ำหนดการจดั ประสบการณ์ส่งเสริมให้เดก็ มีทักษะ ชีวิตและการปฏิบตั ิตนตามแนวทางหลักปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ๗.๗ มกี ำหนดการจดั ประสบการณ์สง่ เสริมการพัฒนา ให้ เด็กเป็นคนดี มีวินยั และมีความเปน็ ไทย ๘ การจดั สภาพแวดล้อม สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ ๘.๑ ระบแุ นวการจัดสภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอก ที่ เออ้ื ต่อการเรยี นรขู้ องเดก็ ๘.๒ มีส่ือท่หี ลากหลาย เหมาะสมและเพยี งพอ ๘.๓ มแี หลง่ เรยี นรใู้ นและนอกสถานศกึ ษาทส่ี ง่ เสรมิ พฒั นาการและการเรียนรูข้ องเด็ก ๙ การประเมินพฒั นาการ ๙.๑ มีการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ครอบคลุมมาตรฐาน คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ๙.๒ มกี ารประเมนิ พัฒนาการตามสภาพจรงิ ๑0 การบริหารจดั การหลกั สตู ร ๑๐.๑ มีความพรอ้ มด้าน ครู บุคลากร และขอ้ มลู สารสนเทศ ๑๐.๒ มีงบประมาณและทรพั ยากรสนับสนนุ เพยี งพอ ๑๐.๓ มีการวางแผนการประเมินหลกั สูตรสถานศึกษา (กอ่ น - ระหว่าง - หลังการใช้) ๑๐.๔ มีแผนการนิเทศ ติดตามการนำหลกั สูตร สถานศึกษา ปฐมวยั สู่การปฏบิ ัติ ๑๑ การเชอ่ื มต่อของการศกึ ษา ๑๑.๑ ผู้บริหารมีการวางแผนและสรา้ งความเขา้ ใจแก่ ผู้สอน ปฐมวัย ผู้สอนประถมศึกษาทเ่ี กี่ยวขอ้ ง พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และชุมชน ในการสร้าง รอยเช่ือมต่อ ของหลกั สตู รทั้งสองระดบั

ท่ี รายการ ใช่ ไมใ่ ช่ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ๑๑ ๑๑.๒ ครูผู้สอนปฐมวัยและประถมศกึ ษามีการ แลกเปลีย่ นและกำหนดแนวทางการทำงานรว่ มกนั ๑๑.๓ มแี นวทางการจัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กปฐมวัย มคี วามพรอ้ มในการเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ของครูผสู้ อนรว่ มกันด้วยวธิ กี ารหลากหลาย ๑๑.๔ มีการจดั เตรียมข้อมูลสารสนเทศของเด็กปฐมวัย รายบคุ คลสง่ ตอ่ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ เพ่ือการ วางแผนพัฒนาเดก็ รว่ มกนั ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ ลงช่อื .................................................ผตู้ รวจสอบ (.....................................................) ตำแหน่ง .............................................................. วัน เดอื น ปี.........................................................

แบบตรวจสอบหลกั สตู รสถานศึกษาระดบั ปฐมวัย หลังการนำหลกั สูตรไปใช้ โรงเรียน............................................................................. อำเภอ ........................จงั หวัด สงั กดั ......................................................................................เขต............ คำชี้แจง แบบตรวจสอบหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ฉบบั น้ี เป็นแบบสำรวจความคดิ เห็นท่ีใช้เป็นเคร่ืองมือ ในการ ตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั ก่อนนำหลักสูตรไปใช้และให้ผูม้ ีสว่ นเกี่ยวข้อง ของสถานศึกษาทำ หน้าที่ตรวจสอบ เช่น ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้สอนปฐมวัย คณะกรรมการสถานศึกษา / คณะกรรมการบริหาร โรงเรียน ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ผ้แู ทนผู้ปกครอง และผู้แทนชุมชน เป็นด้น ตอนท่ี ๑ ขอ้ มูลทว่ั ไปของผใู้ หข้ อ้ มูล ๑. เพศ  ชาย  หญิง ๒. อายุ  ๒๐ - ๔๐ ปี  ๔๑ - ๔๐ ปี  ๔๑ - ๖๐ ปี  มากกว่า ๖๐ ปี ๓. สถานะ / ตำแหนง่ หน้าที่  ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา  ครูปฐมวยั  ผปู้ กครอง  ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ  อื่น ๆ โปรดระบุ................................................................................

ตอนท่ี ๒ การตรวจสอบคุณภาพหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั หลงั การนำหลกั สตู รไปใช้ โปรดทำเครอ่ื งหมาย✓ตามระดับคณุ ภาพและให้ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเดมิ เกณฑ์ระดบั คุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ๓ ดี หมายถึง สามารถนำหลักสูตรไปใช้ไดค้ รบถว้ นและเหมาะสม ระดับคณุ ภาพ ๒ พอใช้ หมายถึง สามารถนำหลักสูตรไปใช้ไดแ้ ตบ่ างประเด็นควรปรบั ปรงุ ระดบั คณุ ภาพ ๑ ปรับปรงุ หมายถึง ไมส่ ามารถนำไปใช้ไดเ้ ป็นสว่ นใหญ่ ตอ้ งปรบั ปรุงแกไข ท่ี รายการ ระดบั คุณภาพ ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เดมิ ๓๒๑ ๑ ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษา ๑.๑ แนวคิดและความเชือ่ ของปรัชญาการศึกษาปฐมวยั ชัดเจน ครบถว้ น ๑.๒ ส่งเสริมพัฒนาเดก็ ตามเปา้ หมาย หลกั สูตรการศึกษา ปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒ วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย ๒.๑ บรรลผุ ลปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศกึ ษา ๒.๒ บรรลผุ ลตามความคาดหวงั ในอนาคตไดซ้ ดั เจน ๒.๓ สอดคล้องจดุ เน้น อตั ลักษณ์ เอกลักษณ์ ท่ีต้องการ ของ สถานศึกษา ๒.๔ บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตอ้ งการในเชงิ ปรมิ าณ หรือเชงิ คุณภาพ ๓ จุดหมาย ๓.๑ มคี วามสอดคลอ้ งและครอบคลมุ จุดหมาย ของหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๓.๒ มคี วามสอดคลอ้ งกับปรชั ญา วิสยั ทัศน์ การศึกษา ปฐมวัยของสถานศกึ ษา ๓.๓ นำไปสู่การปฏบิ ตั ติ ามจดุ หมายที่กำหนด ในหลักสตู รได้ ๔ มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ ๔.๑ นำมาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคแ์ ละสภาพ ทพ่ี ิง ประสงค์ ไปใช้ได้ครบล้วน ๔.๒ นำมาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์และสภาพ ทีพ่ ิง ประสงค์ไปใชก้ บั เด็กทกุ กลมุ่ อายุ และระดบั ช้ันเรียน ได้ครบล้วน

ท่ี รายการ ระดับคณุ ภาพ ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม ๓๒๑ ๕ การจัดเวลาเรยี น ๕.๑ กำหนดเวลาเรยี นต่อ ๑ ปกี ารศึกษาได้เหมาะสม ๕.๒ กำหนดเวลาเรียนแต่ละวันมีความเหมาะสม ๕.๓ กำหนดช่วงเวลาการจดั กิจกรรมประจำวัน มีความ เหมาะสม ๖ สาระการเรียนรรู้ ายปี ๖.๑ มคี วามสอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ตัวบ่งช้ี สภาพที่ พงึ ประสงค์ ในแต่ละช่วงวัย ๖.๒ มกี ารกำหนดครอบคลมุ ประสบการณ์สำคัญและ สาระ ที่ควรเรียนรู้ ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ ๖.๓ มกี ารจดั แบ่งสาระการเรยี นรู้เหมาะสมกบั หน่วย ประสบการณ์ ๗ การจัดประสบการณ์ ๗.๑ ใชห้ ลักการบูรณาการผ่านการเลน่ ท่ีสอดคล้องกับ พฒั นาการตามวัยของเด็ก ๗.๒ มคี วามสอดคล้องกบั ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ และจุดหมาย ของการจัดการศึกษาปฐมวยั ๗.๓ มีความเหมาะสมกับวยั และความสนใจของเด็ก ๗.๔ เน้นให้เด็กลงมอื ปฏิบัติ รเิ ริ่มและมีสว่ นร่วมในการ ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ ๗.๕ เปิดโอกาสใหเ้ ด็กมีปฏิสัมพนั ธ์กบั บคุ คล สอ่ื และ ใช้ แหลง่ การเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย ๗.๖ สง่ เสรมิ ให้เดก็ มที กั ษะชวี ิตและการปฏิบัตติ นตาม แนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๗.๗ ส่งเสริมการพฒั นาให้เดก็ เปน็ คนดี มีวินัย และ มีความ เปน็ ไทย

ท่ี รายการ ระดับคุณภาพ ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ ๓๒๑ ๘ การจดั สภาพแวดลอ้ มส่ือ และแหลง่ เรียนรู้ ๘.๑มกี ารจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและ สภาพแวดล้อมทางจิตภาพที่เอ้ือตอ่ การเรียนรู้ของเด็ก ๘.๒มสี อ่ื ทหี่ ลากหลายเหมาะสมเพยี งพอ ๘.๓มแี หลง่ เรยี นร้ใู นและนอกสถานศึกษาท่เี หมาะสมเพียงพอต่อการ จัดกจิ กรรม ๙ การประเมนิ พฒั นาการ ๙.๑มีการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ครอบคลุมมาตรฐาน คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ๙.๒มกี ารประเมินพฒั นาการตามสภาพจริง ๙.๓มรี ่องรอยการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ๙.๔มีการรายงานผลการประเมินพฒั นาการแกผ่ บู้ รหิ ารผู้ปกครอง หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง ๑0 การบริหารจดั การหลกั สตู ร ๑๐.๑มคี วามพรอ้ มดา้ นครู บุคลากรและขอ้ มูลสารสนเทศ ๑๐.๒มงี บประมาณและทรัพยากรสนบั สนนุ เพียงพอ ๑๐.๓มีการประเมินหลักสตู รสถานศกึ ษา ๑๐.๔มีการนิเทศตดิ ตามการนำหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยสู่การ ปฏิบตั ิ ๑๑ การเช่อื มตอ่ ของการศึกษา ๑๑.๑ผบู้ ริหารสร้างความเขา้ ใจในการสรา้ งรอยเชอื่ มตอ่ ของหลกั สูตร ทัง้ สองระดับ ๑๑.๒ครผู ูส้ อนปฐมวยั และประถมศกึ ษามีการแลกเปลี่ยน และทำงาน รว่ มกัน ๑๑.๓มีการจดั กิจกรรมใหเ้ ดก็ ปฐมวัยมคี วามพรอ้ มในการเรียนช้ัน ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ของครผู ู้สอนร่วมกนั ด้วยวธิ ีการ หลากหลาย ๑๑.๔มีการจดั กจิ กรรมให้ความรู้และหรือกจิ กรรมสัมพนั ธใ์ ห้พ่อแม่ ผู้ปกครองเขา้ ใจการศึกษาทั้งสองระดบั

……ข…อ้ …เส…น…อ…แน…ะ…อ…ื่น…ๆ…………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงช่อื .................................................ผูต้ รวจสอบ ( ................................................) ตำแหนง่ .............................................................. วัน เดอื น ปี .........................................................

คำสั่งโรงเรียน……………………….. ท่.ี ...../ ๒๕..... เรื่อง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทำหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรยี น................................... พทุ ธศักราช ๒๕.....ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ ...................................... ด้วย กระทรวงศึกษาธิการมีคำสั่ง ที่ สพฐ.๑๒๒๓ / ๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรการศึกษ าปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ เพอื่ ใหก้ ารจดั การศึกษาปฐมวยั ทพ่ี ัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกดิ – ๖ ปี ใหม้ ีการพัฒนาดา้ น ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาที่เหมาสมกับวยั ความสามารถและความแตกต่างระหวา่ งบุคคลเปน็ การเตรียม ความพรอ้ มทีจ่ ะเรยี นรูแ้ ละสร้างรากฐานชวี ติ ใหพ้ ัฒนาเด็กปฐมวยั ไปส่คู วามเปน็ มนุษย์ทีส่ มบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามเจตนารมณ์ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ และโดยอาศัยอำนาจความในมาตรา ๕ แห่ง พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒และแกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒ ) พ.ศ. ๒๕๔๕ กระทรวงศึกษาธิการ จึงให้ใช้หลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๖๐ แทนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ๒๕๔๖ เพื่อให้สถานศึกษาหรือสถาบัน พัฒนาเดก็ ปฐมวัยทุกแหง่ นำหลักสูตรไปใช้โดยใหป้ รับปรงุ ให้เหมาะสมกบั เดก็ และสภาพท้องถ่นิ ดงั นั้น เพอ่ื ใหก้ ารจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียน............................ พุทธศักราช ๒๕..... ตาม หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพสูงสุดจึงแต่งตัง้ คณะกรรมการ ดังนี้ คณะกรรมการทีป่ รกึ ษา ประกอบด้วย ๑.๑ .............................. ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ๑.๒................................. รองประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ๑.๓ ................................. ผู้อำนวยการโรงเรยี น ๑.๔ ................................... ศึกษานิเทศก์ผรู้ บั ผดิ ชอบงานการศกึ ษาปฐมวยั ๑.๕.................................... ผทู้ รงคุณวฒุ ิด้านการศกึ ษาปฐมวัย หน้าที่ ใหค้ ำปรึกษา แนะนำ เสนอแนวทาง หรือวนิ จิ ฉัยการเพอื่ ให้การจดั ทำหลักสตู รสถานศึกษา ปฐมวยั เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย บรรลุผลสำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๑. คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวิชาการ ประกอบดว้ ย ๒.๑ …………………………………. ผู้อำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ ๒.๒ …………………………………. ครู รองประธานกรรมการ ๒.๓ …………………………………. ครวู ชิ าการโรงเรียน กรรมการ ๒.๔ …………………………………. ครผู ู้สอนชั้นประถมปีท่ี ๑ กรรมการ ๒.๕ …………………………………. ตวั แทนผู้ปกครอง กรรมการ ๒.๖ …………………………………. ตัวแทนผปู้ กครอง กรรมการ ๒.๗…………………………………. ตวั แทนชมุ ชน กรรมการ ๒.๘…………………………………. ตวั แทนชุมชน กรรมการ ๒.๙ …………………………………. ครปู ฐมวยั กรรมการ ๒.๙ …………………………………. ครูปฐมวยั กรรมการและเลขานุการ ๒.๙ …………………………………. ครูปฐมวยั กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร หนา้ ท่ี ๑. ศกึ ษาทำความเขา้ ใจเอกสารทเี่ ก่ียวข้องได้แก่ หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ คู่มือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ และเอกสารท่ีเกย่ี วข้อง ๒. รวบรวมข้อมลู พื้นฐาน สภาพปจั จบุ นั ความตอ้ งการของชุมชนและทอ้ งถ่ิน นโยบาย จุดเน้น วิสยั ทศั นอ์ ตั ลักษณแ์ ละเอกลักษณ์ของโรงเรยี น ตามแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น ๓. ดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัยโรงเรยี น............................... พุทธศักราช ๒๕...... ตามหลกั สูตรการศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๐ ให้เสร็จสมบรู ณ์ครบองคป์ ระกอบ โดยปรบั ปรงุ ให้ เหมาะสมกบั เด็กและสภาพทอ้ งถิ่น ๔. ดำเนนิ การตรวจสอบคุณภาพหลกั สตู ร ปรบั ปรุงคุณภาพหลักสูตร เสนอขอความเห็นชอบให้ ใชห้ ลกั สตู รตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานของโรงเรียน ใหค้ ณะกรรมการทไ่ี ดแ้ ตง่ ต้ังดำเนนิ งานตามท่ีไดร้ ับมอบหมายอย่างเต็มความรู้ ความสามารถ ให้การ ดำเนนิ งานประสบผลสำเสร็จอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ต่อบริหารจัดการศกึ ษา ทง้ั น้ี ตัง้ แต่บัดนีเ้ ป็นตน้ ไป สั่ง ณ วนั ที่ ........ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕...... (...............................................) ผู้อำนวยการโรงเรยี น.............................

พฒั นาการด้าน.................. การวเิ คราะห มาตรฐานท.่ี ......../............................................... ชัน้ อบ.3(5-6 ป)ี ตวั บ่งช้ี ช้ัน อบ.1(3-4 ปี) สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ ชัน้ อบ.2(4-5 ป)ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook