Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19

การศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19

Published by Reading Room, 2021-08-10 03:56:50

Description: กลุ่ม 9 การศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจัย การศกึ ษาพฤตกิ รรมการดูแลตนเองในการป้องกันการติดเช้ือ COVID-19 A Study of Self-Care Behaviours against COVID-19 among Students of the Faculty of Nursing Naresuan University, Academic Year 2020 นางสาวกมลชนก โดย 61560046 นางสาวจริญญา ยา่ นสากล 61560121 นางสาวชฎาพร กดุ พรม 61560220 นางสาวธญั ยพร ทองไหล 61560510 นางสาวภทั ราวดี จนั เขยี น 61560855 นางสาวศศนิ ันท์ โรจนวจิ ิตร 61561050 นางสาวสุกญั ญา หลวงช่ืน 61561180 นางสาวอรญั ญา วะอนิ ทร์ 61561425 ปัญญาดี อาจารยท์ ป่ี รึกษา ผศ.ดร.คทั รียา รตั นวมิ ล รายวิชา 501378 วจิ ัยเบ้อื งตน้ ทางการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร

ก กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจยั ฉบบั น้ี สาเรจ็ สมบรู ณ์ไดด้ ว้ ยความอนเุ คราะห์จากสถาบัน และบุคคลต่างๆ ดังนี้ ผศ.ดร. คทั รียา รัตนวมิ ล ท่ีให้ความกรุณาเป็นทปี่ รกึ ษางานวจิ ัยและใหค้ าแนะนา ให้กาลังใจ ในการทางานวิจัยเป็นอยา่ งดี ตลอดจนชว่ ยแนะแนวทางแก้ปญั หาและให้ความรู้เกีย่ วกบั วิธีการทางานวิจัย ผศ.แสงหลา้ พลนอก ผศ.ดร.เชาวนี ลอ่ งชูผล ดร.กมลรจน์ วงษ์จนั ทรห์ าญ ผศ.ดร.จิรารัตน์ หรือตระกลู และ ดร.แสงเดือน อภิรัตนวงษ์ ท่ีให้ความกรุณาเป็นผู้เชย่ี วชาญในการตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือ นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ ชัน้ ปที 1่ี -4 ท่ีให้ความอนเุ คราะห์ในการตอบแบบสอบถามงานวิจยั รองศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด วรรณพรศิริ คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ ที่ใหค้ วามกรุณา เซ็นยินยอมการทาวิจัย ในคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และขอบคุณเจ้าของเอกสาร และแหลง่ สารสนเทศท้งั หมด ทไ่ี ด้นามาใชป้ ระโยชน์ในการ พัฒนางานวจิ ัยในครงั้ นี้ คณะผทู้ าวิจยั คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 28 มนี าคม 2563

ข ชอ่ื วจิ ัย การศกึ ษาพฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกนั การติดเชอื้ COVID-19 ของนสิ ิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปีการศกึ ษา 2563 ผวู้ จิ ยั นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลยั นเรศวร ทป่ี รึกษา ผศ.ดร.คทั รยี า รัตนวมิ ล คาสาคัญ พฤติกรรมการดูแลตนเอง การป้องกันการติดเชือ้ COVID-19 บทคดั ย่อ การวิจัยคร้ังนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองในการ ปอ้ งกันการติดเช้ือ COVID-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 โดยใช้ ทฤษฎีการพยาบาลของนิวแมน เป็นกรอบแนวคิดในการวจิ ัย กลุ่มตวั อย่างเป็นนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ ช้ันปี ที่ 1-4 จานวน 224 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย เป็นข้อคาถามเก่ียวกับพฤติกรรมการดูแลตนเองในการ ป้องกันเชื้อ COVID-19 จานวน 27 ข้อ ซึ่งมาจากการสร้างเองจานวน 13 ข้อและมาจากงานวิจัยของ ธานี กล่อมใจ, จรรยา แก้วใจบุญ และ ทักษิกา ชัชวรัตน์, (2563) จานวน 14 ข้อ นาไปตรวจสอบความตรงตาม เน้ือหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน ได้ค่า IOC 0.6-1.0 หลังจากน้ันนาไปวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยหา ค่าสัมประสิทธิแอลฟาครอนบาค มีค่า .96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา หาค่าเฉล่ียและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่านิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 มีระดับคะแนน พฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 ในระดับมากที่สุด ( X = 4.31, S.D. = 0.838) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ระดับคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันเช้ือ COVID-19 มากที่สุดคือ ด้านการสวมหน้ากากป้องกัน ( X = 4.436, S.D. = 0.799) รองลงมาคือ ด้านการติดตามความรู้ เก่ียวกับ COVID-19 ( X = 4.435, S.D.0.768) และด้านการรับประทานอาหารสุกสะอาด ( X = 4.435, S.D.0.785) การเว้นระยะห่างทางสังคมและการกักตัวอยู่ในระดับดีมาก ( X = 4.191, S.D. = 0.908) และ ระดับคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันการติดเชอ้ื COVID-19 น้อยทีส่ ุด คือ ด้านการล้างมืออยู่ ในระดบั ดีมาก ( X = 4.074, S.D. = 0.930)

ค TITLE A Study of Self-Care Behaviors against COVID-19 among Student of the AUTHOR Faculty of Nursing Naresuan University, Academic Year 2020 Miss Thanyaporn Jankhian ASSISTANT Miss Chadaporn Tonglai KEY WORDS Miss Aranya Panyadee Miss Charinya Kudprom Miss Sasinan Luangchuen Miss Phattharawadi Rodchanawechit Miss Sukanya Wain Miss Kamonchanok Yansakon Assist. Prof. Dr.Cathareeya Rattanawimol Self-care behavior, COVID-19 infection prevention Abstract This study is a descriptive study aim to study COVID-19 prevention behaviors among students in faculty of Nursing, Naresuan University, academic year 2020, using theory of Neuman System Model to be a conceptual framwork. Students from first to fourth-year Nursing students (N=224) participated in the study. The data was collected through a questionaire about self-care behavior in the COVID-19 infection prevention, total 27 questions. Thirteen questions were created by ourselves and the others were selected from researches from Thanee Glomjai, Junya Kaewjiboon and Taksika Chachvarat (2563). The content validity of the questionaire was checked by five experts (IOC=0.6-1.0). Then, the validity was analyzed by finding the Cronbrach's alpha coefficient (coefficient= 0.96). The data was analyzed through descriptive statistics, mean, and standard deviation. The results revealed that students in faculty of Nursing, Naresuan University, academic year 2020, have the highest level of self-care behavior in the COVID-19 infection prevention (X = 4.31, S.D. = 0.838). When considered individually, it was found that the highest level of self-care behavior in the COVID-19 infection prevention was wearing a mask. (X =4.436, S.D. = 0.799). Followed by tracking knowledge about Covid-19 (X = 4.435, S.D.0.768), and eating clean cooked food (X = 4.435, S.D. =0.785). Social distancing and quarantine were in a good level

ง (X =4.191, S.D. = 0.908). The lowest self-care behavior score in COVID-19 infection prevention was the handwashing, at a very good level. (X = 4.074, S.D. = 0.930).

จ สารบญั หน้า กติ ตกิ รรมประกาศ.................................................................................................................................... ก บทคดั ย่อ(Thai)......................................................................................................................................... ข บทคัดย่อ(Eng).......................................................................................................................................... ค สารบญั ............................................................................................................................ ......................... จ สารบญั ตาราง........................................................................................................................................... ช สารบัญภาพประกอบ............................................................................................................................... ซ บทท่ี1 บทนา................................................................................................................... ....................... 1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา.................................................................................... 1 คาถามการวิจัย........................................................................................................................... 5 วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั .................................................................................................................. 5 สมมติฐานการวจิ ัย...................................................................................................................... 6 ขอบเขตการวจิ ัย………………………………………………………………………………………………………..... 6 คาจากดั ความ............................................................................................................................. 6 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ บั ………………………………………………………………………………………….... 8 บทที่ 2 เอกสารและวิจัยที่เกยี่ วขอ้ ง…………………………………………………………………………….......…..……. 9 ความเป็นมาของสถานการณ์ COVID-19………………………………………………………..............…… 10 กลุ่มเสย่ี งติดเช้ือ COVID-19…………………………………………………………………………………….....… 17 ปจั จยั เสีย่ งท่ไี ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19……………………………………………........ 18 แนวทางและการดูแลตวั เองจากกการป้องกนั การติดเชื้อ COVID-19……………….......……………. 21 การพยาบาลผู้ปว่ ยท่ีติดเชื้อไวรสั COVID-19............................................................................. 36 การตดิ ตามความรู้เก่ียวกับ COVID-19...................................................................................... 42 โรคติดต่อทางเดินหายใจ........................................................................................................... 43 ทฤษฎีระบบของนิวแมน (Neuman System Model)............................................................ 45 งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วข้อง................................................................................................................... 49 บทท3ี่ วิธีการดาเนนิ การ……………………………………………………………………….......……………………………. 56 ลกั ษณะประชากรเเละกล่มุ ตวั อยา่ ง……………………….............................................……………... 56 เครื่องมอื ท่ีใช้ในการวิจัย……………………………………………………………………...……….....…………. 58 การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวจิ ยั ………………………...................………………………………….... 60 การพทิ ักษ์สทิ ธ์ิ......................................................................................................................... 62 ขน้ั ตอนการดาเนินการและการเก็บรวบรวมข้อมลู …………….....................................…………… 62

ฉ สารบญั (ตอ่ ) หน้า 63 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล…………………..............………….......................................................……………………….. 64 บทท4ี่ ผลการวจิ ยั ………………………………………………………………………………………………….…………...…... 67 บทที่5 บทสรุป…………………………………………………………………………………………….......……………………... 67 68 สรุปผลการวิจยั ………………………………………………......................................…………………………. 71 อภิปรายผล…………………………………………................................…………………………………………. 72 ข้อเสนอแนะจากผลวิจัย………………………………………………….......................……………………….. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป……………………………………………………………………........……... บรรณานกุ รม

ช สารบญั ตาราง ตาราง หน้า 1 ผลดาเนนิ การคดั กรองผู้ท่ีไดร้ ับการตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการ ………………………... 13 2 แนวทางปฏิบตั กิ ารรักษาทางทนั ตกรรม ……………………………………………………. 31 3 ขนาดยารักษา COVID-19 ที่แนะนาในผู้ใหญแ่ ละเด็ก ………………………………… 39 4 ตารางสรุปจานวนประชากรและจานวนกลมุ่ ตวั อยา่ งในแตล่ ะชนั้ ปที ่ีใช้ศกึ ษา …. 58 5 ตารางแสดงเกณฑ์การแปลผลคะแนนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ………… 59 6 จานวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอย่าง จาแนกตาม เพศ อายุ ระดบั การศึกษา โรคประจาตัว ประวัติการเดนิ ทาง …………………………………………………………. 64 7 คา่ เฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดบั คะแนนของพฤติกรรมการดูแล ตนเองในการปอ้ งกันการติดเชื้อ COVID-19 ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ......................................................................................... 66

สารบญั ภาพประกอบ ซ ภาพประกอบ หน้า 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย ....................................................................................... 55

1 บทท่ี 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา โรคติดเช้ือทางเดินหายใจ เกิดจากการติดเช้ือโรคของระบบทางเดินหายใจ ตั้งแต่ จมูก คอ หลอดลม ไปจนถงึ ปอด เช้อื ทเ่ี ปน็ สาเหตุส่วนใหญ่จากเชื้อไวรัส ได้แก่ โรคหวัด ไข้หวัดใหญ่ ไข้หวดั นก และซารส์ เปน็ ต้น การติดเช้ือจากแบคทีเรีย ได้แก่ ปอดบวม และวัณโรค เป็นต้น โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ท่ีเกิดขึ้นได้บ่อยท้ัง ในเด็กและผู้ใหญ่ บางคนอาจเป็นปีละหลายคร้ัง เช่น โรคหวัด สามารถหายได้เองโดยการดูแลสุขภาพตนเอง อย่างถกู ต้อง การตดิ ต่อโรคตดิ เช้ือทางเดนิ หายใจสามารถติดตอ่ ไดห้ ลายทาง คือ การไอ จาม หรือหายใจรดกัน เชือ้ โรคจะปนเป้ือนกบั ฝอยละอองของเสมหะ น้ามกู น้าลาย ฝอยละอองขนาดเล็ก จะล่องลอยอยู่ในอากาศผู้ท่ี อยู่ใกล้ชิดสูดลมหายใจเข้าไปก็จะติดเช้ือได้จากการสัมผัสกับน้ามูก น้าลาย ของผู้ป่วยโดยตรง จากการดูแล ใกล้ชิดกับผู้ปว่ ย การสัมผัสกับสิ่งของเคร่อื งใช้ของผปู้ ่วย เช่น เส้ือผ้า ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว แก้วน้า ช้อน จาน ชาม ของเล่น หนังสือ ฯลฯ หรือสิ่งสาธารณะที่แปดเปื้อนเช้ือโรค เช่น ลูกบิดประตู ราวบันได ราวโหนรถเมล์ เป็นต้น (คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล, 2563) ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) หรือ COVID-19 เป็นไวรัสท่ีติดต่อทางเดินหายใจถูกพบครั้งแรกในปี 1960 แต่ยงั ไม่ทราบแหล่งที่มาอย่างชัดเจนวา่ มาจากท่ีใด แต่เป็นไวรัสที่สามารถติดเช้ือได้ทัง้ ในมนุษย์และสตั ว์ ปัจจุบันมีการค้นพบไวรัสสายพนั ธ์นุ ้ีแลว้ ท้งั หมด 6 สายพันธ์ุ สว่ นสายพนั ธท์ุ ีก่ าลงั แพร่ระบาดหนักท่ัวโลกตอนนี้ เป็นสายพันธุ์ท่ียังไม่เคยพบมาก่อน คือ สายพันธุ์ท่ี 7 จึงถูกเรียกว่าเป็น “ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่” และใน ภายหลังถูกต้ังชื่ออย่างเป็นทางการว่า “โควิด-19” (COVID-19) รูปร่างและลักษณะของไวรัสโคโรนาจะมี ปลอกทีห่ ่อหุ้มสารพันธุกรรมชนิด RNA และไวรัสวิรอิ อ (ไวรัส ท้งั ตัว) มีลักษณะกลมหรือเป็นรูปวงรี ส่วนใหญ่ มหี ลายรูปแบบ มขี นาด เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางต้งั แต่ 50 ถึง 200 นาโนเมตร โดยไวรัสโคโรนามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 ถึง 140 นาโนเมตร มีปุ่มอยู่บนพื้นผิวภายนอกและก่อตัวในลักษณะเป็นท่อน โปรตีนหนามเป็นโปรตีน แอนติเจนหลักของไวรัสท่ีใช้ในการเพ่ิมปริมาณ มีโปรตีนนิวคลีโอแคปซิดห่อหุ้มสารพันธุกรรมที่เกิดจากไวรัส และ สามารถใช้เป็นแอนติเจนวินิจฉัยสาเหตุโรค (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล , 2563) จากข่าวบีบีซี วนั ท่ี 20 มิถุนายน 2563 พบว่า ท่ัวโลกมีผคู้ นอีกอย่างนอ้ ย 130,000 คน เสยี ชีวิตในช่วง ท่ีเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่แพร่ระบาด นอกเหนือไปจากยอดผู้เสียชีวิต 440,000 ราย ที่ได้รับการบันทึก อย่างเป็นทางการว่ามีสาเหตุการตายจากโรคโควิด-19 การวิเคราะห์ข้อมลู การเสียชีวิตในขั้นต้นของประชากร จาก 27 ประเทศ บ่งชี้ว่า ในหลายพื้นที่มีจานวนการเสียชีวิตโดยรวมในช่วงท่ีเช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ระบาดสูงข้ึนกว่าปกติ แม้จะมีการเกบ็ สถิติของผู้เสียชีวติ จากไวรัสมรณะน้ีก็ตามจานวนผู้เสียชีวิตสูงกว่าระดับ ปกติเหล่านี้เรียกว่า \"การเสียชีวิตเกินคาดการณ์\" ซึ่งบ่งช้ีว่าผลกระทบที่โรคระบาดครั้งน้ีมีต่อมนุษย์มีมากกว่า ตัวเลขอย่างเป็นทางการที่รัฐบาลประเทศต่าง ๆ รายงานออกมา ผู้เสียชีวิตบางคนอาจไม่ได้ถูกนับรวมว่าเป็น เหย่ือของโรคโควิด-19 ขณะท่ีคนอ่ืน ๆ อาจเสียชีวิตจากผลกระทบโดยอ้อมของโรคน้ี เช่น เสียชีวิตเพราะ ระบบสาธารณสุข มที รพั ยากรไมเ่ พียงพอท่จี ะรองรับผู้ป่วยได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ และปัจจัยอ่นื ๆ (เบคกี เดล & นาสโซส สตลี ิอานู, 2563)

2 การแพร่ระบาดของเช้ือ COVID-19 กาลังส่งผลกระทบไปทั่วโลกเป็นวงกว้าง เริ่มต้นจากการ มีผู้ติดเช้ือที่เมืองอู่ฮ่ัน ประเทศจีน และแพร่กระจายไปทั่วโลก อันส่งผลให้เกิดผู้เจ็บป่วยและเสียชีวิตเป็น จานวนมาก นอกจากนัน้ เจ้าไวรัสตวั นเ้ี องยังกระทบไปถงึ การชะงกั ของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วและอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวเน่ืองท้ังการยกเลิกเที่ยวบิน การยกเลิกการจองโรงแรม การยกเลิกกิจกรรมต่าง ๆ ลามไปถึงการชะลอ การผลิตในภาคอุตสาหกรรมท่ัวโลกที่อยู่ภายใต้ระบบห่วงโซ่คุณค่าโลก (Global Value Chain) อันส่งผล ตอ่ เน่ืองไปสู่ผลกระทบด้านการค้า การลงทุนท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศนอกจากน้ีในภาคการเงิน เองการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ก็ส่งผลต่อการตกลงในตลาดหุ้นท่ัวโลก รวมไปถึงการที่อีกหลาย ประเทศเลือกที่จะทาการ“ปิดประเทศ”อันทาให้เกิดการถดถอยทางเศรษฐกจิ อย่างรุนแรง ดังนั้นจงึ ไม่สามารถ ปฏิเสธได้ว่า เศรษฐกิจโลกของเรากาลังเข้าสู่วิกฤตเศรษฐกิจ (Global Economic Crisis) ซ่ึงมีท่ีมาจาก วกิ ฤตสุขภาพ (Global Health Crisis) เปน็ สาคัญ (พริ ิยะ ผลพิรฬุ ห์, 2563) การเจ็บป่วย เสียชีวิต การหยุดงาน หรือตกงาน ส่งผลไปสู่การสูญเสียรายได้ ซ่ึงจะส่งผลกระทบไปสู่ ค่าใช้จ่ายภายในครัวเรือน โดยการสูญเสียงานหรือเสียรายได้น้ีจะมีโอกาสเกิดข้ึนกับคนที่มีฐานะยากจนท่ีเป็น แรงงานนอกระบบ (Informal Worker) มากกว่าคนท่ีมีรายได้แน่นอน จากงานประจาและมีโอกาสท่ีจะเกิดข้ึน ในประเทศด้อยพัฒนา/กาลังพัฒนามากกว่าประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ดังน้ัน ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ เชื้อไวรัส COVID-19 นี้ จะส่งผลต่อเนื่องไปสู่ระดับความยากจนและความเหลื่อมล้าท่ีจะเพิ่มสูงข้ึนได้ ผลกระทบในระยะสั้นเหล่านี้อาจส่งผลไปสู่ผลกระทบระยะยาวได้ เช่น การที่ประเทศจะสูญเสียขีด ความสามารถในการแข่งขันและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว ( Long-Term Economic Growth) เน่ืองจากจะต้องใช้ทรัพยากรจานวนมากในการป้องกัน และรักษาเช้ือไวรัส COVID-19 นี้ จนขาด แคลนทรัพยากรในการลงทุน ในโครงสร้างพ้ืนฐานที่จาเป็น นอกจากน้ียังเกิดการสูญเสียทางด้านทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศที่จะต้องเจ็บไข้ได้ป่วยเรื้อรัง (เช่น โรคท่ีเกี่ยวข้องกับปอด) หรือการที่เด็ก นักเรียนนักศึกษาจะต้องหยุดเรียน โดยเฉพาะในประเทศท่ีมีฐานะยากจนที่ระบบการพัฒนาทุนมนุษย์อย่าง ระบบสาธารณสุข และระบบการศึกษายังไม่ครอบคลุมทั่วถึงนัก (สานักงานที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ประจาสถานเอกอัครราชทตู ณ กรุงวอชิงตนั ดี.ซี, 2563) ผู้ประสานงานสหประชาชาติประจาประเทศไทย การระบาดของ COVID-19 อาจกระทบต่อความ พยายามของประเทศไทยท่ีจะบรรลุเปา้ หมายการพัฒนาทย่ี ั่งยืน (SDGs) และส่งผลลบตอ่ ความก้าวหนา้ ในการ ดาเนินการตลอด 2-3 ปีที่ผ่านมา“ความม่ันคงทางเศรษฐกิจเป็นประเด็นที่น่าเป็นห่วง เน่ืองจากเกือบครึ่งของ ตลาดแรงงานได้รับผลกระทบรุนแรงอย่างเห็นได้ชัด แม้ว่าทั้งผู้หญิงและผู้ชายได้รับผลกระทบเท่า ๆ กัน แต่ผู้หญิงมีความเส่ียงสูงกว่าทั้งทางสังคมและทางเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ผลกระทบจะบรรเทาลงได้ด้วยการ มุ่งเน้นไปที่นโยบายที่ส่งผลต่อประชาชนและส่ิงแวดล้อม การฟ้ืนตัวอย่างยั่งยืนต้องอาศัยการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องสู่เป้าหมายเพอื่ รับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และการสร้างงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สหประชาชาติยังคงให้การสนับสนุนประเทศไทยในการเปล่ียนผ่านสู่ความปกติใหม่ ”รายงานของ สหประชาชาติ ได้ตระหนักถึงการดาเนินนโยบายท่ีรวดเร็วของรัฐบาล เพื่อสกัดกั้นและลดผลกระทบของ COVID-19 อย่างไรก็ตามนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ ซึ่งปัจจุบันคิดเป็น ร้อยละ 15 ของจีดีพี และมีสัดส่วน

3 ใกล้เคียงกับประเทศอ่ืน ๆ นั้น ยังคงต้องมีการพัฒนาเพ่ิมเติม โดยเฉพาะการปรับมาตรการต่าง ๆ ในแผนเพื่อ ตอบโจทย์เศรษฐกิจไทย รายงานได้นาเสนอว่า การใช้จ่ายของภาครัฐเป็นมาตรการที่ส่งผลมากทส่ี ุดต่อการฟ้ืน ตวั ของเศรษฐกิจและการจ้างงาน ตามด้วยการมอบเงนิ สนับสนุนโดยตรงให้แก่ผู้ที่เดือดรอ้ นมากท่ีสุด และการ ชว่ ยเหลือด้านสินเชอื่ สภาพคลอ่ ง การลดภาษี และการเลอื่ นชาระภาษีสาหรับผูป้ ระกอบการ ตลอดจนการลด อัตราดอกเบีย้ ของธนาคารแห่งประเทศไทย (กตี า้ ซับบระวาล, 2563) สาธารณสุขพิษณุโลก ร่วมกับ ผอ.รพ.พุทธชินราช แถลงสถานการณ์ COVID-19 พบผู้ติดเชื้อใหม่ 1 ราย เป็นนักศึกษาหญิงกลับจากต่างประเทศกักตัวคนในครอบครัวเป็นผู้สัมผัสใกล้ชิดแล้ว ติดคนกลับจาก กทม.-ปรมิ ณฑล ไมก่ ักตวั เอง เม่ือเวลา 10.00 น. วนั ที่ 3 เม.ย. 2563 ท่ศี าลากลางจังหวัดพษิ ณุโลก นายแพทย์ รัฐภูมิ ชามพูนท รักษาการนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก พร้อมด้วย นายแพทย์สุชาติ พรเจริญพงศ์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลพุทธชินราชได้ร่วมกันแถลงข่าวสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 ในจังหวัดพษิ ณุโลก หลงั จากพบผู้ติดเช้ือรายใหม่เพ่ิมอีก 1 ราย สถานการณ์แพร่ระบาดไวรัส COVID-19 ล่าสุด พบผู้ติดเช้ือรายใหม่เพิ่ม 1 ราย รวมยอดสะสม 4 ราย ยังไม่มีผู้เสียชีวิต โดยผู้ป่วยติดเช้ือรายใหม่เป็นนักศึกษาหญิง อายุ 23 ปี เดินทางกลับจาก สหราชอาณาจักร เม่ือวันที่ 31 มี.ค. 2563 โดยเริ่มมีอาการไข้ตั้งแต่วันท่ี 20 มี.ค. 2563 แต่กินยาลดไข้จึงไม่ แสดงอาการ บิดาซ่ึงเป็นนักการเมืองจังหวัดพิษณุโลกได้รับบุตรสาวแล้วพาไปตรวจหาเช้ือไวรัส COVID-19 ที่โรงพยาบาลเอกชนแห่งหน่ึง และเดินทางกลับจังหวัดพิษณุโลกโดยไม่แวะพักที่ใด และกักตัวอยู่ในบ้านตาม มาตรการ 14 วัน โดยไม่สมั ผัสกับคนในครอบครัว วนั ท่ี 2 เม.ย. 2563 ไดร้ ับแจ้งว่าตดิ เชื้อไวรสั COVID-19 ขณะน้ีรักษาตัวอยทู่ ี่โรงพยาบาลพุทธชินราช อาการไม่น่าเป็นห่วง ทางสานักงานสาธารณสุขจังหวัดได้ให้กักตัวคนในครอบครัวซ่ึงเป็นผู้สัมผัสใกล้ชิดไว้ จานวน 5 คน และผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก สั่งการให้ฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อและทาความสะอาดห้องทางาน รวมทง้ั บรเิ วณจุดเสย่ี งแล้ว (สชุ าติ พรเจรญิ พงศ์, 2563) จงั หวัดพิษณโุ ลก มผี ู้เดนิ ทางกลับจากประเทศกล่มุ เสย่ี งทมี่ ีการระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัส COVID-19 ท้ังเขตติดโรคอันตราย และพื้นท่ีท่ีมีการระบาดต่อเนื่อง กระจายท้ัง 9 อาเภอ รวม 277 คน ยังอยู่ในการ ติดตามเฝา้ ระวงั อาการปกติ จานวน 61 คน ส่วนผู้ทเี่ ดินทางกลบั จากกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล มีจานวน 5,177 คน พบว่าท้ังหมดนี้ไม่ได้อยู่กบั บ้านเท่าที่รณรงค์ไว้ แต่กลับออกจากบ้านไปสถานท่ีต่าง ๆ ทาให้มีความ เส่ียงในการเกิดโรคได้ กรณีผู้ติดเช้ือ 3 รายแรกของจังหวัดพิษณุโลก พบว่ามีผู้สัมผัสมากเกือบ 1,000 คน ทาให้ทางเจ้าหน้าที่ต้องดาเนินการติดตามเพื่อแยกตัวออกจากสังคมเป็นเวลา 14 วัน และส่งต่อข้อมูลให้กับ เจ้าหน้าทส่ี าธารณสุขฯ เพื่อระวังคดั กรองกลุม่ เส่ยี งตอ่ ไป (รฐั ภูมิ ชามพูนท, 2563) ไวรัส COVID-19 น้ี ถ้าเรายังปฏิบตั ิตัวตามปกติ ไปกินข้าว ดูหนัง ช้อปป้ิง ชมคอนเสริ ์ตอย่เู หมือนเดิม และจะมีอัตราผู้ติดเช้ือไวรัสเพ่ิมขึ้นสูงมากอย่างรวดเร็ว ข้อดีคือไวรัสน้ีจะหมดไปจากสังคมไวข้ึนเพราะมีคน จานวนมากท่ีสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ และจะเป็นเกราะธรรมชาติท่ีช่วยลดการแพร่กระจายเชื้อให้คนอื่น ๆ ในสังคมไดม้ ากขนึ้ ด้วยและ ข้อเสียคอื เวลาท่ีมีคนติดเช้ือเป็นจานวนมากข้ึนอย่างรวดเรว็ ในช่วงระยะเวลาส้ัน ๆ ถ้าบ้านเรามีกาลังทรัพย์ และมีแนวนโยบายอย่างจีนที่สามารถส่ังการสร้างโรงพยาบาลและสถานกักกันโรค

4 ขนาด 1,000 เตียง ได้ในระยะเวลาสิบกว่าวนั มนั จะไม่น่ากลัวแต่ในภาวะท่เี ราขาดแคลนทรัพยากรท้ังบุคลากร ทางการแพทย์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์โดยเฉพาะอุปกรณ์ป้องกันการแพร่กระจายเช้ือ เครื่องช่วยหายใจ และยารักษาเช้ือไวรัส การท่ีต้องดูแลผู้ติดเชื้อจานวนมากให้อยู่รอดปลอดภัยได้มันไม่ง่ายเลย สมมติถ้า โรงพยาบาลเรามีเครื่องช่วยหายใจท้ังหมด 40 เครื่อง แต่มีผู้ป่วยวิกฤตท่ีต้องการใช้เคร่ืองช่วยหายใจอยู่ 100 คน เราจะตัดสินใจให้ใครใช้เคร่ืองช่วยหายใจอย่างไรดี กรณีน้ีเกิดขึ้นท่ีอิตาลีแล้ว เน่ืองจากท่ีอิตาลีมี จานวนคนป่วยด้วยโรคนี้มากเกินกว่าท่ีเจ้าหน้าท่ีและเครื่องมือทางการแพทย์จะรองรับได้ แพทย์อิตาลีจึงต้อง ใช้วิธีประเมินโรคตามแนวโน้มโอกาสในการรอดชีวิตของผู้ป่วย และนี่ก็เป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทาให้อัตราการ เสียชีวติ จาก COVID-19 ของอติ าลสี ูงขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ (ขวัญแก้ว วงษ์เจรญิ , 2563) กลุ่มวัยรุ่น วัยทางานท่ีติดเชื้อแต่ไม่แสดงอาการ เป็นกลุ่มที่แพร่เช้ือมากที่สุด ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา กล่าวว่า คนติดเช้ือมักเป็นคนทางาน วัยหนุ่มสาว แต่ไมร่ ู้ตัวและหลายคนก็ไมแ่ สดงอาการประมาณ 80% เรียกได้ว่า ไม่มีทางรู้หรืออาจจะยากมากที่จะระบุว่าติดจากไหน และจะสามารถแพร่เช้ือได้ก่ีวัน ก่อนมี อาการไม่มีใครบอกตัวเลขได้ชัดเจนในแต่ละราย ซ้าร้ายพอมีอาการกลับมีอาการน้อยจนไม่รู้สึก กลายเป็นตัว แพรเ่ ชื้อ โดยเฉพาะในกล่มุ หนุ่มสาวทแี่ ขง็ แรง ปญั หาญาตมิ าเย่ียมผูป้ ่วยทีโ่ รงพยาบาล อาจจะพาโรคมาแพรใ่ ห้ โดยวัดไข้ก็ไม่ขึ้น เดินกระฉับกระเฉง และเหล่านี้คือคนหนุ่มสาวส่วนมากท่ีมีกิจกรรมชีวิตโลดแล่น มีชีวิตชีวา เป็นตัวแพร่เชื้อท่ีมีประสิทธิภาพ ถ้าคนอย่างน้อยคร่ึงประเทศติดเช้ือถ้าไม่ตายไปเสียก่อนก็จะมีภูมิคุ้มกัน และเริ่มทาให้ประเทศปลอดภัย จาได้หรือไม่วิธีการเช่นน้ี คือ วิธีการเดียวกันกับที่เราต้องฉีดวัคซีนให้หมาทั่ว ประเทศอย่างน้อย 60% เพ่ือควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า น่ันคือ การเกิดภูมิคุ้มกันหมู่ (herd immunity) ใน COVID-19 เมื่อติดเช้อื ในคน 80% มีอาการนอ้ ยก็จะหายเอง และจะเปน็ หนมุ่ สาวที่ไม่มโี รคประจาตัว แต่กลายเป็นคนแพร่เชื้อที่มีประสิทธิภาพ แต่บางรายก็รุนแรงถึงตายได้ ส่วนอีก 20% ท่ีเหลือมักจะเป็นคน สูงอายุ 65 ปีข้ึนไป มีโรคประจาตัวถึงขนาดต้องเข้าโรงพยาบาล อัตราตายอาจสูงถึง 20-50% ขึ้นกับปัจจัย หลายอย่าง คือ ถ้าปล่อยให้เป็นตามธรรมชาติตามยถากรรมไม่มีการควบคุมและแน่นอนไม่มีทรัพยากรในการ รกั ษาได้ทั่วถึงจะสงบได้โดยเร็วแต่เสียชีวิตมหาศาล ระบบสาธารณสุขยอ่ ยยับ เจ้าหน้าที่เสยี หายมหาศาล และ ควบคุมเท่าท่ีจะทาได้ตามระดับ โดยหวังให้ประชาชนมีวินัย งดการชุมนุม รวมกลุม่ สถานบริการสถานบันเทิง รวมท้ังควบคุมโรงงานมีการทางานแออัด งดเทศกาลทุกชนิด ป้องกัน จากัดการแพร่ในท่ีสาธารณะ หรือ ควบคมุ อย่างเข้มงวดโรคจะเป็นไปเร่ือย ๆ จนประมาณ 7-9 ปี หรือเม่ือมีวัคซีนแต่หมายความว่าทุกคนจะต้อง ถือสันโดดตลอด หรือควบคุมได้ระดับหนึ่ง โรคจะปะทุขึ้นอย่างรุนแรงภายใน 2 ปี และสงบเพราะในแต่ละ เดือนจะต้องยอมให้เกิดคนติดเชื้อ 30 ล้านคน หารด้วย 24 เดือน แต่ละเดือนจะมีคนติดเช้ือเป็นแสน และ ความเสียหายจะเห็นได้แบบเดียวกัน แม้จะน้อยกว่าบ้างกับมาตรการเข้มปิดบ้าน ปิดประเทศ 21 วัน พ้น ระยะฟกั ตัว และระยะแพร่เชื้อ สาหรับคนท่ีมีอาการน้อยซ่ึงจะหายเองท้ังหมดโดยไมต่ ้องมีการรักษาใด ๆ แต่ ถ้าอาการมากก็รีบรับตัวเข้าไปรักษาท่ีโรงพยาบาล มาตรการน้ีทาสาเร็จในประเทศจีนแม้ว่าจะทาหลังจากท่ีมี การระบาดมหาศาลในประเทศแลว้ ก็ตาม มาตรการน้ีจะทาให้ประเทศสะอาดและกลับมาดาเนนิ ชีวติ มีเทศกาล ได้ “ใกลเ้ คยี งแต่ไม่ถึงกบั ปกติ” ภายในเวลาอันรวดเรว็ โดยยงั ต้องมีระยะหา่ ง 2 เมตร ทั้งการทางานในสถานที่ ทางาน ในโรงงาน ในรถโดยสารสาธารณะ แต่ทาให้มีความเชื่อม่ันจากทั้งในและนานาประเทศ และสามารถที่

5 จะเลือกนักท่องเท่ียวจากพ้ืนท่ีใดก็ได้ มาตรการนี้ไม่ใช่มาตรการท่ีทาไม่ได้หากเพราะภาคธุรกิจเอกชนพร้อมท่ี จะให้คาแนะนาและช่วยรัฐบาลอย่างเต็มท่ีในขณะท่ีดาเนินการอยู่ และต้องคานึงถึงคนที่หาเช้ากินค่าเป็น อนั ดับแรก (ธรี ะวฒั น์ เหมะจฑุ า, 2563) สถิติทัว่ โลกของการเสยี ชวี ติ จากเชอื้ ไวรัส COVID-19 วา่ สว่ นใหญเ่ ป็นกลุ่มผสู้ งู อายุ ในขณะที่อายยุ ิ่ง น้อย อตั ราการเสยี ชวี ิตกย็ ่ิงตา่ ลง ดังนน้ั กลมุ่ คนหน่มุ สาวที่ตดิ เชื้อ แต่ไมแ่ สดงอาการ อาจนาเช้ือกลับไปแพร่ ใหค้ นในครอบครวั หรือผู้สูงอายุที่บา้ นได้ สถิตขิ องการเสียชวี ติ ของคนอายุ 80 ปขี ึ้นไป = 21.9% อายุ70-79ป=ี 8% อายุ 40-49 = 0.4% อายุ 30-39 = 0.2% อายุ 20-29 = 0.2% ระยะเวลาการฟักตัว (incubation period) = 2-14 วนั อตั ราการแพร่เช้ือ = 2-2.5 คน 1 คน สามารถแพร่เชอื้ ไปถงึ 2-2.5 คน โดยเฉลีย่ สรปุ คอื โอกาสที่คนสว่ นใหญ่จะเสยี ชวี ติ จากการตดิ เชอื้ ไวรสั COVID-19 นี้ มอี ยู่น้อยถึงน้อยมาก แตด่ ว้ ยเหตุท่ีระยะเวลาของการฟักตวั = 2-14 วัน โอกาสทีค่ นสว่ นใหญ่ที่ ติดเชือ้ แต่ไมร่ ู้ตวั วา่ ตดิ เชือ้ จะแพรเ่ ช้ือไปถึงกลุ่มทเ่ี สี่ยงทีส่ ุด คือ อายุ 80 ปีขน้ึ ไป ก็จะมีอยสู่ ูงมาก (ณัฐวฒุ ิ เผา่ ทวี, 2563) พฤตกิ รรมของคนวัยทางาน และคนหนุ่มสาว เม่ือครั้งท่ีออกมาแถลงข่าวเก่ียวกับสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัส ในเร่ืองการกักตัว และเพ่ิมระยะห่างทางสังคม ส่งผลให้มีการแพร่เช้ือไปสู่คนจานวนมาก ซึ่งผู้ป่วยสว่ นใหญ่เปน็ คนวัยหนุ่มสาว และวัยทางานมีประวัตเิ ดินทางไปต่างประเทศที่เปน็ พนื้ ที่เสี่ยง ไปสถานที่ มีคนแออัด ร่วมกิจกรรมสงั สรรค์ และหลายคนไม่ลดกิจกรรมทางสังคม ไม่เว้นระยะห่างระหว่างบุคคลท่ีสาคัญ ไม่ยอมกักตัวเองอย่างเคร่งครัด เมื่อป่วยหรือเดินทางมาจากพื้นท่ีเสี่ยง ทาให้โรคไปติดท้ังคนใกล้ชิดใน ครอบครัว รวมท้ังเพื่อนๆ ดังนั้น ทุกคนต้องร่วมมือกันปฏิบัติตามคาแนะนาของกระทรวงสาธารณสุขอย่าง เคร่งครัด (สวุ รรณชยั วฒั นายิง่ เจรญิ ชัย, 2563) จากสถานการดังกล่าวเก่ยี วกับ COVID-19 ในประเทศ ประชาชนโดยเฉพาะกล่มุ วนั รุ่น วัยทางานควร มีความใส่ใจในการป้องกันตนเองมากที่สุด เนื่องจากวัยน้ีเป็นวัยท่ีเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อไวรัส COVID-19 เป็นอย่างมาก คณะผู้จัดทาจึงต้องการศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองในป้องกันการติดเช้ือ COVID-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 1-4 มหาวิทยาลัยนเรศวร เพ่ือเป็นการวางแผนแนวทางในการป้องกัน COVID-19 ตอ่ ไป คาถามการวจิ ยั ระดบั คะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองในป้องกันการติดเชอ้ื COVID-19 ของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรอยใู่ นระดบั ใด วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัย เพอ่ื ศึกษาพฤติกรรมการดแู ลตนเองในการป้องกนั การตดิ เชอื้ COVID-19 ของนสิ ิตคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร

6 สมมติฐานการวจิ ยั นิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรมรี ะดบั คะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองในป้องกัน การติดเชือ้ COVID-19 อยูใ่ นระดับมากที่สดุ ขอบเขตการวิจยั 1.ขอบเขตดา้ นเนื้อหา งานวจิ ยั ท่ีจะศึกษาคอื การศกึ ษาพฤติกรรมการดแู ลตนเองเพอื่ ป้องกนั การติดเช้ือ COVID-19 ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ 2.ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ช้ันปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2563 จานวน 503 คน ได้แก่ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 1 จานวน 120 คน นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ช้ันปีที่ 2 จานวน 142 คน นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 3 จานวน 116 คน นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 4 จานวน 125 คน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ คือ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ช้ันปีท่ี 1-4 ปีการศึกษา 2563 จานวน 224 คน โดยเทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ันภูมิ (Stratified Sampling) ใช้สูตรคานวณของ บญุ ธรรม กจิ ปรีดาบริสทุ ธ์ิ (2535: 68) ทร่ี ะดับความคลาดเคล่อื น .05 และเพื่อ ป้องกันข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือสูญหาย (Dropout rate) และใช้วิธีคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มจากประชากร ตามสัดสว่ นของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ในแตล่ ะกลุ่มดงั นี้ นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปที ่ี 1 จานวน 53 คน นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ช้ันปีที่ 2 จานวน 64 คน นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 จานวน 52 คน นิสิต คณะพยาบาลศาสตรช์ ้นั ปที ี่ 4 จานวน 55 คน หลังจากนัน้ จงึ สมุ่ กลมุ่ ตัวอย่างแบบงา่ ย (Simple Random Sampling) โดยใชว้ ิธจี บั สลาก โดยการสุม่ แบบไมม่ ีการใส่คนื (Sampling without replacement) เพอ่ื ให้ได้ตัวแทนท่ีดขี องกลุ่มประชากร 3. ขอบเขตด้านพ้นื ท่ี ศึกษาเฉพาะนสิ ิตที่อยคู่ ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรเทา่ นนั้ 4. ขอบเขตด้านเวลา ระยะเวลาในการศึกษาและทาโครงร่างวิจยั คอื กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2563-มีนาคม พ.ศ.2563 (13เดือน) คาจากัดความที่ใชใ้ นการวจิ ัย พฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันการติดเช้ือ COVID-19 หมายถึง การปฏิบัติตนเพ่ือป้องกัน การติดเชื้อ COVID-19 ในด้านสุขอนามัยส่วนบุคคล อันได้แก่ 1) การล้างมือ 2) การสวมหน้ากากป้องกัน 3) รับประทานอาหารสุกสะอาด 4) การเว้นระยะห่างทางสังคมหรือการกักตัว 5) การติดตามความรู้เกี่ยว COVID-19

7 1. การล้างมือ หมายถึง การล้างมือ 5-6 คร้ัง/วัน ด้วยสบหู่ รือแอลกอฮอล์เจลทีม่ คี วามเข้มข้น มากกว่า70% โดยไม่ผสมน้า อย่างน้อย 20 วินาทีก่อนและหลังการทากิจกรรมต่างๆ เช่น การรับประทาน อาหาร การเขา้ ห้องนา้ การใช้ลฟิ ตห์ รอื การสมั ผสั ส่ิงของต่างๆ 2. การสวมหน้ากากป้องกัน หมายถึง การสวมหน้ากากชนิดผ้าเมื่ออยู่บ้านหรือไปในชุมชุน แออัดที่ไม่ใช่พ้ืนที่เส่ียง สวมหน้ากากอนามัยทางการแพทย์หรือหน้ากากN95เม่ือต้องออกไปยังสถานท่ีต่างๆ เช่นในชุมชนุ ท่ีแออัดเปน็ พืน้ ทเ่ี สี่ยงหรือโรงพยาบาล 3. รบั ประทานอาหารสุกสะอาด หมายถึง การรับประทานอาหารทป่ี รุงสกุ ใหม่ สะอาด และมี การใช้ช้อนกลางส่วนบุคคลในการรับประทานอาหาร ไม่รับประทานอาหารที่ปรุงด้วยสัตว์ที่เสี่ยงต่อการเป็น พาหะ เช่น คา้ งคาว ตวั ล่นิ 4. การเว้นระยะห่างทางสังคมและการกักตัว หมายถึง การเว้นระยะห่างจากบุคคลอื่นอย่าง นอ้ ย 1.5-2 เมตร รวมถึงการทากิจกรรมต่างๆ เช่น การพูดคุย การเดินสวนทางกัน ใช้บริการส่งของ Delivery การน่งั รับอาหารในร้านอาหาร หรือการหลีกเล่ียงการเดินทางไปในพื้นท่ีเสี่ยง หากเป็นกลุ่มเส่ียงต้องกักตนเอง เป็นเวลา 14 วัน หลีกเล่ียงการอยู่รวมกันเป็นกล่มุ กักตัวอยู่ในท่อี ยู่อาศัยของตัวเอง ปฏิบัติตามคาแนะนาของ หนว่ ยประสานงานในทอ้ งท่ี 5.การติดตามความรู้เก่ียว COVID-19 หมายถึง การติดตามสถานการณ์เก่ียวกับโรค เช่น วคั ซนี นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ หมายถึง นิสิตทกุ ช้นั ปที ล่ี งทะเบียนเรยี นในปีการศึกษา 2563 คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 ปัจจยั สว่ นบุคคล หมายถึง ลักษณะเบ้ืองต้นของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ซ่งึ ใน งานวิจัยนี้ ไดแ้ ก่ 1) เพศ 2) อายุ 3) ระดบั ช้ันปกี ารศกึ ษา 4) โรคประจาตวั 5)ประวตั ิการเดนิ ทาง 1. เพศ หมายถึง เพศของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 คือ ชาย หรือ หญงิ 2. อายุ หมายถงึ อายุของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศกึ ษา 2563 โดยนับเปน็ จานวนปี (เกนิ 6 เดือน คิดเปน็ 1 ปี) 3. ระดับชั้นปีการศึกษา หมายถึง ระดับชั้นปีที่นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์กาลังศึกษาอยู่ ปีการศกึ ษา 2563 4. โรคประจาตัว หมายถึง โรคทีน่ ิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 ท่ีเป็นมาแต่กาเนิด หรือเป็นโรคเร้ือรังที่รักษาไม่หายขาด ได้แก่ โรคเบาหวาน, โรคไตเรื้อรัง, โรคปอด และทางเดินหายใจ เช่น โรคหอบหืด โรคหลอดลมอุดก้ันเร้ือรัง (COPD), โรคอ้วน (ค่า BMI>40 ข้ึนไป), โรคตับภาวะภมู คิ ้มุ กันบกพรอ่ ง เชน่ โรคมะเรง็ โรคเอดส์ และโรคหัวใจ

8 5. ประวัติการเดินทาง หมายถึง ประวัติการเดินทางของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 ในการเดินทางออกนอกจังหวัดหรือนอกประเทศในช่วง 6 เดือนท่ี ผา่ นมา ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับ 1.ไดท้ ราบถึงพฤติกรรมการดูแลตนเองเพอ่ื ป้องกันการติดเชอ้ื COVID-19 ของนสิ ิตคณะพยาบาล ศาสตรม์ หาวิทยาลยั นเรศวรปีการศกึ ษา 2563 2.เป็นแนวทางในการปรบั ปรุงและส่งเสรมิ พฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันการตดิ เชื้อ COVID-19 ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพให้แกน่ สิ ิตคณะพยาบาลศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั นเรศวร 3.เพอื่ เป็นแนวทางในการวางแผนเพ่ือป้องกนั การติดเชอ้ื COVID-19

9 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกย่ี วข้อง วิจัยเร่ืองนี้เป็นการศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองเพ่ือป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 ของนิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ ผวู้ จิ ยั ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ตารา บทความ เอกสาร และงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง โดยนาเสนอดังต่อไปน้ี 1. ความเปน็ มาของสถานการณ์ COVID-19 1.1 ท่ีมาของ COVID-19 1.2 แนวทางการติดต่อของ COVID-19 1.3 สถานการณก์ ารระบาดของไวรสั COVID-19 1.4 สถิติการระบาดของไวรัส COVID-19 1.5 ผลกระทบของไวรสั COVID-19 2. กลมุ่ เส่ยี งติดเชือ้ COVID-19 2.1 ชว่ งวัยทเี่ ส่ยี งตอ่ การตดิ เชอื้ COVID-19 2.2 อาชพี ที่เส่ยี งตอ่ การติดเช้อื COVID-19 3. ปจั จยั เส่ียงท่ีได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 3.1 โรคประจาตวั ท่ีเส่ียงตอ่ การตดิ เช้อื COVID-19 3.2 ความเครยี ดจากสถานการณ์ COVID-19 4. แนวทางและการปอ้ งกันตวั เองในสถานการณ์ COVID-19 4.1 การป้องกนั ตัวเองในสถานการณ์ COVID-19 4.2 แนวทางปฏิบตั เิ มอ่ื กกั ตวั 14 วนั 5. การพยาบาลผู้ป่วยทตี่ ิดเช้อื ไวรัส COVID-19 5.1 แนวทางการรักษาและการใช้ยาต้านไวรัส 5.2 คาแนะนาอนื่ ๆ 6. การติดตามความร้เู ก่ยี วกบั COVID-19 7. โรคตดิ ต่อทางเดนิ หายใจ 6.1 โรคติดตอ่ ทางเดนิ หายใจสว่ นบน 6.2 โรคตติ อ่ ทางเดินหายใจสว่ นลา่ ง 8. ทฤษฎรี ะบบของนิวแมน (Neuman System Model) 9. งานวิจัยที่เกยี่ วขอ้ ง

10 1.ความเป็นมาของสถานการณ์ COVID-19 1.1 ท่ีมาของไวรัส Covid-19 เช้ือก่อโรคไวรัส COVID-19 หรือชื่อเรียกอีกช่ือว่า โคโรนาไวรัส มีช่ือช่ัวคราวที่ใช้ในตอนแรก คือ 2019-nCoV ชื่อทางการในปัจจุบันคือ SARS-CoV-2 ส่วนช่ือของโรคติดเช้ือชนิดน้ี เรียกว่า COVID-19 ย่อมา จาก CO แทน corona, VI แทน virus, D แทน disease และ 19 แทน 2019 องคก์ ารอนามยั โลกต้งั ชอื่ แบบน้ี เพ่อื มใิ หเ้ กดิ “รอยมลทิน” กับประเทศ พนื้ ทผ่ี ูป้ ่วยประชาชน และสัตวท์ ่ีเกีย่ วข้องกับจดุ กาเนิด และการระบาด ของโรคน้ี เดิมมีเช้ือไวรัสชนิดนี้ 4 ชนิด ที่ก่อโรคในทางเดินหายใจส่วนบนของคนและก่อโรคไม่รุนแรง ได้แก่ HKU1, NL63, OC43 และ 229E ส่วนอีก 3 ชนิด ก่อโรคได้รุนแรงทาให้ปอดอักเสบ และถึงตายได้ ได้แก่ SARS CoV-1 (ก่อโรค SARS ในจีนและฮ่องกง 2546), MERS-CoV และล่าสุดคือ SARS-CoV-2 ส่วนตัวเช้ือ SARS-CoV-2 เอง ก็มีการกลายพันธ์ุเป็นสายพันธ์ุย่อยได้อยู่แล้ว เพราะเป็นไวรัส RNA ที่มีกระบวนการเพิ่ม จานวน และรหัสพันธุกรรมไม่ได้มีประสิทธิภาพเต็มร้อยอยู่แล้ว ทาให้มีหลายสายพันธุ์ย่อยได้ในเวลาต่อมา แต่การกลายพันธุ์เป็นสายพันธ์ุย่อยดังกล่าว ยังไม่พบข้อมูลว่า ทาให้มีการติดเชื้อง่ายขึ้นอีก ทาให้โรครุนแรง มากขึ้นอีก ทาให้เช้อื ดื้อยาตา้ นไวรัสทใ่ี ชอ้ ยู่ หรือทาให้ภมู ิตา้ นทานท่ีเกดิ ขึ้นจากการติดเชอื้ คร้งั ก่อน ใช้ไม่ได้ผล กับการติดเช้ือสายพันธุ์ย่อยในคร้ังท่ีสองหรือสาม ดังน้ัน เรื่องการกลายพันธุ์เป็นเร่ืองปกติ แต่ยังไม่มีผลร้าย อย่างใด ที่แตกต่างไปจากการก่อโรคของเช้ือ SAR-CoV-2 ของสาย พันธุ์ท่ีเป็นต้นแบบ (Parent strain) (อมร ลลี ารศั มี, 2563) จากการศึกษาเปรียบเทียบจีโนมของไวรัส 2019-nCoV ทนี่ ามาศึกษากบั ฐานข้อมูลของไวรัสท่ีเคยพบ มาก่อน ปรากฏว่าไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ มีความคล้ายคลึงทางพันธุกรรมกับไวรัสโคโรนาอีก 2 ชนิดท่ีมา จากค้างคาวมากทส่ี ุดถึง 88% ในขณะที่มีความคลา้ ยคลึงกับไวรัสโรคซาร์ส (SARS) ที่ 79% และคล้ายกับไวรัส โรคเมอรส์ (MERS) เพียง 50% (ชี เวย่ เฟิง, 2563) กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ถอดรหัสพันธุกรรม COVID-19 ท่ีระบาดในประเทศไทยจากผู้ติดเชื้อ 40 ราย พบแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม B ท่เี กิดการกลายพันธ์ุจากกลุ่ม A พบมากในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน และ การระบาดเปน็ ไปอย่างรวดเรว็ นอกประเทศจนี โดยประเทศไทยพบถึงร้อยละ 85 และกลุ่ม C ท่ีเกิดการกลาย พันธ์ุจาก กลุ่ม B โดยเร่ิมพบการระบาดในยุโรป และสิงคโปร์ ในประเทศไทยพบร้อยละ 15 ท้ังนี้ กลุ่ม A ซึ่ง เป็นเช้ือท่ีคล้ายกับเช้ือไวรัสโคโรนา ที่พบในค้างคาวและตัวนิ่ม ที่คาดว่าเป็นตน้ กาเนิดของการระบาดในคร้ังนี้ ยงั ไม่พบในประเทศไทย (โอภาส การย์กวนิ พงศ์, 2563) 1.2 แนวทางการตดิ ตอ่ ของไวรสั COVID-19 การก่อโรคในทางเดินหายใจต้องมีการแพร่กระจายเช้ือทางอากาศ (Airborne) สตั ว์ที่แพร่เชื้อต้องพ่น สิ่งคัดหล่ังออกมาทางปาก หรือผู้ป่วยต้องไอ ไอมีเสมหะ ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดจึงสูดดม เชื้อในอากาศผ่านทางฝอย ละอองขนาดใหญ่ (Droplet) และฝอยละอองขนาดเล็ก (เล็กกว่า 5 ไมครอนเรียกว่า Aerosol) เข้าไปใน ทางเดนิ หายใจ ถา้ อยู่ใกลผ้ ู้ปว่ ยในระยะ 1-2 เมตร จะติดเชื้อจากการสดู ฝอยละอองขนาดใหญ่และฝอยละออง ขนาดเล็ก จากการไอจามรดกันโดยตรง ถ้าอยู่ห่างจากผู้ป่วย 2 เมตรขึ้นไป จะติดเชื้อจากการสูดฝอยละออง ขนาดเล็ก การแพร่ทั้งสองวิธีมีการป้องกันที่มีประสิทธิภาพแตกต่างกัน ส่วนการแพร่เช้ือโดยการสัม ผัส เช่น

11 การจับมือกันหรือ มือจับของใชส้ าธารณะร่วมกัน แล้วมาแคะจมูกหรือเช็ดตาตนเองแล้วติดเช้ือพบได้น้อยมาก การแพร่ทางอุจจาระอาจจะเป็นไปได้ เพราะเช้ือออกมาทางอุจจาระได้ด้วย แต่การแพร่เช้ือวิธีน้ีจะต้องมีการ ทาให้นา้ ลา้ งอจุ จาระกระเดน็ เปน็ ฝอยละออง เพื่อใหผ้ อู้ ่ืนสดู ดมเข้าไปในหลอดลมด้วย (เป็นวิธกี ารแพรก่ ระจาย ของเช้ือ SARS-CoV ในปี 2546 ในโรงแรมทฮี่ อ่ งกง) (อรม ลลี ารัศม,ี 2563) 1.3 สถานการณก์ ารระบาดของไวรสั COVID-19 1.3.1 มรี ายงานผปู้ ว่ ยยนื ยันทั่วโลกรวม 210 ประเทศ 2 เขต บรหิ ารพเิ ศษ 1 นครรัฐ เรือ Diamond Princess เรือ Grands Princess และเรือ MS Zaandam ในวันท่ี 27 พฤษภาคม 2563 จานวน 5,701,257 ราย มีอาการรุนแรง 53,124 ราย เสยี ชวี ติ 352,573 ราย โดยประเทศทม่ี ีจานวนผ้ปู ว่ ย ยนื ยนั 10 อนั ดบั แรก ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมริกา 1,725,275 ราย บราซิล 394,507 ราย รสั เซยี 370,680 ราย สเปน 283,339 ราย สหราชอาณาจักร 265,227 ราย อิตาลี 230,555 ราย ฝร่ังเศส 182,722 ราย เยอรมนี 181,288 ราย ตรุ กี 158,762 ราย และอนิ เดยี 151,876 ราย สว่ นจีน เปน็ อันดับที่ 14 มีจานวนผปู้ ่วย 84,104 ราย (รวมฮ่องกง 1,066 ราย มาเก๊า 45 ราย) ณ วันที่ 28 เมษายน 2563 (ศูนย์ปฏบิ ัติการภาวะฉุกเฉนิ กรม ควบคุมโรค, 2563) ดังน้ี 1) เขตบริหารพเิ ศษฮ่องกง กาหนดเปดิ ให้บริการทา่ อากาศยานนานาชาติฮ่องกง บางสว่ นโดยจะเริม่ ให้บริการแวะพัก เพอ่ื เปลย่ี นเครอื่ งบินก่อนเปน็ ลาดับแรก แตไ่ ม่อนุญาตใหเ้ ดนิ ทางออก นอกสนามบนิ ต้ังแตว่ นั ท่ี 1 มิถุนายน 2563 เป็นต้นไป สาหรับกจิ การธุรกิจอกี หลายอยา่ งรวมทั้ง บาร์ คาราโอเกะ และบรกิ ารอบซาวนา รวมถึงบริการห้องสาหรับจดั งานเลี้ยง มีกาหนดเปิดใหบ้ รกิ ารอีกคร้งั ตั้งแต่วนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2563 เปน็ ตน้ ไป 2) ประเทศซาอุดอี าระเบีย เตรียมผอ่ นคลายมาตรการล็อกดาวน์ในประเทศ ในวนั ที่ 28 พฤษภาคม 2563 โดยจะมีการผ่อนคลายมาตรการจากัดการเดินทาง และยุติการประกาศมาตรการ เคอร์ฟิว ในวันที่ 21 มิถุนายน 2563 ยกเว้นเมืองเมกกะ พิธีแสวงบุญฮัจย์และอุมเราะห์ยังคงถูกระงับจนกว่า จะมีประกาศเป็นอย่างอ่ืน การผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์เฟ สแรกจะลดช่วงเวลาเคอร์ฟิวเป็น 15.00 น.-06.00 น. ท่ัวประเทศ ร้านค้าปลีก และค้าส่งบางแห่ง รวมถึงห้างสรรพสินค้า จะกลับมาเปิด ให้บริการอีกครั้ง ในวันท่ี 30 พฤษภาคม 2563 รัฐบาลจะเร่ิมอนุญาตการเดินทางระหว่างพื้นที่อย่างอิสระใน เวลา 06.00 น.-20.00 น. เท่ียวบินในประเทศจะกลับมาให้บริการอีกคร้ัง แต่เท่ียวบินต่างประเทศจะยังคง ระงบั การให้บรกิ ารท้ังเข้าและออก 3) ประเทศบังกลาเทศ เจ้าหน้าทสี่ าธารณสุขในพื้นทเี่ มืองคอ็ กซบ์ าซาร์ ทตี่ ง้ั ของคา่ ย ผู้อพยพชาวโรฮีนจา จานวนเกือบล้านคน เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พบว่ามีชาวโรฮีนจาประมาณ 15,000 คน ที่ต้องเข้าสู่กระบวนการกักกันโรค หลังจากพบชาวโรฮีนจาติดเช้ือโคโรนาไวรัสสายพันธ์ุใหม่ หรือ COVID-19 ในค่ายพักพิง เพ่ิมขึ้นเป็น 29 ราย โดยมีอาการเพียงเล็กน้อยเท่านั้น นอกจากน้ี รัฐบาลได้สร้างศูนย์กักกันโรค เพ่ือรักษาผู้ติดเช้ือ เอาไว้แล้ว 7 แห่ง รองรับผู้ติดเชื้อได้ 700 ราย และตั้งเป้าให้สามารถรองรับได้ 2,000 ราย ในช่วงกลางเดือนมถิ ุนายนน้ี

12 4) ประเทศอังกฤษ เตรียมเปิดกิจการห้างสรรพสินค้า ร้านค้าปลีก และอ่ืนๆ โดยให้ เวลาห้างร้านต่าง ๆ เตรียมการเพ่อื บรหิ ารจัดการความเส่ียงของการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ให้ได้ตาม แนวปฏิบัติของทางการ เป็นเวลา 3 สัปดาห์ โดยระบุว่า ตลาดกลางแจ้ง และโชว์รูมรถยนต์ สามารถเปิด ใหบ้ รกิ ารได้ ตงั้ แตว่ นั ที่ 1 มิถนุ ายน เปน็ ตน้ ไป ถา้ หากสามารถดาเนนิ การตามแนวปฏิบัติของรัฐบาลได้ ในขณะ ทีก่ จิ การค้าปลกี ทไี่ ม่จาเป็นอืน่ ๆ อาทิ ร้านขายเส้ือผ้า รองเท้า ของเลน่ เฟอร์นเิ จอร์ ร้านหนงั สือ ร้านจาหน่าย อปุ กรณ์อิเลคทรอนิกส์ ร้านตัดเสือ้ สถานประมูล สตูดิโอถ่ายภาพ และตลาดในร่ม จะเริ่มเปิดกิจการได้ ตั้งแต่ วันท่ี 15 มิถุนายน เปน็ ตน้ ไป 5) ประเทศฟิลปิ ปินส์ ยังไม่อนุญาตให้เดก็ กลับไปเรียนหนังสือที่โรงเรียน จนกว่าจะ มีวัคซีนป้องกันไวรัส COVID-19 ซึ่งเด็กนักเรียนชาวฟิลิปปินส์มีกาหนดจะกลับมาเรียนในช่วงปลายเดือน สงิ หาคมน้ี 6) ประเทศเกาหลใี ต้ ดาเนินการจับกุมผู้ที่ละเมิดกฎกักตัว จานวน 1 ราย เน่ืองจาก ออกจากศูนย์กักกันโดย ไม่ได้รับอนุญาต 2 คร้ัง และได้เพ่ิมมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด หลังจากพบ คลัสเตอร์ใหม่ ในไนต์คลับย่านอิแทวอนกลางกรุงโซล เม่ือหลายวันก่อน ต้ังแต่วันท่ี 26 พฤษภาคม 2563 เปน็ ตน้ ไป ประชาชนทว่ั ประเทศ ต้องสวมหน้ากากเมือ่ ใชบ้ รกิ ารรถโดยสารสาธารณะและแท็กซ่ี 7) ประเทศญ่ีปุ่น ยังไม่อนุมัติให้ใช้ยาฟาวิพิราเวียร์ (Favipiravir) หรือมีช่ือทาง การค้าว่า ยาอาวิแกน (Avigan) ซ่ึงผลิตโดยบริษัทโตยามะ เคมิคอล ในประเทศญ่ีปุ่น ในการรักษาผู้ป่วยโรค COVID-19 ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ เนื่องจากยังไม่มีการยืนยนั แน่ชัดถงึ ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของ ยาในการรักษาผปู้ ่วยโควิด 8) องค์การอนามัยโลก (WHO) ออกมาระบุว่า ทวีปอเมริกาได้กลายเป็นศูนย์กลาง การแพร่ระบาดใหม่ของ ไวรสั โคโรนา เนือ่ งจากมีจานวนผู้ตดิ เชือ้ และผเู้ สียชีวติ เพิ่มสงู ข้นึ อยา่ งต่อเน่ืองในชว่ งที่ ผ่านมา โดยเฉพาะใน ประเทศเปรู ชิลี เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา และนิการากัว ที่มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนอย่าง รวดเร็ว นอกจากน้ี ผู้อานวยการขององค์การอนามัยโลกที่ดูแลพ้ืนที่ในทวีปอเมริกาและหัวหน้าองค์ก ร สาธารณสุขอเมรกิ นั ย้าว่าขณะน้ียังไมใ่ ช่เวลาท่ปี ระเทศตา่ ง ๆ จะผ่อนคลายมาตรการคมุ เขม้ 9) ประเทศมาเลเซีย ใช้ยาไฮดรอกซีคลอโรควิน (Hydroxychloroquine) เพื่อการ วิจัยกับผู้ป่วยโรค COVID-19 โดยมีวัตถุประสงค์สาคัญ เพื่อป้องกันไม่ให้อาการของผู้ป่วยทรุดต้ังแต่ต้น ผู้เช่ียวชาญทุกแขนงที่เกี่ยวข้องยังไม่สรุปอย่างเป็นทางการ เก่ียวกับประสิทธิภาพของยาตัวนี้ท่ีมีต่ออาการติด เช้ือไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ แตใ่ นเวลาเดยี วกนั ยังมกี ารศึกษา เพ่ือลดการเกดิ ผลข้างเคยี ง และความพยายาม ให้ยาชนิดนี้ปริมาณน้อยท่ีสุดเท่าที่เป็นไปได้ จึงขอให้ทุกฝ่ายรอรายงานขององค์การอนามัยโลกเกี่ยวกับเร่ืองนี้ ซ่ึงสอดคล้องกับแถลงการณ์ของสภาวิจัยการแพทย์อินเดีย ท่ีสนับสนุนการใช้ยาไฮดรอกซีคลอโรควิน เพื่อปอ้ งกนั ภายใต้การควบคุมอยา่ งเครง่ ครดั 1.3.2 สถานการณใ์ นประเทศไทย 1.3.2.1 การคัดกรองตามนิยามการเฝ้าระวังโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 การคัด กรองผู้เดินทางเข้า-ออกท่ที า่ อากาศยาน คดั กรองเท่ยี วบนิ สะสมต้ังแต่วนั ท่ี 3 มกราคม 2563 ถงึ วนั ท่ี

13 26 พฤษภาคม 2563 รวมท้ังสิ้น 39,348 เท่ยี วบนิ ผเู้ ดินทางได้รบั การคัดกรองสะสมรวม 4,442,140 ราย พบ ผู้ป่วยท่ี มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจานวน 1,269 ราย การคัดกรองผู้เดินทางที่ท่าเรือต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 26 พฤษภาคม 2563 มียอดการคัดกรองเรือสะสม 2,586 ลา มีผู้ท่ีเดินทางได้รับการ คัดกรองสะสมรวม 146,803 ราย พบผู้ป่วยท่ีมีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจานวน 2 ราย การคดั กรอง ผู้เดินทางผ่านด่านพรมแดน ทางบก ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 26 พฤษภาคม 2563 มีผู้ได้รับการคัด กรองสะสมรวม 1,962,138 ราย และ การคัดกรองผู้มาต่ออายุหนังสือเดินทางที่สานักงานตรวจคนเข้าเมือง แจ้งวฒั นะ ตั้งแตว่ นั ที่ 30 มกราคม 2563 ถงึ 27 พฤษภาคม 2563 ได้ทาการคดั กรองรวมท้ังสิน้ 184,863 ราย รวมพบผูป้ ว่ ยทมี่ ีอาการเขา้ ได้ตามนยิ ามการคดั กรอง ท่ชี อ่ งทางเขา้ ออกประเทศ จานวน 1,271 ราย ผลดาเนินการคัดกรองผู้ป่วยท่ีมีอาการตามนิยามเฝ้าระวังโรค วันท่ี 27 พฤษภาคม 2563 ณ เวลา 18.00 น. พบผู้ป่วยที่มีอาการตามนิยามเฝ้าระวังโรครายใหม่ จานวน 8,084 ราย รวมยอดผู้ที่ ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการสะสมท้ังหมด จานวน 176,045 ราย (ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรม ควบคมุ โรค, 2563) รายละเอียดตาม ตารางที่ 1 ตาราง 1 ผลดาเนินการคัดกรองผทู้ ไ่ี ด้รบั การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ประเภทของผ้ปู ่วย จานวนผปู้ ่วยสะสม ผ้ปู ่วยท่มี ีอาการตามนยิ ามเฝา้ ระวงั โรค 176,045 ราย - คัดกรองพบที่สนามบินสุวรรณภูมิ (1,200) ดอนเมือง (52) ภูเก็ต (8) 1,269 ราย เชยี งใหม่ (3) สุราษฎร์ธานี (2) อบุ ลราชธานี (2) อู่ตะเภา (1) อดุ รธานี (1) - คดั กรองทท่ี า่ เรอื 2 ราย - เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลด้วยตนเอง (โรงพยาบาลเอกชน 64,400 174,686ราย ราย โรงพยาบาลรัฐ 109,468 ราย และอยู่ระหว่างการสอบสวน 818 ราย) - รับแจ้งจากโรงแรม ศูนย์เอราวัณ มหาวิทยาลัย มัคคุเทศก์และ 88 ราย อูต่ ะเภา ผูป้ ว่ ยยนื ยันสะสม 3,054 ราย - หายปว่ ยและแพทยอ์ นุญาตให้ออกจากโรงพยาบาล 2,945 ราย - อย่รู ะหว่างการรกั ษาพยาบาล 52 ราย - เสียชวี ติ 57 ราย การตดิ เชอ้ื ของผปู้ ่วยยนื ยันสะสม 3,054 ราย - จากภายในประเทศ 2,444 ราย - จากต่างประเทศ 610 ราย - กักกันในพน้ื ทีท่ รี่ ัฐกาหนด* 117 ราย หมายเหต:ุ *เรม่ิ มีมาตรการกกั กนั ผทู้ เ่ี ดนิ ทางมาจากตา่ งประเทศตงั้ แต่วนั ที่ 3 เมษายน 2563

14 **วนั ที่ 19 พฤษภาคม 2563 แหลง่ ขอ้ มูลจากกรมส่งเสริมบรกิ ารสุขภาพ ศนู ยป์ ฏิบัตกิ ารภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค (2563) รายงาน ขณะน้ีพบผปู้ ่วย ยนื ยันโรคติดเช้อื ไวรัส COVID-19 จานวน 3,054 ราย รกั ษาหายและแพทย์ให้กลบั บ้าน 2,945 ราย ผู้ปว่ ย ยนื ยนั ทเ่ี สียชีวติ 57 ราย ตั้งแตว่ ันท่ี 18 มกราคม ถึงวนั ที่ 22 พฤษภาคม 2563 (สัปดาห์ที่ 21) มีจานวนการ ตรวจวินจิ ฉัยโรคตดิ เชื้อไวรสั COVID-19 โดยห้องปฏบิ ัตกิ ารจากกระทรวงสาธารณสขุ หน่วยงานมหาวิทยาลยั และหนว่ ยงานเอกชน โดยวธิ ี RT-PCR ทัง้ หมด 375,453 ตัวอยา่ ง คิดเป็นจานวนการตรวจวินิจฉัยเฉลีย่ วันละ 6,500 ตวั อย่าง แบ่งเป็นผู้ป่วยท่ีมอี าการตามนยิ ามการเฝ้าระวงั โรค 153,991 ราย ผู้ได้รบั การตรวจทาง ห้องปฏิบตั ิการ จากการค้นหาผู้ปว่ ยเพ่ิมเติม และการติดตามผู้สัมผสั เพมิ่ เตมิ ตง้ั แต่วนั ที่ 15 พฤษภาคม 2563 จานวน 9,775 ราย ผเู้ ดินทางท่ีเฝ้าระวงั อาการ ณ พ้ืนทก่ี ักกันแหง่ รัฐ 24,143 ราย และผู้ปว่ ยทีม่ อี าการไม่ เข้าเกณฑ์การเฝา้ ระวังโรค 187,274 ราย ต้งั แต่วันที่ 3 เมษายน 2563 รัฐบาลมีนโยบายให้คนไทยทเี่ ดินทางมา จากต่างประเทศตอ้ งรบั การกักตวั ใน สถานทีท่ ่ีรฐั จัดให้ (State quarantine) เป็นเวลา 14 วัน โดยในวันที่ 27 พฤษภาคม พบผู้ป่วยยืนยนั ท่ีมปี ระวัติ เดนิ ทางมาจากตา่ งประเทศ 9 ราย ทาใหข้ ณะนี้มีผ้ปู ว่ ยยืนยนั ทีต่ รวจ พบระหวา่ งการกักกนั จานวนรวม 117 ราย เป็นคนไทยที่กลับมาจากประเทศอนิ โดนเี ซยี 63 ราย ปากีสถาน 10 ราย สหรฐั อเมรกิ า 7 ราย ซาอุดิอาระเบยี 6 ราย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 5 ราย มาเลเซยี 4 ราย รัสเซีย 3 ราย อียปิ ต์ 3 ราย สหราชอาณาจักร 2 ราย คาซัคสถาน 2 ราย คเู วต 2 ราย อนิ เดยี 2 ราย ญีป่ ุ่น 2 ราย เนเธอร์แลนด์ 1 ราย บาหเ์ รน 1 ราย ฟลิ ปิ ปินส์ 1 ราย จีน 1 ราย กาตาร์ 1 ราย และ ไม่ทราบ 1 ราย แบง่ เปน็ ชลบุรี 24 ราย จงั หวดั สงขลา 22 ราย สตลู 18 ราย กรุงเทพมหานคร 17 ราย ปัตตานี 13 ราย ยะลา 9 ราย นราธิวาส 7 ราย สมุทรปราการ 4 ราย และ กระบ่ี 3 ราย วันที่ 8 พฤษภาคม 2563 พบผปู้ ่วย ยนื ยนั ทต่ี รวจ ณ ศูนย์กกั ตวั ผู้ต้องกักตรวจคนเขา้ เมืองจังหวัดสงขลา อาเภอสะเดา จงั หวัดสงขลา จานวน 65 ราย มีสัญชาติพมา่ 37 ราย โรฮนี จา 20 ราย เวียดนาม 3 ราย มาเลเซีย 2 ราย เยเมน 1 ราย กมั พูชา 1 ราย และอนิ เดยี 1 ราย ผปู้ ว่ ยยนื ยันโรคตดิ เชื้อไวรสั COVID-19 ทพ่ี บในประเทศไทย มีคา่ มธั ยฐานของอายุ เท่ากับ 37 ปี (1 เดือน - 97 ปี) เพศชาย 1,665 ราย เพศหญงิ 1,389 ราย (ชาย:หญิง = 1:20:1) สญั ชาติไทย 2,717 ราย พมา่ 56 ราย จีน 35 ราย ฝรั่งเศส 29 ราย องั กฤษ 24 ราย โรฮีนจา 20 ราย อเมรกิ า 13 ราย รสั เซีย 12 ราย ญป่ี นุ่ 11 ราย อินเดยี 9 ราย แคนาดา 8 ราย เยอรมนี 9 ราย อิตาลี 9 ราย เบลเยียม 6 ราย สวติ เซอร์แลนด์ 6 ราย สวเี ดน 6 ราย เดนมารก์ 5 ราย ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 5 ราย สงิ คโปร์ 5 ราย ออสเตรเลยี 5 ราย ปากสี ถาน 4 ราย มาเลเซีย 4 ราย เวียดนาม 4 ราย กมั พชู า 3 ราย เกาหลใี ต้ 3 ราย อินโดนีเซยี 3 ราย คาซคั สถาน 2 ราย เนเธอร์แลนด์ 2 ราย บราซลิ 2 ราย ลาว 2 ราย สเปน 2 ราย อสิ ราเอล 2 ราย แอลเบเนีย 2 ราย มาลี 1 ราย คูเวต 1 ราย เซอร์เบีย 1 ราย ตนู ีเซยี 1 ราย ไต้หวนั 1 ราย นิวซแี ลนด์ 1 ราย ปาเลสไตน์ 1 ราย โปรตุเกส 1 ราย ฟนิ แลนด์ 1 ราย เมก็ ซิกนั 1 ราย ยูเครน 1 ราย เยเมน 1 ราย ไลบีเรีย 1 ราย อนิ เดีย/ไทย 1 ราย อหิ รา่ น 1 ราย อซุ เบกสิ ถาน 1 ราย ฮังการี 1 ราย ไม่ทราบ 12 ราย มปี ระวัติโรค ประจาตวั 140 ราย และไม่มีโรคประจาตัว (2,914 ราย) พบผู้ป่วยจากการคดั กรองทส่ี นามบนิ 40 ราย (รวมพลเมืองไทยท่รี บั กลบั จากเมอื งอู่ฮนั่ 1 ราย) เข้ารกั ษาในโรงพยาบาลด้วยตนเอง 1,588 ราย จากการ

15 ติดตามผู้สัมผัส 1,189 ราย จากการกกั กันในพนื้ ทท่ี ีร่ ัฐกาหนด 117 ราย จากการตรวจคนเข้า เมอื งจงั หวัด สงขลา 65 ราย และจากการคน้ หาเชิงรกุ (Active Case Finding) 55 ราย (ศูนย์ปฏิบตั ิการภาวะฉุกเฉิน กรม ควบคมุ โรค, 2563) 1.3.2.2 มาตรการในประเทศไทย 1) รฐั บาลไทยมปี ระกาศต่ออายุ พ.ร.ก.ฉกุ เฉนิ โดยคานงึ ถงึ เหตผุ ล ดา้ นสาธารณสุขเปน็ หลัก เนอ่ื งจากประเทศไมส่ ามารถใชเ้ พียง พ.ร.บ.โรคติดตอ่ ในการแก้ปญั หาได้รัฐบาลจึง จาเป็นต้องคง พ.ร.ก.ฉกุ เฉิน เอาไวเ้ พื่อเปน็ เคร่ืองมือในการกากบั ดูแล และควบคุมสถานการณ์ มคี วามจาเปน็ ในการบรู ณาการการทางานร่วมกันให้เป็นเอกภาพ มีความรวดเร็ว และมีประสิทธภิ าพ อาจส่งผลกระทบต่อ ประชาชนบางส่วน แตจ่ ะค่อยๆ ผ่อนคลายข้อกาหนดต่าง ๆ เพ่อื ให้ผลกระทบน้ัน เกดิ ขึน้ กบั ประชาชนอย่าง นอ้ ยท่สี ดุ 2) ปลดั กระทรวงสาธารณสุข มอบหมายให้ผูต้ รวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข และนายแพทยส์ าธารณสุขจังหวัดท่ีมีการก่อสร้างในพื้นท่โี รงพยาบาล เร่งสารวจไซต์งาน พร้อมจัดให้มีการปฏิบัติงานในรูปแบบใหม่ (New Normal) เพอื่ เป็นต้นแบบให้หนว่ ยงานอ่ืน ๆ ผปู้ ระกอบการ จะตอ้ งควบคมุ ความสะอาดที่พัก ห้องนา้ อุปกรณแ์ ละสงิ่ ของท่ใี ชร้ ว่ มกัน จดั ใหม้ ที ่ีลา้ งมือพร้อมสบู่หรอื เจล แอลกอฮอล์ เว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล และต้องมีการคัดกรองตรวจไข้เบ้ืองตน้ ก่อนเข้าทางาน ในสว่ นของ คนงาน และคนในครอบครัวให้หมนั่ สงั เกตอาการ ล้างมือบ่อย ๆ หลีกเลยี่ งการรบั ประทานหรอื สงั สรรคเ์ ป็น กลุ่ม รบั ประทานอาหารปรงุ สุก ใช้ช้อนกลางส่วนตวั หรอื แยก สารับ สวมหน้ากากอนามัยแบบผา้ และงด สมั ผัสใบหนา้ 3) วันที่ 26 พฤษภาคม 2563 ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ กฎกระทรวงยกเว้นคา่ ธรรมเนียมรายปีใหแ้ กผ่ ้ปู ระกอบกจิ การโรงงาน พ.ศ. 2563 อาศัยอานาจตามความใน มาตรา 6 วรรคหนง่ึ แหง่ พระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 ซึ่งแก้ไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิโรงงาน (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2562 และมาตรา 43 วรรคสอง แหง่ พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 ซง่ึ แก้ไขเพมิ่ เติมโดย พระราชบญั ญัตโิ รงงาน (ฉบบั ที่ 3 ) พ.ศ. 2562 รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกกฎกระทรวงไวด้ ังน้ี ขอ้ 1 กฎกระทรวงนใ้ี ห้ใชบ้ ังคับเมอ่ื พ้นกาหนดสิบห้าวนั นับแตว่ นั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป ข้อ 2 ใหย้ กเวน้ ค่าธรรมเนยี มรายปีเป็นระยะเวลาหน่งึ ปีแกผ่ ปู้ ระกอบกิจการโรงงานจาพวกท่ี 2 และจาพวกท่ี 3 ทกุ ขนาดนับแต่วันทีก่ ฎกระทรวงนใ้ี ช้บงั คบั ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 1.3.2.3 การสอ่ื สารความเสย่ี งกับประชาชน 1) มาตรการตรวจคดั กรอง แยกกัก กกั กนั หรอื คุมไวใ้ หส้ ังเกตเพื่อ การเฝ้าระวงั ป้องกนั และควบคุม โรคจากผเู้ ดินทางซงึ่ มาจากทอ้ งท่หี รอื เมืองท่านอกราชอาณาจักร กรณโี รคติด เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรค COVID-19 2) กรณจี าเปน็ ตอ้ งพบปะผอู้ ่นื ให้ใชห้ นา้ กากอนามยั หรือหน้ากาก ผ้า และรกั ษาระยะหา่ งไม่น้อยกวา่ 1-2 เมตร หรอื 1-2 ช่วงแขน และใชเ้ วลาพบปะผู้อืน่ ให้สัน้ ท่ีสุด

16 3) หมน่ั ลา้ งมือใหส้ ะอาดอยู่เสมอด้วยน้าและสบู่ หรอื แอลกอฮอล์ เจลล้างมือ ไมน่ ามือมาสมั ผสั ตา จมกู ปาก โดยไมจ่ าเป็น 4) ไม่ใช้ของสว่ นตวั ร่วมกบั ผู้อื่น เชน่ ผา้ เช็ดหน้า แกว้ น้า ผ้าเช็ดตัว เนื่องจากเช้ือก่อโรคทางระบบทางเดินหายใจสามารถเข้าสรู่ า่ งกายไดท้ างการสมั ผัสสารคัดหลัง่ ของผูต้ ิดเชื้อ 5) รบั ประทานอาหารปรุงสุกรอ้ น 1.4 สถติ กิ ารระบาดของไวรัส COVID-19 1.4.1 สถติ ิการระบาดของไวรัส COVID-19 ทว่ั โลก โรคติดเช้อื ไวรัส COVID-19 ระบาดมาตั้งแตป่ ลายปี 2562 ถึงวันที่ 15 พฤศจกิ ายน 2563 มผี ูต้ ิดเชอ้ื สะสม 54,318,729 คน หายแลว้ จานวน 37,866,568 คน และเสยี ชีวติ จานวน 1,318,038 คน (กรมควบคุมโรค,2563) 1.4.2 สถติ ิการระบาดของไวรัส COVID-19 ในไทย โรคตดิ เชื้อไวรัส COVID-19 ระบาดมาต้ังแต่ปลายปี 2562 ถงึ วนั ที่ 15 พฤศจกิ ายน 2563 มผี ตู้ ดิ เชอ้ื สะสม 3,874 คน หายแล้วจานวน 3,715 คน และเสยี ชวี ติ จานวน 60 คน (กรมควบคุมโรค, 2563) 1.5 ผลกระทบของไวรสั COVID-19 การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 นน้ั นอกจากจะส่งผลกระทบต่อ สขุ ภาพของประชาชนแลว้ ยงั สง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกอีกดว้ ย โดยกองทนุ การเงินระหวา่ งประเทศ (IMF) ไดอ้ อกรายงานคาดการณ์ เศรษฐกิจโลก ฉบบั เดือนเมษายน 2020 (World Economic Outlook, April 2020: Chapter 1 The Great Lockdown) ซึง่ คาดการณว์ ่า การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 จะทาใหเ้ ศรษฐกิจโลก หดตวั ประมาณรอ้ ย ละ 3 ในปี 2020 จากเดมิ ท่คี าดวา่ จะขยายตัวร้อยละ 3.3 และสาหรบั ไทยนั้น คาดการณ์ว่า เศรษฐกิจไทยจะ หดตัวร้อยละ 6.7 จากเดมิ ทีค่ าดว่าจะเติบโตได้ร้อยละ 3 (ฝา่ ยยทุ ธศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันไฟฟา้ และ อเิ ลก็ ทรอนิกส์, 2563) เมอื่ เดอื นมิถุนายน 2020 ทีผ่ ่านมา ธนาคารโลก (World Bank) ระบวุ า่ การแพร่ระบาดของ โรค COVID-19 จะทาให้เศรษฐกจิ โลกในปีน้ี หดตวั ร้อยละ 5.2 โดยธนาคารโลกคาดว่าเศรษฐกิจของประเทศ พัฒนาแล้วจะหดตัวรอ้ ยละ 7 เศรษฐกจิ สหรัฐฯ และญีป่ ่นุ จะหดตัวร้อยละ 6.1 เศรษฐกิจกลุม่ ยโู รโซนจะหดตัว มากถึง ร้อยละ 9.1 สว่ นคาดการณเ์ ศรษฐกจิ ของจนี นัน้ จะมอี ตั ราการขยายตวั ท่ีร้อยละ 1 ขณะท่ีเศรษฐกิจไทย จะหดตัว ร้อยละ 5 (ฝ่ายยุทธศาสตร์อตุ สาหกรรม สถาบันไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์, 2563) การแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 และมาตรการ Lockdown จากภาครฐั การเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) ตงั้ แต่วันที่ 22 มนี าคม 2563 สง่ ผลใหเ้ ดอื นเมษายนไมม่ ีจานวนนักทอ่ งเท่ียวต่างประเทศ เดินเข้ามายังประเทศไทย และกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทั้งภาคการผลิตและบริการต่าง ๆ ตอ้ งหยดุ ชะงักลงช่วง กอ่ นเกดิ วกิ ฤตโควิด-19 อตั ราการเติบโตของ GDP ภาคบริการ เท่ากบั 4.5 % YoY จานวนผู้ว่างงานในภาค บรกิ ารเฉล่ยี 169,625 คน เมื่อเกิดวกิ ฤตโควดิ -19 ส่งผลให้จานวนผู้ว่างงานในภาคบรกิ ารสูงขึ้นเฉล่ยี 400,000 คน หรือเพิ่มสงู ขน้ึ 2 เท่า เมื่อเทยี บกบั ช่วงสภาวการณป์ กติ และอาจสง่ ผลให้ภาคบริการมจี านวน แรงงานตกงานสูงเกิน 1,000,000 คน ซง่ึ หมายถึงตลาดแรงงานจะเขา้ สภู่ าวะปกติได้นั้น อาจตอ้ งใช้เวลา มากกวา่ 3 ปี (ฝา่ ยวิจยั นโยบายทรัพยากรมนุษย์ สถาบนั วิจยั เพื่อการพฒั นาประเทศไทย, 2563)

17 2.กลุ่มเส่ียงต่อการติดเชอื้ 2.1 ช่วงวัยท่ีเสี่ยงต่อการตดิ เช้อื COVID-19 วัยเด็ก เดก็ ไม่ไดเ้ ป็นกล่มุ เสีย่ งหลัก เน่อื งจากไม่ได้เดนิ ทางหรอื พบปะผคู้ นมากเท่า ผูใ้ หญ่ จึงทาใหโ้ อกาสติดเชอื้ น้อยลง ตลอดจนเป็นชว่ งปดิ เทอม และการประกาศงดกจิ กรรมทม่ี คี นหมมู่ าก โดยส่วนใหญ่เดก็ มักได้รับเชอื้ มาจากผ้ใู หญ่ทอ่ี ยู่ใกลช้ ดิ หรอื ตดิ จากเพ่ือนทีโ่ รงเรยี น (พรเทพ สวนดอก, 2563) วัยผู้ใหญ่ตอนต้น ขณะที่ช่วงอายุ 20-39 ปี ยังเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะแพร่เช้ือได้มาก ที่สุด เพราะเป็นพาหะที่เดินได้จากการเคลื่อนย้ายเพ่ือไปทางาน และพบปะผู้คนหากจาเป็นต้องออกจากบ้าน ควรป้องกันตัวเองอย่างมาก เพื่อไม่นาเช้ือกลับไปสู่คนในบ้าน รวมถึงต้องเว้นระยะห่างทางสังคม (ทวีศิลป์ วษิ ณโุ ยธนิ , 2563) อ้างอิงจากคนไข้จานวน 5 ราย ที่พวกเขาทาการรักษา ท้ังหมดอายุไม่ถึง 50 ปี ทุก คนป่วยเป็นโควิด 19 แบบไม่มีอาการรุนแรง หรือไม่มีอาการเลย แต่ดูเหมือนว่าเชื้อไวรัสโคโรนา จะทาให้เกิด ลิ่มเลือดเพ่ิมข้ึนในหลอดเลือดแดงใหญ่ นาไปสู่โรคหลอดเลือดสมองอย่างรุนแรง อาการเฉียบพลนั อันตรายถึง ชวี ิต (ทวีศิลป์ วษิ ณุ, 2563) วยั ผู้สงู อายุ ผสู้ งู อายุเป็นกล่มุ ทม่ี ีความเสี่ยงที่สุดที่จะติดเชอ้ื รนุ แรงและเสยี ชีวิต โดย ความเส่ียงเพ่ิมขึ้นเม่ืออายุมากข้ึน ผู้ที่มีอายุต่ากว่า 60 ปี มีอัตราการเสียชีวิตน้อยกว่า 1% ในขณะท่ีผู้ที่มีอายุ 70 ปีข้ึนไป มีอตั ราการเสียชวี ิต 8.0-9.6% และอายุ 80 ปีข้ึนไป มีอัตราการเสียชีวติ สงู ถงึ 14.8-19.0 % ดงั นั้น จึงต้องดูแลผสู้ งู อายเุ ป็นพิเศษมิใหต้ ิดเชื้อ COVID-19 (สริ ฤิ กษ์ ทรงศิวิไล, 2563) 2.2 อาชพี ท่ีเสี่ยงตอ่ การตดิ เช้ือ COVID-19 ปัจจัยเส่ียงของผู้ติดเชื้อโรคโควิดในประเทศไทย (จากจานวนผู้ติดเชื้อสะสม 2,568 ราย) จาแนกได้ เป็นกล่มุ ใหญ่ ๆ 5 กลุ่ม ดงั นี้ (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 28 เมษายน 2563) (สุวรรณชัย วฒั นาย่งิ เจรญิ , 2563) 2.1.1 กลุม่ ทสี่ ัมผัสใกล้ชิดกบั ผปู้ ว่ ยโรค COVID-19 (42%) 2.1.1.1 สัมผัสใกล้ชิดกับผปู้ ่วยยนื ยนั ก่อนหนา้ นี้ 1,069 ราย 2.1.2 กลมุ่ อาชีพเสยี่ งหรืออย่ใู นสถานการณห์ รอื สถานท่ีที่แออัด (34%) 2.1.2.1 อาชพี เส่ยี ง เช่น ทางานในสถานท่แี ออัด 250 ราย 2.1.2.2 สนามมวย 248 ราย 2.1.2.3 สถานบนั เทิง 201 ราย 2.1.2.4 พิธกี รรมทางศาสนา 83 ราย 2.1.2.5 ไปสถานท่ีชุมชน เชน่ ตลาดนดั สถานท่ีท่องเที่ยว 72 ราย 2.1.2.6 ไปสถานทแี่ ออัด เชน่ งานแฟร์ คอนเสริ ต์ 16 ราย 2.1.3 กลมุ่ ท่ีกลับจากตา่ งประเทศหรือสัมผสั ผเู้ ดินทางจากตา่ งประเทศ (18%) 2.1.3.1 คนไทยเดนิ ทางกลบั จากตา่ งประเทศ 250 ราย 2.1.3.2 คนตา่ งชาตเิ ดนิ ทางมาจากตา่ งประเทศ 114 ราย 2.1.3.3 ผูเ้ ดินทางจากต่างประเทศ (State Quarantine) 78 ราย

18 2.1.3.4 สมั ผสั ผเู้ ดนิ ทางจากตา่ งประเทศ 33 ราย 2.1.4 กลมุ่ บคุ ลากรดา้ นการแพทย์และสาธารณสขุ (3%) 2.1.4.1 บุคลากรดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข 91 ราย 2.1.4.2 ตรวจกอ่ นทาหัตถการ 1 ราย 2.1.5 กลุ่มท่พี บจากการคน้ หาเชิงรกุ (3%) 2.1.5.1 การคน้ หาเชงิ รุก 20 ราย 2.1.5.2 ศูนย์กกั กนั ตรวจคนเขา้ เมอื ง 42 ราย 3.ปจั จัยเสี่ยงทไ่ี ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 3.1 โรคประจาตัวทเี่ สี่ยงต่อการติดเชือ้ COVID-19 ผทู้ ่ีมีอาการของโรคไม่ตดิ ต่ออยกู่ ่อนแลว้ มีความเส่ยี งท่ีจะปว่ ยรนุ แรงมาก เมื่อติดเช้ือไวรสั โรคไมต่ ิดต่อ (กอ่ พงษ์ รกุ ขพันธ์, 2563) คอื 3.1.1 โรคเบาหวาน ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานชนดิ ท่ี 1 และชนดิ ท่ี 2 รวมถึงผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน ขณะตัง้ ครรภ์ ล้วนมีความเส่ียงในการเกิดอาการรนุ แรงหากติดโรค COVID-19 เน่อื งจากผู้ปว่ ยโรคเบาหวานที่ ควบคุมระดบั นา้ ตาลไดไ้ ม่ดี และมีระดบั น้าตาลในเลือดสงู กว่าเป้าหมาย มกั มีโรคแทรกซ้อนอนื่ ๆ ร่วมด้วย นอกจากนก้ี ารติดเชือ้ ยงั ทาให้ระดบั นา้ ตาลในเลือดผันผวนและควบคมุ ได้ยาก ทาใหภ้ ูมคิ ุ้มกันต่าลงและติดเชอื้ ได้งา่ ยขนึ้ รวมถงึ เช้ือโรคเจริญเตบิ โตได้ดีในภาวะน้าตาลในเลือดสงู ดังนน้ั ในช่วงระบาดของ COVID-19 ผปู้ ่วย ควรปฏบิ ตั ิตวั ดังน้ี 1) ปฏิบัติตัวตามแพทย์แนะนา กินยาเบาหวาน ยาร่วมอื่น ๆ และฉีดอินซูลิน ตามปกติ 2) สารองยาและอินซูลนิ ไว้อย่างน้อย 2 สัปดาห์ 3) วัดอณุ หภูมริ า่ งกายทกุ เชา้ เยน็ เพราะอาการไข้อาจบง่ ชี้ถงึ การติดเช้ือ 4) สารองอาหารประเภทนา้ ตาลเผอื่ ไว้สาหรับเมือ่ มีภาวะนา้ ตาลตา่ 5) ตรวจสอบระดับนา้ ตาลในเลือดบอ่ ยครั้งขึ้น และติดตามผลใหอ้ ยใู่ นระดับ 80- 180 มก./ดล. 6) ชั่งน้าหนักร่างกายทุกวัน หากน้าหนักลดลงขณะกินอาหารได้ตามปกติ เป็นสัญญาณวา่ ระดับน้าตาลในเลือดสงู 7) ด่มื น้าให้เพียงพอเพราะการตดิ เช้ือทุกชนดิ ทาให้ร่างกายขาดนา้ 8) หากมีอาการคลา้ ยไขห้ วัด เชน่ มีไข้ ไอ หายใจลาบาก ใหร้ ีบปรึกษาแพทย์ 9) หากอยูเ่ พยี งลาพงั ให้หาคนที่ม่ันใจว่าจะช่วยเหลือคุณไดเ้ มื่อมเี หตุฉุกเฉิน 3.1.2 โรคไตเร้ือรัง ผปู้ ว่ ยโรคไตที่อยู่ในขั้นที่ 3 ถงึ ข้นั ที่ 5 ผปู้ ว่ ยท่รี กั ษาด้วยการฟอกเลอื ดและ ผู้ป่วยที่เปลี่ยนถ่ายไตอยู่ในกลุ่มเสี่ยงในการมีอาการรุนแรง ผู้ป่วยที่รักษาด้วยการฟอกเลือดอาจมีภูมิคุ้มกันต่า

19 กว่าคนปกติท่ัวไป นอกจากน้ีผู้ป่วยที่ได้รับการเปล่ียนถ่ายไตต้องได้รับยากดภูมิคุ้มกันทาให้ภูมิคุ้มกันลดต่าลง ทาให้ติดเชือ้ ไดง้ า่ ยข้ึน ผู้ปว่ ยควรปฏบิ ตั ติ ามข้อแนะนาดงั น้ี 1) สาหรับผู้ป่วยที่รักษาดว้ ยการฟอกเลือดให้มารับบรกิ ารตามนัดหมาย หากคุณมีไข้ ใหต้ ดิ ตอ่ กบั ทางโรงพยาบาลกอ่ นท่ีจะเขา้ รับบริการ 2) ผ้ปู ่วยท่ีไดร้ ับการเปลย่ี นถ่ายไต ให้กินยาตามท่แี พทย์ส่งั และสารองยาไวอ้ ยา่ งน้อย 2 สปั ดาห์ 3) ปฏบิ ตั ิตามข้อแนะนาดา้ นการรักษาสขุ อนามัยในชว่ งการระบาดของ COVID-19 เชน่ ล้างมือ หลกี เลี่ยงสถานท่ีหนาแน่น รักษาระยะหา่ งจากผู้อน่ื และพยายามอยู่บา้ นให้มากที่สดุ 3.1.3 โรคปอดและทางเดินทางหายใจ ผ้ปู ่วยโรคปอดและทางเดินหายใจทมี่ คี วามเสีย่ งสงู คือ ผู้ป่วยโรคหืดหอบระดับปานกลางถึงรุนแรงและผู้ป่วยโรคปอดเรื้อรัง เช่น โรคหลอดลมอุดก้ันเร้ือรัง (COPD) โรคปอดอักเสบเรื้อรังและโรคซิสติกไฟโบรซิส เนื่องจาก COVID-19 มีผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ กระตุ้นอาการหอบหืดและอาจทาให้เกิดโรคปอดบวมและโรคร้ายแรงอ่ืนๆ สาหรับผู้ป่วยโรคปอด COVID-19 อาจทาให้โรคปอดกาเริบหนักขึ้น ทาให้ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง ข้อควรปฏิบัติตัวสาหรับผู้ป่วยโรคปอดและ ทางเดนิ หายใจคือ 1) ใช้ยาอยา่ งตอ่ เน่อื งรวมถึงยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ตามทแี่ พทยแ์ นะนา 2) สารองยาไว้อยา่ งน้อย 2 สัปดาห์ ควรจากัดการเดินทางไปยังร้านขายยา 3) หลีกเลย่ี งปจั จยั ท่ีทาให้อาการกาเริบหรือแยล่ ง 4) หากเป็นไปได้ให้ผู้อื่นท่ีไม่ได้เป็นโรคหอบหืดช่วยทาความสะอาดบ้าน และฆ่าเช้ือ โรคภายในบ้านโดยใช้ยาฆ่าเชื้อท่ีอาจทาให้อาการหอบหืดกาเริบให้น้อยท่ีสุด ฉีดน้ายาทาความสะอาดเพ่ือฆ่า เช้ือลงบนผ้าแทนที่จะฉีดลงบนพื้นผิวท่ีตอ้ งการทาความสะอาดโดยตรง รวมถงึ ให้เปิดประตู หนา้ ต่าง และเปิด พัดลมเปา่ อากาศภายในบ้านออกไป 5) ทาตามข้อแนะนาด้านการรกั ษาสุขอนามยั ในชว่ งการระบาดของ COVID-19 เชน่ ลา้ งมือ เปล่ยี นเส้อื ผา้ ทนั ทีเม่ือกลบั ถึงบ้าน อยู่หา่ งจากผู้อ่ืนอย่างน้อย 2 เมตร เป็นตน้ 3.1.4 โรคอว้ นผทู้ ่ีเปน็ โรคอว้ นชนดิ รนุ แรงคอื ผู้ท่มี ีคา่ ดัชนีมวลกายต้ังแต่ 40 ขนึ้ ไป หรอื ต้งั แต่ 30 ข้นึ ไป สาหรับชาวเอเชีย ผู้ท่เี ปน็ โรคอว้ นชนิดรนุ แรงมคี วามเส่ียงในการเกดิ กลุม่ อาการหายใจลาบาก เฉียบพลนั (ARDS) ซง่ึ เป็นภาวะแทรกซ้อนท่ีสาคญั ของโรค COVID-19 นอกจากน้ีผู้ท่ีเปน็ โรคอ้วนชนิดรนุ แรง ยังมีโรคประจาตัวเรื้อรงั อ่นื ๆ ท่ีย่ิงเพิ่มความเสี่ยงของการมีอาการทร่ี ุนแรง ดังนั้นควรปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1) ใชย้ าอย่างเนื่องตามท่ีแพทยส์ ั่ง 2) สารองยาไวอ้ ยา่ งนอ้ ย 2 สปั ดาห์ 3) ป้องกันตัวเองจากการติดเช้ือด้วยการปฏิบัติตามข้อแนะนาด้านการรักษา สขุ อนามยั ในช่วงการระบาดของ COVID-19 และควรอย่บู า้ นให้มากทีส่ ดุ เทา่ ทจี่ ะทาได้

20 3.1.5 โรคตับผู้ป่วยโรคตับเร้ือรัง เช่น โรคตับแข็ง ผู้ป่วยปลูกถ่ายตับท่ีใช้ยากดภูมิคุ้มกัน ผปู้ ่วยภาวะท่ีมตี ับอักเสบจากภูมิไวเกิน (AIH) และผู้ป่วยมะเร็งตับที่อยู่ระหว่างการรักษาด้วยคีโม มีความเสี่ยง ท่จี ะเกิดอาการรุนแรงหากติด COVID-19 เน่ืองจากอาการป่วยจากโรค COVID-19 รวมถึงยาที่ใช้ในการรักษา โรคอาจมีผลกระทบตอ่ การทางานของตบั โดยเฉพาะผู้ทม่ี ีปญั หาเกยี่ วกับตับอยู่เดิม ดังนน้ั ควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1) ใชย้ าอย่างเน่อื งตามท่แี พทย์ส่ัง 2) สารองยาไวอ้ ย่างนอ้ ย 2 สปั ดาห์ 3) ป้องกันตัวเองจากการติดเช้ือด้วยการปฏิบัติตามข้อแนะนา ด้านการรักษา สุขอนามัยในช่วงการระบาดของ COVID-19 และควรอยู่แต่ในบ้าน รวมถึงไม่สังสรรค์กับเพื่อนหรือคนใน ครอบครวั ระหวา่ งอยู่บา้ น 3.1.6 ผู้มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ท่ีมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น กลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็ง กลุ่มผู้ป่วยโรคเอดส์ คนท่ีสูบบุหร่ี ล้วนมีความเส่ียงในการเกิดอาการรุนแรงเน่ืองจากภูมิคุ้มกันที่อ่อนแอทาให้ ร่างกายไม่สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ีผู้ป่วยกลุ่มนี้ยังอาจติดเชื้อนานกว่าผู้ป่วย COVID-19 กลมุ่ อน่ื ๆ ผู้ปว่ ยสามารถปฏิบตั ิตวั ตามข้อแนะนา ดังน้ี 1) ใช้ยาอยา่ งต่อเนอ่ื งตามที่แพทย์สงั่ 2) สารองยาไวอ้ ยา่ งน้อย 2 สัปดาห์ 3) ระวังอย่าให้ภูมิคุ้มกันลดตา่ ลงกว่าเดิม ความเครียด การอดนอน ความเหนื่อยล้า ทางร่างกายทาให้ภูมิคุ้มกันลดต่าลงได้ ผู้ป่วยควรหาวิธีการจัดการกับความเครียดและพักผ่อนให้เพียงกิน อาหารทชี่ ว่ ยเพมิ่ ภูมคิ มุ้ กันให้แก่ร่างกาย 3.1.7 ผู้ป่วยที่ใช้ยากดภูมิคุ้มกัน ผู้ทไี่ ด้รับการปลูกถ่ายอวยั วะอยู่ในกลุม่ เสี่ยง เน่ืองจากยากด ภูมคิ ุ้มกันทาให้ภูมิคมุ้ กันรา่ งกายออ่ นแอลง เพอ่ื ป้องกันไม่ใหร้ ่างกายตอ่ ต้านอวยั วะใหมแ่ ต่ขณะเดียวกันทาให้มี ความเส่ยี งต่อการติดเชอ้ื งา่ ยขน้ึ และอาจมีความรนุ แรงของการติดเช้ือสงู ขึน้ 1) ใช้ยาอย่างตอ่ เนื่องตามท่แี พทยส์ ัง่ 2) สารองยาไวอ้ ยา่ งน้อย 2 สปั ดาห์ 3) ปฏบิ ัตติ ามขอ้ แนะนาด้านการรักษาสุขอนามยั ในช่วงการระบาดของ COVID-19 เช่น หลกี เลี่ยงการไปที่ในชุมชน รักษาระยะหา่ งจากผอู้ น่ื อย่างนอ้ ย 2 เมตร เป็นต้น 3.1.8 ผูป้ ว่ ยโรคหัวใจ หากติด COVID-19 อาจมีอาการหวั ใจวายหรอื ภาวะหัวใจล้มเหลวได้ อาการโรคหวั ใจทรี่ นุ แรงยง่ิ ข้ึนน้ี เกิดจากอาการป่วยของการติดเช้ือไวรัส และการทห่ี วั ใจต้องทางานหนกั ขึ้น เช่น หวั ใจเต้นเรว็ ข้ึนจากภาวะไข้ ประกอบกบั ระดบั ออกซเิ จนท่ตี า่ ลงจากปอดบวมและโอกาสในการเกดิ ลิ่ม เลือดอุดตันทีส่ ูงข้ึน นอกจากน้ยี งั อาจพบภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบเฉยี บพลัน (Myocarditis) ในกลุ่มผปู้ ว่ ย COVID-19 อกี ดว้ ย ถงึ แม้ไม่มีวธิ ีการปอ้ งกันใด ๆ เป็นพเิ ศษ แต่ผูป้ ่วยควรปฏบิ ัติตวั ดังน้ี 1) กนิ ยาอย่างต่อเนือ่ งตามแพทย์ส่ัง 2) สารองยาไวอ้ ยา่ งน้อย 2 สปั ดาห์ 3) ปฏบิ ตั ิตามขอ้ แนะนาด้านการรักษาสุขอนามยั ในชว่ งการระบาดของ COVID-19

21 4) ออกกาลังกายอยู่ท่ีบ้านตามท่ีแพทย์แนะนา จัดการกับความเครียด นอนหลับให้ เพียงพอและรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ งดเค็ม การทาเช่นน้ีนอกจากช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย แลว้ ยังช่วยชะลอการเสื่อมของกลา้ มเน้อื หวั ใจอีกด้วย 3.2 ความเครียดจากสถานการณ์ COVID-19 ความเครียดเป็นกลไกโดยธรรมชาติที่ช่วยให้มนุษย์เตรียมตัว วางแผน และรับมือกับสถานการณ์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการที่รู้สึกเครียด กังวล กลัว ต่ืนตระหนก เพื่อทุกคนจะได้ขวนขวายหาความรู้ หาข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจ มกี ารวางแผน และเตรียมการอยา่ งถูกวิธี สถานการณ์ COVID-19 ทาให้เกิด ความเครยี ดสงู สาเหตุท่พี บบอ่ ยเม่อื ผปู้ ่วยมาพบจิตแพทย์ (อภสิ มัย ศรรี งั สรรค์, 2563) มดี ังนี้ 1) กลัวการติดเชื้อ อาจเกิดความรู้สึกหวาดระแวงคนรอบข้าง คนใกล้ตัว แม้แต่คนท่ี ดูปกติที่สุด แข็งแรงร่าเริงดีก็สามารถกลายเป็นผู้ติดเชื้อแบบไม่มีอาการและแพร่เชื้อได้โดยง่ายดาย ต้องระแวงแม้แต่ตัวเอง พอมีอาการไอแห้ง ๆ คัดจมูกก็เริ่มวิตกจริตไม่แน่ใจว่าไปรับเช้ือมาแล้วหรือ เปล่า หรือจะต้องไปตรวจหาเชื้อหรือไม่ 2) สถานการณ์เปลี่ยนแปลงรายวัน มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น นโยบายรัฐบาลปรับเปลี่ยน ตามสถานการณ์เกือบทุกวัน วันนี้อาจไปทางานปกติ วันรุ่งขึ้นที่ทางานอาจถูกปิด ในกรณีที่บางคน ติดตั้งแอปพลิเคชันติดตามข่าวทุก 1 ชั่วโมง หรือมีเสียงเตือนทุกครั้งที่มีรายงานผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น อาจทาให้มีอาการตื่นตระหนกมากเกินไป 3) กังวลกับทุกเรื่อง นอกจากกลัวติดเชื้อ COVID-19 ยังมีความกังวลในเรื่องต่าง ๆ เช่น ตกงาน ปิดโรงงาน หยุดสายการบิน ปรับลดจานวนพนักงาน ปิดโรงเรียน เป็นต้น ทาให้เกิด ความกังวลในการใช้ชีวิต ความเครียดจากการติดตามข่าวรายวันอาจสะสมเป็นขยะโดยที่เราไม่รู้ตัว 4) ไม่รู้ว่าสถานการณ์นี้จะจบลงเมื่อไร สิ่งที่ทาให้ทุกคนเครียดมากที่สุดคือ การที่เรา ไม่มีทางรู้ได้ว่า สถานการณ์นี้จะเนิ่นนานอีกสักเท่าไร บางคนพยากรณ์ว่าการระบาดจะยาวนานถึง ปีหน้า เศรษฐกิจจะได้รับผลกระทบอีกยาว ปัจจุบันไม่สามารถรู้ได้เลยว่า เหตุการณ์จะแย่ลงอีก หรือไม่ เราเดินทางมาถึงจุดสูงสุดของการระบาดหรือยัง แม้จะร่วมมือกับนโยบายเว้นระยะห่างทาง สังคม ปฏิบัติตามรายงานของภาครัฐอย่างเคร่งครัด การแพร่ระบาดก็น่าจะยังไม่ยุติในระยะเวลาอัน ใกล้ 4.แนวทางและการป้องกันตัวเองในสถานการณ์ COVID-19 4.1 การป้องกันตวั เองในสถานการณ์ COVID-19 4.1.1 หลีกเล่ียงการใกล้ชิดกับผปู้ ่วยท่ีมอี าการไอจามน้ามูกไหลเหนอ่ื ยหอบเจ็บคอ 1) ระยะห่างทางสังคม หรอื Social Distancing เป็นมาตรการท่หี นว่ ยงานสขุ ภาพ ทว่ั โลกไดเ้ ริ่มนามาใช้ เพื่อชว่ ยลดจานวนผู้ป่วยจากการระบาดของโรคติดเชือ้ โคโรนาไวรสั (COVID-19) ในปี 2020 การใชม้ าตรการ Social Distancing ของ American Red Cross มดี ังนี้

22 1.1) หลกี เลี่ยงการอยรู่ วมกันเป็นกลุ่ม แมว้ า่ อนาคตอาจจะกลบั มาใชช้ ีวิตได้ ตามปกติ แตก่ ็ควรหลีกเลี่ยงการอยรู่ ่วมกนั ในแหล่งชุมชน โดยเฉพาะห้องแอร์ที่อากาศไม่ค่อยระบาย หรือการ เข้ารา้ นค้าที่แออัด เพ่ือลดความเสย่ี งท่ีจะรบั เชอื้ 1.2) กักตัวอยู่ในท่ีอยู่อาศัยของตัวเอง อย่าไปค้างแรมร่วมกับผู้อื่น เพราะ การนอนหลับจะใช้เวลาในห้องปิดนานพอท่ีจะรับเช้ือเข้าสู่ร่างกาย และเม่ือนอนหลับทาให้ควบคุมตัวเองไม่ ค่อยได้ เชน่ หากเพ่ือนตนื่ ขน้ึ มาเข้าห้องน้าแลว้ จามใกล้ ๆ เราก็หลบไม่ได้ 1.3) ปฏิบัติตามคาแนะนาของหน่วยงานในท้องที่ เพราะความรุนแรงของ แต่ละท้องถิ่นนั้นแตกต่างกัน มาตรการควบคุมป้องกันก็ต่างกัน หากหน่วยงานท้องท่ีแนะนาให้ห้ามชุมนุม ใหส้ วมหนา้ กากผ้า งดเดนิ ทางในเวลาท่ีกาหนด หรอื คาแนะนาอื่น ๆ ควรปฏิบตั ติ ามอย่างเครง่ ครัด 1.4) ใช้บริการส่งของ Delivery ควรใช้บริการที่มีการจัดส่ง เพื่อลดการ ออกไปพบปะผู้อื่น เชน่ การซ้อื ของอุปโภคบรโิ ภคท่มี ีบริการจัดส่ง ส่งั อาหาร ส่ังสินค้า ซึง่ ปัจจบุ ันน้ีรา้ นค้าส่วน ใหญ่ก็ให้บรกิ ารมาสง่ ทบ่ี า้ นมากขึน้ 1.5) ติดต่อกับคนท่ีรักด้วย Network แทนการเจอกัน เมื่ออยากเจอเพ่ือน คิดถึงญาติ หากยังไม่จาเป็นต้องเจอตัวพบหน้า ก็ควรใชว้ ิธกี ารคุยโทรศพั ท์, โทรแบบเห็นหน้า, VDO Call หรือ ใช้โปรแกรม Conference เพอ่ื พดู คุยกนั กอ่ น 1.6) เว้นระยะห่าง 1.5-2 เมตร ในอเมริกาใช้ระยะ 6 ฟุต หรือ 1.8 เมตร เม่ือเทียบให้เข้าใจง่าย ๆ ก็ระยะ 1.5-2 เมตร ท้ังการเดินสวนทางกัน การใช้บริการขนส่งสาธารณะ การนั่ง รับประทานอาหารในรา้ นอาหาร และการใชช้ ีวิตร่วมกบั ผู้อ่นื ท่วั ไป ต้องเวน้ ระยะหา่ งท้ังนั้น 1.6.1) การเว้นระยะห่างทางสังคม 2 เมตร เทียบได้กับระยะ ประมาณ 3 กา้ ว มนั มีระยะหา่ งพอท่จี ะวางเตียง 1 หลัง หรือรถเขน็ ซอ้ื ของ 2 คันไวร้ ะหว่างคณุ กบั ผู้อื่น 1.6.2) หากคุณถือแปรงขัดพื้นด้ามยาวก็จะแตะอีกฝ่ายไม่ถึง หรือ มรี ะยะประมาณครงึ่ หนง่ึ ของช่องจอดรถยนต์ หรอื มา้ นงั่ ยาว 2 ตวั 1.6.3) คุณอาจต้องเดินออกนอกบาทวิถี หรือข้ามถนนเพ่ือรักษา ระยะห่างน้ไี ว้ 1.6.4) บนรถโดยสารสาธารณะ คุณควรเว้นระยะห่างทั้งด้านหน้า และด้านหลังคณุ 1.6.5) ในสานกั งาน คณุ ต้องเวน้ ระยะห่างกันราว 4 ชว่ งเกา้ อ้ี 1.6.6) ในร้านค้า อย่ามุงกันที่ทางเดินระหว่างช้ันวางสินค้า และ อยา่ ยืนเข้าแถวติดกันจนเกนิ ไป 4.1.2 หลกี เลย่ี งการเดนิ ทางไปในพื้นทเ่ี สยี่ ง 1) มาตราการในประเทศไทย 1.1) สานักงานการบินพลเรือนแห่งประเทศไทย (กพท.) ยกเลิกประกาศที่ อนุญาตให้สนามบินภูเก็ต กลับมาเปิดให้บริการ 16 พฤษภาคม น้ี เน่ืองดว้ ยสถานการณ์ยังถือว่ามีความเสย่ี งที่

23 ต้องติดตามดูแลอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ม่ันใจได้ว่าจะสามารถยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 จากจังหวดั ภเู กต็ ไปสพู่ นื้ ทีอ่ ืน่ และป้องกนั มิใหโ้ รคกลับมาแพรร่ ะบาดใหม่ในพ้นื ท่ีจังหวัดภูเก็ต 1.2) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และบริษัททางด่วน และรถไฟฟ้ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) (BEM) ผู้ให้บริการรถไฟฟ้า MRT พร้อมที่จะปรับเวลาการให้บริการ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลมิ รัชมงคล (MRT สายสีน้าเงิน) และสายฉลองรัชธรรม (MRT สายสมี ่วง) เพ่ืออานวย ความสะดวกในการเดินทางแก่ ประชาชน โดยจะให้บริการรถไฟฟ้า MRT สายสีม่วง ต้ังแต่เวลา 05.30-22.30 น. และให้บริการรถไฟฟา้ MRT สายสีนา้ เงิน ตั้งแต่เวลา 06.00-22.30 น. ท้ังน้ีรถขบวนสุดท้าย จะถึงสถานีปลายทางเวลา 22.30 น. นอกจากนี้ บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด (มหาชน) ผู้ให้บริการรถไฟฟ้าบีทีเอส ขยายเวลาให้บริการรถไฟฟ้าบีที เอสและรถโดยสารด่วนพิเศษบีอาร์ที จนถึงเวลา 22.30 น. ในทุกสถานี ทั้งสายสุขุมวิท และสายสีลม ตั้งแตว่ ัน อาทิตย์ท่ี 17 พฤษภาคม 2563 เป็นต้นไป หรือ จนกว่าจะมีการแจง้ เปล่ยี นแปลง 1.3) การรถไฟแห่งประเทศไทย พร้อมเปิดเดินขบวนรถโดยสารพิเศษ และ ขบวนรถชานเมอื ง ภายหลังมาตรการผ่อนปรนการควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัส COVID-19 เร่ิม เปิดให้บริการ 18 พฤษภาคมน้ี ซ่ึงใหบ้ ริการเฉพาะรถโดยสารชนดิ พดั ลมเท่าน้ัน ในด้านมาตรการป้องกันความ เส่ียงจากการแพร่ระบาดของเช้ือ ได้ดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงคมนาคมอย่างเคร่งครัด โดยให้พนกั งานดา้ นปฏบิ ัติการ ทีเ่ กยี่ วข้องจะตอ้ งสวมใส่หน้ากากอนามยั หรือหน้ากากผ้า ถุงมือยาง และ Face shield ตลอดเวลาที่ให้บริการ ตรวจคัดกรองผู้โดยสารอย่างเข้มข้น จัดให้มีแอลกอฮอล์เจลบริการอย่าง เพยี งพอ และทั่วถึง ท้ังบริเวณสถานี และบนขบวนรถ การรกั ษาระยะหา่ ง ใหม้ จี ุดยืน น่ัง ให้ชัดเจน ท้ังที่สถานี และขบวนรถ โดยจากัดการจาหน่ายตว๋ั โดยสารไวท้ ี่รอ้ ยละ 50 ของจานวนทนี่ ั่งทงั้ หมด เมือ่ จาหนา่ ยเตม็ ตามท่ี ระบุแล้ว จะไม่จาหน่ายตั๋วอีกรวมทั้งต๋ัวไม่มี ท่ีนั่ง (ตั๋วยืน) และการงดจาหน่ายอาหารบนขบวนรถ หาก ผู้โดยสารที่เดินทางไกลเกินกว่า 3 ช่ัวโมง ให้เตรียม อาหารไปรับประทานเอง สาหรับผู้โดยสารที่จะเดินทาง ข้ามเขตจงั หวดั จะต้องกรอกข้อมลู คาถามสขุ ภาพ ตามแบบฟอร์ม ต.8/คค./รฟท. และได้รับการตรวจคัดกรอง และต้องแสดงเหตุผลความจาเป็น พร้อมหลักฐานการ อนุญาตของพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรการป้องกัน ตามท่ีทางราชการกาหนด เพ่ือลดความเส่ยี งในการแพร่เช้อื ไวรสั 1.4) ผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรีและสานักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี จับมือเอสซีจี เตรียมมาตรการผ่อนปรนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 แพร่ระบาดซ้า ด้วยการคัดกรอง ผ่านแอปพลิเคชัน \"ONLINE CLINIC\" ช่วยลดความเสี่ยง ลดความแออัด ให้กับประชาชน ซ่งึ ไมต่ ้องเดินทางไป ถึงโรงพยาบาล หากผู้ป่วยหรือผู้ท่ีสงสัยว่าจะติดเชื้อ สามารถโหลดแอปพลิเคชันนี้เพ่ือคัดกรองและพูดคุยกับ แพทย์โดยตรงได้ และช่วยลดความเส่ียงให้กับบุคลากรทางการแพทย์ ขั้นตอนเพียงดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน “ONLINE CLINIC” จากโรงพยาบาลที่เข้าร่วม เพื่อตอบแบบสอบถามหาระดับความเสี่ยงติดเชื้อ หากมีความ เส่ียงในระดับสูง จะสามารถปรึกษากับแพทย์ พยาบาลได้โดยตรง เพื่อซักประวัติ สอบถามอาการ โดยการ วิดีโอคอลผ่านแอปพลิเคชัน แพทย์จะวิเคราะห์ว่าอาการดังกล่าวจะต้องเดินทางมาตรวจอย่างละเอียดที่ โรงพยาบาลหรอื ไม่ หากต้องมาตรวจทโี่ รงพยาบาลสามารถจองควิ ในแอปพลิเคชันได้เลย เพอ่ื ลดเวลาที่จะตอ้ ง

24 ไปปะปนกับผปู้ ่วยอ่นื จากนั้นจะงา่ ยต่อการตดิ ตามผู้ปว่ ย ซง่ึ เทคโนโลยีดิจิทลั นเ้ี ชือ่ วา่ จะเป็นส่วนหน่ึงท่ีจะช่วย ให้การทางานของแพทยเ์ ปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้ึน ขณะนกี้ ารใชแ้ อปพลเิ คชัน “ONLINE CLINIC” จะ เริม่ ใชท้ ่ี โรงพยาบาล 8 แห่ง ในจังหวดั นนทบุรี (ศูนยป์ ฎิบัตกิ ารภาวะฉุกเฉิน กรมควบคมุ โรค, 2563) 4.1.3 สวมหน้ากากอนามยั ทกุ ครง้ั เมอ่ื อยูใ่ นที่สาธารณะ สถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 ท่ีมีจุดกาเนิดอยู่ในประเทศจีน นับว่าเป็น ปัญหาท่ีตอ้ งระมัดระวัง เพราะพบว่าจานวนผ้ปู ่วยจากการติดเชือ้ ไวรัสที่มีจานวนเพ่ิมขึน้ ในทุกๆ วัน ดังน้ันการ ใส่หนา้ กากอนามัยถือเป็นสิ่งสาคัญในการป้องกันการแพร่กระจายของเชือ้ ไวรัส และเป็นหนึ่งวิธีในการปอ้ งกัน ตัวเองเบ้ืองต้น เพราะวงการแพทย์ยืนยันและแนะนาให้คนทั่วไปใช้หน้ากากอนามัย เม่ือเกิดการแพร่ระบาด ของโรค เพ่ือลดความเสีย่ งท่ีจะตดิ เชือ้ ระหว่างคนส่คู นได้ หน้ากากอนามัย คือ หน้ากากที่ใช้เพ่ือช่วยป้องกันระบบทางเดินหายใจจากมลพิษ สารพิษ และเชอื้ โรค ในหลายกรณแี พทย์แนะนาให้ใช้หนา้ กากอนามัย เพื่อป้องกนั โรคท่ีเก่ียวกบั ระบบทางเดิน หายใจ เนื่องจากเป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อแบคทีเรียหรือเช้ือไวรัสจากคนสู่คนได้ (ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข, 2563) หน้ากากอนามัยจะใช้ใน สถานการณ์หลกั ๆ (กุลกญั ญา โชคไพบลู ยก์ จิ , 2563) คอื 1.เม่ือเจ็บป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ แม้จะอาการไม่มากรวมท้ังโรค COVID-19 2. เม่ือต้องดูแลหรืออยใู่ กล้ชิดคนป่วย รวมท้ังบุคลากรทางการแพทย์ท่ีต้อง ดแู ลผปู้ ว่ ย 3. เม่ือต้องไปในสถานที่ท่ีมีคนจานวนมากแออัดในสถานท่ีจากัด ซึ่งอาจ เส่ียงต่อการโดนไอหรือจามใส่ และในช่วงที่มีการระบาดของ COVID-19 อย่างกว้างขวาง ควรใส่หน้ากากทุก คร้ังท่ตี อ้ งพบหรอื พูดคยุ กับผูอ้ นื่ 4. เมือ่ ตอ้ งกกั ตัวเพ่อื ดอู าการหลังจากไปสัมผสั โรค COVID-19 1) ประเภทของหน้ากากอนามัย หน้ากากอนามัยมี 3 ประเภท ลักษณะของการใช้ แตกตา่ งกนั ออกไป (ศนู ยป์ ฏิบตั ิการฉุกเฉินดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ , 2563) ดงั น้ี 1.1) หน้ากากอนามัยแบบผ้า กรณีคนไม่ป่วย ใช้เพื่อป้องกันการสัมผัสเชื้อ แนะนาให้ใช้หน้ากากผ้าประหยัดและลดขยะ สามารถซัก ตากแห้ง และนามาใช้ใหม่ได้ กรณีคนที่ป่วยให้ใช้ หนา้ กากอนามัยเพอ่ื การแพทย์ เพื่อป้องกันการแพรก่ ระจายเชื้อ 1.2) หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ ท่ีด้านหน่ึงที่เป็นสีเขียวหรือฟ้า โดยใส่ ดา้ นท่ีเป็นสีเข้มออกข้างนอก เพราะจะมีการกั้นน้าและการแพร่ของเชื้อไวรัส ซ่ึงเหมาะที่สุดในการป้องกันการ แพร่ หรือ รับเช้ือต่าง ๆ อย่างหวัดจากเชื้อไวรัส และแบคทีเรีย ที่มากับละอองน้าลาย น้ามูก ที่พุ่งกระจาย ออกมา เวลาใครจามหรือไอ โดยเฉพาะเวลาจาม ที่มีแรงส่งละอองน้าลาย น้ามูกกระจายในรัศมีวงกว้าง มีวิธีใส่ คือ ล้างมือให้สะอาดก่อนนาหน้ากากอนามัยมาใช้ เวลาสวมให้คลุมทั้งจมูกและปาก ขอบท่ีมีลวดอยู่ ด้านบนสันจมูก และรอยจีบพับควา่ ลงใชแ้ ล้วท้ิง

25 1.3) หนา้ กาก N 95 ให้บุคลากรทางการแพทย์ทดี่ ูแลผู้ป่วยใชเ้ พราะใกล้ชิด เช้ือมากกว่า โดยหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ เพราะมีคุณสมบตั ิชว่ ยปอ้ งกันการเชื้อโรคท่ีมีขนาดเลก็ มาก ๆ ได้ และมีประสิทธิภาพในการป้องกันสูงกว่า เช่น ป้องกันเช้ือวัณโรค เชื้อแอนแทร็กซ์ หรือเชื้ออ่ืนๆ ที่เป็น อันตราย อีกท้ังมักใช้ระหว่างการทางาน เช่น การทางานกับสารเคมีหรือการใช้สีที่อาจทาให้ได้กลิ่นไม่พึ ง ประสงค์ เนื่องจากลักษณะของหน้ากากอนามัยชนิดน้ี จะครอบลงไปที่บริเวณหน้าปากและจมูกอย่างมิดชิด ทาใหเ้ ชอื้ ไวรสั หรอื สารปนเปอื้ นไม่สามารถลอดผ่านได้ 2) วิธีการใส่ ใช้ ถอด และท้ิงหนา้ กากอนามัยอย่างถกู วธิ ี (WHO, 2563) มดี ังน้ี 2.1) ควรลา้ งมือด้วยแอลกอฮอล์ลา้ งมอื สบู่ และนา้ กอ่ นใสห่ น้ากากอนามัย ทุกครัง้ 2.2) ใส่หน้ากากอนามัยให้ปิดปากและจมูก โดยเช็คว่าไม่มีช่องว่างระหว่าง บรเิ วณหน้าและหน้ากากอนามยั 2.3) หลกี เล่ียงการสัมผัสหน้ากากอนามยั ระหว่างการใชง้ าน หากสัมผสั ควร ลา้ งมือใหส้ ะอาดดว้ ยแอลกอฮอลล์ ้างมือ สบู่ และน้า 2.4) เมื่อหน้ากากอนามัยท่ีใส่อยู่เกิดความชื้นควรถอด และใส่หน้ากาก อนามยั อนั ใหม่ และไม่ควรนาหน้ากากอนามัยใชแ้ ล้วท้งิ มาสวมใสอ่ ีกครัง้ 2.5) เมื่อถอดหน้ากากอนามัย ควรถอดจากทางด้านหลัง (ไม่ควรสัมผัส ข้างหน้าของหน้ากากอนามัย) และท้ิงหน้ากากอนามัยทันทีในถังขยะแบบปิด ตามด้วยการล้างมือให้สะอาด ดว้ ยแอลกอฮอล์ล้างมอื สบู่ และนา้ 3) คาแนะนาในการกาจัดหน้ากากอนามัยท่ีใช้แล้ว (กระทรวงสาธารณสุข, 2563) มีดังนี้ 3.1) กรณหี นา้ กากอนามยั ท่ีใชส้ าหรบั คนทว่ั ไป ไม่ป่วย แข็งแรงดี เมื่อใช้งาน แล้วถือเป็นขยะท่ัวไปให้กาจัดโดยจับสายรัด และถอดหน้ากากอนามัยจากด้านหลังและไม่ควรสัมผัสตัว หน้ากาก ทง้ิ ในถงั ขยะท่ีมฝี าปดิ ทใ่ี กล้ท่ีสดุ ทนั ที จากน้ันล้างมือใหส้ ะอาดด้วยน้าและสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์ 3.2) กรณหี น้ากากอนามัยทีใ่ ชส้ าหรับผู้ที่แยกสังเกตอาการท่ีบ้าน (Self-HomeQuarantine) ซ่ึงอาจปนเป้ือนเช้อื โรคจากน้ามกู นา้ ลาย เสมหะ เม่ือใช้งานแล้วให้กาจัดโดยจับ สายรดั และถอดหน้ากาก อนามัยจากด้านหลงั ในแต่ละวันให้เก็บรวบรวมและทาลายเชื้อ โดยเกบ็ รวบรวมใส่ ถงุ ขยะ 2 ชน้ั และทาลายเช้ือเบื้องตน้ โดยราดด้วยน้ายาฟอกขาว (โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 5%) แล้วมดั ปากถุงให้ แนน่ นาไปทิง้ รวมกับขยะทัว่ ไป ท้งั น้ี ภายหลงั กาจัดหน้ากากอนามยั ใชแ้ ลว้ ใหล้ ้างมือให้สะอาดด้วยนา้ และสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอลท์ นั ที 3.3) กรณีหนา้ กากอนามัยท่ใี ชใ้ นสถานบริการสาธารณสขุ หอ้ งปฏิบตั กิ าร เชอื้ อนั ตราย ทเ่ี กดิ ขึ้นหรือใชใ้ นกระบวนการตรวจวินจิ ฉยั ทางการแพทยแ์ ละการรักษาพยาบาล เม่อื ใชง้ านแลว้ ถอื เป็นขยะติดเช้ือ ต้องเกบ็ ขนและกาจดั ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงวา่ ด้วยการกาจดั มลู ฝอยติดเชอื้ พ.ศ. 2545

26 4.1.4 ล้างมือให้สม่าเสมอด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจลอย่างน้อย 20 วินาที ความเข้มข้นของ แอลกอฮอล์ไมต่ ่ากวา่ 70% (ไม่ผสมน้า) 1) การล้างมือ (Hand hygiene) การขัดถใู ห้ทัว่ มอื รวมทงั้ ช่องลายนิ้วมือ ด้วยสบูห่ รือ สารเคมีและน้า แล้วล้างออกให้สะอาด โดยแบ่งวิธีการล้างมือดังน้ี (โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์, 2562) 1.1) Normal hand washing (การล้างมือท่ัวไป) หมายถงึ การล้างมือเพื่อ ขจัดสิ่งสกปรกต่าง ๆ เหงื่อ ไขมนั ท่ีออกมาตามธรรมชาติ และลดจานวนเช้ือโรคทอี่ าศัยอย่ชู ัว่ คราวบนมือ การ ลา้ งมืออยา่ งถูกวิธตี อ้ งลา้ งด้วยสบู่ก้อนหรือสบเู่ หลว ใชเ้ วลาในการฟอกมอื นานประมาณ 15 วินาที 1.2) Hygienic hand washing (การล้างมือด้วยน้ายาฆ่าเช้ือ) หมายถึง การลา้ งมือดว้ ยสบเู่ หลวผสมน้ายาฆ่าเชอ้ื เช่น Chlorhexidine 4% ใชเ้ วลาในการฟอกมอื นาน 20-30 วินาที 1.3) Surgical hand washing (การล้างมือก่อนทาหัตถการ) การล้างมือ ก่อนทาหัตการในหอ้ งผ่าตดั หรือหอ้ งคลอดเพื่อปอ้ งกันการติดเช้อื โดยการฟอกมือดว้ ยสบผู่ สมนา้ ยาฆา่ เชอ้ื เช่น Chlorhexidine 4% ตง้ั แตม่ อื แขน ถึงขอ้ ศอกใหท้ ่วั เป็นเวลา 2-5 นาที 1.4) การลา้ งมือดว้ ยแอลกอฮอล์เจล (Alcohol gel) หมายถงึ การล้างมือ ในกรณีรีบดว่ น ไม่สะดวกในการล้างมอื ด้วยนา้ และมือไมป่ นเปือ้ นส่งิ สกปรก หรือสารคัดหล่ังจากผู้ปว่ ย ใหท้ า ความสะอาดมือดว้ ยแอลกอฮอล์เจล การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจลประมาณ 10 มลิ ลิลติ ร ใช้เวลาประมาณ 15-25 วินาที 2) เหตผุ ลที่คนเราควรลา้ งมอื มือที่เปียกชื้นสามารถแพร่กระจายแบคทีเรียได้มากกว่ามือที่แห้งถึง 1,000 เท่า บนมือของเราสามารถมีแบคทีเรียเกาะอยู่ได้ถึง 3,000 ชนิด ระยะเวลา 3 ชั่วโมง และแบคทีเรียตัวเดียว สามารถแบ่งตวั ได้ถึง 4,000,000 ตวั ใน 8 ชั่วโมง และ 85% ของจลุ ินทรีย์ ถูกสง่ ผ่านมือทเ่ี ปยี กช้นื เลบ็ มือเป็น ส่วนท่ียากที่สุดในการทาความสะอาด ดังน้ันการล้างมือด้วยน้าและสบู่เป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการป้องกันโรคใน ระบบทางเดินอาหาร และทางเดินหายใจ งานวิจัยในสหรัฐอเมริกาพบว่า ผู้หญิงล้างมือด้วยสบู่บ่อยและใช้ เวลานานกว่าผู้ชาย โต๊ะทางานโดยเฉล่ียมีแบคทีเรียมากกว่าท่ีนั่งสุขา 400 เท่า พบแบคทีเรียท่ีอาศัยอยู่ใน ธนบัตรโดยเฉล่ียมากถงึ 26,000 ตัวต่อฉบับ บนสมาร์ทโฟนสามารถพบแบคทีเรียไดม้ ากกว่า 30,000 ตวั และ แปน้ พิมพ์คอมพิวเตอร์สามารถพบแบคทเี รียได้มากกวา่ ทีน่ ่ังในห้องนา้ งานวิจยั ในสหราชอาณาจกั รสามารถพบ เช้ือแบคทีเรียได้ถึง 10% ของบัตรเครดิต 14% ของธนบัตร 26% บนมือเรา มีเพียง 19% ของประชากรท่ัว โลกท่ีล้างมือกับสบูห่ ลงั เขา้ ห้องน้า การล้างมือด้วยน้าและสบ่สู ามารถลดจานวนการเสยี ชีวิตจากโรคท้องร่วงได้ ถึงร้อยละ 50 และการล้างมือท่ีถูกวิธีมีประสิทธิภาพเท่ากับการฉีดวัคซีน (โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราช การุณย์, 2562) 3) ข้ันตอนการลา้ งมอื 7 ขนั้ ตอนท่ีถกู ต้อง เพ่ือขจัดสิ่งสกปรกต่างๆ และลดจานวนเชื้อโรคที่อาศัยอยู่ชั่วคราวบนมือเรา ควรล้างมือตามขัน้ ตอน ดังน้ี

27 ขน้ั ตอนที่ 1 ฝา่ มือถูฝ่ามือ ล้างมือด้วยนา้ สะอาด ถูสบูจ่ นขน้ึ ฟอง หลังจาก น้ันนาฝา่ มอื ทั้งสองข้างประกบกัน และถวู นให้ทวั่ ขั้นตอนท่ี 2 ถหู ลังมอื และซอกนว้ิ เพ่ือฆ่าเช้อื โรคบริเวณมือและซอกนวิ้ ด้านหลงั โดยใช้ฝ่ามือถบู รเิ วณหลังมอื และซอกนว้ิ สลบั ไปมาท้ังสองข้าง ขั้นตอนที่ 3 ถูฝ่ามือและซอกน้ิว นามอื ท้งั สองข้างมาประกบกนั ถูฝ่ามือ และซอกน้ิวด้านหนา้ ให้สะอาด ข้นั ตอนที่ 4 หลงั น้ิวมอื ถูฝ่ามือ ให้น้ิวมือทง้ั สองขา้ งงอเก่ยี วกัน ถูวนไปมา ขน้ั ตอนท่ี 5 ถูน้ิวและโคนน้วิ หัวแมม่ ือ กางนิว้ หัวแม่มือแยกออกมา ใช้ฝา่ มอื อกี ข้างการอบนิว้ หัวแมม่ ือ แล้วถูหมุนไปรอบ ๆ ทาสลับกนั ทง้ั สองข้าง ขั้นตอนที่ 6 ถูปลายนิ้วมือบนฝา่ มือ ให้แบมอื แล้วใชป้ ลายน้ิวมืออีกข้างถูวน เป็นวงกลม จากนัน้ สลับข้างทาแบบเดียวกนั ขั้นตอนท่ี 7 ถูรอบข้อมือ กามือรอบขอ้ มอื ขา้ งหนึง่ ถูวนจนกวา่ จะสะอาด หลงั จากน้ันใหเ้ ปล่ียนขา้ งทาแบบเดียวกับมอื ข้างแรก ในกรณีใช้แอลกอฮอล์เจล (Alcohol Gel) ไม่ต้องล้างมือซ้าด้วยน้า และไม่ ต้องเช็ดดว้ ยผา้ เชด็ มอื 4) ส่ิงที่ไม่ควรปฏบิ ัติ 4.1) ใช้ผา้ เชด็ มือผนื ใหญร่ ่วมกัน 4.2) ห้ามใช้แอลกอฮอล์เจล (Alcohol Gel) ถูมือ ในกรณีมือเปื้อนส่ิง สกปรก หรือสารคดั หลง่ั จากรา่ งกายทมี่ องไมเ่ ห็นดว้ ยตาเปล่า แต่ควรลา้ งมอื ด้วยน้าสะอาดตามขั้นตอน 5) หลกั การใชเ้ จลแอลกอฮอล์ หลักการใชเ้ จลแอลกอฮอล์อย่างถกู ต้องวา่ ควรใชเ้ ฉพาะเมอ่ื จาเป็นเพอื่ ทาความ สะอาดมอื ในชว่ งเวลาท่ีไม่สามารถหาสบู่และน้าเปล่าได้ วธิ ที ่ถี ูกต้องทีส่ ุดคือการลา้ งมือและฟอกสบูเ่ ปน็ เวลา 20 วินาทีข้ึนไป เจลแอลกอฮอลท์ ่ีมคี ุณสมบตั ิเหมาะสมจะตอ้ งใชเ้ จลทีม่ ีส่วนประกอบของแอลกอฮอล์ 70% เพราะถา้ ใชส้ ัดส่วนทีต่ า่ กวา่ นั้นตวั แอลกอฮอลจ์ ะระเหยเรว็ เกนิ ไป ไมส่ ามารถกาจดั เช้ือโรค COVID-19 ได้ (ธีร ยุทธ วไิ ลวลั ย,์ 2563) ตามที่มีกฎหมายใหม่ออกมา สว่ นผสมอ่นื ในเจลทาให้ตัวแอลกอฮอล์ระเหยได้ชา้ ลง สัมผัสกบั ผวิ ได้นานขนึ้ และช่วยลดการระคายเคืองของแอลกอฮอล์ และคงความช่มุ ช้ืนต่อผวิ “ควรใช้เจล แอลกอฮอล์เฉพาะมอื เท่าน้นั ห้ามสมั ผัสหรือเชด็ ล้างบริเวณเน้ือเย่อื อ่อน เชน่ ใบหนา้ และดวงตาโดยเด็ดขาด ไมเ่ ปิดฝาท้ิงไว้ ไม่เกบ็ ในทม่ี ีแสงแดดส่องถึง ไม่เก็บไว้ในรถ เพราะจะทาใหแ้ อลกอฮอล์ระเหยและเส่อื มสภาพ” ศ.ดร.ธรี ยทุ ธ แนะนาการใชง้ านสาหรับการสังเกตว่าเจลแอลกอฮอลน์ นั้ เปน็ แอลกอฮอลป์ ลอมหรอื ไม่ จะต้อง ตรวจสอบ อตั ราสว่ นของแอลกอฮอล์ทผี่ สมในเจลลา้ งมือว่ามสี ัดสว่ นทม่ี ากกว่า 70% หรือไม่ ซึ่งต้องส่งให้ หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องตรวจเท่านั้น สาหรบั บคุ คลท่วั ไปใหด้ ูจากฉลากของผลติ ภณั ฑจ์ ากผู้ผลิตท่มี ีความ นา่ เช่อื ถอื นอกจากน้ีตอ้ งตรวจสอบวา่ เป็นการใชแ้ อลกอฮอล์ผิดชนดิ หรือไม่ 6) ประเภทของแอลกอฮอล์

28 แอลกอฮอล์ มีสารประกอบอินทรียท์ ี่มีโมเลกุลคล้ายน้าแต่มสี ่วนผสมของคาร์บอน ผสมเขา้ ไปดว้ ย ซึง่ เอทิลแอลกอฮอล์ ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ และเมทลิ แอลกอฮอลม์ จี านวนคารบ์ อนท่ตี ่างกนั เอทิลแอลกอฮอล์ มีคารบ์ อนสองตวั ไอโซโพรพิสแอลลกอฮอล์ มีคารบ์ อนสามตวั สามารถใชฆ้ ่าเช้ือไดเ้ ฉพาะ ภายนอกเทา่ นั้น ส่วนเมทิลแอลกอฮอลม์ ีคารบ์ อนหนึ่งตัวซึง่ ปกติใชใ้ นอุตสาหกรรมเคมี ไมน่ ามาใชก้ บั คนหรอื ฆ่าเชื้อโรคเน่อื งจากมีความเป็นพษิ สงู ถา้ โดนผิวหนงั จะซึมเขา้ สรู่ า่ งกาย เมื่อเมทลิ แอลกอฮอล์เข้าไปในร่างกาย จะสะสมความเป็นพิษโดยเปลีย่ นเปน็ สารอน่ื ๆ ท่มี ีพิษ ทาให้ตับทางานหนกั เพ่ือทจ่ี ะกาจัดสารเหล่านี้ หาก รับประทานเข้าไปจะทาให้ตาบอดและอาจถึงตายได้ 6.1) วธิ ตี รวจสอบ หัวหน้าฝ่ายเคมี ศูนย์วิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมเพื่อความเข้าใจของประชาชน ว่าการทดสอบที่แนะนาเป็น การทดสอบสาหรับแอลกอฮล์ที่ไม่ซับซ้อน (ปิยนุช โรจน์สง่า, 2563) อย่างไรก็ตามเจลแอลกอฮอล์มีความ หลากหลายของสูตรตารับ เนื่องจากในเจล หรือผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์มักมีการเติมสารต่างๆ ในตารับ ดังน้ัน วธิ กี ารทดสอบตา่ งๆ จงึ มีขอ้ ควรระวงั ดงั ต่อไปนี้ 1) การทดสอบดังกล่าวจะให้ผลชัดเจน ในกรณีท่ีผลิตภัณฑ์ แอลกอฮอลป์ ลอมน้นั คอื เมทานอล และไม่ไดเ้ ติมสว่ นประกอบอืน่ ๆ 2) การทดสอบผลิตภัณฑ์เจลแอลกอฮอลท์ ผี่ ลติ จากเอทานอล หรือ ไอโซโพรพานอล ทีม่ ีส่วนประกอบของสารท่ีเปน็ เบส เช่น triethanolamine อาจไม่ทาใหส้ ขี องสารละลายดา่ ง ทบั ทมิ เปลย่ี นเปน็ สีน้าตาล และใช้เวลานานกว่า 5 นาที ในการทาใหส้ ชี มพูของสารละลายดา่ งทับทิมหายไป 3) ผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ปลอมท่ีมีส่วนประกอบของสารต้าน อนุมูลอิสระ เช่น วิตามินอี สารให้ความชุ่มชื้นเช่น glycerine สามารถเปลี่ยนสีของสารละลายด่างทับทิมใน นา้ สม้ สายชูได้ ถงึ แม้จะไม่มสี ่วนประกอบของเอทานอล หรือ ไอโซโพรพานอล หมายความว่าการท่ีผลิตภัณฑ์ที่ นามาทดสอบเปลย่ี นสสี ารละลายดา่ งทบั ทิมกย็ ังอาจเป็นผลติ ภัณฑ์ปลอม หรอื ไมไ่ ด้มาตรฐานได้ ดงั นั้น การเลือกซ้ือผลติ ภัณฑเ์ จลแอลกอฮอล์ จากร้านขายยาคุณภาพ หรือ ผู้ผลิตท่ีมีความน่าเชื่อถือท่ีไม่ได้อยู่ในรายชื่อที่ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประกาศว่าเป็น ผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ที่ไม่ได้มาตรฐาน น่าจะเป็นอีกทางเลือกหน่ึงที่จะช่วยให้ได้ผลิตภัณฑ์แอลกอฮอล์ท่ีมี คณุ ภาพมาตรฐาน และนาไปใชเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั การแพร่กระจายของเชอ้ื ไวรัสตา่ งๆ ไดอ้ ย่างม่นั ใจ 4.1.5 หลีกเล่ยี งการใกลช้ ิดสัมผัสสตั วต์ า่ ง ๆ โดยที่ไมม่ กี ารปอ้ งกนั การเผยแพร่การศึกษาในจีนซึ่งเป็น การศึกษาความไวหรือความสามารถในการติด เช้ือ COVID-19 ในสัตว์ทดลอง 6 ชนิด ได้แก่ แมว สุนัข เฟอร์เร็ต สุกร เป็ด และไก่ ผลการศึกษาพบว่าแมว และเฟอร์เรต็ เป็นสัตว์สองชนิดท่ีมีความไวต่อการติดเช้ือไวรัส COVID-19 ทงั้ นี้อาจสรุปได้ว่าแมวและเฟอร์เร็ต เป็นสัตว์สองชนิดที่มีความไวต่อการติดเชื้อ แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าแมวสามารถติดเชื้อไวรัส COVID-19 ใน ธรรมชาติหรือสามารถแพร่เช้ือดังกล่าวมาที่คนได้หรือไม่ เนื่องจากการศึกษาดังกล่าวเป็นการศึกษาใน หอ้ งทดลอง และยังจาเปน็ ต้องมผี ลการศึกษาเพมิ่ เติมอกี (นรรฆวี แสงกลบั , 2563)

29 อีกการศึกษาหน่ึงเป็นการศึกษาเพ่ือหาความชุกของการติดเช้ือไวรัส COVID-19 ใน แมว โดยมีการตรวจเชื้อไวรัส COVID-19 ในเลือดแมวก่อนและหลังการระบาดของ COVID-19 ในเมืองอู่ฮ่ัน พบว่า 14% ของ ตัวอยา่ งเลือดแมวที่ตรวจมีเชื้อของ COVID-19 ภายหลงั การระบาดของโรค แสดงให้เห็นวา่ มี การแพร่ของเช้ือเชื้อไวรัสจากคนสู่แมว แต่เราจะสังเกตได้ว่าจานวนแมวติดเชื้อท่ีตรวจพบไม่มากนัก และอีก หน่ึงขอสังเกตท่ีสาคัญ คือ เมืองอู่ฮ่ันนั้นเป็นศูนย์กลางของการแพร่เช้ือจึงมีปริมาณเช้ือไวรัสกระจายอยู่ใน สง่ิ แวดลอ้ มจานวนมาก การศึกษาน้ียงั รอการตรวจทานผลงานอยู่จากประเด็นท่ีกล่าวมาทั้งหมดขา้ งต้น สรปุ ได้ ว่า มีการรายงานการพบเช้ือและการติดเชื้อไวรัส COVID-19 จากคนในสัตว์เลี้ยง โดยแมวและเฟอร์เร็ตอาจมี ความไวในการติดเช้ือมากกว่าสัตว์ชนิดอ่ืน แต่ยังไม่มีหลักฐานยืนยันว่ามีการแพร่เชื้อกลับจากสัตว์เลี้ยงสู่คน แต่ถึงอย่างไรก็ตามสัตว์เลี้ยงอาจนาพาเช้ือไวรัสมาให้เราหรือคนอ่ืน ๆ ได้อีกทอดหนึ่ง จึงมีวิธีปฏิบัติตนและ ดูแลสุขภาพสตั วเ์ ลีย้ งในสถานการณ์การระบาดของไวรัส COVID-19 ดงั น้ี 1.ควรรักษาความสะอาดสขุ อนามัยอย่างเคร่งครดั 2.ควรลา้ งมือทงั้ กอ่ นและหลงั สัมผัสสตั ว์หรอื สตั ว์เล้ียง 3.กลุ่มเสย่ี งทต่ี อ้ งกกั ตัวควรอยู่ห่างจากสัตวห์ รือสตั ว์เล้ยี งช่วั คราว 4.หลีกเลี่ยงการปล่อยสัตว์เลี้ยงออกนอกบ้าน หากจาเป็นควรอาบน้าสัตว์ เลยี้ งก่อนเข้าบา้ นทกุ ครัง้ 5.หากสัตว์เลี้ยงมีอาการทางระบบทางเดินหายใจร่วมกับระบบทางเดิน อาหาร ควรปรึกษาสัตว์แพทย์เพื่อขอคาแนะนาในการหาสาเหตุของโรค และยังไม่มีความจาเป็นต้องตรวจหา เชื้อในสัตว์เลีย้ งทุกตวั และขอความรว่ มมือไม่นาสตั ว์เล้ียงไปปล่อยในท่ีสาธารณะ 4.1.6 รับประทานอาหารสกุ สะอาดไม่ทานอาหารท่ีทาจากสัตว์หายาก 1) สตั วท์ ่ีห้ามรบั ประทาน เส้นทางการแพร่ระบาดของ COVID-19 มีต้นกาเนิดจากสัตว์ เช่น ค้างคาว ตัวลิ่น ทั้งน้ีจากการตรวจรหัสพันธุกรรมของไวรัส ที่พบในคนตรงกับพันธุกรรม ในค้างคาวสูงถึงร้อยละ 96 และ พันธุกรรมในตัวลิ่นร้อยละ 90 จึงความว่าจุดกาเนิดของโคโรนาอาจจะมีต้นกาเนิดมาจากค้างค้าว COVID-19 และอินฟลูเอ็นซา หลังจากถอดรหัสพันธุกรรมสาเร็จจึงนาไปเปรียบเทียบกับรหัสพันธุกรรมในธนาคารรหัส พนั ธุกรรมโลก (Genbank) แล้วพบว่า ไวรัสดงั กล่าวเหมือนกับ Bat SARS-like Coronavirus คือ เช้ือโคโรนา ไวรัสในกลุ่มโรคที่คล้ายคลึงกับโรคซาร์สแต่พบในค้างคาว ต่อมาประเทศจีนได้ปล่อยรหัสพันธุกรรมออกมาจึง ตรวจสอบต่อไป จนสามารถยืนยันได้ว่าเป็นเช้ือโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ซ่ึงตรงกับเชื้อท่ีพบในอู่ฮั่น 100 % เมอ่ื เปรยี บเทยี บเช้ือไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ุ หม่ 2019 พบว่ามเี ชอ้ื ใกลเ้ คยี งกบั Bat SARS-like coronavirus ZC45 ถึง 89.12% ซ่ึงเป็นเช้ือท่ีเคยพบในค้างคาวที่ประเทศจีนมาก่อน เม่ือตรวจสอบเชื้อดังกล่าวพบว่า เชื้อ ไวรัสชนิดนี้ มาจากคา้ งคาวมงกุฏซง่ึ มี 2 สายพันธ์ทุ ี่พบท่ีจีน(สุภาภรณ์ วัชรพฤษาดี, 2563) เช้ือ SARS-CoV ที่ กอ่ โรค SARS ในประเทศจีนในปี พ.ศ. 2546 มีอเี ห็นหรือ ชะมด (palm civet) เปน็ intermediate host และ เช้ือ MERS-CoV ที่ก่อโรค MERS ในประเทศซาอุดิอารเบียในปี พ.ศ. 2555 มีอูฐเป็น intermediate host (อมร ลีลารัศมี, 2563)

30 2) ช้อนกลาง การใช้ช้อนกลาง จัดให้มีช้อนกลางทุกคร้ังเม่ือมีอาหารท่ีต้องรับประทานร่วมกัน การใช้ช้อนกลางให้จับ บริเวณด้ามช้อนเท่านั้น เม่ือทาความสะอาดช้อนแล้ว ให้ผึ่งหรืออบให้แห้ง ห้ามใช้ผ้า เช็ด และในระยะท่ีมีการ ระบาด ควรใช้ช้อนกลางส่วนตัว การใช้ชอ้ นกลางท่ีถกู ตอ้ งตามหลักสขุ าภิบาลอาหาร ควรปฏิบตั ิดังน้ี 2.1) ควรเตรียมชอ้ นกลางท่ีสะอาด หรอื อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ตกั อาหารใหเ้ หมาะกับ ชนิดของอาหารและมจี านวนให้ครบตามจานวนชนดิ ของอาหารทจ่ี ะกินอย่างน้อย 1 คนั ต่ออาหาร 1 ชนิด 2.2) ใช้ช้อนกลางที่เตรียมไว้เพ่ือตักอาหารมาใส่ท่ีจานข้าว หรือถ้วยแบ่ง ของตนเอง โดยห้ามใชช้ อ้ นกลางตกั อาหารทก่ี ินร่วมกันเข้าปากโดยตรง 2.3) ขอความรว่ มมือให้ร้านอาหาร และแผงลอยท่ีนอกจากจะต้องใสใ่ จปรุง อาหารท่ีสะอาดปลอดภัยแล้ว ควรเสิร์ฟช้อนกลางทุกครั้งเม่ือลูกค้าสั่งอาหารมากินร่วมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หรือมีช้อนกลางบริการไว้ให้ท่ีโต๊ะอาหารการทาความสะอาด ทาความสะอาดช้อนท่ีทาด้วยพลาสตกิ หรือเมลา มีนไม่ควรขัดถูให้เกิดรอยขูดขีดหรือรอยถลอก จะทาให้สารเคมีละลายออกมาและเกิดอันตรายในการใช้ได้ โดยเฉพาะเมลามีนไม่ควรใช้ใยสังเคราะห์ เชน่ ฝอยเหลก็ หรือสกอ็ ตไบรท์ เป็นต้น มาขดั ถู เพราะจะทาให้สารท่ี เคลอื บผิวเมลามีนหลุดออกมาปนเป้อื นในอาหารได้ และรอยขูดขดี อาจเป็นแหลง่ สะสมของเชื้อโรคได้อกี ด้วย 4.1.7 แนวทางการดูแลตวั เองในสถานการณ์ COVID-19 สาหรับบคุ ลากรทางการแพทย์ 1) แนวทางปฏิบัติการรักษาทางทันตกรรมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 1.1) ให้การรักษาทางทันตกรรมเฉพาะกรณีฉุกเฉิน (Emergency case) เท่านั้น และหลีกเล่ียง การรักษากรณีเร่งด่วน (Urgent case) ท้ังน้ีหากมีความจาเป็นต้องให้การรักษาไม่ว่า กรณีใดก็ตาม จะต้อง คานึงถึงศักยภาพของหน่วยงานรวมถึงความปลอดภัยของบุคลากรต่างๆ ในแง่ของการ ป้องกนั และควบคุมการ แพรก่ ระจายของโรคอยา่ งสูงสุด 1.2) ใหเ้ ลื่อนการรกั ษางานทันตกรรมที่ไม่เร่งด่วน (Elective case) ออกไป ก่อน 1.3) ในกรณีมีความจาเป็นต้องให้การรักษา ให้พิจารณาตามแนวทาง ปฏิบัติการรักษาทาง ทันตกรรมในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ตามรายละเอียดแนบท้าย รายละเอียดแนบท้าย Emergency (ฉุกเฉิน) คือ ภาวะท่ีอาจก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิต และต้องการการรักษา อยา่ งฉุกเฉนิ Urgent (เร่งด่วน) คอื ภาวะที่ควรได้รับการดแู ลทนั ที โดยยดึ หลกั minimally invasive Elective (ไม่เรง่ ดว่ น) คือ ภาวการณเ์ จ็บป่วยทีส่ ามารถรอได้

31 ตาราง 2 แนวทางปฏิบัติการรักษาทางทนั ตกรรม Emergency Urgent Elective - ภาวะเลือดออกท่ีควบคุม - ปวดฟันจากการอักเสบของ - ตรวจฟันและวางแผนการ รักษา ไม่ได้ - การอักเสบติดเชื้อที่ เน้ือเย่ือใน โพรงประสาทฟันและ ผปู้ ว่ ยใหม่ กอ่ ให้เกิด การบวมของเน้ือเยื่อ เนือ้ เย่อื รอบปลาย รากฟนั - ผู้ป่วยทุกสาขาท่ีต้องได้รับการ อ่อนทั้ง ในหรือนอกช่องปาก - ปวดฟนั คุด รักษาต่อเนื่อง แต่ไม่มีเหตุเร่งด่วนให้ ซึ่งอาจ ก่อให้เกิดอันตรายถึง - ภาวะกระดูกเบ้าฟันอักเสบหลัง ตอ้ งทาการรกั ษาในขณะนี้ ชวี ิต การถอนฟัน การอกั เสบตดิ - การได้รับอุบัติเหตุกระแทก เช้ือที่ก่อให้เกิดหนองหรือ อาการ - ผปู้ ว่ ย recall บริเวณใบหน้าที่มีความเส่ียง ปวดบวมแบบเฉพาะที่ - ขูดหินปูน ตอ่ การขดั ขวางการหายใจ - ฟันหัก/แตกที่ทาให้เกิดอาการ - ทันตกรรมป้องกนั เจ็บปวด หรือการบาดเจ็บที่ - จัดฟัน เน้อื เย่อื - ทันตกรรมหัตถการต่างๆ รวมถึง - อุบัติเหตุฟันหลุดหรือขยับออก กรณีฟนั ผแุ ต่ไมม่ อี าการ จากตาแหนง่ เดิม - ถอนฟันท่ไี มม่ ีอาการ - ครอบฟันช่ัวคราวหลุดหาย หรือ - งานทันตกรรมเพื่อความ สวยงาม ฟันปลอมแตกหักหรือคม ซ่ึง - งานทนั ตกรรมรากเทียม ก่อให้เกิด อาการบาดเจ็บที่เหงือก - งานทันตกรรมประดิษฐ์ท่ีไม่ ส่งผล หรอื เน้ือเย่ืออ่อน ต่อความเจ็บปวดหรือ การใช้งาน - ฟันผุลึกท่ีส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการ อย่างเร่งดว่ น เจ็บปวดจนไม่สามารถใช้งานฟันซี่ นน้ั ได้ - การปรับแก้ไขฟันปลอมในกรณี ที่ส่งผล กระทบต่อการใช้งานของ ผปู้ ่วย - การให้การรกั ษาทางทนั ตกรรมท่ี จาเปน็ ตอ้ งทาก่อนและหลังการ รกั ษาทางการแพทย์ทีส่ าคญั หรอื กรณผี ู้ป่วยมี โรคประจาตวั รุนแรง ท่ีตอ้ งไดร้ บั การรักษา เช่น การ เตรยี มช่องปากเพื่อการ รักษา มะเรง็ ศีรษะและลาคอ ผ้ปู ่วยที่ ต้องได้รบั การผา่ ตัดเปลีย่ นอวัยวะ

32 Emergency Urgent Elective ปลกู ถ่ายไขกระดูก- การหลุดของ วสั ดุอดุ ช่วั คราวระหว่างการรักษา รากฟันจนเกิดการรั่วเข้าไปใน คลองราก - ความผิดปกติของลวดจัดฟัน หรอื อุปกรณจ์ ัดฟนั ทีส่ ่งผลให้เกิด การ บาดเจ็บต่อเน้ือเยื่ออ่อน ทม่ี า : กรมการแพทย์ 2) แนวทางการจดั เตรยี มหอผู้ปว่ ยเฉพาะกจิ COVID-19 แนวทางฉบับนี้ จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นข้อแนะนาสาหรับการจัดสถานที่ในการดูแลรักษา ผู้ป่วย COVID-19 นอกสถานบริการสุขภาพ เรียกว่า หอผู้ป่วยเฉพาะกิจ COVID-19 การคัดเลือกผู้ป่วย ควร เปน็ ตามเกณฑด์ ังต่อไปนี้ 1) ได้รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 7 วนั (เปล่ียนแปลงได้ ตามความเหมาะสมในแตล่ ะสถานการณ์) และมภี าพถา่ ยรังสปี อด (chest x-ray) คงที่ 2) ยินดใี ห้ความร่วมมอื สามารถสื่อสารได้รู้เรื่อง ดูแลตนเองได้ดีไม่ก้าวร้าว และไม่มีความเส่ียงทางจติ เวช 3) ไม่มไี ข้ กรณีมีโรคประจาตัวตอ้ งควบคุมโรคไดด้ ีมเี พยี งยารบั ประทาน 4) ต้องจัดยามาพร้อมสาหรับให้ผู้ป่วยรับประทานด้วยตนเองจนครบตาม แผนการรกั ษาของแพทย์ 5) ทางโรงพยาบาลต้นทางยินดีรับผู้ป่วยกลับเข้ารักษาในโรงพยาบาลต้น ทางหากผปู้ ่วยมีอาการเปลย่ี นแปลง 2.1) ข้นั ตอนการดาเนนิ การ 2.1.1) เตรียมความพร้อมผู้ป่วย เพื่อรับทราบแนวทางการดูแลรักษาและ การปฏบิ ัติตัว 2.1.2) ผู้ป่วยและ/หรือญาติรับทราบข้อมลู และลงนามในใบยินยอมเข้ารับ การรกั ษาตอ่ เนื่องทีห่ อผปู้ ่วยเฉพาะกิจ COVID-19 2.1.3) จัดเตรียมห้องพักผู้ป่วยและอุปกรณ์ที่จาเป็น ได้แก่ ปรอทวัดไข้และ pulse oximeter ทกุ ห้อง 2.1.4) กาหนดช่วงเวลาในการรับ-ส่งผู้ป่วยชัดเจน (ควรเปน็ ในเวลาทาการ) โดยโรงพยาบาลท่รี บั ผปู้ ่วยไว้รกั ษาในระยะแรก ตดิ ตอ่ หอผปู้ ่วยเฉพาะกจิ เพ่อื ขอส่งตวั ผู้ป่วยพร้อมประวตั ิ 2.1.5) พนักงานช่วยเหลือผู้ป่วยนาผู้ป่วยไปตามเส้นทางและห้องพักที่ กาหนดไว้

33 2.1.6) พยาบาลรบั ทราบ case ผู้ปว่ ย 1) ติดตามอาการทางโทรศัพท์หรอื ช่องทางอ่ืนๆ อย่างน้อย 3 คร้ังต่อ วนั 2) ให้คาปรึกษาผู้ป่วยทางโทรศัพท์หรือช่องทางอื่นๆ ได้ตลอด 24 ชวั่ โมง 3) ใหก้ ารปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ในกรณีจาเปน็ 4) ใหค้ าปรึกษากับเจ้าหนา้ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 2.1.7) ในกรณีที่จาเป็นต้องปรึกษาแพทย์ หอผู้ป่วยเฉพาะกิจสามารถ ประสานเชอื่ มต่อใหม้ กี ารปรกึ ษาได้ทางโทรศพั ท์หรือ ช่องทางอื่นๆ 2.1.8) เจา้ หนา้ ทจ่ี ัดส่งอาหาร 3 มื้อ โดยจดั วางไวท้ หี่ นา้ ห้องผปู้ ่วย 2.1.9) เจ้าหนา้ ทเ่ี กบ็ ขยะ ดาเนนิ การวนั ละ 1 ชว่ งเวลาตามท่ีกาหนดไว้ 2.1.10) เจ้าหน้าท่ีทาความสะอาด ทาความสะอาดห้องพกั 2 ครัง้ ไดแ้ ก่ วัน กอ่ น admit และวันท่ี discharge ผู้ปว่ ยแล้ว 2.1.11) ผู้ปว่ ยเตรยี มเสือ้ ผ้า เครื่องใช้สว่ นตัวให้เพยี งพอสาหรับ 7 วนั (หรือ ตามความเหมาะสมของผปู้ ่วยแต่ละคน) 2.1.12) มีเจ้าหน้าทรี่ บั โทรศพั ท์ตลอด 24 ชัว่ โมง 2.1.13) เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยดูแลความเรียบร้อยตลอด 24 ชวั่ โมง 2.1.14) จาหน่ายผู้ป่วยเม่ืออยู่ในการดูแลรักษาจนครบตามกาหนด โดยจะ มีการจดั ยาที่จาเป็นให้ผู้ปว่ ยนาไปรบั ประทานต่อท่ีบ้าน 2.1.15) หากผู้ป่วยออกจากห้องพักของตนเอง เจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภยั และ/ หรือ พนกั งานช่วยเหลอื ผูป้ ว่ ยสวม PPE ครบถว้ น และพาผ้ปู ว่ ยกลบั หอ้ งพกั 2.1.16) กรณีเกิดผู้ป่วยมีอาการผิดปกติ หรือเกิดเหตุฉุกเฉิน ให้ติดต่อ โรงพยาบาลตน้ ทางทีน่ าสง่ ผู้ป่วย 3) แนวทางปฏิบัตกิ ารทาหัตถการผา่ ตดั สถานการณ์ COVID-19 4) แนวทางการจัดการศพติดเช้ือ 4.2 แนวทางการปฏิบตั ิเมื่อกกั ตัว 14 วัน 4.2.1 เตรียมทีพ่ ักและอุปกรณ์อย่างไรให้พร้อม 1) แยกห้องนอนและห้องน้าออกจากผู้อ่ืน เช่น ห้องพักโปร่ง มีอากาศถ่ายเทแสงแดด เข้าถึง 2) แยกของใช้ส่วนตัว เช่น เสื้อผ้า ผ้าห่ม ผ้าเช็ดตัว จาน ชาม ช้อน แก้วน้า แยกทา ความสะอาด

34 3) มีอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ เช่น ปรอทวัดไข้ แอลกอฮอล์เจลเข้มข้นอย่างน้อย 70% หน้ากากอนามัย สบู่ 4) มีอุปกรณ์ทาความสะอาด เช่น ถุงขยะ โดยจัดถังขยะท่ีมีฝาปิดมิดชิดไว้นอกบ้าน สารฟอกขาว น้ายาทาความสะอาด 4.2.2 ปฏบิ ตั กิ รณอี ยู่บ้านคนเดยี ว 1) วัดอณุ หภูมิทกุ วัน ต้องไมเ่ กนิ 37.5 องศาเซลเซยี ส 2) ลา้ งมอื ด้วยน้าและฟอกสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์ 3) ปิดปากจมูกด้วยทิชชูทุกครั้งท่ีไอ จาม ทิ้งทิชชูในถุงพลาสติก ปิดปากถุงให้สนิท และทาความสะอาดมือทนั ที 4) หากจาเป็นต้องพบปะผู้อืน่ ให้ใช้หน้ากาก อนามัยรักษาระยะหา่ งไม่น้อยกว่า 1.5- 2 เมตร และใชเ้ วลาให้สัน้ ท่ีสุด 5) แยกขยะท่ีถูกสารคัดหล่ัง เช่น หน้ากากอนามัยกระดาษทิชชู โดยใส่ถุงขยะ 2 ช้ัน ราดด้วยนา้ ยาฟอกขาว มดั ปากถงุ ใหแ้ น่นก่อนน้าไปทง้ิ 6) ทาความสะอาดโถสว้ ม อ่างล้างมือ หลังใชง้ าน 7) งดกิจกรรมนอกบา้ น หยุดงาน หยดุ เรยี น งดไปในทีช่ มุ ชน งดใช้ขนส่งสาธารณะ 4.2.3 ขอ้ ปฏบิ ตั ิสาหรบั ผูท้ ตี่ ้องกกั ตัว กรณีอยูร่ ่วมกบั ครอบครัวหรอื พกั รว่ มกบั ผูอ้ ื่น 1) วัดอุณหภูมทิ กุ วัน ตอ้ งไมเ่ กนิ 37.5 องศาเซลเซยี ส 2) ลา้ งมือดว้ ยน้าและฟอกสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์ 3) หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิด โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ผู้ป่วยมีโรคประจาตัว ระยะห่างไม่ น้อยกว่า 1-2 เมตร 4) แยกรับประทานอาหาร ตกั แบ่งอาหาร มารับประทานตา่ งหาก ล้างภาชนะด้วยน้า ยาล้างจาน ผงึ่ ใหแ้ ห้งและตากแดด 5) แยกขยะที่ถกู สารคดั หล่ัง เช่น หน้ากาก อนามัยกระดาษทิชชู โดยใสถ่ ุงขยะ 2 ช้ัน ราดดว้ ยน้ายาฟอกขาว มดั ปากถงุ ให้แน่นก่อนนาไปทงิ้ 6) แยกห้องนอน แยกของใชส้ ว่ นตัว เชน่ เสอ้ื ผ้า ผ้าเช็ดตวั ผา้ ห่ม ผ้าเช็ดตัว จาน ชาม ชอ้ น แก้วนา้ โทรศัพท์ รวมทัง้ แยกทาความสะอาด 7) แยกห้องนา้ หากแยกไม่ได้ควรใชห้ ้องส้วม เป็นคนสดุ ท้ายและทาความสะอาดทันที ปดิ ฝาทุกครง้ั ก่อนกดชักโครกเพ่อื ป้องกนั การแพร่กระจายของเชอ้ื โรค 8) หากจาเป็นต้องพบปะผู้อ่ืน ให้ใช้หน้ากากอนามัยท่ีใช้แล้วให้ท้ิงลงในถังขยะท่ีมีฝา ปดิ มิดชิด และทาความสะอาดมือทนั ที 9) งดกิจกรรมนอกบา้ นหยดุ งาน หยดุ เรยี น งดไปในทช่ี ุมชน งดใช้ขนสง่ สาธารณะ 4.2.4 ข้อปฏบิ ตั ิของคนในครอบครวั 1) ลา้ งมือบ่อยๆ ดว้ ยนา้ และสบู่ หรือเจลแอลกอฮอล์

35 2) ไมด่ มื่ น้าและไม่รบั ประทานอาหาร สาหรับเดยี วกัน 3) ปิดปากถุงขยะมูลฝอยให้มิดชดิ 4) ไมใ่ ช้ของใชส้ ่วนตวั รว่ มกัน เช่น ผา้ เชด็ หนา้ ผ้าเชด็ ตัว แก้วน้า แยกทาความสะอาด 5) กรณีใช้ห้องน้าร่วมกัน ระมัดระวังจุดเส่ียงสาคัญ เช่น บริเวณโถส้วม อ่างล้างมือ ก๊อกน้า ลกู บิดประตู และล้างมอื ดว้ ยนา้ และสบ่ทู กุ ครั้ง 6) เฝา้ ระวังอาการเจบ็ ป่วยของสมาชกิ ในบา้ นเปน็ เวลา 14 วัน หลังสมั ผัสกับผู้ป่วย 7) หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิด โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ผู้ป่วยท่ีมีโรคประจาตัว ระยะห่างไม่ น้อยกวา่ 1.5-2 เมตร 8) คนในครอบครัว สามารถไปทางาน เรียนหนังสือได้ตามปกติ แต่ท้ังนี้อาจต้องให้ ข้อมูลกบั สถานที่ทางาน สถานศกึ ษาตามเงอ่ื นไขที่สถานทเ่ี หล่าน้ันกาหนด 4.2.5 ข้อปฏิบัติสาหรับผู้ที่ต้องกักตัว กรณีอยู่ในอาคารชุด เช่น หอพัก คอนโดมิเนียม อพารต์ เมนต์ 1) วัดอุณหภูมทิ ุกวนั ต้องไม่เกิน 37.5 องศาเซลเซยี ส 2) ปิดปากจมูกด้วยทิชชูทุกครั้งท่ีไอ จาม ทิ้งทิชชูในถุงพลาสติก ปิดปากถุงให้ สนิท และทาความสะอาดมอื ทันที 3) แยกขยะที่ถกู สารคัดหลั่ง เช่น หน้ากาก อนามัย กระดาษทิชชู โดยใส่ถุงขยะ 2 ชั้น ราดดว้ ยน้ายาฟอกขาว มดั ปากถงุ ใหแ้ นน่ กอ่ นนาไปทิ้ง 4) ทาความสะอาดโถส้วม อา่ งล้างมอื หลังใชง้ าน 5) หากจาเป็นต้องพบปะผู้อ่ืน ให้ใช้หน้ากาก อนามัยรักษาระยะห่างไม่น้อยกว่า 1-2 เมตร และใช้เวลาใหส้ ั้นทสี่ ดุ ล้างมือดว้ ยนา้ และฟอกสบู่ หรอื เจลแอลกอฮอล์ 6) หากมีผู้จัดอาหารหรือสั่งอาหารจากแหล่งอ่ืนให้กาหนดจุดรับอาหาร เช่น แจ้ง ผดู้ แู ล อาคารชดุ เป็นกรณีพิเศษเพ่ือมาส่งทีจ่ ดุ รับอาหาร 7) หลีกเล่ียงการใช้พื้นท่ีส่วนกลาง เช่น ล็อบบ้ี ลิฟต์ กรณีท่ีหลีกเลี่ยงไม่ได้ให้ใช้ หน้ากาก อนามัย และรักษาระยะหา่ งไมน่ ้อยกว่า 1.5-2 เมตร หรอื ใชเ้ วลาใหส้ น้ั ทีส่ ุด 8) งดใช้บริการสนั ทนาการร่วม เชน่ สระวา่ ยนา้ ห้องออกกาลังกาย 9) งดกจิ กรรมนอกบ้าน หยดุ งาน หยดุ เรยี น งดไปในที่ชมุ ชน งดใชข้ นสง่ สาธารณะ 4.2.6 ขอ้ ปฏิบัตสิ าหรับผดู้ ูแลอาคารชุด 1) อาจมีการคัดกรองผู้พักอาศัยด้วยการสังเกตอาการเบ้ืองต้น หรือใช้เครื่องมือวัดไข้ หากพบว่ามีไข้ อุณหภูมิมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ร่วมกับอาการทางเดินหายใจ เช่น ไอ น้ามูก เจ็บคอ หอบเหน่ือย ให้แจ้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ หรือแจ้ง 1669 เพ่ือประสานการรับตัวไปพบแพทย์ ท้ังนี้ ต้องไม่ใช่รถสาธารณะในการเดินทาง

36 2) ทาความสะอาดพื้นท่สี ่วนกลางเป็นประจาทุกวัน เพิ่มความถ่ีในจุดเส่ียงโดยใช้นา้ ยา ฆ่าเช้อื เช่น ราวบันได ปุ่มกดลฟิ ต์ ลกู บิดประตู ก๊อกน้า ตู้จดหมาย เก้าอ้ี โตะ๊ ปา้ ยประชาสัมพนั ธ์ อุปกรณ์ฟิต เนส 3) บริการเจลแอลกอฮอล์ 70% บริเวณ จุดเข้าออกต่างๆ เช่น หน้าลิฟต์ ประตูเข้า- ออกอาคาร พ้ืนท่ีส่วนกลาง ส่ือสารให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคติดเช้ือ COVID-19 และแนวทาง ปฏิบัติตัวให้ผู้อยู่ อาศยั รบั ทราบ 5.การพยาบาลผู้ป่วยท่ตี ิดเช้ือไวรสั COVID-19 5.1 แนวทางการรักษาและการใช้ยาตา้ นไวรสั 5.1.1 การรักษาและการใชย้ าต้าน COVID-19 ในผู้ปว่ ยเด็ก 1) Confirmed case with mild symptoms and no risk factors ท่ีไม่มีปัจจัย เส่ียง/โรคร่วมสาคัญ และภาพถ่ายรังสีปอดปกติ แนะนาให้ดูแลรักษาตามอาการ และพิจารณาให้ยา 2 ชนิด ร่ ว ม กั น คื อ chloroquine ห รื อ hydroxychloroquine ร่ ว ม กั บ darunavir + ritonavir ห รื อ lopinavir/ritonavir หรือ azithromycin นาน 5 วัน 2) Confirmed case with mild symptoms and risk factors ที่มีปัจจัยเสี่ยง/ โรคร่วมสาคัญ (อายุนอ้ ยกว่า 5 ปี และภาวะอน่ื ๆ เหมือนเกณฑ์ในผู้ใหญ่) แนะนาให้ยาอย่างนอ้ ย 2 ชนดิ นาน 5 วนั ได้แก่ 2.1) Chloroquine หรอื hydroxychloroquine ร่วมกับ 2.2) Darunavir + ritonavir (ถา้ อายมุ ากกว่า 3 ปี) หรือ lopinavir/ritonavir (ถ้าอายุน้อยกวา่ 3 ป)ี อาจพิจารณาใหย้ าชนดิ ท่ี 3 รว่ มดว้ ยคือ azithromycin 3) Confirmed case with pneumonia หรือ ผู้ป่วยมีอาการ หรือ อาการแสดง เข้าได้กบั ปอดบวมโดยไม่พบรอยโรคแตม่ ีSpO2 ที่ room air นอ้ ยกว่า 95% แนะนาให้ยาอย่างนอ้ ย 3 ชนดิ คือ favipiravir เป็นเวลา 5-10 วัน และยาอีก 2 ชนิดตามข้อ 2 เป็นเวลา 5-10 วัน อาจพิจารณาให้ยาชนิดที่ 4 รว่ มดว้ ยคอื azithromycin เป็นเวลา 5 วัน (กรมการแพทย์, 2563) 5.1.2 การรักษาและการใช้ยาต้าน COVID-19 ในผ้ใู หญ่ 1) Confirmed case ไมม่ อี าการ (asymptomatic) 1.1) แนะนาให้นอนโรงพยาบาล หรือในสถานท่ีรัฐจัดให้ 2-7 วัน เมื่อไม่มี ภาวะแทรกซ้อน พิจารณาให้ไปพักต่อที่ โรงพยาบาลเฉพาะ (designated hospital/หอผู้ป่วยเฉพาะกิจ COVID-19) อยา่ งน้อย 14 วัน 1.2) ปฏิบัตติ ามคาแนะนาการจาหนา่ ย 1.3) ให้ดูแลรักษาตามอาการ ไม่ให้ยาต้านไวรัส เนื่องจากส่วนมากหายได้ เอง รวมทัง้ อาจได้รบั ผลข้างเคียงจากยา

37 2) Confirmed case with mild symptoms and no risk factors: ภาพถ่ายรังสี ปอดปกติ ที่ไม่มภี าวะเสยี่ ง/โรคร่วมสาคญั 2.1) แนะนาใหน้ อนโรงพยาบาล 2-7 วัน ดูแลรักษาตามอาการ พจิ ารณาให้ ยา 2 ชนิด นาน 5 วัน คือ 2.1.1) Chloroquine หรือ hydroxychloroquine รว่ มกับ 2.1.2) Darunavir + ritonavir หรอื lopinavir/ritonavir หรอื azithromyc 2.2) เมื่ออาการดีขึ้นและผลถ่ายภาพรังสีปอดยังคงปกติพิจารณาให้ไปพัก ตอ่ ทโี่ รงพยาบาลเฉพาะ (designated hospital/หอผู้ปว่ ยเฉพาะกิจ COVID-19) อย่างน้อย 14 วนั นบั จากวัน เริ่มป่วย 2.3) ปฏบิ ตั ิตามคาแนะนาการจาหน่ายผู้ป่วย 2.4) หากภาพถ่ายรังสีปอดแย่ลง (progression of infiltration) ให้ พิจารณาเพม่ิ favipiravir เปน็ เวลา 5-10 วนั ขน้ึ กับอาการทางคลนิ กิ 3) Confirmed case with mild symptoms and risk factors: ภาพถ่ายรังสีปอด ปกติ แต่มีปัจจัยเสี่ยง/โรคร่วมสาคัญ ข้อใดข้อหน่ึงต่อไปนี้ได้แก่อายุมากกว่า 60 ปี, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) รวมโรคปอดเร้ือรังอื่นๆ, โรคไตเรื้อรัง (CKD), โรคหัวใจและหลอดเลือด รวมโรคหัวใจแต่กาเนิด, โรค หลอดเลือดสมอง, เบาหวานที่ควบคมุ ไม่ได้, ภาวะอว้ น (BMI ≥35 กก./ตร.ม.), ตับแข็ง, ภาวะภมู ิค้มุ กันตา่ และ lymphocyte นอ้ ยกวา่ 1,000 เซลล/์ ลบ.มม. 3.1) แนะนาใหใ้ ชย้ าอยา่ งน้อย 2 ชนิด นาน 5 วัน คอื 3.1.1) Chloroquine หรือ hydroxychloroquine ร่วมกบั 3.1.2) Darunavir + ritonavir หรือ lopinavir/ritonavir อาจ พจิ ารณาให้ยาชนิดที่ 3 รว่ มด้วยคอื azithromycin 3.2) หากภาพถ่ายรังสีปอดแย่ลง (progression of infiltration) ให้ พิจารณาเพิม่ favipiravir เปน็ เวลา 5-10 วนั ข้นึ กบั อาการทางคลนิ กิ 4) Confirmed case with pneumonia หรือ ถ้าเอกซเรย์ปอดปกติ แต่มีอาการ หรอื อาการแสดง เข้าไดก้ บั pneumonia และ SpO2 ท่ี room air นอ้ ยกว่า 95% 4.1) แนะนาให้ใช้ยาอย่างน้อย 3 ชนดิ 4.1.1) Favipiravir เปน็ เวลา 5-10 วัน ขึน้ กับอาการทางคลนิ ิก ร่วมกบั 4.1.2) Chloroquine หรือ hydroxychloroquine เปน็ เวลา 5- 10 วนั ร่วมกับ 4.1.3) Darunavir + ritonavir หรอื lopinavir/ritonavir เป็น เวลา 5-10 วนั อาจพจิ ารณาใหย้ าชนิดท่ี 4 รว่ มด้วยคอื azithromycin เป็นเวลา 5 วัน

38 4.2) เลอื กใช้ respiratory support ดว้ ย HFNC กอ่ นใช้ invasive ventilation 4.3) พิจารณาใช้ organ support อ่นื ๆ ตามความจาเปน็ (กรมการแพทย,์ 2563) 5.2 คาแนะนาอื่นๆ 1) ผู้ป่วยท่ีได้ Darunavir + Ritonavir หรือ Lopinavir/Ritonavir พิจารณาตรวจ Anti-HIV ก่อนให้ยา และระวังผลข้างเคียงที่พบบ่อย คือ ท้องเสีย คลื่นไส้ และตับอักเสบ รวมถึงตรวจสอบ drug-drug interaction ของยาที่ไดร้ ว่ มกัน 2) ผู้ป่วยท่ีได้ Darunavir + Ritonavir หรือ Lopinavir/Ritonavir นานกว่า 10 วัน ให้ พิจารณาทา EKG ถ้ามี QTc >500 msec ให้ติดตามอย่างใกล้ชิด และ/หรือ พิจารณาหยุด Darunavir และ Ritonavir หรือ Lopinavir/Ritonavir หรอื แก้ไขภาวะอ่นื ท่ที าให้เกิด QTc prolongation 3) การใช้ Favipiravir ในหญิงต้ังครรภ์ มีโอกาสเกิด Teratogenic effect ควรระวังในการ ใช้ และตอ้ งให้คาแนะนาเพือ่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยรว่ มตดั สินใจ 4) หากสงสัยมีการติดเชื้อ COVID-19 ร่วมกับเช้ืออื่น พิจารณาให้ยาต้านจุลชีพอ่ืนร่วมด้วย ตามความเหมาะสม 5) ไม่แนะนาให้ใช้ Steroid ในการรักษา COVID-19 ยกเว้นการใช้ตามข้อบ่งชี้อ่ืนๆ เช่น ARDS ให้พิจารณาเปน็ รายๆ ไป 6) การใช้ Hydroxychloroquine ร่วมกับ Azithromycin เปน็ สตู รที่มหี ลักฐานการวจิ ัยทาง คลินิกน้อยมาก ตอ้ งการการศึกษาเพม่ิ เติม แพทย์ควรติดตามผลการรักษาด้วยยาสูตรนี้อย่างใกลช้ ิดและพร้อม ที่จะปรับเปล่ียนการรักษาได้ การพิจารณาจาหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลไปยัง หอผู้ป่วยเฉพาะกิจ COVID-19 หรือโรงพยาบาลท่ีรัฐจัดให้ (designate hospital/camp isolation) เม่ือผู้ป่วยมีเกณฑ์อย่างน้อย ดังตอ่ ไปน้ี 6.1) อณุ หภูมิไมเ่ กนิ 37.8°C ตอ่ เนื่อง 48 ชวั่ โมง 6.2) Respiratory rate ไมเ่ กิน 20 ครง้ั /นาที 6.3) O2 sat room air 94% ขน้ึ ไป ขณะพัก 7) ผู้ป่วยท่ีมอี าการดีขึ้นและผลถ่ายภาพรังสปี อดไมแ่ ยล่ ง พิจารณาให้ไปพกั ต่อทโ่ี รงพยาบาล เฉพาะ (Designated hospital/หอผู้ป่วยเฉพาะกิจ/Camp isolation) อย่างน้อย 14 วัน นับจากวันเริ่มป่วย หลังจากน้ัน แนะนาให้สวมหน้ากากอนามัย และระมดั ระวงั สุขอนามัยการแพร่เชื้อเป็นพิเศษ และการแพร่เชื้อ สู่ผูอ้ ืน่ จนครบ 1 เดอื น 8) ออกจากโรงพยาบาลได้ โดยไมต่ อ้ งทา swab ซา้ กอ่ นจาหนา่ ย 9) คาแนะนาการปฏิบัติตัวสาหรับผู้ป่วย COVID-19 หลังแพทย์จาหน่ายให้กลับไปพักฟื้นท่ี บา้ น

39 ตาราง 3 ขนาดยารักษา COVID-19 ทีแ่ นะนาในผใู้ หญ่และเดก็ ยา/ขนาดยาในผใู้ หญ่ ขนาดยาในผปู้ ว่ ยเด็ก ขอ้ ควรระวงั /ผลขา้ งเคยี งที่พบบ่อย Favipiravir (200 mg/tab) วนั ท่ี 1 : 30 mg/kg/dose วนั ละ - มีโอกาสเกิด teratogenic effect ควรระวังการใช้ ผู้ใหญ่กิน วันท่ี 1: 8 เม็ด วันละ 2 ครงั้ ในหญิงมีครรภ์หรือ ผู้ท่ีอาจต้ังครรภ์ และต้องให้ 2 คร้งั วนั ตอ่ มา : 10 mg/kg/dose วันละ คาแนะนาเพ่ือใหผ้ ปู้ ว่ ยรว่ มตดั สินใจ วันท่ี ต่อมา: 3 เม็ด วันละ 2 2 คร้ัง - อาจมีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง และการทางาน ครง้ั ของตับ ถา้ BMI ≥35 กก./ตร.ม. วันท่ี 1: 60 mg/kg/day (แบ่ง ให้วนั ละ 2 ครัง้ ) วันตอ่ มา: 20 mg/kg/day (แบง่ ให้วนั ละ 2 ครั้ง) Darunavir DRV) ขนาดยาต่อครัง้ ตามนา้ หนกั ตัว - ไมค่ วรใช้ยาน้ีในเด็กอายุน้อยกว่า 3 ปี หรือนา้ หนัก (600mg/tab) กินรว่ มกบั 12-15 กิโลกรมั : DRV 300 mg + น้อยกว่า 10 กิโลกรัม ritonavir (RTV) (100 RTV 50 mg วนั ละ 2 ครงั้ - อาจทาให้ท้องเสยี คลื่นไส้อาเจียน มีผืน่ ขน้ึ mg/tab) 15-30 กโิ ลกรมั : DRV 450 mg + - ควรกินพร้อมอาหาร ผู้ใหญ่กิน DRV และ RTV อย่าง RTV 100 mg เช้า และ ละ 1 เม็ด ทกุ 12 ชัว่ โมง DRV 300 mg + RTV 100 mg เยน็ 30-40 กิโลกรัม : DRV 450 mg + RTV 100 mg วันละ 2 ครัง้ 40 กโิ ลกรัมขน้ึ ไป ขนาดยา เชน่ เดยี วกับผู้ใหญ่ Lopinavir/ritonavir อายุ 2 สปั ดาห์-1 ปี : 300/75 - อาจทาให้ท้องเสีย คล่นื ไส้อาเจยี น (LPV/r) mg/m2/dose วนั ละ 2 ครงั้ - ยาน้าตอ้ งแช่เยน็ และควรกินพร้อมอาหารเพื่อชว่ ย (เมด็ 200/50 mg/tab, อายุ 1-18 ปี : 230/57.5 การดูดซึม ยาเมด็ กนิ ไมจ่ าเป็นตอ้ งกนิ พร้อมอาหาร น้า 80/20 mg/mL) mg/m2/dose วนั ละ 2 คร้ัง - อาจทาใหห้ วั ใจเต้นผิดจังหวะแบบ QT ผใู้ หญ่กินครง้ั ละ 2 เมด็ ทกุ 12 ขนาดยาชนิดเม็ดตามนา้ หนกั ตวั prolongation ช่วั โมง 15-25 กโิ ลกรัม : 200/50 mg วนั - อาจทาใหต้ ับอักเสบ หรือตับอ่อนอักเสบได้ (พบ ละ 2 คร้งั นอ้ ย) 25-35 กโิ ลกรัม : 300/75 mgวนั ละ 2 คร้งั

40 ยา/ขนาดยาในผู้ใหญ่ ขนาดยาในผปู้ ่วยเดก็ ขอ้ ควรระวงั /ผลขา้ งเคียงที่พบบ่อย 25-35 กโิ ลกรมั : 300/75 mg วนั Chloroquine (250 mg/tab ละ 2 ครงั้ - อาจทาให้หวั ใจเต้นผดิ จังหวะแบบ QT เท่ากับ chloroquine base 35 กิโลกรมั ขนึ้ ไป 400/100 mg prolongation, Torsardes de Pointes, 150 mg/tab) 2 เมด็ วันละ 2 วันละ 2 ครั้ง Atrioventricular block ควร ครงั้ 8.3 mg/kg/dose (เทา่ กับ ตรวจ EKG, ตรวจ Serum K และ Mg ก่อนสั่งยา chloroquine base 5 อาจท าให้คลนื่ ไสอ้ าเจียน ท้องเสยี และเกิดผนื่ คนั Hydroxychloroquine (200 mg/kg/dose) วนั ละ 2 ครง้ั ตาม ตัวได้ mg/tab เท่ากบั - ควรตรวจภาวะ G6PD deficiency ดว้ ย chloroquine base 155 วันที่ 1: 10 mg/kg/dose (เท่ากบั - ควรกินพร้อมอาหาร mg/tab) chloroquine - ผลข้างเคยี ง คลื่นไส้อาเจยี น ปวดแนน่ ท้อง วนั ที่ 1: 3 เม็ด วนั ละ 2 คร้งั base 7.8 mg/kg/dose) วนั ละ 2 ท้องเสยี คัน วนั ตอ่ มา: 2 เมด็ วันละ 2 ครั้ง ครัง้ ตามตวั ผ่ืนลกั ษณะไม่จ าเพาะ ผวิ หนงั คล้ าขน้ึ วนั ต่อมา: 6.5 mg/kg/dose - ควรตรวจภาวะ G6PD deficiency ด้วย Azithromycin (250 (เทา่ กบั chloroquine - ควรกนิ พร้อมอาหาร mg/tab, 200 mg/tsp) base 5 mg/kg/dose) วันละ 2 วันที่ 1: 2 เมด็ วนั ละ 1 คร้ัง ครง้ั - ถ้าเป็นชนิดเมด็ ใหก้ ินก่อนอาหารอย่างน้อย 1 วนั ท่ี 2-5: 1 เมด็ วันละ 1 ครง้ั วนั ท่ี 1: 10 mg/kg/dose วนั ละ 1 ชว่ั โมง ครงั้ หรอื หลังอาหาร 2 ชั่วโมง วนั ท่ี 2-5: 5 mg/kg/dose วนั ละ - ถา้ เป็นชนดิ เม็ดและชนดิ น้ าให้กินพร้อมหรือไม่ 1 คร้ัง พร้อม อาหารก็ได้ - ผลขา้ งเคียง คือ ปวดท้อง คลืน่ ไส้ อาเจียน อุจจาระเหลว ท้องเสีย ท้องอดื - ระมดั ระวังการใชก้ บั ยาทที่ าใหเ้ กิด QT prolongation - ใหใ้ ชย้ าด้วยความระมดั ระวงั ในผูป้ ่วยท่ีเป็นโรคตบั

41 ยา/ขนาดยาในผู้ใหญ่ ขนาดยาในผปู้ ว่ ยเด็ก ข้อควรระวัง/ผลข้างเคยี งที่พบบอ่ ย (significant hepatic disease) ที่มา : กระทรวงสาธารณสุข ผูป้ ่วย COVID-19 ส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรงอาจอยู่โรงพยาบาลเพียงระยะส้ัน ๆ แล้วไป พักฟื้นต่อท่ีสถานพักฟ้ืน ผู้ป่วยท่ีมีอาการเล็กน้อยจะค่อย ๆ ดีขึ้นจนหายสนิท แต่ในช่วงปลายสัปดาห์แรก ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการมากขึ้นได้ผู้ป่วยที่มีอาการน้อยหรืออาการดีข้ึนแล้ วนั้นอาจจะยังตรวจพบสาร พันธุกรรมของเช้ือไวรัสท่ีเป็นสาเหตุของ COVID-19 ในน้ามูกน้าลายของผู้ป่วยได้เป็นเวลานานอาจจะนานถึง 50 วัน แต่มกี ารศึกษาพบเชื้อท่ีมชี ีวิตอยเู่ พียงประมาณ 8 วัน ดังนั้นสารพันธุกรรมที่ตรวจพบอาจเปน็ เพียงซาก พันธุกรรมท่ี หลงเหลือที่ร่างกายยังกาจัดไม่หมด นอกจากนี้การตรวจพบสารพันธุกรรมได้หรือไม่ได้ยังอยู่ที่ คณุ ภาพของตัวอยา่ งท่เี ก็บด้วย ดังน้ันในแนวทางเวชปฏิบัตฯิ COVID-19 น้จี ะระบุวา่ ไม่ตอ้ งทา swab ก่อนอนุญาตให้ผ้ปู ่วย ออกจากสถานพยาบาล เพราะไมม่ ีผลเปลี่ยนแปลงการรักษาและการพบเช้ือมิไดห้ มายความว่าจะสามารถแพร่ เช้ือต่อได้ ทั้งน้ีแพทย์ผู้รักษาจะพิจารณาจากอาการเป็นหลักและคาดว่าหากให้การรักษาผู้ป่วยไว้ใน สถานพยาบาลประมาณ 2 สัปดาห์ หลงั จากเริ่มปว่ ยและใหก้ ลับไปพักทสี่ ถานพักฟ้นื ท่เี หมาะสมจนครบ 30 วัน นบั จากเริม่ ปว่ ยแล้ว เพือ่ ใหร้ า่ งกายได้พักฟ้ืนสามารถสรา้ งภูมิต้านทานไดเ้ ต็มท่ีจะมีความปลอดภัย และไม่เส่ียง ต่อการแพร่เช้ือ สามารถดารงชีวิตได้ตามปกติโดยปฏิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อเหมือนประชาชนทั่วไป จนกวา่ จะควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคไดอ้ ยา่ งม่ันใจ คอื 9.1) การดแู ลสุขอนามัย ให้สวมหนา้ กากอนามัยหรือหน้ากากผา้ เมื่อต้องอยรู่ ่วมกับ ผ้อู ่นื 9.2) ล้างมือด้วยสบู่และนา้ เป็นประจา โดยเฉพาะหลังจากถ่ายปัสสาวะหรอื อุจจาระ หรอื ถูมอื ด้วยเจลแอลกอฮอล์ ก่อนและหลงั สมั ผัสจุดเสย่ี งท่ีมีผู้อ่ืนในบ้านใช้รว่ มกนั เช่น ลูกบิดประตู ราวบนั ได มอื จับตูเ้ ย็น เป็นต้น 9.3) ไม่ใชอ้ ปุ กรณร์ บั ประทานอาหารและแก้วนา้ รว่ มกับผู้อน่ื 9.4) ด่ืมนา้ สะอาดให้เพียงพอ รับประทานอาหารให้ครบถว้ นตามหลกั โภชนาการ 10) กรณที ีผ่ ู้ปว่ ยกลบั บา้ นก่อน 30 วัน หลังจากเรม่ิ ป่วย ให้ปฏบิ ัตติ ัว ดังนี้ 10.1) หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับบุคคลอื่นในที่พักอาศัย โดยเฉพาะผู้สูงอายุ เด็กเล็ก ผปู้ ว่ ยโรคเรื้อรงั ตา่ งๆ ควรสวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาหากยังมีอาการไอจาม 10.2) หากจาเป็นต้องเข้าใกล้ผู้อื่นต้องสวมหน้ากากอนามัยและอยู่ห่างอย่างน้อย 1 เมตร 10.3) ในกรณีที่เป็นมารดาให้นมบุตร ยังสามารถให้นมบุตรได้ เน่ืองจากไม่เชื้อใน น้านม มารดาควรสวมหน้ากากอนามัย และลา้ งมอื อย่างเคร่งครดั ทกุ คร้ังก่อนสมั ผัสทารกหรือให้นมบุตร 10.4) แยกส่ิงของส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกับผู้อ่ืน เช่น จาน ชาม ช้อนส้อม แก้วน้า ผ้าเชด็ ตวั โทรศพั ท์ คอมพวิ เตอร์