[41] ต่อเน่ือง ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยนาแนวคิดทางการพยาบาลและทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องรวมทัง้ นา ผลการวิจยั มาใช้ในการวางแผนและให้บริการพยาบาลในชมุ ชน เพ่ือรักษาไว้ซงึ่ คณุ ภาพของการพยาบาล 2.4 ทางานร่วมกับทีมสุขภาพท่ีเก่ียวข้อง องค์กรชุมชนทัง้ ภาครัฐและเอกชน รวมทงั้ แหล่ง ประโยชน์บคุ คลในชมุ ชนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.5 ประสานงานร่วมกบั ทีมสขุ ภาพ รายงานปัญหาของชมุ ชนหรือปัญหาสขุ ภาพท่ีเป็ นปัญหา สาคญั จะต้องได้รับการแก้ไขเร่งด่วน ผลของการให้บริการและข้อมลู สาคญั อ่ืนๆ เพื่อร่วมวางแผนในการ ป้ องกนั โรคและสง่ เสริมสขุ ภาพของชมุ ชนที่รับผิดชอบ 2.6 ร่วมมือกับทีมสุขภาพ สมาชิกในครอบครัวและแหล่งประโยชน์ในชุมชน เพื่อพัฒนา ศักยภาพของสมาชิกในครอบครัว ในการดูแลผู้ป่ วยเรือ้ รังที่บ้านและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชุมชน สง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการดแู ลผ้ปู ่ วยในชมุ ชน 2.7 ประเมิน วิเคราะห์ ค้นหาสาเหตคุ วามเจ็บป่ วยหรือปัญหาสขุ ภาพของประชาชนในชมุ ชน รวมทงั้ ผ้ปู ่ วยหรือผ้มู ีปัญหาสขุ ภาพท่ีต้องการการดแู ลทงั้ ในระดบั บคุ คล ครอบครัว กลมุ่ คน และชมุ ชน 2.8 มีสว่ นร่วมในการดาเนนิ งาน เพ่ือควบคมุ การระบาดของโรคท่ีเกิดขนึ ้ ในชมุ ชน 2.9 คดั กรองผ้ปู ่ วยและผ้มู ีปัญหาสขุ ภาพตามอาการและความรุนแรงของโรค ตรวจวินิจฉัย ทา การรักษาพยาบาลเบอื ้ งต้น ภายใต้ข้อกาหนดตามระเบียบกระทรวงสาธารณสขุ เพ่ือการรักษาและสง่ ตอ่ 2.10 เป็ นผ้นู าในการสร้างและใช้เกณฑ์มาตรฐานในการประเมินคณุ ภาพบริการสุขภาพและ ผลลพั ธ์ของบริการสขุ ภาพของศนู ย์สขุ ภาพชมุ ชน และในชมุ ชน 2.11 ให้คาแนะนาและความชว่ ยเหลือทีมสขุ ภาพในการแก้ปัญหา เพ่ือคณุ ภาพการบริการ 2.12 ร่วมกบั หนว่ ยงาน/ องคก์ รท่ีเก่ียวข้องในการจดั กิจกรรมการพฒั นาสขุ ภาพแก่ชมุ ชน 3. ด้านวิชาการ พยาบาลอนามยั ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาวิชาการแก่บุคลากรด้านการ พยาบาล ให้ความรู้แก่ผ้ใู ช้บริการ มีสว่ นร่วมการวิจยั และใช้ผลการวิจยั เพ่ือปรับปรุงคณุ ภาพการพยาบาล กิจกรรมมีดงั นี ้ 3.1 พฒั นาศกั ยภาพทีมงานในความรับผดิ ชอบตามความต้องการท่ีจาเป็ นของบคุ คล หน่วยงาน และประชาชนผ้ใู ช้บริการอยา่ งตอ่ เน่ืองด้วยเทคนิค และวธิ ีการท่ีเหมาะสม 3.2 มีส่วนร่วมในการสร้างและส่งเสริมการพฒั นาวิชาการให้แก่นกั เรียน เยาวชน อาสาสมคั ร สาธารณสขุ และผ้นู าชมุ ชน กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[42] 3.3 ให้ความรู้แก่บคุ ลากร ทีมสขุ ภาพ รวมทงั้ ปฐมนิเทศเจ้าหน้าท่ีท่ีมาปฏิบตั งิ านใหม่ และท่ีมา รับการอบรมในศนู ย์สขุ ภาพชมุ ชน 3.4 เป็ นผ้นู าในการจดั ทาค่มู ือให้ความรู้แก่บคุ คลและครอบครัว รวมทงั้ ค่มู ือปฏิบตั ิงานของ อาสาสมคั รสาธารณสขุ และทีมสขุ ภาพอื่นๆ ตามความจาเป็น 3.5 มีส่วนร่วมและเป็ นวิทยากรในการจดั อบรมหรือฝึ กทกั ษะการพยาบาลเฉพาะอย่างแก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขท่ีเข้าปฏิบตั ิงานใหม่ในศนู ย์สุขภาพชุมชน และอาสาสมคั รสาธารณสุข รวมทงั้ ทีม แกนนาตา่ งๆ ในชมุ ชน 3.6 สง่ เสริมและให้บริการวชิ าการแกบ่ คุ คล องค์กร และหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง 3.7 เสนอประเดน็ ที่ควรทาวจิ ยั ในชมุ ชน มีสว่ นร่วมและให้ความร่วมมือในการทาวิจยั เพื่อค้นหา องคค์ วามรู้ และนวตั กรรม รวมทงั้ การนาเสนอผลการวิจยั เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ชมุ ชน 1.7 บทบาทและสมรรถนะของพยาบาลในการสร้างเสริมความเข้มแขง็ ของชุมชน ชมุ ชน คอื ฐานของประเทศ ถ้าชมุ ชนเข้มแข็งทกุ ด้านอย่างบูรณาการ ฐานของประเทศก็จะแข็งแรง และรองรับประเทศทงั้ หมดให้มน่ั คง (ประเวศ วะสี, 2549) ดงั นนั้ ชมุ ชนจงึ เป็นหวั ใจของการพฒั นาประเทศ และเป็ นหน่ึงในหลักการของกฎบัตรออตตาวาเพ่ือการสร้ างเสริมสุขภาพ พยาบาลอนามัยชุมชนเป็ น บุคลากรที่มีบทบาทสาคัญในการดาเนินงานเพื่อสร้ างเสริมสุขภาพและสร้ างความเข้มแข็งของชุมชน เพ่ือให้ชมุ ชนมีความสามารถที่จะอย่ไู ด้ด้วยตนเอง ได้ใช้ศกั ยภาพตนเองในการวางแผน จดั การและแก้ไข ปัญหาตนเองได้ พงึ่ พาตนเองได้ และปรับตวั ให้ทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขนึ ้ บทบาทและสมรรถนะของพยาบาลในการสร้ างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน มีดงั นี ้ (สุวรรณา จนั ทร์ประเสริฐ สมสมยั รัตนกรีฑากลุ และนสิ ากร กรุงไกรเพชร, 2559: 44-45) 1) เห็นคณุ ค่าความเป็ นคนของตนเองและเพื่อนมนุษย์ หลักคิดท่ีให้ความสาคญั กับการเคารพ ศักดิ์ศรีและคุณค่าความเป็ นคนของคนทุกคน เห็นว่า บุคคลและองค์กรทัง้ หมดมีความสาคัญต่อ ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของภาระงาน ทกุ คนมีความรู้และความถนดั อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงและไม่มีใคร เก่งคนเดียว แตต่ ้องอาศยั การเรียนรู้ร่วมกนั ในการปฏิบตั ิ (Interactive learning to action) (ประเวศ วะสี, 2549) การเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบตั ิจงึ เป็ นเคร่ืองมือสาคญั นาส่คู วามสาเร็จ หลกั คิดนีเ้ ป็ นรากฐานของ ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค ความเป็ นธรรมทางสงั คม การพฒั นาตา่ งๆ ต้องอย่บู นฐาน และนาไปสกู่ ารเคารพศกั ดศิ์ รีและคณุ คา่ ความเป็ นคนของคนทกุ คนอยา่ งเทา่ เทียมกนั ดงั นี ้การทางานโดย กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[43] นาเอาความรู้ในตวั คนเป็ นตวั ตงั้ ผ่านการเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบตั ิ ทุกคนจะเป็ นคนมีเกียรติ ฐานการ เรียนรู้จะกว้างขึน้ และสอดรับกับวัฒนธรรม และปฏิบตั ิได้จริง เช่น พยาบาลอนามัยชุมชนจดั กิจกรรม แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างกล่มุ ผ้ปู ่ วยเรือ้ รังในการดแู ลตนเอง มีการไปรับฟังให้กล่มุ ผ้ปู ่ วยได้ เล่าว่าตนเองทาอะไรและทาอย่างไร ผ้ปู ่ วยรู้สึกมีความสุขความภาคภูมิใจในตวั เองที่มีคนมาฟังเร่ืองราว และส่ิงท่ีตนเองปฏิบตั ิ เป็ นประโยชน์และเกิดคณุ คา่ ก่อให้เกิดความมนั่ ใจในตวั เองในการดแู ลสขุ ภาพ ซึ่ง วธิ ีการนีถ้ ือเป็ นการปลดปล่อยคนทกุ คนในพืน้ ท่ีไปสกู่ ารมีเกียรติ มีศกั ดศิ์ รี มีศกั ยภาพ และเกิดพลงั ในการ เปล่ียนแปลงทางด้านสขุ ภาพ เป็นต้น 2) มีศกั ยภาพในการเป็นพี่เลีย้ งที่มีคณุ ภาพ พยาบาลอนามยั ชมุ ชนต้องมีความสามารถในการเป็ น ผ้ชู ว่ ยเหลือ กระต้นุ และผลกั ดนั ให้ชมุ ชนสามารถดาเนนิ กิจกรรมได้ตามแผนท่ีกาหนดไว้ ซงึ่ เป็ นสมรรถนะที่ สาคญั ท่ีสดุ ในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชมุ ชน (สวุ รรณา จนั ทร์ประเสริฐ และคณะ, 2559) พยาบาล อนามยั ชุมชนจะต้องเป็ นส่วนหนึ่งในการช่วยพฒั นาศกั ยภาพการเรียนรู้ของบุคคลและองค์กรชุมชน ให้ สามารถจดั การความรู้ของตนเองและพึ่งพาตนเองได้ โดยมีกลไกท่ีช่วยสนบั สนนุ การดาเนินงานด้านการ จดั การความรู้ที่พยาบาลอนามยั ชมุ ชนช่วยประสานแหล่งประโยชน์ของชุมชน และมีองค์กรภายนอกช่วย กระต้นุ ผลกั ดนั หนนุ เสริมให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ และถอดบทเรียนการทางานในการสร้างเสริมความ เข้มแขง็ ของชมุ ชน 3) มองทุกอย่างแบบบูรณาการ การสร้ างเสริมความเข้มแข็งของชุมชนเป็ นการพัฒนาตัง้ แต่ รากฐานของชมุ ชนโดยอาศยั การรวมตวั ร่วมคิด ร่วมทาของประชาชน องค์กรชมุ ชนและกล่มุ ตา่ งๆ ในการ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในทุกๆ มิติทงั้ ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม สังคม และสขุ ภาพ ให้ สามารถร่วมกนั กาหนดทิศทางการพฒั นาความเข้มแข็งของชุมชน การเปล่ียนแปลงที่จะเกิดขนึ ้ ของชมุ ชน ในหลากหลายมติ ิ อาจเริ่มจากมติ ใิ ดมิตหิ นึง่ แล้วนาไปส่กู ารพฒั นาในมิตอิ ่ืนๆ หรือพฒั นาไปพร้อมกนั มอง แบบบรู ณาการ เชน่ พฒั นาเร่ืองสขุ ภาพ จาเป็นต้องวเิ คราะห์ปัจจยั ที่เก่ียวข้องกบั การเจ็บป่ วย/ ความพิการ/ ความทกุ ข์ยาก ปัจจยั ส่ิงแวดล้อมของชมุ ชนที่กระทบวิถีการดาเนินชีวิต และเชื่อมโยงกบั ปัญหาของชมุ ชน เร่ืองอ่ืนๆ ซึง่ มีผลกระทบตอ่ สขุ ภาพด้วย หากพยาบาลอนามยั ชมุ ชนมีมมุ มองในการพิจารณาปัญหาแบบ บูรณาการ คานึงถึงความเป็ นประชาธิปไตยที่คนทกุ คนในชุมชน ร่วมคิด ร่วมทา และร่วมรับผลจากการ พฒั นาชมุ ชน พยาบาลอนามยั ชมุ ชนก็จะทาหน้าท่ีช่วยให้ข้อมลู ประสานงาน และสนบั สนนุ แผนงานทาให้ ชมุ ชนได้รับพฒั นาอยา่ งองค์รวม กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[44] 4) ประสานงานได้รอบด้าน การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชมุ ชนจาเป็ นต้องมีการทางานร่วมกบั องค์กรชมุ ชนทงั้ ภายในและภายนอก ทงั้ ร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมเรียนรู้ในพืน้ ท่ี เพื่อให้การดาเนินงาน ต่างๆ สาเร็จลุล่วงด้วยดี ภาคีเครือข่ายท่ีสาคัญ ได้แก่ เครือข่ายองค์กรประชาชน องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพและผู้ให้บริการ พยาบาลอนามัยชุมชนต้องช่วยประสานงานกับบุคคลที่มี ประสิทธิภาพทงั้ องค์กรชมุ ชนและเครือขา่ ย ให้เข้ามามีส่วนสนบั สนนุ กิจกรรมที่ดาเนินการและขยายผลใน วงกว้าง ดงั ตวั อย่าง พยาบาลซ่ึงปฏิบตั งิ านในโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล เชื่อมโยงงานทกุ กิจกรรม เข้ ากับงานสุขภาพและมีหน่วยงานภายนอกเข้ ามามีส่วนร่วมเป็ นหุ้นส่วนในการทางาน เช่น กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพัฒนาสังคมและพัฒนาความม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงวฒั นธรรม เป็นต้น สรุป การพยาบาลอนามยั ชมุ ชน เป็ นการปฏิบตั กิ ารพยาบาลในชมุ ชนม่งุ เน้นชุมชนและประชากรเป็ น ฐาน พยาบาลอนามยั ชมุ ชนต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั ชมุ ชน แนวคิดสาคญั ตา่ งๆ ที่เก่ียวข้องกบั การ พยาบาลอนามยั ชมุ ชน เพื่อสามารถปฏิบตั ิการพยาบาลอนามยั ชุมชนในการส่งเสริม ป้ องกนั รักษา และ ฟื น้ ฟูสภาพรวมถึงการมีทกั ษะจาเป็ นพืน้ ฐานในการปฏิบตั ิงาน และปฏิบตั ิงานให้สอดคล้องตามบทบาท และหน้าที่ในการดแู ลสขุ ภาพประชาชนระดบั ปฐมภมู ิและหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องกบั การพฒั นาชมุ ชนให้เข้มแข็ง ตามบทบาทและสมรรถนะของพยาบาลอนามยั ชมุ ชนในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อชมุ ชน สขุ ภาวะ อยา่ งไรก็ตาม พยาบาลอนามยั ชมุ ชนจาเป็นต้องมีเครื่องมือท่ีใช้นาทางในการปฏิบตั กิ ารพยาบาล ซง่ึ ได้แก่ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน จะได้กลา่ วถงึ ในบทถดั ไป กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[45] คาถามท้ายบท สถานการณ์ใช้ตอบคาถาม ข้อ 1-3 ผลการสารวจชมุ ชน โดยหน่วยบริการปฐมภูมิแหง่ หนง่ึ ในปี 2559 พบว่า ประชากรรวม 500 คน แบง่ เป็ นเพศชาย ร้อยละ 45 เพศหญิง ร้อยละ 55 ประชาชนอายุ 35 ปี ขึน้ ไป ป่ วยเป็ นความดนั โลหิตสูง ร้อยละ 20 เพ่ิมขนึ ้ กว่าปี 2558 ประชาชนบริโภคอาหารรสเคม็ ร้อยละ 30 ออกกาลงั กายไม่สม่าเสมอ ร้อย ละ 40 ไม่เคยวดั ความดนั โลหิตมาก่อน ร้อยละ 50 ในฐานะท่ีท่านเป็ นพยาบาลอนามัยชมุ ชน จงตอบ คาถาม 1. จงวิเคราะห์ปัจจยั ท่ีมีผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชาชนในชมุ ชน 2. จงระบกุ ลมุ่ เป้ าหมายในการดแู ลสขุ ภาพประชาชนในชมุ ชน 3. จงเช่ือมโยงบทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามยั ชมุ ชน ในการดแู ลสขุ ภาพประชาชนอายุ 35 ปี ขนึ ้ ไปที่ ป่ วยเป็นความดนั โลหติ สงู กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[46] เอกสารอ้างองิ กมลทิพย์ ขลงั ธรรมเนียม. (2554). นวตั กรรมการบริการพยาบาล. วารสารวิทยาลยั พยาบาลพระปกเกล้า จนั ทบรุ ี, 22(2), 77. กองการพยาบาล สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสขุ . (2545). การจดั ระบบบริการ พยาบาลระดบั ปฐมภูมิ. ใน ส่งศรี กิตติรักษ์ตระกูล, สารา วงษ์เจริญ, และชุติมา หฤทัย (บรรณาธิการ), แนวทางการจดั บริการพยาบาลระดบั ปฐมภูมิ (พิมพ์ครัง้ ที่ 2, หน้า19-22). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. กอบกลุ พนั ธ์เจริญวรกลุ , ธิตมิ า จาปี รัตน์, และพลู สขุ หิงคานนท์. (2550). วิวฒั นาการและแนวคดิ เก่ียวกบั การพยาบาลครอบครัวและการผดงุ ครรภ์. ใน เอกสารการสอนชดุ วิชา การพยาบาลครอบครัว และการผดงุ ครรภ์ หน่วยที่ 1-6 (พมิ พ์ครัง้ ที่ 4). นนทบรุ ี: มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, คณิศร เตง็ รัง, ราตรี ปิ่ นแก้ว, และวรัญญา เพ็ชรคงุ . (2555). วิถีชุมชน เครื่องมือ 7 ช้ินทีท่ าใหง้ านชมุ ชนง่าย ไดผ้ ล และสนกุ (พมิ พ์ครัง้ ที่ 7). นนทบรุ ี: บริษทั หนงั สือดวี นั . ขนิษฐา นนั ทบตุ ร. (2551). ระบบการดูแลสขุ ภาพชุมชน: แนวคิด เครื่องมือ การออกแบบ. กรุงเทพฯ: อษุ า การพมิ พ์. จริยาวตั ร คมพยคั ฆ์. (2553). การพยาบาลอนามยั ชมุ ชนในระบบสขุ ภาพ. ใน วนิดา ดรุ งค์ฤทธิชยั และ จริยาวตั ร คมพยคั ฆ์ (บรรณานกุ รม), การพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิด หลกั การและการ ปฏิบตั ิการพยาบาล. สมทุ รปราการ: โครงการสานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ. จริยาวัตร คมพยัคฆ์ และวารี ระกิติ. (2554). เอกสารการสอนชุดวิชาการพยาบาลชุมชนและการ รักษาพยาบาลเบือ้ งตน้ หน่วยที่ 1-7. นนทบรุ ี: สานกั พิมพ์มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. ประเวศ วะสี. (2549). การพฒั นาระบบสุขภาพชุมชน สุขภาวะชุมชนเป็ นฐานของสุขภาวะท้ังมวล. กรุงเทพฯ: สานกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ สานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริม สขุ ภาพ สถาบนั วิจยั ระบบสาธารณสขุ มลู นิธิสาธารณสขุ แหง่ ชาติ. วิพุธ พลู เจริญ. (2544). สขุ ภาพ: อุดมการณ์และยุทธศาสตร์ทางสงั คม. นนทบรุ ี: สถาบนั วิจยั ระบบ สาธารณสขุ . ศภุ สิทธิ์ พรรณารุโณทยั . (2543). ความเป็ นธรรมในระบบสุขภาพ. กรุงเทพฯ: สถาบนั วิจยั ระบบ สาธารณสขุ . กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[47] สมใจ ทนุ กลุ . (2554). การพยาบาลชมุ ชนกบั การส่งเสริมสขุ ภาพ. ใน เอกสารการสอนชดุ วิชาการพยาบาล ชมุ ชนและการรักษาพยาบาลเบื้องตน้ หน่วยที่ 1-7. นนทบรุ ี: สานกั พิมพ์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวทิ ยาลยั มหิดล. (2559). สารประชากร. สืบค้นเม่ือวนั ที่ 20 สงิ หาคม 2560, จาก http: //www.ipsr.ac.th/ipsr/Contents/Documents/.../Population_Gazette2016-TH.pdf. สถาบนั วจิ ยั ประชากรและสงั คม มหาวิทยาลยั มหิดล. (2560). สารประชากร. สืบค้นเม่ือวนั ท่ี 20 สิงหาคม 2560, จาก http: //www.ipsr.ac.th/ipsr/Contents/Documents/Gazette/Population_Gazette-TH.pdf. สภาการพยาบาล. (2551). ทกั ษะการปฏิบตั ิการพยาบาลและการผดุงครรภ์ระดับวิชาชีพ. สืบค้นเมื่อ วนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2557, จาก http:www.tnc.or.th/knowledge/know07.html. สภาการพยาบาล. (2553). สมรรถนะผูป้ ระกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์. กรุงเทพฯ: ศิริยอด การพมิ พ์. สภาการพยาบาล. (2558). คู่มือส่งเสริมจริยธรรม สาหรบั องค์การพยาบาล: กลไกและการปฏิบตั ิ. นนทบรุ ี: บริษทั จดุ ทอง. สรุ เกียรติ อาชานานภุ าพ. (2550). สขุ ภาพและปัจจยั กาหนดสขุ ภาพ. ใน อาพล จินดาวฒั นะ สรุ เกียรติ อาชานานภุ าพ สรุ ณี พิพฒั น์โรจนกมล (บรรณาธิการ), การสร้างเสริมสขุ ภาพ: แนวคิด หลกั การ และบทเรียนของไทย (หนา้ 8-21). กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์หมอชาวบ้าน. สวุ รรณา จนั ทร์ประเสริฐ, สมสมยั รัตนกรีฑากลุ , และนิสากร กรุงไกรเพชร. (2559). ชุดการเรียนรู้ที่ 7 การ สร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน: Strengthening community (หน้า 44-45). สานกั สนบั สนนุ การพฒั นาระบบสขุ ภาพ (สานกั 7) สานกั กองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) สภา การพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลา นครินทร์. สานักการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข. (2557). มาตรฐานการพยาบาลอาชีวอนามยั (ออนไลน์). นนทบรุ ี: สานกั การพยาบาล สานกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ . กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[48] สานกั โรคไมต่ ิดต่อ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . (2559). รายงานประจาปี 2559 (ออนไลน์). นนทบรุ ี: สานกั งานกิจการโรงพิมพ์ องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศกึ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์. สาเริง แหยงกระโทก และรุจิรา มงั คละศิริ (บรรณาธิการ). (2550). คู่มือการพฒั นาศูนย์สขุ ภาพชุมชน (หน่วยบริการปฐมภูมิ: PCU) (พิมพ์ครัง้ ท่ี 4). นครราชสีมา: บริษทั โชคเจริญมาร์เก็ตตงิ ้ . พรทิพย์ เชิดชพู งศ์ลา้ . (2549). ความรู้ทวั่ ไปเก่ียวกบั การดแู ลสขุ ภาพและการรักษาพยาบาลเบือ้ งต้น. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การรักษาพยาบาลเบื้องต้น หน่วยที่ 1-7 (ฉบบั ปรับปรุงครัง้ ท่ี 1). นนทบรุ ี: สานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. พลู สขุ หิงคานนท์. (2554). ภาวะผนู้ าทางการพยาบาล. พิษณโุ ลก: ดาวเงินการพิมพ์. พีรธร บณุ ยรัตน์พนั ธ์ุ, บญุ ส่ง กวยเงิน, และพฒั นศกั ด์ิ กระตา่ ยน้อย. (2552). กระบวนการทางานในชุมชน แบบมีส่วนร่วม. พษิ ณโุ ลก: ทิพย์เสนาการพมิ พ์. ราชบัณฑิตยสถาน. (2524). พจนานุกรมศพั ท์สงั คมวิทยา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: รุ่งศลิ ป์ การพิมพ์. รุจา ภ่ไู พบลู ย์. (2541). การพยาบาลครอบครัว: แนวคิด ทฤษฎี และการนาไปใช้ (พิมพ์ครัง้ ที่ 3 ฉบบั ปรับปรุงใหม)่ . กรุงเทพฯ: วี เจ พริน้ ตงิ ้ . วราภรณ์ บญุ เชียง, วิลาวณั ย์ เตือนราษฎร์, และศิวพร องึ ้ วฒั นา. (2556). “การถอดบทเรียนชดุ นวตั กรรม การดแู ลสุขภาพผ้ปู ่ วยเบาหวานในชมุ ชน” นวัตกรรมการดแู ลสขุ ภาพชุมชน โดยชุมชน เพ่ือ ชมุ ชน: กรณีศกึ ษา ต.สารภี อ.สารถี จ.เชียงใหม.่ พยาบาลสาร, 40 ฉบบั พิเศษ, 138-144. วิจิตร ศรีสพุ รรณ และกาญจนา จนั ทร์ไทย. (2556). คู่มือปฏิบตั ิงานพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลส่งเสริม สขุ ภาพตาบล. กรุงเทพฯ: บริษทั จดุ ทอง. วิชยั เอกพลากร (บรรณาธิการ). (2557). รายงานการสารวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ.2557. นนทบรุ ี: สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณสขุ . อมร นนทสตุ . (2559). นวตั กรรมกบั การพฒั นาระบบสขุ ภาพ (ออนไลน์). สืบค้น 7 สิงหาคม 2559, จาก http://www.amornsrm.net อษุ ณีย์ เพชรรัชตะชาติ. (2549). การสร้างเสริมสขุ ภาพครอบครัวไทย. สงขลา: บริษัท ลิมบราเดอร์การ พิมพ์. กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[49] Allender, J. A., Rector, C., & Warner, K. D. (2010). Community health nursing: Promoting and protecting the public’s health (7th ed.). Philadelphia, PA: Lippincott Williams & Wilkins. Allender, J. A., & Spradley, B. W. (2005). Community health nursing: Promoting and protecting the public’s health (6th ed.). Philadelphia, PA: Lippincott Williams & Wilkins. Anderson, E. T., & McFarlane, J. (2015). Community as partner: Theory and practice in nursing (7th ed.). Philadelphia, PA: Wolters Kluwer. Clark, M. J. (2008). Community health nursing: Advocacy for population health (5th ed.). Upper Saddle River, New Jersey: Parson Education. Clemen-Stone, S., McGuire, S. L., & Eigsti, D. G. (2002). Comprehensive community health nursing: Family, aggregate, & community practice (5th ed.). St. Louis, MO: Mosby. Commission on Social Determinants of Health. (2008). Closing the gap in a generation: Health equity through action on the social determinants of health. Final report of the Commission on Social Determinants of Health. Geneva, World Health Organization. Fleming, R. (2013). School health. In F. A. Maurer & C. M. Smith (Eds.), Community/public health nursing practice: Health for families and populations (5th ed., pp. 759-761). St. Louis, MO: Saunders. Hunt, R. (2013). Introduction to community-based nursing (5th ed.). Philadelphia, PA: Wolters Kluwer. Lowry, L. W., & Martin, K. S. (2004). Organizing frameworks applied to community-oriented nursing. In M. Stanhope, & J. Lancaster, Community & public health nursing (6th ed.). St. Louis, MO: Mosby. Maurer, F. A., & Smith, C. M. (Eds.) (2013). Community/public health nursing practice: Health for families and populations (5th ed.). St. Louis, MO: Saunders. O’Donnell, L., Bonaparte, B., Joseph, H., et al. (2009). Keep it up: Development of a community- based health screening and HIV prevention strategy for reaching young Africa American men. AIDS Education and Prevention, 21, 229-313. กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[50] Phelan, JO. C., Link, B. G., Diez-Roux, A., Kawachi, I., & Levin, B. (2004). Fundamental causes of social inequities in mortality: A test of the theory. Journal of Health and Social Behavior, 45, 265-285. Rowe, J. M., & Birenbaum, L. K. (2014). Issues and approaches in family and individual health care. In M. Stanhope, & J. Lancaster (Eds.), Foundations of nursing in the community: Community-oriented practice (4th ed., p. 310-312). St. Louis, MO: Mosby. Seaback, W. (2006). Nursing process: Concepts & application (2nd ed.). Clifton Park, NY: Thomas Delmar Learning. Sebastian, J. G. (2012). The nurse leader in the community. In M. Stanhope, & J. Lancaster (Eds.), Public health nursing: Population-centered health care in the community (8th ed.). St. Louis, MO: Mosby. Shuster, G. F. (2014). Community assessment and evaluation. In M. Stanhope, & J. Lancaster (Eds.), Foundations of nursing in the community: Community-oriented practice (4th ed., pp. 210-230). St. Louis, MO: Mosby. Skår, R. (2009). The meaning of autonomy in nursing practice. Journal of Clinical Nursing, 19, 2226-2234. Doi: 10.1111/j.1365-2702.2009.02804.x Smith, C. M. (2013). Responsibilities for care in community/public health nursing. In F. A. Maurer, & C. M. Smith (Eds.), Community/public health nursing practice: Health for families and populations (5th ed.). St.Louis, MO: Saunders. Tappen, R. M. (1995). Nursing leadership and management: Concepts and practice (3rd ed.). Philadelphia, PA: F. A. Davis. Walker, S. S. (2015). Ethical quandaries in community health nursing. In E. T. Anderson, & J. McFarlane, Community as partner: Theory and practice in nursing (7th ed., p. 7). Philadelphia, PA: Wolters Kluwer. กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[51] World Health Organization. (2004). World Health Organization Centre for health development: Ageing and health technique report: A glossary of terms for community health care and services for older persons, vol 5, Kobe, Japan, WHO. World Health Organization. (2008). Key concepts. Retrieved July 20, 2017, from http://www.who.int/social_determinants/thecommission/finalreport/key_concepts/en/ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[52] บทท่ี 2 กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน แนวคิด กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนก็คือการใช้กระบวนการพยาบาลแต่นาไปใช้ กับชุมชน โดย อาศยั หลกั คิดการมองชมุ ชนเป็ นหลกั และนาความรู้ด้านตา่ งๆ มาใช้ในการกาหนดแนวทางการให้บริการ สขุ ภาพของพยาบาลอนามยั ชุมชน แนวคิดหลกั ของกระบวนการพยาบาลอนามยั ชุมชน คือ การกาหนด ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพ วางแผนแก้ไขปัญหาและความร่วมมือของชุมชนซ่ึงจะใช้เวทีการ ประชุมหรือประชาคมหม่บู ้าน เป็ นกลไกสนบั สนุนการดาเนินงาน อีกทงั้ การสร้างเสริมความเข้มแข็งของ ชมุ ชนที่มกั เป็ นแนวทางท่ีก่อให้เกิดการใช้ทกั ษะ ศกั ยภาพ และทรัพยากรของชุมชนโดยเฉพาะอย่างย่ิงทนุ ทางสงั คม การสร้างเสริมพลงั อานาจชมุ ชน เพื่อสร้างการเปล่ียนแปลงในวิถีการดาเนินชีวิตไปในทางที่ดีขนึ ้ และประชาชนพง่ึ พาตนเองด้านสขุ ภาพ วัตถปุ ระสงค์ ภายหลงั ศกึ ษาบทนีแ้ ล้วผ้อู า่ นสามารถ 1. อธิบายความหมายของกระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชนได้ 2. อธิบายธรรมชาตขิ องกระบวนการพยาบาลได้ 3. อธิบายความสาคญั ของกระบวนการพยาบาล และประโยชน์ของกระบวนการพยาบาลได้ 4. อธิบายขนั้ ตอนของกระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชนได้ 5. ประยกุ ตใ์ ช้ทนุ ทางสงั คมในการเสริมสร้างความเข้มแขง็ ของชมุ ชนได้ 6. ประยกุ ต์ใช้การสร้างเสริมพลงั อานาจในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุ ชนได้ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[53] 2.1 ความรู้เก่ียวกับกระบวนการพยาบาล 2.1.1 ความหมายของกระบวนการพยาบาล มีผ้ใู ห้ความหมายของกระบวนการพยาบาล ไว้ดงั นี ้ ยูราและวอล์ (Yura & Wash, 1978 อ้างใน Basavanthappa, 2011) ให้ความหมายของ กระบวนการพยาบาล คือ วิธีการที่เป็ นลาดบั มีขนั้ ตอนอยา่ งเป็ นระบบในการปฏิบตั ติ อ่ ผ้ใู ช้บริการ กาหนด ปัญหา การวางแผนเพื่อแก้ไขปัญหาสขุ ภาพ ปฏิบตั ิการพยาบาล และประเมินผลเพื่อพิจารณาวา่ แผนการ พยาบาลนนั้ บรรลตุ ามเป้ าหมายหรือผลลพั ธ์ที่กาหนดไว้หรือไม่ ลาฟและเทเลอร์ (Ralph & Taylor, 2008) ให้ความหมายของกระบวนการพยาบาล คือ วิธีการที่ เป็นระบบ มีขนั้ ตอนการปฏิบตั ชิ ดั เจนในการปฏิบตั กิ ารพยาบาลแก่ผ้ใู ช้บริการซง่ึ เป็ นส่ิงที่วิชาชีพกาหนดให้ อยใู่ นความรับผดิ ชอบหรือขอบเขตการปฏิบตั ติ ามบทบาทอิสระของพยาบาลวิชาชีพ ซีแบ็ค (Seaback, 2006) ให้ความหมาย กระบวนการพยาบาล คือ วิธีการรวบรวมและจดั กล่มุ ข้อมูลอย่างเป็ นระบบในการวางแผนการพยาบาลและปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลสุขภาพของ ผ้ใู ช้บริการ สรุป ความหมายของกระบวนการพยาบาล คือ วิธีการท่ีเป็ นระบบและตอ่ เนื่องในการดแู ลสขุ ภาพ ของผ้ใู ช้บริการ มีขนั้ ตอนการดาเนินการท่ีชดั เจน ตงั้ แต่การกาหนดปัญหา วางแผน ปฏิบตั ิการพยาบาล และประเมินผล หากนากระบวนการพยาบาลไปใช้ในชมุ ชนจะหมายถึง กระบวนการพยาบาลท่ีใช้ในการ ปฏิบตั กิ ารพยาบาลอนามยั ชมุ ชนให้แก่บคุ คล ครอบครัว กล่มุ คน และชมุ ชน มีเป้ าหมายเพ่ือให้ประชาชน ทกุ คนได้รับการดแู ลอยา่ งองค์รวม ตอ่ เนื่องสอดรับตามวถิ ีการดาเนินชีวติ และพง่ึ พาตนเองด้านสขุ ภาพ 2.1.2 ธรรมชาตขิ องกระบวนการพยาบาล (Nature of nursing process) ธรรมชาตขิ องกระบวนการพยาบาล (Basavanthappa, 2011) ดงั นี ้ กระบวนการพยาบาลเป็นวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์อยา่ งหนง่ึ ที่มีระบบระเบียบ ลาดบั ขนั้ ตอน และมี ความเป็นพลวตั ร มีความตอ่ เน่ือง เน้นผ้ใู ช้บริการเป็ นสาคญั ให้มีสว่ นร่วมในการวางแผนการดแู ล และชว่ ย ให้ผ้ใู ช้บริการคงไว้ซงึ่ สขุ ภาพ เป็นกระบวนการใช้ความคิดในการปฏิบตั กิ ารพยาบาลใดๆซง่ึ อาศยั ทงั้ ทกั ษะ ด้านสติปัญญา (Cognitive skill) ทกั ษะด้านเทคนิค (Technical skill) และทักษะระหว่างบุคคล (Interpersonal skill) และเน้นการให้บริการที่เฉพาะเจาะจงเพ่ือตอบสนองความต้องการด้านสขุ ภาพของ ผ้ใู ช้บริการ เน้นการมีปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้ใู ช้บริการ กระบวนการตดั สินใจและปฏิบตั กิ ารพยาบาลตามแผนการ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[54] พยาบาลบนพืน้ ฐานข้อมูลท่ีรวบรวมจากการประเมินสขุ ภาพ และมีการประเมินผลการพยาบาลภายหลงั การปฏิบตั ิการพยาบาล เนื่องจากกระบวนการพยาบาลประกอบด้วยขนั้ ตอนต่างๆ ที่เป็ นวงจร ต่อเนื่อง และมีความเป็ นพลวตั รในแต่ละขนั้ ตอน (Basavanthappa, 2011; Seback, 2006) หากกิจกรรมการ พยาบาลไมบ่ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ี่ตงั้ ไว้ต้องมีการประเมินปัญหาใหม่ ปรับปรุงแผนการพยาบาลให้เหมาะสม เพื่อให้บรรลเุ ป้ าหมายที่กาหนดไว้ในการแก้ไขปัญหาสขุ ภาพของผ้ใู ช้บริการ ดงั นนั้ กระบวนการพยาบาล สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ได้กับผ้รู ับบริการให้สามารถจดั การกบั ปัญหาสขุ ภาพได้ทงั้ ในภาวะปกติ ภาวะ เสี่ยง และภาวะเจ็บป่ วย และดแู ลสขุ ภาพผ้ใู ช้บริการทงั้ ระดบั บคุ คล ครอบครัว และชมุ ชน 2.1.3 ความสาคัญของกระบวนการพยาบาล กระบวนการพยาบาลซ่ึงเป็ นเครื่องมือที่สาคญั และใช้ในการประเมินผ้ใู ช้บริการอย่างเป็ นระบบ เพื่อวางแผนการพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสาคญั ต่อวิชาชีพ ผ้ใู ช้บริการ และพยาบาล ดงั นี ้ (Basavanthappa, 2011) 1. ความสาคญั ต่อวิชาชีพ เน่ืองจากกระบวนการพยาบาลมีการกาหนดขอบเขตการปฏิบตั ิการ พยาบาลและระบุผลลพั ธ์การพยาบาลตามมาตรฐานหรือเกณฑ์การประเมิน ดงั นนั้ หากผ้ใู ช้บริการได้รับ การพยาบาลท่ีมีคุณภาพ ผู้ป่ วยปลอดภัย ก็จะสะท้อนถึงการปฏิบตั ิในระดบั วิชาชีพการพยาบาลด้าน มาตรฐานการพยาบาล 2. ความสาคญั ตอ่ ผ้ใู ช้บริการ การใช้กระบวนการพยาบาลจะช่วยให้ผ้ใู ช้บริการได้รับการส่งเสริ ม ป้ องกันโรค ฟื น้ ฟูสภาพเพ่ือคงไว้ซึ่งสุขภาวะท่ีดี ได้รับการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง มีคุณภาพ ส่งเสริมให้ ผ้ใู ช้บริการมีส่วนร่วมในวางแผนการดแู ล เนื่องจากพยาบาลมีการกระต้นุ ให้ผ้ใู ช้บริการมีส่วนร่วมในการ ดแู ลสขุ ภาพ 3. ความสาคญั ตอ่ พยาบาล พยาบาลที่ปฏิบตั ิงานโดยใช้กระบวนการพยาบาลเป็ นประจาจะเกิด ความพึงพอใจต่องานท่ีทาและส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพ เนื่องจากพยาบาลต้องอาศยั ความรู้เชิง วิชาการ ความสามารถและทกั ษะของพยาบาล อีกทงั้ ช่วยให้พยาบาลรู้จกั วางแผนการพยาบาลอย่างเป็ น ระบบ ตอ่ เนื่อง บริหารเวลาและแหล่งประโยชน์ท่ีมีอย่างมีประสิทธิภาพในการให้การพยาบาล การดแู ล ผ้ใู ช้บริการอยา่ งครอบคลมุ เพ่ือตอบสนองความต้องของผ้ใู ช้บริการ (Seaback, 2006) กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[55] 2.1.4 ประโยชน์ของกระบวนการพยาบาล กระบวนการพยาบาลเม่ือถกู นามาใช้จะเกิดประโยชน์ต่อพยาบาลและการปฏิบตั ิการพยาบาล ดงั นี ้(Basavanthappa, 2011) 1. ช่วยสร้ างฐานข้อมลู สุขภาพของผู้ใช้บริการ เน่ืองจากในการประเมินสภาพจะมีการรวบรวม ข้อมูลของผ้ใู ช้บริการตงั้ แต่แรกเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ผ่านระยะท่ีอยู่ในความดแู ลของพยาบาล และจนกระทงั่ จาหนา่ ยกลบั บ้าน 2. ชว่ ยระบปุ ัญหาสขุ ภาพของผ้ใู ช้บริการ เชน่ ปัญหาท่ีเกิดขนึ ้ แล้ว ปัญหาที่อาจเกิดขนึ ้ และปัญหา ท่ีเสี่ยงตอ่ การเกิด เป็นต้น 3. ช่วยลาดบั ความสาคญั ของแผนการพยาบาลตามปัญหาก่อนนาแผนการพยาบาลไปปฏิบตั ิ เพื่อให้บรรลเุ ป้ าหมายท่ีกาหนดไว้อยา่ งเหมาะสม 4. กรณีที่เป็ นปัญหาร่วมในการแก้ไข (Collaborative problem) การกาหนดกิจกรรมการพยาบาล จะเป็ นการทางานร่วมกบั สมาชิกในทีมสขุ ภาพอ่ืนๆ เช่น แพทย์ ดงั นนั้ ในสว่ นของกิจกรรมการพยาบาลจะ ชว่ ยกาหนดขอบเขตความรับผดิ ชอบของพยาบาลท่ีชดั เจน 5. ชว่ ยพฒั นาแผนการพยาบาล ลาดบั กิจกรรม และให้การพยาบาล 6. ชว่ ยสง่ เสริมให้เกิดการคดิ ริเริ่มนวตั กรรมการพยาบาลหรือพฒั นาคณุ ภาพการบริการ 7. ชว่ ยให้เกิดการจดั กิจกรรมท่ีเป็นทางเลือกเพ่ือตอบสนองตอ่ ปัญหาความต้องการของผ้ใู ช้บริการ 8. ส่งเสริมความร่วมมือของทีมสขุ ภาพและสาขาอื่นๆ ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของผ้ใู ช้บริการ เน่ืองจากจะมีการพูดคยุ ปรึกษาหารือร่วมกันในทีมสขุ ภาพ และช่วยส่งเสริมความเข้าใจตรงกันของทีม พยาบาล เนื่องจากแผนการพยาบาลชว่ ยในการสื่อสารระหว่างสมาชิกในทีมให้มีแนวทางเดียวกันในการ ปฏิบตั งิ าน 9. ช่วยพฒั นาบทบาทหน้าที่ของพยาบาลโดยเฉพาะบทบาทอิสระ (Nursing autonomy) และ ความรับผดิ ชอบของบคุ ลากร 10. ชว่ ยเพม่ิ ประสทิ ธิภาพของการปฏิบตั กิ ารพยาบาลในทีมการพยาบาล กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[56] 2.2 ขัน้ ตอนของกระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน เป็นเครื่องมือหลกั ท่ีใช้ในการทางานในชมุ ชน พยาบาลอนามยั ชมุ ชนนามาใช้เป็ นกระบวนการแก้ไขปัญหาสขุ ภาพอนามยั ของประชาชนในชุมชน เพ่ือตอบสนองความ ต้องการด้านสขุ ภาพของประชาชน โดยอาศยั หลกั คดิ การมองชมุ ชนเป็ นหลกั และนาความรู้ด้านต่างๆ มา ใช้ในการกาหนดแนวทางการให้บริการสขุ ภาพ คานึงถึงบริบทสงั คม วฒั นธรรมท้องถ่ินซ่งึ มีอิทธิพลตอ่ การ ดาเนินชีวิตและสุขภาพ เน่ืองจากกระบวนการพยาบาลเป็ นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบระเบียบ มี ขนั้ ตอนและตอ่ เนื่อง เป็ นกระบวนการใช้ความคิดในการปฏิบตั ิการพยาบาล ดงั นนั้ เม่ือพยาบาลอนามยั ชมุ ชนนามาใช้ในการปฏิบตั กิ ารพยาบาลในชมุ ชนจะชว่ ยวเิ คราะห์ปัญหา วางแผนแก้ไขปัญหาด้านสขุ ภาพ อนามยั ของประชาชนร่วมกบั ชุมชน ส่งเสริม และพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชนได้สอดคล้องกบั ความต้องการด้าน สขุ ภาพของประชาชนโดยอาศยั ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะตา่ งๆ ของพยาบาลอนามัยชุมชน โดยเน้น ประชาชนเป็นศนู ย์กลางและใช้ศกั ยภาพของประชาชนในชมุ ชนเป็นสาคญั (Basavanthappa, 2011) กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน ประกอบด้วยขนั้ ตอนตา่ งๆ ซงึ่ มีความสมั พนั ธ์และตอ่ เนื่องกนั แบง่ ออกเป็น 5 ขนั้ ตอน ดงั นี ้(Seaback, 2006; Shuster, 2014) 1. การประเมินภาวะสขุ ภาพชมุ ชน (Community health assessment) เป็ นขนั้ ตอนแรกของ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชุมชน เหมือนกบั กระบวนการพยาบาลที่ใช้ปฏิบตั กิ ารพยาบาลบนหอผ้ปู ่ วย แต่จะมีความแตกตา่ งเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่แตกตา่ งกัน และต้องคานึงถึงบริบทสงั คม วฒั นธรรมท่ีมีผลตอ่ วิถีการดาเนินชีวิตประจาวนั และสขุ ภาพของผ้ใู ช้บริการด้วย ในขนั้ ตอนนีจ้ ะต้องมีการ รวบรวมข้อมลู ชมุ ชน สขุ ภาพชมุ ชนอยา่ งเป็นระบบ เพ่ือนาไปวเิ คราะห์ปัญหา ประกอบด้วย 1.1 การรวบรวมข้อมลู (Data collection) ในการรวบรวมข้อมลู ของบคุ คล ครอบครัว และ ชุมชน ควรครอบคลุมความเป็ นองค์รวม รวมทัง้ ข้อมูลปรนัย (Objective data) และข้อมูลอัตนัย (Subjective data) และรวบรวมได้หลายวิธี เช่น การสอบถาม การสมั ภาษณ์ การสงั เกต การตรวจร่างกาย บนั ทกึ หรือเอกสารรายงานตา่ งๆ ท่ีเก่ียวข้อง เป็นต้น ข้อมูลท่ีต้องการในการประเมินภาวะสุขภาพชุมชนขึน้ อยู่กับกรอบแนวคิดที่เลือกใช้ ที่ สาคญั คือ ข้อมลู นนั้ ต้องสามารถแสดงภาพรวมที่อธิบายชมุ ชนได้ ประกอบด้วยข้อมลู 2 สว่ น คือ 1) กลมุ่ คนตา่ งๆ ในชมุ ชนและสถานะสขุ ภาพ ปัญหาและความต้องการด้านสขุ ภาพ พฤตกิ รรม ความคดิ ความเช่ือ ของคนในชมุ ชนที่เป็ นปัจจยั สาเหตขุ องปัญหา ปัจจยั ที่คกุ คามสขุ ภาพ หรือเงื่อนไขสนบั สนนุ การดแู ลและ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[57] จดั การปัญหาสขุ ภาพท่ีเกิดขนึ ้ ของคนในชมุ ชน และ 2) ปัจจยั ส่ิงแวดล้อมซ่ึงเป็ นปัจจยั สาเหตขุ องปัญหา สขุ ภาพ ปัจจยั ท่ีคกุ คาม หรือเงื่อนไขสนบั สนนุ การจดั การปัญหาสขุ ภาพ (ขนิษฐา นนั ทบตุ ร, 2546) ตวั อย่างข้อมูลท่ีต้องรวบรวม ได้แก่ องค์ประกอบทางประชากรของชมุ ชน เชน่ อายุ เพศ อาชีพ ศาสนา เชือ้ ชาติ ประชากรกลุ่มต่างๆ อัตราเกิด อัตราการป่ วย อัตราตาย ปัญหาสุขภาพ แบบ แผนการเจบ็ ป่ วยและโรค พฤตกิ รรมสขุ ภาพ พฤติกรรมเสี่ยง พฤตกิ รรมสร้างเสริมสขุ ภาพ ความสมั พนั ธ์ใน กล่มุ และการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ วฒั นธรรมท่ีมีผลตอ่ การดาเนินชีวิต สขุ ภาพ การดแู ลสุขภาพและการ รักษา การเข้าถึงและใช้บริการสุขภาพจากแหล่งให้บริการสุขภาพ และผลการใช้บริการสุขภาพต่างๆ ส่งิ แวดล้อมท่ีมีผลกระทบตอ่ สขุ ภาพคนในพืน้ ท่ี เป็นต้น ตวั อย่างเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินชุมชน เครื่องมือที่ใช้ขึน้ อยู่กับกรอบแนวคิด ความ เช่ือและทฤษฎีการพยาบาลท่ีผ้ศู กึ ษาเลือกใช้ เช่น แนวคิดการมองชมุ ชนในฐานะผ้ใู ช้บริการ (Community as client) แบบจาลองชมุ ชนเป็ นห้นุ สว่ น (Community as partner model) (Anderson & McFarlane, 2015) ประกอบด้วยองค์ประกอบหลกั 2 สว่ น คือ (1) การประเมินชมุ ชนในฐานะเป็ นห้นุ สว่ น แกนกลาง ของการประเมนิ คอื ประชาชน ซงึ่ แสดงถึงประชาชนท่ีอาศยั ร่วมกนั และมีความสนใจร่วมกนั ทาให้เกิดเป็ น ชมุ ชน รวมถึงลกั ษณะของประชากร คา่ นิยม ความเชื่อ และประวตั ิศาสตร์ต่างๆ นอกจากนีป้ ระชาชนที่ อาศยั อยใู่ นชมุ ชนจะได้รับอทิ ธิพลจากระบบยอ่ ย 8 ระบบ ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ การศกึ ษา ความ ปลอดภัยและคมนาคมขนส่ง การเมืองและรัฐบาล สุขภาพและบริการทางสังคม การติดต่อส่ือสาร เศรษฐกิจ และนนั ทนาการ และ (2) การใช้กระบวนการพยาบาล แบบจาลองระบบของนิวแมน (Neuman, 1995) แบบจาลองนีม้ องผู้ใช้บริการ/ ระบบ ผ้ใู ช้บริการเป็นองคร์ วม ประกอบด้วยตวั แปร 5 ด้าน ได้แก่ ด้านสรีระวิทยา ด้านจิตใจ ด้านสงั คมวฒั นธรรม ด้านพฒั นา การ และด้านจิตวิญญาณ ซงึ่ มีความสมั พนั ธ์กนั และทางานร่วมกนั อยา่ งผสมผสานสอดคล้อง ระบบของผ้ใู ช้บริการจะมีปฏิสมั พนั ธ์ซง่ึ กนั และกนั รวมถงึ ปฏิสมั พนั ธ์กบั สิ่งแวดล้อมตลอดเวลา แบบแผนสขุ ภาพของกอร์ดอน (Functional Health Pattern) 11 แบบแผน (Ackley & Ladwig, 2014; Gordon, 2000) ได้แก่ (1) การรับรู้และการดแู ลสขุ ภาพ (2) อาหารและการเผาผลาญ อาหาร (3) การขบั ถ่าย (4) กิจกรรมและการออกกาลงั กาย (5) การพกั ผ่อน (6) สตปิ ัญญาและการรับรู้ (7) การรับรู้ตนเองและอตั มโนทศั น์ (8) บทบาทและสมั พนั ธภาพ (9) เพศและการเจริญพนั ธ์ุ (10) การปรับตวั และความทนตอ่ ความเครียด และ (11) คณุ คา่ และความเช่ือ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[58] ทฤษฎีทางการพยาบาล เช่น ทฤษฎีการดแู ลตนเองของโอเร็ม ทฤษฎีการปรับตวั ของรอย แบบจาลองการสร้างเสริมสขุ ภาพของเพนเดอร์ เป็นต้น 1.2 การตรวจสอบข้อมลู (Verification) เป็ นการตรวจสอบข้อมลู ที่รวบรวมได้วา่ ถกู ต้อง หรือไม่ 1.3 การจดั กล่มุ ข้อมลู (Organization) เป็ นการนาข้อมลู ท่ีผ่านการตรวจสอบแล้วมาแยก เป็นกลมุ่ ๆ โดยจดั กลมุ่ ข้อมลู ที่สมั พนั ธ์กนั เอาไว้ด้วยกนั 1.4 การตคี วาม/แปลความ (Interpretation) การตคี วามหมายจากข้อมลู ที่ถกู จดั กล่มุ ไว้ซึ่ง เป็นสร้างความคดิ เห็นขนั้ ต้น หรือแปลความหมายของข้อมลู การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพชมุ ชน 1.5 การบนั ทกึ ข้อมลู (Documentation) เป็นการบนั ทึกข้อมลู ในการประเมินภาวะสขุ ภาพ ชมุ ชน 2. การวินิจฉัยปัญหาอนามยั ชมุ ชน (Community diagnosis) เป็ นขนั้ ตอนท่ีสองของกระบวนการ พยาบาล แนนดา (The North American Nursing Diagnosis Association, NANDA) ซง่ึ เป็ นสมาคมการ วินิจฉัยทางการพยาบาลของอเมริกาเหนือ ให้ความหมาย การวินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกับการตอบสนองต่อสิ่งคุกคามสุขภาพและส่งผลต่อปัญหาสุขภาพอนามยั ของบุคคล ครอบครัว หรือชมุ ชน (Ralph & Taylor, 2008) ขนั้ ตอนนีพ้ ยาบาลต้องใช้ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ (Critical-thinking skill) และทกั ษะการตดั สินใจ (Decision-making skills) และพิจารณาข้อมลู สนบั สนนุ เพ่ือพฒั นาข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Ralph & Taylor, 2008; Seaback, 2011) ซง่ึ ในการวิเคราะห์ ข้อมลู ชมุ ชนเพ่ือระบใุ ห้ได้วา่ ปัญหาสขุ ภาพอนามยั ของชมุ ชนอยทู่ ่ีใด ปัญหาเกิดขนึ ้ กบั ใคร เมื่อใด มากน้อย เพียงใด และเป็ นข้อมูลสนบั สนุนการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพต่อไป ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลมี ลกั ษณะดงั นี ้(Seaback, 2011) 1) ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลท่ีปัญหาสขุ ภาพเกิดขนึ ้ แล้ ว (Actual nursing diagnosis) มีข้อมลู สนบั สนนุ ชดั เจน เชน่ อาการ อาการแสดง หรือผลการตรวจทางห้องปฏิบตั กิ ารพบความผดิ ปกติ เป็นต้น 2) ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่มีโอกาสเกิดหรืออาจจะเกิด (Potential or possible nursing diagnosis) มีข้อมลู สนบั สนนุ เป็นปัจจยั เส่ียงหรือมีข้อมลู บง่ ชีว้ า่ จะเกิดปัญหาสขุ ภาพได้ในเวลาตอ่ มา 3) ข้อวินิจฉยั ท่ีมีภาวะสขุ ภาพดี (Wellness nursing diagnosis) เป็ นข้อวินิจฉัยที่แสดงถึงความ ปรารถนาท่ีจะไปสรู่ ะดบั ของการมีสขุ ภาพท่ีสงู ขนึ ้ ข้อวินจิ ฉยั นีจ้ ะไมม่ ีปัจจยั ท่ีเกี่ยวข้อง เชน่ มีการรับรู้ที่ดีตอ่ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[59] การควบคมุ อาหารและนา้ หนกั ตวั เพ่ือป้ องกนั โรคอ้วน กลมุ่ คนทางานมีการสร้างเสริมสขุ ภาพด้านการออก กาลงั กาย เป็นต้น 4) ปัญหาร่วม (Collaborative problem) เป็ นปัญหาที่พยาบาลมีหน้าท่ีรับผิดชอบร่วมกบั การ รักษาของแพทย์ พยาบาลไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้โดยลาพัง เช่น ภาวะแทรกซ้อน ด้านร่างกายซ่ึง พยาบาลสามารถติดตามประเมินได้ จุดเริ่มต้นอาการ (Onset) และการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึน้ พยาบาล สามารถช่วยแก้ ไขปั ญหานีโ้ ดยใช้ กิจกรรมการพยาบาลและกิจกรรมตามแผนการรักษาเพ่ือลด ภาวะแทรกซ้อนนนั้ ๆ (Seaback, 2006) ในการกาหนดปัญหาสุขภาพอนามยั หรือปัญหาสุขภาพชุมชนนนั้ จะต้องนาข้อมลู ท่ีได้จากการ วิเคราะห์มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานหรือค่ามาตรฐานท่ีสังคมนัน้ ยอมรับ ว่าบรรลุเกณฑ์หรือ เป้ าหมายหรือไม่ เช่น เกณฑ์ความจาเป็ นพืน้ ฐาน เป้ าหมายด้านสุขภาพของแผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาติ เป็ นต้น แล้วจึงพิจารณาวา่ อะไรคือปัญหาสขุ ภาพที่กาลงั เผชิญอยู่ การระบปุ ัญหาสขุ ภาพสามารถระบไุ ด้ ทงั้ ปัญหาโรคภยั ไข้เจบ็ ได้แก่ การป่ วย การตาย การพิการ เชน่ อตั ราการป่ วยด้วยโรคเบาหวาน ร้อยละ 3.5 หรือระบุปัญหาที่เป็ นปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อสุขภาพ หรือภาวะเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ เช่น ประชาชนอายุ 35 ปี ขึน้ ไป ไมไ่ ด้รับการตรวจคดั กรองความเส่ียงโรคความดนั โลหิตสงู ร้อยละ 30 เป็ นต้น หลงั จากนนั้ นาเข้าสขู่ นั้ ตอนการวางแผนแก้ไขปัญหาอนามยั ชมุ ชน 3. การวางแผนแก้ไขปัญหาอนามยั ชมุ ชน (Planning) เป็ นขนั้ ตอนที่สามของกระบวนการพยาบาล ประกอบด้วย การจัดลาดบั ความสาคัญของปัญหาสุขภาพที่ได้จากการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (Priority setting) การวิเคราะห์โยงใยสาเหตขุ องปัญหา เน่ืองจากปัญหาสขุ ภาพท่ีพบมีมากกวา่ หนึ่งอย่าง และไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ครบทุกปัญหาพร้อมๆกนั ด้วยข้อจากดั ของทรัพยากรและระยะเวลา ดงั นนั้ การจัดลาดบั ความสาคัญของปัญหาสุขภาพจึงมีความสาคญั และต้องเน้นให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการ พิจารณาปัญหา ความต้องการ ผลกระทบที่ได้รับหรือผลท่ีจะเกิดขึน้ ตามมาภายหลังหากไม่มีการ ดาเนินการจดั การแก้ไข รวมถึงพิจารณาความร่วมมือของชมุ ชน ในการวางแผนแก้ไขปัญหาอนามยั ชมุ ชน นนั้ สามารถใช้เวทีการประชมุ ชาวบ้านหรือประชาคมหม่บู ้าน เป็ นกลไกสนบั สนนุ การวางแผนแก้ไขปัญหา ร่วมกนั ทงั้ กับประชาชนในชุมชน พยาบาลอนามยั ชุมชนและเจ้าหน้าที่ทางสขุ ภาพ หรือหน่วยงานอ่ืนท่ี เก่ียวข้อง เช่น องค์การบริหารสว่ นตาบล เพื่อกาหนดวิธีการ กลยทุ ธ์ กิจกรรมการดาเนินการ เป้ าหมายทงั้ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[60] ระยะสนั้ และระยะยาว ติดตามประเมินผล เพ่ือแก้ไขปัญหา ป้ องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึน้ หรือบรรเทา ปัญหา (ขนษิ ฐา นนั ทบตุ ร, 2551; Seaback, 2006) 4. การปฏิบตั กิ ารพยาบาลอนามยั ชมุ ชนเพ่ือแก้ไขปัญหาสขุ ภาพ (Implementation) เป็ นขนั้ ตอนท่ี สี่ของกระบวนการพยาบาล ขนั้ ตอนนีเ้ป็ นการนาแผนงานหรือโครงการแก้ไขปัญหาสขุ ภาพชมุ ชน ลงส่กู าร ดาเนินการในชมุ ชน ซ่ึงจาเป็ นต้องให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมให้มากที่สดุ และรู้สึกวา่ ตนเองเป็ นเจ้าของ โครงการ เพื่อโอกาสที่โครงการจะประสบผลสาเร็จเป็ นไปได้มาก พยาบาลอนามยั ชมุ ชนต้องมีการติดตาม ผลตามแผนงานหรือโครงการ ประเมินซา้ ก่อน ระหว่าง และภายหลังการปฏิบัติ และมีการบนั ทึกการ พยาบาลภายหลงั การปฏิบตั ิกิจกรรมการพยาบาลและรายงานความก้าวหน้าของโครงการ ในขนั้ ตอนนี ้ พยาบาลอนามยั ชมุ ชนต้องอาศยั ทกั ษะจาเป็ นพืน้ ฐานที่ได้กลา่ วไว้แล้วในการปฏิบตั ิการพยาบาลอนามยั ชมุ ชนร่วมด้วย (Seaback, 2006) 5. การประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลในชุมชน (Evaluation) เป็ นขัน้ ตอนสุดท้ายของ กระบวนการพยาบาลโดยการประเมินผลโครงการ เพื่อจะเปรียบเทียบระหว่างผลกบั แผนท่ีวางไว้วา่ เป็ นไป ตามเป้ าหมายที่กาหนดหรือไม่ หรือเปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผลที่กาหนดไว้ ในการประเมินผล สามารถประเมินผลระหวา่ งที่ดาเนินโครงการ (Formative evaluation) เนื่องจากหากพบปัญหาอปุ สรรค ใดๆ จะได้สามารถแก้ ไขข้อบกพร่องได้ทันที และประเมินผลภายหลังสิน้ สุดโครงการ (Summative evaluation) (Potter, 2011) ซึง่ การประเมินนีเ้ พ่ือจะเปรียบเทียบผลการปฏิบตั ิจริงวา่ เป็ นไปตามแผนงาน วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ ปัจจยั นาเข้า และผลกระทบท่ีเกิดขนึ ้ หรือไม่ 2.3 การสร้างเสริมความเข้มแขง็ ของชุมชน 2.3.1 การสร้างเสริมความเข้มแขง็ ของชุมชนด้วยการสร้างเสริมพลังอานาจ การสร้างเสริมพลงั ชมุ ชน เป็ นกระบวนการสร้างความเข้มแข็งของชมุ ชนที่รวมความเชื่อมโยงของ การสร้างเสริมพลงั ระดบั บุคคล กลุ่มคน และองค์กรในชุมชนซ่ึงเกิดขึน้ อย่างตอ่ เน่ือง ที่จะทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในระดบั ตา่ งๆ ทงั้ ปัจเจกบคุ คล องค์กร และชมุ ชน การสร้างเสริมพลงั อานาจให้เกิดการเปล่ียน ทางสงั คม เป็นการสร้างการมีสว่ นร่วมของประชาชนในระดบั สงู สดุ (Laverack, 2004) โดยประชาชนเป็ นผู้ ตดั สินใจแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ของชมุ ชน เชน่ การลงประชามติ การจดั ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการเพ่ือให้ประชาชน เข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลข้อคิดเห็น เสนอแนวทางท่ีเป็ นประโยชน์หรือโครงการต่างๆ ในการป้ องกัน แก้ไขปัญหาโรคเรือ้ รังในชมุ ชน หรือปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกในชมุ ชน เป็นต้น กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[61] การเสริมพลงั อานาจชมุ ชนบนพืน้ ฐานการมีสว่ นร่วมนนั้ มีองค์ประกอบสาคญั 3 อย่าง ท่ีพยาบาล อนามัยชุมชนจะต้องไวต่อปัญหาและความต้องการของประชาชนในชุมชน (Sensitive) เพ่ือการ เปล่ียนแปลงของชมุ ชน ดงั นี ้(Leonard, 2015) 1. การมีส่วนร่วมเชิงรุก (Active process) โดยเปิ ดโอกาสให้ประชาชนทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการต่างๆ เพื่อสร้ างความตระหนักต่อปัญหาตนเอง ตระหนักในการมีส่วนร่วมพัฒนาหรือ แก้ปัญหาของตนเอง การมีสว่ นร่วมทาให้ชมุ ชนเรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนทศั นคติให้ลกุ ขนึ ้ มาแก้ไขปัญหาด้วย ภูมิปัญญาตนเอง เชื่อมน่ั ว่าสามารถควบคุมกากับส่ิงที่จะมีผลกระทบต่อชีวิตและแก้ไขปัญหาได้ถูกวิธี สง่ ผลให้เกิดจติ สานกึ ร่วมกนั 2. การเข้าไปเก่ียวข้องในทางเลือก (Choice) กล่าวคือ ประชาชนมีสิทธิและอานาจที่จะกาหนด สขุ ภาพและควบคมุ สิง่ ท่ีมากระทบตอ่ ชีวิตของตนเอง โดยมีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางปฏิบตั ิ การรับรู้ ถึงแนวทางเลือกตา่ งๆ ที่จะเป็นประโยชน์ตอ่ การตดั สินใจ และการจดั การกบั สง่ิ ตา่ งๆ ที่กระทบตอ่ สขุ ภาพ 3. การมีส่วนร่วมทางานให้มีประสิทธิผล (Effective participation) กระบวนการมีส่วนร่วมเร่ิม ตงั้ แตว่ างแผน จดั ลาดบั ความสาคญั วางเป้ าหมาย วตั ถปุ ระสงค์ แผนงาน และวางกลยทุ ธ์ร่วมกนั ตดิ ตาม และประเมินผล ประสานทรัพยากร กิจกรรม และการดาเนินการ ทาให้เกิดการแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบ ในการทางานและร่วมรับผลประโยชน์จากการทางานท่ีเกิดขึน้ การตดั สินใจท่ีเกิดขึน้ ร่วมกนั จะมีโอกาส นาไปสกู่ ารปฏิบตั ไิ ด้จริงเพ่ือให้เกิดการทางานอยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2.3.2 ทนุ ทางสังคม ทนุ ทางสงั คม (Social capital) หมายถึง ทรัพยากรทางสงั คมซง่ึ จาเป็ นอยา่ งยิ่งในการดาเนินชีวิตที่ ดีร่วมกันของคนในสังคม เช่น กล่มุ ต่างๆ เครือข่าย ความสมั พันธ์ในสงั คม ความรู้สึกผูกพนั อตั ลักษณ์ ร่วมกนั เป็นต้น (เดชรัต สขุ กาเนิด วชิ ยั เอกพลาพร และปัตพงษ์ เกษสมบรู ณ์, 2545) แนวทางในการสร้างเสริมชมุ ชนให้เข้มแข็งมกั เป็ นแนวทางที่ก่อให้เกิดการนาใช้ทกั ษะ ศกั ยภาพ และทรัพยากรของชมุ ชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทนุ ทางสงั คม และสร้างการเปลี่ยนแปลงในวิถีการดาเนินชีวิต ไปในทางที่ดีขนึ ้ โดยหนนุ เสริมให้ชมุ ชนเป็นหลกั ในการดาเนนิ การผา่ นงานและกิจกรรมตา่ งๆ เพื่อมงุ่ ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงคณุ ภาพชีวิต (ขนิษฐา นนั ทบตุ ร, 2553) จากความเชื่อที่วา่ ทนุ ทางสงั คมมีความเก่ียวข้อง กบั ความร่วมมือร่วมใจ สามารถลดชอ่ งวา่ งระหวา่ งคนกบั คน คนกบั สถาบนั หรือสถาบนั กบั สถาบนั ช่วยให้ ทกุ ฝ่ ายทางานร่วมกนั จนบรรลเุ ป้ าหมายท่ีตงั้ ไว้ร่วมกนั ได้ (สวุ รรณา จนั ทร์ประเสริฐ สมสมัย รัตนกรีฑากลุ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[62] และนิสากร กรุงไกรเพชร, 2559) ดงั นนั้ หากใช้ทนุ ทางสงั คมเป็ นตวั ขบั เคลื่อนเพ่ือทาให้ชุมชนเข้มแข็ง พงึ่ ตนเองได้นนั้ ควรต้องให้ชมุ ชนเข้ามามีสว่ นร่วม 1) วธิ ีการหาและใช้ทุนทางสังคมในการสร้างการมีส่วนร่วม การค้นหาทุนทางสงั คมนัน้ อาจเป็ นวิธีการท่ีใช้ในกระบวนการศึกษาชุมชน หรือกระบวนการ ทางานตามโครงการการดแู ลสขุ ภาพเฉพาะกลมุ่ ประชากรหรือเฉพาะปัญหาสขุ ภาพก็ได้ วิธีการค้นหาทนุ ทางสงั คมสามารถกระทาได้หลายวธิ ี สรุปได้ดงั นี ้(ขนิษฐา นนั ทบตุ ร, 2551) 1. การเข้าไปเรียนรู้จากผ้รู ู้ในชุมชน โดยฟังเร่ืองราวจากการพูดคยุ ฟังอย่างลึกซงึ ้ ฟังอย่างตงั้ ใจ เช่น ผ้สู ูงอายุ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้พิการ แม่บ้าน เพ่ือให้เกิดความเข้าใจเรื่องราวของปัญหาชุมชนและ ศกั ยภาพในการแก้ปัญหาตา่ งๆ ของชมุ ชน 2. ใช้การสมั ภาษณ์ การจดั กล่มุ หรือเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ตลอดจนการจดั ทาฐานข้อมลู ศกั ยภาพคนในชมุ ชน 3. หากเป็นองค์กรชมุ ชนหรือภาคประชาชน อาจใช้กระบวนการจดั ทาแผนแม่บทหรือกระบวนการ ค้นหาทนุ ทางสงั คม ที่แตล่ ะชมุ ชนมีความถนดั 4. เลือกใช้เครื่องมือที่มีอยใู่ นการทางานสขุ ภาพชมุ ชน เชน่ จปฐ. แฟ้ มครอบครัว แผนแมบ่ ทชมุ ชน เคร่ืองมือทางสงั คมวฒั นธรรม เป็นต้น 5. การค้นหาคนต้นแบบ ตวั แบบ ตวั อยา่ งกรณีตา่ งๆ เชน่ ผ้สู งู อายุ ผ้ปู ่ วย ผ้พู กิ าร เป็นต้น การค้นหาทนุ ทางสงั คมนนั้ ต้องแสดงให้เหน็ ภาพที่สะท้อนส่ิงตอ่ ไปนี ้(ขนษิ ฐา นนั ทบตุ ร, 2551) (1) แผนผังกระบวนการพฒั นาศกั ยภาพ (ทุนทางสงั คม) ของชุมชน ในการแก้ปัญหา คนและ กิจกรรมที่ใช้ในแก้ปัญหา ความสามารถของคนในการแก้ปัญหา ผลกระทบตอ่ การแก้ปัญหา (2) แผนท่ีทุนทางสังคมในชุมชนท่ีมีอยู่ เช่น คน ภูมิปัญญา วิถีชีวิต พืน้ ที่ทางสงั คม ประเพณี วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ เครือขา่ ยในชมุ ชน กลมุ่ ตา่ งๆ และทรัพยากรท่ีมีความสมั พนั ธ์กบั การดารงอยขู่ อง ชมุ ชนและการดาเนินชีวิตของคนในชมุ ชน รวมถึงแผนผงั ความช่วยเหลือ การดแู ล การแบง่ ปัน การเกือ้ กลู กนั ด้านตา่ งๆ รวมถงึ การดแู ลสขุ ภาพในชมุ ชน ทนุ ทางสงั คมที่มีอย่ใู นชมุ ชนท้องถ่ิน ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติ ประเพณีและวฒั นธรรม การออม ของประชาชน เชน่ กองทนุ ตา่ งๆ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินด้านสขุ ภาพ บคุ คลซงึ่ เป็นทนุ ทางสงั คมท่ีมีความสาคญั กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[63] (ขนิษฐา นนั ทบตุ ร, 2553) อาจเป็ นผ้ทู ่ีมีบทบาทเป็ นคนหลกั และคนร่วมในการพฒั นางานตา่ งๆ ในชมุ ชน ทนุ คนจากในพืน้ ที่ ได้แก่ ผ้นู าจากองค์กรภาครัฐ ผ้นู า แกนนาจากองคก์ รภาคประชาชน สาหรับกองทุนในตาบล แบ่งเป็ น (1) กองทุนที่จัดตงั้ ขึน้ โดยภาครัฐ เช่น กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดบั ท้องถ่ิน กองทุนสวสั ดิการเบีย้ ยงั ชีพให้กับผ้สู งู อายุ กองทนุ สนบั สนุนการเสริมสร้างสขุ ภาพ กองทุนสวสั ดิการชุมชน กองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน (กขคจ.) และ (2) กองทุนท่ีจดั ตงั้ โดยภาค ประชาชนเอง เช่น กองทนุ ที่จดั ตงั้ ขึน้ เพ่ือการออมและจดั สวัสดิการให้แก่สมาชิกท่ีเป็ นตวั เงิน และส่ิงของ เชน่ กองทนุ ป๋ ยุ กองทนุ ข้าว ธนาคารข้าว กองทนุ สจั จะวนั ละ 1 บาท กองทนุ กลมุ่ แม่บ้าน กองทนุ พฒั นา สตรี กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุ และกองทุนท่ีจัดตงั้ ขึน้ ในลักษณะสหกรณ์ เป็ นต้น (ขนิษฐา นันทบุตร, 2553) การค้นหาและใช้ทนุ ทางสงั คมจะช่วยให้คนในชมุ ชนได้เข้าใจและมองเห็นศกั ยภาพของชมุ ชนเป็ น หลกั ผ่านการมีส่วนร่วม สามารถนาไปใช้และพฒั นาได้ ดงั ตวั อย่าง การศึกษาการดแู ลสขุ ภาพของคนใน ชุมชนโดยชุมชน ของขนิษฐา นนั ทบุตร (2551) พบว่า การทางานการดแู ลสขุ ภาพชมุ ชนท่ีแสดงให้เห็น ความสาคญั ของทนุ ทางสงั คม สรุปได้ 4 ประการ (1) ทนุ ทางสงั คมมีความสมั พนั ธ์ทางสงั คมในทางบวกยิ่ง มากย่ิงก่อให้เกิดความเป็ นไปได้ในการช่วยเหลือดูแลกันมากขึน้ (2) ทุนทางสังคมถือเป็ นแหล่งหรือ ทรัพยากรในการช่วยเหลือกันในชุมชน แหล่งภูมิปัญญา การถ่ายทอดภูมิปัญญา ปราชญ์ชาวบ้าน เครื่องมือทามาหากิน วิธีการดาเนินชีวิต วิธีการทางาน ตลอดจนการดแู ลกันเอง (3) ทุนทางสงั คมเป็ น ศกั ยภาพที่ก่อให้เกิดการดแู ลและการเข้าถึงบริการสขุ ภาพได้ดีขนึ ้ และ (4) ทนุ ทางสงั คมเป็ นองค์ประกอบ สาคญั ของการทาให้เกิดการจดั การด้านสุขภาพของชุมชนทงั้ ชุมชน เพราะมีความร่วมมือกันของคนใน ชมุ ชนแม้วา่ จะตา่ งองค์กร ตา่ งกลมุ่ กนั กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[64] ภาพ 2 ตวั อยา่ งภาพทนุ ทางสงั คม ท่มี า: ขนษิ ฐา นนั ทบตุ ร และคณะ, 2553 กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[65] ตวั อย่างการศกึ ษาเกี่ยวกบั กระบวนการค้นหาศกั ยภาพชุมชนโดยศกึ ษาจากทนุ ทางสงั คมแบบมี สว่ นร่วมของประชาชน เพ่ือการพฒั นาระบบสขุ ภาพชมุ ชน พบวา่ ศกั ยภาพของชมุ ชนในการพฒั นาระบบ สขุ ภาพชุมชนอาศยั ทนุ ในชุมชนซ่ึงมีหลายลกั ษณะ ประกอบด้วย ทนุ ท่ีเป็ นบคุ คล คนสาคญั ผ้นู า คนเก่ง อาสาสมคั ร ทนุ ท่ีเป็ นกล่มุ คน เครือข่ายตา่ งๆ ทนุ ทรัพยากร (เงิน/กองทุน) เช่น กองทุนเงินล้าน เงินออม ผ้สู งู อายุ กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพตาบล กองทนุ หมบู่ ้าน กองทนุ SML ทนุ วฒั นธรรม เช่น ประเพณีและ วฒั นธรรมท้องถ่ิน หน่วยงาน/องค์กรในพืน้ ที่ เช่น ศนู ย์สขุ ภาชุมชน เทศบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล โรงเรียน วดั องค์กรภาคีนอกพืน้ ที่ เชน่ มลู นิธิตา่ งๆ เป็ นต้น ข้อมลู สะท้อนให้เห็นจดุ แข็งและจดุ อ่อน ของทนุ ทางสงั คมในชุมชนที่ถกู นามาใช้ในการจดั การปัญหาและพฒั นางานตา่ งๆ และความเข้มแข็งของ ชมุ ชน (วราภรณ์ บญุ เชียง อาไพ ชนะกอก ศวิ พร องึ ้ วฒั นา ปนดั ดา ใจมา และธนพรรณ จรรยาศริ ิ, 2555; เรมวล นนั ท์ศภุ วฒั น์ และคณะ, 2555) การใช้ศกั ยภาพของชมุ ชนเขตเมืองในการดแู ลผ้สู งู อายุ (ชญานิศ ลือวานิช, 2559) การดแู สขุ ภาพผ้สู ูงอายโุ ดยชมุ ชนมีสว่ นร่วมเน้นการใช้ทนุ มนุษย์และแหล่งประโยชน์ของ ชมุ ชนในการจดั บริการสขุ ภาพท่ีเอือ้ ตอ่ ผ้สู งู อายุ (Danyuthasilpe, Yunak, & Chantharakunchon, 2012) ตวั อย่างการสร้ างเสริมสมรรถนะของชุมชนหรืองค์กรชุมชนโดยการเสริมพลังทุนทางสงั คมเพื่อ ชมุ ชนเข้มแข็ง เช่น การเสริมสมรรถนะของผ้ดู แู ลผ้ปู ่ วย ผ้พู ิการ ครอบครัว อาสาสมคั ร จิตอาสาในชุมชน จดั ตงั้ กองทุน เครือขา่ ยองค์กรในชุมชน เพ่ือจดั การปัญหาการดแู ลผ้ปู ่ วยเรือ้ รัง ผ้ปู ่ วยระยะสดุ ท้าย และผู้ พกิ ารในชมุ ชน เกิดเป็น นวตั กรรม “ใกล้บ้าน ใกล้ใจ ในชมุ ชน” (สมสมยั รัตนกรีฑากลุ นิสากร กรุงไกรเพชร และอริสรา ฤทธ์ิงาม, 2557: 8-11) การใช้ทนุ อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหมบู่ ้านซ่ึงเป็ นทนุ ทางสงั คม ของพืน้ ท่ีมาพฒั นาร่วมกบั เครือขา่ ยองค์กรในชมุ ชน และการสนบั สนนุ จากองค์การปกครองส่วนท้องถ่ินใน การป้ องกนั โรคไข้เลือดออก เกิดเป็นนวตั กรรม “ตาบลปลอดลกู นา้ ยงุ ลาย” ของโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพ ตาบลขอนแก่น จงั หวดั ขอนแกน่ (วิจติ ร ศรีสพุ รรณ วลิ าวณั ย์ เสนารัตน์ และและขนษิ ฐา นนั ทบตุ ร, 2557) จากตวั อย่างการศึกษาเกี่ยวกบั ทุนทางสังคม จะแสดงให้เห็นว่า ชุมชนมีทุนทางสงั คมมากมาย หลากหลาย ดงั นนั้ หากพยาบาลอนามยั ชมุ ชนค้นหาและดงึ ศกั ยภาพของทุนทางสงั คมที่มีอย่ใู นท้องถิ่นมา ใช้อยา่ งเหมาะสมก็จะสามารถพฒั นาชมุ ชนสชู่ มุ ชนที่เข้มแข็งได้ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[66] สรุป กระบวนการพยาบาลอนามยั ชุมชน เป็ นเคร่ืองมือท่ีนาไปใช้ในการปฏิบตั ิการพยาบาลในชมุ ชน เพื่อวางแผนแก้ปัญหาสขุ ภาพและพฒั นาสขุ ภาพอนามยั ของประชาชนในชมุ ชนโดยพยาบาลอนามยั ชมุ ชน กระบวนการพยาบาลอนามยั ชุมชนจึงมีความสาคญั ต่อวิชาชีพพยาบาล ผ้ใู ช้บริการและตวั พยาบาลเอง ประกอบด้วยขนั้ ตอน การประเมินภาวะสขุ ภาพชมุ ชน การวินิจฉัยปัญหาอนามยั ชมุ ชน การวางแผนแก้ไข ปัญหาอนามัยชุมชน การปฏิบตั ิการพยาบาลอนามัยชุมชน และการประเมินผล การนากระบวนการ พยาบาลอนามยั ชุมชนไปใช้ปฏิบตั ิการพยาบาลในชุมชนจาเป็ นต้องสร้ างการมีส่วนร่วมของชุมชนโดย ประชาชนเป็ นผ้ตู ดั สินใจแก้ไขปัญหาต่างๆของชุมชน ค้นหาและใช้ศกั ยภาพทุนทางสงั คมท้องถิ่นท่ีมีอยู่ และสร้างการเปล่ียนแปลงให้เกิดขนึ ้ และเสริมสร้างพลงั อานาจชมุ ชน ซึ่งจะเป็ นพลงั นาไปสู่ความเข้มแข็ง ของชมุ ชนในการพึ่งพาตนเองด้านสขุ ภาพ ในบทถัดไปจะได้กล่าวถึงรายละเอียดของขนั้ ตอนการประเมิน ภาวะสขุ ภาพชมุ ชน คาถามท้ายบท สถานการณ์ใช้ตอบคาถามข้อ 1-3 ชมุ ชนสายธาร ตงั้ อย่หู ่างจากตวั เมือง ระยะทาง 100 กิโลเมตร มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในชว่ งฤดฝู น ทกุ ปี ประชาชนสว่ นใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ปลกู ถวั่ มนั สาปะหลงั พืน้ ท่ีสว่ นใหญ่ในชุมชนมี ต้นไม้ใหญ่และป่ าปกคลุม มีแหล่งนา้ ขังกระจายท่ัวไป ผู้นาชุมชนเป็ นท่ีรักใคร่ของชาวบ้าน มีอสม.ท่ี เข้มแข็ง ท่านเป็ นพยาบาลอนามยั ชมุ ชนปฏิบตั ิงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล ประสบการณ์การ ทางาน 5 ปี 1. จงอธิบายกระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชนในการทางานแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก 2. ทา่ นจะใช้วิธีการใดในการค้นหาทนุ ทางสงั คมของชมุ ชนแหง่ นี ้ 3. ทา่ นมีแนวทางสร้างการสว่ นร่วมของชมุ ชนในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกได้อยา่ งไร กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[67] เอกสารอ้างองิ ขนษิ ฐา นนั ทบตุ ร. (2546). กระบวนการพยาบาลชมุ ชน. ขอนแกน่ : หจก.โรงพิมพ์คลงั นานาวิทยา. ขนิษฐา นนั ทบตุ ร. (2551). ระบบการดูแลสขุ ภาพชมุ ชน: แนวคิด เครื่องมือ การออกแบบ. กรุงเทพฯ: อษุ า การพิมพ์. ขนษิ ฐา นนั ทบตุ ร (บรรณาธิการ). (2553). กรอบวิธีการศึกษาและถอดบทเรียนปฏิบตั ิการชุมชน (พิมพ์ครัง้ ท่ี 2). กรุงเทพฯ: ทีควิ พี. ขนิษฐา นนั ทบตุ ร พีรพงษ์ บุญสวสั ด์ิกุลชยั จงกลณี จนั ทรศิริ นิลภา จิระรัตนวรรณะ สุคนธ์ วรรธนะอมร แสงเดือน แทง่ ทองคา … และพฒั นา นาคทอง. (2553). ชดุ ความรู้การพฒั นากลไกและการ พฒั นาระบบสขุ ภาพชมุ ชนโดยชมุ ชนเพือ่ ชุมชน (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). นนทบรุ ี: บริษัท เดอะ กราฟิ โก ซสิ เตม็ ส์. ชญานิศ ลือวานิช. (2559). ศกั ยภาพของชมุ ชนเขตเมืองในการดแู ลผ้สู งู อายอุ ย่างมีสว่ นร่วม: กรณีศกึ ษา จงั หวดั ภเู ก็ต. วารสารการพยาบาลและสขุ ภาพ, 10(1), 163-175. เดชรัต สขุ กาเนดิ , วิชยั เอกพลาพร, และปัตพงษ์ เกษสมบรู ณ์. (2545). การประเมินผลกระทบทางสขุ ภาพ เพื่อการสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ: แนวคิด แนวทาง และแนวปฏิบตั ิ. นนทบรุ ี: สถาบนั วจิ ยั ระบบสาธารณะ. เรมวล นนั ท์ศภุ วฒั น์, สนุ ีย์ จนั ทร์มหเสถียร, ลดาวลั ย์ ภูมิวิชชเุ วช, อาไพ จารุวชั รพาณิชกุล, จนั ทรรัตน์ เจริญสนั ต,ิ ผอ่ งศรี เกียรตเิ ลิศนภา, และวราพร สนุ ทร. (2555). การพฒั นาระบบสขุ ภาพชมุ ชน โดยชมุ ชน เพื่อชมุ ชน กรณีศกึ ษาชมุ ชนตาบลไชยสถาน. พยาบาลสาร, 39(2), 144-154. วิจิตร ศรีสพุ รรณ, วิลาวณั ย์ เสนารัตน์, และขนิษฐา นนั ทบตุ ร. (2557). หมอนวดน้อย. ใน นวตั กรรมการ สร้างเสริมสขุ ภาพ: ภายใตบ้ ทบาทของวิชาชีพการพยาบาล. มปท. วราภรณ์ บญุ เชียง, อาไพ ชนะกอก, ศวิ พร องึ ้ วฒั นา, ปนดั ดา ใจมา, และธนพรรณ จรรยาศิริ. (2555). การ พฒั นาระบบสุขภาพชมุ ชนโดยชมุ ชนเพ่ือชมุ ชน ตาบลสารภี จงั หวดั เชียงใหม่ (ระยะที่ 1 ทุน ทางสงั คม). พยาบาลสาร, 39(3), 1-13. สมสมยั รัตนกรีฑากลุ , นิสากร กรุงไกรเพชร, และอริสรา ฤทธ์ิงาม. (2557). พยาบาลกบั การสร้างเสริม สขุ ภาพในพืน้ ที่ภาคตะวนั ออก: บทเรียนจากกรณีศึกษา “ระบบการดแู ลผ้ปู ่ วยถึงบ้าน ถึงใจ ใน ชมุ ชน (Home ward)” ใน คณะทางานโครงการจดั เวทีข้อเสนอเชิงนโยบายฯ. บทเรียนจาก กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[68] กรณีศึกษานวตั กรรมการพยาบาลเพือ่ การสร้างเสริมสขุ ภาพ. ชลบรุ ี: กองการบริการการศกึ ษา มหาวิทยาลยั บรู พา. Ackley, B. J., & Ladwig, G. B. (2014). Nursing diagnosis handbook: An evidence-based guide to planning care (10th ed.). St. Louis, MO: Mosby. Anderson, E. T., & McFarlane, J. (2015). Community as partner: Theory and practice in nursing (7th ed.). Philadelphia, PA: Wolters Kluwer. Basavanthappa, BT. (2011). Essentials of community health nursing. New Dephi: Jaypee Brothers Medical Publishers (P) LTD. Danyuthasilpe, C., Yunak, R. & Chantharakunchon, L. (2012). Caring for the older population focused on community participation. CNU Journal of Higher Education, 6, 83-96. Gordon, M. (2000). Manual of nursing diagnosis (9th ed.). St. Louis, MO: Mosby. Laverack, G. (2004). Health promotion practice power and empowerment. London: Sage. Leonard, B. (2015). Community empowerment. In E. T. Anderson & J. McFarlane, Community as partner: Theory and practice in nursing (7th ed.). Philadelphia, PA: Wolters Kluwer. Neumam, B. (1995). The Neuman system model (3rd ed.). Norwalk: Appleton & Lange. Potter, P. (2011). Nursing process. In P. Potter, A. G. Perry, P. A. Stockert, & A. Hall, Basic nursing (7th ed.). St. Louis, MO: Mosby. Ralph, S. S., & Taylor, C. M. (2008). Nursing diagnosis preference manual (7th ed.). Philadelphia, PA: Lippincott Willams & Wilkins. Seaback, W. (2006). Nursing process: Concepts & application (2nd ed.). Clifton Park, NY: Thomson Delmar Learning. Shuster, G. F. (2014). Community assessment and evaluation. In M. Stanhope & J. Lancaster (Eds.), Foundations of nursing in the community: Community-oriented practice (4th ed., pp.210-230). St. Louis, MO: Mosby. กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[69] บทท่ี 3 การประเมินภาวะสุขภาพชุมชน แนวคิด ในการประเมินภาวะสุขภาพชุมชนนัน้ เป็ นส่ิงสาคัญเพ่ือจะทาให้ทราบสภาวการณ์หรือภาวะ สขุ ภาพอนามยั ของชมุ ชนก่อนจะร่วมมือกบั ชมุ ชนวางแผนแก้ไขปัญหาสขุ ภาพอนามยั ซึ่งวิธีการได้มาของ ปัญหาสขุ ภาพนนั้ พยาบาลอนามยั ชมุ ชนต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั วตั ถปุ ระสงค์ และประโยชน์ของ การประเมินภาวะสขุ ภาพ ในการประเมินภาวะสุขภาพชมุ ชนนนั้ ต้องอาศยั ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลตา่ งๆใน ชมุ ชนทงั้ แหล่งข้อมลู ปฐมภูมิและทุติยภูมิ ข้อมูลชุมชนที่สาคญั อะไรบ้างท่ีรวบรวม เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ ประเมินชมุ ชนมีหลายชนิดขึน้ อย่กู บั วตั ถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีหลายวิธีต้อง เลือกใช้ให้เหมาะสมกับระยะเวลา กาลงั คน และงบประมาณ หลงั จากนนั้ นาข้อมลู มาจดั ระบบผ่านการ วิเคราะห์ข้อมูลพ่ือให้ข้อมลู สามารถนาไปอ้างอิงได้ และนาเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริงที่ได้จากการศึกษาใน รูปแบบตา่ งๆ วัตถุประสงค์ ภายหลงั ศกึ ษาบทนีแ้ ล้วผ้อู า่ นสามารถ 1. อธิบายวตั ถปุ ระสงค์ของการประเมินภาวะสขุ ภาพชมุ ชนได้ 2. อธิบายประโยชน์ของการประเมินภาวะสขุ ภาพชมุ ชนได้ 3. ประยกุ ต์ใช้เคร่ืองมือในการประเมินชมุ ชนได้ 4. อธิบายขนั้ ตอนการเก็บรวบรวมข้อมลู ชมุ ชนได้ 5. ระบวุ ิธีการนาเสนอข้อมลู ชมุ ชนได้ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[70] 3.1 วัตถุประสงค์ของการประเมนิ ภาวะสุขภาพชุมชน วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมินภาวะสขุ ภาพชมุ ชน มีดงั นี ้ 1. เพื่อศึกษา ค้นหาปัญหา ภาวการณ์เจ็บป่ วย ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลทาให้เกิดปัญหาในชุมชนทงั้ ปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางส่ิงแวดล้อม ปัจจัยทางสังคม ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านศาสนา วฒั นธรรม ความเช่ือ ทงั้ ปัญหาในระดบั บคุ คล ครอบครัว กลมุ่ คนในชมุ ชน 2. เพ่ือทราบความต้องการด้านสุขภาพของชุมชนและนาไปสู่การกาหนดนโยบายการวางแผน เบือ้ งต้น เพื่อกาหนดกลวิธีและการจดั สรรทรัพยากร และดาเนินการปฏิบตั ติ ามแผนเพ่ือการแก้ไขปัญหา หรือสนองความต้องการด้านสขุ ภาพ 3. เพ่ือสามารถระบทุ รัพยากรตา่ งๆ ในชมุ ชน แหล่งสนบั สนนุ ตา่ งๆ ของชมุ ชน รวมถึงแหลง่ บริการ ทางสขุ ภาพในชมุ ชน ความพงึ พอใจ จดุ แข็งและจดุ ออ่ นของชมุ ชน ความสามารถของชมุ ชน การมีสว่ นร่วม ของชุมชนซึ่งสิ่งเหล่านีจ้ ะนาไปใช้ เพ่ือวางแผนส่งเสริมสุขภาพ หรือจัดโครงการแก้ปัญหาของชุมชนให้ สอดคล้องกบั ศกั ยภาพของชมุ ชน 4. เพื่อทราบความเป็ นอยู่ของคนในชุมชน การดาเนินชีวิต พฤติกรรมเสี่ยง พฤติกรรมการดแู ล สขุ ภาพ พฤตกิ รรมการสง่ เสริมสขุ ภาพ ความเช่ือทางสขุ ภาพและการจดั การกบั ปัญหาทางสขุ ภาพ 5. เพ่ือช่วยในการสร้ างสัมพนั ธภาพอันดีระหว่างประชาชนกับบุคลากรด้านสุขภาพ และสร้ าง ความค้นุ เคยกนั ในระหวา่ งการประเมินชมุ ชน และกระต้นุ ความสนใจของคนในชมุ ชนให้เข้ามามีสว่ นร่วม ในแก้ปัญหาและพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชนของตนเอง 6. เพ่ือการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ในการประเมินชมุ ชนให้กบั นิสิต/นกั ศึกษาพยาบาลท่ีมาฝึ ก ประสบการณ์ในชมุ ชน (Ruth, Eliason, & Schultz, 1992) เนื่องจากการประเมินชมุ ชนต้องมีการเก็บ รวบรวมข้อมลู และใช้เครื่องมือในการประเมินปัญหาและความต้องการของชุมชน และยงั ช่วยเพิ่มความ มน่ั ใจในการทางานร่วมกันระหวา่ งนิสิต/นกั ศกึ ษาพยาบาล ประชาชน และทีมสขุ ภาพในชมุ ชน (Ruth et al., 1992) 3.2 ประโยชน์ของการประเมนิ ภาวะสุขภาพชุมชน การประเมินภาวะสขุ ภาพชมุ ชนมีประโยชน์ตอ่ ประชาชน บุคลากรด้านสขุ ภาพและองค์กรชมุ ชน สามารถสรุปได้ดงั นี ้ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[71] 1. ด้านประชาชน ภายหลงั การวิเคราะห์ข้อมลู สขุ ภาพของชมุ ชนแล้วหากประชาชนในชมุ ชนได้รับ ทราบปัญหา สาเหตุ สิง่ คกุ คามสขุ ภาพที่ทาให้เกิดการเจ็บป่ วย การเสียชีวิต อบุ ตั เิ หตุ หรือความพิการ และ ร่ วมวินิจฉัยปั ญหาจะช่วยกระต้ ุนให้ เกิ ด การมีส่วนร่ วม ของประชาชนในชุมชนในการ วางแผนร่ วมกับ บคุ ลากรด้านสขุ ภาพในการแก้ไขปัญหา หรือพฒั นาสขุ ภาพของชมุ ชน นอกจากนีป้ ระชาชนผ้รู ับบริการท่ีมี ปัญหาสุขภาพหรือความเบ่ียงเบนทางสุขภาพก็จะได้รับการรักษาพยาบาล การดูแลช่วยเหลือ การ จดั บริการสขุ ภาพที่ตรงตอ่ ความต้องการและปัญหาทาให้ผ้รู ับบริการมีสขุ ภาพท่ีดขี นึ ้ 2. ด้านบคุ ลากรด้านสุขภาพ พยาบาลอนามยั ชมุ ชน หรือบคุ ลากรด้านสขุ ภาพท่ีปฏิบตั ิงานจะได้ พฒั นาตนเองจากกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน การทาความรู้จักกบั คนในชุมชน เรียนรู้วิถีชีวิตของคนใน ชมุ ชน ประเพณีความเชื่อ วธิ ีการจดั การกบั ปัญหาของคนในชมุ ชน และปัจจยั ตา่ งๆ ที่มีผลตอ่ สขุ ภาพ ทาให้ บคุ ลากรด้านสขุ ภาพสามารถจดั บริการสขุ ภาพได้สอดคล้องกบั ปัญหาและบริบททางสงั คม 3. ด้านองค์กรชุมชน การรับทราบข้อมูลตา่ งๆ ของชุมชนอย่างเป็ นระบบและตอ่ เน่ืองก่อให้เกิด ประโยชน์ตอ่ องค์กรตา่ งๆ ในชมุ ชนเพื่อวางแผนการจดั การท่ีสอดคล้องกบั ภารกิจขององค์กรชมุ ชนนนั้ ๆ เช่น การจดั สรรกองทนุ สง่ เสริมสขุ ภาพ กองทนุ สวสั ดกิ ารคา่ รักษาพยาบาล การรณรงค์ตา่ งๆ ที่เป็ นประโยชน์ตอ่ สขุ ภาพคนในชมุ ชน เป็นต้น 3.3 เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการประเมนิ ชุมชน เคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินชุมชนมีหลากหลายขึน้ อยู่กับวัตถุประสงค์ของการเลือกใช้ ซึ่ง ประกอบด้วย เคร่ืองมือทางวิทยาการระบาด เครื่องมือสารวจโครงสร้างทางกายภาพของชมุ ชน เคร่ืองมือ การสารวจความจาเป็ นพืน้ ฐาน เคร่ืองมือการประเมินชมุ ชนในฐานะผ้ใู ช้บริการ เครื่องมือศกึ ษาชมุ ชนโดย วิธีทางมานษุ ยวทิ ยา เครื่องมือแตล่ ะชนิ ้ มีรายละเอียดดงั นี ้ 3.3.1 เคร่ืองมือทางวทิ ยาการระบาด วิทยาการระบาด (Epidemiology) เป็ นการศกึ ษาเก่ียวกบั การกระจายของโรคในชมุ ชน ปัจจยั ท่ีมี อิทธิพลต่อการกระจายของโรคหรือเก่ียวข้องกับการเกิดโรค และการเปล่ียนแปลงของโรค ซึง่ เกี่ยวข้องกบั ปัจจยั สามตวั ได้แก่ ส่ิงที่ทาให้เกิดโรค (Agent) โฮสท์หรือมนษุ ย์ (Host) และสิ่งแวดล้อม (Environment) ปัจจยั สามตวั นีม้ ีความสมั พนั ธ์กนั (McFarlane & Gilroy, 2015) ในภาวะปกติจะมีความสมดลุ ระหวา่ ง ปัจจยั ทงั้ สามทาให้ไม่มีโรคหรือการระบาดของโรค ในภาวะผิดปกตจิ ะเกิดความไม่สมดลุ ระหว่างปัจจยั ทงั้ สาม อาจเนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงของปัจจัยใดปัจจัยหน่ึงทาให้เกิดโรคหรือมีการระบาดของโรค กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[72] (McFarlane & Gilroy, 2015) ดงั นนั้ การใช้แนวคิดวิทยาการระบาดในการศึกษาชมุ ชนจะชว่ ยให้ทราบ ลกั ษณะทางสุขภาพอนามยั ของชุมชนและปัญหาโรคภัยไข้เจ็บ ลกั ษณะ สาเหตุ และการดาเนินของโรค เพื่อวางแผนในการควบคุมและป้ องกันโรคตลอดจนโครงการต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องในชุมชน เครื่องมือทาง วิทยาการระบาด มีดงั นี ้ 1) แบบจาลองวทิ ยาการระบาดของเดเวอร์ (Dever’s Epidemiologic model) แบบจาลองวิทยาการระบาดของเดเวอร์เร่ิมต้นจากผลงานของ Lalonde และ Blum ในการ พฒั นานโยบายการดแู ลสขุ ภาพอนามยั ของประชากรในรัฐจอร์เจีย และตอ่ มาได้พฒั นาขนึ ้ โดย จี เอแลน เด เวอร์ (G. Alan Dever, 1999 อ้างใน Clark, 2003) ซ่งึ เป็ นนกั วิเคราะห์ด้านนโยบายสขุ ภาพ รัฐจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา แบบจาลองวทิ ยาการระบาดของเดเวอร์ อธิบายวา่ ภาวะสขุ ภาพเกิดจากอิทธิพลของ องค์ประกอบพืน้ ฐาน 4 อยา่ ง ได้แก่ (Denver, 1991 อ้างใน Clark, 2003) 1. ปัจจยั ด้านชีววิทยาของมนษุ ย์ (Human biology factors) ปัจจยั ด้านชีววิทยาของ มนษุ ย์จะเหมือนกบั ปัจจยั ด้านโฮสท์/มนษุ ย์ (Host) ของปัจจยั สามทางระบาด ได้แก่ อายุ พนั ธุกรรม การ ทาหน้าท่ีด้านสรีรภาพหรือด้านร่างกาย เช่น ความอ่อนล้าของร่างกาย ภาวะทุพโภชนาการ โรคอ้วน ภมู ิค้มุ กนั โรค เป็ นต้น และวฒุ ิภาวะและความสงู วยั (Maturation and aging) เช่น วยั เดก็ และวยั ผ้สู งู อายุ เส่ียงตอ่ การเจ็บป่ วยได้มากกวา่ วยั ทางาน เป็นต้น 2. ปัจจยั ด้านส่ิงแวดล้อม (Environment factors) ปัจจยั ด้านส่ิงแวดล้อมมีผลตอ่ สถานะ สุขภาพของประชากร ปัจจยั ด้านส่ิงแวดล้อม แบ่งออกเป็ น 3 อย่าง ได้แก่ ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ สิง่ แวดล้อมทางจติ ใจ และสงิ่ แวดล้อมทางสงั คม 2.1 ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment) ได้แก่ สภาพบ้านเรือน อาคาร สิง่ กอ่ สร้าง ภมู ิประเทศ ภมู ิอากาศ 2.2 ส่ิงแวดล้อมทางจิตใจ (Psychological environment) แบ่งออกเป็ นสิ่งแวดล้อม ด้านจิตใจภายในและภายนอก ส่ิงแวดล้อมด้านจิตใจภายใน ได้แก่ ภาวะซึมเศร้า (Depression) ความมี คณุ ค่าในตนเอง (Self-esteem) ความสามารถในการปรับตวั ของบุคคล ส่ิงแวดล้อมด้านจิตใจภายนอก ได้แก่ ความเครียด การได้รับการช่วยเหลือทางด้านจิตใจอารมณ์ ความรัก ความเอาใจใส่ (Emotional support) กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[73] 2.3 สิ่งแวดล้อมทางสงั คม (Social environment) สิ่งแวดล้อมทางสงั คมมีอิทธิพลตอ่ สขุ ภาพของประชาชน ได้แก่ สถานภาพทางเศรษฐกิจและสงั คม เชน่ มาตรฐานการดารงชีวิต การมีงานทา การมีท่ีพักอาศัย ความสัมพันธ์กับเพ่ือน เพ่ือนบ้าน เป็ นต้น การเมือง วัฒนธรรม ความหนาแน่นของ ประชากร ส่ือตา่ งๆ ที่เกี่ยวข้องกบั สขุ ภาพ กิจกรรมการรณรงค์เพื่อแก้ปัญหาสขุ ภาพตา่ งๆ ผา่ นสื่อ ทศั นคติ ของสงั คมตอ่ ผ้ทู ่ีมีปัญหาสขุ ภาพเฉพาะ เช่น ผ้ตู ดิ เชือ้ เอชไอวี (HIV) ผ้ตู ดิ สารเสพตดิ ผ้ปู ่ วยทางสขุ ภาพจิต การตงั้ ครรภ์ในวยั รุ่น เป็นต้น 3. ปัจจยั ด้านแบบแผนการดาเนินชีวิต (Lifestyle factors) ปัจจยั ด้านแบบแผนการดาเนิน ชีวิตมีอิทธิพลตอ่ ภาวะสุขภาพของประชาชนมากที่สดุ และเป็ นปัจจยั ที่สามารถนาไปใช้ในการควบคมุ การ เกิดปัญหาสขุ ภาพ (Denver, 1991 อ้างใน Clark, 2003) ปัจจยั ด้านแบบแผนการดาเนินชีวิต ได้แก่ อาชีพ การบริโภคอาหาร การใช้เวลาว่าง กิจกรรมสนั ทนาการ การออกกาลงั กาย การสบู บุหร่ี การดื่มเครื่องด่ืม แอลกอฮอล์และการใช้สารเสพตดิ เป็นต้น 4. ปัจจยั ด้านระบบบริการสขุ ภาพ (Health care system factors) ปัจจยั ด้านระบบบริการ สุขภาพมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและการเจ็บป่ วย เน่ืองจากการจดั บริการสุขภาพเป็ นการ จัดบริการที่มุ่งเน้ นให้ ครอบคลุมประชากรทุกกลุ่มทัง้ การป้ องกันโรค การสร้ างเสริมสุขภาพ การ รักษาพยาบาล และการฟื ้นฟูสภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการอย่างทวั่ ถึง ราคาไม่แพง การบริการ สุขภาพท่ีมุ่งตอบสนองความต้องการทางสุขภาพของประชาชน และการบริการอย่างมีคุณภาพและ ประชาชนปลอดภยั 2) ดชั นีอนามัย (Health index) ดชั นีอนามยั เป็ นตวั ชีว้ ดั ภาวะสขุ ภาพชมุ ชนหรือประเทศ มีวิธีการวดั เป็ นอตั รา อตั ราส่วนหรือ สดั สว่ น ดงั นี ้(ไพบลู ย์ โล่ห์สนุ ทร, 2555; McFarlane, & Gilroy, 2015; Messias, McKeown, & Adams, 2014) อตั ราอบุ ตั ิการณ์ของโรค (Incidence rate) หมายถึง จานวนผ้ปู ่ วยรายใหม่เป็ นจานวนครัง้ หรือจานวนคน ในช่วงเวลาที่กาหนดตอ่ หน่วยประชากรที่เส่ียงต่อการเกิดโรค หน่วยประชากร อาจเป็ น 100, 1000, 10,000, 100,000 ก็ได้ อตั ราอบุ ตั กิ ารณ์ของโรค = จานวนผ้ปู ่ วยใหมใ่ นเวลาที่กาหนด x 100 จานวนประชากรกลมุ่ ที่ศกึ ษาทงั้ หมด กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[74] อตั ราความชกุ ของโรค (Prevalence rate) หมายถึง จานวนผ้ปู ่ วยทงั้ หมดในชว่ งเวลาท่ีกาหนด ตอ่ หนว่ ยประชากร หนว่ ยประชากร อาจเป็น 100, 1000, 10,000, 100,000 ก็ได้ อตั ราความชกุ ของโรค = จานวนผ้ปู ่ วยทงั้ หมดในชว่ งเวลาที่กาหนด x 100 จานวนประชากรทงั้ หมดในเวลาเดยี วกนั อตั ราป่ วยระลอกแรก (Primary attack rate) หมายถึง อตั ราร้อยละ หรืออตั ราตอ่ พนั ของ ประชากรที่มีภมู ไิ วรับเกิดป่ วยเป็นโรค อตั ราป่ วยระลอกแรก = จานวนผ้ปู ่ วยระลอกแรก x 100 หรือ 1000 จานวนประชากรท่ีมีภมู ิไวรับ ผ้ปู ่ วยระลอกแรกอาจเป็ นผ้ปู ่ วยรายเดียว (Primary case) หรือผ้ปู ่ วยหลายรายเกิดขนึ ้ พร้อม กบั ผ้ปู ่ วยรายแรก (Co-primary) (ไพบลู ย์ โลส่ นุ ทร, 2555) จานวนผ้มู ีภมู ิไวรับในบางโรคก็หาได้ ในบางโรค ก็หาไมไ่ ด้ ดชั นีนีม้ กั มีคา่ น้อยจงึ ไมน่ ิยมคานวณเป็นอตั รา แตจ่ ะบอกเป็นรูปจานวน อตั ราป่ วยระลอกสอง (Secondary attack rate) หมายถึง อตั ราร้อยละ หรืออตั ราตอ่ พนั ของผู้ สมั ผสั โรคท่ีมีภมู ไิ วรับเกิดป่ วยเป็นโรคขนึ ้ ภายหลงั ไปสมั ผสั ผ้ปู ่ วยกลมุ่ แรก อตั ราป่ วยระลอกสอง = (จานวนผ้ปู ่ วยใหมท่ งั้ หมด – จานวนผ้ปู ่ วยระลอกแรก) x 100 หรือ 1,000 (จานวนประชากรท่ีมีภมู ิไวรับ – จานวนผ้ปู ่ วยระลอกแรก) = จานวนผ้ปู ่ วยระลอกสอง x 100 หรือ 1,000 จานวนผ้สู มั ผสั โรคที่มีภมู ไิ วรับ อตั ราป่ วยจาเพาะ (Specific attack rate) หมายถึง จานวนผ้ปู ่ วยด้วยสาเหตใุ ดสาเหตหุ นง่ึ ใน กลมุ่ ประชากรท่ีกาหนด เชน่ อายุ เพศ ตอ่ ประชากร 1,000 คนในกลมุ่ นนั้ ตอ่ ปี อตั ราป่ วยจาเพาะโรค = จานวนผ้ปู ่ วยด้วยสาเหตจุ าเพาะชนดิ หนงึ่ x 1,000 จานวนประชากรกลางปี กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[75] อตั ราตายอยา่ งหยาบ (Crude death rate) หมายถึง จานวนคนตายด้วยสาเหตตุ า่ งๆ ทงั้ หมด ตอ่ จานวนประชากร 1,000 คนตอ่ ปี อตั ราตายอยา่ งหยาบ = จานวนคนตายทงั้ หมดในช่วงเวลาที่กาหนด x 1,000 จานวนประชากรทงั้ หมดในเวลาเดยี วกนั อตั ราเกิดอย่างหยาบ (Crude birth rate) หมายถึง จานวนเด็กเกิดมีชีพตอ่ จานวนประชากร 1,000 คนตอ่ ปี อตั ราเกิดอย่างหยาบ = จานวนเดก็ เกิดมีชีพในชว่ งเวลาท่ีกาหนด x 1,000 จานวนประชากรทงั้ หมดในเวลาเดยี วกนั อตั ราเจริญพนั ธ์ุทว่ั ไป หมายถึง จานวนเด็กเกิดมีชีพตอ่ หญิงวยั เจริญพันธ์ุ 1,000 คนต่อปี หญิงวยั เจริญพนั ธ์ุ คือ อายุ 15-49 ปี อตั ราเจริญพนั ธ์ุทว่ั ไป = จานวนเดก็ เกิดมีชีพในระหว่างปี x 1,000 จานวนหญิงวยั เจริญพนั ธ์ุ อายุ 15-49 ปี ดชั นีชีพ หมายถึง จานวนเดก็ เกิดมีชีพตอ่ จานวนคนตาย 100 คน หรือ อตั ราสว่ นเกิดตาย ดชั นีชีพ = จานวนเดก็ เกิดมีชีพในระหวา่ งปี x 100 จานวนคนตายทงั้ หมดในปี เดยี วกนั อตั ราส่วนพึ่งพิง หมายถึง อตั ราส่วนระหว่างจานวนประชากรท่ีถือว่าพ่ึงตวั เองไม่ได้ในทาง เศรษฐกิจตอ่ ประชากรในวยั ทางาน ประชากรที่พง่ึ ตวั เองไมไ่ ด้ คือ ประชากรอายุ 0-14 ปี และประชากรอายุ 60 ปี ขนึ ้ ไป สว่ นประชากรวยั ทางาน คือ ผ้ทู ่ีมีอายุ 15-60 ปี หนว่ ยวดั เป็นร้อยละ อตั ราสว่ นพง่ึ พงิ = (ประชากรอายุ 0-14 ปี + ประชากรอายุ 60 ปี ขนึ ้ ไป) x 100 ประชากรอายุ 15-60 ปี การใช้ความรู้ทางสถิติและแนวคดิ วิทยาการระบาดในการทดสอบและวิเคราะห์ข้อมลู ได้แก่ การ วเิ คราะห์ปัจจยั เส่ียงของปัญหาสขุ ภาพ ดงั นี ้(ไพบลู ย์ โลห่ ์สนุ ทร, 2555; McFarlane & Gilroy, 2015) กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[76] อตั ราความเส่ียงสมั พนั ธ์ (Odds ratio) = สดั สว่ นการป่ วย : ไมป่ ่ วยในกลมุ่ ที่สมั ผสั ปัจจยั สดั สว่ นการป่ วย : ไมป่ ่ วยในกลมุ่ ท่ีไมส่ มั ผสั ปัจจยั อตั ราความเสี่ยงสมั พทั ธ์ (Relative risk) = อบุ ตั กิ ารณ์ของโรคในกลมุ่ ที่สมั ผสั ปัจจยั อบุ ตั กิ ารณ์ของโรคในกลมุ่ ที่ไมส่ มั ผสั ปัจจยั 3.3.2 เคร่ืองมือสารวจโครงสร้างทางกายภาพของชุมชน การสารวจโครงสร้างทางกายภาพของชมุ ชน (Windshield survey) เป็นวิธีการประเมินชมุ ชนอย่าง หนึ่งเพ่ือให้ได้ข้อมูลของชมุ ชนเก่ียวกบั บคุ คล สถานที่ แหล่งประโยชน์ของชุมชนซ่ึงอาจจะมีผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชาชนในชมุ ชน การสารวจแบบนีจ้ ดั ทาโดยใช้ยานพาหนะสารวจไปรอบๆ ชมุ ชนที่ต้องการ ศกึ ษา (Shuster, 2014) หรือจะใช้วิธีการเดนิ ด้วยเท้า ร่วมกบั วิธีการสงั เกตจากสิ่งท่ีพบเห็นในชมุ ชนและจด บนั ทึกข้อมลู ท่ีได้ไว้ ผ้รู ่วมสารวจนนั้ อาจมีมากกว่าหน่ึงคนและควรไปพร้อมกนั และนาข้อมลู ที่พบเห็นหรือ ข้อสงสัยมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันก็จะช่วยสร้ างความเข้าใจต่อชุมชนหรือปัญหาสุขภาพของ ประชาชนในชมุ ชนมากขนึ ้ กรณีการสารวจโครงสร้างทางกายภาพของชมุ ชนเป็ นสว่ นหนง่ึ ของการประเมิน ชุมชน การสารวจควรทาสองรอบเพื่อให้ได้ข้อมูลอย่างครบถ้วน เช่น รอบแรกในช่วงเช้าท่ีทุกคนออกไป ทางาน และรอบที่สองในชว่ งหลงั เวลาเลกิ งานหรือหลงั เลกิ เรียน เป็นต้น การสารวจโครงสร้างทางกายภาพของชมุ ชน สิ่งท่ีต้องรวบรวมประกอบด้วย (Shuster, 2014: 420) 1. ขอบเขตของชุมชน (Boundaries): อาณาเขต เขตแดนต่างๆ ขอบเขตของชุมชน ได้แก่ ถนน แมน่ า้ ลาคลอง สถานีรถไฟ ป่ าไม้ 2. บ้านเรือนและท่ีตงั้ (Housing and zoning): ลกั ษณะบ้านเรือน พืน้ ท่ีรอบๆบ้าน ท่ีตงั้ ของบ้าน อายขุ องบ้าน โครงสร้างบ้านและวสั ดทุ ี่ใช้กอ่ สร้าง สภาพบ้าน และสิ่งอานวยความสะดวกภายในบ้าน 3. พืน้ ท่ีว่าง (Open space): พืน้ ที่วา่ งในชมุ ชน มีการใช้ประโยชน์จากพืน้ ท่ีว่างนนั้ หรือไม่ อยา่ งไร พืน้ ท่ีวา่ งนนั้ เป็นของสาธารณะหรือสว่ นบคุ คล ถกู ใช้ประโยชน์โดยใคร 4. สถานท่ีท่ีคนใช้ร่วมกัน (Commons): แหล่งพบปะสังสรรค์ของคนในชุมชนมีที่ใดบ้าง เช่น ร้านค้า อาคารอเนกประสงค์ในชมุ ชน บ้านผ้ใู หญ่บ้าน วดั สนามกีฬา เป็นต้น คนกลมุ่ ไหนท่ีมาพบปะกนั 5. การขนส่ง (Transportation): เส้นทางการขนส่งสาธารณะ การเดินทางภายในและภายนอก ชมุ ชนโดยวิธีการใด เชน่ รถโดยสาร รถประจาทาง รถไฟ ทางเรือ เคร่ืองบนิ รถยนต์สว่ นบคุ คล รถปิ ดอพั รถ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[77] มอเตอร์ไซด์ส่วนบคุ คลหรือรับจ้าง รถจกั รยาน เดินเท้า เป็ นต้น รถโดยสารประจาทางนนั้ มีเส้นทางเดินรถ อยา่ งไร ความถ่ี ความปลอดภยั ตรงตอ่ เวลาหรือไม่ อยา่ งไร 6. ศนู ย์บริการทางสงั คม (Social service centers): ศนู ย์บริการด้านสขุ ภาพและสงั คม อะไรบ้าง และการเข้าถึงบริการ เช่น หน่วยแพทย์ฉกุ เฉิน หน่วยบริการสขุ ภาพในชมุ ชน โรงพยาบาล คลินิกปรึกษา ปัญหาสุขภาพ คลินิกทันตกรรม โอสถศาลา โรงเรียน หอสมุดประชาชน เป็ นต้น มีศูนย์พกั ผ่อนผ่อนใจ สวนสาธารณะ สวนสขุ ภาพ ศนู ย์ออกกาลงั กายชมุ ชน อย่ทู ี่ใดบ้าง 7. ร้านค้า (Strores): แหล่งจบั จ่ายสินค้าตา่ งๆ ในชมุ ชน และประชาชนไปซือ้ สินค้าตา่ งๆ อยา่ งไร เช่น ศนู ย์การค้าภายนอกชมุ ชน ร้านค้าในชมุ ชน ร้านขายของชา ตลาดสด ร้านค้าขายอาหารแชแ่ ข็ง ร้าน ขายยา เป็นต้น 8. คนเดนิ ถนนและสตั ว์เลีย้ ง (Street people and animals): การสารวจชมุ ชนสงั เกตเห็นใครบ้าง ตามท้องถนน กลมุ่ อายใุ ด เพศใด มีสตั ว์เลีย้ งเกะกะตามท้องถนนหรือไม่ เชน่ สนุ ขั แมว ไก่ เป็นต้น 9. การเสื่อมสภาพของพืน้ ที่ (Condition of the area): มีพืน้ ที่ที่มีสภาพดี หรือแหลง่ เสื่อมโทรม หรือไม่ ซงึ่ อาจจะสงั เกตเหน็ บ้านร้างไมม่ ีผ้อู ยอู่ าศยั กองรถยนต์ท่ีผพุ งั ใช้งานไมไ่ ด้ แหลง่ สะสมกองขยะ เป็ น ต้น และบริเวณดงั กลา่ วมีการปิดป้ ายประกาศให้ประชาชนทราบหรือไม่ อยา่ งไร 10. เชือ้ ชาตแิ ละชนกลมุ่ น้อย (Race and ethnicity): เชือ้ ชาติของคนในชมุ ชน เช่น ไทย มสุ ลิม จีน ญวน เป็ นต้น มีชนกล่มุ น้อยหรือกล่มุ ชาติพันธ์ุอาศยั ในบริเวณใด สถานท่ีที่คนมาร่วมพิธีกรรมตา่ งๆ มีท่ี ใดบ้าง 11. ศาสนา (Religion): การนบั ถือศาสนาของคนในชมุ ชน เชน่ พทุ ธ คริสต์ อิสลาม ชนิ โต เป็นต้น 12. ตวั ชีว้ ัดทางสุขภาพ (Health indicators): อตั ราอบุ ตั ิการณ์ อตั ราความชุกของการเกิดโรค ตา่ งๆ ในชมุ ชน เชน่ โรคเรือ้ รัง โรคทางจิตประสาท การใช้สารเสพตดิ อบุ ตั เิ หตุ โรคตดิ ตอ่ เป็นต้น 13. การเมือง (Politics): ลกั ษณะการเมืองการปกครองในชมุ ชนเป็ นอย่างไร ผ้นู าชมุ ชนท่ีมีบทบาท สาคญั มีใครบ้าง มีป้ ายโฆษณา ป้ ายประชาสมั พนั ธ์การเลือกตงั้ ท่ีทาการพรรคการเมืองหรือไม่ เป็นต้น 14. ส่ือสารมวลชน (Media): การรับรู้ข้อมูลข่าวสารของคนในชุมชน เช่น หอกระจายข่าว วิทยุ ชุมชน หนังสือพิมพ์ท้ องถิ่น เป็ นต้น ส่ือประเภทใดที่ประชาชนนิยมมากที่สุด เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนงั สือพิมพ์ เป็นต้น กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[78] 15. ธุรกิจและอตุ สาหกรรม (Business and industry): การทาธุรกิจในชมุ ชน โรงงานอตุ สาหกรรม และประเภทของอตุ สาหกรรม การจ้างงานจากแรงงานคนในชมุ ชนหรือแรงงานนอกพืน้ ท่ี 3.3.3 เคร่ืองมือการสารวจความจาเป็ นพนื้ ฐาน (Basic Minimum Needs) ความจาเป็ นพืน้ ฐาน (จปฐ.) หมายถึง ข้อมลู ที่แสดงถึงสภาพความจาเป็ นด้านต่างๆ ของคนว่า การท่ีคนจะมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดี สามารถดารงชีวติ อยไู่ ด้อยา่ งมีความสขุ นนั้ ควรมีมาตรฐานขนั้ ต่าของเครื่องชี ้ วดั ในแตล่ ะด้านอะไรบ้าง และควรจะมีระดบั ความเป็ นอย่ไู ม่ต่ากว่าระดบั ใดในช่วงระยะเวลาหน่ึง ข้อมลู จปฐ.ช่วยให้ทราบว่า ขณะนีค้ ณุ ภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว รวมถึงหม่บู ้าน/ชมุ ชนอย่ใู นระดบั ใด มี ปัญหาท่ีต้องแก้ไขเร่ืองใดบ้าง เป็นการสง่ เสริมให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการพฒั นาตนเอง ครอบครัว และสงั คม การจดั ทาความจาเป็ นพืน้ ฐานเกิดขึน้ ตงั้ แต่ปี พ.ศ.2525 โดยกาหนดเป็ นเครื่องชีว้ ดั ความจาเป็ น พืน้ ฐานของคนไทยว่า การมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีของคนไทย จะต้องผ่านเกณฑ์ความจาเป็ นพืน้ ฐานทกุ ตวั ชีว้ ดั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 11 พ.ศ. 2555-2559 กาหนดความจาเป็ นพืน้ ฐานไว้ 5 หมวด จานวน 30 ตวั ชีว้ ดั จากรายงานคณุ ภาพชีวิตของคนไทย ในปี 2559 ตามตวั ชีว้ ดั 30 ตวั ชีว้ ดั แยก ตามหมวด สามารถสรุปได้ดงั นี ้(กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย, 2559) หมวดท่ี 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพดแี ละอนามัยดี) มี 7 ตวั ชีว้ ดั ทกุ ตวั ชีว้ ดั มีผลการพฒั นา ที่ดขี นึ ้ ตัวชีว้ ัดท่ีคนไทยผ่านเกณฑ์สูงสุดและเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทัง้ เขตชนบท เขตเมือง และ ภาพรวมประเทศ ได้แก่ เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี เตม็ ได้รับการฉีดวคั ซีนป้ องกนั โรคครบตามตารางสร้างเสริม ภมู ิค้มุ กนั โรค ร้อยละ 99.91 ร้อยละ 99.90 และร้อยละ 99.91 ตามลาดบั ตวั ชีว้ ัดท่ีคนไทยไม่ผ่านเกณฑ์สูงสุดและเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทงั้ เขตชนบท เขตเมือง และ ภาพรวมประเทศ ได้แก่ เดก็ แรกเกิดไมไ่ ด้กินนมแม่อยา่ งเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดตอ่ กนั ร้อยละ 8.01 ร้อยละ 9.50 และร้อยละ 8.21 ตามลาดบั หมวดท่ี 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตวั ชีว้ ดั มี ผลการพฒั นาท่ีดขี นึ ้ 6 ตวั ชีว้ ดั มีการเปลี่ยนแปลงที่ลดลง 2 ตวั ชีว้ ดั คอื นา้ กิน และนา้ ใช้ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[79] ตวั ชีว้ ดั ท่ีคนไทยผา่ นเกณฑ์สงู สดุ เขตชนบท ได้แก่ ครัวเรือนมีความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 99.86 เขตมือง ได้แก่ ครัวเรือนมีนา้ สะอาดสาหรับด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดปี ร้อยละ 99.38 และภาพรวมประเทศ ได้แก่ ครัวเรือนมีความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ 99.76 ตวั ชีว้ ัดที่คนไทยไม่ผ่านเกณฑ์สูงสุดและเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทงั้ เขตชนบท เขตเมือง และ ภาพรวมประเทศ ได้แก่ ครัวเรือนถกู รบกวนจากมลพิษ ร้อยละ 1.00 ร้อยละ 1.81 และร้อยละ 1.16 ตามลาดบั หมวดท่ี 3 ฝักใฝ่ การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาท่ีเหมาะสม) มี 5 ตวั ชีว้ ดั มีผลการพฒั นาท่ีดี ขนึ ้ 4 ตวั ชีว้ ดั มีการเปลี่ยนแปลงท่ีลดลง 1 ตวั ชีว้ ดั คอื เดก็ จบการศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี ท่ีไม่ได้เรียนตอ่ และ ยงั ไมม่ ีงานทา ไมไ่ ด้รับการฝึกอบรมอาชีพ ตวั ชีว้ ัดที่คนไทยผ่านเกณฑ์สูงสุดและเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทัง้ เขตชนบท เขตเมือง และ ภาพรวมประเทศ ได้แก่ เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี ร้อยละ 99.91 ร้อยละ 99.89 และ ร้อยละ 99.91 ตามลาดบั ตวั ชีว้ ัดที่คนไทยไม่ผ่านเกณฑ์สูงสุดและเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทงั้ เขตชนบท เขตเมือง และ ภาพรวมประเทศ ได้แก่ เดก็ จบการศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนตอ่ และยงั ไมม่ ีงานทา ไม่ได้รับการ ฝึกอบรมด้านอาชีพ ร้อยละ 23.21 ร้อยละ21.99 และร้อยละ 23.00 ตามลาดบั หมวดท่ี 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทาและมีรายได้) มี 4 ตวั ชีว้ ดั ทกุ ตวั ชีว้ ดั มีผลการ พฒั นาท่ีดีขนึ ้ ตัวชีว้ ัดที่คนไทยผ่านเกณฑ์สูงสุดและเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทัง้ เขตชนบท เขตเมือง และ ภาพรวมประเทศ ได้แก่ คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไมน่ ้อยกวา่ คนละ 30,000 บาทตอ่ ปี ร้อยละ 99.78 ร้อยละ 99.08 และร้อยละ 99.65 ตามลาดบั ตวั ชีว้ ัดท่ีคนไทยไม่ผ่านเกณฑ์สูงสุดและเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทงั้ เขตชนบท เขตเมือง และ ภาพรวมประเทศ ได้แก่ คนอายุมากกว่า 60 ปี เต็มขนึ ้ ไป ไมม่ ีอาชีพและไม่มีรายได้ ร้อยละ 4.78 ร้อยละ 7.49 และร้อยละ 5.23 ตามลาดบั หมวดท่ี 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดีและมีคุณธรรม) มี 6 ตวั ชีว้ ดั มีผลการ พฒั นาท่ีดีขนึ ้ 3 ตวั ชีว้ ดั มีการเปลี่ยนแปลงที่ลดลง 3 ตวั ชีว้ ดั ได้แก่ สรุ า บหุ ร่ี และการมีสว่ นร่วมทากิจกรรม สาธารณะ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[80] ตัวชีว้ ัดท่ีคนไทยผ่านเกณฑ์สูงสุดและเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทัง้ เขตชนบท เขตเมือง และ ภาพรวมประเทศ ได้แก่ คนสูงอายุได้รับการดแู ลจากคนในครัวเรือน หม่บู ้าน/ชมุ ชน หรือภาครัฐ ร้อยละ 99.99 ร้อยละ 99.89 และร้อยละ 99.97 ตามลาดบั ตวั ชีว้ ัดท่ีคนไทยไม่ผ่านเกณฑ์สูงสุดและเป็ นไปในทิศทางเดียวกันทงั้ เขตชนบท เขตเมือง และ ภาพรวมประเทศ ได้แก่ คนในครัวเรือนไมส่ บู บหุ รี่ ร้อยละ 7.35 ร้อยละ 5.27 และร้อยละ 7.01 ตามลาดบั สรุปตวั ชีว้ ดั ท่ีไม่ผา่ นเกณฑ์ทงั้ 5 หมวด เป็ นหน้าท่ีของประชาชนและทกุ ภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องต้อง ชว่ ยกนั แก้ไขปัญหา รวมทงั้ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ซ่ึงเป็ นหน่วยงานท่ีมีความสาคญั อย่างมากตอ่ การ พฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของประชาชนไทยให้ดขี นึ ้ แบบสอบถาม จปฐ. ในแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 มี การปรับปรุงเคร่ืองชีว้ ดั และกาหนดความจาเป็ นพืน้ ฐานไว้ 5 หมวด จานวน 31 ตวั ชีว้ ดั โดยแตล่ ะหมวดมี ดงั นี ้(กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย, 2560) หมวดท่ี 1 สุขภาพ มี 7 ตวั ชีว้ ดั 1. เดก็ แรกเกิดมีนา้ หนกั 2,500 กรัม ขนึ ้ ไป 2. เดก็ แรกเกิดได้กินนมแมอ่ ยา่ งเดียวอยา่ งน้อย 6 เดือนแรกตดิ ตอ่ กนั 3. เดก็ แรกเกิดถงึ 12 ปี ได้รับวคั ซีนป้ องกนั โรคครบตามตารางสร้างเสริมภมู คิ ้มุ กนั โรค 4. ครัวเรือนกินอาหารถกู สขุ ลกั ษณะ ปลอดภยั และได้มาตรฐาน 5. ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบาบดั บรรเทาอาการเจ็บป่ วยเบอื ้ งต้นอยา่ งเหมาะสม 6. คนอายุ 35 ปี ขนึ ้ ไป ได้รับการตรวจสขุ ภาพประจาปี 7. คนอายุ 6 ปี ขนึ ้ ไป ออกกาลงั กายอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 3 วนั ๆ ละ 30 นาที หมวดท่ี 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตวั ชีว้ ดั 8. ครัวเรือนมีความมน่ั คงในท่ีอยอู่ าศยั และบ้านมีสภาพคงทนถาวร 9. ครัวเรือนมีนา้ สะอาดสาหรับด่ืมและบริโภคเพียงพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 5 ลติ ร 10. ครัวเรือนมีนา้ ใช้เพียงพอตลอดปี อยา่ งน้อยคนละ 45 ลิตรตอ่ ปี (ประมาณ 2 ป๊ี บ) 11. ครัวเรือนมีการจดั บ้านเรือนเป็นระเบยี บเรียบร้อย สะอาด และถกู สขุ ลกั ษณะ 12. ครัวเรือนไมถ่ กู รบกวนจากมลพิษ 13. ครัวเรือนมีการป้ องกนั อบุ ตั ภิ ยั และภยั ธรรมชาตอิ ยา่ งถกู วิธี กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[81] 14. ครัวเรือนมีความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สนิ หมวดท่ี 3 การศกึ ษา มี 5 ตวั ชีว้ ดั 15. เดก็ อายุ 3-5 ปี ได้รับบริการเลีย้ งดเู ตรียมความพร้อมกอ่ นวยั เรียน 16. เดก็ อายุ 6-14 ปี ได้รับการศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี 17. เดก็ จบชนั้ ม.3 ได้เรียนตอ่ ชนั้ ม.4 หรือเทียบเทา่ 18. คนในครัวเรือนที่จบการศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี ท่ีไมไ่ ด้เรียนตอ่ และยงั ไม่มีงานทา ได้รับการ ฝึ กอบรมด้านอาชีพ 19. คนอายุ 15-60 ปี อา่ น เขียน ภาษาไทยและคดิ เลขอยา่ งง่ายได้ หมวดท่ี 4 การมีงานทาและรายได้ มี 4 ตวั ชีว้ ดั 20. คนอายุ 15-59 ปี มีอาชีพและรายได้ 21. คนอายุ 60 ปี ขนึ ้ ไป มีอาชีพและรายได้ 22. รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือนตอ่ ปี 23. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน หมวดท่ี 5 ค่านิยม มี 8 ตวั ชีว้ ดั 24. คนในครัวเรือนไมด่ ม่ื สรุ า 25. คนในครัวเรือนไมส่ บู บหุ รี่ 26. คนอายุ 6 ปี ขนึ ้ ไป ปฏิบตั กิ ิจกรรมทางศาสนาอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 1 ครัง้ 27. ผ้สู งู อายุ ได้รับการดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน 28. ผ้พู ิการ ได้รับการดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน 29. ผ้ปู ่ วยโรคเรือ้ รัง ได้รับการดแู ลจากครอบครัว ชมุ ชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน 30. ครัวเรือนมีสว่ นร่วมทากิจกรรมสาธารณะเพ่ือประโยชน์ของชมุ ชนหรือท้องถิ่น 31. ครอบครัวมีความอบอนุ่ ตัวอย่างการวจิ ัยเก่ียวกับความจาเป็ นพนื้ ฐานและสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน พรรณี ปานเทวญั (2556) ศกึ ษา ความจาเป็ นขนั้ พืน้ ฐานและสภาวะสขุ ภาพอนามยั ของประชาชน ในเขตพืน้ ที่ตาบลหนองสาหร่าย อาเภอปากช่อง จังหวดั นครราชสีมา รูปแบบการวิจัยคือ การวิจัยเชิง พรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สารวจความจาเป็ นพืน้ ฐานของประชาชน ในเขตพืน้ ที่ตาบลหนอง กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[82] สาหร่าย และ (2) สารวจสภาวะสขุ ภาพอนามยั ของประชาชน ในเขตพืน้ ที่ตาบลหนองสาหร่าย อาเภอปาก ช่อง จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตวั อย่างคือ ครัวเรือนหรือครอบครัวที่อยู่ในหมู่บ้านชุมชนเอือ้ อาทร และ ชมุ ชนบ้านหลกั เขต ตาบลหนองสาหร่าย อาเภอปากช่อง จงั หวดั นครราชสีมา จานวน 194 ครัวเรือน ได้มา จากการกาหนดขนาดกลมุ่ ตวั อย่างโดยเฉพาะเจาะจง 2 หม่บู ้านรวมจานวน 372 ครัวเรือน คานวณโดยใช้ สตู รของ Yamane หลงั จากนนั้ ใช้วิธีการสมุ่ แบง่ ตามสดั ส่วนของจานวนหม่บู ้าน เครื่องมือการศึกษาวิจยั คือ แบบสอบถามความจาเป็ นขนั้ พืน้ ฐาน ปี 2555-2559 และแบบประเมินสภาวะสุขภาพอนามยั ของ ประชาชน ซ่ึงผ่านการตรวจสอบความเท่ียงตรงและความเชื่อมนั่ ของแบบสอบถาม โดยได้คา่ สมั ประสิทธ์ิ แอลฟ่ าของครอนบาคของแบบสอบถามทงั้ ฉบบั เท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมลู ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปหา คา่ ความถ่ีและร้อยละ ผลการวิจยั พบวา่ (1) ความจาเป็ นพืน้ ฐานของประชาชนสว่ นใหญ่ยงั ไม่ผา่ นเกณฑ์ทกุ หมวด โดย หมวดท่ี 1 สขุ ภาพดี พบวา่ ตวั ชีว้ ดั ที่มีจานวนครัวเรือนผา่ นเกณฑ์น้อยท่ีสดุ ได้แก่ คนอายุ 6 ปี ขึน้ ไป ออก กาลงั กายอยา่ งน้อยสปั ดาห์ละ 3 วนั วนั ละ 30 นาที ปฏิบตั ิได้ร้อยละ 39.2 คนในครัวเรือนปฏิบตั เิ ก่ียวกบั การใช้ยาครบเพ่ือบาบดั บรรเทาอาการเจ็บป่ วยเบือ้ งต้นอยา่ งเหมาะสม ร้อยละ 60.8 ทกุ คนในครัวเรือนกิน อาหารถกู สขุ ลกั ษณะปลอดภยั และได้มาตรฐาน ผ่านเกณฑ์การปฏิบตั คิ รบทงั้ 4 เรื่อง ร้อยละ 79.5 หมวด ที่ 2 มีบ้านอาศยั ครัวเรือนไมถ่ กู รบกวนจากมลพิษผา่ นเกณฑ์เพียงร้อยละ 72.9 หมวดท่ี 3 ฝักใฝ่ การศกึ ษา เด็กอายุ 6-14 ปี ได้รับการศกึ ษาภาคบงั คบั 9 ปี ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 39.1 หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า คน อายุ 60 ปี เตม็ ขนึ ้ ไป มีอาชีพและมีรายได้ ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 50 หมวดท่ี 5 ปลกู ฝังคา่ นิยม คนในครอบครัว ไมส่ บู บหุ ร่ีและมีสว่ นร่วมทากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชมุ ชน/ท้องถิ่น ปฏิบตั ิได้เพียงร้อยละ 63.9 และ 72.3 ตามลาดบั (2) สภาวะสุขภาพอนามยั ของประชาชนอายุ 15 ปี ขนึ ้ ไป พบว่า ร้อยละ 43.9 มี สขุ ภาพแขง็ แรงดี ปัญหาสขุ ภาพ พบวา่ อาการปวดข้อ ปวดเขา่ ปวดหลงั พบมากที่สดุ ร้อยละ 33.1 เป็ นโรค ความดนั โลหิตสงู ร้อยละ 17.5 โรคกระเพาะอาหาร ร้อยละ 16.9 ผ้สู งู อายมุ ีการเจ็บป่ วยด้วยโรคความดนั โลหิตสงู เป็ นสว่ นใหญ่ ร้อยละ 74.5 มีประวตั หิ กล้ม ร้อยละ 22.2 ด้านการจดั สภาพแวดล้อม พบว่า สภาพ ท่ีอยอู่ าศยั ยงั ไมถ่ กู หลกั ในการป้ องกนั อบุ ตั เิ หตใุ นผ้สู งู อายุ ร้อยละ 85 สรุป จากตวั อย่างงานวิจยั จะเห็นได้ว่า พยาบาลอนามยั ชุมชนสามารถนาแบบสอบถามความ จาเป็นพืน้ ฐานไปประยกุ ต์ใช้เพื่อพฒั นาคณุ ภาพชีวิตตามตวั ชีว้ ดั พืน้ ฐาน กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[83] 3.3.4 เคร่ืองมือการประเมินชุมชนในฐานะผู้ใช้บริการ การนาแนวคดิ ชมุ ชนในฐานะผ้ใู ช้บริการ (Community as a client) มาเป็ นกรอบในการประเมิน ชมุ ชนนนั้ มีองค์ประกอบของชมุ ชนท่ีต้องศกึ ษาให้ครอบคลมุ 3 ด้าน (Allender & Spradley, 2005) ดงั นี ้ 1) สถานท่ี (Place) การศกึ ษาองค์ประกอบของสถานท่ี ได้แก่ ขอบเขตของชุมชน ข้อมลู ที่ตงั้ ของชมุ ชน ลกั ษณะทางภมู ิศาสตร์ สภาพภมู ิอากาศ การคมนาคม การกระจายบ้านเรือน สิ่งแวดล้อม ทางกายภาพท่ีมนษุ ย์สร้างซ่ึงมีผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น บ้านเรือน เขื่อน การทาสวนทาไร่ การเกษตร กรรม โรงงานอตุ สาหกรรม ถนนทางหลวง เป็นต้น 2) ประชากรในชมุ ชน (People or person) ประชากรในชมุ ชน ได้แก่ จานวนและความ หนาแน่นของประชากร โครงสร้างประชากรในชมุ ชน เช่น อายุ เชือ้ ชาติ ระดบั การศกึ ษา อาชีพ เศรษฐกิจ การกระจายตวั ของกลุ่มชาติพันธ์ุ เป็ นต้น อตั ราการเกิด อัตราการตาย อัตราการป่ วยของประชากรใน ชมุ ชน อตั ราการพง่ึ พงิ กลมุ่ คนท่ีเป็นทางการ เชน่ โรงเรียน บริษัท โรงงานอตุ สาหกรรม องค์กรภาครัฐ และ กลมุ่ คนไมเ่ ป็นทางการ เชน่ ชมรมตา่ งๆ เครือขา่ ยเพ่ือน เป็นต้น 3) ระบบสงั คมของชมุ ชน (Social system) ระบบสงั คมของชุมชน ประกอบด้วยระบบ ยอ่ ยๆ ซง่ึ มีความสมั พนั ธ์และเชื่อมโยงกนั และมีอทิ ธิพลตอ่ สขุ ภาพของคนในชมุ ชน ระบบยอ่ ยๆ ได้แก่ (1) ระบบสขุ ภาพ (Health system) ได้แก่ การจดั บริการสขุ ภาพในชมุ ชนทงั้ ด้านการ สง่ เสริมสขุ ภาพ การป้ องกนั โรค การรักษาพยาบาลโรคเบือ้ งต้น และการฟื น้ ฟูสภาพ จานวนสถานบริการ สขุ ภาพ จานวนบคุ ลากร คณุ ภาพการให้บริการ ความพอเพียง การเข้าถึงบริการทางสุขภาพ การแพทย์ พืน้ บ้าน การแพทย์ไทย และการรับสง่ ตอ่ ผ้ปู ่ วย (2) ระบบครอบครัว ได้แก่ ลกั ษณะของครอบครัว ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว จานวนสมาชิกในครอบครัว บทบาทของหวั หน้าครอบครัว ผ้ใู ห้การดแู ล (3) ระบบเศรษฐกิจ ได้แก่ เศรษฐกิจในชมุ ชน รายได้ของชมุ ชน รายได้ของประชาชนใน ชมุ ชน การจ้างงาน การตกงาน การก้ยู ืมเงินนอกระบบ การมีที่ดินทากิน คา่ ใช้จ่าย การรวมกล่มุ ทางด้าน เศรษฐกิจ กลมุ่ ออมทรัพย์ กองทนุ ตา่ งๆ ในชมุ ชน (4) ระบบการศกึ ษา ได้แก่ ระดบั การศึกษาของคนในชมุ ชน จานวนผ้รู ู้หนงั สือ สถาน การศกึ ษาทงั้ ภาครัฐและเอกชน การจดั การศกึ ษาที่เอือ้ ตอ่ ผ้เู รียน (5) ระบบศาสนา ได้แก่ ศาสนาตา่ งๆ ที่คนนบั ถือ เชน่ ศาสนาพทุ ธ คริสต์ อสิ ลาม อ่ืนๆ กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[84] (6) ระบบสวสั ดกิ ารในชมุ ชน ได้แก่ การจดั สวสั ดกิ ารต่างๆ ในชมุ ชน ศนู ย์เดก็ เล็กใน ชมุ ชน สถานรับเลีย้ งเดก็ การดแู ลผ้สู งู อายุ ผ้พู กิ ารในชมุ ชน (7) ระบบการเมือง ได้แก่ การเมืองการปกครองในชมุ ชน ความเป็ นประชาธิปไตย ความสนใจของประชาชนตอ่ การเมืองท้องถ่ินและประเทศ ผ้นู าชมุ ชน การมีสว่ นร่วมของคนในชมุ ชน (8) ระบบสนั ทนาการ ได้แก่ กิจกรรมสนั ทนาการตา่ งๆ สถานท่ีพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ (9) กฎหมาย ได้แก่ กฎระเบยี บตา่ งๆ ในชมุ ชน ข้อตกลงร่วมกนั ข้อบงั คบั ใช้ในชมุ ชน (10) ระบบการส่ือสาร ได้แก่ การติดต่อส่ือสารของคนในชุมชนและนอกชมุ ชน วิทยุ ส่ือสาร โทรศพั ท์บ้าน โทรศพั ท์เคล่ือนท่ี สญั ญาณอนิ เตอร์เน็ต การกระจายขา่ วสาร 3.3.5 เคร่ืองมือศึกษาชุมชนโดยวิธีทางมานุษยวิทยา การศึกษาชุมชนด้วยวิธีทางมานุษยวิทยานัน้ เป็ นการศึกษาและเรียนรู้วิถีชีวิตของคนในพืน้ ที่ ร่วมกบั ชุมชน ทาความเข้าใจมิติทางสงั คม วฒั นธรรมที่มีผลตอ่ สขุ ภาพและการดแู ลสขุ ภาพ เข้าใจความ เป็ นมนษุ ย์ เม่ือพยาบาลอนามยั ชุมชน หรือบคุ ลากรทีมสุขภาพได้ทาความเข้าใจชมุ ชนและเรียนรู้วิถีชีวิต และวัฒนธรรมของกลุ่มคน ครอบครัว ชุมชนและองค์กรในชุมชนก็จะเกิดความค้นุ เคยกบั ประชาชนใน ชมุ ชนและสร้างการทางานที่เข้าถึง เน้นการบริการเชิงรุก และตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของ พืน้ ท่ีได้อย่างทวั่ ถึง เคร่ืองมือศกึ ษาชมุ ชนโดยวิธีมานุษยวิทยา มี 7 อย่าง ดงั นี ้(โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ คณิศร เตง็ รัง ราตรี ปิ่นแก้ว และวรัญา เพช็ รคง, 2555) 1) แผนที่เดนิ ดนิ คือ แผนท่ีที่จดั ทาขนึ ้ โดยการเดนิ สารวจด้วยตาและบนั ทึกส่ิงท่ีพบเห็นลงบน กระดาษ ในการเดินสารวจชมุ ชนนนั้ จะช่วยให้มองเห็นภาพรวมของชมุ ชน ค้นหากลุ่มเป้ าหมายท่ีต้องการ หากเกิดข้อสงสยั ก็สามารถซกั ถามผ้รู ู้ในชมุ ชนได้ แผนท่ีเดินดิน มีประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั งิ านอนามยั ชมุ ชน คือ ช่วยให้ พยาบาลอนามยั ชมุ ชน เข้าใจถึงความหมาย ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพืน้ ที่ทางกายภาพและหน้าที่ทางสงั คมของคนในชมุ ชน เข้าใจ ปรากฏการณ์ตา่ งๆ ท่ีเกิดขนึ ้ ในชมุ ชน เป็นการสร้างความค้นุ เคยกบั ประชาชนในชมุ ชน และเป็ นแนวทางใน การปฏิบตั งิ านท่ีสอดคล้องกบั สภาพความเป็นอยขู่ องประชาชน ปัจจบุ นั มีเทคโนโลยีที่เข้ามาชว่ ยในการทาแผนท่ีเดนิ ดนิ ได้แก่ โปรแกรมแผนที่ดาวเทียม เชน่ กเู กิล้ แม็ป (Google map) จีไอเอส (GIS: Geographic information system) จีพีเอส (GPS: Global กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[85] positioning system) เป็ นต้น หากพยาบาลอนามยั ชมุ ชนเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีและนาไปประยกุ ต์ใช้ใน การทางานชมุ ชนก็จะชว่ ยให้ทางานได้สะดวกรวดเร็วขนึ ้ 2) ผงั เครือญาติ คือ วิธีการศกึ ษาและรวบรวมข้อมลู ของครอบครัวท่ีน่าสนใจโดยการวาดผงั เครือญาติอย่างน้อย 3 รุ่นวยั ที่ประกอบด้วย ข้อมลู ด้านพนั ธุกรรม ข้อมลู ความเส่ียงตอ่ การเจ็บป่ วย และ ความสมั พนั ธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวรวมถึงอายุ การศึกษา ศาสนา เชือ้ ชาติ ความเชื่อ ฐานะทาง สงั คม (โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ, 2555; สายพิณ หตั ถีรัตน์, 2545) และมีสญั ลกั ษณ์ท่ีแสดงถึง เพศ ความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคล ภาวะสขุ ภาพของสมาชิกแตล่ ะคน ขอบเขตของสมาชิกในครอบครัวที่อยู่ ปัจจบุ นั และระบปุ ี พ.ศ. ท่ีเกิดเหตกุ ารณ์สาคญั (McGoldrick, Shellenberger, & Petry, 2008; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ, 2555) วตั ถปุ ระสงค์ของการเขียนผงั เครือญาติ เพ่ือทาความเข้าใจแบบแผน ครอบครัว มองเหน็ ภาพโครงสร้างครอบครัว และแนวโน้มการเกิดความเจบ็ ป่ วยของสมาชิกในครอบครัว ใน ภาษาไทยมีคาเรียกหลายคา เช่น ผงั เครือญาติ ผงั ครอบครัว แผนที่ครอบครัว แผนภูมิครอบครัว สาหรับ ภาษาองั กฤษ เชน่ Genogram, Family tree, Family pedigree, Genealogic chart เป็นต้น ประโยชน์ของการทาผังเครือญาติ คือ ช่วยให้ รู้จักและเข้ าใจสมาชิกแต่ละคนและ ความสมั พนั ธ์ภายในครอบครัว ช่วยให้สามารถค้นหาบคุ คลที่มีบทบาทสาคญั เมื่อสมาชิกในครอบครัวเกิด การเจ็บป่ วย แหลง่ ประโยชน์ในครอบครัว สามารถค้นหากลมุ่ เสี่ยง โรคท่ีเก่ียวข้องทางพนั ธุกรรม เช่น โรค ความดนั โลหิตสงู โรคเบาหวาน โรคธาลสั ซีเมีย โรคลมชกั โรคมะเร็ง เป็ นต้น หรือคาดการณ์ความเส่ียงของ ครอบครัวท่ีดแู ลได้ เชน่ การพยาบาลครอบครัวผ้ปู ่ วยโรคเรือ้ รัง เป็นต้น กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[86] ก( ) () ก( ) พ 80 พ ก 10 1 23 H5T5 HT, 5D3.M HT,5D2M 1 2 31. ก 31 ก 30พ 10 สัญลักษณ์ท่ีใช้ในผังเครือญาติ ภาพ 3 ผงั เครือญาติ = สญั ลกั ษณ์แทนผ้หู ญิง = สญั ลกั ษณ์แทนผ้ชู าย = สมั ภาษณ์ผ้ใู ห้สมั ภาษณ์ (ระบายสีทบึ ) = สญั ลกั ษณ์การตาย = สญั ลกั ษณ์การแตง่ งาน = สญั ลกั ษณ์คนป่ วย = สญั ลกั ษณ์การหยา่ ร้าง = สญั ลกั ษณ์ขดั แย้งหรือมีปัญหากนั กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[87] 12 = กก ( ) 1 2 3 = กก ( ) ก( =ก ก ) ภาพ 4 สญั ลกั ษณ์ท่ีใช้ในผงั เครือญาติ ท่มี า: โกมาตร จงึ เสถียรทรัพย์ และคณะ, 2555 3) โครงสร้างองค์กรชุมชน คือ การศกึ ษาความสมั พนั ธ์โครงสร้างด้านสงั คม เศรษฐกิจ และ การเมืองของชมุ ชน (โกมาตร จงึ เสถียรทรัพย์ และคณะ, 2555) การศกึ ษาโครงสร้างองค์กรชมุ ชนจะชว่ ยให้ มองเห็นความหลากหลายขององค์กรชุมชนทงั้ แบบที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ ทราบถึงบทบาท อานาจ หน้าที่ ความสมั พนั ธ์ท่ีมีและความเชื่อมโยงกันขององค์กร สถาบนั และบคุ คลตา่ งๆ และสามารถ นามาวางแผนการทางานให้มีประสทิ ธิภาพมากขนึ ้ 4) ระบบสขุ ภาพชมุ ชน คือ ข้อมลู ที่เกี่ยวข้องกบั ระบบสขุ ภาพท่ีมีอยู่และการใช้บริการด้าน สุขภาพ การเก็บรวบรวมข้อมูลระบบสุขภาพชุมชน เช่น ประชาชนในชุมชนมีวิธีการดูแลรักษาสุขภาพ อยา่ งไร คาตอบมีได้หลากหลาย เช่น ปล่อยให้หายเอง เข้ารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลของรัฐ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบล ศนู ย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลเอกชน คลินิก รักษากับหมอพืน้ บ้าน การซือ้ ยา รับประทาน การใช้ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น สมนุ ไพร นวดจบั เส้น ยาแผนโบราณ หมอพระ หมอนา้ มนต์ เป็นต้น กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[88] 5) ปฏิทินชมุ ชน คือ การศกึ ษารวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั วิถีชีวิตของประชาชนในชมุ ชนในรอบปี ชมุ ชนมีกิจกรรมอะไรบ้างและในช่วงเดือนไหน และกิจกรรมนนั้ เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวนั ของประชาชน อย่างไร การศึกษาปฏิทินชุมชน ควรรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ เช่น อาชีพหลกั อาชีพเสริม เป็ นต้น ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมทางด้านสังคมและวัฒนธรรม เช่น พิธีกรรม งานบุญ งาน ประเพณีท้องถ่ินตา่ งๆ ตามความเช่ือ ประโยชน์ของการศกึ ษาปฏิทินชุมชน จะช่วยให้ บคุ ลากรทางสุขภาพได้มองเห็นได้ทาความ รู้จักกับวิถีชุมชนของคนในพืน้ ที่มากขึน้ และช่วยให้บุคลากรทางสุขภาพสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมกับ กิจกรรมชุมชนได้อย่างเหมาะสม ทาให้ประชาชนเกิดความคุ้นเคยและเกิดการยอมรับ และจะเป็ น ประโยชน์ในการวางแผนการทางานสขุ ภาพเชงิ รุกให้สอดคล้องกบั สภาพแวดล้อมในแตล่ ะท้องถ่ิน 6) ประวตั ศิ าสตร์ชมุ ชน คือ การศกึ ษาเรื่องราวความเป็ นมาของชมุ ชนในด้านตา่ งๆ ทงั้ ทาง เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม และการเมือง การศึกษาประวตั ิศาสตร์ชุมชนอย่างลึกซึง้ มีความสาคญั มาก เพราะจะชว่ ยทาให้บคุ ลากรทางสขุ ภาพเข้าใจความเป็ นมาของเหตกุ ารณ์หรือปรากฏการณ์ตา่ งๆ ที่เกิดขนึ ้ ในชุมชน ได้เข้าใจมิติของเวลาของชมุ ชน ความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึน้ ในชุมชนและผลกระทบจากอดีตสู่ ปัจจบุ นั 7) ประวตั ิชีวิต คือ การศกึ ษาเรื่องราวชีวิตของคนในชมุ ชน กลมุ่ เป้ าหมายที่ควรศกึ ษา ได้แก่ คนยากจนและคนทุกข์ยาก ผู้ป่ วยและพิการ ผู้สูงอายุ และกลุ่มผู้นา ประวตั ิชีวิตเป็ นเคร่ืองมือท่ีทาให้ บุคลากรทางสุขภาพมองเห็นรายละเอียดชีวิตของคน เข้าใจคนมากขึน้ ดังนัน้ เมื่อนาไปใช้ในการ ปฏิบตั ิงานในชุมชนจึงช่วยให้บุคลากรทางสขุ ภาพสามารถให้การพยาบาลแก่ผู้ใช้บริการด้วยหัวใจของ ความเป็นมนษุ ย์ ตารางท่ี 1 แสดงตวั อยา่ งเคร่ืองมือที่ใช้ในการประเมินชมุ ชนและตวั อยา่ งวิธีการศกึ ษาข้อมลู เคร่ืองมอื ตวั อย่างวิธกี ารศึกษาข้อมลู 1) แบบรวดเร็วเร่งรัด การสงั เกต การสมั ภาษณ์เจาะลกึ การเดนิ สารวจ การศกึ ษาเอกสาร การประเมินชมุ ชนเชงิ ชาติพนั ธ์วุ รรณาแบบ เร่งดว่ น (Rapid ethnographic community assessment process) การประเมินชุมชนแบบเร่งด่วน (Rapid rural การสมั ภาษณ์ การสารวจ การสนทนากลมุ่ การประชมุ ระดมสมอง appraisal) กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[89] เคร่ืองมือ ตัวอย่างวธิ กี ารศกึ ษาข้อมลู เครื่องมอื ทางสงั คมวฒั นธรรม การสมั ภาษณ์ การสารวจ การสงั เกต การประเมินชมุ ชนแบบมีสว่ นร่วม การประชมุ ระดมสมอง การสารวจ การสมั ภาษณ์ กระบวนการสมชั ชาสขุ ภาพ การสารวจ การประชมุ ระดมสมอง กระบวนการจดั ทาแผนแมบ่ ทชมุ ชน การสารวจ การประชมุ ระดมสมอง 2) แบบประเมนิ ไป-ทางานไป-พัฒนาไป การวจิ ยั จากงานประจา (Routine to research) การศกึ ษาเอกสาร ข้อมลู มือสอง การสารวจ การสมั ภาษณ์ เป็ นไปตาม ระเบียบวธิ ีวจิ ยั ของการออกแบบ (เชิงปริมาณ หรือเชิงคณุ ภาพ หรือทงั้ สองวธิ ี) การวจิ ยั และพฒั นาการบริการสขุ ภาพในชมุ ชน การศกึ ษาเอกสาร ข้อมลู มือสอง การสารวจ การสมั ภาษณ์ เป็ นไปตาม ระเบียบวธิ ีวิจยั ของการออกแบบ (เชิงปริมาณ หรือเชิงคณุ ภาพ หรือทงั้ สองวิธี) การประชุมระดมสมองหาแนวทางการบริการท่ีเป็ นข้อตกลง ร่วมขององค์กรภาคีหรือเป็ นข้อเสนอให้หน่วยบริการสุขภาพรับไป ดาเนินการ การประเมนิ ผลการดาเนนิ การกิจกรรม โครงการ การสารวจ การศึกษาข้อมูลมือสอง สถิติ การสัมภาษณ์ ผู้ได้รับ บริการสขุ ภาพตา่ งๆ ผลกระทบและผ้เู ก่ียวข้อง การสนทนากลมุ่ 3) แบบเชิงลกึ การวจิ ยั เชิงคณุ ภาพและการวิจยั เชิงปริมาณ เป็ นไปตามการออกแบบการวิจัย เช่น เชิงคุณภาพ มกั ประกอบด้วย การสงั เกต การสมั ภาษณ์เจาะลึก การสนทนากล่มุ ส่วนเชิงปริมาณ อาจเป็ นการสารวจ โดยใช้ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม หรือการ สงั เคราะห์ข้อมลู มอื สอง สถิติ การศกึ ษาทางระบาดวทิ ยา เป็ นไปตามการออกแบบการศกึ ษาทางระบาดวิทยา การประเมินผลกระทบด้ านสุขภาพ (Health เป็ นไปตามการออกแบบการวิจยั และประเมินผล เช่น การสารวจ การ impact assessment) คดั กรองปัญหาสขุ ภาพทอ่ี าจเกิดขนึ ้ การศกึ ษาข้อมลู มือสอง สถิติการ เจ็บป่ วยและการรักษา การสมั ภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือได้รับ ผลกระทบ และมักมีการประชุมระดมสมองในประเด็นต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกบั ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียหรือได้รับผลกระทบ เพื่อหาทางออก ร่วมกนั ให้ลงตวั เป็ นต้น ท่มี า: ขนษิ ฐา นนั ทบตุ ร, 2551: 165-166 กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคดิ และการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
[90] 3.4 ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) เป็ นกระบวนการทางานท่ี ผสมผสานระหว่างระบบกราฟิ กแผนที่ (Geography) (เช่น ตาแหน่งที่ตงั้ ) ระบบฐานข้อมลู (เช่น ข้อมูล สขุ ภาพ หรือสิ่งแวดล้อม) และแผนท่ีคอมพิวเตอร์ (Computer mapping) โดยมีการเชื่อมโยงระบบข้อมลู กบั กราฟิ กแผนที่ สภาพทางภมู ิศาสตร์ และวิเคราะห์ออกมาเป็ นข้อมูลเชิงพืน้ ท่ี (Spatial data) (Croner, Sperling, & Broome, 1996) นอกจากนีร้ ะบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ยงั เป็ นเคร่ืองมือท่ีช่วยรวบรวมข้อมลู จัดเก็บ สืบค้น วิเคราะห์ แสดงผลข้อมูลผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลท่ีจัดเก็บในระบบสารสนเทศ ภมู ศิ าสตร์มีลกั ษณะเป็นข้อมลู เชิงพืน้ ท่ีท่ีแสดงในรูปของภาพ (Graphic) แผนที่ (Map) ท่ีสามารถเช่ือมโยง กบั ข้อมลู เชิงบรรยายหรือฐานข้อมลู (Croner, Sperling, & Broome, 1996) ซึง่ ผ้ใู ช้งานสามารถท่ีจะแสดง ข้อมลู ทงั้ ภาพและแผนท่ีได้เวลาเดยี วกนั แผนที่ในระบบสารสนเทศจะมีความสมั พนั ธ์กบั ตาแหนง่ พืน้ ท่ีทาง ภมู ิศาสตร์ด้วย เช่น คา่ พิกดั ท่ีแน่นอน ข้อมลู ในระบบสารสนเทศทงั้ ข้อมลู เชิงพืน้ ท่ีและข้อมูลเชิงบรรยาย สามารถอ้างอิงถึงตาแหน่งที่มีอยู่จริงบนพืน้ โลกโดยอาศยั ระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Geocoding) ได้แก่ ข้อมลู อาคาร ถนน บ้านเลขท่ี ซอย เขต จงั หวดั รหสั ไปรษณีย์ เป็นต้น ระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ (GIS) สามารถชว่ ยแสดงและตรวจสอบการกระจายของประชากรกล่มุ เส่ียงและปัจจยั เสี่ยงตอ่ การเกิดโรคหรือปัญหาสขุ ภาพผา่ นระบบกราฟิ กแผนท่ี เช่น การประเมินปัจจยั เส่ียง ด้านสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบตอ่ สขุ ภาพประชาชน การเฝ้ าระวงั โรคระบาด ประเมินสถานการณ์นา้ ท่วม โดยกาหนดตาแหน่งจริง เช่น ละติจดู ลองติจดู หลงั จากนนั้ ระบบก็จะวิเคราะห์และนาเสนอข้อมลู ออกมา ในรูปภาพหรือแผนท่ีจากสถานที่จริง ผู้ใช้ งานสามารถมองเห็นข้อมูลตามสภาพความเป็ นจริงทาง ภมู ิศาสตร์ซึง่ สื่อสารความเข้าใจได้ง่ายกวา่ การนาเสนอในรูปแบบข้อมลู ตาราง เพ่ือสนบั สนนุ การตดั สินใจ ในการกาหนดนโยบาย แผนงาน การป้ องกนั และแก้ไขปัญหาอยา่ งเหมาะสมกบั สภาพแวดล้อมท่ีแท้จริง จากการทบทวนงานวิจยั พบว่า การนาเทคโนโลยี GIS มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบต่างๆ เพ่ือนาทรัพยากรท่ีมีจากัดมาใช้อย่างค้มุ ค่าช่วยเอือ้ ประโยชน์ต่อการทางานให้กับบุคลากรทีมสุขภาพท่ี ปฏิบตั งิ านในพืน้ ท่ีในการปรับปรุงสขุ ภาพของประชากร และในสถาบนั การศกึ ษาทางการพยาบาลมีการนา GIS application มาบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนทางการพยาบาลชุมชนและการฝึ กปฏิบตั ิการ พยาบาลอนามยั ชมุ ชน เพื่อให้นกั ศกึ ษาได้ประเมินสถานการณ์ปัญหาในพืน้ ท่ีเสี่ยง เชน่ การประเมินพืน้ ท่ี เสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด ผ่านการใช้งาน GIS application เพ่ือกากบั (Monitoring) เป็ นต้น ซง่ึ การนา กระบวนการพยาบาลอนามยั ชมุ ชน: แนวคิดและการปฏิบตั กิ ารพยาบาล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217