Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่ม 14 ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญความเครียดกับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

กลุ่ม 14 ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญความเครียดกับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Published by Reading Room, 2022-01-13 07:43:35

Description: กลุ่ม 14 ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญความเครียดกับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Search

Read the Text Version

รายงานวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์ ความสมั พนั ธ์ระหว่างผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (GPA) ความวติ กกงั วล และวิธีการเผชิญ ความเครยี ดกบั ความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ในชว่ งการ ระบาดของโรคโคโรน่าไวรสั The relationship between academic achievement, anxiety, coping strategies, and stress in nursing students, Naresuan University during the Coronavirus pandemic. โดย นางสาวฉัตรกมล วชิ ยั ศิริ นางสาวณฐั กานต์ ไชยะเสน นางสาวณฐั ติการณ์ กลุ ประสงค์ นางสาวปิยะฉัตร เครือธง นางสาวมโนชา สีละ นางสาวรัตนา สุ่มประเสรฐิ นางสาววนั ศริ ิ สขุ แชม่ นางสาวสธุ าทพิ ย์ ทิวะโต อาจารยท์ ี่ปรึกษา ดร.มาณกิ า เพชรรตั น์ มนี าคม 2564

ก กติ ติกรรมประกาศ งานวิจัยฉบับนี้สำเร็จลุลวงได้ด้วยความกรุณาอย่างสูงจาก อาจารย์ ดร.มาณิกา เพชรรัตน์ อาจารย์ท่ี ปรึกษางานวิจัยหลัก เป็นผู้ชี้แนะแนวทาง ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่ง และให้ กำลังใจด้วยดตี ลอดมา คณะผู้วจิ ยั ตระหนกั ถึงความตั้งใจและความทุ่มเทของอาจารย์และขอกราบขอบพระคุณเป็น อย่างสงู ไว้ ณ ที่น้ี ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ ผศ.ดร.ดวงพร ปิยะคง อาจารย์ ผศ.ดร.เชาวนี ล่องชูผล และ ดร.มาณิกา เพชรรตั น์ กรรมการสอบวจิ ยั และอาจารย์ ดร.นศิ ากร โพธมิ าศ อาจารย์ ผศ.ดร.เชาวนี ลอ่ งชผู ล และอาจารย์ ดร. อลงกรณ์ อกั ษรศรี ผูเ้ ช่ยี วชาญในการตรวจสอบเครื่องมือวจิ ัย ท่ีกรุณาเสียสละเวลาอันมคี า่ ในการให้คำแนะนำและ ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ขอกราบขอบพระคุณ คณาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ทุกท่านที่กรุณาให้ความรู้และแนะนำตลอดระยะเวลาการทำวิจัย และเจ้าหน้าที่ทุกท่านที่อำนวยความสะดวกใน ทกุ ๆดา้ น รวมทัง้ กลมุ่ ตัวอย่างทุกท่านท่ีให้ความรว่ มมอื ตลอดระยะเวลาในการเกบ็ ข้อมลู ในการทำวจิ ัยคร้ังน้ี สุดท้ายนี้ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และสมาชิกทุกคนในครอบครัว ที่เป็นกำลังใจและให้การ สนับสนุนเป็นอย่างดี ตลอดจนเพื่อนๆ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนช่วยเหลือและเป็น กำลังใจให้กับคณะผวู้ จิ ัยเสมอมา ซง่ึ มีสว่ นชว่ ยใหก้ ารทำวิจัยสำเร็จลลุ ่วงไปด้วยดี คณะผูว้ จิ ัย มนี าคม 2564

ข ความสมั พนั ธร์ ะหว่างผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น (GPA) ความวติ กกังวล และวธิ ีการเผชญิ ความเครยี ดกับความเครียดของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในชว่ งการ ระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส The relationship between academic achievement, anxiety, coping strategies, and stress in nursing students, Naresuan University during the Coronavirus pandemic. ฉตั รกมล วชิ ัยศิริ ณัฐกานต์ ไชยะเสน ณัฐติการณ์ กลุ ประสงค์ ปิยะฉัตร เครือธง มโนชา สลี ะ รัตนา สมุ่ ประเสรฐิ วนั ศิริ สุขแชม่ สธุ าทิพย์ ทิวะโต และ มาณิกา เพชรรตั น์* Chatkamon Wichaisiri, Natthakarn Chaiyasen, Nattikarn Kulprasong, Piyachat Kruathong, Manocha Seela, Rattana Sumpasert, Wansiri Sukcham Sutatip Tiwato and Manika Petcharat คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร Faculty of Nursing, Naresuan University บทคดั ยอ่ การวิจยั เชงิ ความสมั พันธ์นี้ นีม้ วี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือ ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ความ วิตกกังวล และวิธกี ารเผชญิ ความเครยี ด กับความเครียดของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรในช่วง การระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตชั้นปีที่ 1-4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 200 คน ที่ได้มีจากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บรวมรวมข้อมูลในช่วงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ - 5 มีนาคม 2564 เครื่องมอื วจิ ัยประกอบดว้ ย 1. แบบสอบถามขอ้ มูลสว่ นบคุ คล 2. แบบประเมินความเครยี ด(ST-5) 3.แบบคัด กรองความกังวลต่อไวรสั Covid-19 และ 4.แบบวัดการเผชญิ ความเครยี ด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใชส้ ถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์คา่ ความสมั พนั ธ์โดยใชส้ มั ประสทิ ธส์ิ หสมั พันธเ์ พยี ร์สนั ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่มีความสัมพันธ์กับความเครียด ความวิตกกังว ลมี ความสัมพันธ์กับความเครียดทางบวกในระดับต่ำมาก (r= 0.27, p <.001) และวิธีการเผชิญความเครียดมี ความสมั พนั ธก์ ับความเครียดทางบวกในระดับต่ำมาก (r= 0.35, p <.001) ผลการศึกษาคร้งั นีแ้ สดงให้เห็นว่า หน่วยงานทางการศกึ ษาควรจัดกจิ กรรมการเพ่ิมทักษะในการจัดการกบั ความวิตกกังวล ความเครยี ดและ การเผชญิ ความเครียด ใหแ้ ก่นสิ ิตพยาบาล โดยเฉพาะในช่วงการระบาดของโรคอุบัติการณ์ใหม่ เพอื่ เปน็ การป้องกนั ปญั หาทางสขุ ภาพจิตต่อไป คำสำคญั : ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ความวติ กกงั วล การเผชญิ ความเครียด ความเครยี ด โรคไวรสั โคโรนา่ นิสติ พยาบาลศาสตรบัณฑติ * Corresponding author E-mail: [email protected]

ค Abstract The aim of this Correlational research design was to study the relationship between academic achievement, anxiety, coping strategies, and stress in nursing students, Naresuan University during the Coronavirus pandemic. A sample of 200 was derived from the first year to fourth year nursing students. The samples were selected by simple random sampling. Data collection was done during February 19th to March 5th 2021. The self-administered questionnaire included: 1) Demographic data, 2) Stress test (ST-5), 3) Anxiety during the Coronavirus test and 4) Coping strategies. Descriptive statistics and Pearson’s product moment correlation coefficient were employed. Results revealed that the academic achievement and stress were not related to each other. The anxiety and stress were associated with very low levels at the same direction (r= 0.27, p <.001). Coping strategies and stress were associated with very low levels at the same direction (r= 0.35, p <.001). Educational institutions should play a role in providing anxiety reduction, stress management, and coping strategies program to reduce stress in nursing students during the pandemic. Keywords: academic achievement, anxiety, coping strategies, stress, Coronavirus, nursing students * Corresponding author E-mail: [email protected]

สารบัญ ง กิตตกิ รรมประกาศ หนา้ บทคัดย่อภาษาไทย ก บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ข สารบัญตาราง ค สารบญั รปู ภาพ ช บทที่ 1 บทนำ ซ ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา 1 คำถามการวิจัย 3 วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั 3 สมมติฐานการวิจัย 3 ขอบเขตการวิจยั 4 ประชากร 4 กลุ่มตัวอยา่ งที่ศึกษา 4 นยิ ามตวั แปร 4 ประโยชนข์ องงานวิจยั 5 บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม โรคโคโรนา่ ไวรสั 7 7 • ความหมาย 7 7 • สถติ ิ 7 • อาการและอาการแสดง 8 • การตดิ ต่อ 8 8 • ผลกระทบต่อประชาชนทั่วไป 8 - ด้านรา่ งกาย 9 - ด้านจติ ใจและอารมณ์ 10 - ดา้ นสงั คม 10 - ด้านเศรษฐกจิ 10 • ผลกระทบต่อนิสติ พยาบาลศาสตร์ - ด้านจิตใจ-ความเครยี ด - ด้านการเรียน

สารบัญ (ต่อ) จ - ดา้ นสังคม - ดา้ นเศรษฐกิจ 11 แนวคิดเก่ียวกบั ความเครียด 11 11 • ความหมายของความเครยี ด 11 12 • ปจั จัยทีส่ ง่ ผลให้เกิดความเครียดในนสิ ติ พยาบาล 12 - ด้านการเรียน 12 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น (GPA) 12 การเรยี นออนไลน์ 12 - ดา้ นความวิตกกงั วล 13 - วธิ กี ารเผชิญความเครยี ด 13 13 • ผลกระทบของความเครยี ดในนิสิตพยาบาล 14 14 • ทฤษฎีความเครียดของลาซารัสและโฟลคแ์ มน กรอบแนวคิดการวิจัย 19 การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง 19 บทที่ 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน 20 รปู แบบการวจิ ยั 20 ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง 21 การคำนวณกลุ่มตวั อย่าง 21 กำหนดระดับความเช่ือมั่น 21 การได้มาซง่ึ กลมุ่ ตัวอย่าง 21 เกณฑ์คัดเข้าการศึกษา (Inclusion Criteria) 21 เกณฑ์คัดออกจากการศึกษา (Exclusion Criteria) 22 แหล่งทท่ี ำการศึกษา 22 เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นงานวิจยั 23 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 24 การพทิ ักษ์สทิ ธิ์กลุ่มตวั อยา่ ง ขั้นตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 25 การวิเคราะห์ข้อมูล บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ส่วนที่ 1 การวเิ คราะห์ข้อมลู ส่วนบุคลของกล่มุ ตวั อย่าง

สารบัญ (ต่อ) ฉ สว่ นท่ี 2 การวเิ คราะห์ระดับความวติ กกังวล การเผชิญความเครียด และ ความเครียด 26 สว่ นท่ี 3 การวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์ระหว่างผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (GPA) ความวิตกกังวล และวธิ ีการเผชิญความเครียดกับความเครียด 27 บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ สรุปผลการศกึ ษา 29 อภิปรายผลการศึกษา 30 ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาไปใช้ 35 ข้อเสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั ตอ่ ไป 35 บรรณานุกรม 36 ภาคผนวก 41 ภาคผนวก ก เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นงานวจิ ยั 42 ภาคผนวก ข หนังสอื ของอนุญาตบุคลากรในสงั กดั เปน็ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ 48 ภาคผนวก ค หนงั สือขออนญุ าตทดสอบเครื่องมือวจิ ัย 49 ภาคผนวก ง หนังสือขออนุญาตเกบ็ ข้อมูล 50 ภาคผนวก จ การรบั รองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวจิ ยั ในมนุษย์ 51 ภาคผนวก ฉ ตารางแสดงช่วงคะแนน คา่ เฉล่ยี และส่วนเบย่ี งเบน 53 มาตรฐานรายข้อของแบบคัดกรองความกังวลต่อไวรสั 56 COVID-19 แบบวัดการเผชญิ ความเครยี ดต่อไวรัสโควิด-19 67 และแบบประเมินความเครียด (ST5) ของกลุ่มตัวอยา่ ง ภาคผนวก ช ตารางสงั เคราะห์เพื่อทบทวนวรรณกรรม ประวตั ิผู้วิจยั

ช สารบัญตาราง ตาราง หนา้ 1 จำนวนและรอ้ ยละของข้อมลู ท่ัวไปของกลุ่มตัวอยา่ ง 25 2 คา่ เฉล่ีย (������̅) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบคดั กรองความกังวลต่อไวรัส 26 COVID-19 โดยรวมของกลมุ่ ตัวอยา่ ง 3 คา่ เฉลี่ย (������̅) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบวัดการเผชิญความเครยี ดต่อไวรสั COVID- 26 19 โดยรวมของกลุม่ ตัวอย่าง 4 ค่าเฉลีย่ (������̅) ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบวดั การเผชิญความเครยี ดต่อไวรัส COVID- 27 19 ในดา้ นการเผชิญปัญหา ในด้านการจดั การทางอารมณ์ และในด้านการบรรเทาปัญหา โดยรวมของกลุ่มตวั อย่าง 5 คา่ เฉลย่ี (������̅) สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบประเมินความเครียด (ST5) ต่อไวรัส 27 COVID-19 โดยรวมของกลุ่มตัวอย่าง 6 ค่าสัมประสิทธสิ์ หสัมพันธข์ องความสมั พันธ์ระหว่างผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (GPA) ความวติ ก 28 กงั วล และวิธกี ารเผชิญความเครียด กบั ความเครียดของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร ในช่วงระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส

ซ สารบญั รูปภาพ รูปภาพ กรอบแนวคิดการวิจยั เรอ่ื งความสมั พันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) หน้า 1 ความวิตกกงั วลและวธิ ีการเผชิญความเครยี ดกับความเครียดของนิสติ คณะพยาบาล 14 ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรในชว่ งการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส

1 “ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น (GPA) ความวิตกกังวล และวธิ ีการเผชิญความเครยี ด กับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในชว่ งการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรสั ” บทท่ี 1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา องค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO, 2020) ได้ประกาศให้การแพร่ระบาดของเชื้อ ไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่เป็น “การระบาดใหญ่” หรือ pandemic เนื่องจากเชื้อมีการลุกลามไปอย่างรวดเร็วใน ทุกภูมิภาคของโลก โคโรน่าเป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอ (positive-sense RNA) ที่มีเยื่อหุ้มไขมันล้อมรอบ (enveloped virus) จัดเป็นไวรัสที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มไวรัสที่มีสารพันธุกรรมอาร์เอ็นเอด้วยกัน (สถาบัน บำราศนราดูร, 2563) เชือ้ ไวรสั ในกลุม่ นี้มคี วามหลากหลายมาก และสามารถพบเชือ้ ได้ในสัตวเ์ ลีย้ งลกู ด้วยนม เช่น ค้างคาว แมว หมู สุนัข หนู ชะมด วาฬ งู และคน เป็นต้น (สถาบันบำราศนราดูร, 2563) นอกจากนี้เชือ้ ไวรัสโคโร น่าสามารถติดต่อจากสัตว์มายังคนได้ ทำให้เกิดอาการปอดบวมรุนแรง ร่วมกับภาวะหายใจลำบาก (สถาบันบำราศ นราดูร, 2563) และมีอาการอื่นๆ เช่น มีไข้สูงมากกว่า 37.5 องศา ไอ มีเสมหะ เจ็บคอ นานติดต่อกันมากกว่า 4 วัน บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสียร่วมด้วย ปวดเมื่อยตามตัว ทานอาหารไม่ค่อยได้ เป็นต้น (โรง พยาบาลศิครนิ ทร์, ม.ป.ป.) สถติ ิผปู้ ว่ ยโรคไวรัสโคโรนา่ ทั่วโลกข้อมลู ณ วนั ที่ 23 กนั ยายน 2563 เวลา 20.00 น. พบว่ามีจำนวนสูงถึง 31,850,036 ราย เสียชีวิตจำนวน 976,559 ราย รักษาหายแล้วทั้งสิ้น 23,449,907 ราย สำหรับในประเทศไทยมี จำนวนผู้ติดเชื้อ 3,514 ราย เสียชีวิตจำนวน 59 ราย รักษาหายทั้งสิ้น 3,345 ราย มีผู้ป่วยรายใหม่จำนวน 3 ราย ถือเป็นลำดับที่ 135 ของโลก (Worldometer, 2020) โดยการระบาดของไวรัสโคโรน่า พบในไทยตั้งแต่ วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยมีจำนวนผู้ป่วย35 ราย ต่อมาในเดือนมีนาคมพบว่ามีผู้ป่วยมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นจากการ แพร่เชื้อจากสนามมวย และสถานบันเทิง ทำให้ประเทศไทยพบสถานการณ์ผู้ป่วยมากกว่า 100 คนต่อวัน รัฐบาล จึงต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือ พรก.ฉุกเฉิน ในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และประกาศห้ามออกนอก เคหะสถานยามวิกาล ตั้งแต่ วนั ท่ี 3 เมษายน พ.ศ. 2563 เพ่ือควบคมุ สถานการณ์และการระบาดท่ีอาจจะเพิ่มมาก ขึ้น และรฐั บาลได้ประกาศส่ังปิดธรุ กิจ ห้างสรรพสินค้า ส่งเสรมิ ให้ประชาชนอยู่บ้าน หา้ มการเดินทางเข้าหรือออก นอกประเทศและในประเทศทางอากาศ ลดการเดินทางระหว่างเมือง และเพ่ิมประสิทธภิ าพการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง เพ่ิมศักยภาพการบริการทางการแพทย์ให้กับสถานบริการภาครัฐในระดับต่างๆ ทำให้สถานการณ์การระบาดของ โรคไวรัสโคโรน่า ในประเทศไทย มีแนวโน้มดีขึ้นชว่ งปลายเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 โดยมีตัวเลขผู้ตดิ เช้ือรายใหม่ ต่ำกว่า 10 คนในปลายเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 อย่างไรก็ตาม ยังควรต้องมีการเฝ้าระวังจำนวนผูต้ ิดเชื้อรายใหม่ อย่างใกล้ชิด และปฏิบัติตัวให้เหมาะสมเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออย่างเคร่งครัด หลังจากมีการปลดล็อค ประเทศ เพือ่ ปอ้ งกัน ไม่ให้สถานการณ์โรคระบาดกลบั มาระบาดในระลอกสองเหมือนท่ีพบในบางประเทศในเอเชีย ต่อไป (สมาคมเวชศาสตร์ปอ้ งกันแหง่ ประเทศไทย, 2563) การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า ส่งผลให้เกิดความเครียด เนื่องจากเป็นสถานการณ์ที่ไม่สามารถคาดเดา ไดว้ า่ จะกลบั มาเปน็ ปกตเิ ม่อื ใด ส่งผลกระทบต่อการดำเนนิ ชวี ิตของประชาชนเนือ่ งจากตอ้ งใชม้ าตรการรักษา

2 ระยะห่างทางสังคม (social distancing) ทำให้คนเราไม่สามารถพดู คุยสรา้ งปฏิสัมพันธ์ได้เหมือนเดิม ต้องแยกตัว อยู่กับบ้าน นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างรุนแรง เนื่องจากต้องมีการปิดร้านอาหาร สถานบันเทิง สนามบิน โรงเรียน มหาวิทยาลัย เป็นต้น เพื่อควบคุมโรคระบาด ส่งผลให้ประชาชนตกงาน นักเรียน นักศึกษาไม่ สามารถมาเรียนหนังสือทสี่ ถาบนั การศึกษาได้ตามปกติ มีคำส่งั ให้ประชาชนกักตัวเองที่บ้านเพื่อลดการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัส งดการเดินทางระหว่างประเทศโดยเครื่องบินโดยสาร ทำให้ธุรกิจค้าปลีก ร้านอาหาร และการ ให้บริการต่าง ๆ ก็ต้องหยุดชะงักลง มาตรการนี้อาจช่วยให้คนปลอดจากโรค แต่ในเวลาเดียวกันคนที่พึ่งพิงการ ขับเคล่ือนของธุรกจิ เหล่าน้นั ก็ตอ้ งขาดรายได้ไปดว้ ย (ชยั ยศ ยงคเ์ จรญิ ชัย, 2563) ซงึ่ ในแต่ละบคุ คลจะมีการปรบั ตวั กับความเครียดแตกต่างกันไป โดยจากทฤษฎีของลาซารสั และโฟลค์แมน ได้ใหค้ วามหมายของความเครียดไวว้ ่า ความเครียด เป็นปฏิสัมพันธ์กนั ระหวา่ งบคุ คลและส่ิงแวดล้อม มีอิทธิพล ซ่ึง กันและกนั เป็นภาวะช่ัวคราวของความไมส่ มดลุ ซ่ึงเกิดจากกระบวนการรบั รูห้ รอื การประเมินของบุคคลต่อส่ิงท่ีเข้า มาในประสบการณ์ว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งอันตรายหรือสูญเสียความเป็นอิสระ คุกคามหรือท้าทาย โดยการประเมิน สถานการณ์ว่าเป็นความเครียดและมีผลเสียต่อสวัสดิภาพหรือความผาสุกของตน ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด (โรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา, 2559) ซึ่งเหตุการณ์จะเครียดหรือไม่เครียดขึ้นอยู่กับการประเมินความสมดุล ระหว่างความต้องการกับแหล่งประโยชน์ที่มีอยู่ของบุคคลนั้น โดยผ่านกระบวนการตัดสินใจด้วยสติปัญญาและ ความรู้ แตล่ ะบคุ คลจะมีความเครียดแตกต่างกันไป ขนึ้ อยกู่ ับ ปัจจัยภายในของบุคคล เชน่ ประสบการณ์ ทัศนคติ บุคลิกภาพ อารมณ์ และความต้องการของบุคคล ปัจจัยด้านจิตใจ เช่น การคิดเร่ืองเดิมซ้ำๆ ความวิตกกังวล เป็น ต้น ล้วนก่อให้เกิดความเครียดขึ้นได้ (ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , 2019) การประเมนิ สถานการณ์ เช่น ถ้าประเมนิ วา่ เป็นปัจจัยคุกคาม บคุ คลก็จะเกิดความวิตกกังวล และความเครียดตามมาได้ในที่สดุ แต่ในทางกลบั กัน หากประเมนิ ว่าสถานการณ์มีความท้าทาย บุคคลกจ็ ะหาวิธีใน การแก้ไขปัญหา และความสามารถในการเผชิญกับความเครียดที่แตกต่างกัน โดยบุคคลที่เผชิญความเครียดแบบ มงุ่ แก้ปัญหา (Problem-focused Coping) เปน็ การเผชิญกบั ความเครยี ด โดยการเปล่ยี นความสัมพันธ์ระหว่างคน กับสิ่งแวดล้อม โดยการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ให้ดีขึ้นรู้จักจัดการกับความเครียด หรือจัดการกับตนเองโดย พยายามมุ่งแก้ปัญหา และบุคคลที่เผชิญความเครยี ดแบบจดั การกบั อารมณ์ (Emotional-focused Coping) เป็น การปรับอารมณ์หรือความรู้สึก เพื่อไม่ให้ความเครียดนั้นทำลายขวัญและกำลังใจหรือลดประสิทธิภาพในการทำ หน้าที่ของบุคคล นั่นคือบุคคลต้องรู้จักจัดการกับอารมณ์และความรู้สึก เพื่อสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น การปฏิเสธ เมื่อเป็นโรคร้าย เพื่อไม่ให้ตนเองเป็นทุกข์จนไม่สามารถจะกระทำอะไรได้ เป็นต้น (กีรตญิ า ไทยอู่, 2558) ซึ่งการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่าที่เกิดขึ้นในเวลานี้ย่อมส่งผลกระทบต่อนิสิต โดยเฉพาะนิสิต พยาบาลที่ตอ้ งมีการปรับรูปแบบการเรยี นเป็นแบบออนไลน์ อกี ท้ังสง่ ผลกระทบต่อการฝึกงานท่ีทำให้ล่าช้าออกไป และการเปล่ียนการเรยี นการสอนสู่ระบบออนไลนจ์ ะยิ่งทำให้เหน็ ปญั หาความไมเ่ ท่าเทยี มด้านการศึกษามากขึ้น จะ มีเด็กจำนวนมากที่ไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาเพราะไม่มีอินเทอร์เน็ต และอุปกรณ์สำหรับใช้เรียนออนไลน์ นักเรียนบางคนใช้โรงเรียน เพื่อเข้าถึงอาหาร น้ำดื่ม และสภาพแวดล้อมที่ดีกว่าที่บ้าน โรงเรียนจึงไม่ใช่สถานท่ี สำหรับการศึกษาเท่านั้น แต่เป็นเหมือนศูนย์รวมของสังคม (Pran Suwannatat, 2020) สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิด

3 ความเครียดได้ โดยในแต่ละบุคคลจะมีระดับความเครียดแตกต่างกันไป โดยจากการทบทวนวรรณกรรมและ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพันธ์กับความเครียด แม้จะเป็นในช่วงที่ ยังไม่มีการ ระบาดของโรคไวรสั โควิด-19 โดยพบว่านิสิตท่มี ีคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดจี ะมีความสมั พันธ์กับความเครียด ในระดับต่ำ (ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ธรรมศักดิ์สายแก้ว, สุนันทา ศรีศิริ และสมฤดี สายหยุดทอง, 2562) นอกจากนั้นการศึกษาของสิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา, พัชรี ตันศิริ และลักษณา อินทร์กลับ (2543) พบว่าคะแนนความ วติ กกงั วลขณะเผชิญมคี วามสัมพนั ธเ์ ชิงบวกอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิตกิ ับพฤติกรรมเผชญิ ความเครียด โดยมคี ะแนน ด้านการเผชญิ ความเครยี ดโดยการแกไ้ ขปัญหาทเี่ กิดขน้ึ สูงกว่าคะแนนดา้ นการแก้ไขปัญหาโดยใชอ้ ารมณ์ อย่างไรกต็ ามการศกึ ษาทผ่ี า่ นมาลว้ นทำในสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกบั การเรียน การฝึกงานในนกั ศึกษาและ นักศึกษาพยาบาล ซึ่งศึกษาในสถานการณ์ปกติท่ียังไม่มีการระบาดของโรคไวรสั โควิด-19 และยังไม่มีการศึกษาถึง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวติ กกังวล และวธิ ีการเผชิญความเครียด กบั ความเครยี ด ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึง เล็งเหน็ ความสำคญั ของการศึกษาความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปรดงั กลา่ วในนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อเป็นข้อมูล พนื้ ฐานในป้องกันความเครียดทอี่ าจขน้ึ ในชว่ งโรคอุบัติการณ์ใหม่ โดยเฉพาะในนสิ ิตพยาบาล ซง่ึ ถือว่าเป็นบุคลากร ทางสาธารณสขุ ท่เี ป็นกำลงั สำคัญในการดูแลผปู้ ว่ ยและผู้รบั บรกิ ารในชว่ งการระบาดของโรคอบุ ตั ใิ หมต่ อ่ ไป คำถามการวจิ ยั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ความวิตกกงั วล และวิธกี ารเผชิญความเครียด มีความสมั พันธ์กบั ความเครียดของ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส หรือไม่ อยา่ งไร วตั ถปุ ระสงคก์ ารวิจัย เพอ่ื ศกึ ษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความวิตกกังวล และวธิ กี ารเผชิญความเครยี ด กับ ความเครียด ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ในชว่ งการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส สมมติฐานการวิจยั 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีความสมั พนั ธก์ ับความเครียดของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส สมมตฐิ านทางสถิติ : H0 : ρX1Y = 0 H1 : ρX1Y ≠ 0 X1 หมายถงึ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน Y หมายถึง ความเครยี ดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ในชว่ งการระบาดของโรคโค โรนา่ ไวรสั 2. ความวิตกกงั วล มีความสัมพันธ์กับความเครยี ดของ นิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในชว่ งการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส สมมติฐานทางสถิติ : H0 : ρX2Y = 0 H1 : ρX2Y ≠ 0

4 X2 หมายถึง ความวติ กกังวล Y หมายถงึ ความเครยี ดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร ในชว่ งการระบาดของโรคโค โรนา่ ไวรัส 3. วิธีการเผชญิ ความเครียด มีความสมั พันธก์ บั ความเครยี ด ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร ในชว่ งการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส สมมตฐิ านทางสถิติ : H0 : ρX3Y = 0 H1 : ρX3Y ≠ 0 X3 หมายถงึ วธิ กี ารเผชิญความเครยี ด Y หมายถึง ความเครยี ดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในชว่ งการระบาดของโรคโค โรน่าไวรสั ขอบเขตการวิจยั การศึกษานี้เป็นงานวิจัย เชิงความสัมพันธ์ (Cross-sectional, Correlational research design) เพ่ือ ศึกษาความสัมพันธ์ของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ความวิตกกังวล และวธิ กี ารเผชิญความเครียด กับความเครียดของ นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรสั ประชากร การศึกษานใี้ ช้กลุ่มตัวอย่างนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชนั้ ปีท่ี 1-4 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 โดยมีประชากรนักศกึ ษาทั้งหมด 492 คน กลมุ่ ตวั อยา่ งทีศ่ ึกษา นิสิตชั้นปีที่ 1 ถึงนิสิตชั้นปีที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย (Simple Random sampling) โดยใช้การสุ่มจากโปรแกรม Excel นิยามตวั แปร 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร ได้มาตามหลักการวัดและประเมินผล ท่ี ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ความคิดหรือพุทธิพิสัย ด้านอารมณ์และความรู้สึกหรือจิตพิสัย และด้านทักษะ ปฏบิ ัติหรือทักษะพิสัยที่ผู้สอนกำหนดไว้ในชว่ งเวลาใดเวลาหนงึ่ โดยในการศกึ ษาคร้ังน้ใี ชค้ ะแนนเกรดเฉลี่ย (GPA) นบั ถึงเทอมที่เก็บข้อมลู วิจยั (Uraiwan, 2559) 2. ความวิตกกังวล หมายถึง ความรู้สึกกังวล กลัวต่อเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตที่ไม่อาจระบุได้ชัดเจน ซึง่ ถอื เป็นภาวะทางจิตใจ ความรู้สกึ ตงึ เครียดทางอารมณ์ ไม่สบายกาย และไมส่ บายใจ รู้สึกหวาดหว่ันต่อ สิ่งคุกคามที่กําลังเผชิญในขณะนั้น รวมถึงความมั่นคงปลอดภัยของตนถูกคุกคาม โดยไม่ทราบว่า เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร (ตฏิลา จำปาวัลย์, 2561) ในการศึกษาครั้งนี้สามารถ วัดได้จากแบบคัดกรองความวิตกกังวลต่อไวรัส Covid-19 ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 5 ข้อ (แบบคัดกรองความกังวลต่อไวรสั COVID-19 กรมสุขภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ , 2563) 3. การเผชิญความเครียด เป็นการกระทำ ความนึกคิด การแสดงออก ซึ่งเป็นความสามารถในการจัดการกบั ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เพื่อบรรเทาความเครียดในช่วงการระบาดของไวรัสโควิด-19 (Lazarus &

5 Folkman, 1984 อา้ งถึงใน อนุพงษ์ จนั ทร์จุฬา และซัยฟดุ ดนี ชำนาญ, 2559) ใชก้ ารประเมิน 2 ลักษณะ ได้แก่ การประเมินปฐมภูมิ เป็นการประเมินตัดสินถึงความสำคัญและความรุนแรงของเหตุการณ์นั้น ที่มี ผลต่อสวัสดิภาพของบุคคลว่าอยู่ในลักษณะใด และการประเมินทุติยภูมิเป็นการประเมินแหล่งประโยชน์ และทางเลือกตา่ งๆท่ีบุคคลนัน้ มี เพ่ือจัดการกับเหตกุ ารณท์ ีเ่ กดิ ข้นึ บคุ คลจะประเมินตัดสนิ ว่า สถานการณ์ ทีเ่ กดิ ขึ้นนนั้ เปน็ ความเครียดหรือไม่ และรุนแรงมากน้อยเพียงใดนั้น ขึน้ อยูก่ บั 2 ปจั จัย คือ ปัจจัยด้านตัว บุคคลและปัจจัยด้านสถานการณ์ (Lazarus & Folkman, 1984 อ้างถึงใน กีรติญา ไทยอู่, 2558) โดย การศึกษาครั้งนี้สามารถวัดได้จากแบบวัดการเผชิญความเครียดของจาโลวิค (The Jalowiec Coping Scale: JCS) ฉบับปรับปรุงปี ค.ศ. 1988 แปลเป็นภาษาไทยโดย ปราณี มิ่งขวัญ (2542) ผ่านการ ตรวจสอบความถูกต้องด้วยวธิ ีการแปลยอ้ นกลบั (back–translation) โดยผทู้ รงคณุ วุฒทิ ม่ี คี วามเชีย่ วชาญ ท้งั ดา้ นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ จำนวน 3 ท่าน ประกอบดว้ ย ข้อคำถามปลายปดิ จำนวน 36 ข้อ แบง่ การเผชิญความเครียดออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการมุ่งแก้ปัญหา จำนวน 13 ข้อ ด้านการจัดการกับ อารมณ์ จำนวน 9 ขอ้ และด้านการบรรเทาความรู้สึก จำนวน 14 ข้อ (ณชนก เอยี ดสขุ และคณะ, 2556) 4. ความเครียดเป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และสิ่งแวดล้อม ซึ่งบุคคลประเมินว่าเป็นเหตุการณ์ที่มี ผลกระทบต่อสวัสดิภาพของตนเองและต้องใช้แหล่งประโยชน์ในการปรับตัวที่มี อยู่อย่างเต็มที่หรือเกิน กำลัง เพื่อจัดการกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น (Lazarus & Folkman, 1984 อ้างถึงในณชนก, ศุภร, สุชิรา, 2557) โดยในการศึกษาครั้งนี้สามารถวัดได้จากแบบประเมินความเครียดของกรมสุขภาพจิต กระทรวง สาธารณสุข จำนวน 5 ขอ้ (https://www.dmh.go.th/test/download/files/qtest5.jpg, ม.ป.ป) ประโยชนข์ องงานวจิ ัย ทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญ ความเครียดกับความเครยี ด ในนิสิตคณะพยาบาล เพอื่ เป็นข้อมลู พนื้ ฐานในการป้องกนั ความเครยี ดท่อี าจข้นึ ในช่วง โรคอบุ ัติการณใ์ หม่ ในนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ซึ่งถอื วา่ เป็นบคุ ลากรทางสาธารณสุขที่เปน็ กำลงั สำคญั ในการดูแล ผปู้ ่วยและผูร้ บั บริการในชว่ งการระบาดของโรคอุบตั ิใหมต่ ่อไป

6 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง ในการวิจัยนี้เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตกกังวลและ วิธกี ารเผชญิ ความเครียดกับความเครียดของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของ โรคโคโรน่าไวรสั ซง่ึ ผูว้ จิ ยั ได้ทำการศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง ดังตอ่ ไปน้ี 1. โรคโคโรนา่ ไวรสั (COVID-19) 1.1 ความหมาย 1.2 สถติ ิ 1.3 อาการและอาการ 1.4 การติดตอ่ 1.5 ผลกระทบต่อประชาชนท่ัวไป 1.5.1 ร่างกาย 1.5.2 จิตใจอารมณ์ 1.5.3 สังคม 1.5.4 เศรษฐกจิ 1.6 ผลกระทบต่อนิสติ พยาบาล 1.6.1 จิตใจ-ความเครียด 1.6.2 การเรียน 1.6.3 สงั คม 1.6.4 เศรษฐกิจ 2. แนวคดิ เก่ยี วกบั ความเครยี ด 2.1 ความหมายของความเครียด 2.2 ปจั จยั ท่สี ง่ ผลให้เกิดความเครยี ดในนิสิตพยาบาล 2.2.1 การเรียน 2.2.1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (GPA) 2.2.1.2 การเรยี นออนไลน์ 2.2.2 ความวิตกกงั วล 2.2.3 วิธีการเผชญิ ความเครียด 2.2 ผลกระทบของความเครยี ดในนสิ ติ พยาบาล 2.3 ทฤษฎคี วามเครยี ดของลาซารสั และโฟลคแ์ มน 3. งานวจิ ัยท่ีเกีย่ วขอ้ ง ค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตกกังวล และ วธิ ีการเผชิญความเครยี ด กบั ความเครยี ด

7 1. โรคโคโรน่าไวรสั 1.1 ความหมาย ไวรัสโคโรน่าสายพันธใ์ุ หม่ 2019 เป็นตระกูลของไวรัสท่ีก่อให้อาการป่วยต้งั แตโ่ รคไข้หวัดธรรมดาไปจนถึง โรคทม่ี คี วามรุนแรงมาก เชน่ โรคระบบทางเดินหายใจตะวนั ออกกลาง (MERS-CoV) และโรคระบบทางเดินหายใจ เฉยี บพลันรุนแรง (SARS-CoV) เปน็ ต้น ซ่ึงเปน็ สายพันธใ์ุ หม่ทีไ่ มเ่ คยพบมาก่อนในมนุษยก์ ่อให้เกดิ อาการป่วยระบบ ทางเดินหายใจในคน และสามารถแพร่เชื้อจากคนสู่คนได้ โดยเชื้อไวรัสนี้พบครั้งแรกในการระบาดในเมืองอู่ฮ่ัน มณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในช่วงเดือนธันวาคม 2562 โดย COVID-19 เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากไวรสั โคโรน่าท่ีเพิ่งค้นพบลา่ สุด ซึ่งกำลังแพร่ระบาดและส่งผลกระทบต่อหลายประเทศทั่วโลก (องค์การอนามัยโลกแห่ง ประเทศไทย, 2563) 1.2 สถิติ สถติ ิการตดิ เช้ือของโลก ผ้ตู ดิ เชอ้ื รวม 31,850,036 คน เสียชวี ติ 976,559 คน รักษาหายแล้ว 23,449,907 คน สถิติของประเทศไทย ประเทศไทยอยู่อันดับที่ 135 ของโลก และอยู่อันดับที่ 37 ของทวีปเอเชีย โดยมีอัตราผู้ ติดเชื้อ 3,514 ราย เสียชีวิต 59 ราย รักษาหายแล้ว 3,345 ราย ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2563 เวลา 20.00 น. (https://www.worldometers.info/coronavirus/) 1.3 อาการและอาการแสดง อาการทั่วไป ได้แก่ อาการระบบทางเดินหายใจ มีไข้ ไอ หายใจถี่ หายใจลำบาก ในกรณีที่อาการรุนแรง มาก อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดบวม ปอดอักเสบ ไตวาย หรืออาจเสียชีวิตได้ อาการที่พบบ่อยของ COVID-19 คือ มีไข้ ไอแห้งๆ และเหนื่อยง่าย อาการอื่นๆ ที่พบได้น้อยและอาจส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยบางราย ได้แก่ อาการปวดเมื่อย คัดจมูก ปวดศีรษะ เยื่อบุตาอักเสบ เจ็บคอท้องเสีย สูญเสียรสชาติหรือกลิ่น หรือมีผื่นที่ ผิวหนังหรือนิ้วหรือนิ้วเท้าเปลี่ยนสี อาการเหล่านี้มักไม่รุนแรงและเริ่มทีละน้อย บางคนติดเชื้อ แต่มีอาการเพียง เล็กน้อยเท่านั้น คนส่วนใหญ่ (ประมาณ 80%) หายจากโรคโดยไม่จำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ประมาณ 1 ใน 5 คนที่ได้รับ COVID-19 จะป่วยหนักและหายใจลำบาก ผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาทางการแพทย์ เช่น ความดันโลหิตสูง ปัญหาเกี่ยวกับหัวใจและปอด โรคเบาหวานหรอื มะเร็ง มีความเสี่ยงสงู ที่จะเป็นโรคร้ายแรง อย่างไรก็ตามใครก็ตามสามารถติดโรคไวรัส COVID-19 และป่วยหนักได้ คนทุกวัยที่มีไข้หรือไอที่เกี่ยวข้องกับการ หายใจลำบาก / หายใจถี่เจ็บหน้าอก / ความดันหรือสูญเสียการพูดหรือการเคลื่อนไหวควรรีบไปพบแพทย์ทันที หากเป็นไปไดข้ อแนะนำให้โทรตดิ ต่อผู้ให้บรกิ ารดา้ นการดูแลสุขภาพหรือสถานพยาบาลกอ่ นเพื่อให้ผู้ปว่ ยถูกสง่ ไป ยงั คลินกิ ทถี่ กู ต้อง (องค์การอนามัยโลกแห่งประเทศไทย, 2563) 1.4 การตดิ ตอ่ ผู้คนสามารถติดโรคไวรัส COVID-19 จากผู้อื่นที่ติดเชื้อไวรัสได้ โรคนี้แพร่กระจายจากคนสู่คนเป็นหลัก โดยละอองเล็กๆ จากจมูกหรือปากซึ่งจะถูกขับออกไปเมื่อผูท้ ี่เป็นโรค COVID -19 ไอจามหรือพูด ละอองเหล่านี้มี น้ำหนักค่อนข้างมาก เดินทางได้ไม่ไกลและจมลงสู่พื้นอย่างรวดเร็ว ผู้คนสามารถติด COVID-19 ได้ หากพวกเขา หายใจเอาละอองเหล่าน้ีจากผู้ที่ติดเช้ือไวรัส นี่คือเหตผุ ลว่าทำไมจึงควรอยู่ห่างจากผูอ้ ื่นอย่างน้อย 1 เมตร ละออง เหล่านี้สามารถตกลงบนวัตถุและพื้นผิวรอบตัวบุคคล เช่น โต๊ะ ลูกบิดประตู และราวจับ ผู้คนสามารถติดเชื้อได้

8 จากการสัมผัสสิ่งของหรอื พน้ื ผิวเหลา่ นจี้ ากนั้นสัมผัสตาจมูกหรือปาก นี่คอื เหตุผลว่าทำไมจึงควรล้างมือด้วยสบู่และ นำ้ เปน็ ประจำหรอื ทำความสะอาดด้วยแอลกอฮอล์เชด็ มือ (องค์การอนามยั โลกแหง่ ประเทศไทย, 2563) 1.5 ผลกระทบต่อประชาชนท่ัวไป 1.5.1 ดา้ นร่างกาย นพ.อนสุ ทิ ธิ์ ทฬั หสิรเิ วทย์ อายรุ แพทยห์ วั ใจ โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพ กล่าววา่ หากติดเช้ือไวรัส COVID- 19 จะมีระยะฟักตัว 2 - 14 วัน โดยจะแพร่กระจายโรคเมื่อมีอาการแสดงแล้วเท่านั้น โดยผู้ป่วย 1 รายสามารถ แพร่เชอ้ื ให้คนอืน่ ได้เฉลย่ี 2 - 4 คน ขึ้นอย่กู ับความหนาแน่นของประชากรและฤดูกาล อาการแสดงคือ จะมอี าการ ไข้ ไอ เจ็บคอ น้ำมูกไหล คัดจมูก หอบเหนื่อย แน่นหน้าอก เมื่อยเนื้อเมื่อยตัว ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งความรุนแรงของโรคนี้จะแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคลและร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ทั้งน้ี จากข้อมูลวารสารการแพทย์ The Lancet ระบวุ า่ คนในกลุ่มทีม่ โี รคหัวใจ จะเพมิ่ ความเสีย่ งในการเสียชวี ิตหากติด เชื้อไวรัส COVID-19 โดยผู้ป่วยที่เสียชีวิตจากเชื้อไวรัส COVID-19 พบว่ามีโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง 40% ซึ่งกลุ่มนี้เมื่อได้รับเช้ือไวรัส COVID-19 ส่งผลให้มีภาวะหวั ใจเต้นผิดจังหวะได้ 17% กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ได้ 7% ส่งผลให้ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลวได้ 9% ตลอดจนไตวาย 4% ขณะเดียวกันผู้ที่มีโรคประจำตัวก็ยิ่ง เพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากการติดเชื้อไวรัส COVID-19 จากข้อมูลทั้งหมด 138 รายที่ได้รับเชื้อไวรัส COVID-19 ในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีนระบุว่า ผู้ป่วยอาการหนักระยะวิกฤติมักจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง 58% โรคเบาหวาน 22% โรคหลอดเลือดหัวใจ 25% โรคหลอดเลือดสมอง 17% ฉะนั้นหากมีโรคประจำตัว ควรตรวจ สุขภาพเปน็ ประจำและไม่ควรละเลยทีจ่ ะดูแลสุขภาพให้แข็งแรง ออกกำลังกายสม่ำเสมอและปฏิบตั ิตามคำแนะนำ ของแพทย์อย่างเคร่งครัด อาทิ หากมีไขมันในเลือดสูงควรต้องลดปริมาณไขมันให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมเพื่อ ป้องกนั หลอดเลือดหวั ใจอดุ ตนั เฉยี บพลัน ถ้าเปน็ โรคเบาหวานควบคุมระดบั น้ำตาลไม่ให้เกินเกณฑ์ และควรเลิกสูบ บุหรี่ เปน็ ตน้ (อนุสิทธิ์ ทัฬหสริ ิเวทย์, 2563) 1.5.2 ดา้ นจิตใจ วิกฤตโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อระบบสุขภาพจิตของประชากรโลกอย่างรุนแรง เนื่องจากสาเหตุการตก งาน ตลอดจนการสญู เสียคนรักจากโรคโควิด-19 ส่งผลให้ชีวิตของคนมากมายตั้งอยู่บนความ “ไม่แน่นอน” แม้ใน ความทุกข์ยากจะมีเรื่องราวดีๆอยู่บา้ ง แต่ปฏเิ สธไม่ได้เลยว่าวิกฤตโรคระบาดทสี่ ร้างความเสียหายไปทั่วโลกในคร้ัง น้ี ส่งผลร้ายแรงตอ่ “สขุ ภาพจติ ” ของทุกคน (ณฐั ฐฐติ ิ คำมลู , 2563) กรมสุขภาพจิต แสดงสถิติปัญหาสุขภาพจิตของคนทั่วไปในช่วงโควิด-19 พบว่า 65% ของผู้ใหญ่ที่อายุ มากกว่า 25 ปี และ 75% ของวัยรุ่นที่อายุระหว่าง 13 – 24 ปี ที่มีประวัติเกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพจิตมาก่อน ระบวุ ่า การระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ปัญหาสขุ ภาพจติ ของพวกเขาเลวร้ายลง ขณะท่ีผใู้ หญ่ 1 ใน 5 ท่ีไม่เคยมี ปัญหาสุขภาพจติ มากอ่ น ก็ชีว้ า่ สขุ ภาพจิตของตนเองเริม่ มปี ัญหา หรอื มปี ัญหาอยา่ งรนุ แรง 1.5.3 ดา้ นสังคม ผลกระทบของวิกฤติโควิด-19 ต่อสังคมไทยอันเป็นผลมาจากประเด็นด้านเศรษฐกิจ เช่น การหยุดดำเนิน กจิ การของภาคธุรกิจชวั่ คราว การเลิกจา้ งงาน การเปล่ียนสถานะการจ้างงานหรือลดเงนิ เดือน การปิดพ้ืนที่ค้าขาย

9 ชั่วคราว ส่งผลกระทบสูงต่อกลุม่ คนเปราะบาง ผู้รายไดต้ ำ่ และขาดความคุม้ ครองทางสังคม โดยอาจแบ่งกลุ่มคนท่ี ได้รับผลกระทบเป็นอยา่ งน้อย 8 กล่มุ ไดแ้ ก่ 1. กลมุ่ ผ้มู ีรายได้น้อยท่ีจำเป็นต้องประกอบอาชีพต่อไปภายใต้ความเส่ยี งในสถานการณโ์ รคระบาด เชน่ ผู้ขับ ขี่รถจักรยานยนต์ส่งอาหารและส่งคน กลุ่มคนที่ขาดความพร้อมในการปฏิบัติตามมาตรการการกักตัวอยูบ่ ้านและ รักษาระยะหา่ ง เชน่ คนในชมุ ชนแออัด 2. กลุ่มแรงงานนอกระบบ อาทิ ผู้ค้ารายย่อย แรงงานรับจ้างทั่วไป แรงงานรับงานมาทำที่บ้าน แรงงานใน ภาคบริการ แรงงานรับจ้างภาคเกษตร ซ่ึงพ่ึงพารายได้รายวัน และขาดความคุ้มครองทางสังคม เช่น การ ประกันสังคม รวมถึงแรงงานรับจ้างอิสระ (freelancers) ที่รายได้ไม่แน่นอนและไม่ได้อยู่ในสถานะลูกจ้างที่ได้รับ ความค้มุ ครองทางสังคมตามกฎหมาย 2.1 กลุ่มแรงงานในระบบที่ไม่มีความมั่นคงเช่น ลูกจ้างรายวันที่ประกอบอาชีพซึ่งไม่ต้องใช้ทักษะสูง แรงงานโรงงานท่ีถูกเลกิ จ้างโดยเฉพาะแรงงานอายุมากซ่ึงทำงานมานานโดยไม่มีการพฒั นาทักษะใหม่ (re-skilled) เนื่องจากนายจ้างต้องปิดกิจการชั่วคราว และบางกรณีนายจ้างหลีกเลี่ยงการปฏิบัติตามกฎหมาย เช่น กฎหมาย คมุ้ ครองแรงงาน และกฎหมายประกนั สังคม 2.2 กลุ่มเดก็ และเยาวชนโดยองค์การยนู เิ ซฟ ออกผลสำรวจเมื่อเดอื นเมษายนพบว่า เยาวชนกวา่ 8 ใน 10 คน มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับปญั หาการเงินของครอบครัวเนื่องจากพ่อแม่ผู้ปกครองไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ อันเป็นผลมาจากการปิดตัวของธุรกิจตลอดจนการถูกเลิกจ้าง นอกจากนี้เด็กยังเผชิญกับปัญหาการเข้าถึง เทคโนโลยหี รอื เชื่อมต่ออินเทอรเ์ นต็ การไม่ได้รับอาหารที่มโี ภชนาการเพยี งพอจากท่เี คยได้รับจากโครงการอาหาร หรอื นมจากโรงเรียน หรอื การศกึ ษาระดบั อนุบาลและเด็กเลก็ ทไ่ี มส่ ามารถทดแทนไดด้ ้วยการศกึ ษาออนไลน์ 2.3 กลุ่มชุมชนเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่ห่างไกลและพื้นที่สูงซึ่งพึ่งพารายได้จากผลผลิตทางการเกษตร ตามฤดกู าลทีต่ อ้ งมีผมู้ ารบั ซ้อื 2.4 กลุ่มคนไร้บ้านที่ขาดการคุ้มครองทางสังคมขาดการป้องกันด้านสุขภาพ และขาดรายได้จากการ รับจ้างเบ็ดเตล็ด 2.5 กลุ่มผ้หู ญิงทอี่ าจตกงานและถูกหลอกลวงให้ไปทำงาน ซ่งึ อาจมีกรณกี ารล่วงละเมิดทางเพศเกิดขน้ึ 2.6 กลมุ่ แรงงานข้ามชาติที่ถูกเลิกจ้าง เชน่ ก่อสรา้ งและบรกิ าร ประสบปญั หาขาดรายได้ในการดำรงชีวิต ขั้นพื้นฐาน เช่น อาหาร ค่าเช่าห้อง ค่าเลี้ยงลูก และยังไม่สามารถเดินทางกลับประเทศต้นทางได้ (ธราธร รัตนน ฤมติ ศร และวรดุลย์ ตลุ ารกั ษ์, 2563) 1.5.4 ด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบของโรคระบาดไวรัสโควิด-19 จะทำให้เศรษฐกิจโลกหดตัว 3.20% และเศรษฐกิจอาเซียนจะ ลดลงราว 2.10-5.40% จากสถานการณ์ปกติ หากมีการบังคับใช้มาตรการล็อกดาวน์ 2 เดือน โดยประเทศไทยจะ ได้รับผลกระทบมากที่สุดในบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียน จากการที่นักท่องเที่ยวคาดว่าจะลดลง 60% จากปีท่ี แล้ว การขาดตอนของห่วงโซ่การผลิตทั้งในและต่างประเทศ และผลของตัวทวีคูณ ทำให้การเติบโตของเศรษฐกิจ ไทยในปีนี้อาจหดตัว 5.40% จากกรณีทไ่ี มม่ โี รคระบาด ธุรกจิ ร้านอาหาร ธุรกจิ สายการบิน และธรุ กจิ โรงแรมจะอยู่ ในภาวะที่ยากลำบาก คาดว่าจำนวนผู้ประกอบการร้านอาหารที่ไม่สามารถชำระหนี้ได้จะเพิ่มขึ้น 39% จากช่วง

10 ก่อนมีการระบาด ส่วนโรงแรมขนาดเล็กและสายการบนิ ขนาดเล็ก จำนวนผู้ประกอบการที่ต้องการสภาพคล่องจะ เพม่ิ ข้นึ 35% และ 27% ตามลำดับ ในขณะเดยี วกัน ธนาคารพาณิชยจ์ ะมีโอกาสได้รับผลกระทบรุนแรงเช่นกัน แต่ เน่ืองจากยังมีสภาพคลอ่ งสงู จึงยังคงดำเนินงานได้อยา่ งต่อเนอ่ื ง หากประเมินผลกระทบแบง่ ตามขนาดบริษัท บรษิ ทั ขนาดเล็ก คือ กลมุ่ ทีเ่ ปราะบางทีส่ ดุ โดยจำนวนบรษิ ัท ทม่ี สี ินทรัพยห์ มนุ เวยี นไมเ่ พยี งพอต่อการชำระหนีเ้ พ่ิมข้ึน 19.30% ขณะทีบ่ รษิ ัทขนาดกลางและบริษทั ขนาดใหญ่ท่ี อาจจะมีปัญหาสภาพคล่องมีจำนวนเพิ่มขึ้น 13.00% และ 7.20% ตามลำดับ ทั้งนี้บริษัทขนาดใหญ่ที่อยู่ในธุรกิจ ร้านอาหาร ดีลเลอร์รถยนต์ และโรงแรม มีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโควิค-19 และมีความเสีย่ งท่ีจะผิดนดั ชำระหนม้ี ากกวา่ บรษิ ัทใหญ่ในธุรกจิ อ่ืนๆ (สมประวณิ มนั ประเสรฐิ , 2563) การระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้บริษทั ในประเทศไทยต้องการเงินหมุนเวียนระยะสั้นสูงถึง 1.7 ล้านล้าน บาท หรือราว 10% ของจีดีพี (ประเมินจากจำนวนเงินที่มีไม่เพียงพอต่อการชำระหน้ีของบรษิ ัททั่วประเทศภายใน 1 ปขี ้างหน้า) โดยภาคการคา้ ส่งและค้าปลีกจะต้องการเงินหมุนเวียนราว 4 แสนล้านบาท เพ่ือชำระหน้ีในระยะสั้น หากไม่มีการปรับโครงสร้างหนี้และปรับโครงสร้างธรุ กิจ ในขณะที่ธุรกิจโรงแรม ขนส่งทางอากาศ และร้านอาหาร จะต้องการใช้เงินราว 3 – 5 หมื่นล้านบาท เพื่อความอยู่รอด โดยรวมแลว้ เกือบ 60% ของบริษัทที่ประสบปญั หา จะตอ้ งใชเ้ งินมากกว่า 1 ล้านบาทตอ่ บรษิ ทั เพ่ือผ่านวิกฤตสภาพคลอ่ งในครั้งนี้ (สมประวิณ มันประเสรฐิ , 2563) การปิดสถานประกอบการทำให้แรงงานบางส่วนถูกเลิกจ้าง โดยแรงงานในเมืองใหญ่ที่ทำงานในภาค บรกิ าร โรงแรม และภตั ตาคาร ปรบั ตวั โดยตดั สินใจกลับภูมิลำเนา หากเศรษฐกจิ ไม่ฟืน้ ตัวจะทำให้กลุ่มนี้หางานได้ ยากขึ้น อย่างไรก็ดี ภาครัฐได้เข้ามาเยียวยาอย่างเร่งด่วนโดยแรงงานในระบบได้ รับเงินชดเชยตามเกณฑ์ ประกันสังคม ณ เมษายน 2563 มีสถานประกอบการขอรับสิทธิหยุดชั่วคราว 9 หมื่นราย และมีผู้ขอรับสิทธิ ว่างงาน 4.6 แสนราย รวมทั้งมีการจ่ายเงินเยียวยาตามมาตรา 39 และ 40 แก่ลูกจ้างชั่วคราวและอาชีพอิสระราย ละ 5,000 บาท เปน็ เวลา 3 เดือน ขณะทีภ่ าครัฐมีเงินเยียวยาภายใต้ “โครงการเราไม่ทงิ้ กัน” สำหรบั แรงงานนอก ระบบ ซึ่งมผี ูผ้ า่ นเกณฑ์ 22.3 ล้านราย (ณ วนั ที่ 2 เมษายน 2563) สะทอ้ นถึงความเดอื ดรอ้ นของประชาชนทุกภาค สว่ นเป็นวงกวา้ ง (เสาวณี จันทะพงษ์ และทศพล ตอ้ งห้ยุ , 2563) 1.6 ผลกระทบต่อนสิ ติ พยาบาล 1.6.1 ด้านจติ ใจ ความเครยี ด จากการศกึ ษาของมหาวิทยาลยั ทักษิณ เก่ยี วกับผลสำรวจผลกระทบต่อนิสติ นกั ศึกษาท้ัง 6 สถาบันรวมท้ัง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา พบว่าโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบด้านจิตใจ โดยนิสิตและนักศึกษาตอบว่า เบ่อื หน่าย 15.71% รองลงมาวิตกกงั วล 10.12% และมคี วามเครียด 8.99% (ผู้จดั การออนไลน์, 2563) 1.6.2 ดา้ นการเรยี น จากการศกึ ษาของมหาวิทยาลยั ทักษิณ เกย่ี วกับผลสำรวจผลกระทบต่อนิสิตนักศึกษาท้ัง 6 สถาบนั รวมทั้ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา พบว่าโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบในด้านการเรียนหนังสือ 3 อันดับแรกคือ ไม่เห็นด้วยกับการเรียนออนไลน์เพราะประสิทธิภาพ และประสิทธิผลไม่ดีเท่ากับการเรียนในชั้นเรียน 20.01% รองลงมาการเรียนการสอนออนไลน์ ขาดปฏิสัมพันธ์กับอาจารย์ผู้สอน 19.63% และมีค่าใช้จ่ายในการเรียนการ สอนเพ่ิมข้นึ เช่น คา่ อนิ เทอรเ์ นต็ คา่ โทรศัพท์ 14.80% (ผู้จดั การออนไลน์, 2563)

11 1.6.3ด้านสงั คม จากการศึกษาของมหาวิทยาลัยทักษิณ เกีย่ วกับผลสำรวจผลกระทบต่อนิสติ นักศึกษาท้ัง 6 สถาบนั รวมทั้ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา พบว่าโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน 3 อันดับแรกคือ ความยากลำบากในการใช้ชีวิต 13.78% รองลงมา รายได้ลดลง 12.95% และเกิดความห่างเหินจากเพื่อนและคน รอบข้าง 11.57% การปรับตัว 3 อันดับแรก เห็นว่าการหากิจกรรมทำเพื่อผ่อนคลาย 20.27% รองลงมาคิดว่าใช้ Social network ในการค้นข้อมูลและสื่อสาร 20.09% และดูแลสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิตตัวเองเสมอ 17.16% (ผจู้ ัดการออนไลน์, 2563) 1.6.4ด้านเศรษฐกจิ จากการศึกษาของมหาวิทยาลยั ทักษิณ เกีย่ วกับผลสำรวจผลกระทบต่อนสิ ิตนักศึกษาท้ัง 6 สถาบนั รวมทั้ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสงขลา พบว่าโรคโควิด-19 ส่งผลต่อเศรษฐกิจ โดยนิสิตมีความต้องการความ ช่วยเหลือ 3 อันดับแรก คือ 1. คิดว่าควรลด หรือแบ่งชำระค่าบำรุงการศึกษา 22.09% 2. รองลงมาควรสนบั สนนุ ทุนการศึกษาและค่าครองชีพ 19.03% และ 3. ควรสนับสนุนอุปกรณ์การเรียนออนไลน์ 17.52% (ผู้จัดการ ออนไลน์, 2563) 2. แนวความคดิ เก่ยี วกบั ความเครียด 2.1 ความหมายของความเครียด ความเครียด คือ สิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้เพราะเป็นผลมาจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว จากเหตุการณ์ สถานการณ์ที่ทำให้เกิดความไม่แน่นอนกับสภาพจิตใจจนทำให้เกิดความเครียด มีผู้กล่าวถึงความหมายของ ความเครียดไว้หลากหลายดังนี้ กรมสุขภาพจิต (2548) กล่าวว่า ความเครียด คือเหตุการณ์หรือสภาพใดก็ตามท่ีก่อให้เกิดความลำบากใจ ในการตัดสินใจ ความวิตกกังวลกับความสัมพนั ธ์กับคนบางคน ความวิตกกังวลในความไมแ่ น่นอนของสถานการณ์ หรอื เกิดความรสู้ ึกกลัวอนั ตรายทีเ่ กิดขึ้น Hans Selye (อ้างถึงในปาณิก เวียงชัย, 2558) กล่าวว่า ความเครียดเป็นกลุ่มอาการตอบสนองของ รา่ งกายทเี่ กดิ ขึ้นอยา่ งไม่จำเพาะเจาะจงต่อเซลลท์ ี่มาคุกคามหรือทำอันตราย โดยสง่ิ น้นั มีสาเหตุหรอื ผลมาจากส่ิงที่ พึงประสงค์หรอื ไมป่ ระสงค์กต็ าม ลาซารัสและโฟล์คแมน (อ้างถึงในกรมสุขภาพจิต, 2541) อธิบายว่า ความเครียดหมายถึงภาวะชั่วคราว ของความไม่สมดุล ซึ่งเกิดจากกระบวนการรับรู้ หรือการประเมินของบุคคลต่อสิ่งที่เข้ากับประสบการณ์ว่าสิ่งน้ัน เปน็ สงิ่ ทเี่ ข้าประสบการณ์ว่าส่ิงนน้ั เปน็ ส่ิงคุกคาม โดยเปน็ ผลมาจากการกระทำรว่ มกนั ของสภาพแวดล้อมภายนอก อนั ไดแ้ กส่ ิง่ แวดล้อมในสังคมในการทำงานในธรรมชาติและเหตุการณต์ ่างๆ ในชวี ติ กับปัจจยั ภายในของบุคคล เช่น ทัศนคติ ลกั ษณะประจำตวั อารมณ์ ประสบการณ์อดีต ตลอดจนความต้องการของบคุ คลนน้ั ศรีจันทร์ พรจิราศิลป์ (2554) กล่าวว่า ความเครียดเป็นภาวะของอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อ บุคคลต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ และทำให้รู้สึกกดดัน ไม่สบายใจ วุ่นวายใจ กลัวตกกังวล ตลอดจนถูกบีบคั้น เมื่อ บุคคลรับร้หู รอื ประเมนิ ว่าปญั หาเหล่านน้ั เปน็ ส่ิงทค่ี ุกคามจติ ใจหรืออาจจะก่อให้เกดิ อนั ตรายแกร่ ่างกายจะส่งผลให้ สภาวะสมดลุ ของรา่ งกายและจิตใจเสยี ไป

12 โกวิทย์ นพพร (2561) กล่าวว่า ความเครียด คือภาวะของอารมณ์ความรู้สึกที่ถูกบีบคั้นกดดันทำให้มี อาการแสดงที่ต่างกัน เช่น วิตกกังวล นอนไม่หลับ ซึมเศร้า เป็นต้น บางคนอาจมีอาการประสาทหลอนได้ ซึ่ง โดยทั่วไปแต่ละคนจะมีวิธีการปรับตัวให้ผ่านพ้นไปได้ขึ้นอยู่กับการจัดการความเครียดของแต่ละบุคคล แต่ในบาง คนที่เกิดความเครียดและหาทางระบายออกไม่ได้ หรือเครียดบ่อยๆกลายเป็นความทุกข์ทรมาน จนส่งผลกระทบ ต่อการใชช้ ีวิตประจำวนั อาจทำใหเ้ ปน็ โรคซึมเศรา้ หรอื โรควติ กกังวล คู่มอื การสร้างเสริมสุขภาพสำหรับพระภิกษุตามแนวพระพทุ ธศาสนาโดยสสส. (ปรภทั ร จุฑากุล,2561) ได้ ให้คำจำกัดความความเครียดไว้ว่าเป็นสภาวะจิตใจและร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นผลจากการที่บุคคลต้อง ปรบั ตัวต่อส่งิ กระตุ้นหรอื ส่ิงเร้าตา่ งๆในสิ่งแวดล้อมหรือคุกคามใหเ้ กิดความทุกข์ ความไมส่ บายใจ กลา่ วโดยสรปุ ความเครียด หมายถงึ ภาวะชั่วคราวของอารมณ์ หรือความรู้สกึ ทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ มีการเผชิญกับ ปัญหาใหม่ๆ หรือเกิดจากการกระทำภายในตัวบุคคลเอง และสภาพแวดล้อมภายนอก มีผลคือทำให้มีภาวะจิตใจ เปล่ียนแปลงไป 2.2. ปจั จยั ทสี่ ่งผลใหเ้ กดิ ความเครียดในนสิ ิตพยาบาล 2.2.1 การเรียน หมายถึง กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดย การถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง ความก้าวหน้า ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกดิ จากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้ และปัจจัยเกื้อหนุน ให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนอ่ื งตลอดชีวิต (ราชกิจจานุเบกษา 2542) 2.2.1.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) หมายถึงผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้มาตาม หลักการวัดและประเมินผลที่ครอบคลุมทั้งด้านความรู้ความคิดหรือพุทธิพิสัย ด้านอารมณ์และ ความรู้สึกหรอื จิตพิสยั และด้านทักษะปฏบิ ัตหิ รอื ทักษะพิสัยทผ่ี สู้ อนกําหนดไว้ในชว่ งเวลาใดเวลา หนึ่ง โดยในการศึกษาครั้งนี้ใช้คะแนนเกรดเฉลี่ย (GPA) นับถึงเทอมที่เก็บข้อมูลวิจัย (Uraiwan, 2559) 2.2.1.2 การเรียนออนไลน์ หมายถึง รูปแบบการเรียนการสอนหรือบทเรียนแบบ ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเปิดกว้างอย่างอิสระ โดยสามารถให้ผู้คนที่อยู่แห่งใดก็ได้ ในโลกสามารถเข้ามาสมัครลงทะเบียนเรียนได้ฟรี โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ รวมไปถึงเป็นระบบ การเรียนออนไลน์ที่รองรับผู้เรียนเป็นจำนวนมากอย่างไม่จำกัด และกว้างไกลถึงทั่วโลก (พิสิฐ น้อยวงั คลงั , 2563) 2.2.2 ความวติ กกังวล หมายถึง ความรสู้ กึ กังวลหรือกลัว ตอ่ เหตุการณ์ทีจ่ ะเกิดข้ึนในอนาคตที่ไม่ อาจระบุได้ชัดเจน ซึ่งถือเป็นภาวะทางจิตใจ ความรู้สึกตงึ เครยี ดทางอารมณ์ ไม่สบายกายและไม่สบายใจ รู้สึกหวาดหว่นั ต่อส่งิ คุกคามท่กี ําลงั เผชิญในขณะนัน้ รวมถึงความมน่ั คงปลอดภยั ของตนถูกคุกคาม โดยไม่ ทราบว่าเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร (ตฏิลา จําปาวัลย์, 2561) ในการศึกษาครั้งน้ี สามารถวัดไดจ้ าก https://www.dmh.go.th/covid19/test/covid19/ แบบคดั กรองความวติ กกงั วลต่อ ไวรัส Covid-19 ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขจํานวน 5 ข้อ (กรมสุขภาพจิตกระทรวง สาธารณสุข)

13 2.2.3 วิธีการเผชิญความเครียดใช้การประเมิน 2 ลักษณะ ได้แก่ การประเมินปฐมภูมิเป็นการ ประเมินตัดสินถึงความสำคัญและความรุนแรงของเหตุการณ์นั้นที่มีผลต่อสวัสดิภาพของบุคคลว่าอยู่ใน ลกั ษณะใด และการประเมินทุตยิ ภูมเิ ปน็ การประเมินแหล่งประโยชน์และทางเลอื กต่างๆทบ่ี ุคคลนัน้ มี เพ่ือ จัดการกับเหตุการณ์ที่เกิดข้ึน บุคคลจะประเมินตัดสินว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นเป็นความเครียดหรือไม่ และรุนแรงมากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับ 2 ปัจจัยคือ ปัจจัยด้านตัวบุคคลและปัจจัยด้านสถานการณ์ (Lazarus & Folkman, 1984 อ้างถึงในกีรญา ไทยอู่, 2558) โดยการศึกษาครั้งนี้สามารถวัดได้จากแบบ วัดการเผชิญความเครียดของจาโลวิค (The Jalowiec Coping Scale: JCS) ฉบับปรับปรุงปี ค.ศ. 1988 แปลเป็นภาษาไทย โดยปราณี มิ่งขวัญ (2542) ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องด้วยวิธีการแปลย้อนกลับ (back– translation) โดยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญ ทั้งด้านภาษาไทยและภาษาอังกฤษจํานวน 3 ท่าน ประกอบด้วยข้อคําถามปลายปิดจํานวน 36 ข้อ แบ่งการเผชิญความเครียดออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการมุ่งแก้ปัญหาจํานวน 13 ข้อ ด้านการจัดการกับอารมณ์จํานวน 9 ข้อ และด้านการบรรเทา ความร้สู กึ จํานวน 14 ขอ้ (ณชนก เอียดสุขและคณะ, 2013) 2.3 ผลกระทบของความเครียดในนสิ ติ พยาบาล ความเครียดสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน ทุกสถานการณ์ ความหนักเบาของความเครียดขึ้นอยู่กับสาเหตุ นั้น ผลกระทบของความเครยี ดในนสิ ติ คณะพยาบาลเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปัญหา ภายในครอบครวั สง่ ผลให้ขาดสมาธิไม่สนใจส่ิงรอบตัวมีพฤติกรรมการปรับตัวต่อความเครียดในทางท่ีผิด เช่น การ เที่ยวกลางคืน ดื่มเหล้า สูบบุหร่ี ใช้สารเสพติดมีปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลขาดแรงจูงใจในการทำกิจกรรม ต่างๆ ผลการเรียนตกต่ำมีความบกพร่องในการจัดการกับปัญหาและด้านการตัดสินใจแยกตัวออกจากสังคมไม่ สนใจผู้อื่นขาดความรับผิดชอบและนำไปสู่โรคซึมเศร้าได้ (สืบตระกลู ตันตลานกุ ลุ , 2560) 2.4 ทฤษฎคี วามเครยี ดของลาซารัสและโฟล์คแมน ทฤษฎีของลาซารัสและโฟล์คแมน ได้ให้ความหมายของความเครียดไวว้ ่า ความเครียดเป็นปฏิสัมพันธ์กนั ระหว่างบุคคลและส่งิ แวดลอ้ มมอี ิทธิพลซึ่งกันและกัน เปน็ ภาวะช่วั คราวของความไมส่ มดุล ซ่ึงเกิดจากกระบวนการ รับรู้หรือการประเมนิ ของบุคคลต่อสิง่ ที่เข้ามาในประสบการณ์ว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งอันตรายหรือสูญเสียความเป็นอิสระ คุกคามหรือท้าทายโดยการประเมินสถานการณ์ว่าเป็นความเครียดและมีผลเสยี ต่อสวัสดิภาพหรือความผาสุกของ ตนซ่งึ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเครียด (โรงพยาบาลธัญลักษณ์สงขลา, 2559)

14 กรอบแนวคิดการวิจยั ตัวแปรตาม ตวั แปรอสิ ระ ความเครียด ปจั จัยภายนอกบุคคล GPA ปัจจยั ภายในบุคคล - ความวติ กกงั วล - วธิ กี ารเผชญิ ความเครียด ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั เรื่องความสัมพันธร์ ะหว่างผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น (GPA) ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญความเครียดกบั ความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลัยนเรศวรในชว่ งการระบาด ของโรคโคโรน่าไวรสั การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยท่เี ก่ียวขอ้ ง (Review Literature) มาลีวัล เลิศสาครศิริ (2557) ได้ทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยสิ่งแวดลอ้ ม กับความเคลียดและการจัดการความเครยี ดขณะฝึกปฏิบัติการงานห้องคลอดของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์ หลุยส์ ในกลุ่มนักศึกษาพยาบาลเซนต์หลุยส์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 103 คน ชั้นปีท่ี 4 จำนวน 93 โดยการสุ่มนักศึกษา พยาบาลวทิ ยาลยั เซนตห์ ลุยส์ จำนวน 133 คน ชน้ั ปีที่ 3 จำนวน 70 คน และชัน้ ปีที่ 4 จำนวน 63 คน เปน็ การวจิ ัย เชงิ พรรณนา เพอื่ ศกึ ษาความสัมพันธ์ ตวั แปรทใี่ ช้ในการศกึ ษา คือ ปจั จยั ส่วนบุคคล ปัจจยั สิง่ แวดลอ้ ม ความเครยี ด และการจัดการความเครียด ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 และช้ันปีที่ 4 มีความเครียดขณะฝึก ปฏิบัติงานห้องคลอดอยู่ในระดับปานกลางมีการจดั การความเครียดอยู่ในระดบั ดี ปจั จยั สง่ิ แวดลอ้ มมีความสัมพันธ์ ทางบวกระดับปานกลางกับการจัดการความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (r = .46) แต่ด้าน สัมพันธภาพกับอาจารย์สถานที่ฝึกปฏิบัติงานหรือสภาพแวดล้อมมีความสัมพันธ์ทางลบระดับต่ำกับความเครียด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = -26 และ 24 ตามลำดับ) สำหรับปัจจัยสว่ นบุคคลไม่มีความสัมพันธ์กับ ความเครียดและการจัดการความเครียดจึงมีข้อเสนอแนะว่าอาจารย์ควรมีการจัดโปรแกรมการจัดการกับ ความเครียดเพ่ือเปน็ สว่ นหน่ึงในการเตรยี มความพรอ้ มของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกปฏิบัติการพยาบาล วิไลพร ขำวงษ์, สดุ คนึง ปลง่ั พงษ์พันธ์ และทานตะวัน แยม้ บุญเรือง (2559) ได้ทำการศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างระดับความเครียดกับสาเหตุของความเครียด และการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาล ใน วิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก ในกลุ่มนักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาอยู่ในวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนกภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 29 แห่ง โดยการสุ่มนักศึกษาพยาบาลท่ี กำลงั ศกึ ษาในวิทยาลัยพยาบาลสังกัดสถาบันพระบรมราชชนกภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2557 โดยเลือกวิทยาลัย พยาบาลจาก 5 เครือข่ายเครือข่ายละ 2 วิทยาลัย เป็นการวิจัยแบบพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ (correlation

15 descriptive research) ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา คือ ระดับความเครียด สาเหตุของความเครียด การจัดการ ความเครียด ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของความเครียดทั้ง 8 ด้านมีความสัมพันธท์ างบวกระดับปานกลางกับระดบั ความเครยี ดของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญ ดา้ นสาเหตุในอนาคตมีความสัมพันธก์ ับระดบั ความเครียดมาก ทส่ี ดุ (r = 0.54) รองลงมาคอื ดา้ นการจดั สรรเวลา (r = 0.46) และดา้ นที่มีความสัมพันธก์ บั ระดับความเครียดน้อย ที่สุด คือด้านระเบียบของสถานศึกษา (r = 0.34) ส่วนการจัดการความเครียดพบว่ามีเพียงสองด้านที่มี ความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับระดับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญคือการจัดการความเครียดโดยการระบาย ความรู้สกึ (r = 0.16) และการทำกจิ กรรมนนั ทนาการด้วยการฟงั เพลง (r = 0.11) ทิวาพร ฟูเฟ่อื ง และกัญญาวรี ์ โมกขาว (2562) ได้ทำการศกึ ษาปจั จัยท่ีมีความสัมพันธ์กับความเครียดของ นกั ศึกษาพยาบาลช้นั ปีท่ี 1 สถาบนั อุดมศกึ ษาในกำกบั ของรัฐและเอกชน ในกลมุ่ นักศกึ ษาพยาบาลชัน้ ปีท่ี 1 ระดับ ปริญญาตรภี าคเรียนที่ 2 ประจำปกี ารศึกษา 2561 ของสถาบนั อดุ มศึกษาในกำกับของรฐั และสถาบันอุดมศึกษาใน กำกับของเอกชนจำนวนนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 รวมทั้งหมด 215 คน โดยการสุ่มนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรีภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2561 ของสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐและ สถาบันอดุ มศึกษาในกำกับของเอกชน รวมตัวอย่างจำนวนท้งั สิ้น 175 คน เปน็ การวจิ ัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา คือ ตัวแปรต้นเป็นปัจจัยภายนอก ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน ทักษะใน การเรยี น และความสัมพนั ธ์กับบุคคลอืน่ ตวั แปรตาม คือ ความเครียด ผลการวิจยั พบวา่ ความเครียดของนักศึกษา พยาบาลชั้นปีที่ 1 สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐและเอกชน โดยรวมอยู่ในระดับรุนแรง รองลงมาคือ มี ความเครียดอยู่ในระดับสูง ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเครียดในระดับสูง คือ ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (M = 3.58, S.D. = 0.59) และปัจจัยที่สัมพันธ์กับความเครียดในระดับปานกลาง ได้แก่การจัดการเรียนการสอน (M = 3.11, S.D. = 0.72) และทักษะในการเรยี น (M = 3.08, S.D. = 0.74) โดยปจั จัยทงั้ 3 ปจั จยั ได้แก่ ปจั จัยด้านการจดั การ เรียนการสอน ทกั ษะในการเรยี นและความสมั พันธ์กบั บุคคลอน่ื มีความสัมพนั ธ์กับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิตทิ ี่ระดับ .05 พันธนุ์ ภา กติ ติรตั นไพบูลย์ และคณะ (2563) ไดท้ ำการศึกษาแนวโน้มและปัจจัยทีม่ ีผลต่อระดับสุขภาพจิต คนไทย: สำรวจระดับชาติปี พ.ศ. 2561 ในกลุ่มประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปในช่วงปี 2551-2561 โดยการสุ่ม ประชากรไทยอายุ 15 ปีข้ึนไป 27,190 คน เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรภาคตัดขวาง (population based cross-sectional survey) ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา คือ สุขภาพจิตและปัจจัยที่มีผลต่อระดับสุขภาพจิตของคน ไทยในปี 2561 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงระดับสุขภาพจิต ผลการวิจัยพบว่า คะแนนสุขภาพจิตเฉลี่ยของคนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไปเท่ากับ 31.60 คะแนน จากคะแนนเต็ม 45 คะแนน เป็นผู้มีสุขภาพจิตเท่ากับคนทั่วไปร้อยละ 63.10 มีสุขภาพจิตสูงกว่าคนทั่วไปร้อยละ 21.10 และมีสุขภาพจิตต่ำกว่าคนทั่วไปร้อยละ 15.80 แนวโน้มผู้มี สุขภาพจิตต่ำกวา่ คนท่วั ไปมสี ัดสว่ นมากกวา่ ค่าเฉล่ีย 10 ปยี อ้ นหลงั แต่นอ้ ยกว่าค่าเฉลย่ี 5 ปีย้อนหลัง คะแนนด้าน สมรรถภาพจติ ใจและคณุ ภาพจิตใจในวยั ร่นุ และผ้ใู หญต่ อนตน้ ต่ำกวา่ กลุ่มวยั อื่น สว่ นคะแนนด้านการสนบั สนุนทาง สังคมต่ำที่สุดในกลุ่มผู้สูงอายุ การมีสุขภาพจิตดีสัมพันธ์กับการมีความสมั พันธ์กับสมาชิกในครัวเรือนดี สถานภาพ สมรสคู่ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาขน้ึ ไป และการปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนา

16 ธรรมศักดิ์ สายแก้ว, สุนันทา ศรีศิริ และสมฤดี สายหยุดทอง (2562) ได้ทำการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ ความเครียดของนักศึกษาสาธารณสุขศาสตร์ในวิทยาลัยสหเวชศาสตร์ ในกลุ่มนักศึกษาสาธารณ สุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดสมุทรสงครามชั้นปีที่ 1 - 3 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 189 คน โดยการสุ่มนักศึกษาสาธารณสุขศาสตร์ วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดสมุทรสงครามชั้นปีที่ 1 - 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา เป็นการวิจัยแบบภาพตัดขวาง (Crossectional study) ตัวแปรท่ีใชใ้ นการศึกษา คอื ปจั จยั สว่ นบคุ คล และ ระดับ ความเครียดของนักศึกษา ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีภาวะความเครียด ร้อยละ 49 ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ บุคลิกภาพส่วนบุคคล และปัจจัยด้านการเรียน ได้แก่ ชั้นปีการศึกษา มีความสัมพันธ์กับระดับความเครียดของ นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี 0.005 และ 0.001 ตามลำดับ แต่เมื่อนำเข้า สมการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก ดว้ ยวธิ ี Forward Stepwise ผลการศึกษาพบว่า ตัวแปรกล่มุ นักศึกษาชั้นปีท่ี 2 มีความเครยี ดมากกว่ากลุ่มนักศึกษาชั้นปีท่ี 1 เป็น 3.178 เท่า (95% CI : 1.643 – 6.148) อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ 0.016 และบุคลิกภาพแบบ A มีความเครียดมากกว่า กลุ่มบุคลิกภาพแบบ B 2.278 เท่า (95% CI : 1.164 – 4.459) อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ 0.012 สมบัติ ริยาพันธ์ และนิยดา ภู่อนุสาสน์ (2552) ได้ทำการศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด และ พฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิต ในกลุ่มพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จํานวน 2,566 คน โดยการสุ่มพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลในสังกัดสํานักการแพทย์ กรงุ เทพมหานคร จาํ นวน 346 คน เป็นการวิจยั เชงิ พรรณนา (descriptive research) ตัวแปรที่ใชใ้ นการศกึ ษา คือ ปัจจัยส่วนบคุ คล ระดับความเครียด และพฤตกิ รรมการดแู ลตนเองดา้ นสขุ ภาพจติ ผลการศกึ ษาพบวา่ ความเครียด ของพยาบาลวิชาชพี กลมุ่ ตวั อย่าง โดยเฉลี่ยอย่ใู นระดับมาก ( x = 3.74, S.D. = .84) พฤตกิ รรมการดูแลตัวเองด้าน สุขภาพจิตของพยาบาลวิชาชีพกลุ่มตัวอย่าง โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านการ พัฒนาการรู้จักตนเองมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ( x = 2.84, S.D. = .68) และด้านการพัฒนาและดำรงรักษาระบบ สนับสนุนทางสงั คมมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ( x = 2.54, S.D. = .69) ความสัมพันธร์ ะหว่างปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา รายได้หนี้สิน แผนกงานที่ปฏิบัติ ระยะเวลาการทํางานในวิชาชีพพยาบาล โรคประจําตัวไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตของพยาบาลวิชาชีพ ยกเว้น ตําแหน่ง ในการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตัวเองด้านสุขภาพจิตอย่าง มีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .01) ความเครียด มีความสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิตอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = -.485) ความเครียด หน้ีสิน และตําแหน่งในการปฏิบัติงานสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมการดูแล ตนเองด้านสุขภาพจติ ของพยาบาลวชิ าชีพ ได้อย่างมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ (P < .001) โดยสามารถรว่ มกนั พยากรณ์ได้ ร้อยละ 26.00 เขียนสมการพยากรณ์พฤติกรรมการดูแลตนเอง ด้านสุขภาพจิตของพยาบาลวิชาชีพในรูปคะแนน มาตรฐานได้ดังนี้ Z = -0.479 (ความเครียด) - 0.108 (หนี้สิน) + 0.108 (ตาํ แหนง่ ในการปฏบิ ัติงาน) อนพุ งศ์ จนั ทร์จุฬา และซัยฟุดดนี ชานาญ (2559) ได้ทำการศึกษารายงานการวิจยั เรื่อง ความเครียดและ การเผชิญความเครียดของผู้ป่วยชายที่เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติด ระยะฟื้นฟูสมรรถภาพโรงพยาบาลธัญญา รักษส์ งขลา ในกลุม่ ผู้ปว่ ยชายใชย้ าเสพติดทุกชนดิ ทีเ่ ข้า รบั การบำบัดรักษายาเสพติดโดยเข้า รบั การรักษาในระยะ

17 ฟื้นฟูสมรรถภาพในโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา โดยการสุ่มผู้ป่วยชายที่เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติด ระยะ ฟื้นฟูสมรรถภาพโรงพยาบาลธัญญารักษ์ในภาคใต้จำนวน 85 คน เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research) ตวั แปรท่ใี ช้ในการศกึ ษา คอื ความเครยี ด และการเผชญิ ความเครียดของผู้ปว่ ยทเ่ี ขา้ รับการบำบัดรักษา ยาเสพติด ระยะฟื้นฟูสมรรถภาพโรงพยาบาลธัญญารักษ์สงขลา ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคร้งั นี้ มีอายุระหว่าง 26 ถึง 35 ปี ร้อยละ 45 รองลงมามีอายุระหว่าง 17 ถึง 25 ปี ร้อยละ 40 อายุเฉลี่ย 27.9 8 ปี จำนวนครั้งของการบำบัดรักษา 1-2 ครั้ง ร้อยละ 91 กลุ่มตัวอย่างเข้ารับการบำบดั รักษาด้วยระบบสมัครใจรกั ษา ร้อยละ 62 ยาเสพติดหนักเกินครึ่งคือ ยาบ้า ร้อยละ 62 ใช้วิธีการสูบสูดควัน ร้อยละ 84 ระยะเวลาในการเสพยา อยู่ระหว่าง 1 ถึง 5 ปี ร้อยละ 35 ระยะเวลาในการเสพเฉลี่ย 8.88 ปี นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 67 ศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้นร้อยละ 37 มีสถานภาพโสดร้อยละ 60 เกนิ ครึง่ หน่งึ มีจำนวนรับจ้างร้อยละ 49 ทง้ั น้ีผู้ดูแลหลัก เปน็ บดิ ามารดาร้อยละ 74 กรี ตญิ า ไทยอู่ (2558) ได้ทำการศกึ ษาความเครียดและการเผชญิ ความเครยี ดของผู้ดูแลผสู้ ูงอายโุ รคจิตเวช ในกลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป โดยผู้สูงอายุได้รับการ วนิ ิจฉยั ทางแพทย์ว่าเป็นโรคจติ เวชซ่ึงปจั จุบนั ไดร้ ับการรกั ษาและพกั อาศัยอยใู่ นอำเภอเกาะคา จงั หวัดลำปาง โดย ได้ให้ดูแลผู้สูงอายุมาแล้วอย่างน้อย 6 เดือน โดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจำนวน 82 รายได้จากการเลือกแบบ เฉพาะเจาะจงซึง่ มคี ุณสมบตั ดิ งั นี้ 1.) กลุ่มผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคจติ เวชซ่ึงเป็นผู้สูงอายทุ ี่ได้รับการวินิจฉัยโรคภายใน 2 กลุ่มคอื ผูส้ งู อายุโรคจติ เภทพฤติกรรมแบบโรคจติ เภทและโรคหลงผดิ ผู้สูงอายุความผิดปกตทิ างอารมณ์ 2.) ผู้ดูแล ผู้สูงอายุโรคจิตเวชยินยอมในการเข้าร่วมการวิจัย 3.) ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคจิตเวชที่มีอายุมากกว่า 18 ปีขึ้นไป 4 ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคจิตเวชต้องมีการรับรู้ปกติสามารถรับรู้และสื่อสารเข้าใจภาษาไทย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา คือ ความเครียด วิธีการเผชิญความเครียด ผู้ดูแลผูส้ งู อายุโรค จิตเวช ผลการวิจัยพบว่า ผ้ดู แู ลผู้สงู อายโุ รคจติ เวชที่อยใู่ นเขตพืน้ ท่ีอำเภอเกาะคา จังหวดั ลำปางทีศ่ กึ ษาจำนวน 82 คนแบ่งเปน็ ชาย 31 คนรอ้ ยละ 37.80 และเพศหญงิ 51 คนร้อยละ 60 2.2 โดยอยู่ในชว่ งอายุ 25 ถึง 40 ปีจำนวน 16 คนรอ้ ยละ 1.50 อยใู่ นชว่ งอายุ 41 ถึง 50 ปจี ำนวน 20 คนร้อยละ 24.4 อยใู่ นช่วงอายุ 51 ถงึ 60 ปีจำนวน 21 คนร้อยละ 15.60 อยู่ในช่วงอายุ 61 ถึง 70 ปีจำนวน 16 คนร้อยละ 19.50 อยู่ในช่วงอายุ 71-80 ปีจำนวน 7 คน รอ้ ยละ 8.50 และอย่ใู นช่วงอายุมากกว่า 80 ปจี ำนวน 2 คนคดิ ร้อยละ 2.40 ส่วนสถานภาพการสมรสพบว่า ส่วน ใหญ่อยู่ในสถานภาพสมรสจำนวน 64 คนคิดเป็นร้อยละ 70 8.0 รองลงมาเป็นสถานภาพโสดและหม้ายหย่าร้าง ร้อยละ 7.10 และร้อยละ 4.90 ตามลำดับ ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระดับความเครียด พบว่ากลุ่มตัวอยา่ งทั้งหมดมีคะแนนความเครียดอยู่ในระหว่าง 54 ถึง 120 คะแนนโดยมีค่าเฉลย่ี และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานของคะแนนความเครียดเท่ากับ 9.80 และ 14.14 ตามลำดับและพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 58.5 มีระดบั ความเครียดอยใู่ นระดบั สูง สิริทรัพย์ สีหะวงษ์ และคณะ (2562) ได้ทำการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของนักศึกษาคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในกลุ่มคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 294 ราย โดยการสุ่มกลมุ่ ตัวอยา่ งคือนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั อุบลราชธานีต้ังแต่ชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 ทุกรายภาคการศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2560 รวมจำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 294 ราย เป็นการ

18 วิจัยเชิงพรรณนาแบบหาความสัมพันธ์ ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา คือ ตัวแปรต้น คือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียด ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ตัวแปรตาม คือ ความเครียด ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของ นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พบว่ามีนักศึกษาพยาบาลที่มีรายรับในแต่ละเดือนไม่ เพียงพอต่อรายจ่ายจำนวน 52 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.75 และยังพบว่านักศึกษาพยาบาลมีโรคประจำตัวจำนวน 26 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.84 ผลการศึกษาระดับความเครียดของนักศึกษาพยาบาลพบว่านักศึกษาพยาบาลส่วน ใหญ่มีความเครียดในระดับสูงจำนวน 152 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.70 ระดับปานกลางจำนวน 82 ราย คดิ เป็นร้อย ละ 27.90 มคี วามเครยี ดระดับรนุ แรงจำนวน 59 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20.10 และมีความเครยี ดในระดบั นอ้ ยจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.30 ตามลำดับ ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดและปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความเครียดของนักศึกษาพยาบาลพบว่า ปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคล ด้านการเรียน ด้านการทำกิจกรรม ด้าน สัมพันธภาพ ด้านความคาดหวังและด้านเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์กับความเครียดของนักศึกษาพยาบาลอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสําคัญ 0.01 จากการวิเคราะห์พบว่า แนวทางการจัดการความเครียดนักศึกษา พยาบาล เลือกใช้มากที่สุด 5 อันดับแรกได้แก่ การนันทนาการด้วยการเล่นดนตรีร้องเพลงฟังเพลงจำนวน 188 ราย รองลงมาคือปรึกษาผู้อื่น 146 ราย ดูละครซีรสี ์ภาพยนตรจ์ ำนวน 140 รายการนอนหลบั จำนวน 84 ราย และ การรับประทานอาหารคลายเครียด 50 ราย ตามลำดับ จากการวิเคราะห์พบว่านักศึกษามีความต้องการการ ช่วยเหลือในการจัดการความเครียดมากที่สุดด้วยการจัดห้องนันทนาการจำนวน 54 ราย รองลงมาคือให้โอกาสใน การเลือกเข้าร่วมกิจกรรมของคณะและมหาวิทยาลัยตามความสมัครใจจำนวน 48 รายและให้จัดกิจกรรม นันทนาการเช่น จดั สวนหย่อมและปลูกตน้ ไมจ้ ำนวน 34 ราย สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา, พัชรี ตันศิริ และลักษณา อินทร์กลับ (2543) ได้ทำศึกษาความวิตกกังวลและการ เผชิญปัญหาในพยาบาลจบใหม่ ในกลุ่มพยาบาลที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2541 จากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ลและเรม่ิ ปฏิบัติงานต้ังแต่เดือนเมษายน 2541 จำนวน 257 คน โดยการสุ่มพยาบาลที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2541 จากคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และเริ่มปฏิบัติงานตั้งแต่เดือนเมษายน 2541 จำนวน 257 คน เป็นการวิจัยเชิง บรรยาย (descriptive research) ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา คือ ความวิตกกังวลและการเผชิญปัญหา ผลการวิจัย พบว่า พบว่า คะแนนความวิตกกังวลขณะเผชิญและพฤติกรรมเผชิญความเครียดมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ p <.01 (FF, 31) โดยมีคะแนนด้านการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นสูงกว่าคะแนนด้านอารมณ์ เช่น การศึกษาของลาซารัสและโฟล์คแมน (Lazarus & Folkman, 1980) พบว่าพฤติกรรมเผชิญความเครียดในหญิง และชายวัยกลางคนร้อยละ 98 ของกลุ่มตัวอย่างใช้พฤติกรรมเผชิญความเครียดร่วมกันทั้ง 2 แบบ ซึ่งพฤติกรรม ดงั กลา่ วอาจส่งเสริมซ่ึงกนั และกนั

19 บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน รปู แบบการวจิ ัย การศึกษานี้เป็นงานวิจัยเชิงความสัมพันธ์ (Cross-sectional, Correlational research design) เพ่ือ ศกึ ษาความสัมพนั ธ์ของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ความวิตกกงั วล และวธิ กี ารเผชญิ ความเครยี ด กับความเครียดของ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส ซึ่งผู้วิจัยได้กำหนด ประชากร กลุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ ขอ้ มูล โดยมรี ายละเอียดดงั ต่อไปนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 1. ประชากร ประชากรทใ่ี ช้ในการวิจยั ครั้งน้ี คอื นิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปกี ารศึกษา 2563 โดยแบง่ ออกเปน็ 4 กลมุ่ ดงั นี้ 1.1 นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชน้ั ปที ี่ 1 จำนวน 117 คน 1.2 นิสิตคณะพยาบาลศาสตรช์ น้ั ปที ่ี 2 จำนวน 133 คน 1.3 นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรช์ น้ั ปีที่ 3 จำนวน 117 คน 1.4 นิสิตคณะพยาบาลศาสตรช์ น้ั ปที ่ี 4 จำนวน 125 คน 2. กลุม่ ตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ดงั น้ี 1) นสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรช์ ั้นปีที่ 1 2) นสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรช์ ั้นปที ่ี 2 3) นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ช้ัน ปีท่ี 3 4) นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 4 โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Sampling) ตาม ข้ันตอนตอ่ ไปนี้ 2.1.ทำการรวบรวมรายชอ่ื นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรช์ ้นั ท่ี 1-4 2.2.แบ่งกลุ่มของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรต์ ามช้นั ปี ได้ 4 ชนั้ ปี กล่มุ ท1่ี นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชน้ั ปที ่ี 1 กลมุ่ ท2่ี นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชัน้ ปีที่ 2 กลมุ่ ท3่ี นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรช์ ้ันปที ี่ 3 กลุ่มท4่ี นสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรช์ น้ั ปที ี่ 4 3. เลือกขนาดตัวอย่างกล่มุ ประชากรของ กลุ่มท่ี 1 กลมุ่ ท่ี 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane,1976)

20 การคำนวณกลุ่มตวั อย่าง สูตรของยามาเน่ กาํ หนดให้ n = กล่มุ ตวั อยา่ งท่ีคํานวณได้ N = ประชากรตัวอย่างทง้ั หมด e = คา่ คลาดเคล่อื นทางสถิติ 0.05 แทนคา่ ในสตู ร (117 + 133 + 117 + 125) n = 1 + (117 + 133 + 117 + 125)(0.052) 492 n = 2.23 n = 220.63 จากการคำนวณ ไดข้ นาดกล่มุ ตัวอย่างจำนวน 220 คน ได้เพิม่ จำนวนกลุ่มตัวอย่างอีกร้อยละ 10 (22 คน) เพ่ือป้องกนั การสูญหายของกลมุ่ ตวั อย่างในระหว่างการเก็บข้อมูลรวมเปน็ ตวั อยา่ งที่คำนวณได้ 242 คน จึงได้กลุ่ม ตัวอย่างนิสิตพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 1 จำนวน 58 คน ชั้นปีที่ 2 จำนวน 65 คน ชน้ั ปีที่ 3 จำนวน 58 คน และชั้นปที ่ี 4 จำนวน 61 คน กล่มุ ประชากร จำนวน การคำนวณกลุ่มตวั อยา่ ง กลมุ่ ตัวอย่าง ประชากร นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชนั้ ปีที่ 1 117 117 58 n = 492 ������242 = 57.50 133 นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชน้ั ปที ่ี 2 133 n = 492 ������242 = 65.40 65 นิสติ คณะพยาบาลศาสตรช์ ัน้ ปีท่ี 3 117 117 58 n = 492 ������242 = 57.50 125 นิสิตคณะพยาบาลศาสตรช์ ัน้ ปีที่ 4 125 n = 492 ������242 = 61.40 61 รวม 492 242 กำหนดระดับความเชื่อมัน่ (α) = .05 อำนาจการทดสอบ (1-β) = .90

21 การไดม้ าซงึ่ กลุ่มตัวอยา่ ง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random sampling) โดยที่สมาชิกของกลุ่มประชากรทุก ระดับชั้นมีโอกาสเท่าๆกัน และเป็นอิสระต่อกัน จะไม่มีผลกระทบต่อการเลือกกลุ่มตัวอย่างในระดับชั้นอื่น โดยใช้ การสุ่มจากโปรแกรม Excel เกณฑ์คดั เขา้ การศึกษา (Inclusion criteria) มีดงั ต่อไปน้ี นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 1-4 เพศหญิง และเพศชายสามารถอ่านและสื่อสารภาษาไทยได้มีความ ยนิ ยอมทจี่ ะเข้าร่วมในการศกึ ษาครง้ั น้ี เกณฑค์ ัดออกจากการศกึ ษา (Exclusion criteria) มีดังต่อไปน้ี 1. กลุ่มตัวอยา่ งไมย่ ินยอมในการเข้าร่วมการวจิ ยั 2. กล่มุ ตวั อย่างดรอปการศึกษาระหว่างเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3. กล่มุ ตัวอย่างพน้ สภาพการเป็นนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ 4. กล่มุ ตวั อยา่ งเจบ็ ป่วยรุนแรงระหวา่ งเกบ็ รวบรวมข้อมลู แหลง่ ทีท่ ำการศกึ ษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวจิ ยั เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 ชุด ประกอบด้วย ชุดที่ 1 แบบสอบถามข้อมลู ส่วนบคุ คล ชดุ ที่ 2 แบง่ เป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย สว่ นที่ 1 แบบประเมินความเครยี ด ส่วนที่ 2 แบบประเมนิ ความวิตกกงั วล และส่วนท่ี 3 แบบวัดการเผชญิ ความเครียด ดงั นี้ 1. แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ซ่ึงพฒั นาโดยนักวิจัย เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสว่ นบุคคลของนักศึกษา มี ทัง้ หมด 4 ข้อ ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ชนั้ ปกี ารศึกษา ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน (GPA) 2. แบบประเมินความเครียด (ST-5) เพื่อใช้วัดระดับความเครียดในช่วงการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส จำนวน 5 ข้อ พัฒนาโดยกรมสุขภาพจิต (2563) เป็นเครื่องมือชนิดมาตราส่วน (rating scale) มี 4 ระดับ มีการ ให้คะแนน ดังนี้ แทบไม่มี 0 คะแนน เป็นบางครั้ง 1 คะแนน บ่อยครั้ง 2 คะแนน เป็นประจำ 3 คะแนน เกณฑ์ การแปลผลคะแนน คือ คะแนน 0-4 เครียดน้อย คะแนน 5-7 เครียดปานกลาง คะแนน 8-9 เครียดมาก คะแนน 10-15 เครียดมากที่สุด มีการแปลผลคือ มีค่าความเชื่อมั่น 0.71 จากการศึกษาในงานของ อารยา สัมพันธพงษ์, สรุ ชาติ ณ หนองคาย และดุสิต สุจริ ารตั น์ (2558) ในงานวิจยั น้ไี ม่ไดห้ าความตรงของเคร่อื งมือ เนอ่ื งจากไมไ่ ด้มีการ ดดั แปลงเครื่องมือ 3. แบบคัดกรองความกังวลต่อไวรัส COVID-19 จำนวน 5 ข้อ พัฒนาโดยกรมสุขภาพจิต (2563) เป็น เครื่องมือชนิดมาตราส่วน (rating scale) มี 3 ระดับ มีการให้คะแนน ดังนี้ ไม่กังวล 1 คะแนน กังวลบ้าง/กังวล เลก็ น้อย 2 คะแนน กงั วลมาก 3 คะแนน แปลผลคะแนน คือ 5-6 กังวลตำ่ 7-11 กังวลปานกลาง 12 คะแนนขึน้ ไป กังวลระดับสูง และแบบคัดกรองความกังวลต่อไวรัส COVID-19 ยังไม่ทราบค่าความเชื่อมั่น และความตรง เน่ืองจากเป็นเครือ่ งมือใหม่ ในงานวจิ ยั น้ไี ม่ไดห้ าความตรงของเครอื่ งมือ เนือ่ งจากไม่ได้มีการดดั แปลงเครื่องมือ

22 4. แบบวัดการเผชิญความเครียด จำนวน 36 ข้อ พัฒนาโดยปราณี มิ่งขวัญ (2542) ซึ่งแปลและดัดแปลง จากแบบวดั การเผชิญความเครยี ดของจาโลวิค (Jalowiec, 1988) เปน็ เครื่องมือชนิดมาตราส่วน (rating scale) มี 5 ระดับ มีการให้คะแนนดังนี้ ไม่เคย 1 คะแนน นานๆคร้ัง 2 คะแนน บางครั้ง 3 คะแนน บ่อยครั้ง 4 คะแนน เกือบทุกครั้ง 5 คะแนน เกณฑ์การแปลผลคะแนนแบ่งวิธีการเผชิญความเครียดเป็น 3 ด้าน ได้แก่ (1) การ เผชิญหน้ากับปัญหา จำนวน 13 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ตามช่วงคะแนน คือ 5 - 25 หมายถึง การเผชิญหน้า กบั ปญั หาระดับตำ่ มากกว่า 25 - 45 หมายถึง การเผชญิ หน้ากับปญั หาระดับปานกลาง มากกว่า 45 - 65 หมายถึง การเผชิญหน้ากับปัญหาระดับสูง (2) ด้านการจัดการกับอารมณ์ จำนวน 9 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ตามช่วง คะแนน คือ 5.00 - 18.33 หมายถึง การจัดการกับอารมณ์ระดับต่ำ 18.34 - 31.66 หมายถึง การจัดการกับ อารมณ์ ระดบั ปานกลาง 31.67 - 45.00 หมายถึง การจัดการกบั อารมณ์ ระดับสงู และ (3) ด้านการบรรเทาปญั หา จำานวน 14 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ตามช่วงคะแนน คือ 5.00 - 26.67 หมายถึง การบรรเทาปัญหา ระดับต่ำ 26.68 - 43.35 หมายถงึ การบรรเทาปญั หา ระดับปานกลาง 43.36 - 70.00 หมายถงึ การบรรเทาปญั หา ระดับสงู มีการแปลผลค่าความเชื่อมั่น คือ 0.86 จากการศึกษาในงานของ ปราณี มิ่งขวัญ (2542) ในการศึกษาครั้งนี้ได้มี การดัดแปลงแบบสอบถาม และนำไปหาค่าความตรงของเครื่องมือ (Content validity: CVI) ได้ค่าความตรง เท่ากบั 0.60 จากนัน้ นำไปปรกึ ษากบั อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาประจำกลุ่ม เพอ่ื ดดั แปลงข้อคำถามใหห้ มาะสม การตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือประกอบด้วย การตรวจสอบความตรงของเนื้อหา (Content validity) และการตรวจสอบคา่ ความเช่อื มน่ั (Reliability) ซ่ึงมีรายละเอียดดังต่อไปน้ี • การตรวจสอบความตรงของเน้อื หา (Content validity) แบบวัดการเผชิญความเครียด จำนวน 36 ข้อ ได้นำมาดัดแปลงและพัฒนาแบบสอบถาม จากนั้นนำไปให้ ผูท้ รงคณุ วฒุ ทิ ี่มีความเช่ียวชาญด้านการวจิ ัย จำนวน 3 ทา่ น ตรวจสอบความตรงของเน้ือหา จากนนั้ ผูว้ จิ ัยปรบั ปรุง แก้ไขตามความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ และนำมาหาดัชนีความตรงของเนื้อหา (Content Validity Index : CVI) ซง่ึ ได้คา่ 0.60 จากนนั้ นำไปปรกึ ษากับอาจารย์ทปี่ รึกษาประจำกลมุ่ เพ่อื ดดั แปลงข้อคำถาม ใหห้ มาะสม • การตรวจสอบค่าความเชอ่ื ม่นั (Reliability) ผู้วิจัยนำไปหาค่าความเชื่อม่ัน กับนิสิตที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุม่ ตวั อย่าง จำนวน 30 คน หลังจากนนั้ นำมาหาคา่ ความเช่ือมั่น โดยใช้สมั ประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค แปลผลได้ดงั นี้ 1. แบบประเมินความเครยี ด (ST-5) ได้ค่าความเชือ่ ม่ันที่ .85 2. แบบคัดกรองความกังวลตอ่ ไวรสั COVID-19 ได้ค่าความเชือ่ มนั่ ท่ี .68 3. แบบวัดการเผชิญความเครยี ด ได้ค่าความเช่ือม่ันท่ี .94 การพิทักษ์สิทธกิ์ ลุม่ ตวั อยา่ ง ภายหลังโครงการได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อนที่จะดำเนินการเก็บข้อมลู ผู้วิจยั มีการแจ้งวัตถุประสงค์ กระบวนการเก็บข้อมูล ผลลัพธ์และผลประโยชน์ท่จี ะ ไดร้ ับแก่กลุ่มตัวอย่างให้ชัดเจน และเปิดโอกาสให้ซกั ถาม มกี ารพิทักษส์ ิทธโิ์ ดยชีแ้ จงรายละเอยี ดเกยี่ วกับการปกปิด

23 เป็นความลบั ไม่ระบชุ ่ือในแบบสอบถาม และกลมุ่ ตัวอย่างจะได้รับความมน่ั ใจว่าหากกลุ่มตวั อย่างที่ไม่ต้องการเข้า ร่วมการวิจัยสามารถขอยกเลิกการตอบแบบสอบถามหรือถอนตัวจากการศึกษาเมื่อใดก็ได้ สำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ สมัครใจเข้าร่วมการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยจะให้กลุ่มตัวอย่างเซ็นใบยินยอม (inform consent) หากกลุ่มตัวอย่างอายุ ไม่ถงึ 20 ปี ผ้วู จิ ัยจะใหผ้ ปู้ กครองหรือผู้กระทำแทนของกลุ่มตวั อย่างเซ็นใบยินยอมก่อนเก็บข้อมูล และในระหว่าง ทีท่ ำการเก็บข้อมลู หากกลุม่ ตัวอย่างเกิดความไมส่ บายใจ หรือรสู้ ึกเหนื่อยล้าในขณะที่ตอบแบบสอบถาม สามารถ หยุดพักได้ เมื่อรู้สึกดีขึ้นจึงกลับมาตอบแบบสอบถามอีกครั้ง และสามารถถอนตัวจากการวิจัยได้ทุกเมื่อ และจะมี การเกบ็ รักษาขอ้ มูลไว้เป็นความลับ โดยแบบสอบถามจะใช้การเรยี งลำดับตามตวั เลข ไม่มีการลงช่อื กลุ่มตวั อย่างใน แบบสอบถามนั้น ไม่เปิดเผยชื่อหรือที่อยู่ของผู้เข้าร่วมการวิจัย ข้อมูลจะถูกเก็บในตู้ที่ใส่กุญแจไว้ตลอดเวลา คอมพิวเตอร์มีรหัสผา่ น มเี พียงผ้วู ิจัยและผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านัน้ ที่จะสามารถเขา้ ถึงข้อมูลนี้ ผ้วู ิจัยได้ให้ชื่อ ที่อยู่ เบอร์ โทรศัพท์ ทส่ี ามารถตดิ ตอ่ ได้ให้แกก่ ลุ่มตัวอย่าง และมกี ารนำเสนอผลการวิจยั ในภาพรวมตามวัตถุประสงค์ของการ วิจัยในครั้งนี้เท่านั้น ในกรณีที่เกิดปัญหาทางด้านจิตใจ อันเนื่องมาจากการเก็บข้อมูลนี้ ผู้วิจัยจะทำก ารปรึกษา อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาโครงการวิจยั เพอ่ื ให้ความชว่ ยเหลอื ทีเ่ หมาะสมต่อไป และเอกสารจะถูกทำลายหลงั จากวิจัยเสร็จ ภายใน 5 ปี ข้ันตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ภายหลังได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใชแ้ บบสอบถาม ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1. ทำหนังสือขออนุญาตเก็บรวบรวมข้อมูล ผ่านคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อ ชี้แจงวตั ถปุ ระสงคข์ องการทำวจิ ัย และขออนุญาตเก็บรวบรวมขอ้ มูลกับนิสิตพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ชนั้ ปีที่ 1, 2, 3, และ 4 จำนวน 242 คน 2. เมื่อได้รับอนุญาตจากคณบดีแล้ว ผู้วิจัยทำการติดต่อหัวหน้าชั้นปีในแต่ละชั้นปี นัดหมายวัน เวลา ใน การเก็บข้อมูล ส่งแบบฟอร์มแบบสอบถามออนไลน์ให้แก่หัวหน้าชั้นปีแต่ละชั้นปี และขอให้ตอบแบบสอบถาม ออนไลน์ภายใน 1 สัปดาห์ หัวหน้าชั้นปีทำการส่งแบบฟอร์มแบบสอบถามออนไลน์ตามรายชื่อที่สุ่มได้ หากนิสิต ทา่ นใดปฏเิ สธที่จะเข้าร่วมจะทำการสุ่มเพิ่มในแต่ละชั้นปีให้ได้ตามจำนวนที่กำหนด 3. ใหก้ ล่มุ ตัวอย่างลงช่อื แบบยินยอมออนไลน์ท่จี ะเข้ารว่ มงานวจิ ัย หากกลุ่มตวั อย่างอายไุ ม่ถึง 20 ปี ผูว้ ิจยั จะใหผ้ ูป้ กครองหรอื ผู้กระทำแทนของกลมุ่ ตัวอยา่ งลงชอ่ื แบบยนิ ยอมออนไลน์กอ่ นเกบ็ ข้อมลู 4. ตอบแบบสอบถามจำนวน 2 ชุด คือ 1. แบบสอบถามส่วนบุคคล 2. แบบประเมินความเครียด 3. แบบ ประเมินความวิตกกังวล 4. แบบวัดการเผชิญความเครียด ซึ่งจะใช้เวลาในการตอบแบบสอบถามประมาณ 20-30 นาที หากกลุ่มตวั อยา่ งเกิดความไมส่ บายใจ หรือร้สู ึกเหนอื่ ยล้าในขณะที่ตอบแบบสอบถาม สามารถหยดุ พกั ได้ เมื่อ ร้สู ึกดขี ้ึนจึงกลับมาตอบแบบสอบถามอีกครั้ง และสามารถถอนตวั จากการวิจยั ได้ทุกเมอื่ 5. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของเนอ้ื หา

24 การวเิ คราะห์ข้อมูล วเิ คราะหโ์ ดยโปรแกรมสำเรจ็ รปู SPSS 1. ขอ้ มูลส่วนบุคคล คอื เพศ ชนั้ ปกี ารศึกษา วเิ คราะหโ์ ดยใชส้ ถิตเิ ชงิ พรรณนา ได้แก่ ความถ่ีและร้อยละ 2. ข้อมูลส่วนบุคคล คือ อายุ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ คา่ เฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. ระดับความเครียด ความวิตกกังวลต่อไวรัสโควิด-19และการเผชิญความเครียด วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิง พรรณนา ไดแ้ ก่ คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 4. ความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญความเครียด กับ ความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ วิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์ สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient)

25 บทท่ี4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตก กังวลและวิธีการเผชิญความเครียดกับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วง ระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลสามารถแบ่งได้เปน็ 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลสว่ นบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เพศ ชั้นปีการศึกษา วิเคราะห์โดยใชส้ ถติ ิ เชงิ พรรณนา ไดแ้ ก่ ความถแ่ี ละร้อยละ และอายุ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) วเิ คราะหโ์ ดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉล่ียและสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ระดับความวิตกกังวล การเผชิญความเครียด และความเครียดในช่วงการระบาด ของโรคโคโรนา่ ไวรสั วเิ คราะห์โดยใช้สถติ เิ ชิงพรรณนา ได้แก่ คา่ เฉล่ียและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ส่วนท่ี 3 ผลการวิเคราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหวา่ งผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (GPA) ความวติ กกงั วล และวิธีการ เผชิญความเครียด กับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงระบาดของโรคโคโร น่าไวรัส วิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างในการศกึ ษาครัง้ นี้ คอื นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชั้นปที ่ี 1- 4 มีทั้งหมด จำนวน 200 คน โดยส่วนใหญ่เป็นนิสิตพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีท่ี 2 จำนวน 56 คน (ร้อยละ 28.00) กลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมดแบ่งเป็นเพศชายจำนวน 17 คน (ร้อยละ 8.50) เพศหญิงจำนวน 183 คน (ร้อยละ 91.50) กลุ่มตัวอย่างมี อายุเฉลี่ย 20.57 ปี (S.D. = 1.31) และมีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ( GPA ) เท่ากับ 3.29 (S.D. = 0.39) ดัง แสดงในตารางที่ 1 *หมายเหตุ แบบสอบถามทไี่ ดก้ ลบั มาทัง้ หมดจำนวน 200 คน จากจำนวนทั้งหมด 242 คน คดิ เป็นร้อยละ 82.60 ตารางท่ี 1 จำนวน และร้อยละขอ้ มลู ทั่วไปของกลุ่มตวั อย่าง (n=200) ขอ้ มูลท่ัวไป จำนวน(คน) รอ้ ยละ เพศ ชาย 17 8.50 หญงิ 183 91.50 ชน้ั ปีการศกึ ษา ชน้ั ปที ี่1 46 23.00 ชั้นปที ่ี2 56 28.00 ชั้นปีที่3 45 22.50 ชน้ั ปที ่ี4 53 26.50

26 สว่ นที่ 2 ระดบั ความวติ กกังวลต่อไวรัสโควดิ -19 การเผชญิ ความเครียด และระดบั ความเครียด ในช่วงระบาด ของโรคโคโรน่าไวรัสของกลมุ่ ตัวอยา่ ง 1) ความวิตกกังวลตอ่ ไวรัสโควดิ -19 จากการวัดระดับความวิตกกังวลต่อไวรัสโควิด-19 ของนิสิตพยาบาลศาสตร์ ด้วยแบบคัดกรองความกังวล ต่อไวรัส COVID-19 (กรมสุขภาพจิต, 2563) ค่าของคะแนนที่ได้จะอยู่ระหว่าง 5-15 คะแนน พบว่าโดยภาพรวม กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยความวิตกกังวลอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเท่ากับ 8.91 (������̅ = 8.91, S.D. = 1.93) ดังแสดงในตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 ค่าเฉลย่ี (������̅) ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบคดั กรองความกงั วลต่อไวรัส COVID-19 โดยรวมของกล่มุ ตวั อย่าง (n=200) ความวิตกกังวลต่อไวรสั โควิด-19 ชว่ งคะแนนปกติ คะแนนต่ำสดุ ���̅��� S.D 5-15 และสูงสุด 8.91 1.93 คา่ คะแนนความวติ กกังวลต่อไวรัส โควดิ -19ท้งั ฉบบั 5-15 2) การเผชญิ ความเครียดในช่วงระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส จากการวัดระดับวิธีการเผชิญความเครียดของนิสิตพยาบาลศาสตร์ต่อไวรัสโควิด-19 ด้วยแบบวัดการ เผชิญความเครียดของจาโลวิค (Jalowiec, 1988) พัฒนาโดยปราณี มิ่งขวัญ (2542) พบว่าค่าของคะแนนที่ได้จะ อยู่ระหว่าง 36-180 คะแนน พบว่าโดยภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนการเผชิญความเครียดในช่วงระบาดของโรค โคโรนา่ ไวรัสอยูใ่ นระดบั ปานกลาง (������̅ = 91.60, S.D. = 18.92) ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 ค่าเฉลี่ย (������̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบวัดการเผชิญความเครียดต่อไวรสั โควิด- 19 โดยรวมของกลมุ่ ตวั อยา่ ง (n=200) การเผชญิ ความเครยี ดในช่วง ชว่ งคะแนนปกติ คะแนนต่ำสดุ ���̅��� S.D ระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส และสงู สุด ค่าคะแนนการเผชญิ ความเครียด ในชว่ งระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส 36-180 40-154 91.60 18.92 ทง้ั ฉบับ และมกี ารแบง่ แบบสอบถามออกเปน็ รายด้าน ดงั น้ี (1) ดา้ นการเผชญิ หนา้ กับปัญหา 13 ข้อ พบคะแนนท่ี ไดอ้ ยู่ระหว่าง 13-55 คะแนน พบว่าโดยภาพรวมกลุ่มตวั อยา่ งมีคะแนนการเผชญิ ความเครียดในด้านการเผชิญหน้า กับปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง (������̅ = 33.40, S.D. = 7.71) (2) ด้านการจัดการกับอารมณ์ 9 ข้อ พบคะแนนที่ได้ อยู่ระหวา่ ง 9-36 คะแนน พบว่าโดยภาพรวมกล่มุ ตัวอย่างมีคะแนนการเผชญิ ความเครยี ดในดา้ นจัดการกับอารมณ์ อยใู่ นระดบั ตำ่ (���̅��� = 17.60, S.D. = 5.45) และ (3) ด้านการบรรเทาปัญหา 14 ข้อ พบคะแนนทไ่ี ด้อยู่ระหว่าง 15-

27 60 คะแนน พบว่าโดยภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนการเผชิญความเครียดในด้านการบรรเทาปัญหาอยู่ในระดับ ปานกลาง (������̅ = 37.70, S.D. = 7.63) ดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 ค่าเฉลี่ย (������̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบวัดการเผชิญความเครียดต่อไวรัสโควดิ - 19 ในดา้ นการเผชญิ กบั ปญั หา ดา้ นการจดั การกับอารมณ์ และดา้ นการบรรเทาปัญหาของกล่มุ ตัวอย่าง (n=200) การเผชญิ ความเครยี ดในช่วง ชว่ งคะแนนปกติ คะแนนต่ำสุด ���̅��� S.D ระบาดของโรคโคโรน่าไวรสั และสงู สุด คา่ คะแนนด้านการเผชญิ กบั ปัญหา 13-65 40-154 33.40 7.71 ค่าคะแนนดา้ นการจัดการกบั อารมณ์ 9-45 9-36 17.60 5.45 ค่าคะแนนดา้ นการบรรเทาปัญหา 14-70 15-60 37.70 7.63 3) ระดบั ความเครยี ด ในช่วงระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส จากการวัดระดับความเครียดต่อไวรัสโควิด-19 ของนิสิตพยาบาลศาสตร์ ด้วยแบบประเมินความเครียด ST-5 ของกรมสุขภาพจิต (กรมสุขภาพจิต, 2563) ค่าของคะแนนที่ได้จะอยู่ระหว่าง 5-20 คะแนน พบว่าโดย ภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีระดับความเครียดโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (���̅��� = 5.99, S.D. = 3.57) ดังแสดงใน ตารางท่ี 7 ตารางท่ี 5 คา่ เฉลย่ี (������̅) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบประเมินความเครยี ด (ST5) โดยรวมของ กล่มุ ตวั อยา่ ง (n=200) ระดบั ความเครยี ดในช่วงระบาดของ ช่วงคะแนนปกติ คะแนนต่ำสดุ ���̅��� S.D โรคโคโรนา่ ไวรัส 5-20 และสงู สดุ 5.99 3.57 ค่าคะแนนระดับความเครียดในช่วงระบาด 0-15 ของโรคโคโรนา่ ไวรสั ทง้ั ฉบบั ส่วนที่ 3 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างผลสัมฤทธิท์ างการเรียน (GPA) ความวติ กกงั วล และวิธกี ารเผชิญความเครียด กับความเครียดของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส เมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญ ความเครยี ด กบั ความเครยี ดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ในชว่ งระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส โดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) พบว่า ความวติ กกงั วลมคี วามสัมพันธท์ างบวกกับวิธีการเผชญิ ความเครียด อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิติ (r = .27, p <. 001) กลา่ วคอื กลุม่ ตัวอย่างท่มี ีความวิตกกังวลสงู จะมกี ารเผชิญความเครียดสงู รวมไปถึงความวติ กกังวลมีความสัมพันธ์ ทางบวกกับความเครียด อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .31, p <. 001) โดยกลุม่ ตวั อย่างท่มี ีความวิตกกงั วลสูง จะ มคี วามเครยี ดสูง นอกจากนั้นวิธกี ารเผชิญความเครียดมคี วามสัมพันธ์ทางบวกกับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (r = .39, p <. 001) กล่าวได้ว่า กลุม่ ตวั อยา่ งทม่ี ีวธิ ีการเผชญิ ความเครยี ดสูงจะมีความเครยี ดสงู

28 ดังแสดงในตารางท่ี 8 ตารางท่ี 6 คา่ สัมประสทิ ธ์สิ หสมั พันธข์ องความสมั พันธ์ระหวา่ งผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น (GPA) ความวิตก กังวล และวิธีการเผชิญความเครียด กับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วง ระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรสั ตวั แปรท่ีศึกษา 1 2 34 1. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (GPA) 1.00 2. ความวติ กกงั วล .00 1.00 3. วธิ ีการเผชิญความเครยี ด .05 .27** 1.00 4. ความเครยี ด -.07 .31** .39** 1.00 ** p <. 001

29 บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญ ความเครียดกับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญ ความเครียด กับความเครียด ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลัยนเรศวรในชว่ งการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส จำแนกตามตัวแปร คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความวิตกกังวล การเผชิญความเครียด และความเครียด กลุม่ ตวั อยา่ งที่ใช้ในการศึกษา คือ นสิ ติ ชนั้ ปีท่ี 1 ถงึ นิสิตชน้ั ปีท่ี 4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร กลุ่ม ตัวอยา่ งทง้ั หมด 200 คน คดิ เปน็ 82.65 % ของจำนวนท้ังหมด 242 คน สรปุ ผลการศกึ ษา ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญ ความเครียด กับความเครียดของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส ซึ่งได้ศึกษาในกลุ่มนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 200 ราย จากการ วเิ คราะห์ขอ้ มลู ไดผ้ ลการศกึ ษา ดังน้ี 1. ข้อมูลทวั่ ไปของกลุม่ ตวั อยา่ ง ในการศึกษาครั้งนี้ พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 183 คน คิดเป็นร้อยละ 91.50 เพศชาย 17 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 8.50 โดยอยู่ในช่วงอายุเฉลี่ย 20.57 ปี และมคี ่าเฉลีย่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ( GPA ) เทา่ กบั 3.29 ในส่วนของชัน้ ปีการศึกษาพบว่าช้ันปีที่ 1 มีจำนวน 46 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.00 ชั้นปีที่ 2 มีจำนวน 56 ราย คิด เป็นร้อยละ 28.00 ชั้นปีที่ 3 มีจำนวน 45 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.50 ชั้นปีที่ 4 มีจำนวน 53 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.50 2. ข้อมลู ด้านระดับความวิตกกงั วลตอ่ ไวรัสโควดิ -19 ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระดับความวิตกกังวลต่อไวรัสโควิด-19 พบว่ากลุ่มตัวอย่าง ท้งั หมดมคี ะแนนความวิตกกงั วลอยู่ในระหวา่ ง 5-15 คะแนน โดยมีคา่ เฉล่ยี และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานของคะแนน ความวิตกกงั วลเท่ากับ 8.91 และ 1.93 ตามลำดับ พบว่ากลุ่มตัวอยา่ งสว่ นใหญ่มคี ะแนนความวิตกกังวลตอ่ ไวรัสโค วิด-19 อยู่ในระดับปานกลาง 3. ขอ้ มูลด้านการเผชญิ ความเครยี ดต่อไวรสั โควิด-19 ในการศกึ ษาวิธกี ารเผชิญความเครียดของกลุ่มตวั อยา่ ง พบว่ากล่มุ ตัวอย่างมีการใช้วิธีการเผชิญความเครียดท้ัง 3 ด้าน ได้แก่ การเผชญิ หน้ากบั ปัญหา ดา้ นการจดั การกบั อารมณ์ ดา้ นการบรรเทาปญั หา เมือ่ พิจารณาคะแนนการ เผชิญความเครียดของกลุ่มตัวอย่างทั้งสามด้าน พบคะแนนการเผชิญความเครียดโดยภาพรวมอยู่ระว่าง 40-154 คะแนน โดยมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความเครียดเท่ากับ 91.60 และ 18.92 ตามลำดับ พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีคะแนนการเผชิญความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ดังนี้ (1) ด้านการเผชิญหน้ากับปัญหา 13 ข้อ ได้แก่ข้อคำถามที่ 2, 5, 11, 16, 17, 22, 27, 28, 29, 30, 31, 34

30 พบคะแนนที่ได้อยู่ระหวา่ ง 13-55 คะแนน พบว่าโดยภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนการเผชญิ ความเครียดในดา้ น การเผชิญหน้ากับปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง (������̅= 33.40, S.D. = 7.71) (2) ด้านการจัดการกับอารมณ์ 9 ข้อ ได้แก่ข้อคำถามที่ 1, 6, 9, 12, 13, 19, 21, 23, 24 พบคะแนนที่ได้อยู่ระหว่าง 9-36 คะแนน พบว่าโดยภาพรวม กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนการเผชิญความเครียดในด้านจัดการกับอารมณ์อยู่ในระดับต่ำ (������̅= 17.60, S.D. = 5.45) และ (3) ด้านการบรรเทาปัญหา 14 ข้อ ได้แก่ข้อคำถามที่ 3, 4, 7, 8, 10, 14, 18, 20, 25, 26, 32, 33, 35, 36 พบคะแนนที่ได้อยู่ระหว่าง 15-60 คะแนน พบว่าโดยภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนการเผชิญความเครียดในดา้ น การบรรเทาปญั หาอยูใ่ นระดบั ปานกลาง (������̅= 37.70, S.D. = 7.63) 4. ข้อมลู ด้านระดบั ความเครียดในช่วงโควดิ -19 ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระดับความเครียด พบว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีคะแนน ความเครียดอยู่ระหว่าง 0-15 คะแนน โดยมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความเครียดเท่ากับ 5.99 และ 3.57 ตามลำดับ พบว่ากลุ่มตวั อยา่ งสว่ นใหญ่มีคะแนนความเครยี ดอยู่ในระดับปานกลาง 5. ขอ้ มลู ด้านความสัมพนั ธ์ระหว่างผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น (GPA) ความวติ กกังวล และวิธีการเผชญิ ความเครียดกับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส จากผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) ความวิตกกังวล และวิธีการเผชิญ ความเครียดกับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับความเครียด ไม่มีความสัมพันธ์กัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และความวิตกกังวลกับความเครียด มีความสัมพันธ์กันระดับปานกลางและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ด้วยค่า สัมประสทิ ธสิ์ หสมั พนั ธ์ .31 ท่รี ะดับนัยสำคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .001 และวธิ ีการเผชิญความเครียดกบั ความเครยี ด มี ความสัมพนั ธ์กันระดบั ปานกลางและเป็นไปในทิศทางเดยี วกนั ดว้ ยค่าสมั ประสทิ ธิ์สหสมั พันธ์ .39 ทร่ี ะดับนยั สำคัญ ทางสถิติทร่ี ะดบั .001 โดยใช้เกณฑข์ อง Burn & Grove (2005) อ้างถงึ ในรัตนศ์ ริ ิ ทาโต (2552) อภปิ รายผลการศกึ ษา การศกึ ษาวจิ ยั ครั้งน้ีเป็นการวิจัยเชิงความสัมพันธ์ (Cross-sectional, Correlational research design) เพื่อ ศกึ ษาความสมั พนั ธข์ องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความวิตกกงั วล และวธิ กี ารเผชิญความเครียด กบั ความเครียดของ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส จำนวนทั้งหมด 200 คน คดิ เปน็ 82.65 % ของจำนวนทั้งหมด 242 คน เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถาม ซึง่ แบง่ ออกเป็น 2 ชุด ประกอบด้วย ชุดท่ี 1แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ชุดที่ 2 แบง่ เป็น 3 สว่ น ประกอบด้วย สว่ นที่ 1 แบบประเมิน ความเครียด (ST-5) เพื่อใช้วัดระดับความเครียดในชว่ งการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส พัฒนาโดยกรมสุขภาพจิต (2563) สว่ นที่ 2 แบบประเมนิ ความวิตกกังวล ต่อไวรสั COVID-19 พฒั นาโดยกรมสุขภาพจิต (2563) และส่วนท่ี 3 แบบวัดการเผชิญความเครียด พัฒนาโดยปราณี มิ่งขวัญ (2542) ซึ่งแปลและดัดแปลงจากแบบวัดการเผชิญ ความเครยี ดของจาโลวิค (Jalowiec, 1988) ผ้วู ิจยั ไดด้ ำเนนิ การเก็บข้อมลู จากนนั้ นำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ เชิงวเิ คราะห์

31 1. อภิปรายผลของตัวแปรแต่ละตัว ดังน้ี 1) GPA ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการศึกษาข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (GPA) เท่ากับ 3.29 (S.D. = 0.39) ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน ระดบั 3.29 อยูใ่ นระดับดี ( PR Ramkhamhaeng University, 2555) การท่พี บว่าระดับของการเรียนอยู่ในระดับ ดี อาจเนอ่ื งมาจากในชว่ งการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส ทางมหาวิทยาลัยได้มกี ารปรับการเรยี นการสอนเป็นแบบ ออนไลน์ ซึ่งผูส้ อนได้มีการอพั โหลดคลปิ วิดโี อการเรียนการสอนไว้ล่วงหน้า ทำให้นสิ ิตมีเวลาในการทบทวนบทเรียน มากขน้ึ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ผลการศึกษาของลดั ดาวลั ย์ คงสมบูรณ์ (2563) พบวา่ นักศึกษามเี วลาฟังการบรรยายก่อน เขา้ เรยี น ซง่ึ มาจาการบันทกึ ไวล้ ว่ งหนา้ โดยมกี ารอพั โหลดไปยัง Google classroom และ YouTube ซ่ึงช่วยให้ นกั ศกึ ษาสามารถเล่นการบรรยายที่บันทกึ ไว้ซ้ำแลว้ ซำ้ อีก เพ่ือให้เข้าใจเนอ้ื หาได้ดีข้ึน ซึง่ อาจสง่ ผลให้มีผลการเรียน ดขี นึ้ ได้ 2) ความวิตกกังวล ความวติ กกังวล จากการศึกษาข้อมลู ระดับความวิตกกังวล พบวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่มีความวิตกกังวล ในเรื่อง ไวรัส COVID-19 ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน (������̅ = 2.41, S.D. = 0.68) และรู้สึกกังวลกับการ เตรียมตัวเพื่อป้องกันการติดไวรัส COVID-19 เช่น กักตุนอาหาร, หน้ากาก เป็นต้น ( ������̅ = 1.80, S.D. = 0.65) ตามลำดบั โดยมีคา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนความวติ กกงั วลเท่ากบั 8.91 และ 1.93 ตามลำดับ ซง่ึ กลา่ วได้วา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งส่วนใหญ่มคี ะแนนความวิตกกังวลอยูใ่ นระดับปานกลาง อีกทั้งในชว่ งของการเก็บข้อมูลมี การระบาดของโรคมาระยะหนึ่งแล้ว จึงอาจทำให้ความกังวลอยู่ในระดับปานกลาง สอดคล้องกับทฤษฎีของ Spielberger et al.(1970) ที่กล่าวถึงความวิตกกังวลตามสถานการณ์ (State Anxiety ) ซึ่งเป็นความวิตกกังวลท่ี เกิดขึ้นในเวลาที่มีเหตุการณ์เฉพาะเม่ือมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งทำให้เกิดความรู้สึกถึงสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภัยถึงตัวบุคคล ทั้งนี้ความรุนแรงและระยะที่เกิดความกังวลแตกต่างกันขึ้นอยู่กับตัวบุคคลแต่ละบุคคลและประสบการณ์ในอดีต ของแต่ละบุคคล จากการที่นักศึกษาพยาบาลต้องฝึกงาน มีเหตุให้เกิดความกังวลซึ่งโดยปกตินักศึกษาพยาบาลก็มี ความกงั วลมากอยู่แลว้ เมื่อมกี ารระบาดของโรคโคโรน่าไวรสั กส็ ่งผลให้เกดิ ความกังวลสงู ขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัย ของอภิญญา อิงอาจ และคณะ (2563) ที่ได้ทำการศึกษาเรื่องความวิตกกังวลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ของนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี โดยพบว่า สถานภาพการเปน็ นักศึกษาช้ันปที ่ี 1 ช้ันปี ที่ 2 และชั้นปีที่ 3 เป็นปัจจยั ที่สง่ ผลทางบวกตอ่ ความกังวลจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โค โรน่า 2019 เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะนักศึกษาทั้ง 3 ชั้นปีที่อยู่ในช่วงคาบเกี่ยวของการเรียนที่เห็นถึงความไม่ชัดเจน ของสถานการณ์ว่าจะมีความรุนแรงและยาวนานเพียงใด รวมทั้งเรื่องการฝึกงานที่ไม่สามารถฝึกงานได้ จึงทำให้ นักศึกษาที่มีความกังวลอยู่แล้วกังวลสูงขึ้นอีกเมื่อเจอสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อโรคติดต่อโคโรน่า 2019 อีก ท้งั การระบาดของโรคโคโรน่าไวรัสไดด้ ำเนินมาเปน็ ระยะเวลาร่วมปี อาจสง่ ผลใหน้ ิสิตพยาบาลเริ่มมีการปรับตัวกับ เหตุการณ์ดังกล่าวจึงส่งผลให้มีระดับความวิตกกังวลปานกลาง สอดคล้องกับการศึกษาของซเวก (Zweig, 1988 อ้างในมณฑา ลิ้มทองกุล และสุภาพ อารีเอื้อ, 2552) พบว่าการที่นักศึกษามีระดับความกังวลปานกลาง อัน เนอ่ื งมาจากเมอื่ เผชิญกบั ปญั หาทีพ่ บเจอ นักศึกษาสามารถปรบั ตวั ได้ในระดับหน่งึ แลว้

32 3) การเผชิญความเครียด การเผชิญความเครียด จากการศึกษาวิธีการเผชิญความเครียดของกลุ่มตัวอย่าง พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีการ เผชิญความเครียด ด้านการเผชิญหน้ากับปัญหา ด้านการจัดการกับอารมณ์ ด้านการบรรเทาปัญหา โดยพิจารณา เป็นคะแนนพบว่าคะแนนการเผชิญความเครียดอยู่ระหว่าง 40-154 คะแนน โดยมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานของคะแนนความเครียดเท่ากับ 91.60 และ 18.91 ตามลำดับ เมื่อแยกรายด้านพบว่า กลุ่มตัวอย่างมี คะแนนการเผชิญความเครียดแบบการเผชิญหน้ากับปัญหาและการบรรเทาปัญหา ในระดับปานกลาง (������̅ = 35.51, S.D. = 11.01 และ ������̅ = 35.49, S.D. = 10.07) ตามลำดับ แต่คะแนนเฉลี่ยการจัดการกับอารมณ์อยู่ใน ระดับต่ำ (������̅ = 17.04, S.D. = 5.21) ซึ่งกล่าวได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีการเผชิญความเครียดในระดับปานกลาง โดย ส่วนใหญ่อยู่ในด้านการบรรเทาอารมณ์ ซึ่งหวังว่าการระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 จะดีขึ้น และยอมรับ สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ตามที่เป็นจริง อาจเนื่องมาจากการระบาดของโรคโคโรน่าไวรสั ได้ ผ่านมาระยะหนึ่งแล้ว กลุ่มตัวอย่างอาจมีการปรับตัวและยอมรับกับสถานการณ์โคโรน่าไวรัส ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของมณฑา ลิ้มทองกุล และสุภาพ อารีเอื้อ (2552) ที่ได้ทำการศึกษาแหล่งความเครียด วิธีการเผชิญ ความเครยี ด และผลลัพธก์ ารเผชิญความเครียดของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบัติครั้งแรก โดยพบว่า เม่ือ นกั ศกึ ษาเผชญิ กับเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดข้นึ ขณะปฏบิ ตั ิการพยาบาลบางส่ิง นกั ศึกษาสามารถปฏบิ ตั ติ วั ไดร้ ะดับหนึ่งจึงทำ ให้มีการปรับตวั ไดด้ ี จงึ สง่ ผลใหม้ กี ารเผชญิ ความเครียดในระดบั ปานกลาง 4) ความเครียด ในการศึกษาครั้งนี้ผูว้ ิจัยได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระดับความเครียด พบว่ากลุ่มตัวอยา่ งทั้งหมดมีคะแนน ความเครียดอยู่ระว่าง 0-15 คะแนน โดยมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนความเครียดเท่ากับ 5.99 และ 3.57 ตามลำดับ พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีคะแนนความเครียดอยู่ในระดับปานกลาง อาจ เนื่องมาจากกลุ่มตัวอย่างสามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ได้ สอดคล้องกับการสำรวจของกรม สุขภาพจิต (2563) ที่สำรวจความสุขของครอบครัวไทยในช่วงการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่าพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับ ความเครียด อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ 28.33 ระดับปานกลาง ร้อยละ 54.13 ระดับสูง ร้อยละ 13.13 และระดับ สูงสุด ร้อยละ 4.20 รวมไปถึงสอดคล้องกับงานวิจัยของกฤชกันทร สุวรรณพันธุ์ และคณะ (2563) ที่ได้ ทำการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid 19) ของนกั ศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก ทัง้ น้ีอาจเกิดจากใน การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้เป็นการระบาดใหญ่ และได้มีมาตรการในการ ควบคุมป้องกันหลายอย่าง และมีการสื่อสารถึงในทุกระดับรวมถึงระดับบุคคลตั้งแต่เริ่มมีการระบาด ทำให้มีการ ตื่นตัวและรับรู้ความเสี่ยงของการเกิดโรค และกระทรวงสาธารณสุขได้มีเผยแพร่ข้อมูลการระบาดอย่างต่อเนื่ อง และทันเวลา มีการนำเสนอข้อมูลท้ังกับสื่อมวลชนและประชาชนโดยตรงทุกวนั ทำใหป้ ระชาชนท่วั ไป รวมท้ังนิสิต พยาบาลศาสตร์สามารถเข้าถงึ ข้อมูลข่าวสารไดร้ วดเร็ว สง่ ผลให้ความเครียดลดลง และอยูใ่ นระดับปานกลางได้ ซ่ึง การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสอดคล้องกับแนวคิดความเชื่อด้านสุขภาพ (health belief-model) ของโรเซนสต๊อก (1974) อ้างถึงในศุภกานต์ นุสรณ์รัมย์ (2557) ที่เชื่อว่าการรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรม โดยบุคคลจะ กระทำหรอื เข้าใกลก้ บั สิง่ ทต่ี นพอใจและคิดว่าสิง่ นัน้ จะก่อให้เกิดผลดีต่อตนเอง และหนีห่างจากส่ิงท่ีตนไมป่ รารถนา

33 การที่บุคคลจะปฏิบตั ิตนเพื่อหลีกเลีย่ งการเกิดโรคน้ัน เพราะบุคคลนั้นมีความเช่ือว่าตนเป็นผูม้ ีโอกาสเสี่ยงต่อการ เกิดโรค โรคที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงและมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน การปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพจะเป็น ประโยชนใ์ นการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือในกรณที ีเ่ กิดขึ้นแล้วก็ชว่ ยลดความรุนแรงของโรคได้ (ศุภกานต์ นสุ รณร์ มั ย์, 2557) อภปิ รายตามสมมติฐานการวจิ ัยเกีย่ วกบั ความสัมพันธข์ องแต่ละตัวแปร 3.1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีความสัมพันธ์กับความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวรในช่วงการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส จากผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่มีความสัมพันธ์กับความเครียด ซึ่งไม่สอดคล้องกับ สมมติฐานท่ีตั้งไว้ กล่าวคือการเรียนไมไ่ ดบ้ ่งบอกว่าบุคคลน้ันๆ จะมีความเครยี ดหรือไม่ เช่น ผู้ที่มีผลการเรียนดี ก็ ไม่ได้หมายความว่าจะมีความเครียดสูงหรือต่ำ หรือผู้ที่มีผลการเรียนต่ำก็ไม่ได้หมายความว่าจะมีความเครียดต่ำ หรือสงู โดยเฉพาะความเครียดในช่วงการระบาดของโคโรน่าไวรัส หรืออาจอธิบายได้วา่ ความเครียดไม่ได้ข้ึนอยู่กับ ระดับผลการเรียน แต่อาจขึ้นกับปัจจัยด้านอื่นๆ โดยทฤษฎีของ Lazarus & Folkman (1984) ได้กล่าวว่า ความเครียดไม่ได้ขึ้นอยู่กับบุคคลหรือสิ่งแวดล้อมอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ขึ้นอยู่กับการกระทำและความนึกคิดที่จะ จัดการกับความเครียดของบุคคลนั้น ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากช่วงเวลาที่ได้ทำการรวบรวมข้อมูลวิจัยเป็นช่วงท่ี สถานการณ์การระบาดของโรคโควดิ -19 ได้ลดความรุนแรงลง มีจำนวนผู้ตดิ เช้ือลดน้อยลง เป็นผลให้มคี วามเครียด ลดนอ้ ยลง ไมส่ อดคล้องกับผลการวิจัยของวิลาวัลย์ วรี ะอาชากุล (2557) ท่ีศกึ ษาปจั จยั ทส่ี มั พนั ธ์กับความเครียดใน นักศึกษาทันตแพทย์ชั้นปีที่ 4-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่าปัจจัยเกรดเฉลี่ยมี ความสัมพันธ์เชิงลบกับความเครียด นั่นคือ ผู้ที่มีเกรดเฉลี่ยต่ำ จะมีความเครียดสูง และไม่สอดคล้องกับงานวิจัย ของวรางค์ รามบุตร (2562) ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา หลักการบัญชีของนักศึกษาโปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ พบว่า นักศึกษาที่มีความเครียดใ นการเรียนและมี ความวิตกกังวลในระดับสูง จะทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาต่ำลง และไม่สอดคล้องกับงานวิจัยของ ธรรมศักดิ์สายแก้ว, สุนันทา ศรีศิริ และสมฤดี สายหยุดทอง (2562) ที่ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อความเครียด ของนักศึกษาสาธารณสุขศาสตรใ์ นวทิ ยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา ศูนย์การศกึ ษาจังหวัด สมทุ รสงคราม ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนมคี วามสมั พันธ์กบั ความเครยี ด แม้จะเปน็ ในช่วงทยี่ ังไมม่ ีการระบาดของโรค ไวรัสโควดิ -19 โดยพบว่านิสติ ท่ีมคี ะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีจะมคี วามสัมพนั ธ์กับความเครยี ดในระดบั ต่ำ 3.2.ความวิตกกังวล มีความสัมพันธ์กับความเครียดของ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรน่าไวรสั ความสัมพันธ์ระหวา่ งความวติ กกังวลและความเครียดของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ในช่วงการระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส พบวา่ ความวิตกกังวลมีความสัมพนั ธก์ บั ความเครียดในเชิงบวก อธิบายไดว้ ่า เมื่อนิสิตพยาบาลศาสตร์มีความกังวลมากจะเป็นผลทำให้ความเครียดมากไปด้วย อธิบายตามทฤษฎีความวิตก กงั วลของสปลิ เบอร์เกอร์ (1976) กลา่ วว่า โดยทวั่ ไปมนุษย์ต้องการความมนั่ คงปลอดภัยในการดำเนินชีวิต แต่หาก มีสถานการณ์หรือภาวะที่ทำให้บุคคลเกิดความกังวล รู้สึกไม่สบายใจเป็นทุกข์ หวาดหวั่น จะส่งผลให้เกิด

34 ความเครียดตามมาได้ ความวิตกกังวลจึงเป็นความเครียดซึ่งคุกคามต่อความมั่นคงปลอดภัยของบุคคล สิ่งที่มา คุกคามนน้ั อาจมีจริงหรืออาจเกิดความเครียดหรือจากการคาดการณ์ลว่ งหนา้ ต่อเหตุการณ์ท่ยี ังมาไม่ถึง (สายสวาท ปาจินะ, 2556) สอดคล้องกับ Nattatiti (2563) ที่กล่าวว่า วิกฤตโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อระบบสุขภาพจิตของ ประชากรโลกอยา่ งรนุ แรง ก่อใหเ้ กิดความรสู้ กึ วติ กกงั วล เนื่องจากรู้สกึ วา่ ชีวิตตัง้ อย่บู นความไมแ่ นน่ อน รวมไปถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส ก่อให้เกิดความวิตกกังวลอย่างมาก เนื่องจาก โรคโคโรน่าไวรัสเป็นโรคติดต่อใหม่ ประชาชนต้องมีการดำเนินชีวิตตามมาตรการต่างๆ เช่น การรักษาระยะห่าง ทางสังคม การเรียนออนไลนค์ นเดยี ว เป็นตน้ ทำให้คนรู้สึกโดดเด่ียว ทำให้เกดิ ความรู้สกึ วติ กกงั วลและความเครียด ได้ (กฤชกนั ทร สุวรรณพนั ธุ์ และคณะ, 2563) ดังนนั้ เม่อื มีความวิตกกงั วลมาก ความเครียดกจ็ ะเพิ่มมากขนึ้ ไปด้วย สอดคล้องกับการศึกษาของ สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา และคณะ (2543) ที่พบว่าคะแนนความวิตกกังวลขณะเผชิญใน พยาบาลที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตปีการศึกษา 2541 จากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล มีความสัมพันธ์เชงิ บวกกบั ความเครยี ดอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิที่ p <. 01 3.3.วิธกี ารเผชิญความเครียด มคี วามสัมพันธ์กับความเครียด ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวรในช่วงการระบาดของโรคโคโรนา่ ไวรัส จากผลการศึกษาความสัมพันธ์ของวิธีการเผชิญความเครียดและความเครียดของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรในชว่ งการระบาดของโรคโคโรน่าไวรสั พบวา่ วธิ ีการเผชญิ ความเครยี ดมีความสัมพันธ์ ทางบวกอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติกับความเครียด (p <. 001) ซ่งึ สอดคล้องกบั งานวิจยั ของจิรกุล ครบสอน (2556) ได้ทำการศึกษาความสัมพันธ์ของความเครียดและพฤติกรรมความเครียดของวัยรุ่นในสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชน พบว่ากลุ่มตัวอย่างท่ีมีความเครียดยิ่งสงู จะยิง่ มีการใช้พฤติกรรมการเผชิญความเครียดมาก และก็จะ ยิ่งมีการใช้พฤติกรรมการจัดการกับปัญหาการจัดการกับอารมณ์ และการแก้ไขปัญหาทางอ้อมมากด้วย อีกทั้งยัง สอดคลอ้ งกับการศึกษาของสุภาภัทร ทนเถอื่ น (2553) ทไ่ี ด้ทำการการศึกษาความเครียดและวิธเี ผชิญความเครียด ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่าวิธีเผชิญความเครียดแบบมุ่งแก้ไขปัญหา วิธีเผชิญความเครียดแบบมุ่ง แก้ไขอารมณ์ และวิธีเผชิญความเครียดแบบได้ประโยชน์น้อยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายมีความสัมพันธ์ ทางบวกกับความเครียดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 หรือกล่าวได้ว่า เมื่อบุคคลมีความเครียดจะทำให้ ความสามารถของบคุ คลในการคดิ หรอื ตดั สินใจได้ไม่ดี ดงั นนั้ จึงตอ้ งเลือกใชว้ ิธกี ารเผชิญความเครยี ดทม่ี ากข้นึ เพื่อ มาจัดการกบั ความเครยี ด ทงั้ นี้สอดคล้องกับแนวคิดของลาซารัสและโฟลค์แมน (1984) ท่ีกลา่ วว่า เมอ่ื บุคคลประเมินสถานการณ์น้ัน ว่าเป็นความเครียด บุคคลจะมีการเลือกใช้พฤติกรรมการเผชิญความเครียดด้านการจัดการกับปัญหา ด้านการ จัดการกับอารมณ์ ด้านการแก้ไขปัญหาทางอ้อมผสมผสานกัน เพื่อจัดการกับสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียด แสดงว่าเมื่อยิ่งมีความเครียด บุคคลก็จะเลือกหาวิธีการเผชิญความเครียดที่เหมาะสมกับสถานการณ์นั้นๆ เพ่ือ จัดการกับความเครียดดังกล่าว ส่งผลให้มีวิธีการเผชิญความเครียดที่สูงขึ้นด้วย ซึ่งนิสิตพยาบาลศาสตร์เมื่อมีการ ประเมินสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่าว่าเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความเครียด ก็จะเลือก ใช้วิธีการเผชิญ ความเครยี ดแบบต่างๆที่มากข้นึ ตามไปดว้ ย

35 ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาไปใช้ 1. หนว่ ยงานทางการศึกษาระดับต่างๆ เช่น ระดบั คณะ และระดับมหาวทิ ยาลยั เป็นต้น ควรจดั กิจกรรมการ เพิ่มทักษะในการจัดการกับความวิตกกังวล ความเครียดและการเผชิญความเครียด ให้แก่นิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ โดยเฉพาะในช่วงการระบาดของโรคอุบัติการณ์ใหม่ เพื่อเป็นการป้องกันปัญหาทาง สขุ ภาพจิตด้านอน่ื ๆท่ีอาจตามมาได้ในช่วงสถานการณ์ดังกลา่ ว 2. การศึกษาครั้งนี้ทำในนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรจึงมีข้อจำกัดในการอ้างอิง ผลการวจิ ยั ไปสปู่ ระชากรกลุ่มอื่น ข้อเสนอแนะในการศึกษาครง้ั ต่อไป 1. ควรมีการศึกษาในกลุ่มนิสิต/นักศึกษา คณะสาขาอื่นๆ เพื่อประเมินค้นหาปัญหาทางด้านสุขภาพจิต โดยเฉพาะในช่วงการระบาดของโรคอบุ ัติการณ์ใหม่ 2. ควรศึกษาและพัฒนารูปแบบการให้คำปรึกษาเพื่อช่วยนิสติ /นักศึกษาให้สามารถจัดการกับความวิตกกังวล และความเครยี ดโดยเฉพาะในช่วงการระบาดของโรคอบุ ัติการณใ์ หม่ 3. ควรศึกษาตัวแปรด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความเครียดและสุขภาพจิตของนิสติ /นักศึกษา เช่น การปรับตัว การเหน็ คุณค่าในตวั เอง และแรงจงู ใจ เปน็ ตน้ เพือ่ เปน็ ขอ้ มลู พ้นื ฐานในการจัดโปรแกรมเพื่อป้องกันปัญหา ทางสขุ ภาพจติ โดยเฉพาะในชว่ งการระบาดของโรคอุบตั กิ ารณ์ใหมต่ ่อไป

36 บรรณานุกรม กรมควบคุมโรค. (2563). โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19). สืบคน้ เมอ่ื 30 สงิ หาคม 2563, จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/faq_more.php กรมสขุ ภาพจิต. (2563). ความสขุ ของครอบครัวไทยในชว่ งการระบาดของไวรสั โควิด-19. สืบคน้ เมื่อ 15 มีนาคม 2564, จาก https://www.dmh.go.th/covid19/news2/files/14apr20201.pdf?fbclid=IwAR0xdNxcGC7x2Er5 ftkFZu6YUT3uYREepmNJL86Sqk_xeXow7N5RA_MnckQ กรมสุขภาพจิต. (2563). วิตกกังวลจากโรคระบาด COVID-19 รับมืออย่างไร. สืบคน้ เม่ือ 22 พฤษภาคม 2563, จาก https://dmh.go.th/newsdmh/view.asp?id=30269&fbclid=IwAR2t6qoQHcLJ8I5IYKFD1mdIlX 6yeytw-1JZAoKibGZnEPTXgetzvHnmk2U กรมสขุ ภาพจติ . (2563). มมุ มองดา้ นสุขภาพจติ และจิตสังคมของการระบาด COVID-19 Addressing Mental Health and Psychosocial Aspects of Covid-19 Outbreak. สบื ค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.dmh.go.th/covid19/news1/view.asp?id=10 กฤชกันทร สุวรรณพันธ์ และคณะ. (2563). ปจั จัยท่มี คี วามสมั พันธ์กับความเครียดต่อการระบาดของโรคตดิ เชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักศกึ ษาคณะสาธารณสุขศาสตรแ์ ละสหเวชศาสตร์ สถาบนั พระ บรมราชชนก. วารสารวจิ ัยทางวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ, 14(2), 138-148. กีรตญิ า ไทยอู่. (2558). ความเครยี ดและการเผชญิ ความเครยี ดของผดู้ ูแลผ้สู ูงอายุโรคจติ เวช. สืบคน้ เมือ่ 27 พฤษภาคม 2563, จาก http://ryssurvey.com/vichakarn/downloadq.php?f=ddc_201711141018496908_150_1001c a.pdf&fc=title%20115.pdf โกวิทย์ นพพร. (2561). ความเครยี ดสะสม เสยี่ งฆ่าตัวตาย. สืบคน้ เมอ่ื 30 สงิ หาคม 2563, จาก https://www.samitivejhospitals.com/th/article/detail/suicide-accumulation-of-stress คณิน จินตนาปราโมทย์ และพรชัย สิทธศิ รณั ย์กลุ . (2562). สรรี วิทยาความเครยี ดจากการทำงาน และการ แก้ปญั หาเมื่อเผชิญความเครียดในอาชีพแพทย์. J Med Health Sci, 26(2), 114-115. จิรกุล ครบสอน และนุจรี ไชยมงคล. (2556). ความเครยี ดและพฤตกิ รรมเผชิญความเครียดของวยั รนุ่ ในสถานพนิ จิ และค้มุ ครองเดก็ และเยาวชน. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา, 21(2), 2-12. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (2563). Chula Student Wellness พรอ้ มเคยี งข้างนิสิตในสถานการณ์ COVID- 19. สืบคน้ เมื่อ 22 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.chula.ac.th/news/29338/?fbclid=IwAR3EH9YSBAzUVToiFshKznNk4G6H0gDahB r20RdsYLp0JDLkvgaCdTkra1g

37 ณชนก เอียดสขุ , ศภุ ร วงศ์วทัญญู และสชุ ิรา ชัยวิบลู ยธ์ รรม. (2556). ความเครยี ดและการเผชญิ ความเครียด ของญาตผิ ู้ดูแลผูป้ ่วยท่ีได้รับการ วินิจฉัยวา่ มีเนอ้ื งอกสมอง ในระยะรอเข้ารับการผ่าตดั สมอง. Rama Nurs J, 19(3), 352-353. ณฐั ฐฐิติ คำมลู . (2563). “โควิด-19” อาจสง่ ผลกระทบต่อ “สุขภาพจติ ” อยา่ งร้ายแรง. สบื คน้ เม่ือ 22 กันยายน 2563, จาก https://www.sanook.com/news/8198783/ ตฏิลา จำปาวัลย์. (2561). ความวติ กกังวลตามสถานการณ์. วารสารพทุ ธจิตวิทยา, 3(1), 14-20. ทิวาพร ฟเู ฟอื่ ง และกัญญาวีร์ โมกขาว. (2562). ปัจจัยทม่ี ีความสัมพนั ธ์กับความเครียดของนักศึกษาพยาบาลช้ันปี ท1ี่ . วารสารพยาบาลทหารบก, 20(1), 373-381. ธนพล บรรดาศกั ดิ, กนกอร ชาวเวยี ง และนฤมล จนั ทรเกษม. (2558). ปจั จยั ทำนายความเครยี ดของนักศกึ ษา พยาบาลศาสตรบ์ ัณฑิต. วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี: พระพุทธบาท. ธรรมศักด์ิ สายแก้ว, สุนันทา ศรศี ริ ิ และสมฤดี สายหยุดทอง. (2019). ปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อความเครียดของนักศึกษา สาธารณสขุ ศาสตร์ในวิทยาลยั สหเวชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสนุ นั ทา ศนู ยก์ ารศึกษาจังหวสั มุทรสงคราม. วารสารดุษฎบี ัณฑิตทางสงั คมศาสตร์, 9(3), 621. ธราธร รัตนนฤมิตศร และวรดุลย์ ตุลารกั ษ.์ (2563). ผลกระทบมิติสังคมไทยจาก COVID-19. สืบค้นเมอ่ื 30 สงิ หาคม 2563, จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/650293?fbclid=IwAR2ofiYUX0jQ9bYqATdklt sJbBrWwdC6L3LszW0qUuimsgSH51dvYYJHSdo นิยดา ภอู่ นุสาสน์ และสมบัติ รยิ าพันธ.์ (2552). ปจั จยั ส่วนบคุ คล ความเครยี ด และพฤติกรรมการดูแลตนเองด้าน สุขภาพจติ . วารสารกองการพยาบาล, (3), 32-45. ปรภทั ร จุฑากลุ . (2561). สาเหตุของความเครียด. สืบค้นเมื่อ 30 สงิ หาคม 2563, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/42844- ปาณิก เวยี งชัย. (2558). การตอบสนองทางสรีรวทิ ยาต่อความเครยี ด. สบื คน้ เมอ่ื 30 สงิ หาคม 2563, จาก http://biology.ipst.ac.th/?p=2767&fbclid=IwAR0Mbju2C1Ig2i38hhK9l_TOusJRBoqNeJceZbY a-icftueCfu0gQn6eOXo ปราณี ม่ิงขวญั . (2542). ความเครยี ดและการเผชิญความเครยี ดในผปู้ ่วยสงู อายุโรคหลอดเลือดสมอง. เชยี งใหม:่ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่ ผจู้ ัดการออนไลน์. (2563). มหาวิทยาลยั ทกั ษิณเปดิ ผลสำรวจนสิ ิต-นกั ศกึ ษา 6 สถาบันชว่ งโควดิ -19 เผยการเรยี น ออนไลน์ สร้างภาระการเงนิ . สบื คน้ เม่อื 30 สิงหาคม 2563, จาก https://mgronline.com/south/detail/9630000069879 พิสิฐ น้อยวังคลงั . (2563). การพฒั นาบทเรียนออนไลน์แบบเปิดด้านทัศนศลิ ปศึกษาเพอ่ื ผู้เรียนวยั ผใู้ หญ่. วารสารหอ้ งสมดุ , 64(1), 22. พนั ธน์ุ ภา กติ ติรัตนไพบูลย์ และคณะ. (2563). แนวโนม้ และปจั จยั ท่ีมผี ลต่อระดบั สุขภาพจิตคนไทย: สำรวจ ระดับชาติปี พ.ศ. 2561. วารสารสขุ ภาพจิตแห่งประเทศไทย, 121-133.

38 พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ 2542. (2542, 14 สงิ หาคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ 2 ตอนท่ี 75. หน้า 2. มณฑา ล้ิมทองกุล และสภุ าพ อารเี อ้ือ. (2552). แหล่งความเครียด วธิ ีการเผชญิ ความเครียด และผลลพั ธก์ ารเผชิญ ความเครียดของนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฏิบตั ิคร้งั แรก. Rama Nurs J, 15(2), 192-205. มาลวี ลั เลิศสาครศริ .ิ (2557). ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปัจจยั ส่วนบุคคลและปัจจัยส่ิงแวดล้อมกับความเครยี ดและ การจัดการความเครยี ดขณะฝกึ ปฏบิ ัติงานห้องคลอดของนกั ศกึ ษาพยาบาลวิทยาลยั เซนต์หลุยส.์ วารสาร พยาบาลทหารบก, 15(2), 270-279. โรงพยาบาลศคิ รนิ ทร.์ (ม.ป.ป). Covid-19 VS ไข้หวดั ธรรมดา ตา่ งกนั อย่างไร. สบื คน้ เมือ่ 27 พฤษภาคม 2653, จาก https://www.sikarin.com/ detail/472/covid-19-vs-ไข้หวัดธรรมดา-ต่างกนั อยา่ งไร วรางค์ รามบุตร. (2562). ความสมั พนั ธร์ ะหว่างพฤตกิ รรมการเรยี นกบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าหลักการบญั ชี ของนักศึกษาโปรแกรมวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ . รายงานสืบเนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการระดับชาติคร้ังท่ี 6 สถาบนั วิจัยและพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กำแพงเพชร, (653-660). มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกำแพงเพชร. ไทย. วิลาวัลย์ วรี ะอาชากุล และวิบูลย์ วรี ะอาชากลุ . (2557). ปจั จยั ทส่ี มั พันธก์ บั ความเครยี ดในนกั ศึกษาทนั ตแพทยช์ น้ั ปีที่ 4-6 คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ . North-Eastern Thai Journal of Neuroscience, 13(3), 11-20. วิไลพร ขำวงษ,์ สุดคนึง ปลง่ั พงษ์พันธ์ และทานตะวนั แย้มบุญเรือง. (2559). ความสัมพันธร์ ะหวา่ งระดับ ความเครียดกับสาเหตุของความเครียดและการจัดการความเครยี ดของนักศึกษาพยาบาลในวิทยาลยั พยาบาลสงั กัดสถาบันพระบรมราชชนก. วารสารวิจยั ทางวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ, 10(1), 78-87. ศรจี ันทร์ พรจิราศลิ ป์. (2554). ความเครียดและวิธแี ก้ความเครียด. สบื คน้ เมือ่ 30 สงิ หาคม 2563, จาก https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/ สิริทรัพย์ สีหะวงษ์ และคณะ. (2562). ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อความเครียดของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี. คณะพยาบาลศาสตร์: มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี. สิริรตั น์ ฉตั รชัยสชุ า, พชั รี ตันศริ ิ และลักษณา อินทรก์ ลับ. (2543). ความวติ กกังวลและการเผชญิ ปัญหาใน พยาบาลจบใหม.่ วารสารสภาการพยาบาล, 15(1), 22. สบื ตระกลู ตันตลานกุ ูล และปราโมทย์ วงศ์สวสั ดิ.์ (2560). คามเครยี ดและการจัดการความเครยี ดของนักศึกษา พยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอตุ รดิตถ์, 9(1), 81-90. สุภาภทั ร ทนเถื่อน. (2553). การศกึ ษาความเครยี ดและวิธเี ผชญิ ความเครียดของนักเรยี นมัธยมศึกษาตอนปลาย. สารนพิ นธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ). กรงุ เทพฯ: บณั ฑิตวทิ ยาลัยมหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. สุรชัย โชคครรชิตไชย. (2563). การะบาดของไวรสั โคโรนา(โควดิ -19)ในประเทศไทย. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ ป้องกันประเทศไทย, 10(1), 1. สวุ รรณี มหากายนนั ท,์ ทัศนยี ์ วรภัทรากุล, ชตุ มิ า ฉันทมิตรโอภาส และอังคนา ศลิ ปะรตั นาภรณ์. (2554). ความเครยี ด สาเหตุความเครียด และการเผชญิ ความเครยี ดของนสิ ติ พยาบาลในการฝึกวชิ าปฏิบตั กิ าร พยาบาลผู้ใหญ่ 2. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลยั บรู พา, 19 (2), 131-141.

39 สมประวิณ มนั ประเสริฐ. (2563). ผลกระทบของโรคระบาดโควิด-19 ต่อเศรษฐกจิ . สืบค้นเมื่อ 30 สงิ หาคม 2563 จาก https://www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn/economic-covid- impact.html?fbclid=IwAR3I29ap5fqGe8lcUBdIPELvVsaOlRbYkHclDtyD9zowlNUMY5iun3iykg สรวิชญ์ กว้ ยไขม่ กุ และชนิกา แสงทองด.ี (2562). ความเครียดในการเรียนของนักศกึ ษา: กรณศี กึ ษา สาขาวิชาการ บริหารงานตำรวจ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสนุ ันทา. วารสารอาชญากรรมและความปลอดภยั , 1(1), 65-78. อนพุ งศ์ จนั ทรจ์ ุฬา และซัยฟุดดนี ชำนาญ. (2559). รายงานการวจิ ยั เรอ่ื งความเครียดและการเผชญิ ความเครียด ของผู้ป่วยชายทเี่ ข้ารับการบำบัดรกั ษายาเสพตดิ ระยะฟื้นฟูสมรรถภาพโรงพยาบาลธญั ญารกั ษส์ งขลา. สืบคน้ เม่อื 27 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.sdtc.go.th/upload/forum/doc593e3f357a289593e.pdf?fbclid=IwAR0Dah3VVg bgTP_5fBp53IV_4NBYFQuUDmHqnBy_Zy_jC46kRlm1d--uQTY อนสุ ิทธ์ิ ทัฬหสิริเวทย์. (2563). COVID-19 ผลกระทบร้าย...อนั ตรายถึงหวั ใจ. สบื คน้ เมื่อ 30 สิงหาคม 2563, จาก https://mgronline.com/qol/detail/9630000020769?fbclid=IwAR3v7i4jdDrtld1EzZzcmG UP7Tk2DK1OyVt1vkw4iEa_LLv20cULFkFUGR4 อภิญญา อิงอาจ, ณัฐพร กาญจนภูมิ และพรพรรณ เชยจติ ร. (2563). ความกังวลในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ของนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี, วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยี มหานคร, 17(2), 94-113. อารยา สัมพนั ธพงษ,์ สรุ ชาติ ณ หนองคาย และดุสิต สจุ ิรารัตน.์ (2558). ปจั จัยท่มี ีความสมั พนั ธต์ ่อความเครียด ของพยาบาลและผู้ชว่ ยพยาบาลแผนกอายุรกรรมโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐ. วารสาร วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี, 31(1), 97. อรุ ัยยา หมานมานะ, โสภณ เอีย่ มศิริถาวร และสุมนมาลย์ อทุ ยมกุล. (2563). โรคติดเชื้อไวรสั โคโรน่า 2019 (COVID-19). วารสารบำราศนราดรู , 14(2), E3. BBC NEWS. (2563). ไวรสั โคโรนา : เราจะรับมอื กับความกลัวและวิตกกงั วลในชว่ งโควดิ -19 ระบาดไดอ้ ย่างไร. สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2563, จาก https://www.bbc.com/thai/thailand51923684?fbclid=IwAR0vnRcW6yUySB7rQ9TrES2fdlkk1 h3yTNszAf0dVb1nk_B8XHRU_QmfKL4 BBC NEWS. (2563). โควิด-19:ธรุ กจิ ขาขน้ึ ในชว่ งเศรษฐกิจขาลงผลพวงไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุใหม.่ สืบคน้ เม่ือ 24 พฤษภาคม 2020, จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-52163423 Pran Suwannatat. (2563). โรคระบาดทำใหเ้ ห็นความไม่เท่าเทียม เรยี นออนไลนอ์ าจไม่ตอบโจทย์ เพราะเด็ก บางคนขาดอปุ กรณ.์ สบื คน้ เมื่อวันท่ี 24 พฤษภาคม 2563, จาก https://brandinside.asia/%E0%B9%89how-covid-19-transform-education-system/

40 Uraiwan. (2559). ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน (achievement). สบื คน้ เม่ือ 19 พฤษภาคม 2563, จาก http://kruoiysmarteng.blogspot.com/2016/08/achievement.html World Health Organization. (2563). World Health Organization. สืบคน้ เมือ่ 30 สิงหาคม 2563, จาก https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/question-and- answers-hub/q-a-detail/q-a-coronaviruses#:~:text=symptoms Worldometer. (2563). Coronavirus Cases. สบื ค้นเมอ่ื 27 พฤษภาคม 2020, จาก https://www.worldometers.info/coronavirus/

41 ภาคผนวก