Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Endocrinology-62

Endocrinology-62

Published by nayikasntrn, 2019-10-25 03:34:37

Description: ครูนายิกา สันทารุนัย
โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี

Search

Read the Text Version

ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System) โดย ครูนายกิ า สันทารุนัย 1

ระบบต่อมไร้ ท่อ (Endocrine System) โดย ครูนายกิ า สันทารุนยั 2

วตั ถุประสงค์ •เพ่อื ให้นักเรียนสามารถทราบเก่ยี วกบั อวยั วะต่างๆท่ที า หน้าท่สี ร้างฮอร์โมน •เพ่อื ให้นักเรียนสามารถจาแนกประเภทของฮอร์โมนได้ •เพ่อื ให้นักเรียนสามารถอธิบายกลไกการทางานของ ฮอร์ โมนได้ •เพ่อื ให้นักเรียนสามารถอธบิ ายหน้าท่ขี องฮอร์โมนสัตว์ ได้ 3

ฮอร์ โมน  หมายถึง สารเคมีท่ีสร้ างจากเนือ้ เย่ือหรือต่อมไร้ ท่อ แล้วถูกลาเลียงไปตามระบบ หมุนเวียนของโลหิต เพ่ือทาหน้ าท่ีและเร่ งการเจริญเติบโต ตลอดจนถึงการ เปล่ียนแปลงรูปร่างและการเจริญไปเป็ นวัยผู้ใหญ่ เพ่ือกระตุ้นให้อวัยวะต่างๆ ทางาน อย่างมีประสิทธิภาพ เพ่อื ให้เจริญเติบโตเป็ นผู้ใหญ่ท่สี มบรู ณ์  ฮอร์โมนจะถูกลาเลียงไปออกฤทธ์ิอย่างจาเพาะท่ีอวัยวะเป้าหมาย (target organ) โดย อาศัยระบบหมุนเวยี นโลหติ  การทางานของร่างกายท่คี วบคุมโดยฮอร์โมนหรือสารเคมี เรียก chemical control และ เรียกกลุ่มสารเคมีดังกล่าวว่า chemical messenger หรือ molecular messenger  อวัยวะในร่างกายท่ีมีหน้าท่ีสร้างฮอร์ โมน เช่น ต่อม thyroid, parathyroid, adrenal, pituitary เป็ นต้น 4

ต่อมมีท่อ ต่อมไร้ท่อ 5

 การทดลองของ ศาสตราจารย์ อารโ์ นลด์ เอ. เบอรโ์ ทลด์ (Professor Arnold A. Berthold (1803-1861)  ซ่ึงไดท้ าการทดลองเก่ียวกับไก่เพศผูใ้ นปี ค.ศ. 1849 ในขณะที่เขาเป็ นหวั หน้าผูด้ ูแล พพิ ิธภณั ฑ์ สวนสตั วอ์ ยู่

กล่มุ ท่ี 1 เป็นลูกไก่ปกติ ทป่ี ลอ่ ยใหม้ ีการเจริญเป็นไก่เพศผตู้ ามปกติ กลุ่มท่ี 2 เป็ นลูกไก่ทีถ่ ูกตัดลกู อณั ฑะออก แล้วตดิ ตามสังเกตการเจริญเติบโตและลกั ษณะของลูกไก่ กล่มุ ที่ 3 เป็ นลกู ไก่ที่ถูกตัดลกู อณั ฑะออก แต่นาอณั ฑะของลูกไก่ตวั อ่ืน มาใส่ทใี่ นตาแหน่งใต้อณั ฑะเดมิ

8

ความสาคัญของต่ อมไร้ ท่ อต่ อร่ างกาย  พวกท่รี ่างกายขาดไม่ได้ (essential endocrine gland) ผลิตฮอร์โมนเป็ นหน้าท่ี หลกั ถ้าตดั ต่อมเหล่านีอ้ อก จะทาให้ตายในเวลาอันสนั้ ได้แก่  ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland),  ต่อมหมวกไตชนั้ นอก (cortex Adrenal gland),  ตับอ่อนส่วน Islets of Langerhans,  พวกท่รี ่างกายพอจะขาดได้ (non-essential endocrine gland)  ต่อมไพเนียล (Pinael gland)  ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)  รังไข่ (Ovary) และอณั ฑะ (Testes)  ต่อมหมวกไตชัน้ ใน (medulla Adrenal gland)  ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterier lobe of Pituitary gland) 9

10

บทบาทหน้าท่ขี องฮอร์โมน  ควบคุมขบวนการเมตาบอลซิ มึ ต่างๆภายในร่างกาย เช่น ไทรอกซนิ  ควบคุมภาวะสมดุลต่างๆในร่างกาย เช่น ความดนั โลหติ , ปริมาณนา้ ได้แก่ ฮอร์โมน ADH  ควบคุมการเจริญเตบิ โต เช่น การทางานของ growth hormone  ควบคุมเก่ยี วกับระบบสบื พนั ธ์ุ การคลอดบุตร และการหล่งั นา้ นม เช่น Estrogen, Oxytocin  ควบคุมเก่ยี วกับการปรับตัวของส่งิ มชี ีวติ ให้เข้ากบั สภาพแวดล้อม เช่น Melatonin 11

ลักษณะท่วั ไปของฮอร์โมน 1. สร้างหรือสงั เคราะห์จากกลมุ่ เซลล์พิเศษทไี่ มม่ ีทอ่ 2. สารนีอ้ าจถกู หลงั่ ออกสกู่ ระแสเลือดทนั ที หรือถกู เก็บไว้ถงึ ระดบั หนง่ึ รอการ กระต้นุ 3. มีคณุ สมบตั ทิ างเคมีเป็น สเตียรอยด์ โปรตีน ไกลโคโปรตีน อนพุ นั ธ์ของกรดอะ มิโน หรือ อนพุ นั ธ์ของกรดไขมนั 4. ใช้ปริมาณเลก็ น้อยในการออกฤทธ์ิทางานตามท่ีร่างกายต้องการ 5. เซลล์หรืออวยั วะเปา้ หมายอยหู่ า่ งไกลจากแหลง่ สร้าง 6. การออกฤทธ์ิมีความจาเพาะกบั เซลล์เปา้ หมาย 7. การทางานของฮอร์โมนหลายชนิดอาจให้ผลเสริมฤทธ์ิกนั (synergistic effect) หรือยบั ยงั้ กนั (antagonism effect) 12

การควบคุมแบบย้อนกลบั (feedback control) เป็ นปรากฏการณ์ท่ีฮอร์โมนหรือสารทหี่ ลงั่ ออกมาเพ่ือตอบสนองต่อ ฮอร์โมนทม่ี ากระตุ้น มผี ลย้อนกลบั ไปควบคุมการหลง่ั ของฮอร์โมนน้ันๆ การควบคุมย้อนกลบั มี 2 แบบคือ 1. การควบคุมแบบย้อนกลบั เชิงบวก (Positive feedback control) 2. การควบคุมแบบย้อนกลบั เชิงลบ (Negative feedback control)

14

แสงสวา่ งมีผลต่อการทางานของตอ่ มไพเนีย 15

Melatonin • ทาหน้าท่เี ก่ยี วกบั การควบคุมการเจริญเตบิ โตของอวัยวะสบื พนั ธ์ุ • ทางานตรงกันข้ามกับฮอร์โมน melanocyte stimulating hormone จากต่อมใต้สมองส่วนกลาง โดยทาให้สีของสตั ว์ เลอื ดเยน็ จาง ลง • ระงบั การหล่งั ของฮอร์โมนกลุ่ม gonadotropin ให้น้อยลง • หากขาดฮอร์โมน melatonin จะทาให้หนุ่มเร็วกว่าปกติ แต่ถ้า สร้างมากเกนิ ไปจะทาให้เป็ นหนุ่มเป็ นสาวช้ากว่าปกติ • นอกจากนีย้ ังทาหน้าท่เี ป็ นนาฬิกาชวี ติ (clock of life) ควบคุมการ หลับการต่นื อกี ด้วย

17

18

ฮอร์โมนท่สี ร้างและหล่งั จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary) มี 6 ชนิดได้แก่ • Follicle stimulating hormone (FSH) • Lutenizing hormone (LH) • Thyroid stimulating hormone (TSH) • Adrenocorticotropic hormone (ACTH) • Growth hormone (GH) หรือ Somatotrophin (STH) • Prolactin

ฮอร์ โมนจากไฮโพทาลามสั ท่กี ระต้นุ การหล่ังฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า  ฮอร์โมนกระต้นุ การหล่งั GH (GH releasing hormone, GHRH)  ฮอร์โมนยับยัง้ การหล่งั GH (GH inhibiting hormone, GHIH)  ฮอร์โมนกระต้นุ การหล่งั โพรแลกตนิ (prolactin releasing hormone, PRH)  ฮอร์โมนกระต้นุ การหล่งั ของต่อมไทรอยด์ (thyroid releasing hormone,TRH)กระต้นุ การหล่งั TSH  ฮอร์โมนกระต้นุ การหล่งั Gn (gonadotrophin releasing hormone,GnRH)กระต้นุ การหล่งั FSH และ LH 20

เซลล์เป้าหมายของฮอร์โมนทห่ี ลง่ั จากต่อมใต้สมอง

Growth hormone (GH) หรือ Somatotrophin (STH)  เป็ นโปรตีนฮอร์โมน  เกยี่ วกบั การสร้างความเจริญเตบิ โตของร่างกาย โดยเฉพาะการ เจริญเติบโตของกระดูกหรือกล้ามเนื้อ  GH จะถูกควบคุมโดยฮอร์โมนทสี่ ร้างจากสมองส่วนไฮโพทาลามัส คือ Growth hormone inhibiting hormone (GHIH) และ Somatostatin จาก delta cell ของตบั อ่อน

23

24

มี GH น้อยในวยั ผู้ใหญ่ -Simmon’s disease 25

Follicle stimulating hormone (FSH) ►เป็ นฮอร์โมนประเภทไกลโคโปรตีน ►ออกฤทธ์ิทีร่ ังไข่ (ovaries) ของเพศเมยี หรือ อณั ฑะ (testes) ของเพศผู้ ►ในเพศเมีย FSH จะทาหน้าท่กี ระตุ้นการเจริญเตบิ โตของถุงไข่ (ovarian follicle) ►ในสัตว์เพศผู้ FSH จะมีผลกระตุ้นให้ seminiferous tubule สร้างเซลล์อสุจิ

Hypothalamus Pituitary gland Ovary Estrogen Progesterone

Lutenizing hormone (LH) ► เป็ นฮอร์โมนประเภทไกลโคโปรตีน ► LH จะมีผลทาให้ graafian follicles เกดิ การตกไข่ ► LH มผี ลต่อการพฒั นาของ คอร์ปัสลูเทียม (corpus luteum) ► สาหรับสัตว์เพศผู้ LH จะทาหน้าท่ีในการ กระตุ้น leydig cell ในการสังเคราะห์ ฮอร์โมน testosterone

Thyroid stimulating hormone (TSH) ►เป็ นฮอร์โมนประเภทไกลโคโปรตีน ► กระตุ้นการหลง่ั ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ และกระตุ้นการเจริญเตบิ โตของต่อมไทรอยด์

Adrenocorticotropic hormone (ACTH) ►เป็ นโปรตีนฮอร์โมน ►กระตุ้นต่อมหมวกไตช้ันนอก (adrenal cortex) ให้ผลติ และ หลงั่ ฮอร์โมน aldosterone และ cortisol



ต่อมใต้สมองสว่ นกลาง : สรา้ งฮอร์โมนกระต้นุ เมลาโรไซต์ (melanocyte stimulating hormone: MSH หรอื melanotrophin) -หลง่ั ออกมามากในช่วงเช้าและเวลาเครยี ด -ทาให้ผวิ หนังมีสีเข้มขนึ้ เรอื่ ยๆ ทารกทีไ่ ม่สามารถสร้างเมลานินต้ังแต่ เกดิ (piebaldism) ผู้ไหญ่ท่ไี ม่สามารถสร้างเมลานินได้ (vitiligo) 32

33

ฮอร์โมนท่หี ลง่ั จากตอมใต้สมองส่วนหลงั (posterior pituitary) Oxytocin Antidiuretic hormone (ADH) หรือ vasopressin

Oxytocin ►เป็ นโปรตีนฮอร์โมน ►หน้าทค่ี ือ จะมผี ลโดยตรงทก่ี ล้ามเนื้อเรียบ - กระตุ้นการหลง่ั นา้ นม - กระตุ้นการคลอด

36

Antidiuretic hormone (ADH) หรือ vasopressin  เป็ นโปรตีนฮอร์โมน ►หน้าท่ีคือรักษาระดับนา้ ภายในร่างกายเอาไว้ ►กระตุ้นการบีบตวั ของเส้นเลือดแดงทาให้ความดันโลหิตสูงขนึ้ ►การควบคุมการหลง่ั ฮอร์โมน ADH จะเกดิ ขนึ้ เมื่อร่างกายเกดิ สภาวะขาด น้า (dehydration) ถ้ามกี ารตัดต่อมใต้สมองส่วนหลังออกไปพบว่ามีอาการเบาจืดเกดิ ขนึ้ ชั่วคราว แต่ถ้าตัดไฮโพทาลามสั ออกไป อาการเบาจืดจะเกดิ ขนึ้ อย่างถาวร แสดงให้เห็นว่า ต่อมใต้สมองส่วนหลังไม่ได้เป็ นต่อมที่สร้างฮอร์โมน แต่เป็ น ท่ีเกบ็ ฮอร์โมน ที่สร้างจากไฮโพทาลามสั

ฮอร์โมนทหี่ ลง่ั จากต่อมไทรอยด์ (thyroid gland) ►ไธรอกซิน (thyroxin) หรือ tetraiodothyronine (T4 ) และ triiodothyronine (T3) ►Calcitonin (thyrocalcitonin)

39

ไทรอกซิน (thyroxin) ►เป็ นฮอร์โมนท่สี ร้างมาจากกรดอะมิโนไทโรซีนกบั ไอโอดีน ►ควบคุมกระบวนการเมตาบอลซิ ึม โดยเร่งปฏิกริ ิยา oxidation ข้นั ต่างๆของ Kreb’s cycle ภายใน mitochondria ►ทางานร่วมกบั GH ในการควบคุมการเจริญเตบิ โตของร่างกายให้เป็ นไป ตามปกติ ►ควบคุมกระบวนการ metamorphosis ในสัตว์ครึ่งบกคร่ึงน้า ►ฮอร์โมนไทรอกซินจะช่วยทาให้รู้สึกกระฉับกระเฉง

กระบวนการ metamorphosis ในสัตว์คร่ึงบกครึ่งนา้

42

คอพอกธรรมดา (Non Toxic Goiter /Simple Goiter) คอพอกเป็นพษิ toxic goiter/Grave’s disease 43

44

CRETINISM MYXEDEME

Calcitonin (thyrocalcitonin) ►เป็ นโปรตนี ฮอร์โมน ►สังเคราะห์จากต่อมไธรอยด์ โดยกลุ่มเซลล์ parafollicular cell (C-cell) ►มีหน้าท่ีลดระดบั แคลเซียมในกระแสเลือด (รวมท้งั ฟอสเฟตด้วย) โดยนาไป เกบ็ ที่กระดูก ►การสังเคราะห์ฮอร์โมน calcitonin จะถูกควบคุมโดยระดบั ของแคลเซียม และฟอสเฟต (PO4-) ในกระแสเลือด และฮอร์โมนจากต่อมพาราไธรอยด์

47

ฮอร์โมนทหี่ ลงั่ จากต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid gland) ►เป็ นโปรตนี ฮอร์โมน มีหน้าท่ีเพมิ่ ระดับ Ca2+ และ ฟอสเฟตในกระแสเลือด ►การควบคุมการหลง่ั ฮอร์โมนเป็ นแบบ negative feedback โดยเมื่อระดบั Ca2+ ในเลือดสูงขนึ้ จะมีผลทาให้ต่อมพาราไทรอยด์หลง่ั PTH ลดน้อยลง

การควบคุมสมดลุ ของแคลเซียมโดย พาราไทรอยด์ฮอร์โมน

การควบคุมแคลเซียมโดยแคลซิโทนินและพาราทอร์โมน 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook