Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มวิจัยแม่ตั้งครรภ์ (ปี64)

เล่มวิจัยแม่ตั้งครรภ์ (ปี64)

Published by สสว.2 ชลบุรี, 2023-06-18 09:42:51

Description: เล่มวิจัยแม่ตั้งครรภ์ (ปี64)

Search

Read the Text Version

40 1.4.2) ความต้องการด้านการศึกษาหลังคลอดบุตร พบว่า มากกว่าร้อยละ 60 ต้องการศึกษา ต่อและประกอบอาชีพเสริมรายได้ อยู่บ้านเพื่อเลี้ยงดูบุตร ทํางานประจํา ส่วนความต้องการเรียนการศึกษา นอกโรงเรียนพบมากกว่าร้อยละ 50 และการกลับไปเรียนในสถานศึกษาเดิม/ย้ายไปเรียนสถานศึกษาอื่นเป็น ความต้องการท่นี ้อยที่สุดคือร้อยละ 31.3 (ตารางท่ี 6) 1.4.3) ความต้องการด้านการบริการจากหน่วยงานด้านสุขภาพ พบว่า มากกว่าร้อยละ 85 ตอ้ งการคาํ แนะนาํ เกยี่ วกบั สถานทฝี่ ากครรภ์และการคลอด และการผ่อนคลายความเครียด การได้รับการดูแล จากเจ้าหนา้ ท่ีอย่างเปน็ มิตรและเข้าใจ ไม่ตีตราหรือซ้ําเติม การจัดกลุ่มฝึกทักษะชีวิตการเป็นมารดา บิดา เช่น ฝึกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ การดูแลทารก และการให้คําปรึกษาด้านกฎหมาย เช่นการแจ้งชื่อของสามี การรับรองบุตร การแจ้งเกิด ส่วนความต้องการเกี่ยวกับการจัดการบริการแยกเฉพาะสตรีวัยรุ่นท่ีสะดวก และรวดเร็ว รวมท้ัง การแจ้งสิทธิประโยชน์ท่ีควรได้รับในกรณีสตรีต้ังครรภ์ และ/หรือครอบครัวเป็นผู้เสียหายพบความต้องการ มากกวา่ รอ้ ยละ 65 (ตารางท่ี 6) 1.4.4) ความต้องการด้านการบริการหรือสวัสดิการจากหนว่ ยงานอน่ื ๆ พบว่ามากกว่าร้อยละ 80 มีความต้องการการพูดคุยกับครอบครัวหรือผู้ปกครองเก่ียวกับการต้ังครรภ์ จัดให้มีศูนย์ให้คําปรึกษาและ ชว่ ยเหลอื มารดาวยั รนุ่ การช่วยเหลือสวัสดกิ ารในการเลยี้ งดู ด้านอุปกรณ์ต่างๆ สําหรับทารก การแจ้งเก่ียวกับ การต้งั ครรภ์ให้บิดามารดา/ผู้ปกครอง/ครู ส่วนความต้องการเก่ียวกับการส่งต่อผู้เช่ียวชาญทางสุขภาพจิตเพ่ือ ปรึกษาปัญหาต่าง ๆ การสนับสนุนหรือช่วยเหลือในการศึกษาทั้งในและนอกระบบ การช่วยเหลือด้านท่ีอยู่ อาศัยระหว่างต้ังครรภ์หรือหลังคลอด และการจัดฝึกอบรมทักษะและความชํานาญท่ีจําเป็นในการประกอบ อาชีพหรอื ความช่วยเหลอื ด้านอาชีพเสริมพบความตอ้ งการมากกว่ารอ้ ยละ 75 (ตารางที่ 6) ตารางท่ี 6 ความต้องการการจดั สวสั ดกิ ารของมารดาวยั รนุ่ ความตอ้ งการ จานวน ร้อยละ 1.การบรกิ ารหรือสวสั ดิการด้านการศกึ ษาสาหรับสตรีตงั้ ครรภว์ ัยร่นุ หรอื มารดาวัยรนุ่ 80.8 77.8 1.1 การแจง้ เกี่ยวกบั การตั้งครรภใ์ หค้ รทู ราบ 80 75.8 69.7 1.2 การพดู คยุ กับสถานศึกษาเกีย่ วกับการต้ังครรภ์ 77 67.7 1.3 การสนับสนนุ หรือช่วยเหลือในการศึกษาทัง้ ในและนอกระบบ 75 64.6 1.4 การได้รบั การปรึกษาแนะนํา และทางเลือกในการศึกษา เชน่ แผนการ 69 64.6 ศกึ ษา ยา้ ยรอบเรยี น การหยุดหรอื ขาดเรยี น การกลบั เข้าศึกษาใหมห่ ลังคลอด 61.6 1.5 ความตอ้ งการในบริการสวสั ดกิ ารทางการศกึ ษาชว่ งของการต้ังครรภ์ คือ 67 ความยืดหยนุ่ ในระเบียบของสถานศึกษา เช่น เคร่อื งแต่งกาย 1.6 การปอู งกนั การถูกตตี ราจากครู เพ่ือนหรือบุคลากรในสถานศกึ ษา 64 2. ดา้ นการศกึ ษาหลังคลอดบตุ ร 2.1 ศึกษาต่อและประกอบอาชพี เสริมรายได้ 64 2.2 อยบู่ ้านเพื่อเล้ยี งดบู ุตร 61

41 ความตอ้ งการ จานวน ร้อยละ 2.3 ทาํ งานประจํา 60 60.6 2.4 เรยี นการศึกษานอกโรงเรียน 52 52.5 2.5 กลับไปเรียนในสถานศึกษาเดิม/ยา้ ยไปเรียนสถานศกึ ษาอื่น 31 31.3 3. การบรกิ ารจากหน่วยงานด้านสุขภาพในการดูแลสตรตี ัง้ ครรภว์ ยั รุ่นหรอื มารดาวยั รุ่น 3.1 การแนะนาํ เกี่ยวกบั สถานที่ฝากครรภแ์ ละการคลอด 95 96.0 3.2 คําแนะนําเกยี่ วกบั การผ่อนคลายความเครียด 89 89.9 3.3 การได้รับการดูแลจากเจ้าหนา้ ท่ีอย่างเป็นมิตรและเข้าใจ ไมต่ ีตราหรือซํ้าเติม 87 87.9 3.4 จดั กลุม่ ฝกึ ทักษะชวี ติ การเปน็ มารดา บดิ า เชน่ ฝกึ ใช้อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ การ 86 86.9 ดูแลทารก 3.5 การให้คาํ ปรกึ ษาด้านกฎหมาย เช่นการแจ้งชือ่ ของสามี การรับรองบตุ ร 86 86.9 การแจ้งเกิด 3.6 การจัดการบริการแยกเฉพาะสตรีวยั รุ่นทีส่ ะดวก และรวดเรว็ 79 79.8 3.7 แจง้ สิทธิประโยชนท์ คี่ วรได้รบั ในกรณีสตรตี ง้ั ครรภ์ และ/หรอื ครอบครวั เป็น 65 65.7 ผู้เสยี หาย 4. การบรกิ ารหรือสวัสดิการจากหนว่ ยงานอืน่ ๆ ในการดูแลสตรตี ัง้ ครรภ์วยั ร่นุ หรือมารดาวยั รุน่ 4.1 การพูดคยุ กบั ครอบครัวหรือผูป้ กครองเกี่ยวกบั การต้ังครรภ์ 85 85.9 4.2 จดั ใหม้ ีศูนยใ์ หค้ าํ ปรึกษาและช่วยเหลือแมว่ ยั รนุ่ 85 85.9 4.3 การช่วยเหลอื สวสั ดิการในการเลย้ี งดู ด้านอปุ กรณต์ ่างๆสาํ หรบั ทารก 81 81.8 4.4 การแจ้งเก่ียวกบั การต้งั ครรภ์ให้บิดามารดา/ผ้ปู กครอง/ครู 80 80.8 4.5 การส่งตอ่ ผเู้ ชย่ี วชาญทางสขุ ภาพจติ เพ่อื ปรึกษาปัญหาตา่ ง ๆ 78 78.8 4.6 การสนบั สนนุ หรอื ช่วยเหลือในการศกึ ษาท้งั ในและนอกระบบ 77 77.8 4.7 การชว่ ยเหลอื ดา้ นท่อี ยู่อาศยั ระหว่างต้งั ครรภห์ รอื หลังคลอด 77 77.8 4.8 จดั ฝึกอบรมทักษะและความชาํ นาญท่ีจําเป็นในการประกอบอาชีพหรอื 75 75.8 ความชว่ ยเหลือด้านอาชีพเสรมิ 1.5) ลกั ษณะการบรกิ ารเชงิ รุกและสัมพันธภาพจากหน่วยงานที่รับผิดชอบที่สตรีตั้งครรภ์/มารดาวัยรุ่น มคี วามตอ้ งการ ดงั น้ี 1.5.1) ความต้องการลักษณะการบริการเชิงรุกพบว่า มากกว่าร้อยละ 80 มารดาวัยรุ่นต้องการ การบริการปรกึ ษาทางโทรศพั ท์หรือแอพพลิเคช่ันอ่ืน ๆ และการบริการให้คําปรึกษารูปแบบต่าง ๆ ทั้งในและนอก เวลาราชการแก่พ่อแม่หรอื ผู้ปกครองของท่าน และการบริการสง่ ต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพ่ือดูแลทั้งร่างกาย จิตใจ และครอบครัว มากกว่าร้อยละ 70 ต้องการให้ภาครัฐควรกระตุ้นเศรษฐกิจให้มีการจ้างงาน การจัดให้มีการเย่ียม

42 บ้านวัยรุ่นต้ังครรภ์เพื่อติดตามภาวะสุขภาพ ติดตามให้มาตรวจตามนัด ให้คําแนะนํา และความช่วยเหลือขณะท่ี มารดาวัยรุ่นอยทู่ บี่ ้าน และจดั หน่วยบริการเคลื่อนทีเ่ ขา้ ไปให้การปรึกษาดแู ลมารดาวัยรุ่นในชุมชน ส่วนการบริการ เชิงรุกเก่ียวกับการทํากลุ่มช่วยเหลือ (group support) เพื่อให้มารดาวัยรุ่นได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และดูแลซึ่งกันและกัน การจัดทําศูนย์ช่วยเหลือแบบเบ็ดเสร็จ (one stop service)และการจัดหน่วยงานสําหรับ การรับฝากและดแู ลบตุ รแบบระยะส้ัน (เช้าไป-เย็นกลับ) พบความต้องการมากกว่าร้อยละ 60 นอกจากนี้มากกว่า ร้อยละ 50 ท่ีต้องการให้มีหน่วยงานสําหรับการฝากเล้ียงดูบุตรแบบระยะยาว และการจัดหาผู้อุปการะบุตรหรือ ครอบครวั อุปถัมภ์ (ตารางท่ี 12) 1.5.2) ความต้องการด้านสัมพันธภาพจากหน่วยงานท่ีรับผิดชอบดูแลสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือ มารดาวัยรุ่น พบว่ามากกว่าร้อยละ 90 ต้องการลักษณะการบริการท่ีมีการทักทายและแสดงความเป็นมิตร กระตือรือร้น และใส่ใจในการบริการ รับฟังการระบายความคิดหรือความรู้สึกท่ีคับข้องใจ แนะนําตนเองและแจ้งวัตถุประสงค์ ของแต่ละกจิ กรรม แสดงออกถึงความสนใจต่อการบริการ และให้ความมั่นใจว่าความลับจะไม่ถูกเปิดเผยต่อผู้ท่ีไม่ เกย่ี วขอ้ ง (ตารางที่ 7) ตารางท่ี 7 ลกั ษณะการบริการและการบริการเชิงรกุ ทีม่ ารดาวัยรนุ่ ต้องการ ลกั ษณะการบรกิ ารและการบรกิ ารเชงิ รุก จานวน รอ้ ยละ 1. การบรกิ ารเชงิ รุก 84.8 83.8 1.1 การบรกิ ารปรกึ ษาทางโทรศพั ท์ หรือแอพพลิเคชั่นอื่น ๆ 84 82.8 1.2 การบรกิ ารใหค้ าํ ปรึกษารูปแบบตา่ ง ๆ ท้ังในและนอกเวลาราชการแกพ่ ่อ 83 78.8 75.8 แม่หรอื ผู้ปกครองของท่าน 71.7 1.3 บริการส่งต่อหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้องเพื่อดูแลทัง้ รา่ งกาย จิตใจ และครอบครวั 82 68.7 1.4 ภาครฐั ควรกระต้นุ เศรษฐกจิ ให้มกี ารจา้ งงาน 78 67.7 64.6 1.5 จัดให้มกี ารเย่ยี มบ้านวัยรุ่นตั้งครรภเ์ พือ่ ตดิ ตามภาวะสุขภาพ ตดิ ตามใหม้ า 75 57.6 54.5 ตรวจตามนดั ใหค้ ําแนะนาํ และความชว่ ยเหลอื ขณะท่ีมารดาวัยรุ่นอยูท่ ี่บา้ น 96.0 1.6 จดั หนว่ ยบริการเคลอ่ื นที่เขา้ ไปใหก้ ารปรึกษาดูแลแม่วัยรนุ่ ในชมุ ชน 71 1.7 การทํากลุม่ ช่วยเหลอื (group support) เพื่อให้แม่วัยรนุ่ ไดม้ ีโอกาส 68 แลกเปลีย่ นประสบการณแ์ ละดแู ลซงึ่ กันและกัน 1.8 จัดทาํ ศูนย์ช่วยเหลอื แบบเบ็ดเสร็จ (one stop service) 67 1.9 หนว่ ยงานสําหรับการรบั ฝากและดูแลบตุ รแบบระยะส้นั (เชา้ ไป-เย็นกลับ) 64 1.10 หนว่ ยงานสําหรับการฝากเล้ียงดูบตุ รแบบระยะยาว 57 1.11 การจดั หาผอู้ ปุ การะบุตรหรอื ครอบครวั อุปถมั ภ์ 54 2. สัมพนั ธภาพจากหน่วยงานทีร่ บั ผดิ ชอบดแู ลสตรีต้งั ครรภ์วัยรุ่นหรอื มารดาวยั รุ่น 2.1 การทกั ทายและแสดงความเป็นมติ ร กระตือรือร้น และใส่ใจในการบริการ 95

43 ลักษณะการบรกิ ารและการบริการเชงิ รุก จานวน รอ้ ยละ 2.2 รับฟงั การระบายความคดิ หรอื ความร้สู กึ ท่ีคบั ข้องใจ 90 90.9 2.3 การแนะนําตนเองและแจง้ วัตถุประสงค์ของแตล่ ะกจิ กรรม 90 90.9 2.4 แสดงออกถึงความสนใจตอ่ การบริการ 90 90.9 2.5 ให้ความม่นั ใจวา่ ความลับจะไม่ถูกเปิดเผยตอ่ ผู้ที่ไมเ่ ก่ียวข้อง 88 88.9 ตอนท่ี 2 สถานการณก์ ารจดั สวสั ดิการการดแู ลสตรตี ั้งครรภห์ รอื มารดาวัยรุ่น ความต้องการการจัดสวัสดิการ ที่เหมาะสมสําหรับสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และข้อเสนอการบริการเชิงรุกในการจัดสวัสดิการสําหรับสตรี ตั้งครรภห์ รือมารดาวยั รุ่น ตามความคิดเหน็ และประสบการณ์ของครอบครวั ของสตรตี ้ังครรภห์ รือมารดาวัยรุ่น 1) ลักษณะท่ัวไปของของสมาชกิ ในครอบครัวหรือสามีของสตรีตั้งครรภห์ รอื มารดาวัยรุน่ สมาชิกในครอบครวั หรอื สามีของสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นในจํานวน 91 ราย พบว่า ส่วนใหญ่อายุ มากกว่าหรอื เทา่ กบั 20 ปี (85.7%) มีความสมั พนั ธก์ บั สตรีตัง้ ครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นโดยเป็นบิดา มารดา ญาติ พ่ีน้องของสตรีตั้งครรภ์/มารดาวัยรุ่นร้อยละ 64.9 นับถือศาสนาพุทธ (92.3%) ประกอบอาชีพร้อยละ 38.2 ประกอบธุรกิจส่วนตัวมากที่สุด (20.9%) ส่วนใหญ่ (54.9%) มีรายได้ต่อเดือนมากกว่า 10,000 บาท (ตารางที่ 8) ตารางท่ี 8 ลกั ษณะทั่วไปของครอบครวั ของสตรตี ัง้ ครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น (N= 91) ขอ้ มูล จานวน ร้อยละ 14.3 อายุปัจจบุ ัน (ปี) < 20 13 20.9 13.2 20 - 29 19 30.8 15.4 30 - 39 12 5.5 46.0 40 - 49 28 18.7 50 - 59 14 18.7 9.9 60 ปขี นึ้ ไป 5 6.6 92.3 ความเก่ียวข้องกับสตรี บิดา/มารดาของสตรตี งั้ ครรภ์หรือ 42 7.7 ต้งั ครรภ์/มารดาวยั รุ่น มารดาวัยร่นุ ญาติ/พนี่ ้อง 17 บิดา/มารดาของสามีหรอื เพื่อนชาย 17 สามี/เพื่อน 9 ไมร่ ะบุ 6 ศาสนา พทุ ธ 84 อิสลาม 7

44 ขอ้ มูล จานวน รอ้ ยละ อาชพี ไมไ่ ด้ประกอบอาชพี 39 42.8 รายได้ตอ่ เดอื น ธุรกจิ ส่วนตัว 19 20.9 นกั ศกึ ษา 13 14.3 รบั จา้ งท่วั ไป/รับราชการ/เกษตรกร 11 12.1 ไมต่ อบ 9 9.9 ไมม่ ีรายได้ 4 4.4 3,000 – 10,000 27 29.7 > 10,000 50 54.9 ไม่ตอบ 10 11.0 2) สถานการณ์ในการจดั สวัสดกิ ารการดแู ลสตรตี ้งั ครรภ์หรอื มารดาวยั รนุ่ 2.1) บุคคลหรือหน่วยงานท่ีสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นได้รับความช่วยเหลือหรือดูแลใน ระหวา่ งต้งั ครรภ์ ดงั น้ี มากกว่าร้อยละ 70 ของครอบครัวมีความคิดเห็นว่าสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นได้รับความ ชว่ ยเหลือดูแลระหวา่ งต้ังครรภ์ ไดแ้ ก่ บิดา มารดา หรือญาติของสามี บุคลากรทางสุขภาพในชุมชน เช่น อสม. พยาบาล แพทย์ และโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตําบล และบิดา มารดา ญาติหรือเพ่ือนของสตรีตั้งครรภ์หรือ มารดาวัยรนุ่ มากกวา่ ร้อยละ 60 ของครอบครัวมีความคิดเห็นว่าสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นได้รับความ ชว่ ยเหลอื ดแู ลระหว่างตง้ั ครรภ์ ได้แก่ สถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน และมูลนิธิสหทัยมูลนิธิ มูลนิธิภคินี ศรชี ุมพาบาล ร้อยละ 45.1 – 59.3 ของครอบครัวมีความคิดเห็นว่า สตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นได้รับความ ชว่ ยเหลือดแู ลระหว่างตงั้ ครรภ์ ไดแ้ ก่ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ กรมสวัสดิการและ คมุ้ ครองแรงงาน (สาํ นักคุ้มครองแรงงาน) และมลู นธิ ิเพอื่ นหญงิ (ตารางท่ี 9) ตารางที่ 9 บคุ คลหรือหน่วยงานที่ใหค้ วามชว่ ยเหลอื หรอื ดแู ลในระหว่างต้งั ครรภ์ บคุ คลหรือหน่วยงาน จานวน ร้อยละ 1. บดิ า มารดาหรอื ญาติของสามี 76 83.5 2. บคุ ลากรทางสุขภาพในชมุ ชน เช่น อสม. พยาบาล แพทย์ 74 81.3 3. บิดา มารดา ญาตหิ รือเพ่ือนของสตรตี ั้งครรภห์ รอื มารดาวัยรนุ่ 74 81.3 4. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาํ บล (รพ.สต.) 66 72.5 5. โรงพยาบาลเอกชน/คลนิ กิ เอกชน 59 64.8

บุคคลหรือหน่วยงาน 45 6. โรงพยาบาลชมุ ชน/โรงพยาบาลจงั หวดั 7. มูลนิธสิ หทยั มลู นิธิ และ มูลนิธภิ คนิ ศี รีชมุ พาบาล จานวน ร้อยละ 8. กระทรวงพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ 57 62.6 9. กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน (สํานักคมุ้ ครองแรงงาน) 56 61.5 10. มลู นธิ ิเพื่อนหญิง 54 59.3 47 51.6 41 45.1 2.2) การเข้าร่วมกิจกรรมหรือรับบริการจากหน่วยงานท่ีให้ความช่วยเหลือดูแลของหญิง ตงั้ ครรภ์วยั รุ่นตามความคิดเหน็ ของครอบครัว จากการศึกษาพบว่า มากกว่าร้อยละ 80 ของครอบครัวท่ีตอบว่าสตรีต้ังครรภ์หรือมารดา วัยรุ่นเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ การรับฟังปัญหาอย่างต่อเนื่อง การเตรียมความพร้อมเล้ียงบุตร การสอนให้รู้วิธี คุมกําเนิด การจัดกลุ่มฝึกทักษะชีวิตการเป็นมารดา บิดา เช่น ฝึกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ การดูแลทารก การแลกเปล่ียน ประสบการณ์การเรยี นรู้รว่ มกนั การดแู ลตนเองระหว่างการตง้ั ครรภ์ การเตรียมตวั คลอดคาํ แนะนําเก่ียวกับการ ผอ่ นคลายความเครยี ด และการใหค้ ําปรกึ ษาด้านกฎหมาย เชน่ การแจ้งชื่อของสามี การรับรองบุตร การแจ้งเกิด มากกว่าร้อยละ 70 ของครอบครัวท่ีตอบว่าสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นเข้าร่วมกิจกรรม ไดแ้ ก่ การสอนการยับยง้ั ช่งั ใจ การสนับสนุนการฝึกอาชีพ การแจ้งสิทธิกรณีสตรีต้ังครรภ์ และ/หรือครอบครัว เป็นผู้เสียหาย การได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่อย่างเป็นมิตรและเข้าใจ ไม่ตีตราหรือซ้ําเติม และการได้รับ ทุนอุดหนุนร้อยละ 59.3 – 69.2 ของครอบครัวท่ีตอบว่าสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ การฝากครรภ์ และให้ความรู้การดูแลครรภ์ การสนับสนุนการเรียนต่อ ศิลปะบําบัดและการจัดบริการแยก เฉพาะสตรีวัยรนุ่ ท่สี ะดวก รวดเรว็ (ตารางที่ 10) ตารางท่ี 10 การเขา้ รว่ มกิจกรรมหรือรบั บริการจากหน่วยงานทใี่ หค้ วามชว่ ยเหลอื ดแู ล ขอ้ มูล จานวน ร้อยละ 90.1 1. การรบั ฟงั ปญั หาอย่างต่อเนอ่ื ง 82 85.7 83.5 2. เตรียมความพร้อมเลีย้ งบตุ ร 78 82.4 80.2 3. สอนใหร้ ูว้ ิธกี ารคมุ กาํ เนดิ 76 80.2 4. จดั กลมุ่ ฝึกทกั ษะชวี ติ การเปน็ มารดา บดิ า เชน่ ฝึกใช้อปุ กรณต์ ่าง ๆ การดูแลทารก 75 80.2 78.0 5. แลกเปลยี่ นประสบการณก์ ารเรยี นรู้รว่ มกัน 73 6. การดแู ลตนเองระหว่างการตงั้ ครรภ์การเตรยี มตวั คลอดคําแนะนําเกยี่ วกบั การ 73 ผอ่ นคลายความเครยี ด 7. การใหค้ าํ ปรึกษาดา้ นกฎหมาย เชน่ การแจง้ ชอื่ ของสามี การรับรองบตุ ร การแจง้ เกิด 73 8. สอนการยบั ย้งั ชง่ั ใจ 71

46 ข้อมูล จานวน ร้อยละ 9. การสนบั สนุนการฝึกอาชพี 68 74.7 10. แจง้ สิทธิกรณีสตรตี ัง้ ครรภ์ และ/หรอื ครอบครัวเป็นผเู้ สยี หาย 67 73.6 11. การไดร้ ับการดูแลจากเจา้ หนา้ ท่อี ย่างเปน็ มิตรและเข้าใจ ไม่ตีตราหรือซ้าํ เติม 66 72.5 12. ได้รับทุนอุดหนุน 65 71.4 13. ฝากครรภ์ และให้ความรู้การดแู ลครรภ์ 63 69.2 14. การสนับสนนุ การเรียนตอ่ 60 65.9 15. ศิลปะบาํ บดั 59 64.8 16. การจดั บริการแยกเฉพาะสตรวี ยั รนุ่ ทส่ี ะดวก รวดเร็ว 54 59.3 2.3) ปัญหาของสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นท่ีเกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์หรือหลังคลอด ตามการ รับร้ขู องครอบครวั พบว่า มากกว่าร้อยละ 25 ของครอบครัวของมารดาวัยรุ่นให้ความเห็นว่า เห็นด้วยที่สตรี ตงั้ ครรภ์หรอื มารดาวยั รนุ่ มอี ารมณ์เศร้า หดหู่ (26.4%) และรู้สึกผิดจนอยากทําร้ายตนเองหรืออยากฆ่าตัวตายหรือ ทําแท้งระหว่างต้ังครรภ์ (40.7%) มากกว่าร้อยละ 50 ที่เห็นว่าสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นไม่มีความรู้ทางด้าน กฎหมาย หรือการเรียกร้องสิทธิต่าง ๆ รวมทั้งไม่ได้รับการช่วยเหลือในกระบวนการยุติธรรม มากกว่าร้อยละ 40 ที่เห็นว่าสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นหลุดออกจากระบบการศึกษาโดยไม่เต็มใจ ถูกกีดกันทางสังคม เช่น การไม่สามารถเข้าถึงงานอาชีพและรายได้ ได้รับการช่วยเหลือจากเครือญาติของตนเองและของสามีน้อย รวมทงั้ มีปัญหาดา้ นสัมพนั ธภาพในครอบครวั (ตารางที่ 11) ตารางท่ี 11 ปัญหาท่ีเกิดขึ้นระหว่างต้ังครรภ์หรือหลังคลอดของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นตามการ รบั ร้ขู องครอบครัว ปัญหาหรือสถานการณ์ จานวน รอ้ ยละ 1. มอี ารมณเ์ ศรา้ หดหู่ ระหว่างตง้ั ครรภ์ 24 26.4 2. ร้สู กึ ผดิ จนอยากทําร้ายตนเองหรืออยากฆา่ ตวั ตายหรือทําแท้งระหวา่ งตง้ั ครรภ์ 37 40.7 3. การหลดุ ออกจากระบบการศึกษาโดยไม่เตม็ ใจ 37 40.7 4. ไมม่ ีความรู้ทางด้านกฎหมาย การเรยี กร้องสิทธติ า่ ง ๆ หรือ ไม่ได้รบั การช่วยเหลอื 48 52.7 ในกระบวนการยตุ ิธรรม 5. การถกู กีดกันทางสังคม เช่น การไมส่ ามารถเข้าถึงงานอาชีพและรายได้ 37 40.7 6. ได้รบั การช่วยเหลือจากเครือญาติของตนเองน้อย 44 48.4 7. ไดร้ ับการชว่ ยเหลือจากเครือญาติฝาุ ยชายนอ้ ย 40 44.0 8. ปญั หาดา้ นสัมพนั ธภาพในครอบครวั 38 41.8

47 2.4) ความต้องการการจดั สวัสดิการทีเ่ หมาะสมสาหรับสตรีต้ังครรภ์ในวัยรุ่น ตามความคิดเห็น ของครอบครัวของสตรตี งั้ ครรภ์หรอื มารดาวยั รนุ่ ไดแ้ ก่ 2.4.1) ความต้องการด้านการบริการหรือสวัสดิการด้านการศึกษาสําหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น หรือมารดาวัยรุ่นขณะตั้งครรภ์พบว่าครอบครัวของสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นให้ความเห็นว่าสตรีต้ังครรภ์ วัยรุ่นมีมากกว่าร้อยละ 70 มีความต้องการในทุก ๆ การบริการและที่เป็นความต้องการมากท่ีสุดคือร้อยละ 82.4 คือ การพูดคยุ กบั สถานศกึ ษาเก่ียวกบั การตั้งครรภ์ 2.4.2) ความต้องการด้านการบริการหรือสวัสดิการด้านการศึกษาสําหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น หรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอดบุตร พบว่าครอบครัวของสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นให้ความเห็นว่า มารดา วยั รนุ่ มากกว่าร้อยละ 70 ตอ้ งการอยู่บ้านเพ่ือเลี้ยงดูบุตร รวมทั้งทํางานประจํา และร้อยละ 49.5 – 62.6 ต้องการ ศึกษาต่อและประกอบอาชีพเสริมรายได้หรือกลับไปเรียนในสถานศึกษาเดิม/ย้ายไปเรียนสถานศึกษาอ่ืน หรือ การศกึ ษานอกโรงเรียน 2.4.3) ความตอ้ งการด้านการบรกิ ารหรือสวสั ดิการด้านการบริการจากหน่วยงานด้านสุขภาพ พบวา่ ครอบครวั ของสตรตี ้งั ครรภห์ รอื มารดาวยั รุ่นให้ความเห็นวา่ สตรีตงั้ ครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นร้อยละ 79.1 – 92.3 มีความต้องการการแนะนําเก่ียวกับสถานที่ฝากครรภ์และการคลอด การจัดกลุ่มฝึกทักษะชีวิตการเป็นมารดา บิดา เช่น ฝึกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ การดูแลทารก การให้คําปรึกษาด้านกฎหมาย เช่นการแจ้งช่ือของสามี การรับรองบุตร การแจ้งเกิด และคําแนะนําเก่ียวกับการผ่อนคลายความเครียด รวมทั้งการแจ้งสิทธิประโยชน์ที่ควรได้รับใน กรณสี ตรีตัง้ ครรภ์ และ/หรอื ครอบครัวเป็นผู้เสียหาย ต้องการการจัดการบริการแยกเฉพาะสตรีวัยรุ่นท่ีสะดวก และรวดเร็ว รวมทั้งการได้รบั การดูแลจากเจ้าหนา้ ที่อย่างเปน็ มติ รและเขา้ ใจ ไมต่ ตี ราหรือซ้ําเติม 2.4.4) ความต้องการดา้ นการบริการหรือสวัสดกิ ารด้านการบรกิ ารจากหน่วยงานอ่ืน ๆ พบว่า ครอบครัวของสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นให้ความเห็นว่าสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นมากกว่าร้อยละ 80 มีความต้องการจัดให้มีศูนย์ให้คําปรึกษาและช่วยเหลือมารดาวัยรุ่น การส่งต่อผู้เชี่ยวชาญทางสุขภาพจิตเพ่ือ ปรึกษาปัญหาต่าง ๆ และการแจ้งเกี่ยวกับการต้ังครรภ์ให้บิดามารดา/ผู้ปกครอง/ครู ร้อยละ 72.5 – 79.1 มีความ ตอ้ งการการพูดคยุ กบั ครอบครวั หรือผปู้ กครองเกยี่ วกบั การตั้งครรภ์ การชว่ ยเหลอื สวัสดิการในการเล้ียงดู ด้านอุปกรณ์ ตา่ งๆสาํ หรับทารก การจัดฝึกอบรมทักษะและความชํานาญที่จําเป็นในการประกอบอาชีพหรือความช่วยเหลือ ด้านอาชีพเสริม การสนับสนุนหรือช่วยเหลือในการศึกษาท้ังในและนอกระบบ และการช่วยเหลือด้านที่อยู่ อาศยั ระหว่างตั้งครรภห์ รือหลงั คลอด (ตารางที่ 12) ตารางที่ 12 ความต้องการการจดั สวสั ดกิ ารที่เหมาะสมสําหรบั กลมุ่ เปาู หมายตงั้ ครรภใ์ นวยั รนุ่ ความต้องการ จานวน รอ้ ยละ 1.การบรกิ ารหรอื สวสั ดิการด้านการศกึ ษาสาหรบั สตรีตัง้ ครรภว์ ัยร่นุ หรือมารดาวัยรุน่ 82.4 74.5 1.1 การพูดคุยกบั สถานศกึ ษาเกี่ยวกบั การตั้งครรภ์ 75 1.2 การสนบั สนุนหรือช่วยเหลอื ในการศกึ ษาทงั้ ในและนอกระบบ 68

48 ความตอ้ งการ จานวน ร้อยละ 1.3 การได้รบั การปรึกษาแนะนาํ และทางเลือกในการศึกษา เช่น แผนการ 67 73.6 ศึกษา ยา้ ยรอบเรียน การหยุดหรอื ขาดเรยี น การกลบั เข้าศึกษาใหมห่ ลงั คลอด 1.4 ความตอ้ งการในบรกิ ารสวัสดิการทางการศกึ ษาชว่ งของการตั้งครรภ์ คอื 67 73.6 ความยืดหยนุ่ ในระเบียบของสถานศึกษา เชน่ เครอื่ งแตง่ กาย 1.5 การปูองกันการถูกตตี ราจากครู เพื่อนหรือบุคลากรในสถานศึกษา 64 70.3 1.6 การแจง้ เกี่ยวกับการตง้ั ครรภ์ให้ครทู ราบ 64 70.3 2. ด้านการศกึ ษาหลงั คลอดบุตร 2.1 อยูบ่ ้านเพ่ือเล้ียงดูบตุ ร 64 70.3 2.2 ทาํ งานประจาํ 64 70.3 2.3 ศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพเสริมรายได้ 57 62.6 2.4 กลับไปเรียนในสถานศึกษาเดมิ /ยา้ ยไปเรยี นสถานศกึ ษาอ่ืน 52 57.1 2.5 เรียนการศึกษานอกโรงเรยี น 45 49.5 3. การบริการจากหน่วยงานดา้ นสุขภาพในการดแู ลสตรตี ้ังครรภ์วัยรนุ่ หรอื มารดาวยั รุ่น 3.1 การแนะนําเก่ียวกับสถานที่ฝากครรภ์และการคลอด 84 92.3 3.2 จัดกลมุ่ ฝกึ ทกั ษะชีวติ การเปน็ มารดา บิดา เชน่ ฝึกใช้อุปกรณ์ตา่ ง ๆ การ 82 90.1 ดูแลทารก 3.3 การให้คําปรกึ ษาดา้ นกฎหมาย เชน่ การแจง้ ชอ่ื ของสามี การรับรองบุตร 82 90.1 การแจ้งเกิด 3.4 คาํ แนะนาํ เก่ียวกบั การผ่อนคลายความเครียด 80 87.9 3.5 แจง้ สทิ ธปิ ระโยชน์ทีค่ วรไดร้ ับในกรณีสตรีต้ังครรภ์ และ/หรอื ครอบครัวเป็น 77 84.6 ผู้เสยี หาย 3.6 การจดั การบรกิ ารแยกเฉพาะสตรีวัยร่นุ ท่ีสะดวก และรวดเร็ว 74 81.3 3.7 การได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่อย่างเป็นมิตรและเข้าใจ ไมต่ ีตราหรือซ้าํ เติม 72 79.1 4. การบรกิ ารหรอื สวสั ดิการจากหน่วยงานอน่ื ๆ ในการดูแลสตรีตั้งครรภว์ ยั ร่นุ หรือมารดาวยั รนุ่ 4.1 จดั ให้มีศูนยใ์ หค้ าํ ปรึกษาและชว่ ยเหลอื แม่วัยรนุ่ 74 81.3 4.2 การส่งตอ่ ผเู้ ช่ียวชาญทางสุขภาพจิตเพ่ือปรึกษาปญั หาต่าง ๆ 74 81.3 4.3 การแจง้ เกีย่ วกับการต้ังครรภใ์ ห้บดิ ามารดา/ผู้ปกครอง/ครู 73 80.2 4.4 การพูดคยุ กบั ครอบครัวหรือผ้ปู กครองเกี่ยวกบั การตั้งครรภ์ 72 79.1 4.5 การช่วยเหลอื สวสั ดิการในการเลย้ี งดู ด้านอุปกรณ์ต่างๆสําหรับทารก 70 76.9 4.6 จัดฝึกอบรมทักษะและความชาํ นาญทจ่ี าํ เป็นในการประกอบอาชีพหรือ 69 75.8 ความช่วยเหลือดา้ นอาชีพเสรมิ

49 ความตอ้ งการ จานวน รอ้ ยละ 4.7 การสนบั สนุนหรือชว่ ยเหลอื ในการศกึ ษาท้ังในและนอกระบบ 68 74.4 4.8 การชว่ ยเหลือดา้ นท่ีอยู่อาศัยระหวา่ งตั้งครรภห์ รือหลังคลอด 66 72.5 2.5) ลักษณะการบริการและการบริการเชิงรุกท่ีมารดาวัยรุ่นต้องการตามความคิดเห็นของ ครอบครวั ของสตรตี ้ังครรภห์ รือมารดาวยั รนุ่ ไดแ้ ก่ 2.5.1) การบริการเชิงรุกที่มารดาวัยรุ่นต้องการตามความคิดเห็นของครอบครัวของสตรี ตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น พบว่า มากกว่าร้อยละ 80 มีความต้องการการบริการเชิงรุกเกี่ยวกับการเย่ียมบ้าน วัยรุ่นต้ังครรภ์เพ่ือติดตามภาวะสุขภาพ ติดตามให้มาตรวจตามนัด ให้คําแนะนํา และความช่วยเหลือขณะที่ มารดาวัยรุ่นอยู่ที่บ้าน การบริการปรึกษาทางโทรศัพท์ หรือแอพพลิเคช่ันอื่น ๆ จัดทําศูนย์ช่วยเหลือแบบ เบ็ดเสร็จ (one stop service) การกระตุ้นเศรษฐกิจให้มีการจ้างงาน การบริการส่งต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพ่อื ดูแลทั้งรา่ งกาย จติ ใจ และครอบครัว และการทาํ กลมุ่ ชว่ ยเหลือ (group support) เพ่ือให้มารดาวัยรุ่นได้มี โอกาสแลกเปล่ียนประสบการณ์และดูแลซ่ึงกันและกัน ร้อยละ 52.7 – 79.1 มีความต้องการการบริการเชิงรุก เก่ียวกับการบริการให้คําปรึกษารูปแบบต่าง ๆ ทั้งในและนอกเวลาราชการแก่พ่อแม่หรือผู้ปกครองของท่าน การจดั หน่วยบริการเคลื่อนท่ีเข้าไปให้การปรึกษาดูแลมารดาวัยรุ่นในชุมชน หน่วยงานสําหรับการรับฝากและ ดแู ลบตุ รแบบระยะสน้ั (เชา้ ไป-เยน็ กลบั ) และระยะยาว และการจัดหาผ้อู ุปการะบตุ รหรือครอบครัวอุปถมั ภ์ 2.5.2) สัมพันธภาพจากหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นตาม ความคดิ เห็นของครอบครวั ของสตรตี ้งั ครรภ์หรอื มารดาวัยรุ่น พบว่า มากกว่าร้อยละ 90 ต้องการให้หน่วยงาน แสดงออกถึงความสนใจต่อการบริการ การทักทายและแสดงความเป็นมิตร กระตือรือร้น และใส่ใจในการ บริการ การแนะนําตนเองและแจ้งวัตถุประสงค์ของแต่ละกิจกรรม และการรับฟังการระบายความคิดหรือ ความร้สู กึ ท่คี ับขอ้ งใจ รวมท้งั การใหค้ วามม่นั ใจว่าความลบั จะไม่ถูกเปิดเผยต่อผ้ทู ี่ไม่เกีย่ วขอ้ ง (ตารางท่ี 13) ตารางท่ี 13 ลักษณะการบริการและการบริการเชิงรุกที่มารดาวยั ร่นุ ต้องการ ความตอ้ งการ จานวน รอ้ ยละ 1. การบรกิ ารเชงิ รุก 85.7 1.1 จัดใหม้ ีการเย่ยี มบา้ นวยั ร่นุ ตง้ั ครรภเ์ พอ่ื ติดตามภาวะสุขภาพ ตดิ ตามให้ 78 85.7 84.6 มาตรวจตามนดั ให้คําแนะนํา และความช่วยเหลือขณะทีแ่ ม่วัยรุ่นอยทู่ บี่ ้าน 83.5 81.3 1.2 การบรกิ ารปรึกษาทางโทรศพั ท์ หรอื แอพพลเิ คช่นั อ่ืน ๆ 78 1.3 จัดทําศูนย์ชว่ ยเหลือแบบเบ็ดเสร็จ (one stop service) 77 1.4 ภาครฐั ควรกระตุ้นเศรษฐกิจให้มกี ารจ้างงาน 76 1.5 บรกิ ารสง่ ต่อหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้องเพ่ือดแู ลทั้งรา่ งกาย จติ ใจ และครอบครวั 74

50 ความต้องการ จานวน รอ้ ยละ 81.3 1.6 การทํากลมุ่ ช่วยเหลือ (group support) เพ่อื ใหแ้ มว่ ัยร่นุ ไดม้ โี อกาสแลก 74 79.1 เปลยี่ นประสบการณ์และดแู ลซึ่งกนั และกนั 69.2 1.7 การบรกิ ารให้คาํ ปรึกษารปู แบบต่าง ๆ ทั้งในและนอกเวลาราชการแก่ 72 57.1 53.8 พอ่ แมห่ รอื ผ้ปู กครองของท่าน 52.7 1.8 จัดหน่วยบริการเคลอื่ นที่เข้าไปให้การปรึกษาดูแลแม่วัยรนุ่ ในชมุ ชน 63 94.5 94.5 1.9 หนว่ ยงานสาํ หรบั การรับฝากและดูแลบตุ รแบบระยะสนั้ (เชา้ ไป-เย็นกลับ) 52 94.5 93.4 1.10 การจัดหาผอู้ ปุ การะบุตรหรอื ครอบครวั อปุ ถมั ภ์ 49 91.2 1.11 หนว่ ยงานสาํ หรบั การฝากเลี้ยงดบู ุตรแบบระยะยาว 48 2. สัมพันธภาพจากหน่วยงานท่รี ับผดิ ชอบดแู ลสตรตี ้งั ครรภว์ ัยรุ่นหรือมารดาวัยรนุ่ 2.1 แสดงออกถงึ ความสนใจตอ่ การบริการ 86 2.2 การทักทายและแสดงความเป็นมิตร กระตอื รือร้น และใสใ่ จในการบรกิ าร 86 2.3 การแนะนาํ ตนเองและแจ้งวัตถุประสงค์ของแต่ละกิจกรรม 86 2.4 รบั ฟังการระบายความคิดหรือความรู้สกึ ท่ีคบั ข้องใจ 85 2.5 ให้ความม่นั ใจว่าความลับจะไม่ถกู เปิดเผยตอ่ ผูท้ ี่ไมเ่ ก่ียวขอ้ ง 83 ตอนที่ 3 สถานการณก์ ารจัดสวสั ดกิ ารการดแู ลสตรีตั้งครรภ์หรอื มารดาวัยรุ่น และข้อเสนอการบริการ เชิงรกุ ในการจดั สวัสดิการสําหรับสตรตี ั้งครรภห์ รือมารดาวัยรุน่ ตามความคิดเห็นและประสบการณ์ของเจา้ หน้าท่ี 3.1) ลกั ษณะทวั่ ไปของเจ้าหนา้ ที่ เจ้าหน้าท่ีทั้งหมดจํานวน 210 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (83.2%) จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (94.3%) และประสบการณ์ทํางาน 5 ปีขึ้นไป (64.0%) และลักษณะงานท่ีรับผิดส่วนใหญ่เป็นงานด้านสุขภาพ (38.9%) (ตารางที่ 14) ตารางท่ี 14 ลักษณะท่วั ไปของเจ้าหน้าท่ี ขอ้ มูล จานวน ร้อยละ 35 16.7 เพศ ชาย 175 83.3 11 5.2 หญิง 165 78.6 34 16.2 การศึกษา มัธยม และประกาศนยี บตั ร ปริญญาตรี ปริญญาโทข้ึนไป

ลักษณะงานที่ ข้อมูล จานวน 51 รบั ผดิ ชอบ สขุ ภาพ (พยาบาลและสาธารณสขุ ) 82 พฒั นาสงั คม/สวัสดิการ/กฎหมาย 50 รอ้ ยละ ประสบการณ์การ การศึกษา 48 39.0 ทํางาน (ปี) ธุรการ/อาํ นวยการในหนว่ ยงานท่ี 30 23.8 เก่ียวขอ้ ง 22.9 <5 76 14.3 5-9 36 10-14 32 36.2 15-20 15 17.1 21 ปขี ึน้ ไป 51 15.2 7.1 24.3 3.2) สถานการณก์ ารจัดสวัสดิการสาหรบั สตรตี ัง้ ครรภ์วัยรนุ่ หรอื มารดาวยั รุ่น 3.2.1) ลักษณะการจัดสวสั ดิการในการช่วยเหลือหรือดูแลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นสามารถ แบ่งลักษณะการจัดสวัสดิการเป็นหมวด ได้แก่ ลักษณะการจัดบริการที่ดี การช่วยเหลือและการให้ความรู้ รวมท้งั การให้คําปรึกษา โดยเจ้าหน้าท่ีตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 77 (77.2 – 87.2 %) ระบุ ว่ามีการจัดสวัสดิการในด้านลักษณะการจัดบริการที่ดีเป็นประจํา (บ่อยคร้ัง/บ่อยคร้ังมากและตลอดเวลา) อยู่ แล้วด้านการชว่ ยเหลอื และการใหค้ วามรู้ ส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 69 (69.1 – 85.7%)ระบุว่ามีการจัดสวัสดิการใน ด้านลักษณะการจัดบริการทีด่ ีเปน็ ประจํา (บ่อยครั้ง/บ่อยคร้งั มากและตลอดเวลา) และด้านการให้คําปรึกษาใน เรอื่ งตา่ ง ๆ ส่วนใหญม่ ากกว่าร้อยละ 75 (75.7 – 85.7 %) ระบุวา่ มกี ารจดั สวัสดิการในดา้ นลกั ษณะการจดั บริการทดี่ ี เป็นประจํา (บ่อยครง้ั /บ่อยครง้ั มากและตลอดเวลา) (ตารางที่ 15) ตารางท่ี 15 ลักษณะการจดั สวัสดกิ ารในการชว่ ยเหลอื หรอื ดแู ลสตรตี งั้ ครรภห์ รือมารดาวยั ร่นุ การจดั สวสั ดิการในการช่วยเหลือหรอื ดแู ล จานวน ร้อยละ ลักษณะการจดั บริการท่ดี ี 15.7 61.9 1. การจัดบริการที่สะดวก รวดเรว็ ไมต่ ีตราหรอื ซ้าํ เตมิ 22.4 นานๆ ครง้ั /บางคร้ัง 33 12.8 50.5 บ่อยคร้ัง/บอ่ ยครง้ั มาก 130 ตลอดเวลา 47 2. ระบบการเก็บข้อมลู ของสตรีตง้ั ครรภ์หรือมารดาวยั ร่นุ เป็นความลบั นานๆ ครั้ง/บางครงั้ 27 บ่อยคร้ัง/บอ่ ยคร้งั มาก 106

52 การจัดสวสั ดิการในการช่วยเหลอื หรือดแู ล จานวน ร้อยละ ตลอดเวลา 77 36.7 3. มกี ารเย่ียมบ้านวัยร่นุ ต้งั ครรภ์เพอ่ื ตดิ ตามภาวะสุขภาพ ติดตามใหม้ าตรวจตามนัดให้คําแนะนาํ และความ ช่วยเหลอื ขณะทแ่ี มว่ ัยร่นุ อยู่ที่บา้ น นานๆ ครง้ั /บางครง้ั 38 18.1 บ่อยคร้ัง/บอ่ ยครั้งมาก 122 58.1 ตลอดเวลา 50 23.8 4. มศี นู ย์ให้คาํ ปรึกษาและช่วยเหลอื แมว่ ัยรุ่น นานๆ ครง้ั /บางครง้ั 48 22.8 บ่อยครั้ง/บอ่ ยครัง้ มาก 116 55.3 ตลอดเวลา 46 21.9 การช่วยเหลือและการให้ความรู้ 1. การช่วยเหลอื ดา้ นการศึกษาในระบบ นานๆ ครง้ั /บางครัง้ 64 30.6 บอ่ ยคร้ัง/บอ่ ยคร้งั มาก 100 47.6 ตลอดเวลา 46 21.8 2. การช่วยเหลอื ดา้ นการศึกษานอกหลกั สตู ร นานๆ ครงั้ /บางคร้ัง 59 28.1 บอ่ ยครั้ง/บอ่ ยคร้งั มาก 108 51.4 ตลอดเวลา 43 20.5 3. ช่วยเหลือหรือใหข้ อ้ มูลเร่ืองแจง้ สิทธิกรณสี ตรตี ้งั ครรภ์ และ/หรือครอบครวั เปน็ ผเู้ สียหาย นานๆ ครั้ง/บางครัง้ 30 14.3 บ่อยครั้ง/บ่อยครั้งมาก 136 64.8 ตลอดเวลา 44 20.9 4. สนบั สนนุ ดา้ นการเลยี้ งดู เช่น อุปกรณข์ องใช้ต่าง ๆ สาํ หรับทารก นานๆ ครงั้ /บางครัง้ 65 30.9 บ่อยครั้ง/บ่อยครง้ั มาก 112 53.4 ตลอดเวลา 33 15.7 5. ชว่ ยเหลอื สวัสดิการในการเล้ียงดูบุตร นานๆ คร้งั /บางครง้ั 65 30.9 บอ่ ยครั้ง/บ่อยคร้ังมาก 109 51.9 ตลอดเวลา 36 17.2

53 การจัดสวสั ดิการในการช่วยเหลือหรอื ดแู ล จานวน ร้อยละ การให้คําปรึกษา 14.3 62.8 1. ด้านสัมพนั ธภาพในครอบครัวของสตรีตงั้ ครรภว์ ัยรุ่นหรือมารดาวยั รนุ่ หลงั คลอด 22.9 นานๆ ครง้ั /บางครง้ั 30 17.2 63.8 บ่อยคร้ัง/บอ่ ยคร้งั มาก 132 19.0 ตลอดเวลา 48 24.3 56.7 2. ด้านสัมพนั ธภาพในครอบครวั ของสามขี องสตรตี ั้งครรภ์วยั รุน่ หรอื มารดาวัยร่นุ หลงั คลอด 19.0 นานๆ ครงั้ /บางครง้ั 36 16.7 53.3 บอ่ ยครั้ง/บอ่ ยครัง้ มาก 134 30.0 ตลอดเวลา 40 3. ดา้ นกฎหมาย เช่น การแจ้งชื่อของสามี การรบั รองบตุ ร การแจง้ เกิด นานๆ ครง้ั /บางครัง้ 51 บอ่ ยคร้ัง/บอ่ ยครง้ั มาก 119 ตลอดเวลา 40 4. ด้านสถานท่ฝี ากครรภ์และการคลอด นานๆ ครงั้ /บางครง้ั 35 บ่อยคร้ัง/บ่อยครง้ั มาก 112 ตลอดเวลา 63 3.3) ปญั หาการเข้าถึงการจัดสวัสดิการของสตรีตัง้ ครรภ์หรือมารดาวยั รุ่น แบง่ เป็นดา้ น ๆ ดังน้ี 3.3.1) ปัจจัยท่ีเป็นสาเหตุของปัญหาการเข้าถึงการจัดสวัสดิการของสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ตามความคดิ เห็น/ประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่ ด้านลักษณะของสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ลักษณะการตั้งครรภ์ และลักษณะของบุคคลท่ีสัมพันธ์กับสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น โดยส่วนใหญ่ (70% ข้ึนไป) เจ้าหน้าที่เห็นด้วย กับปจั จัยเหล่านว้ี า่ เป็นสาเหตุของการเข้าถงึ การบริการการจัดสวัสดิการ ยกเว้นลักษณะการตั้งครรภ์ที่เกิดจาก การใช้ความรุนแรง หรือข่มขืน ท่ีมีเจ้าหน้าที่เห็นด้วยเพียงร้อยละ 36.5 ส่วนการการถูกตัดสินจากสังคมหรือ หน่วยงานทีร่ ับบริการเปน็ สาเหตรุ อ้ ยละ 60.4 (ตาราง 16) ตารางท่ี 16 ปัจจยั ที่เป็นสาเหตขุ องการเขา้ ถงึ การจดั สวัสดิการ ดา้ นสตรีตงั้ ครรภ์หรือมารดาวัยรุน่ ปัจจยั /สาเหตขุ องปัญหาของสตรีตั้งครรภห์ รือมารดาวัยรนุ่ จานวน ร้อยละ 70.0 1. ขาดความรูใ้ นการดูแลตนเอง 147 88.6 78.6 2. มวี ุฒิภาวะนอ้ ย ขาดความตระหนกั หรือประสบการณใ์ นการตง้ั ครรภ์ 186 3. ขาดความตระหนักในการฝากครรภ์ 165

54 ปจั จยั /สาเหตขุ องปัญหาของสตรตี ัง้ ครรภห์ รอื มารดาวัยร่นุ จานวน ร้อยละ 4. ไม่มกี ารเตรยี มพรอ้ มระหวา่ งต้งั ครรภ์ นําไปส่ภู าวะแทรกซ้อนจากการคลอด 175 83.7 5. มปี ญั หาดา้ นค่าใชจ้ า่ ยในการเขา้ รับบรกิ าร 153 73.2 6 .การตงั้ ครรภ์เกดิ จากความไม่พร้อมหรือไม่ตั้งใจ 178 84.8 7. การตั้งครรภ์นเ้ี กิดจากความไมต่ ัง้ ใจ (เชน่ ใช้ความรนุ แรง หรอื ข่มขนื ) 76 36.5 8. การต้งั ครรภ์เกดิ จากการขาดการยอมรบั จากผูป้ กครองหรือคนรอบขา้ ง 142 68.6 9. ปกปิดผปู้ กครอง/คนรจู้ ักเกีย่ วกบั การตง้ั ครรภข์ องตนเอง 164 78.1 10. ตอ้ งการความเปน็ สว่ นตวั และรกั ษาความลบั ในการฝากครรภ์และการดูแลมากกวา่ ปกติ 176 83.8 11. การถูกตัดสินจากสังคมหรอื หนว่ ยงานทร่ี บั บรกิ าร 125 60.4 3.3.2) ปัจจยั ท่เี ป็นสาเหตุของปัญหาการเข้าถึงการจัดสวัสดิการของสตรีต้ังครรภ์หรือมารดา วัยรุ่น ตามความคิดเห็น/ประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่ ด้านสถานบริการสาธารณสุข โดยเจ้าหน้าท่ีให้ความ คิดเห็นสถานบริการสาธารณสุขว่าเป็นสาเหตุของปัญหาการเข้าถึงการจัดสวัสดิการของสตรีตั้งครร ภ์หรือ มารดาวยั รุ่นในด้านต่าง ๆ มากกว่าร้อยละ 50 (51.7 – 52.4%) ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมผู้ให้บริการในเชิงตําหนิหรือตี ตรา การจัดบริการไม่ครบวงจร และไม่มีการติดตามดูแลต่อเนื่อง ส่วนการบริการท่ีไม่เป็นมิตรมีผู้เห็นด้วยว่า เปน็ สาเหตรุ อ้ ยละ 39.2 (ตารางท่ี 17) ตารางที่ 17 ปัจจยั ท่ีเป็นสาเหตขุ องการเข้าถึงการจัดสวัสดกิ าร ด้านสถานบริการสาธารณสขุ ปัจจยั ด้านสถานบรกิ ารสาธารณสุข จานวน ร้อยละ 39.2 1. การบรกิ ารท่ีไมเ่ ปน็ มิตรสําหรับสตรีตัง้ ครรภ์วยั รนุ่ หรอื มารดาวัยร่นุ หลงั คลอด 82 51.7 51.7 2. พฤตกิ รรมของผู้ให้บรกิ ารยังมองแมว่ ยั รุ่นในเชงิ ตาํ หนหิ รือตีตรา 108 52.4 3. การจดั บรกิ ารสาํ หรบั แมว่ ัยร่นุ ไมค่ รบวงจร (การฝากครรภ์ การคลอด หลงั คลอด 108 คุมกาํ เนิด) 4. ไม่มกี ารติดตามดูแลตอ่ เนื่องและการส่งต่อไปยังหน่วยงานทเี่ กีย่ วข้องในการดแู ล 110 ชว่ ยเหลือ 3.3.3) ข้อเสนอการบริการเชิงรุกในการจัดสวัสดิการสําหรับสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ตามความคิดเห็น/ประสบการณ์ของเจ้าหน้าท่ี แบ่งเป็นด้านต่าง ๆ คือ ด้านการจัดหน่วยและระบบบริการ ดา้ นการใหค้ าํ ปรึกษา และการใหก้ ารช่วยเหลอื โดยเจ้าหนา้ ที่ส่วนใหญ่เห็นด้วยและเห็นด้วยอย่างยิ่งที่ควรให้มี การบริการเชงิ รกุ ในทุก ๆ ด้าน ดงั นี้ (ตารางที่ 18) 1) เจ้าหน้าท่ีมากกว่าร้อยละ 80 เห็นด้วยกับการจัดหน่วยบริการเคล่ือนท่ีการเยี่ยม บ้านและจัดให้มีศูนย์ช่วยเหลือแบบ one stop service เจ้าหน้าท่ีมากกว่าร้อยละ 60 เห็นด้วยกับการจัดให้มี

55 หน่วยดูแลบุตรทั้งแบบไปกลับและระยะยาว และ เจ้าหน้าที่มากกว่าร้อยละ 90 เห็นด้วยกับการจัดระบบเก็บ ขอ้ มลู ท่เี ปน็ ความลบั 2) เจ้าหน้าที่มากกว่าร้อยละ 80 เห็นด้วยกับการจัดให้มีศูนย์ให้คําปรึกษาและการ บริการให้คาํ ปรกึ ษาในรปู แบบและช่องทางทีห่ ลากหลาย ทัง้ ในเวลาและนอกเวลาราชการ 3) เจ้าหน้าทมี่ ากกว่าร้อยละ 80 เห็นด้วยกับการทํากลุ่มช่วยเหลือ การกระตุ้นการจ้าง งาน และการส่งต่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพื่อดูแล ฟ้ืนฟูสภาพร่างกาย จิตใจ และความสัมพันธ์ในครอบครัว สว่ นการหาครอบครวั อปุ ถมั ภ์มีเจ้าหนา้ ทเ่ี ห็นดว้ ยร้อยละ 57.9 ตารางที่ 18 ข้อเสนอการบรกิ ารเชงิ รกุ ในการจดั สวสั ดกิ ารสาํ หรบั สตรตี ง้ั ครรภ์หรือมารดาวยั ร่นุ การบริการเชิงรกุ เห็นด้วยและเหน็ ด้วยอย่างยิ่ง จานวน รอ้ ยละ ดา้ นการจดั หน่วยและระบบบริการ 1. มรี ะบบการเกบ็ ข้อมลู ความลบั ของสตรตี ้ังครรภว์ ยั รนุ่ และครอบครัว 190 90.5 2. จดั ให้มีการเยี่ยมบ้านวยั รุน่ ตัง้ ครรภเ์ พื่อตดิ ตามภาวะสุขภาพ ตดิ ตามให้มา 179 85.3 ตรวจตามนัด ให้คาํ แนะนาํ และความช่วยเหลอื ขณะที่แม่วัยรนุ่ อยทู่ บี่ า้ น 2. จดั หน่วยบรกิ ารเคลือ่ นที่เข้าไปใหก้ ารปรกึ ษาดแู ลแมว่ ยั รุ่นในชุมชน 169 81.0 3. จดั ทาํ ศูนยช์ ว่ ยเหลอื แบบเบ็ดเสรจ็ (one stop service) 169 81.0 4. จดั หาหน่วยงานสาํ หรับการรับฝากและดูแลบตุ รแบบระยะสั้น (เชา้ ไป-เยน็ 154 73.3 กลบั ) 5. จดั หาหนว่ ยงานสําหรบั การฝากเลย้ี งดูบตุ รแบบระยะยาว 134 63.8 ดา้ นการให้คาปรกึ ษา 1. จัดให้มีศนู ย์ใหค้ ําปรกึ ษาและช่วยเหลอื แม่วยั รุ่น 179 85.3 2. การบริการปรกึ ษาทางโทรศัพท์ หรือแอพพลิเคชัน่ อืน่ ๆ 178 85.2 3. การบริการใหค้ าํ ปรกึ ษารปู แบบตา่ งๆ ท้ังในและนอกเวลาราชการแก่พ่อแม่ 177 84.7 หรือผูป้ กครอง การชว่ ยเหลืออื่น ๆ 1. ภาครฐั ควรกระตนุ้ เศรษฐกิจใหม้ ีการจ้างงาน 186 88.6 2. มีบริการส่งต่อหน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งเพ่ือดแู ล ฟ้ืนฟูสภาพรา่ งกาย จิตใจ และ 185 89.0 ความสัมพันธ์ในครอบครัว 3. การทํากลมุ่ ชว่ ยเหลอื (group support) เพื่อให้แม่วยั รนุ่ ไดม้ ีโอกาส 171 81.8 แลกเปลยี่ นประสบการณแ์ ละดูแลซึง่ กันและกัน 4. การหาครอบครวั อุปถัมภ์ 121 57.9

56 4.2 ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชงิ คุณภาพ สามารถแบ่งออกได้ ดังนี้ ตอนที่ 1 สถานการณก์ ารไดร้ บั สวัสดกิ ารทกี่ ลุ่มเปาู หมายทไ่ี ด้รับสวสั ดกิ ารในปจั จุบนั ดงั นี้ 1) ดา้ นสวัสดกิ าร (สังคม) การช่วยเหลือด้านสวัสดิการสําหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด มีรูปแบบของการ ชว่ ยเหลือกลุม่ เปูาหมาย สามารถแบ่งการใหก้ ารชว่ ยเหลือออกได้เปน็ 2 ระดบั ได้แก่ ระดับบุคคล และระดับนโยบาย 1.1) ระดบั บคุ คล ไดแ้ ก่ 1.1.1) เงนิ ช่วยเหลอื เฉพาะหนา้ กระทรวง พม. มีการช่วยเหลือเฉพาะรายโดยจะเน้นท่ีการทํางานที่กลุ่มเปูาหมายและครอบครัว ได้แก่ การชว่ ยเหลอื การให้คําปรึกษาโดยผ่านศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300 ที่สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ช่ัวโมง หรือทางโซเชียลมีเดียอ่ืนๆ เช่น Facebook ในกรณีครอบครัวยากลําบาก เช่น ยากจน ไม่มีอาชีพ โดยมีการ บนั ทกึ ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ของกลมุ่ เปูาหมาย สอบถามขอ้ มูลความต้องการท่ีต้องการขอความช่วยเหลือ ทําการสอบ เคสหรอื สอบข้อเทจ็ จรงิ โดยลงพืน้ ทไ่ี ปเยี่ยมบ้าน ประเมินปัญหา การอยู่อาศัยและความต้องการการช่วยเหลือ ท่ีจําเป็น ทําการพิทักษ์สิทธ์ิหรือคุ้มครองสิทธิ์ที่เก่ียวข้องกับกลุ่มเปูาหมาย ประสานงานกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนให้ถุงยังชีพ มีการช่วยเหลือเงินช่วยเหลือเฉพาะหน้า ครอบครัวละ หน่งึ พนั บาท แต่ไม่เกนิ สามพันบาท กรณีในรายท่ตี ้องการนมผงดําเนินการประสานโดยทําหนังสือขอสนับสนุน นมไปยังเครือข่าย เช่น บ้านพักเด็กอ่อนรังสิต สถานสงเคราะห์ เพื่อขอสนับสนุนนม หรือแพมเพิร์สและนําไปมอบ ให้เคส และส่งต่อข้อมูลไปยังหน่วยงานในท้องที่ ได้แก่ เทศบาล หรือ อบต. เพื่อส่งต่อเคสเพื่อให้การช่วยเหลือ และตดิ ตามตอ่ ไป 1.1.2) โครงการเงินอุดหนุนเพือ่ การเลีย้ งดเู ดก็ แรกเกิด โดยส่วนใหญ่กลุ่มเปูาหมายจะได้รับเงินอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิดรายละ 600 บาท ตอ่ คนตอ่ เดือนตั้งแตข่ ้ึนทะเบียน จนเด็กอายุครบ 6 ปี ซ่ึงครอบครัวกลุ่มเปูาหมายจะมีรายได้ไม่เกิน 100,000 บาท ต่อคน ต่อปี ซ่ึงทําให้บิดา มารดาหรือ ผู้ปกครองมีการนําเด็กเข้าสู่ระบบบริการของรัฐอันเป็น ช่องทางทจี่ ะทาํ ใหเ้ ด็กได้รบั การดแู ลใหม้ ีคุณภาพชีวิตที่ดีมพี ฒั นาการเหมาะสม ตามวยั ตอ่ ไป 1.1.3) จดั หาครอบครัวอปุ ถัมภ์ ในกรณีที่กลุ่มเปูาหมายไม่พร้อมเล้ียงดูแต่มีปุูย่าตายายคนในครอบครัวที่สามารถ ดูแลเด็กไดจ้ ะสนับสนุนให้ครอบครัวของกลุ่มเปูาหมายทําหน้าท่ีในการเล้ียงดูเด็ก เพราะทางเลือกที่ดีท่ีสุดเด็ก ควรท่ีจะได้อย่กู บั คนในครอบครัว 1.1.4) จดั หาครอบครวั บุญธรรม ในกรณีท่ีกลุ่มเปูาหมายและครอบครัวไม่พร้อมและไม่สามารถทําหน้าท่ีเล้ียงดูดูแลเด็ก ได้เองจะเข้าสู่กระบวนการครอบครัวบุญธรรม เพ่ือลดการนําเด็กเข้าสู่สถานสงเคราะห์ เช่น จัดหาครอบครัว บุญธรรมในกลุม่ เครือญาติ โดยจะต้องผา่ นกระบวนการของ พมจ. ผ่านคณะอนุกรรมการของจังหวัดในการพิจารณา ครอบครวั ที่เหมาะสม ท่ีจะเลยี้ งดูเด็กโดยมุ่งหวังให้เด็กมีครอบครัวท่ีดอี ันนําไปสู่การมีคุณภาพชีวิตทด่ี ีข้ึน

57 1.2 ระดับนโยบาย คณะกรรมการคุ้มครองเด็กในแต่ละจังหวัด จะมีการจัดประชุมประจําปี โดยมีตัวแทนจาก ภาคสว่ นต่างๆ ร่วมพิจารณาถึงปัญหาหรือสถานการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับกลุ่มเปูาหมาย ได้แก่ ปัญหาการตั้งครรภ์ ในวยั รุน่ หรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด ร่วมกันกําหนดแนวทางในการช่วยเหลือ รวมท้ังมาตรการในการปูองกัน แก้ไข ประสานความรว่ มมือกนั ระหว่างเครือข่ายในจงั หวดั 2) ด้านสุขภาพ : สทิ ธิประโยชนใ์ นการรักษาพยาบาล กลุ่มเปูาหมายท่ีมีสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้รับบริการการฝากครรภ์ฟรี 5 คร้ัง ตามหลักเกณฑ์ที่ สปสช. ไดจ้ ดั สรรงบประมาณโดยสามารถเข้ารบั บริการได้ที่หน่วยบริการในระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งในการดูแลการฝากครรภ์ 5 ครั้ง มีการจัดสรร งบประมาณในการฝากครรภ์คร้ังท่ี 1 จํานวน 1,200 บาทต่อคน ฝากครรภ์ครั้งท่ี 2-4 ครั้งละ 400 บาท ต่อคน และมกี ารจัดสรรงบประมาณทใี่ ชใ้ นการดูแลในการคลอดและหลงั คลอด 3) ด้านศึกษา สถานศึกษามีการดําเนินการปอู งกันและแก้ไขปญั หาการต้งั ครรภใ์ นวัยรนุ่ (1) มีการเรยี นการสอนเรอื่ งเพศวิถศี ึกษาให้เหมาะสมกับช่วงวยั ของนักเรยี น (2) พัฒนาครูผู้สอนให้สามารถสอนเพศวิถีศึกษาและให้คําปรึกษาในเร่ืองการ ปูองกันและแก้ไขปัญหา การตงั้ ครรภ์ในวัยรนุ่ แก่นักเรยี นหรือนักศึกษา ไดแ้ ก่ มหี ลักสตู รอบรมครูออนไลน์ และมีวุฒิบตั รเมือ่ ผา่ นการอบรม (3) มรี ะบบการดูแล ช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียนหรือนักศึกษาซึ่งต้ังครรภ์ให้ได้รับการศึกษาด้วย รูปแบบทีเ่ หมาะสมและตอ่ เนือ่ ง รวมทั้งจัดให้มีระบบการส่งต่อ มีการจัดหา แนะแนวเรื่องศึกษาต่อ เช่น มีการ ประสานเรอื่ งการย้ายโรงเรียน แนะแนวการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.) 4) ทอ้ งถนิ่ ท้องถ่ินมีภารกิจหลักในการส่งเสริมคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมการพัฒนาสตรี เดก็ เยาวชนท่ีมคี วามเกีย่ วขอ้ งกับกลมุ่ เปาู หมาย ดังนี้ 1. ข้ึนทะเบยี นเงนิ อดุ หนนุ เพื่อการเลย้ี งดเู ดก็ แรกเกิด 2. มีการจัดโครงการให้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เก่ียวกับการปูองกันการต้ังครรภ์วัยรุ่นในชุมชน เช่น โครงการค่ายครอบครัวลอ้ มรั้วปัญหาสงั คม 3. มีเงินสงเคราะห์รายกรณี ประสานงาน และใหค้ วามช่วยเหลือแก่วัยรุ่นท่ีตั้งครรภ์และครอบครัว มอบเงนิ สงเคราะห์ สิ่งของ เชน่ กรณีครอบครัวยากจน 4. มีการจัดต้ังสภาเด็กและเยาวชนในพ้ืนที่เพื่อเป็นแกนนําปูองกัน แก้ไข และเฝูาระวังปัญหาการ ตั้งครรภใ์ นวัยรุน่ 5. มีการฝึกอาชีพตามความสนใจและความถนัดแก่วัยรุ่นท่ีตั้งครรภ์ก่อนและหลังคลอด เช่น ฝึกอาชีพ ทาํ ตุ๊กตา สนบั สนนุ เงนิ ทุนเพือ่ ประกอบอาชีพ (NGO) 6. ประสานงานเพอื่ จดั หางานใหไ้ ด้ประกอบอาชีพตามความเหมาะสม

58 7. ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการช่วยเหลือ เช่น บ้านพักเด็กและครอบครัว พมจ. กิ่งกาชาด อ.บางละมงุ 8. เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสตรี เช่น จัดโครงการแม่เล้ียงเดี่ยวไม่เดียวดาย โครงการตู้เย็นนมแม่ โครงการพฤติกรรมเชงิ บวกในแมแ่ ละบตุ ร 9. สวัสดิการชุมชน โดยมีการจัดสวัสดิการในชุมชน เช่น ออมวันละบาท กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ซ่ึง เป็นสวัสดิการที่ให้การช่วยเหลือสตรีต้ังครรภ์และครอบครัวกรณีเกิด เจ็บปุวย เสียชีวิตให้ทุนการศึกษา กู้ยืม เพื่อประกอบอาชีพ ในกรณีที่กลุ่มเปูาหมายซ่ึงเป็นสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาตั้งครรภ์วัยรุ่นและเป็นสมาชิกของ สวสั ดกิ ารชมุ ชนจะไดร้ บั เงินขวญั ถุงให้รายละ 500 บาท ตอนที่ 2 ปญั หาและความต้องการการจัดสวัสดิการท่เี หมาะสมสําหรบั กลุ่มเปาู หมายต้งั ครรภใ์ นวัยรุ่น จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่าสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นกล่าวถึง ปัญหาและ ความตอ้ งการการชว่ ยเหลือในระยะกอ่ นหรือขณะตัง้ ครรภแ์ ละหลังคลอดไว้ 6 ประเด็นหลัก ไดแ้ ก่ 1) การขาดความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการต้ังครรภ์และการวางแผนครอบครัว 2) ผลกระทบทางด้านร่างกาย 3) ผลกระทบ ทางด้านจติ ใจ 4) ปญั หาด้านสมั พนั ธภาพ 5) ปัญหาดา้ นเศรษฐกจิ และ 6) ปัญหาด้านสทิ ธแ์ิ ละการเข้าถึงสิทธิ์ ดงั นี้ 1) การขาดความรู้ความเข้าใจเร่ืองการตั้งครรภ์และการวางแผนครอบครัว ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ กล่าวถึงการขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในประเด็นความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับการตั้งครรภ์และการวางแผน ครอบครัว “ไม่รู้ตัวเองว่าท้อง” เป็นประเด็นท่ีสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาการขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องการต้ังครรภ์ ของวัยรุ่น โดยผู้ให้ข้อมูลส่วนหน่ึงบอกว่าตนเองไม่รู้ตัวว่าตั้งครรภ์ จึงเป็นผลให้สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดา วัยรุ่นขาดการเตรียมความพร้อมระหว่างต้ังครรภ์ ไม่ได้ฝากครรภ์ตั้งแต่ระยะแรกๆ และไม่ได้รับคําแนะนําใน การปฏิบัติตัวเหมาะสมในขณะต้ังครรภ์ รวมถึงการลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการ ตั้งครรภ์ ดงั คาํ กลา่ วของผู้ใหข้ ้อมลู ดงั น้ี “ก็กินยาคุมอยู่ค่ะ เพราะแม่แฟนบอกให้ปูองกันตัวเอง ทีน้ีเวลาที่ไปหาย่า ไปบ้านตัวเอง เค้าชอบทัก ว่าท้องมั่ง น่ังเหมือนคนท้องม่ัง แล้วแบบหนูก็ไม่ค่อยม่ันใจ เพราะประจําเดือนหนูมาไม่ปกติอยู่แล้วคือ สองเดือน มาที แตต่ อนน้ันคือมันเขา้ ประมาณ 3 เดือนกว่าแล้ว ไม่มา หนูก็เลยให้เพื่อนไปส่งไปตรวจที่อนามัย” (มารดา วยั รุ่นจังหวดั ระยอง อายุ 19 ปี ตงั้ ครรภ์ตอนอายุ 17 ปี) “ตอนนั้นหนูไม่แน่ใจด้วยว่าทอ้ งหรือเปล่าเลยไม่ได้ไปฝากท้องค่ะ ท่ีบ้านรู้ตอนใกล้คลอดค่ะ ประมาณ อาทติ ยก์ ว่าๆ ก่อนคลอด” (มารดาวยั ร่นุ จงั หวดั ชลบุรี อายุ 20 ปี ต้ังครรภ์ตอนอายุ 17 ป)ี “ตอนแรกไม่รู้ว่าท้อง รู้สึกว่าในท้องเหมือนมีอะไร ด้ิน ปกติประจําเดือนมาไม่สม่ําเสมอ แฟนพาไป ตรวจที่โรงพยาบาล หมออัลตร้าซาวด์ให้ บอกว่าท้องได้ 20 สัปดาห์” (มารดาวัยรุ่นจังหวัดระยอง อายุ 17 ปี ต้ังครรภต์ อนอายุ 16 ป)ี นอกจากน้ี ผู้ให้ข้อมูลส่วนหนึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการขาดความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการ คุมกาํ เนิดชัว่ คราว ด้วยวิธยี าเมด็ คมุ กาํ เนดิ ดงั คํากลา่ วของผู้ใหข้ อ้ มลู ดงั น้ี

59 “กินยาคมุ ค่ะ แต่ว่ามันมีอยู่ช่วงหนึ่งหนูกินยาคุมไม่ตรง แต่หนูก็กินครบนะคะแต่ว่ามันไม่ตรง เหมือน มันไม่ตรงอยู่สองวันแล้วหนูก็ทบไป แล้วมันก็พลาด น่ะค่ะ” (มารดาวัยรุ่นจังหวัดตราด อายุ 18 ปี ตั้งครรภ์ ตอนอายุ 15 ปี) “กินยาคุมแบบ 28 เม็ด ประจําเดือนไม่มาประมาณ 4 เดือน เลยซ้ือท่ีตรวจท้องมาตรวจเอง พอรู้ว่า ทอ้ งก็อง้ึ ” (มารดาวยั รนุ่ จังหวดั ชลบุรี อายุ 16 ปี ต้ังครรภต์ อนอายุ 15 ปี) พบว่าผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่มีทัศนคติทางลบต่อการรับประทานยาเม็ดคุมกําเนิด และเชื่อว่า “การหลั่ง ภายนอก” เป็นวิธีการคมุ กําเนิดที่มีประสิทธภิ าพ ดงั คาํ กล่าวของผู้ใหข้ ้อมูลดังน้ี “ไมอ่ ยากกนิ ยาคุมคะ่ พี่ หนกู ลวั วา่ จะมผี ลเสียตามมา กเ็ ลยไม่ได้กิน คือหนูหล่ังนอกกันน่ะค่ะ ไม่ได้คิด วา่ จะติด” (มารดาวัยร่นุ จังหวัดชลบุรี อายุ 20 ปีตง้ั ครรภต์ อนอายุ 17 ปี) “คือแม่หนูก็แนะนําว่าไปซื้อยาคุมกินเองนะ แม่สามีก็ให้ตังค์หนูไปซ้ือ แต่ว่าหนูไม่ได้ซื้อมากิน เพราะว่าหนูกลัว มีเพื่อนน่ะค่ะบอกว่า กินแล้วมันจะไม่ดีนะ มดลูกจะฝุอ หนูก็เชื่อเพ่ือน แล้วมันก็ หลุด จริงๆ ด้วยความท่ีเราไม่ได้ศึกษาหาข้อมูลนะค่ะ” (มารดาวัยรุ่นจังหวัดชลบุรี อายุ 20 ปี ต้ังครรภ์ตอน อายุ 17 ป)ี อย่างไรก็ตามจากการสนทนากลุ่มกับผู้ให้ข้อมูลท่ีมาจากหน่วยงานที่ดูแลกลุ่มสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือ มารดาวัยรุ่นพบว่ามีความคิดเห็นแตกต่างกันเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเห็นว่าวัยรุ่นยังขาดความรู้ความเข้าใจเร่ือง การคมุ กาํ เนิด และมคี วามจาํ เป็นทีจ่ ะต้องจัดอบรมให้ความรู้อย่างต่อเนอ่ื ง ดังคาํ กลา่ วของผใู้ ห้ข้อมลู ดงั นี้ “ประเด็นเรื่องยาคุมกําเนิดเป็นเรื่องที่เราพบว่าเด็กยังมีความเข้าใจ ท่ีไม่ถูกต้อง ถึงแม้ว่าจะเคยได้รับ การอบรมและมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์มาแล้ว ในประเด็นน้ีการให้ความรู้ในเรื่องน้ีจะต้องให้ย้ําย้ําซ้ํา ซา้ํ จงึ จะสําเร็จ” (Focus group หนว่ ยงานจังหวดั ตราด) สําหรับกลุ่มที่สอง เห็นว่า วัยรุ่นมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคุมกําเนิดแต่เลือกท่ีจะไม่คุมกําเนิด เนื่องจากปัจจัยอ่ืน และได้เสนอแนะจากประสบการณ์ในการทํางานที่ผ่านมา เห็นว่า ในพ้ืนท่ีท่ีตนรับผิดชอบ เดก็ ผู้หญิงจะมคี วามรูใ้ นเรือ่ งของยาเมด็ คุมกําเนิด แต่จะมีความเช่ือผิดผิดเก่ียวกับยาคุมจะไม่นิยมใช้ จะใช้การ หล่ังภายนอกแทน อีกทั้งไม่ค่อยให้ความสําคัญกับการใช้ถุงยางอนามัย ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เห็นว่า วัยรุ่นมี ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั ยาเมด็ คมุ กาํ เนดิ หรอื การใช้ถุงยางอนามัยดี แต่ว่าไม่ปฏิบัติมากกว่า ซึ่งตรงกับผู้ให้ ขอ้ มูลซง่ึ เปน็ มารดาวยั รนุ่ ส่วนหน่ึงไดก้ ลา่ วไว้ “ตอนเรียนอยู่ ก็มีการอบรม เรื่องการท้องก่อนวัยอันควรอะไรอย่างนี้ค่ะ แต่ตอนน้ันหนูก็ไม่ได้นึก อะไรคะ ก็คิดว่าไปอบรมเฉยๆ แต่ถามว่าคิดตามไหมก็คิดตามนะคะ แต่เราเลือกท่ีจะไม่กินมากกว่า” (มารดา วัยรนุ่ จงั หวัดชลบุรี อายุ 20 ปี ต้ังครรภ์ตอนอายุ 17 ปี) “คิดว่าเด็กวัยรุ่น ส่วนใหญ่มีความเข้าใจในเร่ืองของ การคุมกําเนิดเช่นการใส่ถุงยางอนามัยการกินยาคุม แต่ไม่ทํา เพราะเป็นเรือ่ งของ feeling” (Focus group หน่วยงานจงั หวัดชลบุรี) โดยมารดาวัยรุ่นยังกล่าวถึงการแสวงหาข้อมูลเก่ียวกับการตั้งครรภ์ จากการสอบถามจากคนท่ีมี ประสบการณ์ ไดแ้ ก่ เพอื่ น แม่สามี และการเสาะหาขอ้ มลู จากอนิ เตอร์เน็ต

60 “ก็มี เพ่ือนค่ะ เพื่อนคือเพ่ือนคนท่ีเคยท้องนะคะ ปรึกษาเค้าว่าต้องทําอย่างไรบ้าง งงก็เลยคุยกับเขา ว่าต้องทาํ ยงั ไงบ้าง ต้องเตรียมตัวยงั ไงบ้าง” (มารดาวัยรนุ่ จงั หวดั ชลบุรี อายุ 20 ปี ต้งั ครรภ์ตอนอายุ 17 ปี) “ก็มีปรึกษาเพื่อนส่วนน้อยค่ะ แต่ส่วนมากหนูจะเข้าไปหาในกูเกิ้ลมากกว่า” (มารดาวัยรุ่นจังหวัดชลบุรี อายุ 20 ปี ต้ังครรภ์ตอนอายุ 17 ป)ี “หนูเปิดดูในยูทูบ แล้วบางทีแม่แฟนเค้าก็บอกค่ะ” (มารดาวัยรุ่นจังหวัดระยอง อายุ 19 ปี ตั้งครรภ์ ตอนอายุ 17 ปี) 2) ผลกระทบทางด้านร่างกาย ผู้ให้ข้อมูลกล่าวถึงปัญหาท่ีเกิดจากผลกระทบต่อภาวะสุขภาพท้ังของ ตนเองและทารกในขณะท่ีตงั้ ครรภ์และคลอด ได้แก่ ภาวะรกเสื่อม ภาวะครรภ์เป็นพิษ การเจริญเติบโตช้าของ ทารกในครรภ์ การคลอดกอ่ นกําหนด และนา้ํ หนักแรกเกิดน้อย ดังคาํ กล่าวของผใู้ ห้ขอ้ มลู ดงั น้ี “คือหนูน่ะคลอดก่อนกําหนด เพราะว่าหมอเนี่ยเขาถามอาการหนูอะไรแบบน้ี แล้วหนูก็บอกเขาแล้ว เขาก็เห็นว่ามันผิดสังเกต เด็กมันต้องมีปัญหาอะไรแล้วเขาก็ตรวจ ตรวจแล้วเขาก็พบว่าลูกหนูน่ะสายรกเส่ือม แล้วเคา้ ก็บอกว่ามันจะเป็นแบบมาจากพวกควันบุหร่ี หนูก็เลยรู้เลยว่า มันมาจากควันยาท่ีแฟนหนูเสพ เพราะ เค้าเสพในห้อง หนูก็อยู่ในห้องเขาก็พ่นใส่พัดลมมันก็ตีหาเรา ตอนน้ันคือหนูก็ช็อคอยู่นะคะ แล้วหนูก้อปรึกษา หมอ หมอก็บอกว่าให้หนูน่ะเลือก ถ้าหนูไม่รีบท่ีจะผ่าออกมา เขาบอกว่าเด็กอาจจะเอ๋อ หนูก็เลยตัดสินใจให้ เขาผ่าออกเลย” (มารดาวยั รนุ่ จังหวดั ตราด อายุ 18 ปี ต้งั ครรภต์ อนอายุ 15 ปี) “เคา้ ดูแลดีค่ะ เคา้ จะถามวา่ เออ เดือนน้ีอาการเปน็ ยงั ไงบ้าง มีเจ็บท้องอะไรไหม มีเลือดออกม้ัย เขาก็ จะถามแลว้ ก็จะพาไปตรวจขนาดท้อง แล้วก็มีอยู่ช่วงหนึ่งขนาดท้องหนูมันเล็กเกินไป เค้าก็เลยคิดว่าเด็กน่าจะ ตัวเลก็ เขาเลยสง่ ไปโรงพยาบาลตราด” (มารดาวยั รุ่นจังหวัดตราด อายุ 18 ปี ตั้งครรภต์ อนอายุ 15 ป)ี “เค้าไม่รู้ตัวว่าท้อง นั่งทําการบ้านทํารายงานอยู่กับเพื่อน พอขึ้นบันไดบ้าน มีอาการชัก พ่อกับแม่ พาไปหาหมอที่โรงพยาบาล หมอบอกว่ามีภาวะครรภ์เป็นพิษ เลยส่งตัวไปโรงพยาบาล” (มารดาของมารดา วัยรุ่นจังหวดั ชลบรุ ี อายุ 17 ปี ตงั้ ครรภ์ตอนอายุ 16 ปี) “เพราะไม่รู้ตัวว่าท้อง แม่ก็ไม่รู้ว่าหนูท้อง เพราะประจําเดือนมาทุกเดือน แต่ประจําเดือนมานิดๆ หน่อยๆ เป็นสีแดง จนอายุครรภ์ได้ 36 สัปดาห์ แบบว่าชักไม่รู้สึกตัว แม่ทําอะไรไม่ถูกก็เลยส่งโรงพยาบาล หมอโรงพยาบาลบอกว่ามีเด็ก และมีภาวะครรภ์เป็นพิษ อยู่ในช่วง 50:50 เกือบไม่รอด เขาก็เลยส่งไป โรงพยาบาลคะ่ รบี เอาเดก็ ออก ไม่รู้ว่าท้อง กย็ ังลดนํ้าหนัก ไปว่ิง กระโดดเชือก คิดว่าตัวเองอ้วน แต่ดีนะท่ีเด็ก ไม่เป็นอะไร ออกมาแข็งแรง น้ําหนัก 2,800 กรัม หลังผ่าคลอดต้องอยู่ห้องไอซียูสองถึงสามวัน พักฟื้นอยู่ใน โรงพยาบาลเปน็ อาทติ ยถ์ งึ ไดก้ ลบั บ้าน” (มารดาวยั รุ่นจังหวดั ชลบุรี อายุ 17 ปี ตั้งครรภต์ อนอายุ 16 ป)ี “ตอนคลอด หนูก็เครียด เพราะไม่ได้บํารุงอะไร คลอดออกมา น้องก็ตัวเล็ก หมอบอกว่า ปอดน้องยังไม่ สมบูรณ์ น้องตอ้ งอยู่โรงพยาบาลหลายวนั ” (มารดาวยั ร่นุ จังหวัดระยอง อายุ 18 ปี ตั้งครรภต์ อนอายุ 16 ป)ี “หนูคิดว่าหนูเป็นตัวปัญหาทําให้เขาลําบาก ตอนหลังคลอดคนน้อง (ลูกแฝด) ต้องอยู่โรงพยาบาล หลายวัน เพราะนาํ้ หนกั ไม่ข้นึ ” (มารดาวัยรุ่นจงั หวัดชลบรุ ี อายุ 18 ปี ตง้ั ครรภ์ตอนอายุ 16 ปี คลอดลกู แฝด) 3) ผลกระทบด้านจิตใจ ผู้ให้ข้อมูลกล่าวถึงประสบการเชิงลบในขณะท่ีคนอื่นทราบว่าผู้ให้ข้อมูลตั้งครรภ์ ซึ่งสะท้อนถึงการที่มารดาวัยรุ่นถูกตําหนิ ถูกตีตราจากบุคคลใกล้ชิด เช่นครู เพ่ือนในโรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล

61 กล่าวถึงผลกระทบด้านจิตใจ จากการทถี่ ูกตีตราจากบุคคลใกล้ชิด ซึ่งบางรายเกิดจากประสบการณ์ตรงที่ได้รับ จากการพูดจาหรอื การแสดงออกจากบุคคลรอบข้าง ในขณะท่ีบางรายเกิดจากการคาดคะเนของผู้ให้ข้อมูลเอง ท่มี ีตอ่ บคุ คลรอบขา้ ง โดยเฉพาะโรงเรยี น ซงึ่ เปน็ สาเหตุทท่ี าํ ให้มารดาวยั รนุ่ หลดุ จากระบบการศกึ ษา “ตอนท้อง ตอน ม.5 พอครปู ระจําชนั้ รู้ ครบู อกวา่ ลาออกก่อน คลอดแล้ว ค่อยไปเรียนกศน. มีคนเคย บอกวา่ ผอ. โรงเรียนกลัวเสียภาพลกั ษณข์ องโรงเรยี น เขาจะใหอ้ อก เพ่ือนๆหนูรู้ เขาก็พูดว่า “ไม่น่าท้องน่าจะ เรยี นใหจ้ บพร้อมกนั ” (มารดาวยั รุ่นจังหวดั จนั ทบุรี อายุ 19 ปี ตง้ั ครรภต์ อนอายุ 17 ปี) “ไปคุยท่โี รงเรียน ผอ.ทโี่ รงเรียน บอกว่า ให้เรียนจบเทอมหน่ึง ม.4 ก่อน แต่อยากให้ลาออก เด๋ียวคน อ่ืนจะเอาเปน็ แบบอยา่ ง” (มารดาวัยรุ่นจังหวัดระยอง 1 อายุ 18 ปี ตง้ั ครรภ์ตอนอายุ 16 ปี) “คือหนูเป็นเด็กกิจกรรม แล้วหนูลงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ได้เป็นผู้นําของกิจกรรม แล้วพอหนูไปลง กิจกรรมน้ันแล้วเพ่ือนเขาก็บอกว่า เออ เหมือนหนูน่ะ ขนาดชีวิตตัวเองยังผิดพลาด แล้วจะไปนําใครได้” (มารดาวยั รนุ่ จงั หวัดตราด อายุ 18 ปี ตง้ั ครรภต์ อนอายุ 15) นอกจากน้ผี ใู้ ห้ขอ้ มลู ส่วนหน่ึงกล่าวถึงผลกระทบทางจติ ใจทไี่ ดร้ บั จากคําพูดของเพื่อนบ้าน ดังคํากล่าว ของผใู้ ห้ขอ้ มลู ดังน้ี “แถวบ้านหนูมีคนประเภทท่ีแบบว่า หัวโบราณ แบบพูดกับหนูว่า กลัวลูกโตไม่ทันเหรอ กลัวลูกโตไม่ ทนั ใชเ้ หรออะไรแบบนี้ค่ะ แถวบ้านหนูจะเป็นประเภทน้ัน คือแบบคนหัวโบราณน่ะค่ะ เค้าก็ชอบพูดแบบนั้น” (มารดาวยั รนุ่ จงั หวดั ชลบุรี อายุ 19 ปี เปน็ แมเ่ ล้ียงเด่ียวต้ังครรภ์ตอนอายุ 18 ป)ี 4) ปัญหาดา้ นสัมพันธภาพ ผ้ใู ห้ขอ้ มูลท่ีสะท้อนถึงปัญหาด้านสัมพันธภาพระหว่างมารดาวัยรุ่นกับฝุายชาย และครอบครัวของฝุายชาย โดยผู้ให้ข้อมูลส่วนหน่ึงกล่าวถึงการเลิกรากับฝุายชายเนื่องจากการตั้งครรภ์ทําให้ ฝุายชายยตุ คิ วามสัมพันธ์ ดังคํากล่าวของผู้ให้ข้อมูลดงั นี้ “พอตรวจก็ข้ึนว่าท้อง หนูก็เลยบอกเขา เขาก็เงียบไปเลย หนูก็รู้สึกแบบว่า เอิ่ม หนูไว้ใจในตัวเขา เพราะว่าเห็นว่าคบกันนานแล้ว เขาก็อายุมากกว่าหนู แล้วฝั่งแม่เขาก็พูดว่า “ใช่ลูกของมึงเหรอ” ท้ังๆที่ผู้ชาย เขาก็รู้นะ ว่าเขาเป็นคนทํา แต่แม่เขา พูดว่า ไม่ใช่ลูกเขาหรอก อะไรแบบน้ี แล้วตอนที่พูดกับหนูเขาก็ยอมรับนะว่า ทําหนูทอ้ ง แต่พอแมเ่ ขาปฏเิ สธ เคา้ ก็ไมร่ บั ” (มารดาวยั รนุ่ จงั หวัดจนั ทบุรี อายุ 20 ปี ตั้งครรภ์ตอนอายุ 17 ปี) “ตอนน้ันหนูกับเค้าก็เริ่มมีปัญหากันอยู่แล้ว เขายังไม่รู้ว่าหนูท้อง หนูยังไม่ได้บอกใคร หนูเลิกกับเขา ก่อนเพราะว่าเขาอยากเลิกกับหนู (ถอนหายใจ) คือ เค้าแอบไปมีคนอ่ืนค่ะ คือตอนแรกท่ีหนูท้องหนูบอกเค้า ด้วยนะคะ หนูบอกแม่เค้าก่อน แม่เขาคือคนท่ีส่ีที่หนูบอก (คนแรกคือ น้องสาว น้องชาย และแม่ แม่ทราบ เพราะอาจจะจากท่ีน้องไปบอกแม่) หนูโทรไปบอกแม่เขาว่าหนูท้อง เค้าบอกว่าให้ไปบอกแฟนหนูก่อน แล้วมันนะ บอกวา่ เด็กคนน้ีไม่ใชล่ กู เขา เขาพูดอย่างนั้น หนูก็พูดไม่ออกเลย” (มารดาวัยรุ่น จังหวัดชลบุรี อายุ 19 ปี ต้ังครรภ์ ตอนอายุ 18 ปี เปน็ แมเ่ ลยี้ งเดีย่ ว) สัมพนั ธภาพที่ไม่ยั่งยนื ของคูค่ รอง ผ้ใู หข้ ้อมลู สว่ นหน่ึงสะทอ้ นให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่ไม่ยั่งยืน มารดาวัยรุ่นคนหน่ึง อายุ 19 ปี มีบุตร 2 คน มีแฟน 3 คน คนแรกเป็นพ่อของลูกคนโต รู้จักกันตอนฝุายชายอายุ 19 ปี ฝุายชายเสพยา และทําร้ายทุบตีจึง เลิกรากันไปตั้งแต่ต้ังครรภ์แรก แฟนคนที่ 2 คบกันในขณะท่ีต้ังครรภ์ลูกคนแรก อยู่ด้วยกันประมาณ 2 เดือน

62 กว่าก็เลิกรากันไป เพราะครอบครัวฝุายชายไม่เห็นด้วย แฟนคนท่ี 3 เป็นพ่อของลูกคนสุดท้อง อายุ 23 ปี ปัจจุบันยังอยู่ด้วยกัน ดูแลเลี้ยงดูมารดาวัยรุ่นดี อาศัยอยู่ด้วยกันกับครอบครัวฝุายพ่อแม่ของมารดาวัยรุ่น (มารดาวัยรุ่นจังหวัดระยอง อายุ 19 ปี ตั้งครรภ์ตอนอายุ 17 ปี) เช่นเดียวกับมารดาวัยรุ่นอีกราย อายุ 16 ปี คบกับแฟนคนแรก ตอนม.1 แฟนเป็นรุ่นพี่คนละโรงเรียน ท้องตอนอายุ 15 ปีเลิกกันเพราะฝุายชายไปมีแฟน ใหม่ ต่อมามารดาวัยรุน่ มีแฟนใหม่ เป็นเพ่อื นหอ้ งเดยี วกัน (มารดาวัยรุ่นจังหวัดชลบุรี อายุ 16 ปี ตั้งครรภ์ตอน อายุ 15 ป)ี นอกจากน้ผี ้ใู ห้ขอ้ มลู ยงั กลา่ วถงึ ปญั หาด้านสัมพันธภาพระหว่างตนเองและสามี ซ่ึงเปลี่ยนแปลงไปจาก ตอนทยี่ งั ไมต่ ง้ั ครรภห์ รือคลอดบตุ ร ดงั คํากล่าวของผู้ใหข้ อ้ มลู ดงั นี้ “เคา้ ดแู ลดแี คแ่ รกแรกคะ่ หลังหลังเขาไม่เหมือนเดิมเขาไม่ค่อยใส่ใจ หนูก็คุยกับเขาหลายรอบแล้วนะ คะเรอ่ื ง… เรอ่ื งพวกเน่ีย แต่มันก็ดีแคส่ ามสวี่ นั แรก แล้วต่อไปมนั ก็เหมือนเดมิ มันกอ้ แย่เหมือนเดิม เลิกกันหลาย ครงั้ แลว้ คะ่ แต่ว่าหนสู งสารลูก หนูกต็ อ้ งกลับมา” (มารดาวยั รุน่ จงั หวัดตราด อายุ 18ปี ต้ังครรภ์ตอนอายุ 15) “จะมีปัญหาตอนตั้งครรภ์ ตอนตั้งครรภ์คือหนูทะเลาะกับสามีบ่อยมาก ไม่รู้ว่าเพราะอารมณ์หนูด้วย หรือเปล่า แต่จะทะเลาะกันบ่อยมาก แล้วหนูนะคือหนูเป็นคนท่ีชอบเก็บมาคิดแล้วก็ เสียใจร้องไห้บ่อยมาก ถามวา่ เคยทะเลาะกันเร่ืองลูกไหมก็มีค่ะ ช่วงหลังคลอด ที่ทะเลาะกันเพราะหนูบอกทําไมไม่ช่วยดูลูกเลย แล้ว เขาก็บอกหนูว่า หนูก็ไม่ช่วยดูเหมือนกัน แล้วมันเสียความรู้สึกตรงที่ เออทําไมเขาพูดกับหนูแบบนี้ เขาพูดใน เชิง แบบหนกู ไ็ ม่ดูลกู ทัง้ วัน” (มารดาวยั รนุ่ จังหวดั ชลบุรี อายุ 20 ปี ต้ังครรภ์ตอนอายุ 17 ปี) นอกจากปัญหาด้านสัมพันธภาพระหว่างมารดาวัยรุ่นและสามี ผู้ให้ข้อมูลยังกล่าวถึงความอึดอัด ไม่สบาย ใจ และไม่สามารถปรับตัวให้เขา้ กบั ครอบครัวสามีได้ ทสี่ ะทอ้ นถึงประเด็น “อยู่บ้านเค้าไม่เหมือนอยูบ่ ้านเรา” “ครอบครวั สามีก็ดูแลดีค่ะ หนูอยู่กับเขาก็ดี เขาก็ช่วยดูลูกให้ แต่จะมีเรื่องแบบ หนูรู้สึกน้อยใจเวลาที่ อยบู่ า้ นเค้าร้สู ึกไมอ่ บอุ่นเหมอื นอยบู่ ้านเรา คอื ไมร่ ู้จะทําตวั ยงั ไง คืออยู่บา้ นสามกี ว็ างตวั ไม่ถูก ว่าจะทํายังไง คือ ทาํ อะไรนิดอะไรหนอ่ ยก็โดนบ่นแล้ว” “สว่ นมากจะเป็นแม่สามีที่บ่น ก็มีพ่อสามีบ้างนิดหน่อยแต่เขาจะไม่ ค่อยมาบอกหนูตรงตรง เขาจะไม่ ดา่ ใหห้ นไู ด้ยนิ เคา้ จะสั่งแมส่ ามมี าบ่นหนูอีกทหี นึ่ง” “ก็เร่ืองหนูไม่ช่วยงานบ้าน ก็คือหนูอยู่บ้านเขาก็ไม่ได้ช่วยงานแต่ถามว่า ถ้าเขาใช้หนูหนูก็ทําหมด แต่ ส่วนมากเขาจะไม่ค่อยพูดกับหนูมากกว่า หนูไม่รู้ว่าเขาต้องการอะไร หนูทําตัวไม่ถูก คือหนูไม่รู้ว่าเค้าต้องการ ใหห้ นทู าํ อะไร บางทีเลกิ งานไปมนั กเ็ หน่ือยแล้ว แตถ่ า้ กอ่ นหนา้ นี้ท่ียังไม่ไดท้ ํางานที่หนูอยู่กับเขา หนูยอมรับค่ะ วา่ ไม่ช่วยงานเขาเลย” “ก็โอเคค่ะ ก็ยังอยู่กับเขาได้ แต่มันก็มีบ้าง บางทีแบบไม่อยากอยู่เลย อยากกลับบ้าน เล่าให้แม่ฟังค่ะ ว่า อย่างวันน้ีโดนเขาด่ามาน่ะ แม่ก็บอกว่าอดทน เพื่อลูก ซึ่งทุกวันน้ีก็อดทนอยู่เพ่ือลูก คือเราก็คิดว่าเราก็ อาจจะผดิ ทเี่ ขาบน่ ก็เพราะวา่ อยากใหเ้ ราทําอะไร ท่ีเขาบ่นเราก็คอื อยากให้เราทาํ แบบที่เขาอยากให้ทํา” “ถามว่าชีวิตช่วงนี้โอเคไหมหนูก็ หนูก็เพ่ิงโดนเขาบ่นมาไม่ก่ีวันอารมณ์มันก็ยังค้างอยู่ แต่ก็เม่ือวานก็ คยุ กบั แมส่ ามแี ลว้ มันก็เสยี ใจนะพี่ มันก็ยังเสยี ใจอยู่ (นา้ํ ตาซึม) หนกู ็ไม่คอ่ ยมคี วามสุขเท่าไร เหนอ่ื ยนะพี่”

63 “หนูรู้สึกว่าหนู เป็นคนอื่น คือแบบกลับมาบ้านอย่างเง้ีย ทั้งพ่อท้ังแม่สามีก็ ไม่ค่อยได้คุยกับหนู หนูก็ ไม่ค่อยได้คุยกับเค้าเหมือนกัน หนูก็ไม่เข้าหาเขาเขาก็ ไม่พูดกับหนู คือจริง ๆ หนูต้องเข้าหาเขา แต่หนูไม่รู้จะ คุยอะไรกับเขา แลว้ กลางคืนก็นอนอยูค่ นเดียว คอื แบบอยใู่ นหอ้ งคนเดียวอะไรอย่างน้ี คือไม่อยากจะคุยกับเขา เพราะรู้สึกว่าคุยกับเขาแล้วจะโดนบ่น ก็เลยเก็บตัวอยู่ในห้อง แล้วย่ิงถ้าเขาบ่นหนูอะไรอย่างนี้หนูก็ จะอยู่ใน ห้องอยากอยู่แต่ในห้องอย่างเดียว แล้วก็อยากกลับบ้าน แต่ในใจลึกๆแล้วก็นึกว่าลูกอยู่น่ี กลับไม่ได้” (มารดา วยั รนุ่ จังหวดั ชลบรุ ี อายุ 20 ปี ตัง้ ครรภต์ อนอายุ 17 ปี) “หลังหมั้นเสร็จหนูเข้ามาอยู่บ้านพ่อแม่แฟน มาอยู่บ้านคนอ่ืน มันก็รู้สึกแปลก แปลก การใช้ชีวิตไม่ เหมือนเดมิ ” (มารดาวัยรนุ่ จงั หวัดจันทบุรี อายุ 19 ปี ตัง้ ครรภต์ อนอายุ 18 ปี) 5) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ ผู้ให้ข้อมูลทุกราย กล่าวถึง ความยากลําบากในการดําเนินชีวิต และการ เล้ียงดูบุตร อันเน่ืองมาจากความไม่พร้อมทางฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว ซ่ึงส่วนใหญ่ต้องออกจาก โรงเรียนเมื่อรู้ตัวว่าท้อง และเม่ือคลอดแล้วก็ไม่ได้กลับไปเรียน เพราะคิดว่าเป็นความรับผิดชอบของตนเองที่ จะต้องช่วยค่าใช้จ่ายเร่ืองลูก ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ทํางานรับจ้าง โดยได้รับค่าตอบแทนเท่ากับรายได้ข้ันต่ําหรือ น้อยกวา่ ลกั ษณะงานท่ีทํา ได้แกร่ ับจา้ งขายอาหารที่ตลาดโต้รุ่ง รับจ้างตัดอ้อย กรีดยาง เป็นต้น นอกจากนี้ใน รายทเี่ ป็นแม่เลย้ี งเดยี่ วใหข้ อ้ มลู ว่า ฝาุ ยชายก็ไม่ได้รบั ผิดชอบเรือ่ งค่าเลี้ยงดูบุตร ปล่อยเป็นภาระของครอบครัว ฝาุ ยหญงิ ดงั คาํ กล่าวของผใู้ หข้ อ้ มูลดังน้ี “เขาก็ตกลงว่า เดี๋ยวเขาจะส่งค่าเลี้ยงดูให้อะไรให้ แต่พอจริง ๆ เขาก็ไม่ได้ส่งนะคะ เขาส่งแค่เดือนละพัน ใช่แต่คือ เดือนละพันมันก็ไม่พอสําหรับเล้ียงลูก คือตอนแรกท่ีคุยกันเขาบอกอย่างดิบดีเลยนะคะ ฝุายชายนะ คะเขาบอกว่า จะส่งนู่นน่ีนั่นแต่คือพอคลอดออกมาจริงๆ พอเล้ียงจริงๆ คือหนูไม่ได้ทํางานใช่ไหมแล้วฐานะ ทางบา้ นหนูกจ็ น หนกู ็บอกไหนบอกวา่ จะสง่ ตงั คไ์ ง เขาบอกวา่ ยังไมถ่ งึ เวลา ใช่คือตอนน้ีก็ส่งแค่เดือนละพัน คือ ส่งเดือนละพันเน่ียมันไม่พอสําหรับหนูแล้วใช่ไหม เพราะหนูก็ไม่ได้ทํางานแล้วแม่หนูก็เป็นคน ออกค่าใช้จ่าย ท้ังหมดให้หลานนะคะ ก็ลําบากอยู่เหมือนกัน กว่าจะโตมาได้คือแบบลําบากมาก” (มารดาวัยรุ่นจังหวัดชลบุรี อายุ 21 ปี ตัง้ ครรภต์ อนอายุ 18 ปี เปน็ แมเ่ ลีย้ งเดี่ยว) “คือหนูน่ะ จะกลบั ไปเรียน แล้วที่นี้ พอคลอดลกู ออกมา คือมันจะกลับไปเรียนก็ไม่ได้ คือแฟนหนูก็ยัง เรียนอยู่ แล้วค่านมก็ พ่อแม่สามีก็ จะให้เขาส่ง จะให้เค้าซ้ืออย่างเดียวมันก็ ไม่ได้ค่ะ หนูก็เลย ออกมาทํางาน ค่ะ ก็เลยไม่ได้เรียนค่ะ แต่ถ้าถามว่าตอนนี้อยากกลับไปเรียนใหม่ก็อยากค่ะ หนูก็อยากหาตังค์ช่วยออกค่านม เขาด้วย คือลูกหนูไง ไปเรียนแล้วใครจะช่วยหาตังค์ ไปเรียนก็ไม่มีตังค์ใช้นะคะพี่ ก็เลยคิดว่าทํางานได้ก็ อยากจะทํา ก็ตอนนี้ก็ทํางานไปก่อนดีกว่า ก้อเรียนก็น่าจะหนักอยู่และไหนจะทํางานด้วยมันแบ่งช่วงวันไม่ถูก เรยี นวนั ไหนทาํ งานวันไหน” (มารดาวัยรุน่ จังหวัดชลบรุ ี อายุ 20 ปี ต้ังครรภ์ตอนอายุ 17 ป)ี 6) ปญั หาด้านสิทธ์ิและการเข้าถึงสิทธ์ิ ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ การไม่รับรู้เกี่ยวกับสิทธิ ของตนเองและบตุ ร การถูกละเลยจากบุคคลท่เี ปน็ ผู้นําชมุ ชน และการไม่สามารถเข้าถงึ สวัสดกิ ารท่ีเกย่ี วข้องได้ การไม่รับรู้เกี่ยวกับสิทธิของตนเองและบุตร ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ ไม่ทราบถึง พระราชบัญญัติการปูองกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มาตรา 6 ข้อ 3 ที่ ให้สถานศึกษา “จัดให้มีระบบการดูแล ช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียนหรือนักศึกษาซึ่งต้ังครรภ์ ให้ได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบท่ีเหมาะสมและ

64 ต่อเนือ่ ง รวมท้ังจัดให้มีระบบการส่งต่อให้ได้รับบริการอนามัยการเจริญพันธ์ุ และการจัดสวัสดิการสังคมอย่าง เหมาะสม” โดยมารดาวัยร่นุ สว่ นหน่ึงกลา่ วไว้ดังน้ี “คือโรงเรียนเค้าไม่ให้เรียนค่ะ ถ้าให้เรียนก็ดีนะแต่ สมมติว่าถ้าต้องแบบว่าไปเจอ บางคนแบบคุณครู เขาชอบติอะไรแบบเนี้ย เราก็รับไม่ได้ หนูก็เลยตัดสินใจออกดีกว่าแล้วก็มาเรียนแบบนี้ดีกว่า ก็คือก็มีครูเค้า แนะนํา ครูท่ีปรึกษาหนูเค้าแนะนําแบบว่าจะขอ ผอ.ให้ แต่คือ หนูก็แบบไม่เอาดีกว่าเพราะว่า คุณครูคนอื่นก็ อาจจะไม่เขา้ ใจเรา” (มารดาวัยรนุ่ จังหวดั จันทบุรี อายุ 20 ปี ต้ังครรภต์ อนอายุ 17 ปี) “พอกลับมาจากฝึกงานที่กทม. เหลืออีก 1 ปี ก็จะจบ แต่ท้องโตข้ึน พอคลอดออกมาต้องเล้ียงลูกเอง เพราะแม่กับแฟนก็ต้องทํางาน เลยตัดสินใจลาออก ไม่เรียนแล้ว ครูก็คงรู้เพราะท้องโตขึ้น แต่ก็ไม่ได้ปรึกษา ใคร ตัดสินใจกับแฟน ท้ังหนูและแฟนลาออกจากเรียน ออกมาทํางานหาเงิน พอเพื่อนหนูท้อง หนูถึงรู้ว่า สามารถ drop เรียนได้ ตรงนี้หนูไม่รู้จริงๆว่าท้องแล้ว เราสามารถ dropเรียนได้ ไม่มีใครบอก ท่ีรร. ครูก็ไม่ บอก” (มารดาวยั ร่นุ จังหวัดตราด อายุ 21 ปี ต้ังครรภ์ตอนอายุ 18 ปี) การดูแลท่ีมารดาวัยรุ่นเกือบทุกคนเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้แก่ การฝากครรภ์ การคลอดบุตร การตรวจหลงั คลอด และการพาบุตรไปรับวคั ซีน โดยมมี ารดาวัยรุ่นส่วนหนึง่ ไม่ได้ฝากครรภ์ เพราะไม่ทราบว่า ตนเองตั้งครรภ์ ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่กล่าวว่าตนเองได้รับข้อมูลในเร่ืองการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ การเตรียมตัว คลอด และการดูแลบุตรไมแ่ ตกตา่ งจากแมค่ นอื่น ซึ่งมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่กล่าวว่าอยากให้มีหน่วยงานให้คําแนะนํา เกย่ี วกบั การเลย้ี งดูบตุ รอยา่ งต่อเน่อื ง “หลงั คลอด น่าจะมกี ารสอนการเลย้ี งเดก็ เดก็ ท่ที ้อง เป็นเด็กวัยรุ่น คงเล้ียงเด็กไม่เป็น บางคน ก็ไม่ได้ เลี้ยงเอง เพราะเขาไม่ตัง้ ใจจะมีลกู ต้องมีคนชว่ ยสอน ให้เลี้ยงลกู เป็น” (มารดาวัยรุ่นจังหวัดจันทบุรี อายุ 19 ปี ตง้ั ครรภ์ตอนอายุ 18 ป)ี “อยากใหเ้ ขาใหค้ ําแนะนําเร่ืองการเล้ยี งลูกค่ะ ตามวยั เดก็ อะไรแบบน้ีค่ะ เพราะบางทีเราก็ไม่รู้ว่าถึงวัย น้ีแล้วตอ้ งทํายงั ไง แตล่ ะชว่ งวยั ไมเ่ หมือนกนั ” (มารดาวยั รุน่ จังหวดั ระยอง อายุ 19 ปี ต้ังครรภต์ อนอายุ 17 ป)ี การถูกละเลยจากบุคคลที่เป็นผู้นาชุมชนในหลายๆด้าน เช่น อสม. ผู้นําชุมชน มารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่ให้ ข้อมูลวา่ ไมไ่ ดร้ ับการดูแลจากหน่วยงานอ่ืน เช่นการเย่ียมบ้านจาก อสม. หรือการได้รับคําแนะนําหรือเข้าร่วม กจิ กรรมใดที่ชุมชนหรอื หน่วยงานจดั ซ่งึ ระบุว่าเป็นกจิ กรรมทีจ่ ัดเฉพาะเพือ่ กลุ่มมารดาวัยรุน่ “อสม. ในหมู่บา้ น ไม่คอ่ ยมาหา มขี า่ วสารอะไรไม่เคยได้รับ เงินอุดหนุนบุตรน่ี ทราบข้อมูลจากพ่อ ซึ่ง พ่อไปไดย้ ินมาจาก อบต.” (มารดาวยั รุ่นระยอง อายุ 19 ปี ตัง้ ครรภ์ตอนอายุ 17 ปี ปัจจบุ ันมีบตุ ร 2 คน ) การไม่สามารถเข้าถึงสวัสดิการที่เกี่ยวข้องได้ มารดาวัยรุ่นทุกคน ทราบข้อมูลและได้รับเงินอุดหนุนเพ่ือ การเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด แต่สําหรับสวัสดิการด้านอ่ืน เช่น การสนับสนุนสวัสดิการพื้นฐาน เงินช่วยเหลือคร้ังคราว ครอบครัวอุปถัมภ์ ครอบครัวบุญธรรม หรือการสนับสนุนเรื่องการฝึกอาชีพให้มีรายได้ มารดาวัยรุ่นกล่าวว่าตนเอง ไมเ่ คยทราบขอ้ มูลน้ีมาก่อน “หนูคิดว่าเงินหกร้อยบาท เงินท่ีรัฐช่วย มันก็ไม่ค่อยพอ อยากให้มีการช่วยเหลือ อย่างเช่น ให้นม ให้ แพมเพอร์ส หรือพวกน้ํายาซักผ้า หรือไม่ก็ให้เงินมากกว่าน้ี ตอนไปข้ึนทะเบียน รับเงินหกร้อย ท่ีสะใภ้เป็นคน

65 บอก เพราะว่าเขาเคยคลอดลูก เค้าบอกว่า ให้ไปทําเร่ือง ที่อบต. จะได้เงิน ทุกเดือน ไม่มีใครมาบอก มีแต่ พ่ีสะใภเ้ ป็นคนบอก” (มารดาวยั รนุ่ จงั หวดั ระยอง อายุ 17 ปี) “หนูไปทําตอนลูกอายุ 1 ปี เพอ่ื นทท่ี อ้ งมาคยุ ว่าได้เงนิ หรือเปลา่ เลยรู้ว่ามีเงนิ น้ี แม่แฟนก็ไม่รู้ ไม่มีใคร บอก” (มารดาวยั รุน่ จงั หวัดตราด อายุ 21 ปี ต้งั ครรภ์ตอนอายุ 18 ปี ปัจจบุ ันบุตรอายุ 2 ปีกวา่ ) 4.3 สว่ นที่ 3 แนวทางการจดั สวัสดิการทีเ่ หมาะสมสาหรับกลุ่มเปา้ หมายต้ังครรภใ์ นวยั รนุ่ จากการศึกษาในคร้ังน้ีผู้วิจัยได้ทําการสังเคราะห์ข้อมูลในส่วนที่ 2 ปัญหาและความต้องการของสตรี ต้ังครรภ์วัยรุ่นและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการดูแลสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นเพื่อทําความเข้าใจรูปแบบและแนวทาง ในการจดั สวัสดิการสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นในปัจจุบัน โดยการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์โดยใช้กระบวนการกลุ่ม (Focus group) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) และรวบรวมเอกสารที่เก่ียวข้อง พบว่าแนวทาง การจดั สวสั ดิการสาํ หรับสตรีตัง้ ครรภ์วัยรุ่นท่ีควรมขี นึ้ ประกอบด้วย 8 แนวทาง คือ 1) แนวทางการตอบสนอง ต่อความต้องการที่จําเป็น 2) สร้างครอบครัวเข้มแข็ง 3) การฟื้นฟูจิตใจ 4) การปรับทัศนคติของครูต่อการ ต้งั ครรภ์วัยรุ่น 5) การปอู งกันการต้ังครรภซ์ ํา้ 6) ศูนย์บริการแบบ One stop service 7) เสริมสร้างสมรรถนะ ของผูน้ ําในชุมชนสามารถอธิบายได้ตามแผนภาพดังน้ี แนวทาง รูปแบบกจู กรรม วธู กู าร ผูรูบผูดชอบ 1) แนวทางการ การด่แลส่ขภาพทางกาย - การดแู ลดานการฝากครรภ คลอดและหลงูคลอด สถานพยาบาล ตอบสนองต่อความ - การหาพูีเลีูยงในชูมชนชวยดูแล อสม. ต่องการทจ่า่เป่น การต่อยอดทน่ช่วต่ - การเสรูมิ ความรูความเขาใจในการดแู ลสขู ภาพ การเลยีู งบตู รและหลูงคลอด องคกรปกครองสวนทองถูน 2) สร่างครอบคร่ว ประเมน่ความพร่อมของ - การหาหนวยงานหรูอสถานทดูี แู ลบูตรและหลูงคลอด หนวยงานทเูกยู วของ เข่มแขง่ ครอบคร่ว - อบรมการฝกอาชูพี นกู สงูคมสงเคราะห 3) การฟ่นฟจ่ต่ใจ ประเม่นความพร่อมของ - การหาทนู สงเสริูมรายได การหาตลาด หนวยงานทูเกูยวของ 4) การปร่บทศ่นคตข่องบ่คลากรทาง สตร่ว่ยร่น - สนูบสนูนดานของใชจำเปนสำหรูบบูตร นูกจตู วทู ยา การศก่ษาต่อการต่งครรภ่ว่ยร่น ดแ่ลส่ขภาพจต่ - การเยยูี มบาน ผูเชูยวชาญ 5) การป่องก่นการตง่ครรภ่ซา่ - การโทรตูดิ ตาม สถานศกู ษา ประเมน่ทศ่นคตข่องคร่ หนวยงานทูเกูยวของ 6) ศ่นย่บร่การแบบ One stop service - การเยยูี มบาน สถานพยาบาล การวางแผนครอบคร่ว - การโทรตูดิ ตาม สถานศูกษา 7) เสร่มสร่างสมรรถนะของผ่น่าในช่มชน - สนทนาพูดคูย หนวยงานทูเกูยวของ การจด่ตง่ศน่ย่บร่การแบบ - การรบู ฟงอยางเขาใจและตอเนูอง One stop service - กิูจกรรมแลกเปลูยี นประสบการณ หนวยงานทเูกยู วของ พฒ่ นาศ่กยภาพผ่นา่ช่มชน - กิจู กรรมแลกเปลูยี นประสบการณในสหวชิู าชีูพ องคกรปกครองสวนทองถนู - ปรบู รูปแบบการสอนใหทูนสมยู เหมาะสมกบู ปจจูบูน ผูเชูยวชาญ - การคูมกำเนิดู หนวยงานทเูกูยวของ - การยบู ยูงชูงใจ - การเชูอมโยงขอมูลทีูทนู ตอสถานการณ - การเกูบขอมลู แบบรวมศนู ย - เสรูิมสรางองคความรูและความเขาใจในการดูแลแมวูยรนู แผนภาพที่ 1 แนวทางการจดั สวัสดกิ ารสตรีตง้ั ครรภ์วยั ร่นุ และครอบครัว

66 3.1) แนวทางการตอบสนองต่อความต้องการท่ีจาเปน็ แนวทางการตอบสนองความต้องการที่จําเป็น เป็นรูปแบบที่หน่วยงานจะให้ความช่วยเหลือ จัดกิจกรรมต่างๆเพ่ือตอบสนองความต้องการทั้งทางด้านร่างกาย และความต้องการด้านการต่อยอดทุนชีวิต สําหรับสตรตี ง้ั ครรภว์ ยั รนุ่ ซึ่งประกอบดว้ ย 1) การดูแลสุขภาพทางกาย 2) การต่อยอดทุนชีวิต สามารถอธิบาย ไดด้ ังนี้ 3.1.1) การดแู ลสุขภาพทางกาย เป็นกิจกรรมที่หน่วยงานให้ความช่วยเหลือดําเนินกิจกรรมร่วมกับสถานพยาบาลเพ่ือให้ การดูแลช่วยเหลือด้านสุขภาพทางร่างกายของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นต้ังแต่ช่วงระยะของการต้ังครรภ์ การคลอด และหลังคลอด เนื่องจากสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นมักเป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม ขาดความรู้และความเข้าใจในการ ดูแลรา่ งกายของทั้งตนเองและทารกในครรภ์ แต่เม่ือเขา้ สแู่ นวทางการตอบสนองต่อความต้องการที่จําเป็นแล้ว น้ัน กลไกที่จะให้ความช่วยเหลอื ในกรณีท่สี ตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นยังไม่มีการฝากครรภ์ ก็จะต้องมีเจ้าหน้าที่ให้ความ ช่วยเหลือหรือคําแนะนําในการฝากครรภ์ หากในกรณีท่ีมารดาวัยรุ่นหลังคลอด อาจต้องมีการให้ความช่วยเหลือ ในการดูแลสุขภาพบุตรเบื้องต้น เช่นการฉีดวัคซีน การเจ็บปุวยพื้นฐาน ท้ังนี้ภายหลังจากการช่วยเหลือนําไป ฝากครรภ์ เม่ือถึงกําหนดคลอดบุตร หน่วยงานยังคงต้องดําเนินการติดตามการนัดพบแพทย์เพื่อการดูแลสตรี ต้ังครรภ์วัยรุ่นได้อย่างครบถ้วน โดยประเด็นสําคัญอีกประการหน่ึงท่ีควรคํานึงถึงในช่วงของการฝากครรภ์คือ การใหค้ วามรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการคลอดหรอื การเตรียมตัวคลอด ท้ังนี้หน่วยงานอาจต้องมีบุคคลที่ทําหน้าที่ เสมือนพี่เลี้ยงในชุมชน เช่น อสม. ซึ่งเป็นผู้ท่ีได้รับการอบรมเก่ียวกับการดูแลสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นโดยเฉพาะ เพื่อให้การช่วยเหลือตั้งแต่ระยะฝากครรภ์ ระยะคลอดและหลังคลอดซึ่งต้องดูแลทั้งตัวมารดาวัยรุ่นและการ สง่ เสริมการเลย้ี งบตุ ร “...ถ้าน้องเค้ายังไม่ได้ฝากท้อง ทางหนูก็จัดเจ้าหน้าท่ีให้พาน้องเค้าไปฝากท้องค่ะ แล้วก็ พาไปทุกคร้ังตามที่หมอนัดค่ะ แล้วก็ดูแลน้องเค้าจนถึงตอนคลอดเลยค่ะ อันนี้หนูว่าถ้าทาได้ทุกคน น้องๆก็ น่าจะมคี วามสขุ อนุ่ ใจขึ้น...” (เจา้ หนา้ ท่รี ะดับปฏบิ ตั กิ ารในจงั หวัดชลบุรี) 3.1.2) การตอ่ ยอดทุนชีวิต กจิ กรรมการต่อยอดทุนชีวิตเป็นกิจกรรมท่ีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือเพื่อสนับสนุนใน การสร้างความมนั่ คงทางการเงินของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น ทําให้สตรีวัยรุ่นสามารถมที ุนในการตอ่ ยอดในชีวิต โดย หน่วยงานจะมีการจัดอบรมในการสร้างอาชีพต่าง ๆ ตามที่สตรีวัยรุ่นสนใจหรือมีความเป็นไปได้ที่จะนําไป ประกอบอาชีพ พร้อมท้ังหน่วยงานยังมีการจัดหาแหล่งตลาดในช่องทางต่าง ๆ ในการจําหน่ายสินค้า นอกจากนี้หน่วยงานให้ความช่วยเหลือสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นให้การสนับสนุนของใช้ท่ีจําเป็นสําหรับ บตุ รสามารถเลีย้ งบุตรได้อย่างเหมาะสม “...ที่หน่วยงานหนูจะสร้างกลุ่มไลน์ค่ะ แล้วก็ดึงน้องๆให้อยู่ในกลุ่มน้ีด้วยค่ะ เวลามี อบรมอะไรเก่ียวกับอาชีพเพ่ือสร้างรายได้ ก็จะโพสต์ลงในกลุ่มไลน์ค่ะ แล้วก็หาตลาดให้น้องเค้านาสินค้าไป จาหน่ายได้ดว้ ยคะ่ แล้วก็สอนน้องเคา้ เรอ่ื งขายของออนไลน์ หรือไปวางตามศูนย์จาหน่ายสินค้าค่ะ แต่ช่วงนี้ติด ภาวะโควิดกนั ก็เลยไม่ไดข้ ายตามศูนยค์ ่ะ...” (เจา้ หนา้ ท่รี ะดับปฏิบัติการ จังหวัดระยอง)

67 3.2) สรา้ งครอบครัวเขม้ แขง็ สถานการณ์สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น หรือ แม่ที่ท้องไม่พร้อม ไม่เพียงต้องแบกรับ ความไม่เข้าใจของ ครอบครัว หากยังตอ้ งรบั มอื กบั ความพร้อมในการเลี้ยงลูก เพราะส่วนใหญเ่ ลีย้ งลูกไม่เป็น การสร้างครอบครัวท่ี เข้มแข็งเป็นกระบวนการท่ีช่วยให้สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นได้ใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยการ ช่วยเหลือจะเป็นรูปแบบใดรูปแบบหน่ึงให้ตรงตามความต้องการของสตรีวัยรุ่นต้ังแต่ในระยะต้ังครรภ์ จนถึง ระยะหลังคลอด โดยหน่วยงานต้องมีการประเมินความพร้อมของทั้งครอบครัวและตัวของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น การถกู ลิดรอนสิทธทิ างการศกึ ษาและการกดี กันทางสังคม เช่น การหลุดจากระบบการศึกษา การเข้าไม่ถึงงานอาชีพ และรายได้ เป็นต้น ส่งผลต่อสภาพความเป็นอยู่ที่มีภาวะพึ่งพิงครอบครัวขยาย และต้องการความช่วยเหลือเกื้อกูล จากเครือญาติ โดยเครือ ญาติฝุายหญิง หรือแม่เล้ียงเดี่ยววัยรุ่นจะเป็นผู้ให้การช่วยเหลือเป็นหลัก ความต้องการ ในบริการสวัสดิการทางการศึกษา ในช่วงของการตั้งครรภ์ คือความยืดหยุ่นในระเบียบของ สถานศึกษา เช่น เครื่องแต่งกาย การได้รับการปรึกษาแนะนํา และทางเลือกในการศึกษา ย้ายรอบเรียน ท้ังนี้ครอบครัวที่ได้รับ การประเมินความพร้อมน้ีควรเป็นทั้งครอบครัวของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นเองและครอบครัวของคู่ครอง สามารถ อธบิ ายไดด้ งั นี้ 3.2.1) ประเมนิ ความพร้อมของครอบครัว จากการเกบ็ ขอ้ มลู พบว่าหน่วยงานใหค้ วามชว่ ยเหลือสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นในบางองค์กรจะ มกี ารประเมินความพรอ้ มของครอบครัวในการดแู ลสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น เพื่อให้วางแผนให้การสนับสนุนเป็นราย กรณีต่อไป โดยหน่วยงานจะจัดส่งเจ้าหน้าท่ีที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบเก่ียวข้องเดินทางไปดูบ้านพักของครอบครัว สตรีวัยรุ่นในทุก ๆ ด้าน เช่น รายได้ของครอบครัว พฤติกรรมต่าง ๆ ในครอบครัวเป็นต้น มีการประเมิน สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ในชุมชน และยังมีการโทรศัพท์ติดตามเย่ียมบ้าน สอบถามพูดคุยกับครอบครัว นอกจากนี้ยังมีการส่งต่อข้อมูลต่างๆให้กับหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในกรณีที่ครอบครัวมีการย้ายท่ีพัก ท้ังนี้หาก เกิดกรณีที่ครอบครัวของสตรีวัยรุ่นไม่พร้อมในการดูแลสตรีวัยรุ่น หน่วยงานก็ต้องมีการประเมินสมาชิก ครอบครวั ท่ีเปน็ ญาติใกลช้ ดิ เพอ่ื ใหก้ ารดูแลตอ่ ไป “...เราจะมีเจ้าหน้าท่ีเข้าไปประเมินครอบครัวก่อนเลยค่ะว่าพร้อมในการดูแลเด็ก (หมายถึงสตรีต้ังครรภว์ ยั รุ่น)หรือเปล่าค่ะ เพราะเคยเจอว่าบางครอบครัวจะขอดูแค่เด็กที่คลอดออกมาแล้วค่ะ แต่ไม่ยอมให้แม่เข้าไปอยู่ด้วย บางครอบครัวก็พ่อแม่ไม่ยอมรับเลยค่ะ เราก็ต้องเข้าไปประเมินญาติใกล้ชิดท่ีมี ความพรอ้ มในการดูแล...” (เจา้ หนา้ ท่ี) 3.2.2) ประเมนิ ความพรอ้ มของสตรวี ยั รุ่น จากการเกบ็ ข้อมูลพบวา่ หนว่ ยงานให้ความชว่ ยเหลอื สตรีตงั้ ครรภ์วัยรุ่นจะมีการประเมิน ความพร้อมของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น เพ่ือให้วางแผนให้การสนับสนุนเป็นรายกรณีต่อไป โดยหน่วยงานจะจัดส่ง เจ้าหน้าท่ีท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบเก่ียวข้องเดินทางไปดูบ้านพักของครอบครัวสตรีวัยรุ่นในทุกๆด้าน เช่น รายได้ ของครอบครัว พฤติกรรมตา่ ง ๆ ในครอบครัวเป็นต้น มีการประเมนิ สภาพแวดล้อมต่างๆในชุมชน และยังมีการ โทรศพั ทต์ ิดตามเย่ยี มบ้าน สอบถามพูดคยุ กบั สตรีวัยรนุ่ นอกจากน้ียังมีการส่งต่อข้อมูลต่างๆให้กับหน่วยงานท่ี รบั ผิดชอบในกรณที ีส่ ตรวี ยั รุ่นมีการย้ายครอบครัว การช่วยเหลือสตรีวัยรุ่นอาจรวมถึงการให้คําปรึกษา พูดคุย

68 สอบถามการตัดสินใจของสตรีวัยรุ่นในการเล้ียงดูบุตรกรณีที่ไม่สามารถอยู่ในครอบครัวได้ ซึ่งอาจเป็นการฝาก เลี้ยงบุตร การช่วยหาครอบครัวอุปถัมภ์ หรือหน่วยงานต้องประเมินความพร้อมรอบด้านอีกคร้ังเพื่อยืนยัน ความประสงค์เลย้ี งบตุ รหรอื ไม่ หากไม่ประสงค์เลี้ยงบุตร หน่วยงานจะประสานงานไปยังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพอ่ื ดําเนนิ การจัดหาสถานสงเคราะหใ์ นการดูแลบุตรไปกอ่ นจนกว่ามารดาหรือครอบครัวพร้อม “...นอกจากที่เราจะประเมินครอบครัวท่ีจะรับไปดูแลแล้ว ทีมของเราก็ต้องประเมินตัว แม่วัยใสเองด้วยค่ะว่าพร้อมที่จะกลับไปอยู่กับครอบครัวเค้าไหม บางรายไม่ยอมกลับไปอยู่กับพ่อแม่ค่ะ ยิ่งในรายท่ีถูกกระทามาจากคนในครอบครัว เราก็ต้องไปประเมินญาติใกล้ชิด เช่นปู่ ย่า ตา ยาย แต่บางรายก็ ไมก่ ลับไปอยูก่ ับใครเลยค่ะและกย็ งั ไม่พร้อมจะเล้ียงลกู เราก็อาจตอ้ งส่งสถานสงเคราะห์ต่อ” (เจ้าหน้าท่ี) 3.3) การฟ้นื ฟูจิตใจ สุขภาพและสุขภาพจิตระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอด การเป็นมารดาวัยรุ่น พบว่า ระยะก่อน คลอด หรือระยะการต้ังครรภ์ หลากรายที่ไม่ได้รับการดูแลครรภ์ เน่ืองจากปกปิดการต้ังครรภ์ รวมถึงภาวะ ความเครียดในการถกู ทิ้งเผชญิ ปญั หาโดยฝาุ ยชายซ่ึงเป็นพ่อของเด็กไม่มีส่วนร่วมรับผิดชอบ รวมถึงการปฏิเสธ จากสถานศึกษาในการให้เรียนต่อ และการให้ลาออกกลางคัน รวมถึงการท่ีแม่เล้ียงเด่ียววัยรุ่นกล่าวโทษ ตนเองภายใต้ฐานคิดค่านิยมของสังคมที่ว่า “ผู้หญิงท่ีดี” หรือ “แม่ท่ีดี” ความคับข้องใจดังกล่าว ภาวะ ความเครียดทางจิตใจและความเป็นไปในระยะยาวในบางราย ซ่ึงสะท้อนการขาดบริการการให้การปรึกษา รายบุคคล การฟื้นฟจู ติ ใจเป็นกิจกรรมในการดูแลสุขภาพทางจิตใจท่ีหน่วยงานให้ความช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์ วัยร่นุ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเยียวยาสภาพจิตใจของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นให้มีสุขภาพจิตที่เข้มแข็ง ปรับทัศนคติ และยอมรับกับเหตุการณ์ต่างๆท่ีเกิดขึ้น หน่วยงานที่ช่วยเหลือจะมีการพูดคุยกับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น โดยเร่ิม จากการสร้างความไว้วางใจ พูดคุยแบบรับฟังปัญหา สอบถามหรือประเมินเกี่ยวกับสภาพจิตใจในขณะน้ัน พรอ้ มทง้ั สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของสตรวี ัยรนุ่ ในขณะท่พี ดู คุย เพอ่ื ให้สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นเกิดความรู้สึก ผ่อนคลาย และให้กําลังใจในการเผชิญปัญหาต่าง ๆ เป็นการพูดคุยแบบต่อเน่ืองโดยเจ้าหน้าที่มีหน้าท่ี รับผดิ ชอบ หรอื การแลกเปล่ียนประสบการณ์ในกลุ่มของสตรีวัยรุ่น หรือในบางครั้งมีการส่งสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น ในการสง่ ให้คําปรกึ ษาจากผู้เชี่ยวชาญในการดูแลปัญหาทางสุขภาพจิตในกรณีที่บางรายมีปัญหาที่ซับซ้อนทาง จติ ใจ “...ตอนหนูทอ้ ง หนูเครียดมากค่ะพี่ มันหลายเร่ือง ไหนจะเร่ืองแฟน เรื่องท้อง เร่ืองแม่หนู เรื่อง บ้านแฟนที่หนูทะเลาะกับน้องสาวแฟน ตอนหนูไปฝากท้อง หมอท่ีตรวจท้องเค้าน่ารักมากเลยค่ะ พูดกับหนูด๊ีดีค่ะ แล้วเค้าคงเห็นหนเู ครยี ด เคา้ สง่ ให้หนไู ปหาหมอจิตค่ะ (หัวเราะ) เคา้ คงคดิ วา่ หนจู ะฆา่ ตวั ตายมั้ง (ย้ิมๆ ตามองต่า)...” (มารดาวยั รุ่นอายุ 18 ปีในจงั หวัดตราด) “...ด้านจิตใจเร่ืองนี้ดูยากค่ะ ถ้ามาแรก ๆ เลยก็จะมีการพูดคุยกันเป็นระยะ เพ่ือสร้าง ความคุ้นเคย และสรา้ งกาลงั ใจให้กับเคส เชน่ เคา้ รสู้ กึ ยงั ไงบ้างช่วงนี้ นอนหลบั ไหม คือคุยแบบเพื่อนถามไถ่สาร ทุกข์สุขดิบกันค่ะ แล้วเราก็ได้ประเมินน้องเค้าด้วยค่ะว่ามีความเครียดหรือเสี่ยงซึมเศร้าไหม...” (เจ้าหน้าที่ ระดับปฏบิ ตั กิ าร จังหวัดจนั ทบรุ ี)

69 3.4) การปรบั ทศั นคตขิ องบคุ ลากรทางการศกึ ษาตอ่ การตงั้ ครรภว์ ยั รุน่ การถูกลิดรอนสิทธิทางการศึกษาและการกีดกันทางสังคม เช่น การหลุดจากระบบการศึกษา สง่ ผลตอ่ สภาพความเป็นอยู่ท่ีมีภาวะพึ่งพิง ความต้องการในบริการสวัสดิการทางการศึกษา ในช่วงของการตั้งครรภ์ คือความยืดหยุ่นในระเบียบของ สถานศึกษา เช่น เครื่องแต่งกาย การได้รับการปรึกษาแนะนํา และทางเลือก ในการศึกษา ย้ายรอบเรียนหรือการย้ายสถานศึกษา หรือบริการการศึกษานอกระบบ สตรีวัยรุ่นบางคนต้อง เลือกระหว่างการเรียนของตนเองหรือการเรียนของลูก แต่ประเด็นที่สําคัญที่ขาดไม่ได้คือการปรับเปลี่ยน ทัศนคติหรือมุมมองของครูต่อการตั้งครรภ์ของสตรีวัยรุ่น เพ่ือไม่ให้เกิดการปฏิเสธจากสถานศึกษาในการให้ เรียนต่อ และการให้ลาออกกลางคัน โดยอาจจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในสหวิชาชีพ หรือการปรับ รูปแบบการสอนให้ทนั สมัยเหมาะสมกบั ปัจจบุ ันเข้าถึงวัยรนุ่ ได้อย่างเหมาะสม “...เอาจริงนะพ่ี หนูโดนครูท่ีโรงเรียนว่าว่าหนูจะเรียนจบหรือป่าวต้ังแต่เข้าโรงเรียนแล้วค่ะ เพราะครูเค้ารู้ว่าหนูมีแฟนค่ะ หนูก็ไม่เข้าใจว่าทาไมต้องพูดแบบนั้น เป็นตั้งครูนะคะ หนูก็เลยคิดว่างั้นหนูก็ ออกเลยดีกว่า พอออกมาแฟนอยากมีลูก หนูก็เลยคิดว่ามีก็มี เอาจริงนะพ่ีถ้าหนูยังเรียนอยู่หนูก็ไม่ท้องหรอก (หนั หนา้ มองไปอกี ทาง)...” มารดาวัยรนุ่ อายุ 17 ปี จังหวัดตราด 3.5) การปอ้ งกนั การตัง้ ครรภซ์ ้า ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคุมกําเนิดในกลุ่มมารดาวัยรุ่นในช่วงหลังคลอด เนื่องจากพบว่า จากกลุ่มตัวอย่างการตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มีการต้ังครรภ์โดยไม่ได้ถูกบังคับให้มีเพศสัมพันธ์ ก่อนการต้ังครรภ์ คุมกําเนิดไม่สมํ่าเสมอ ทําให้เกิดการต้ังครรภ์แบบไม่พร้อม ดังน้ันจึงควรมีการให้คําปรึกษา แนะนําการให้ความรู้ เกี่ยวกับการคุมกําเนิดที่ถูกต้อง การเลือกใช้วิธีการคุมกําเนิดที่เหมาะสมในช่วงหลังคลอดเพื่อการวางแผน ครอบครัวในสตรีวัยรุ่นอย่างจริงจังเพื่อไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ซ้ําก่อนอายุครบ 20 ปี มีความพร้อมทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคมเพื่อให้การดูแลทารกในครรภ์อย่างมีคุณภาพ ช่วงเวลาในการให้ความรู้เกี่ยวกับการ คุมกําเนิด ต้องพิจารณาสภาพความพร้อมของสตรีวัยรุ่นด้วย รวมถึงเทคนิควิธีการเสริมสร้างทัศนคติ ความรู้ ความเขา้ ใจ มากกว่าการให้ขอ้ มูลความรู้ทเี่ ปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกับที่โรงเรียนให้ ซ่ึงอาจทําให้สตรีวัยรุ่นรู้สึกว่า เหมือนเดิม นอกจากน้ีเร่ืองการคุมกําเนิดยังเป็นข้อข้องใจ หรือข้อกังวลจากผลกระทบต่างๆ ที่อาจตามมาซึ่ง สตรวี ยั ร่นุ กังวล เชน่ การเกดิ ฝาู น้ําหนักตัวเพมิ่ เรว็ อว้ นงา่ ย เป็นต้น ดังน้ัน การให้การศึกษาในเรื่อง การคุมกําเนิด ในเชิงการปรับทัศนคติ ก่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง อาจต้องมีเทคนิควิธีการให้ความรู้ที่เหมาะสมกับ กล่มุ สตรวี ัยรุ่น โดยควรพจิ ารณาช่วงจงั หวะท่ีสตรีวยั รุ่นมีความพรอ้ มดว้ ย “...ตอนน้ีเอาจริงๆสถานการณ์แม่วัยใสของจังหวัดเราน้อยลงครับ แต่ผมไม่แน่ใจว่าลดลงเพราะ ปจั จัยอะไรเพราะมนั เพ่ิงลดลงปีแรก แต่ข้อมูลแม่วัยใสท่ีตั้งครรภ์ซ้ามีจานวนสูงข้ึนครับ ซึ่งอันนี้ผมว่าเป็นเรื่อง ท่ีต้องเป็นนโยบายของจังหวัดกันเลยทีเดียวครับ เพราะแปลว่ากลุ่มน้ียังต้องการการดูแลให้ตรงจุดครับ ” (เจ้าหน้าที่ระดบั หัวหน้า จังหวดั จนั ทบุรี) 3.6) ศนู ยบ์ รกิ ารแบบ ONE STOP SERVICE รูปแบบการบริการท่ีสตรีวัยรุ่นไม่อยากเข้าไปใช้บริการมีหลายรูปแบบ เช่น การต้องเข้าไปนั่ง รอนาน กลัวการตอบคําถามเดิมซํ้าๆจากเจ้าหน้าที่ต่างหน่วยงาน กลัวการถูกมองจากผู้คนอื่นว่าเป็นคนไม่ดี

70 หรือกลัวว่าข้อมูลของตนเองจะไม่เป็นความลับ การให้บริการแบบ ONE STOP SERVICE จึงเป็นแนวทางการ ดูแลสตรีวัยรุ่นที่ตอบสนองต่อความต้องการ หรือปัญหาของสตรีวัยรุ่นทางด้านอนามัยเจริญพันธุ์ท่ีมีความ อ่อนไหวทางสังคม แนวทางการดูแลจึงมีความจําเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องมีระบบท่ีเอื้อให้สตรีวัยรุ่นเหล่าน้ันเข้าถึง บริการและได้รับบริการและการดูแลด้วยความรวดเร็ว และภาพพจน์ของสตรีวัยรุ่นไม่เกิดความเสียหาย การ จัดตั้งศูนย์บริการแบบ ONE STOP SERVICE ต้องเป็นการรวมตัวกันของหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีในการดูแลสตรี ตั้งครรภ์วัยรนุ่ ในการทํางานให้บริการการชว่ ยเหลือ หรอื เชือ่ มโยงข้อมูลตา่ ง ๆ ในลักษณะรวมศูนย์ “...ตอนนี้เราทางานกันแบบหน่วยงานของใครก็ของคนน้ัน ไม่สามารถจะเอาข้อมูลกันมาใช้ได้ ง่าย ๆ ค่ะ อย่างหนูอยากได้จานวนแม่วัยใสในจังหวัด ซ่ึงหน่วยงาน...ก็น่าจะมีท่ีเป็นปัจจุบันใช่ไหมคะ แต่เอา จรงิ หนูกต็ ้องทาเรอ่ื งไปขอข้อมูล แล้วพอได้ข้อมูลมากล็ ้าสมยั ค่ะมันไม่เป็นแบบอัพเดทค่ะ มันย้อนไปตั้งหลายปี แล้วอีกอย่างการที่แม่วัยใสเค้าก็เป็นกลุ่มเปราะบางอยู่แล้วใช่ไหมคะ เค้าคงไม่อยากจะเดินเข้าออกหน่วยงาน หลาย ๆ ทีใ่ ห้มแี ต่คนมอง...” (เจา้ หน้าท่รี ะดบั ปฏบิ ตั ิการ) “...หนไู มเ่ ข้าใจว่าทาไมหนตู ้องตอบคาถามคนหลายคนจังคะ บางทีหนูก็ไม่อยากตอบไม่อยากพูด ซ้า ๆ ค่ะ ก็มาถามคาถามเดียวกัน ทาไม่ไม่คุยกันเองคะ ไม่ถามอะไรหนูซ้าๆ พ่ีเข้าใจหนูไหมคะ อีกอย่างเร่ือง ไปหาหน่วยงานเพื่อขอความช่วยเหลอื หนกู ็ไม่อยากไปคะ่ ทาไมเคา้ ไม่มาหาหนเู องหละ่ ..” (มารดาวยั รุ่น)) 3.7) เสริมสร้างสมรรถนะของผูน้ าในชุมชน การต้ังครรภ์ทําให้มารดาเกิดความรู้สึกท่ีหลากหลาย ทั้งความเครียด ผิดหวัง และเสียใจ ในการ ดแู ลชว่ ยเหลือสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นจะต้องทําให้ท้ังครอบครัวและสตรีวัยรุ่นเกิดความม่ันใจ ดังนั้นเจ้าหน้าท่ีหรือ ผู้นําในชุมชนจึงมีส่วนช่วยในการส่งเสริมท้ังในด้าน 1) การดูแลสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น 2) การติดตาม เย่ียมบ้านเพือ่ ใหค้ ําแนะนาํ หรอื ความช่วยเหลือตามบริบทของสตรีต้ังครรภ์ การทํางานร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่าย หรือการไดร้ ับความชว่ ยเหลือจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องเป็นหัวใจหลักในการช่วยเหลือสตรีวัยรุ่น การฝึกอาชีพ การเยียวยาจิตใจ เสริมสร้างความรู้ซึ่งหากหน่วยงานที่เก่ียวข้องมีการทํางานอย่างเข้มแข็ง จะทําให้เกิด การพัฒนาบริการสวัสดิการสตรีวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันแม้ว่าเป็นยุคโลกาภิวัตน์ท่ีมีการเจริญเติบโต ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่ยังคงมีสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นจํานวนไม่น้อยที่ยังเข้าไม่ถึงบริการสวัสดิการสังคมที่ หนว่ ยงานท้ังภาครฐั และเอกชนจดั สรร เนอื่ งจากขาดการประชาสมั พันธอ์ ยา่ งต่อเนื่องทําให้มีเพียงสตรีตั้งครรภ์ วัยรุน่ จําหนง่ึ เทา่ นัน้ ทเ่ี ขา้ ถึงโอกาสได้รับสวัสดกิ ารสงั คม ดงั นน้ั การพฒั นาการประชาสัมพันธ์ผ่านตัวแทนชุมชน อาสาสมัครเพื่อให้สตรีต้งั ครรภว์ ยั รุ่นเขา้ ถงึ โอกาสและไดร้ ับสวสั ดิการสงั คมจึงมคี วามสําคัญอยา่ งยง่ิ “...เพราะ บางครอบครัวที่อยู่ในชุมชนถ้าบ้านหนึ่งเกิดมีลูกสาวท้องขึ้นมาไม่มีมีพ่อ หรืออะไรก็ แล้วแตเ่ น้ยี คนทีเ่ ข้าถึงพวกเราถือว่าเขามีโอกาสดีมาก ๆ ท่ีเข้าถึงพวกเรา พวกเราก็ได้ช่วยเขา แต่ก็คิดว่ามีอีก เยอะท่เี ขา้ ไม่ถึงตรงนี้ แลว้ เขาก็ลาบากยากแค้นกันเอง ภายในครอบครัวในชุมชน มันต้องทาประชาสัมพันธ์ใน ชุมชนผ่านผู้นาชุมชน อย่างพวกผู้ใหญ่บ้าน หรือ อสม. พวกนี้ ควรรู้ว่าเม่ือมีแม่วัยใสแล้วต้องช่วยเหลือยังไง หรือสง่ ตอ่ ไปทีไ่ หน...” (เจ้าหน้าท่ีระดับปฏิบัติการ จังหวัดชลบุรี)

บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยครั้งน้ีเป็นงานวิจัยท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ (Mixed methods research) เพื่อศึกษาปัญหา และความต้องการการจัดสวัสดิการและพัฒนาแนวทางหรือรูปแบบการให้บริการที่เหมาะสมสาหรับ กลุม่ เป้าหมายตง้ั ครรภว์ ัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีท่ีตั้งครรภ์ขณะมีอายุต่ากว่า 20 ปี จานวน 99 ราย สมาชิก ในครอบครัวของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นจานวน 74 ราย และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานที่ทางานเก่ียวข้องกับสตรีตั้งครรภ์ วยั รนุ่ หรอื มารดาวัยร่นุ จานวน 210 ราย ในพืน้ ท่ี 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด เก็บรวบรวมโดย เชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวิธีการสนทนากลุ่ม (Focus group) และ การสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นรายบุคคล (in-depth interview) และนามาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ Descriptive statistics และ Content analysis ซึง่ สามารถสรปุ ได้ ดงั น้ี 5.1 สถานการณ์การจัดสวสั ดกิ ารสาหรบั สตรตี ั้งครรภ์วัยรุน่ หรือมารดาวยั รุน่ จากการศึกษาสถานการณ์ในการจัดสวัสดิการการดูแลสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นตามความคิดเห็น และประสบการณ์ของมารดาวัยร่นุ ครอบครวั ของมารดาวยั รุ่น และเจา้ หนา้ ที่ สามารถสรปุ ผลการศึกษาได้ ดงั น้ี 5.1.1) สถานการณใ์ นการจดั สวสั ดกิ ารการดูแลสตรีตั้งครรภ์วยั รนุ่ หรือมารดาวยั ร่นุ จากการศึกษาพบว่าสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่จะได้รับความช่วยเหลือหรือดูแล ในระหว่างตั้งครรภ์จากบิดา มารดา ญาติของสามี รองลงมาได้แก่ บุคลากรทางด้านสุขภาพที่สังกัด สถานบริการสุขภาพของรัฐ เจ้าหน้าท่ีของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และบุคลากร ทางด้านสขุ ภาพท่ีโรงพยาบาลหรอื คลินิกเอกชน ตามลาดบั โดยมีการเข้าร่วมกิจกรรมจากหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่งสามารถ แบง่ การดูแลชว่ ยเหลอื ท้ังจากบคุ คลและหน่วยงานออกไดเ้ ปน็ 3 ดา้ น ดังน้ี (1) ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ได้รับความช่วยเหลือดูแลระหว่างต้ังครรภ์จากสถานพยาบาล ทง้ั ภาครฐั และเอกชนไดแ้ ก่ การเตรียมความพรอ้ มเล้ยี งบุตร การฝากครรภ์และให้ความรู้การดูแลครรภ์ การดูแลตนเอง ระหว่างการตัง้ ครรภ์ การเตรียมตวั คลอด คาแนะนาเกีย่ วกับการผ่อนคลายความเครยี ด วธิ กี ารคมุ กาเนิด (2) ด้านการพัฒนาฝึกทักษะชีวิตการเป็นมารดา บิดา ได้แก่ การส่งเสริมบทบาทการเป็น มารดา บิดา การฝึกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ การดูแลทารก การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันและการรับฟัง ปัญหาและให้คาปรึกษาอย่างตอ่ เน่ือง (3) ดา้ นสิทธแิ ละสวัสดกิ ารตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การใหค้ าปรึกษาด้านกฎหมาย เช่นการแจ้งช่ือของสามี การรับรองบุตร การแจ้งเกิด การแจ้งสิทธิกรณีสตรีต้ังครรภ์ และ/หรือครอบครัวเป็นผู้เสียหาย การสนับสนุน การฝกึ อาชพี การได้รับทุนอุดหนนุ ศลิ ปะบาบัด และการสนับสนนุ การเรยี นตอ่

72 5.1.2) ความต้องการการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น สามารถแบ่งออกได้ เปน็ 5 ดา้ น ดังน้ี (1) ดา้ นการศกึ ษา จากการศึกษาพบว่าโดยส่วนใหญ่สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นจะมีช่วงชีวิตที่อยู่ใน ระบบการศึกษา โดยอาจอยู่ในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาจเป็นสายสามัญหรืออาชีวศึกษา หรือบางราย อาจอยู่นอกระบบการศึกษา การได้รับสิทธิในการได้รับบริการสวัสดิการ โดยคานึงถึงคุณค่าและศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ บุคคลท่ีอยู่รอบข้างที่มีความเกี่ยวข้องกับสตรีวัยรุ่นท้ังทางตรงและทางอ้อม บุคลากรใน สถานศึกษาอาจถูกสะท้อนการจัดการดูท่ีลดทอนคุณค่าและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ในขณะที่เด็กนักเรียนที่ เป็นแม่เล้ียงเดี่ยววัยรุ่นท่ีหลุดจากระบบ การศึกษาไม่ได้ไปตามฝัน เส้นทางชีวิตเปลี่ยนไป บางส่วนตีตราว่ากล่าว หรอื อาจมีทา่ ทที ่ีไมเ่ ปน็ มติ รในการส่ือสาร จดั บริการสวสั ดกิ ารการศึกษาส่วนหนึ่งทสี่ าคัญคือ การทาให้ผู้เรียนมี ความพร้อมในการศึกษาเพ่ือความเจริญงอกงามของชีวิต ดังนั้นลักษณะการปฏิบัติของบุคลากรที่เกี่ยวข้องจึง จาเป็นต้องมีความเคารพในคุณค่าและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ยอมรับความแตกต่างรายบุคคล โดยสตรี ตั้งครรภว์ ัยรนุ่ มคี วามต้องการการช่วยเหลือต้ังแต่ เริม่ ต้นการเปล่ียนแปลงของชว่ งชวี ิตคือในขณะต้ังครรภ์ ได้แก่ (1.1) การได้รับปรึกษาและคาแนะนาจากครู หรือบุคลากรที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะใน ด้านการให้คาปรึกษาต่อสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น และทางเลือกในการจัดการที่เหมาะสม ปลอดภัย และตรงต่อ ความตอ้ งการของสตรตี ้งั ครรภว์ ัยรุน่ (1.2) การได้รับสวัสดิการทางการศึกษาช่วงของการตั้งครรภ์ คือความยืดหยุ่นในระเบียบ ของสถานศกึ ษา เชน่ เครอื่ งแต่งกาย และการปอ้ งกนั การถกู ตีตราจากครู เพ่อื นหรอื บุคลากรในสถานศึกษา (1.3) การได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือในการศึกษาทั้งในและนอกระบบ เช่น การเปลี่ยน แผนการศึกษา การย้ายรอบเรยี น การหยุดหรือขาดเรียน และการกลบั เขา้ ศึกษาใหม่หลงั คลอด (2) ด้านการบรกิ ารจากหน่วยงานดา้ นสุขภาพ (2.1) คาแนะนาเกยี่ วกับสถานท่ีฝากครรภ์และการคลอด (2.2) การได้รับการดูแลและเข้ารับบริการเฉพาะกลุ่ม มีความเป็นส่วนตัว การได้รับการ ดูแลจากเจ้าหนา้ ที่อย่างเปน็ มติ รและเข้าใจ ไม่ตีตราหรอื ซา้ เติม (2.3) การใหค้ าปรกึ ษาและการผอ่ นคลายความเครยี ด (2.4) การฝึกทักษะชีวิตการเป็นมารดา บิดา เช่น การเปลี่ยนบทบาทจากเดิมไปเป็นมารดา บดิ า และการดแู ลทารกแรกเกดิ (3) ด้านสง่ เสริมอาชีพและการมงี านทา สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นส่วนหนึ่งมีความต้องการในการช่วยเหลือในด้านการ ส่งเสริมอาชีพเพ่ือทาให้เกิดการสร้างรายได้เพื่อนามาเล้ียงดูบุตร เช่น มีความต้องการในการทางานท่ีมีรายได้ ประจา การเข้าฝึกทักษะอาชีพ ต้องการอาชีพท่ีสามารถทางานได้ที่บ้านเน่ืองจากต้องการดูแลบุตรด้วยตนเอง ซ่ึงส่วนใหญ่การต้ังครรภ์จะส่งผลทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของชีวิตจากเดิมทาให้มีความต้องการมากขึ้น ต่อการท่มี ีรายได้เพ่อื ที่จะนามาใช้จ่ายในการเล้ียงดบู ุตร

73 (4) การเสรมิ สร้างสุขภาวะครอบครวั สตรวี ยั รุ่น ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาศกั ยภาพครอบครัวเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของนโยบายครอบครัวท่ี มีการดาเนนิ งานอย่างต่อเนอ่ื ง เพ่ือการสร้างครอบครัวท่ีเข้มแข็ง ในงานวิจัยน้ีพบว่าในการทางานระดับปฏิบัติ เชงิ นโยบายของหน่วยงานแต่ละแห่งท่ีอาจมีขอบเขตและเป้าหมายแตกต่าง มีข้อจากัดบางประการ ทาให้อาจ ส่งผลตอ่ การประสานเชือ่ มโยงในเชงิ กลไกการทางานร่วมในมิติเชิงเครือข่ายที่มุ่งสู่ครอบครัวที่เป็นการทางานที่ ยังชัดเจนไม่มากนัก และยังพบว่าครอบครัวฝ่ายหญิงท่ีเป็นแม่เลี้ยงเด่ียววัยรุ่นเป็นแกนหลักในการดูแล รบั ผิดชอบสถานการณ์ที่ครอบครัวเผชิญ แต่อาจเพราะรัฐกับอุดมการณ์ด้านครอบครัวในประเทศไทยอาจเป็น ส่วนท่ีทาให้ขาดการเสริมสร้างศักยภาพ ความสามารถทาบทบาทหน้าท่ีของครอบครัว การหนุนเสริม เป็นบริการต่างๆ เพื่อให้ครอบครัวดารงอยู่อย่างมีคุณภาพ มีความเข้มแข็งและปรับตัวได้ในบริบท การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างทางสังคม เร่ืองครอบครัวเล้ียงเด่ียววัยรุ่นจึงเป็นประเด็นสาธารณะ หาใช่เรื่อง สว่ นตัวซึง่ ในแตล่ ะครอบครวั ต้องรับผดิ ชอบแก้ไขหรอื จดั การกบั ปัญหากนั เองตามบริบทของแตล่ ะครอบครวั (5) ด้านสทิ ธแิ ละสวัสดิการต่างๆ (5.1) สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นมีความต้องการในเรื่องการให้คาปรึกษาด้าน กฎหมาย ได้แก่ สิทธิในการเลี้ยงดูบุตร การแจ้งชื่อของสามี การรับรองบุตร การแจ้งเกิด สิทธิประโยชน์ท่ี ควรได้รับและช่องทางในการให้ความช่วยเหลือในกรณีท่ีสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และครอบครัวเป็น ผู้เสียหายโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ มีความต้องการเกยี่ วกบั การจัดการบริการที่แยกเฉพาะสตรีวัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่น มีความสะดวก และรวดเร็ว (5.2) ความต้องการในการเข้าถึงศูนย์ให้คาปรึกษาและช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์หรือมารดา วยั รุ่นในการพดู คยุ กับครอบครัวหรอื ผ้ปู กครองเก่ียวกับการตั้งครรภ์ และประสานกับสถานศึกษาในการพิทักษ์ สทิ ธแิ ละจัดทางเลือกทต่ี รงต่อความต้องการสตรตี ง้ั ครรภห์ รือมารดาวยั รุ่น (5.3) ความตอ้ งการในการชว่ ยเหลอื สวสั ดกิ ารในการเลยี้ งดู จัดหาอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีจาเป็น สาหรบั ทารก และการช่วยเหลือในการเลย้ี งดทู ารกในกรณีท่ไี ม่สามารถเลี้ยงดทู ารกไดท้ ั้งแบบชั่วคราว และการ จดั หาครอบครวั อุปถัมภ์ (5.4) ความต้องการในการให้คาปรึกษาทางจิตใจ ได้แก่ ด้านการจัดการความเครียด การจัดการ กับตนเองเพ่ือให้สามารถเผชิญกับสถานการณ์ที่เกิดข้ึนได้อย่างเหมาะสม รวมท้ังมีระบบการส่งต่อ พบผเู้ ชี่ยวชาญทางด้านสขุ ภาพจติ ในรายที่มีปัญหาซับซ้อน และรุนแรงอันอาจส่งผลกระทบต่อทั้งสตรีตั้งครรภ์ หรอื มารดาวัยรุ่น และทารก 5.1.3) ลกั ษณะการบริการเชงิ รุกและสมั พนั ธภาพจากหนว่ ยงานท่ีรับผิดชอบ ลกั ษณะการบริการเชิงรกุ และสมั พันธภาพจากหน่วยงานทรี่ ับผิดชอบที่สตรีต้ังครรภ์หรือมารดา วัยรุ่นมคี วามตอ้ งการ ไดแ้ ก่ (1) มีช่องทางในการให้คาปรึกษาแก่สตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และครอบครัวที่สามารถ เข้าถึงได้ง่าย รวดเร็ว และมีความเป็นส่วนตัว เช่น การขอคาปรึกษาผ่านทางโทรศัพท์หรือแอพพลิเคช่ันอ่ืน ๆ และมีการบริการให้คาปรึกษาในรูปแบบต่าง ๆ ท้ังในและนอกเวลาราชการ และได้รับบริการจากเจ้าหน้าท่ีท่ี

74 แสดงความเป็นมิตร มีทัศนคติที่ดีต่อสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น มีความกระตือรือร้น และใส่ใจในการ ใหบ้ ริการ (2) มีระบบการส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องท่ีให้การดูแลสตรีตั้งครรภ์หรือมารดา วยั ร่นุ เพือ่ ให้การดูแลและจัดการบรกิ ารแบบเปน็ องคร์ วมครอบคลุมทง้ั ทางดา้ นรา่ งกาย และจติ ใจ (3) ส่งเสริมอาชีพ มีการจัดหางาน และจ้างงานท่ีมีความเหมาะสมกับบริบทความเป็นอยู่ของ สตรตี ั้งครรภห์ รือมารดาวยั รุน่ (4) จัดให้มีหน่วยบริการเคลื่อนที่เข้าไปให้การปรึกษาสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นในชุมชน จัดให้มีการเย่ียมบ้านสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นเพื่อติดตามภาวะสุขภาพ มีระบบติดตามการมาตรวจตาม นัด การให้คาแนะนา และความช่วยเหลือในขณะท่ีสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นพักอาศัยอยู่ท่ีบ้าน หรือใน สถานการณท์ ตี่ ้องการความช่วยเหลือแบบเรง่ ด่วน เช่น ในกรณีเจ็บครรภ์คลอด ได้รบั อุบตั เิ หตุฉกุ เฉิน เป็นตน้ (5) จัดให้มีการบริการเชิงรุกเกี่ยวกับการทากลุ่มช่วยเหลือ (group support) เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ หรอื มารดาวยั รนุ่ ไดม้ ีโอกาสแลกเปล่ยี นประสบการณแ์ ละดูแลซ่ึงกันและกัน (6) จัดทาศูนย์ช่วยเหลือแบบเบ็ดเสร็จ (one stop service) และการจัดหน่วยงานสาหรับการ รับฝากและดูแลบุตรแบบระยะส้ัน (เช้าไป-เย็นกลับ) ต้องการให้มีหน่วยงานสาหรับการฝากเล้ียงดูบุตรแบบ ระยะยาว และการจัดหาผู้อุปการะบตุ รหรอื ครอบครวั อุปถัมภ์ 5.1.4) ปญั หาการเข้าถึงการจดั สวัสดกิ ารของสตรีตงั้ ครรภ์หรือมารดาวัยรนุ่ ปัญหาในการเข้าถึงการจัดสวัสดิการของสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ตามความคิดเห็นและ/หรือ ประสบการณ์ของเจ้าหนา้ ทีท่ างานเก่ียวข้องโดยตรงกบั สตรตี ั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น ดังน้ี (1) ความแตกต่างของลักษณะสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ได้แก่ สาเหตุที่ทาให้เกิดการ ตัง้ ครรภ์ ลกั ษณะการตง้ั ครรภ์ และลักษณะของบุคคลท่ีสัมพันธ์กับสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ซ่ึงเจ้าหน้าท่ี ทางานเก่ียวข้องโดยตรงกับสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นมีความคิดเห็นว่าเป็นปัจจัยหลักท่ีสาคัญอันเป็น สาเหตุหลักของการเข้าถึงการบริการการจัดสวัสดิการ และการเลือกตัดสินใจเพื่อขอเข้ารับบริการการจัด สวัสดิการของสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น เช่น ในกรณีท่ีเป็นการตั้งครรภ์ที่ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง หรอื ครอบครวั ของสตรตี ัง้ ครรภ์หรือมารดาวยั รุ่น ยกเว้นในกรณีท่ีเปน็ การต้ังครรภท์ ่เี กดิ จากการใช้ความรุนแรง การล่วงละเมิด หรือถกู ข่มขืน (2) การจัดบริการที่ไม่ครบวงจร ไม่มีการติดตามดูแลต่อเนื่อง ขาดความต่อเน่ืองในระบบของ การส่งต่อข้อมูลสตรตี ้งั ครรภห์ รือมารดาวัยรุ่นตลอดจนทศั นคติ และพฤติกรรมของผู้ให้บริการในเชิงตาหนิหรือ ตีตราสตรตี ง้ั ครรภห์ รอื มารดาวัยรุน่ 5.1.5) ปัญหาทีเ่ กดิ ข้นึ ระหวา่ งการต้ังครรภ์หรือหลังคลอดตามการรับรู้ของสตรีต้งั ครรภแ์ ละครอบครัว จากผลการศึกษาเก่ียวกับปัญหาท่ีเกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์หรือหลังคลอด พบว่า “มีอารมณ์ เศร้าหดหู่ระหว่างต้ังครรภ์” เป็นปัญหาท่ีพบมากท่ีสุดในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น โดยประมาณ 1 ใน 3 ของสตรีต้ังครรภ์ วยั รุ่นบอกวา่ ตนเองประสบปัญหาน้ี ซ่ึงจากการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นรายบุคคลในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นจานวน 19 ราย

75 ผู้ให้ข้อมูลสะท้อนถึงผลกระทบทางจิตใจที่แสดงถึง อารมณ์เศร้า และอารมณ์กลัว ที่เกิดข้ึนเม่ือทราบว่า ตงั้ ครรภ์และระหว่างการตั้งครรภ์ ดงั นี้ “ตอนแรกก็จิตตกค่ะ จะเลี้ยงยังไง อะไรแบบน้ี ตอนจะคลอดคือ กลัวค่ะ กลัวมากค่ะ” (มารดาวัยรุ่นจงั หวัดระยอง อายุ 19 ปี) “แบบกลัว อนาคตดับไปเลย หนูยังเรียนอยู่แล้วหนูเคยมีประสบการณ์ว่าเพื่อนท้องแล้ว โรงเรียนเคา้ ให้ออก หนเู ลยกลวั ” (มารดาวยั ร่นุ จงั หวัดตราด อายุ 18 ปี) “ตอนทอ้ งแรกๆกเ็ ครียดนะ แลว้ ก็เศรา้ อยากจะคิดฆ่าตัวตาย แต่ก็ไม่ทา คิดว่าทาไมชีวิตเป็น แบบนี้” (มารดาวัยรนุ่ จังหวัดจันทบุรี อายุ 20 ปี ต้งั ครรภเ์ มื่ออายุ 17 ปี) ผลการศึกษาน้ีสอดคล้องกับการศึกษาเชิงสารวจโดย ศรุตยา รองเลื่อนและคณะ (2555) ท่ีศึกษาในหญงิ ตง้ั ครรภอ์ ายุ 15-19 ปี จานวน 73 ราย ที่มารบั บริการฝากครรภ์ทีโ่ รงพยาบาลระดับตติยภูมิข้ัน สูงแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ซ่ึงพบว่า ร้อยละ 67.1 ของกลุ่มตัวอย่างบอกว่า “มีอารมณ์เศร้าหดหู่ระหว่างตั้งครรภ์” นอกจากน้ันกลุ่มตัวอย่างเกินครึ่ง (ร้อยละ 56.2) ยังบอกว่าตนเองรู้สึกผิดไม่มีค่า และผลการศึกษาคร้ังน้ียังเป็นไป ในทางเดียวกบั การศึกษาปญั หาการตง้ั ครรภไ์ มพ่ ร้อมในวัยรนุ่ ของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4, 8 และ 9 (2558) ที่พบว่าสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นมีปัญหาด้านจิตใจ โดยสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นสะท้อนให้เห็นถึง “ความกลัว” และ “ความอาย” ที่กระทบต่อสภาพจิตใจของพวกเขาเมื่อรู้ตัวว่าตั้งครรภ์ จากการศึกษาครั้งน้ี พบว่า ประมาณ 1 ใน 10 ของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นเคยคิดอยากฆ่าตัวตายหรือวางแผนฆ่าตัวตาย อาจอธิบายได้ว่า ประมาณ 1 ใน 5 ของวยั รนุ่ ในการศกึ ษาครง้ั น้ี ต้งั ครรภ์ในช่วงอายุ 13-15 ปี นอกจากน้ี มากกว่า 3 ใน 5 ต้ังครรภ์ในช่วงอายุ 16-18 ปี ซึ่งอยู่ในระยะของวัยรุ่นตอนต้นและตอนกลาง วัยรุ่นยังมีความต้องการ อารมณ์และความรู้สึกเหมือนวัยรุ่น ทั่วไป ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ มีความรู้สึกผิดหวัง และเศร้าจากการต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในช่วงระยะเวลานี้หากครอบครัวให้กาลังใจ ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนอย่างถูกต้องก็จะทาให้วัยรุ่น สามารถเผชิญสถานการณภ์ ายใตค้ วามขดั แย้งในบทบาท และความต้องการนี้ไปได้ อีกปัญหาหน่ึงซ่ึงพบมากเป็นอันดับแรกในสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นเช่นกัน (ร้อยละ 33.2) คือ “ไม่มี ความรู้ทางด้านกฎหมาย การเรียกร้องสิทธิต่างๆ หรือไม่ได้รับการช่วยเหลือในกระบวนการยุติธรรม” ซ่ึงสอดคล้อง กับการรับรู้ของครอบครัว (ร้อยละ 52.7) ที่เห็นว่าเป็นปัญหาของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นท่ีเกิดข้ึนระหว่างตั้งครรภ์ หรือหลังคลอด จากการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นรายบุคคลในสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น ยังสะท้อนให้เห็นว่าสตรีต้ังครรภ์ วัยรุ่นส่วนใหญย่ งั ไมท่ ราบถึงสิทธ์ติ า่ งๆ ทต่ี นเองและบุตรพึงได้รับ ได้แก่ สิทฺธ์ิในการศึกษาต่อ สิทธ์ิในการได้รับ การชว่ ยเหลือดา้ นสขุ ภาพหรอื สวัสดิการทางสงั คมต่าง ๆ เชน่ เงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด ดังตัวอย่าง ทผี่ ใู้ ห้ข้อมูลกล่าวไวด้ ังนี้ “คือโรงเรียนเค้าไม่ให้เรียนค่ะ ถ้าให้เรียนก็ดีนะแต่ สมมติว่าถ้าต้องแบบว่าไปเจอ บางคน แบบคณุ ครูที่เขาชอบติอะไรแบบเน้ีย เรากร็ ับไมไ่ ด้ หนูก็เลยตัดสินใจออกดีกว่าแล้วก็มาเรียนแบบนี้ดีกว่า ก็คือ กม็ ีครูเค้าแนะนา ครูทปี่ รกึ ษาหนูเค้าแนะนาแบบว่าจะขอ ผอ.ให้ แต่คือ หนูก็แบบไม่เอาดีกว่าเพราะว่า คุณครู คนอ่นื กอ็ าจจะไม่เข้าใจเรา” (ผใู้ หข้ ้อมูลมารดาวัยรุน่ จงั หวดั จันทบรุ ี อายุ 20 ปี ต้ังครรภ์ตอนอายุ 17 ปี)

76 “อสม. ในหมู่บ้าน ไม่ค่อยมาหา มีข่าวสารอะไรไม่เคยได้รับ เงินอุดหนุนบุตรนี่ ทราบข้อมูล จากพอ่ ซงึ่ พ่อไปไดย้ ินมาจาก อบต.” (ผใู้ หข้ อ้ มูลมารดาวัยรนุ่ จังหวัดระยอง อายุ 19 ปี) “หนไู ปทาตอนลกู อายุ 1 ปี (หมายถึงเงินอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด) เพ่ือนท่ีท้องมา คุยว่าได้เงินหรือเปล่า เลยรู้ว่ามีเงินนี้ แม่แฟนก็ไม่รู้ ไม่มีใครบอก” (ผู้ให้ข้อมูลมารดาวัยรุ่น จังหวัดตราด อายุ 21 ปี ตงั้ ครรภ์ตอนอายุ 18 ปี) นอกจากน้ี ผลการศึกษายังสนับสนุนประเด็นเร่ืองการเข้าไม่ถึงสิทธ์ิด้านการศึกษาตาม พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 โดยพบว่า เกือบ 1 ใน 3 ของ สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น (ร้อยละ 28.3) ต้องหลุดออกจากระบบการศึกษาโดยไม่เต็มใจ เสนอว่าหน่วยงานภาคการศึกษา ควรจะมีการกากบั ติดตามเพือ่ ให้โรงเรยี นมีมาตรการสนบั สนนุ การศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ืองของวัยรุ่นหญิงที่ตั้งครรภ์ เพ่อื ให้นกั เรียนที่สมัครใจเรียนต่อ ยังคงอยู่ในโรงเรียนต่อไป หรือหากต้องการหยุดพักการเรียนในช่วงต้ังครรภ์ หรือหลังคลอดก็สามารถกลับไปเรียนต่อได้เม่ือมีความพร้อม ซ่ึงจากการสัมภาษณ์เชิงลึกสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น สว่ นหนึง่ สะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ การหลดุ จากการศึกษาอันเน่ืองมาจากการถูกกีดกันหรือตีตราจากโรงเรียนไม่ว่าจาก ครูและเพื่อนนักเรียน ซึ่งในประเด็นน้ีการประเมินด้านจิตสังคม การให้คาปรึกษาและติดตามอย่างต่อเนื่อง อกี ท้ังสง่ เสริมใหค้ รอบครวั เข้าใจและยอมรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นจะเป็นเกราะป้องกันผลกระทบทางด้านจิตใจหรือ การหลดุ ออกจากระบบการศึกษาของสตรตี ้ังครรภ์วัยรนุ่ ได้ นอกจากนย้ี งั พบปัญหาการถูกกดี กันทางสังคม เช่นการไม่สามารถเข้าถึงงานอาชีพและรายได้ เปน็ ปัญหาที่เกิดข้ึนในระยะหลังคลอดบุตรท่ีสตรีต้งั ครรภ์วัยรุ่นกล่าวถึงบ่อยรองลงมาจากปัญหาด้านจิตใจและ เรือ่ งการเข้าถึงสิทธิ์ โดยเกือบ 1 ใน 3 (รอ้ ยละ 28.3) ของสตรตี งั้ ครรภ์วัยรนุ่ ไดก้ ล่าวถึงปญั หาเร่ืองนี้ ซึ่งเป็นผล มาจากการที่สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นมีโอกาสสูงที่จะหยุดการศึกษากลางคันหรือเรียนไม่จบส่งผลให้สตรีวัยรุ่น เหล่าน้ันมีระดับการศึกษาต่ากว่าที่ควรจะเป็น ทาให้เสียโอกาสในการทางานท่ีดี หรืออาจทาให้ตกงาน ซึ่ง สอดคล้องกับการศึกษาของกองทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติท่ีเสนอว่า เมื่อเปรียบเทียบสตรีที่คลอดบุตรคน แรกหลังอายุ 20 ปี สตรีตั้งครรภ์ขณะอายุ 15-19 ปี มีการว่างงานถึงร้อยละ 59 และร้อยละ 45 มีรายได้เฉล่ียอยู่ ในกลุ่มที่มีรายได้เฉลี่ยต่าที่สุดของประเทศ (UNICEF, 2001 อ้างใน กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง และคณะ, 2558) นอกจากน้ี ยังสอดคล้องกับผลการศึกษาเชิงคุณภาพโดย ชุดาณัฏฐ์ ขุนเพชร (2557) ที่ศึกษาการดาเนินชีวิตของสตรี ตงั้ ครรภ์วยั รนุ่ หลังคลอดบตุ รคนแรก ทพ่ี บว่าสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นให้ข้อมูลสะท้อนถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นต่อการดาเนินชีวิต โดยพบว่ามารดาวัยรุ่นมีข้อจากัดในการประกอบอาชีพ โดยต้องทางานที่ไม่ จาเป็นต้องใชว้ ฒุ ทิ างการศึกษาซึ่งทาให้โอกาสในการทางานอยู่ในวงแคบ มีรายได้ไม่สูงและมักขาดความมั่นคง ผลการศึกษาจึงเป็นข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานภาคการศึกษาและหน่วยงานภาคีเครือข่ายในการดูแล กลุ่มเป้าหมายต้ังครรภ์วัยรุ่นในการที่จะสนับสนุนให้สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นได้ทราบถึงทางเลือกในการศึกษาใน ระบบหรอื ศึกษาต่อในทักษะทีม่ ีความถนดั หรือสนใจเพ่ือให้สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นได้เพิ่มโอกาสในประกอบอาชีพท่ี มน่ั คงและมรี ายได้ทเ่ี พยี งพอแก่การดาเนนิ ชีวิตที่มีคุณภาพในอนาคต

77 5.1.6) ความต้องการการชว่ ยเหลือในระยะกอ่ นหรอื ขณะตง้ั ครรภ์และหลังคลอด ตามการรับรู้ของ สตรีตงั้ ครรภแ์ ละครอบครัว ผลการศึกษาเกี่ยวกับความต้องการการช่วยเหลือของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น ในระยะตั้งครรภ์ พบวา่ ทงั้ สตรีต้ังครรภ์วยั รุ่น (รอ้ ยละ 80.8) และครอบครวั (รอ้ ยละ 82.4) ต้องการการชว่ ยเหลือหรือคาแนะนา ในการประสานกบั โรงเรียน โดยสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นส่วนใหญ่ต้องการการช่วยเหลือในเร่ืองการแจ้งเก่ียวกับการ ต้ังครรภ์ให้ครูทราบ ซ่ึงสอดคล้องกับครอบครัวของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นท่ีต้องการความช่วยเหลือเกี่ยวกับการ พูดคุยกับสถานศึกษาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ อาจอธิบายได้ว่าท้ังสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและบิดามารดาของสตรี ตั้งครรภ์วัยรุ่นไม่ทราบถึงสิทธ์ิด้านการศึกษาของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไข ปัญหาการตั้งครรภใ์ นวยั รุน่ พ.ศ. 2559 ทก่ี ารสนับสนุนการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนื่องสาหรบั วยั ร่นุ หญิงที่ตั้งครรภ์ จึง เป็นผลให้ตัวสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและครอบครัวประสบความยุ่งยากลาบากใจและต้องการการช่วยเหลือในการ ประสานกับโรงเรียนเพื่อแจ้งเกี่ยวกับการต้ังครรภ์ หากทั้งวัยรุ่นและครอบครัวทราบถึงสิทธิ์ตามกฎหมายน้ี อาจส่งผลให้สามารถตัดสินใจในเร่ืองการตั้งครรภ์และการศึกษาต่อได้อย่างเป็นไปตามความต้องการอย่าง แทจ้ ริงของวยั รุ่นและครอบครวั อกี ทัง้ ไมเ่ สียโอกาสทางดา้ นการศกึ ษา สาหรับความต้องการการช่วยเหลือในระยะหลังคลอดพบว่าความต้องการของสตรีต้ังครรภ์ วัยรุ่นและครอบครัวในระยะหลังคลอด มีความแตกต่างกัน โดยสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นส่วนมาก (ร้อยละ 64.6) มี ความต้องการท่ีจะศึกษาต่อและประกอบอาชีพเสริมรายได้ ในขณะท่ีครอบครัวต้องการให้สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น อย่บู า้ นเพ่ือเลี้ยงดูบุตร ร้อยละ 70.3 ซ่ึงจากการศึกษาครั้งนี้พบว่าสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นส่วนใหญ่ (ร้อยละ 73.7) เป็นผู้เลี้ยงดูหลัก มีเพียง 1 ใน 5 ที่บิดา มารดา หรือ ญาติของตนเองเป็นผู้เลี้ยงดูหลัก ซึ่งคร่ึงหน่ึงของสตรี ตั้งครรภ์วัยรุ่นในการศึกษาคร้ังน้ีบอกว่าตนเองหยุดเรียนหรือลาออก อีกร้อยละ 10 พักการศึกษาชั่วคราว ซึ่ง ตอกย้าให้เห็นถึงผลกระทบของการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นท่ีส่งผลต่อโอกาสในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นซึ่ง หมายถงึ การรับประกนั ความม่นั คงในอาชีพและความเปน็ อยู่ที่ดีขึ้นในอนาคตของมารดาวัยรนุ่ และบตุ ร สาหรับความต้องการการช่วยเหลือด้านสุขภาพที่พบมากท่ีสุด พบว่าท้ังสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและ ครอบครัวต้องการการแนะนาเกี่ยวกับสถานท่ีฝากครรภ์และการคลอด ซ่ึงจากการสัมภาษณ์เชิงลึกมารดาวัยรุ่น 19 ราย คร่ึงหนึ่งให้ข้อมูลว่าไปฝากครรภ์ที่สถานบริการเนื่องจากอยู่ใกล้บ้านตนเองหรือบ้านสามี ส่วนน้อยบอกว่า ครอบครัวตนเองหรือครอบครัวสามีเป็นผู้แนะนาสถานบริการให้ และส่วนหนึ่งไม่ได้ฝากครรภ์เพราะไม่รู้ตัวว่า ต้ังครรภ์ นอกจากน้ียังพบว่าสถานบริการท่ีสตรีตั้งครรภ์ไปฝากครรภ์ส่วนใหญ่จะเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล ซ่ึงสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นส่วนหน่ึงถูกส่งต่อไปท่ีโรงพยาบาลอาเภอ หรือโรงพยาบาลจังหวัด เนื่องจากมี ภาวะแทรกซ้อนขณะต้ังครรภ์ ได้แก่ ภาวะรกเส่ือม (มารดาวัยรุ่นจังหวัดตราด อายุ 18 ปี) ภาวะครรภ์เป็นพิษ (มารดาวัยรุ่นจังหวัดชลบุรี อายุ 17 ปี) เป็นต้น นอกจากน้ีสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นเกินครึ่งไปฝากครรภ์ตามลาพัง ส่วน หนึ่งเน่ืองจากเปน็ แมเ่ ลีย้ งเด่ยี ว และส่วนหน่ึงมาจากสามีหรอื สมาชิกครอบครัวต้องไปทางาน ทั้งน้ีการต้ังครรภ์ ในวยั รุ่นส่วนใหญ่จะเป็นครรภ์เสี่ยงสูง (High risk pregnancy) ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพของแม่และเด็กท้ังทางด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และเศรษฐกิจ สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นจึงมีความจาเป็นท่ีต้องได้รับการดูแลเฉพาะ จากผู้ให้บริการท่ีมีความรู้ความเข้าใจในความต้องการของวัยรุ่น นอกจากนี้การต้ังครรภ์ในวัยรุ่นเป็นการ

78 ตง้ั ครรภท์ ี่ไมไ่ ด้วางแผน จึงต้องมีกระบวนการท่ีเฉพาะเพ่ือที่จะลดปัญหาและภาวะแทรกซ้อนที่ตามมาจากการ ต้ังครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด เช่น ภาวะโลหิตจาง ภาวะทุพโภชนาการในระหว่างการตั้งครรภ์ ภาวะครรภ์เป็นพิษ ซ่ึงส่งผลต่อทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ และ ทารกแรกเกิดน้าหนักน้อย หรือ ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดเปน็ ต้น ดงั นัน้ การให้คาแนะนาเรื่องสถานบริการในการฝากครรภ์และคลอดแก่สตรี ต้งั ครรภว์ ยั รนุ่ และครอบครัวเป็นส่ิงท่ีจาเป็นท่ีเจ้าหน้าท่ีที่มีส่วนในการดูแลควรจะแนะนาข้อมูลประสานส่งต่อ เพื่อให้สตรีต้งั ครรภ์วัยร่นุ ไดร้ ับบริการในสถานบริการทมี่ คี วามพร้อมในการดูแลกลุม่ เป้าหมายน้ี สาหรับความต้องการความช่วยเหลือด้านอ่ืน ทั้งสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น (ร้อยละ 85.9) และ ครอบครวั (รอ้ ยละ 81.3) ส่วนใหญ่ มีความเหน็ สอดคลอ้ งกันว่า “ต้องการให้มีศูนย์ให้คาปรึกษาและช่วยเหลือ แม่วัยรุ่นโดยเฉพาะ” ซึ่งจากการสนทนากลุ่มและสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานต่างที่เกี่ยวข้องใน การดแู ลสตรีตัง้ ครรภว์ ยั รุน่ ในพ้นื ที่ทที่ าการศกึ ษาคร้งั น้ี พบวา่ มีเพียงจงั หวัดตราด ทผี่ ูใ้ ห้ขอ้ มูลกล่าวว่ามีบริการ คลินกิ แมว่ ัยใส ซึง่ เปน็ บรกิ ารดา้ นสุขภาพภายใต้หนว่ ยงานสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ ในการศกึ ษาส่วนของเชิง คุณภาพการดูแลที่แม่วัยรุ่นเกือบทุกคนเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้แก่ การฝากครรภ์ การคลอดบุตร การตรวจหลังคลอด และการพาบตุ รไปรับวคั ซนี ผูใ้ หข้ อ้ มูลสว่ นใหญค่ ดิ ว่าตนเองได้รับข้อมูลในเรื่องการปฏิบัติ ตัวขณะต้ังครรภ์ การเตรียมตัวคลอด และการดูแลบุตรไม่แตกต่างจากแม่คนอื่น ซึ่งจากข้อจากัดด้านความรู้ และประสบการณ์ในการตั้งครรภ์ อีกท้ังภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นความจาเป็นที่ควร จะมกี ารจดั ต้ังบรกิ ารด้านสขุ ภาพสาหรับกลุ่มเป้าหมายน้ี เช่น คลินิกแม่วัยใส เพ่ือท่ีจะลดภาวะแทรกซ้อนจาก การตั้งครรภ์ทั้งระยะกอ่ นคลอด ขณะคลอด และหลังคลอด นอกเหนือจากบริการด้านสุขภาพควรมีหน่วยงาน หรือบรกิ ารท่ีให้การดูแลสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและครอบครัวอย่างครอบคลุมในการให้คาปรึกษาและดูแลด้านจิต สังคม ในลักษณะบริการที่เป็นมิตรและเน้นการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และหน่วยงาน/องค์กร/ภาคี เครือข่ายด้านสังคมที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น มีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย ลดการต้ังครรภ์ซ้า ลดอัตราการหยา่ รา้ ง และมีคุณภาพชีวิตโดยรวมดีข้ึน 5.2 แนวทางการช่วยเหลือด้านสวสั ดกิ ารสาหรับสตรีตง้ั ครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยร่นุ หลังคลอด จากการศึกษาพบว่าแนวทางการช่วยเหลือด้านสวัสดิการสาหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่น มีการดาเนินงานท่ีให้การช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอดแบ่งออกได้เป็น 2 ระดับ ไดแ้ ก่ การดาเนินงานในระดบั บุคคล และระดับนโยบาย ซึ่งมีระบบ และกลไกในการดาเนินงานท่ีมีการกาหนด ไว้อย่างชัดเจน และเพื่อส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอดได้รับการดูแลช่วยเหลือด้าน สวัสดิการครอบคลุมท่ัวถึงและตอบสนองต่อความต้องการของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด จึงควรมีการเสริมสร้างระบบและการดาเนินงานให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และการ เปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นเพื่อให้มีความทันสมัยและเพ่ิมช่องทางในการเข้าถึงการขอรับการช่วยเหลือด้าน สวสั ดิการสาหรับสตรตี ัง้ ครรภว์ ัยรนุ่ หรือมารดาวัยร่นุ หลังคลอด ซ่ึงไดแ้ ก่ (1) การประชาสัมพันธ์และการให้ข้อมูลการคุ้มครองภาวะสุขภาพทางสังคม การเข้าถึงสิทธิ และ สวัสดิการท่ีให้การช่วยเหลือตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์จนถึงระยะหลังคลอด ได้แก่ การเข้าถึงสิทธิ และการขอรับ

79 สวัสดิการภาครัฐ ได้แก่ การขึ้นทะเบียนเพื่อขอรับสิทธิเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด กองทุน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การขอรับเงินช่วยเหลือในการเล้ียงดูบุตรในกรณีที่มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ ยากลาบาก การจดั หาครอบครัวอปุ ถัมภ์ การจัดหาครอบครัวบุญธรรม โดยให้การสนับสนุนช่วยเหลือทางด้าน สวสั ดกิ ารให้กับสตรตี ้งั ครรภว์ ัยรนุ่ หรอื มารดาวยั รนุ่ ต้องมกี ารส่งเสรมิ และประสานการใหค้ วามช่วยเหลือในทุก หน่วยงานท่ีมสี ่วนเกย่ี วข้อง ซงึ่ สอดคลอ้ งกับการศึกษาของกฤตยา อาชวนิจกุล และคณะ (2563) ท่ีพบว่าการ สนับสนุนใหเ้ ข้าถึงสวสั ดกิ ารรัฐ ต้องส่งเสริมและประสานงานให้แม่วัยรุ่นเข้าถึงสวัสดิการของรัฐโดยเฉพาะเงิน อุดหนุนเพ่ือการเลยี้ งดูเด็กแรกเกิด ซึ่งเป็นสวัสดิการทช่ี ่วยเสริมความมั่นใจทางเศรษฐกจิ ใหแ้ กแ่ ม่วัยรุ่น แต่ด้วย เง่ือนไขและข้ันตอนการเข้าถึงท่ีซับซ้อนยุ่งยากทาให้ต้องมีคนคอยช่วยเหลือให้คาปรึกษา และช่วยกรอก รายละเอียดตา่ งๆ ในแบบฟอร์ม (2) การประสานความร่วมมอื กับภาคประชาชน และทอ้ งถน่ิ ในการจัดหาสวัสดิการให้กับสตรีตั้งครรภ์ วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอดท่ีต้องการความช่วยเหลือ เช่น สตรีตั้งครรภ์ยากจน ไม่มีอาชีพ ไม่มีรายได้ สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นที่ลาออกจากสถานศึกษาหรือลาพักการศึกษา โดยการจัดหาให้เข้าเป็นสมาชิกของกลุ่ม อาชพี ในชมุ ชนเพื่อสร้างรายได้ เข้ารว่ มเป็นสมาชกิ กล่มุ กองทุนทมี่ สี วัสดิการในการให้กู้ยืมเงิน ส่งเสริมการออม เช่น กองทุนหมู่บ้าน กลุ่มสวัสดิการชุมชนที่มีการจัดสวัสดิการที่ให้การช่วยเหลือสตรีต้ังครรภ์และครอบครัว กรณีเกิด เจ็บป่วย เสียชีวิต กู้ยืมเพื่อประกอบอาชีพ ตลอดจนการเข้าถึงความมั่นคงทางอาหารแ ละอาหาร ปลอดภัย เชน่ การเขา้ รว่ มเป็นสมาชกิ กลุ่มอาชีพท่มี ีการเพาะพันธุ์สัตวน์ ้าเพื่อจาหน่ายให้กับสมาชิกในชุมชนใน ราคาทถ่ี ูก (3) การส่งเสริมอาชพี จากสถานการณ์ชีวิตท่ีสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นประสบโดยส่วนใหญ่ พบว่ามีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจจากการท่ีไม่มีรายได้เป็นของตัวเอง ต้องพึ่งพิงสามี หรือสมาชิกในครอบครัว ทาให้ไม่มีอิสระในการจัดการชีวิตของตนเองจึงควรมีการช่วยเหลือให้การสนับสนุนอาชีพให้กับสตรี ต้ังครรภ์ วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นให้เหมาะสมกับบริบทชีวิตความเป็นอยู่ ตรงตามความต้องการ และควรมีการส่งเสริม บทบาทของสามีหรือคู่สมรสร่วมด้วยในกรณีที่อยู่อาศัยร่วมกันโดยเฉพาะอย่างย่ิงกรณีที่เป็นวัยรุ่นทั้งคู่ เนือ่ งจากเป็นบทบาทหนา้ ทข่ี องความเป็นครอบครวั และเปน็ เร่อื งท่ีควรจะต้องรับผิดชอบร่วมกัน สอดคล้องกับ การศึกษาของกฤตยา อาชวนิจกุล และคณะ (2563) ที่พบว่าแม่วัยรุ่นอายุน้อยไม่สามารถทางานประจาได้ การศึกษาน้อย เป็นได้เพียงแรงงานไร้ฝีมือที่รับจ้างรายวันหรือได้ค่าจ้างไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย การส่งเสริม และพฒั นาศกั ยภาพแมว่ ัยรุ่น ต้องมกี ารพัฒนาศกั ยภาพแม่วัยรุน่ ให้สามารถตั้งตัว มีรายได้ โดยส่งเสริมบทบาท ของผูช้ ายรว่ มด้วย เพอ่ื ใหเ้ กิดการปรับพฤตกิ รรมรับผดิ ชอบครอบครัวรว่ มกัน (4) มีการจัดทาฐานข้อมูลของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นและข้อมูลทารกแรกเกิดอย่างเป็น ระบบระหวา่ งหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องทม่ี ีการดาเนนิ งานโดยตรงกบั สตรีต้ังครรภ์วยั รุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด เช่น ข้อมูลสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นในพ้ืนท่ี ข้อมูลการขึ้นทะเบียนเงินอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็ก แรกเกิดโดยมกี ารบนั ทกึ ขอ้ มูลให้เป็นปจั จุบนั มรี ะบบการเชื่อมโยง ส่งต่อ และมีการนาข้อมูลไปใช้เพื่อให้มีการ จดั บรกิ ารดูแลอยา่ งครอบคลุมและมีคุณภาพ

80 5.3ขอ้ เสนอแนะ เนือ่ งจากสตรีตงั้ ครรภ์วัยรุน่ และครอบครัวกบั การจดั บริการสวัสดิการต่างๆเป็นเร่อื งทม่ี ีความเก่ียวข้อง กันในทุกภาคส่วน อย่างไรก็ดีในภารกิจของทั้งภาครัฐและเอกชนในการดูแลและคุ้มครองสิทธิในการท่ีเข้าถึง และไดร้ บั สวสั ดกิ ารดา้ นต่างๆ ท้ังในด้านการศึกษา สุขภาพ และสวัสดิการอ่ืน ๆ มีความจาเป็นอย่างยิ่ง ดังน้ัน ในการศึกษาเร่ือง “แนวทางการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมสาหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและครอบครัว” จึงยังมี ขอ้ เสนอแนะด้านตา่ งๆระดบั ปฏบิ ัติ ระดับนโยบายต่อการพฒั นาสวสั ดกิ ารสาหรบั สตรีวัยรุ่นและครอบครัวและ ข้อเสนอแนะในการวิจัยคร้ังต่อไป ดังนี้ 1) การพัฒนาและจดั ระบบกลไกเพ่ือให้นโยบาย กฎหมายต่างๆทมี่ ีอยูม่ ีผลในทางปฏิบัติ ในปัจจุบันมนี โยบายต่าง ๆ ที่ประกาศออกมาแลว้ เช่นพระราชบญั ญตั ิอนามัยเจริญพันธ์ พระราชบัญญัติ คมุ้ ครองเด็ก พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ การจดั สวัสดิการสังคม หรือพระราชบัญญัติ การปอ้ งกันและแกไ้ ขการตั้งครรภ์ในวยั รนุ่ เปน็ ตน้ อยา่ งไรก็ดีในทางปฏิบัติความท้าทายในเชิงองค์ประกอบซ่ึง เป็นปัจจัยในการดาเนินงาน เช่น บุคลากรในสถานศึกษา บุคลากรในหน่วยงานท่ีทาหน้าที่เกี่ยวกับการดูแล สตรี ความเช่ียวชาญของการดาเนินงานในทีมสหวิชาชีพในเชิงระบบและทิศทางของนโยบายท่ีขาดการกากับ ดแู ลหรือการติดตามอยา่ งต่อเนือ่ ง ดงั น้นั ก่อนท่ีนโยบายต่าง ๆ จะมีการประกาศใช้จึงควรมีการเตรียมบุคลากร ที่เกี่ยวข้องทั้งในด้านองค์ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้เก่ียวข้อง การเข้าถึงสถานการณ์และปัญหาต่าง ๆ ของสตรีวัยรุ่น และยงั ต้องมกี ารกากบั ตดิ ตาม และพัฒนาเครือข่ายเพื่อเพิ่มเติมความรู้ เปิดทัศนคติ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน สร้างเสริมกัลยานมิตรกับครอบครัวสตรีวัยรุ่น และภาครัฐควรให้การสนับสนุน งบประมาณหรือทรัพยากรในการดาเนินการทั้งการกากับติดตามระหว่างการดาเนินงานและการประเมินผล ลัพธ์การดาเนินงานให้กับองค์กรเอกชน เพื่อให้การทางานเป็นไปตามความเชี่ยวชาญเฉพาะ และเป็นการ ประสานทางานในลักษณะเครือขา่ ย และสร้างระบบ กลไก ท่เี อื้อตอ่ การพฒั นาในระยะยาวต่อเน่ืองกนั ไป 2) ระบบการจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาชีวติ และเออ้ื ต่อบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่มีทิศทางในการดูแล สตรตี ้ังครรภว์ ัยร่นุ ทเ่ี ป็นไปในทิศทางเป้าหมายในการสรา้ งความชดั เจนและความเขา้ ใจท่ีตรงกนั ดงั น้ี 2.1) การเสริมสรา้ งสภาวะการทางานทเี่ ป็นมติ รกบั บคุ ลากรทางการศกึ ษาเพื่อให้การดูแลนักเรยี น 2.2) ระบบการผลิตครูท่คี วรมีการเพิ่มเติมวิชาท่ีเกย่ี วข้องกบั ชีวิตและสวัสดิการควบคูก่ ับวิชาการ 2.3) การใช้ระบบทางการศึกษาเป็นฐานในการดูแลจัดสวัสดิการที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะในด้านการ ดูแลสตรีตั้งครรภว์ ัยรุ่น หรือมารดาวยั รนุ่ หลงั คลอด 3) ระบบบริการทางด้านสุขภาพ การเข้าถึงบริการทางด้านสุขภาพ ของกลุ่มสตรีวัยรุ่นและมารดาวัยรุ่น ยังมีน้อย วัยรุ่นถูกมองว่าเป็นกลุ่มวัยท่ีมีปัญหา ทาให้กลุ่มวัยรุ่นไม่กล้าเข้าไปรับบริการเก่ียวกับการคุมกาเนิด หรือขอคาปรึกษาเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธ์ุ ประกอบกับสถานที่ในการให้บริการไม่เหมาะสมและไม่มีความเป็น ส่วนตัว สาหรับนโยบายเก่ียวกับการเข้าถึงบริการ ประเทศไทยได้มีนโยบายให้ทุกกลุ่มวัยได้มีโอกาสในการ เข้าถงึ บรกิ ารทางด้านสุขภาพเมื่อ ปี พ.ศ. 2545 โดยครอบคลุมถึงกลุ่มหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ภายใต้นโยบาย 30 บาท รักษาทุกโรค เพ่ือให้หญิงต้ังครรภ์วัยรุ่นได้มีโอกาสในการเข้าถึงบริการทางด้านสุขภาพด้วยราคาท่ีถูก ซ่ึงภายหลัง จากการใช้นโยบายนี้ทาให้หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นเข้าถึงบริการมากข้ึน (National Health Security Office of

81 Thailand, 2011) นอกจากน้ีผู้ให้บริการด้านสุขภาพควรมีทักษะและความเข้าใจในปัญหาของสตรีตั้งครรภ์ วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่น ซ่ึงเป็นกลุ่มวัยที่มีลักษณะเฉพาะ จากการศึกษาหนึ่งพบว่า ระบบบริการท่ีเน้นการ ให้บริการท่เี ป็นมิตรกับวัยรุ่นท่ีมีการดาเนินการอย่างต่อเน่ืองและย่ังยืน คิดเป็นร้อยละ 73.6 (Sridawruang et al., 2017) ระบบการบริการฝากครรภ์ในปัจจุบันยังมี ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงานหลายประการ เช่น ระบบการบริการท่ีมีความซับซ้อน การชี้แจงข้ันตอนของการบริการฝากครรภ์ไม่ชัดเจน ทาให้หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น เกิดความสับสนเก่ียวกับขั้นตอนการบริการ ลาดับขั้นตอนไม่มีการจัดระบบที่แน่นอน ขาดการประสานงาน ระบบ ส่งตอ่ กับโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพชมุ ชน ทาให้มผี ลต่อการตดั สินใจมาฝากครรภต์ ามเกณฑ์ของหญงิ ตัง้ ครรภว์ ยั รุ่น 4) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พระราชบญั ญตั ิการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาการต้งั ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มาตรา 10 ให้บทบาทกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีอานาจหน้าที่ดาเนินการให้วัยรุ่นในเขตราชการท้องถ่ิน ได้รับสิทธิตามมาตรา 5 คือ สิทธิที่จะตัดสินใจด้วยตนเอง สิทธิที่จะได้รับความรู้ด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ ได้รับสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสม และการรักษาความลับความเป็นส่วนตัวของวัยรุ่นเอง ซ่ึงหน่วยงานทุก ภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องสามารถบูรณาการ ประสานเช่ือมโยงการดาเนินงานระหว่างหน่วยงาน โดยเฉพาะองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน ซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีทางานใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นท่ี จะเป็นกลไกสาคัญในการ ขับเคลื่อนการดาเนินงานป้องกนั และแก้ไขปัญหาการต้งั ครรภใ์ นระดับพืน้ ท่ใี ห้มีความย่ังยืนต่อไป 5) จัดบริการสวัสดกิ ารดา้ นอื่นๆ ในเวลาเดยี วกัน บริการสวัสดิการด้านอื่น ๆ จากผลการศึกษาครั้งนี้พบว่าในการจัดสวัสดิการต่าง ๆ สาหรับสตรี ต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอดนั้น จาเป็นต้องจัดสวัสดิการต่างๆให้มีการดาเนินงานควบคู่กันไปใน ระดับตา่ งๆ ดังนี้ 5.1) นโยบายดา้ นต่างๆ ของกระทรวง/กรม ที่เกีย่ วข้องในเป้าหมายรว่ มกนั อยา่ งบรู ณาการ 5.2) ระดับปฏิบัติการของภาคส่วนที่เกี่ยวข้องควรร่วมดาเนินงานกันโดยคานึงถึงประโยชน์สูงสุดของ สตรีตั้งครรภ์วยั รุ่นและครอบครัว 5.3) การพัฒนางานสังคมสงเคราะห์ในพื้นท่ีที่มีการทางานกับกลุ่มสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นซ่ึงมักเป็นกลุ่ม เปราะบางทางสงั คม การทางานแบบไรร้ อยต่อกับกลุ่มสตรตี ั้งครรภ์วัยรุ่นทัง้ ในและนอกระบบการศกึ ษา 6) การศกึ ษาและวิจยั ในโอกาสต่อไป เชน่ 6.1) การศึกษารูปแบบการทางาน โดยใช้โรงเรียนหรือสถานศึกษาเป็นฐานในการพัฒนาอาชีพ และ รายได้ เพอ่ื พฒั นาความเขม้ แขง็ ของครอบครัวเลี้ยงเดยี่ ววยั รนุ่ 6.2) กระบวนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและชุมชนในการพัฒนาการศึกษา เพือ่ อาชีพเสริมสรา้ งความมั่นคงทางรายได้และคุณภาพชีวติ ครอบครัวสตรตี ้งั ครรภว์ ัยรนุ่ 6.3) การสารวจสถานการณ์และปัญหาความยากลาบากของครอบครัวสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นในสังคมไทย ท่เี ป็นชมุ ชนเมือง กึง่ เมืองก่ึงชนบท และชนบท 6.4) การทบทวนหลกั สตู ร การผลติ ครูหรอื บคุ ลากรทางการศกึ ษา เพื่อเสริมสร้างแนวคิดความเป็น พลเมืองทเ่ี ข้มแข็งแกผ่ ้เู รยี น และการคานงึ ถึงคุณค่าและศกั ดิ์ศรคี วามเป็นมนษุ ย์ 6.5) แนวโนม้ งานสังคมสงเคราะหก์ บั ปญั หาของสตรีต้งั ครรภ์วัยรุ่นทงั้ ในและนอกระบบการศกึ ษา เปน็ ต้น

82 บรรณานกุ รม 1. กติ ติพงศ์ แซเ่ จ็ง, บญุ ฤทธ์ิ สุขรตั น์, เอกชัย โควาวิสารัช, ประกายดาว พรหมประพฒั น์ และจันทกานต์ กาญจนเวทางค์. (2558). คมู่ ือแนวทางปฏิบัติการดแู ลแม่วัยรุ่น. กรุงเทพฯ: ศูนย์สอ่ื และสง่ิ พิมพ์ แกว้ เจ้าจอม. 2. กฎกระทรวงการกาหนดประเภทของสถานบรกิ ารและการดาเนนิ การของสถานบริการในการปอ้ งกันและ แกไ้ ขปัญหาการตงั้ ครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2562. (2562, 25 มกราคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เลม่ ที่ 136 ตอนท่ี 11 ก, หนา้ 4-11. 3. กฎกระทรวงการกาหนดประเภทของสถานประกอบกิจการและการดาเนนิ การของสถานบรกิ ารในการ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาการต้ังครรภ์ในวยั รนุ่ พ.ศ.2561. (2561, 16 พฤศจิกายน). ราชกิจจา นุเบกษา. เล่มที่ 135ตอนที่ 94 ก, หน้า 6. 4. กฎกระทรวงการจัดสวัสดกิ ารสงั คมที่เกีย่ วกบั การป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้งั ครรภใ์ นวยั รุ่น พ.ศ.2563. (2563, 29 มกราคม). ราชกจิ จานุเบกษา. เลม่ ท่ี 137 ตอนท่ี 8 ก, หนา้ 13-21. 5. กฤตยา อาชวนิจกลุ , จิตตมิ า ภาณเุ ตชะ และสุมาลี โตกทอง (2563). สวสั ดกิ ารและสทิ ธิเพื่อผหู้ ญงิ ท้องไม่ พรอ้ มกรณีทอ้ งตอ่ . กรงุ เทพฯ:บา้ นท้ายซอยดีไซน.์ 6. ชุดาณัฏฐ์ ขนุ เพชร. (2557). การดาเนินชีวิตของมารดาวยั รนุ่ หลงั คลอดบตุ รคนแรก. (วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญา มหาบณั ฑติ ). สงขลา:มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์. 7. จุฑามาส วรโชตกิ าจร. (2556). พัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละสงั คม ใน ทิพวรรณ หรรษคณุ าชัยและคณะ (บ.ก.), ตาราพฒั นาการและพฤตกิ รรมเด็ก เลม่ 3: การดแู ลเด็กสขุ ภาพดี. (น. 53-65).กรุงเทพฯ: บริษัท บียอนด์ เอน็ เตอไพรซ์ จากัด. 8. ฉันทกิ า จนั ทรเ์ ปีย. (2555). พฒั นาการ. ใน ศรีสมบรู ณ์ มุสกิ สคุ นธ์ และคณะ(บ.ก.), ตาราการพยาบาลเด็ก เลม่ 1 (น.9-36). กรุงเทพฯ: พรวี ัน. 9. . (2560). คู่มอื การดาเนนิ งานเงินอุดหนุนเพ่ือการเลย้ี งดเู ด็กแรกเกิด และเดก็ ปฐมวัย. คน้ เม่ือวันท่ี 20 มถิ นุ ายน 2564, จาก http://dcy.go.th/webnew/upload/download/manual_final.pdf 10. พมิ พาภรณ์ กลนั่ กลน่ิ . (2555). การสร้างเสรมิ สุขภาพเด็กวัยรุ่น.ใน พมิ พาภรณ์ กลั่นกลนิ่ , การสรา้ งเสริมสขุ ภาพเดก็ ทุกช่วงวัย. (น.155-206). ขอนแกน่ : หจก.โรงพมิ พ์คลังนานาวทิ ยา.

83 11. พงษ์ศักด์ิ น้อยพยัคฆ์. (2556). พฒั นาการด้านคุณธรรม ใน ทิพวรรณ หรรษคุณาชัยและคณะ(บ.ก.), ตาราพัฒนาการและพฤติกรรมเดก็ เลม่ 3: การดูแลเดก็ สขุ ภาพดี. (น. 66-75).กรุงเทพฯ: บรษิ ทั บียอนด์ เอ็นเตอไพรซ์ จากดั . 12. พระราชบัญญตั ิการป้องกนั และแก้ไขปญั หาการตงั้ ครรภใ์ นวยั รุน่ พ.ศ.2559. (2559,31 มีนาคม). ราช กจิ จานเุ บกษา. เล่มท่ี 133 ตอนที่ 30 ก, หน้า 1-11. 13. ศรุตยา รองเลื่อน, ภัทรวลยั ตลึงจติ ร และสมประสงค์ ศิรบิ รริ กั ษ์. (2555). การตั้งครรภไ์ ม่พงึ ประสงค์: การสารวจปญั หาและความต้องการการสนบั สนนุ ในการรักษาพยาบาล. วารสารพยาบาลศริ ริ าช 5(1), 15-28. 14. ระพีพรรณ คาหอม. (2549). สวสั ดกิ ารสังคมกบั สงั คมไทย (Social Welfare in Thai Society). (พมิ พ์คร้งั ที่ 2). กรุงเทพฯ : บริษทั พริกหวานกราฟฟิค จากัด. 15. สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 4, 8และ 9 (2558). วิจัยแนวทางรูปแบบการจดั สวัสดิการเพ่ือ การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตง้ั ครรภไ์ ม่พรอ้ มของวยั รนุ่ . (รายงานการวิจัย). สานกั งาน ปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์, กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความ มน่ั คงของมนุษย์. 16. Kyle, T. & Carman, S. (2017). Essentials of pediatric nursing (edition 3). Philadelphia: Wolters Kluwer. 17. Rodgers, C.C. (2017). Health promotion of the adolescent and family. In M.J. Hockenberry, Wilson, D., Rodgers, C.C. (Eds.), Wong’s essentials of pediatric nursing (10 th edition). (pp. 891-965). St.Loius: Elsevier. 18. Sawyer, S. M. et al.The age of adolescence.The Lancet Child & Adolescent Health, 2(3), 223 - 228.

84 ภาคผนวก

85 ฤ แบบสอบถาม สาหรับสตรีตัง้ ครรภ์วยั รุ่นหรือมารดาวัยร่นุ หลงั คลอด โครงการแนวทางการจดั สวัสดกิ ารที่เหมาะสมสาหรับกลุ่มเปา้ หมายตั้งครรภ์ในวยั รุ่น คาช้แี จง โครงการศึกษาวิจัย “โครงการแนวทางการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมสาหรับกลุ่มเป้าหมายต้ังครรภ์ใน วัยรุ่น” มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสถานการณ์การตั้งครรภ์วัยรุ่นในปัจจุบันและการจัดสวัสดิการสาหรับ กลุ่มเป้าหมายต้ังครรภ์ในวัยรุ่น เพ่ือศึกษาปัญหาและความต้องการการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับ กลุ่มเป้าหมายตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และเพื่อกาหนดแนวทางการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับกลุ่มเป้าหมาย ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด บุคคลในครอบครัว ขอ้ มูลก่อนการต้ังครรภ์ การดูแลระหว่างตั้งครรภ์และคลอด และการดาเนนิ ชวี ติ ด้วยเหตุทท่ี ่านเปน็ ผ้หู น่งึ ท่ีได้รับคัดเลอื กให้เป็นผแู้ ทนในการตอบแบบสอบถาม คณะผู้วิจัยจึงขอความ กรุณาจากท่าน โปรดตอบแบบสอบถามตามความจริง ข้อมูลท่ีได้จากท่านมีความสาคัญยิ่งต่อการศึกษา โดย การตอบแบบสอบถามน้ีจะไม่มีผลกระทบต่อท่านแต่อย่างใด คณะผู้วิจัยจะเก็บรักษาคาตอบไว้เป็นความลับ โดยจะเสนอเปน็ ภาพรวมเท่านนั้ และขอขอบคุณในความร่วมมอื อย่างสูงมา ณ โอกาสน้ี คณะผวู้ ิจัยสานักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 2 แบบสอบถามแบง่ เป็น 4 ส่วน ดังนี้ สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐานของสตรีตง้ั ครรภว์ ยั รนุ่ หรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด สว่ นท่ี 2 ข้อมูลพน้ื ฐานของบุคคลในครอบครัว สว่ นท่ี 3 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพในระยะกอ่ นตั้งครรภ์ สว่ นที่ 4 พฤติกรรมการดแู ลสุขภาพในระหว่างตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสตรตี ั้งครรภว์ ยั รุน่ หรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด คาช้ีแจง โปรดทาเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ ง ( ) หรือเติมข้อความตามความเป็นจริงทีเ่ กี่ยวกับตัวท่าน 1. อายุของท่าน..........................ปี (อายุเต็ม) 2. ศาสนา ( ) 2. คริสต์ ( ) 1. พุทธ ( ) 4. อืน่ ๆ โปรดระบุ................. ( ) 3. อิสลาม

86 3. สถานภาพปจั จุบัน ( ) 1. คู่ (ปัจจุบันอย่กู ินด้วยกัน) ( ) 1.1 จดทะเบียนสมรส ( ) 1.2 ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ( ) 2. หย่า/หม้าย ( ) 3. แยกกนั อยู่ ( ) 4. เลกิ กนั 4. สถานะการศึกษาของท่านในปัจจุบนั ( ) 1. ยงั เรยี นในสถานศกึ ษาเดิม ( ) 2. ย้ายสถานศกึ ษาเน่ืองจาก.............................................................................. ( ) 3. การศกึ ษานอกระบบ ( ) 4. พกั การศึกษาช่วั คราว ( ) 5. หยุดเรยี น/ ลาออก ( ) 6. อนื่ ๆ โปรดระบ.ุ ...................................... 5. อาชพี ของทา่ นก่อนตั้งครรภ์ (เลอื กตอบได้เพียง 1 ข้อ) 5.1 ถา้ เปน็ นักเรียน นักศึกษา ระบุระดบั ชน้ั ………………… 5.2 ถ้าไม่ไดเ้ ปน็ นักเรยี น นกั ศกึ ษา ( ) 1. ไม่ไดป้ ระกอบอาชพี /แมบ่ ้าน ( ) 2. รบั จ้างทว่ั ไป ( ) 3. ค้าขาย/ประกอบธุรกิจสว่ นตัว ( ) 4. ลกู จ้าง (ในหน่วยงานราชการ/บริษัท/ห้าง/รา้ น/หน่วยงานเอกชน) ( ) 5. รัฐวสิ าหกิจ ( ) 6. รบั ราชการ/พนกั งานของรฐั ( ) 7. เกษตรกร ( ) 8. อื่น ๆ โปรดระบุ 6. อาชีพของทา่ นในปจั จบุ ัน ( ) 1. ไมไ่ ด้ประกอบอาชีพ/แม่บ้าน ( ) 2. รบั จ้างท่ัวไป ( ) 3. คา้ ขาย/ประกอบธุรกิจส่วนตัว ( ) 4. ลูกจา้ ง (ในหน่วยงานราชการ/บรษิ ทั /ห้าง/ร้าน/หน่วยงานเอกชน) ( ) 5. รัฐวสิ าหกจิ ( ) 6. รับราชการ/พนักงานของรฐั ( ) 7. เกษตรกร ( ) 8. อืน่ ๆ โปรดระบุ ...................................................................................

87 7. รายไดต้ อ่ เดือนของทา่ น (แหล่งท่ีมาของรายได้) ( ) 1. มี ระบุ ( ) 1.1 จากการทางาน ..................................บาท/เดือน ( ) 1.2 จากพ่อแม่/ผู้ปกครองของตนเอง ..................................บาท/เดือน ( ) 1.3 จากสามี/เพ่ือนชาย ..................................บาท/เดอื น ( ) 1.4 อืน่ ๆ โปรดระบุ ..................................บาท/เดือน ( ) 2. ไมม่ ี สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของบุคคลในครอบครัว คาชีแ้ จง โปรดทาเครื่องหมาย ลงในช่อง ( ) หรือเตมิ ขอ้ ความตามความเปน็ จริงท่เี กี่ยวกบั ตวั ท่าน 8. ปัจจุบันทา่ นอาศัยอยู่กับ.... ( ) 1. บิดาและมารดา ( ) 2. บดิ า ( ) 3. มารดา ( ) 4. ญาติพี่น้อง ( ) 5. เพ่อื น ( ) 6. คูร่ กั /สามี ( ) 7. ครอบครวั คู่รัก/สามี ( ) 8. อยูต่ ามลาพงั ( ) 9. อน่ื ๆ โปรดระบ.ุ ......................................... 9. กอ่ นต้งั ครรภ์ ท่านอาศยั อยกู่ ับ....... ( ) 1. บดิ าและมารดา ( ) 2. บดิ า ( ) 3. มารดา ( ) 4. ญาตพิ ่ีนอ้ ง ( ) 5. เพ่ือน ( ) 6. คู่รกั /สามี ( ) 7. ครอบครวั คู่รกั /สามี ( ) 8. อย่ตู ามลาพงั ( ) 9. อ่นื ๆ โปรดระบุ......................................... 10. ความสมั พันธ์ของบดิ ามารดาของทา่ นในปจั จุบนั ( ) 1. บิดามารดาอยรู่ ว่ มกัน ( ) 2. บดิ ามารดาแยกกนั อยู่ (ทางานคนละท่)ี ( ) 3. หย่ารา้ ง ( ) 4. บดิ าเสยี ชวี ิต ( ) 5. มารดาเสยี ชีวติ ( ) 6. บดิ าและมารดาเสยี ชวี ติ 11. ความอบอนุ่ ในครอบครัวของทา่ น ( ) 1. อบอุ่น ( ) 2. ไมอ่ บอนุ่ 12. อายุของมารดา 1. อายุมารดาของทา่ นในปจั จุบนั ( ) 1.1 ทราบ ระบุ .......................... ปี (อายเุ ต็ม) ( ) 1.2 ไมท่ ราบ 2. มารดาของท่านมบี ุตรคนแรกเมื่ออายเุ ท่าไหร่ ( ) 2.1 ทราบ ระบุ .......................... ปี (อายุเตม็ ) ( ) 2.2 ไมท่ ราบ

88 13. อายขุ องสามีหรอื เพ่ือนชาย (พ่อของเดก็ ) ( ) 1. ทราบ โปรดระบ.ุ ....................... ปี (อายุเตม็ ) ( ) 2. ไม่ทราบ 14. อาชีพหลักของสามีหรอื เพือ่ นชายในปจั จุบัน ( ) 1. นกั เรียน/นกั ศึกษา ระบุระดบั การศึกษา........................ ( ) 2. ไม่ได้ประกอบอาชพี ( ) 3. รับจา้ งทัว่ ไป ( ) 4. คา้ ขาย/ประกอบธรุ กจิ ส่วนตวั ( ) 5. ลูกจ้าง (ในหน่วยงานราชการ/บรษิ ทั /หา้ ง/รา้ น/หนว่ ยงานเอกชน) ( ) 6. รฐั วิสาหกิจ ( ) 7. รบั ราชการ/พนักงานของรัฐ ( ) 8. เกษตรกร ( ) 9. อน่ื ๆ โปรดระบ.ุ ......................... ( ) 10. ไมท่ ราบ 15. รายได้ต่อเดอื นของสามีหรือเพ่อื นชาย ( ) 1. มี ประมาณ............................... บาท/เดือน ( ) 2. ไมม่ ี ( ) 3. ไมท่ ราบ ส่วนที่ 3 พฤติกรรมการดแู ลสขุ ภาพในระยะก่อนต้ังครรภ์ คาชแ้ี จง โปรดทาเคร่ืองหมาย ลงในชอ่ ง ( ) หรอื เตมิ ข้อความตามความเปน็ จริงทีเ่ กย่ี วกบั ตวั ทา่ น 16. การตง้ั ครรภ์ครัง้ นี้ ทา่ นตงั้ ใจใหเ้ กดิ ขึน้ หรือไม่ ( ) 1. ตง้ั ใจ (ไม่ต้องทาข้อ 17) ( ) 2. ไม่ตั้งใจ 17. ก่อนตงั้ ครรภ์คร้ังนี้ ไดใ้ ชว้ ิธกี ารคุมกาเนดิ หรอื ไม่ (เลือกตอบเพียง 1 ข้อ) ( ) 1. ไม่ไดค้ ุมกาเนดิ เนื่องจาก (โปรดระบ)ุ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ( ) 1.1 ไมร่ จู้ กั วธิ ีคุมกาเนดิ ( ) 1.2 มเี พศสมั พนั ธโ์ ดยไม่ได้ตัง้ ใจ ( ) 1.3 ถูกบงั คบั ขืนใจ ( ) 1.4 เคยคมุ กาเนดิ แต่มภี าวะแทรกซ้อน ( ) 1.5 มเี พศสัมพนั ธ์ในขณะมนึ เมา ( ) 1.6 อืน่ ๆ โปรดระบ.ุ ...................................... ( ) 2. คมุ กาเนดิ ดว้ ยวธิ ใี ดวธิ หี นึ่ง (ตอบได้มากกว่า 1 ขอ้ ) ( ) 2.1 ถุงยางอนามยั ( ) 2.2 ยาเม็ดคุมกาเนดิ ( ) 2.3 ยาฉดี คมุ กาเนิด ( ) 2.4 ยาคุมฉุกเฉนิ ( ) 2.5 หว่ งอนามัย ( ) 2.6 ยาฝังคุมกาเนิด ( ) 2.7 นับระยะปลอดภยั ( ) 2.8 หลงั่ ภายนอก ( ) 2.9 ใชถ้ งุ ยางอนามัย รว่ มกับวิธีคมุ กาเนดิ ชั่วคราวหรอื ก่ึงถาวร ดังตอ่ ไปน้ยี าเม็ดคมุ กาเนิด, ยาฉีด คุมกาเนิด, หว่ งอนามัย และยาฝังคุมกาเนิด ( ) 2.10 อืน่ ๆ โปรดระบ.ุ ........................................................................

89 18. ก่อนการต้งั ครรภ์ ท่านดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์หรอื ไม่ ( ) 1. ไม่เคยดืม่ ( ) 2. เคยและเลิกแลว้ นาน 1 ปี หรอื น้อยกวา่ ( ) 3. เคยและเลกิ แล้วนานมากกวา่ 1 ปี ( ) 4. เคยและปจั จุบนั ยงั ดื่มอยู่ 19. กอ่ นการตั้งครรภ์ ท่านสบู บุหรีห่ รือไม่ ( ) 1. ไมเ่ คยสูบ ( ) 2. เคยและเลิกแลว้ นาน 1 ปี หรือน้อยกวา่ ( ) 3. เคยและเลกิ แลว้ นานมากกว่า 1 ปี ( ) 4. เคยและปจั จบุ ันยังด่มื อยู่ 20. สามีหรือเพื่อนชายของทา่ นดืม่ แอลกอฮอล์หรือไม่ ( ) 1. ไม่เคยด่มื หรอื ไมท่ ราบข้อมูล ( ) 2. เคยและเลิกแล้วนาน 1 ปี หรือน้อยกวา่ ( ) 3. เคยและเลกิ แล้วนานมากกว่า 1 ปี ( ) 4. เคยและปจั จุบนั ยังดื่มอยู่ 21. สามหี รือเพื่อนชายของทา่ นสูบบหุ ร่หี รือไม่ ( ) 1. ไม่เคยสบู หรอื ไม่ทราบข้อมลู ( ) 2. เคยและเลกิ แลว้ นาน 1 ปี หรอื นอ้ ยกว่า ( ) 3. เคยและเลิกแลว้ นานมากกว่า 1 ปี ( ) 4. เคยและปจั จุบนั ยงั ด่ืมอยู่ 22. ทา่ นมีเพื่อนรนุ่ ราวคราวเดียวกนั ทีเ่ คยต้ังครรภเ์ มอ่ื อายุน้อยกว่า 20 ปี หรอื ไม่ ( ) 1. มี ( ) 2. ไม่มี 23. ท่านมญี าตพิ ี่น้องทเ่ี คยต้ังครรภ์ตงั้ แต่อายนุ อ้ ยกว่า 20 ปี หรือไม่ ( ) 1. มี ( ) 2. ไมม่ ี ส่วนที่ 4 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพในระหวา่ งต้ังครรภ์ คลอด และหลังคลอด คาช้แี จง โปรดทาเครื่องหมาย ลงในช่อง ( ) หรือเตมิ ข้อความตามความเป็นจรงิ ท่เี กี่ยวกับตวั ท่าน 4.1 ขอ้ มูลการฝากครรภ์ 24. จานวนคร้งั การตง้ั ครรภ์....................... ครั้ง 25. ตง้ั ครรภ์ครั้งแรกเมอื่ อายุ................ ปี (อายเุ ต็ม) 26. จานวนครงั้ ของการคลอด........................... ครัง้ 27. จานวนการแทง้ .............................. ครัง้ 28. จานวนบตุ รมีชีวติ ........................... คน 29. บตุ รคนสดุ ทา้ ยอายุ......................... ปี …………………. เดือน 30. ในการตง้ั ครรภ์คร้ังน้ี ทา่ นฝากครรภค์ รัง้ แรกเม่อื อายุครรภ์............................. สัปดาห์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook