แนวทางการจัดสวัสดิการ ที่เหมาะสมสำหรับ กลุ่มเป้าหมาย ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2 จังหวัดชลบุรี เอกสารวิชาการที่ 5/2564
ก คำนำ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2 จังหวัดชลบุรี และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ได้ร่วมกันจัดทาโครงการวิจัย “แนวทางการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับกลุ่มเป้าหมายต้ังครรภ์ในวัยรุ่น” ซง่ึ ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันและลักษณะการจัดสวัสดิการสาหรับกลุ่มเป้าหมายตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น และเพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมสาหรับกลุ่มเป้าหมายต้ังครรภ์ ในวัยรุ่น รวมทั้งเพื่อกาหนดแนวทางการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมสาหรับกลุ่มเป้าหมายต้ังครรภ์ในวัยรุ่น โดย การวิจัยคร้ังนี้ได้รับความร่วมมือและการอนุเคราะห์ข้อมูลจากสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด และคนในครอบครัว และจากหน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การจัดสวัสดิการสังคม ในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงาน ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2 จานวน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี และ จังหวัดตราด อาทิเช่น กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง แรงงาน กระทรวงสาธารณสุข ส่วนราชการส่วนภูมิภาคและราชการส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งองค์กรที่ไม่ใช่องค์กร ของรฐั และมูลนิธิ ซ่ึงทางคณะผู้วจิ ัยตอ้ งขอขอบพระคุณทุกหน่วยงานและทุกทา่ นมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้วิจัยมุ่งหวังว่างานวิจัยจะเป็นประโยชน์สาหรับหน่วยงานและผู้สนใจเกี่ยวกับแนวทางการ จัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับกลุ่มเป้าหมายตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หากงานวิจัยชิ้นน้ีมีข้อผิดพลาดประการใด ทางคณะผ้วู ิจยั ตอ้ งขออภัยมา ณ ท่นี ี้ คณะผู้วจิ ัย ธนั วาคม 2564
สารบญั ข เรอื่ ง หน้า คานา ก สารบญั ข บทสรุปผู้บริหาร ง บทท่ี 1 บทนา 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หาการวิจยั 4 1.2 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั (Conceptual Framework) 4 1.3 วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั (Objectives) 4 1.4 คาถามการวจิ ัย 5 1.5 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ (Definition of Terms) 5 1.6 ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับ (Expected Benefits) บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 6 2.1 ความหมายของวัยรุ่นและพฒั นาการตามวัย 8 2.2 ทฤษฎที เี่ กีย่ วข้องกบั วยั รุ่นและพฒั นาการ 11 2.3 แนวคิดเกย่ี วกบั การตงั้ ครรภใ์ นวัยรนุ่ 15 2.4 กฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องกับการตัง้ ครรภ์ในวัยรนุ่ 17 2.5 ทฤษฎเี กย่ี วกับครอบครัว 21 2.6 แนวคดิ เก่ียวกับการจัดสวสั ดิการสังคม 25 2.7 งานวจิ ัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การวจิ ยั 27 3.1 ขอบเขตของการวิจยั (Scope of the Research) 27 3.2 รูปแบบการวจิ ัย (Research design) 27 3.3 กลมุ่ ตัวอย่าง (Samples) 28 3.4 การพิทักษ์สทิ ธิ์กลมุ่ ตัวอย่าง 28 3.5 เครอื่ งมือที่ใช้ในการวจิ ัย 30 3.6 การเก็บรวบรวมข้อมูล 31 3.7 การวิเคราะห์และสังเคราะหข์ ้อมลู บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 32 4.1 ส่วนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ 56 4.2 ส่วนท่ี 2 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชิงคุณภาพ 65 4.3 ส่วนที่ 3 แนวทางการจดั สวัสดกิ ารท่เี หมาะสมสาหรับกลมุ่ เป้าหมายต้ังครรภใ์ นวัยรุ่น
ค บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ัย และข้อเสนอแนะ 5.1 สถานการณ์การจัดสวสั ดิการสาหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวยั รนุ่ 71 5.2 แนวทางการชว่ ยเหลือด้านสวัสดกิ ารสาหรบั สตรตี ้งั ครรภว์ ยั รุ่นหรอื มารดาวัยรุ่นหลงั คลอด 78 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 80 บรรณานุกรม 82 ภาคผนวก 84 แบบสอบถามสาหรบั สตรีตัง้ ครรภ์วยั รนุ่ หรือมารดาวยั ร่นุ หลงั คลอด 85 แบบสอบถามสาหรบั ครอบครัวของสตรตี ง้ั ครรภ์วยั รุ่นหรอื มารดาวยั รุน่ หลังคลอด 96 แบบสอบถามสาหรบั เจา้ หนา้ ท่ใี นหนว่ ยงานทีด่ แู ลสตรีต้ังครรภ์วัยร่นุ หรอื มารดาวัยรุ่นหลงั คลอด 103 แนวคาถามสาหรับการสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ (In-depth Interview) 109 (สาหรับสตรตี ัง้ ครรภ์วยั รุ่นหรือมารดาวยั รนุ่ หลงั คลอด) แนวคาถามสาหรับการสมั ภาษณ์เชงิ ลึก (In-depth Interview) และสนทนากลมุ่ (Focus group) 111 (สาหรบั หน่วยงานท่ีดแู ลสตรีตง้ั ครรภว์ ัยรนุ่ หรือมารดาวยั รุ่นหลงั คลอดและครอบครัว)
ง บทสรปุ ผู้บริหาร โครงการวจิ ยั แนวทางการจัดสวสั ดิการทีเ่ หมาะสมสาหรับกลุ่มเป้าหมายตง้ั ครรภ์ในวยั ร่นุ จากสถานการณ์ปัญหาการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น เป็นปัญหาที่ตามมาด้วยการ ท้อง แท้ง ทิ้ง รวมทั้งการตั้งครรภ์ซ้า ท้าให้ทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องต้องทบทวนการจัดสวัสดิการส้าหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น และมารดาวัยรุ่นอีกครั้ง ซึ่งที่ผ่านมาสวัสดิการส้าหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่อยู่ใน รูปแบบสวัสดิการถ้วนหน้า ซ่ึงสวัสดิการที่ส้าคัญหลัก คือสวัสดิการทางด้านสุขภาพ และด้านการศึกษา ส่วน สวัสดิการลักษณะเฉพาะส้าหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นยังมีไม่มากนัก ส่วนหน่ึงเป็นสวัสดิการท่ี รวมกลุ่มอยู่กับสวัสดิการครอบครัวและเด็ก ตอบสนองความต้องการพ้ืนฐาน ซ่ึงเป็นสวัสดิการที่หน่วยงานจัด เพอ่ื กลุ่มเป้าหมายใดเปา้ หมายหนึง่ ตามนโยบายเท่าน้ัน ส่วนการเข้าถึงสวัสดิการและการบริการท่ีผ่านมายังคง มีข้อจ้ากัดจากความไม่รู้ของตัวสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นเอง ประกอบกับสวัสดิการที่ไม่เอ้ือต่อการ เขา้ ถงึ ทัศนคตขิ องผู้ให้บริการยังมองสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นในเชิงต้าหนิ ท้าให้สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น และมารดาวัยรุ่นไม่รู้สึกไว้วางใจ รวมทั้งการจัดสวัสดิการและการให้บริการยังขาดความต่อเน่ือง สิ่งเหล่าน้ีมี ความส้าคัญตอ่ การจดั สวสั ดกิ ารสา้ หรับสตรตี งั้ ครรภ์วยั รุน่ และมารดาวยั รุ่น ซึ่งหาก ไม่ได้รับการแก้ไข และไม่มี แนวทางการจัดสวัสดิการอยา่ งเปน็ จรงิ สถานการณ์สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นก็จะกลายปัญหาสังคม ที่ยืดเย้ือยาวนานและบานปลาย ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว ดังนั้น ประเทศไทยควรค้นหา แนวทางการจัดสวัสดิการส้าหรับสตรตี ง้ั ครรภว์ ัยรุน่ และมารดาวัยรุ่นอย่างจริงจัง ซ่ึงแนวทางดังกล่าวควรมาจาก การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ท่ีผ่านมาจะเห็นว่าภาครัฐพยายามระดมสมองและดึงการมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วนเพอื่ หาแนวทางการจัดสวัสดิการส้าหรับสตรตี งั้ ครรภ์วยั รนุ่ และมารดาวยั รนุ่ ร่วมกนั ดังน้ัน งานวิจัยช้ินนี้มีความมุ่งหวังท่ีจะค้นหาแนวทางในการจัดสวัสดิการส้าหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น และมารดาวัยรุ่นหลงั คลอด รวมไปถึงแนวทางการดูแลหรอื ให้บริการแบบครบวงจรและอยา่ งต่อเนื่อง การวจิ ัยครง้ั น้ไี ด้ก้าหนดวัตถุประสงค์การวิจัยไว้ 3 วัตถุประสงค์คือ 1. เพ่ือศึกษาสถานการณ์ปัจจุบัน และลกั ษณะการจัดสวัสดิการสา้ หรบั กลุม่ เปา้ หมายต้ังครรภใ์ นวยั รุ่น 2. เพ่ือศกึ ษาปัญหาและความต้องการการ จดั สวสั ดิการทเ่ี หมาะสมสา้ หรับกลุม่ เป้าหมายตั้งครรภ์ในวัยรุน่ และ 3. เพือ่ กา้ หนดแนวทางการจัดสวัสดิการที่ เหมาะสมส้าหรับกลุ่มเปา้ หมายตั้งครรภ์ในวยั รุ่น ขอบเขตการศกึ ษาครัง้ น้ดี ้าเนนิ การครอบคลุมเขตพื้นท่ีจังหวัดภาคตะวันออก ซ่ึงเป็นพื้นที่เขตความรับผิดชอบ ของส้านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2 ประกอบด้วย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จงั หวดั จันทบุรี และจังหวัดตราด ในด้านเน้ือหาจะครอบคลุมท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยการเก็บกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม ได้แก่ เจ้าหน้าท่ี ที่เก่ียวขอ้ งกบั การดแู ลสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น สตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นและครอบครัวของสตรีต้ังครรภ์ หรือมารดาวัยรุ่น โดยการใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม รวมถึงการสนทนากลุ่ม (Focus group) และการสัมภาษณเ์ ชิงลกึ (Indepth interview) เพอ่ื ใหข้ ้อมูลเกดิ ความครบถว้ นสมบรู ณ์
จ ประชากรเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้องกับการดูแลสตรีตั้งครรภ์ หรือมารดาวัยรุ่น สตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอดและครอบครัวของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น ในเขตพ้ืนที่ รับผิดชอบของส้านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2 โดยการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ตัวอย่างคือ เจา้ หน้าที่ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับการดแู ลสตรีตงั้ ครรภ์หรอื มารดาวยั รุ่น สตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และ ครอบครวั ของสตรีตัง้ ครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นจ้านวน ส้าหรับกลุ่มตัวอย่างในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการ สนทนากลุ่ม คือ เจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องกับการดูแลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นจากหน่วยงานของรัฐในสังกัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวง สาธารณสุข ส่วนราชการส่วนภูมิภาคและราชการส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งองค์กรที่ไม่ใช่องค์กรของรัฐ และมูลนิธิ และการเกบ็ ขอ้ มลู โดยการสัมภาษณ์เชงิ ลกึ คือ เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องกับการดูแลสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น จากพื้นทที่ ั้ง 4 จงั หวดั โดยเลอื กเจ้าหน้าทใ่ี นพืน้ ที่ทม่ี สี ถานการณ์ต้ังครรภ์วัยรุ่นและปฏิบัติงานให้การดูแลหรือ ช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่น เช่น กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงข องมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่น เป็นต้น ท้ังนี้ ได้มี การพทิ ักษส์ ิทธกิ์ ลุม่ ตัวอยา่ ง ซง่ึ โครงการวิจัยนไ้ี ดผ้ า่ นการรับรองจากคณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย ในมนุษย์ และในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามเป็นการเก็บข้อมูลที่เป็นความยินยอมการเข้า ร่วมวิจัยของกลุ่มตัวอย่าง และไม่มีการระบุชื่อ สกุล และหน่วยงานของผู้ให้ข้อมูล ส่วนการเก็บข้อมูลกับสตรี ตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเป็นความยินยอมการเข้าร่วมวิจัย โดยกลุ่มตัวอย่างที่ อายุตา่้ กวา่ 18 ปี จะมีผปู้ กครองหรือผู้แทนที่บรรลุนิติภาวะร่วมเป็นพยานในการยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย นอกจากนี้ในส่วนของการสัมภาษณ์เชิงลึกสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นนั้นจะใช้การสัมภาษณ์ในที่ท่ีมี ความเป็นส่วนตัวและกลุ่มตัวอย่างสามารถหยุดการสัมภาษณ์หรือไม่ตอบในบางค้าถามได้หากเกิดความไม่ สบายใจหรือไม่ยินดใี นการใหข้ อ้ มูลบางประเดน็ การวิจัยคร้ังนี้เป็นงานวิจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ (Mixed methods research) เพื่อศึกษาปัญหา และความต้องการการจัดสวัสดิการและพัฒนาแนวทางหรือรูปแบบการให้บริการท่ีเหมาะสมส้าหรับกลุ่มเป้าหมาย ตัง้ ครรภ์วยั รุ่น โดยมกี ารก้าหนดขัน้ ตอนการวิจัยต่างๆ ดังนี้ 1) ทบทวนองค์ความรู้เร่ืองการจัดสวัสดิการที่เหมาะสม ส้าหรับกลุ่มเป้าหมายตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการช้ีแจงโครงการศึกษาวิจัยแนวทางการ จัดสวัสดิการที่เหมาะสมส้าหรับกลุ่มเป้าหมายต้ังครรภ์ในวัยรุ่น และสร้างเคร่ืองมือเพื่อเก็บข้อมูลวิจัยเชิงปริมาณ 3) ลงพ้ืนท่ีเก็บข้อมูลวิจัยเชิงปริมาณ 4) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเชิงปริมาณ และสร้างเครื่องมือเพ่ือเก็บข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพ 5) ลงพื้นที่สัมภาษณ์เชิงคุณภาพ 6) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ สนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อค้นหาแนวทางการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมส้าหรับกลุ่มเป้าหมายตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น 7) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการน้าเสนอผลการวิจัยและวิพากษ์ผลงานวิจัย 8) จัดท้ารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และเผยแพร่ผลการวจิ ัย และ 9) จัดทา้ ส่ือประชาสัมพันธ์
ฉ ผลการศกึ ษา 1. สถานการณ์การจัดสวัสดิการสาหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่น จากการศึกษาพบว่า สตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่จะได้รับความช่วยเหลือหรือดูแลในระหว่างต้ังครรภ์จากบิดา มารดา ญาติของสามี รองลงมาได้แก่ บุคลากรทางด้านสุขภาพที่สังกัดสถานบริการสุขภาพของรัฐ เจ้าหน้าท่ีของ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และบุคลากรทางด้านสุขภาพที่โรงพยาบาลหรือคลินิก เอกชน ตามล้าดับ โดยมีการเข้าร่วมกิจกรรมจากหน่วยงานต่าง ๆ ซ่ึงสามารถแบ่งการดูแลช่วยเหลือท้ังจาก บุคคลและหนว่ ยงานออกได้เป็น 3 ด้าน ดังน้ี (1) ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ได้รับความช่วยเหลือดูแลระหว่าง ตั้งครรภ์จากสถานพยาบาลทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่ การเตรียมความพร้อมเล้ียงบุตร การฝากครรภ์และให้ ความรู้การดูแลครรภ์ การดูแลตนเองระหว่างการตั้งครรภ์ การเตรียมตัวคลอด ค้าแนะน้าเกี่ยวกับการผ่อนคลาย ความเครียด วิธีการคุมก้าเนิด (2) ด้านการพัฒนาฝึกทักษะชีวิตการเป็นมารดา บิดา ได้แก่ การส่งเสริม บทบาทการเป็นมารดา บิดา การฝึกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ การดูแลทารก การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ ร่วมกันและการรับฟังปัญหาและให้ค้าปรึกษาอย่างต่อเน่ือง (3) ด้านสิทธิและสวัสดิการต่าง ๆ ได้แก่ การให้ ค้าปรึกษาด้านกฎหมาย เช่นการแจ้งชื่อของสามี การรับรองบุตร การแจ้งเกิด การแจ้งสิทธิกรณีสตรีตั้งครรภ์ และ/หรือครอบครัวเป็นผู้เสียหาย การสนับสนุนการฝึกอาชีพ การได้รับทุนอุดหนุน ศิลปะบ้าบัด และการ สนับสนุนการเรียนตอ่ 2. ปัญหาและความต้องการการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น สามารถ แบ่งออกได้เป็น 5 ด้าน ดังน้ี (1) ด้านการศึกษา จากการศึกษาพบว่าโดยส่วนใหญ่สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือ มารดาวัยรุน่ จะมชี ่วงชีวติ ที่อยใู่ นระบบการศึกษา โดยอาจอยู่ในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อาจเป็นสายสามัญ หรืออาชีวศึกษา หรือบางรายอาจอยู่นอกระบบการศึกษา การได้รับสิทธิในการได้รับบริการสวัสดิการ โดย คา้ นงึ ถึงคุณคา่ และศักดศ์ิ รคี วามเป็นมนุษย์ บุคคลท่ีอยู่รอบข้างที่มีความเกี่ยวข้องกับสตรีวัยรุ่นท้ังทางตรงและ ทางอ้อม บุคลากรในสถานศึกษาอาจถูกสะท้อนการจัดการที่ลดทอนคุณค่าและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ในขณะที่เด็กนักเรียนที่เป็นแม่เล้ียงเดี่ยววัยรุ่นที่หลุดจากระบบการศึกษาไม่ได้ไปตามฝัน เส้นทางชีวิต เปล่ียนไป บางส่วนตีตราว่ากลา่ ว หรืออาจมีท่าทีที่ไม่เป็นมิตรในการส่ือสาร การจัดบริการสวัสดิการการศึกษา ส่วนหนึ่งท่ีส้าคัญคือ การท้าให้ผู้เรียนมีความพรอ้ มในการศึกษาเพื่อความเจริญงอกงามของชีวิต ดังน้ันลักษณะการ ปฏิบัติของบุคลากรที่เกี่ยวข้องจึงจ้าเป็นต้องมีความเคารพในคุณค่าและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ยอมรับความ แตกต่างรายบุคคล โดยสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นมีความต้องการการช่วยเหลือต้ังแต่ เริ่มต้นการเปลี่ยนแปลงของช่วงชีวิต คือในขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ การได้รับปรึกษาและค้าแนะน้าจากครู หรือบุคลากรที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน การให้ค้าปรกึ ษาต่อสถานการณท์ ่ีเกิดขน้ึ การได้รบั สวัสดกิ ารทางการศึกษาช่วงของการตั้งครรภ์และหลังคลอด รวมถึงการได้รบั การสนบั สนนุ หรอื ช่วยเหลือในการศกึ ษาท้ังในและนอกระบบ (2) ด้านการบริการจากหน่วยงาน ด้านสุขภาพ เช่น ค้าแนะน้าเก่ียวกับสถานที่ฝากครรภ์และการคลอด การได้รับการดูแลและเข้ารับบริการ เฉพาะกลุ่ม มีความเป็นส่วนตัว การได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่อย่างเป็นมิตรและเข้าใจ ไม่ตีตราหรือซ้าเติม การให้ค้าปรึกษาและการผ่อนคลายความเครียด และการฝึกทักษะชีวิตการเป็นมารดา บิดา เช่น การเปลี่ยน บทบาทจากบตุ รเปน็ มารดา บดิ า และการดูแลทารกแรกเกดิ (3) ดา้ นส่งเสริมอาชพี และการมงี านทา การช่วยเหลือ ในดา้ นการสง่ เสรมิ อาชพี เพอ่ื ทา้ ให้เกิดการสร้างรายได้เพ่ือน้ามาเล้ียงดูบุตร เช่น มีความต้องการในการท้างาน
ช ที่มีรายได้ประจ้า การเข้าฝึกทักษะอาชีพ ต้องการอาชีพท่ีสามารถท้างานได้ที่บ้านเนื่องจากต้องการดูแลบุตร ด้วยตนเองซึ่งส่วนใหญ่การตั้งครรภ์จะส่งผลท้าให้เกิดการเปล่ียนแปลงของชีวิตจากเดิมท้าให้มีความต้องการ มากขึ้นต่อการท่ีมีรายได้เพื่อที่จะน้ามาใช้จ่ายในการเล้ียงดูบุตร (4) การเสริมสร้างสุขภาวะครอบครัวสตรีวัยรุ่น ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาศักยภาพครอบครัวเปน็ หนึง่ ในยุทธศาสตร์ของนโยบายครอบครัวทีม่ กี ารดา้ เนินงานอย่าง ต่อเน่ือง เพ่ือการสร้างครอบครัวที่เข้มแข็ง ในงานวิจัยนี้พบว่าในการท้างานระดับปฏิบัติเชิงนโยบายของ หน่วยงานแต่ละแห่งที่อาจมีขอบเขตและเป้าหมายแตกต่างกัน มีข้อจา้ กัดบางประการ ท้าให้อาจส่งผลต่อ การประสานเชื่อมโยงในเชิงกลไกการท้างานร่วมกันในมิติเชิงเครือข่ายที่มุ่งสู่ครอบครัวท่ีเป็นการท้างานที่ยัง ชดั เจนไมม่ ากนัก และยงั พบว่าครอบครัวฝ่ายหญงิ ที่เปน็ แม่เลี้ยงเด่ียววัยรุ่นเป็นแกนหลักในการดูแลรับผิดชอบ สถานการณท์ คี่ รอบครัวเผชญิ แตอ่ าจเพราะรัฐกบั อดุ มการณ์ด้านครอบครวั ในประเทศไทยเปน็ ส่วนหน่ึงท่ีท้าให้ ขาดการเสริมสร้างศักยภาพ ความสามารถท้าบทบาทหน้าที่ของครอบครัว การหนุนเสริมเป็นบริการต่างๆ เพื่อใหค้ รอบครวั ด้ารงอย่อู ยา่ งมีคุณภาพ มีความเขม้ แขง็ และปรับตัวได้ในบริบทการเปล่ียนแปลงเชิงโครงสร้าง ทางสังคม เรื่องครอบครัวเล้ียงเด่ียววัยรุ่นจึงเป็นประเด็นสาธารณะ หาใช่เร่ืองส่วนตัว ซ่ึงในแต่ละครอบครัว ต้องรับผดิ ชอบแก้ไขหรอื จดั การกบั ปญั หากนั เองตามบริบทของแต่ละครอบครัว และ (5) ด้านสิทธิและสวัสดิการ ต่างๆ สิทธิประโยชน์ที่ควรได้รับและช่องทางในการให้ความช่วยเหลือในกรณีที่สตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และครอบครัวเป็นผู้เสียหายโดยเฉพาะอย่างย่ิงมีความต้องการเก่ียวกับการจัดการบริการที่แยกเฉพาะสตรี วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นมีความสะดวก และรวดเร็ว การให้ค้าปรึกษาและช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์หรือมารดา วยั รนุ่ ในการพูดคยุ กบั ครอบครัวหรือผู้ปกครองเก่ียวกับการตั้งครรภ์ และประสานกับสถานศึกษาในการพิทักษ์ สทิ ธิและจัดทางเลอื กทตี่ รงต่อความต้องการสตรตี ั้งครรภ์หรอื มารดาวัยรุน่ การชว่ ยเหลือสวัสดิการในการเล้ียงดู รวมถงึ การใหค้ า้ ปรึกษาทางทางจิตใจ ลักษณะการบรกิ ารเชิงรุกและสัมพันธภาพจากหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ เช่น (1) มีช่องทางในการให้ ค้าปรึกษาแก่สตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และครอบครัวที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย รวดเร็ว และมีความเป็น ส่วนตัว (2) มีระบบการส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องท่ีให้การดูแลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น เพอ่ื ให้การดแู ลและจัดการบรกิ ารแบบเป็นองค์รวมครอบคลุมทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ (3) ส่งเสริมอาชีพ มีการจัดหางาน และจ้างงานท่ีมีความเหมาะสมกับบริบทความเป็นอยู่ของสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น (4) จัดให้มีหน่วยบริการเคล่ือนที่เข้าไปให้การปรึกษาสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นในชุมชน (5) จัดให้มีการ บริการเชิงรุกเก่ียวกบั การท้ากลมุ่ ช่วยเหลอื (group support) เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นได้มีโอกาส แลกเปล่ียนประสบการณ์และดูแลซ่ึงกันและกัน และ (6) จัดท้าศูนย์ช่วยเหลือแบบเบ็ดเสร็จ (one stop service) และการจัดหน่วยงานส้าหรับการรับฝากและดูแลบุตรแบบระยะส้ัน (เช้าไป-เย็นกลับ) ต้องการให้มีหน่วยงาน ส้าหรบั การฝากเลี้ยงดูบุตรแบบระยะยาว และการจดั หาผู้อปุ การะบุตรหรอื ครอบครวั อปุ ถัมภ์ ปัญหาการเข้าถึงการจดั สวัสดิการของสตรีตงั้ ครรภห์ รือมารดาวัยร่นุ (1) ความแตกต่างของลักษณะ สตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ได้แก่ สาเหตุท่ีท้าให้เกิดการต้ังครรภ์ ลักษณะการตั้งครรภ์ และลักษณะของ บุคคลท่ีสัมพันธ์กับสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาปัจจัยหลักที่ส้าคัญอันเป็นสาเหตุหลักของการเข้าถึงการบริการ การจัดสวัสดิการ และการเลือกตัดสินใจเพื่อขอเข้ารับบริการการจัดสวัสดิการของสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น (2) การจัดบริการท่ีไม่ครบวงจร ไม่มีการติดตามดูแลต่อเน่ือง ขาดความต่อเน่ืองในระบบของการส่งต่อข้อมูล
ซ สตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นตลอดจนทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้ให้บริการในเชิงต้าหนิหรือตีตราสตรี ตัง้ ครรภ์หรือมารดาวยั รนุ่ ปญั หาท่ีเกิดขึ้นระหว่างการต้ังครรภ์หรือหลังคลอดตามการรับรู้ของสตรีตั้งครรภ์และครอบครัว พบว่า “มีอารมณ์เศร้าหดหู่ระหว่างตั้งครรภ์” เป็นปัญหาท่ีพบมากท่ีสุดในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น โดยประมาณ 1 ใน 3 ของ สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นบอกว่าตนเองประสบปัญหาน้ี อีกปัญหาหน่ึงซ่ึงพบมากเป็นอันดับแรกในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น เช่นกัน (ร้อยละ 33.2) คือ “ไม่มีความรู้ทางด้านกฎหมาย การเรียกร้องสิทธิต่างๆ หรือไม่ได้รับการช่วยเหลือใน กระบวนการยตุ ิธรรม” อกี มมุ มองสว่ นหนึง่ สะท้อนให้เห็นถงึ การหลุดจากการศึกษาอันเน่ืองมาจากการถูกกีดกัน หรือตีตราจากโรงเรียนไม่ว่าจากครูและเพื่อนนักเรียน ซ่ึงในประเด็นนี้การประเมินด้านจิตสังคม การให้ ค้าปรึกษาและติดตามอย่างต่อเนื่อง อีกท้ังส่งเสริมให้ครอบครัวเข้าใจและยอมรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น จะเป็น เกราะป้องกันผลกระทบทางด้านจิตใจหรือการหลุดออกจากระบบการศึกษาของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นได้ รวมไปถึง การถกู กีดกนั ทางสงั คม เชน่ การไม่สามารถเข้าถึงงานอาชีพและรายได้ เป็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนในระยะหลังคลอด บตุ รท่สี ตรตี ัง้ ครรภว์ ัยรุน่ ความต้องการการช่วยเหลือในระยะก่อนหรือขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ตามการรับรู้ของสตรี ต้ังครรภ์และครอบครัว ในระยะตั้งครรภ์ พบว่า ต้องการการช่วยเหลือหรือค้าแนะน้าในการประสานกับ โรงเรียน โดยสตรตี ้ังครรภ์วัยรุ่นส่วนใหญ่ตอ้ งการการชว่ ยเหลือในเรื่องการแจ้งเก่ยี วกบั การต้ังครรภ์ให้ครูทราบ ส้าหรับความต้องการการช่วยเหลือในระยะหลังคลอด พบว่า มีความแตกต่างกัน โดยสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น ส่วนมากมีความต้องการที่จะศึกษาต่อและประกอบอาชีพเสริมรายได้ ในขณะที่ครอบครัวต้องการให้สตรี ต้ังครรภ์วัยรุ่นอยู่บ้านเพ่ือเล้ียงดูบุตร ส้าหรับความต้องการการช่วยเหลือด้านสุขภาพ พบมากที่สุด ทั้งสตรี ต้ังครรภ์วัยรุ่นและครอบครัวต้องการการแนะน้าเก่ียวกับสถานท่ีฝากครรภ์และการคลอด ส้าหรับความต้องการ ความช่วยเหลือด้านอนื่ สว่ นใหญ่ ต้องการให้มศี ูนยใ์ ห้คา้ ปรึกษาและช่วยเหลือแม่วยั ร่นุ โดยเฉพาะ บริการด้าน สขุ ภาพภายใตห้ น่วยงานสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข 3. แนวทางการช่วยเหลือด้านสวัสดิการสาหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด มีการ ดา้ เนนิ งานทใี่ ห้การช่วยเหลอื สตรีตั้งครรภ์วัยรนุ่ หรือมารดาวัยรนุ่ หลังคลอดแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ระดับ ได้แก่ การ ด้าเนินงานในระดับบุคคล และระดับนโยบาย ซ่ึงมีระบบ และกลไกในการด้าเนินงานท่ีมีการก้าหนดไว้อย่าง ชัดเจน และเพอ่ื ส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์วยั รนุ่ หรือมารดาวัยรุ่นหลงั คลอดไดร้ บั การดูแลชว่ ยเหลือด้านสวัสดิการ ครอบคลุมทั่วถึงและตอบสนองต่อความต้องการของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด จึงควรมี การเสริมสร้างระบบและการด้าเนินงานให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และการเปล่ียนแปลงที่ เกิดขึ้นเพื่อให้มีความทันสมัยและเพ่ิมช่องทางในการเข้าถึงการขอรับการช่วยเหลือด้านสวัสดิการส้าหรับสตรี ตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด คือ (1) การประชาสัมพันธ์และการให้ข้อมูลการคุ้มครองภาวะ สุขภาพทางสังคม การเข้าถึงสิทธิ และสวัสดิการท่ีให้การช่วยเหลือในต้ังแต่ระยะตั้งครรภ์จนถึงระยะหลัง คลอด ได้แก่ การเขา้ ถงึ สิทธิ และการขอรับสวัสดิการภาครัฐ ได้แก่ การขึ้นทะเบียนเพ่ือขอรับสิทธิเงินอุดหนุน เพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การขอรับเงินช่วยเหลือในการเล้ียงดูบุตรใน กรณีท่ีมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ยากล้าบาก การจัดหาครอบครัวอุปถัมภ์ การจัดหาครอบครัวบุญธรรม โดยในการ ให้การสนับสนุนช่วยเหลือทางด้านสวัสดิการให้กับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น หรือมารดาวัยรุ่นต้องมีการส่งเสริมและ
ฌ ประสานในการให้ความช่วยเหลือในทุกหน่วยงานที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (2) การประสานความร่วมมือกับภาค ประชาชน และท้องถิ่น ในการจัดหาสวัสดิการให้กับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอดท่ีต้องการ ความช่วยเหลือ (3) การส่งเสริมอาชีพ จากสถานการณ์ชีวิตท่ีสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นประสบ ปัญหา ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจจากการที่ไม่มีรายได้เป็นของตัวเอง ต้องพ่ึงพิงสามี หรือสมาชิกในครอบครัว ท้าให้ไม่มีอิสระในการจัดการชีวิตของตนเองจึงควรมีการช่วยเหลือให้การสนับสนุนอาชีพให้กับสตรีตั้งครรภ์ วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นให้เหมาะสมกับบริบทชีวิตความเป็นอยู่ ตรงตามความต้องการ และควรมีการส่งเสริม บทบาทของสามีหรือคู่สมรสร่วมด้วยในกรณีมีการอยู่อาศัยร่วมกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีท่ีเป็นวัยรุ่นท้ังคู่ เน่ืองจากเป็นบทบาทหน้าที่ของความเป็นครอบครัวและเป็นเร่ืองท่ีควรท่ีจะต้องรับผิดชอบร่วมกัน (4) มีการ จัดทาฐานข้อมูลของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นและข้อมูลทารกแรกเกิด อย่างเป็นระบบระหว่าง หน่วยงานที่เก่ียวข้องท่ีมีการด้าเนินงานท่ีเก่ียวข้องโดยตรงกับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด เช่น ข้อมูลสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่นในพื้นที่ ข้อมูลการขึ้นทะเบียนเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ก แรกเกิด โดยมีบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน มีระบบการเช่ือมโยง ส่งต่อ และมีการน้าใช้ข้อมูลเพ่ือให้มีมีการ จัดบริการดแู ลอยา่ งครอบคลุมและมีคณุ ภาพ ขอ้ เสนอแนะ 1) การพัฒนาและจัดระบบกลไกเพื่อให้นโยบาย กฎหมายต่างๆ ที่มีอยู่มีผลในทางปฏิบัติ ปัจจุบัน มีนโยบายต่างๆ เช่น พระราชบัญญัติอนามัยเจริญพันธ์ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การจัดสวัสดิการสังคม หรือพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขการต้ังครรภ์ใน วัยรุ่น เป็นต้น อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติความท้าทายในเชิงองค์ประกอบซ่ึงเป็นปัจจัยในการด้าเนินงาน เช่น บุคลากรในสถานศึกษา บุคลากรในหน่วยงานท่ีท้าหน้าท่ีเกี่ยวกับการดูแลสตรี ความเชี่ยวชาญของการ ด้าเนินงานในทีมสหวิชาชีพในเชิงระบบและทิศทางของนโยบายท่ีขาดการก้ากับดูแลหรือการติดตามอย่าง ต่อเน่ือง ดังนั้นก่อนท่ีนโยบายต่างๆจะมีการประกาศใช้จึงควรมีการเตรียมบุคลากรที่เกี่ยวข้องท้ังในด้านองค์ ความรู้ ความเข้าใจแก่ผูเ้ กี่ยวข้อง การเขา้ ถึงสถานการณแ์ ละปญั หาตา่ งๆของสตรีวัยรุ่น และยังต้องมีการก้ากับ ติดตาม และพฒั นาเครือข่ายเพอ่ื เพิ่มเตมิ ความรู้ เปดิ ทัศนคติ แลกเปล่ียนประสบการณ์ในการช่วยเหลือเกื้อกูล กนั สร้างเสริมกัลยานมิตรกับครอบครัวสตรีวัยรุ่น และภาครัฐควรให้การสนับสนุนงบประมาณหรือทรัพยากร ในการด้าเนินการท้ังการก้ากับติดตามระหว่างการด้าเนินงานและการประเมินผลลัพธ์การด้าเนินงานให้กับ องค์กรเอกชน เพื่อให้การท้างานเป็นไปตามความเชี่ยวชาญเฉพาะ และเป็นการประสานท้างานในลักษณะ เครือขา่ ย และสรา้ งระบบ กลไก ท่ีเอ้อื ต่อการพฒั นาในระยะยาวตอ่ เนื่องกนั ไป 2) ระบบการจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาชวี ิต และเออ้ื ตอ่ บคุ ลากรทางการศึกษาท่ีมีทิศทางในการดูแล สตรีตัง้ ครรภว์ ัยรุน่ ทีเ่ ป็นไปในทิศทางเปา้ หมายในการสร้างความชัดเจนและความเข้าใจท่ีตรงกัน เช่น การ เสริมสร้างสภาวะการท้างานท่ีเป็นมิตรกับบุคลากรทางการศึกษาเพื่อให้การดูแลนักเรียน ระบบการผลิตครูท่ี ควรมีการเพิ่มเติมวิชาที่เก่ียวข้องกับชีวิตและสวัสดิการควบคู่กับวิชาการ และการใช้ระบบทางการศึกษาเป็น ฐานในการดูแลจดั สวสั ดิการที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะในด้านการดูแลสตรตี ั้งครรภว์ ัยรุ่น หรอื มารดาวยั รุ่นหลังคลอด 3) ระบบบริการทางด้านสุขภาพ การเข้าถึงบริการทางด้านสุขภาพ ของกลุ่มสตรีวัยรุ่นและมารดาวัยรุ่น ยังมีน้อย วัยรุ่นถูกมองว่าเป็นกลุ่มวัยท่ีมีปัญหา ท้าให้กลุ่มวัยรุ่นไม่กล้าเข้าไปรับบริการเกี่ยวกับการคุมก้าเนิด
ญ หรือขอค้าปรึกษา เก่ียวกับอนามัยเจริญพันธุ์ ประกอบกับสถานท่ีในการให้บริการไม่เหมาะสมและไม่มีความเป็น ส่วนตัว ส้าหรับนโยบายเก่ียวกับการเข้าถึงบริการ ประเทศไทยได้มีนโยบายให้ทุกกลุ่มวัยได้มีโอกาสในการเข้าถึง บริการทางด้านสุขภาพเม่ือ ปี พ.ศ. 2545 โดยครอบคลุมถึงกลุ่มหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น ภายใต้นโยบาย 30 บาทรักษา ทุกโรค เพื่อใหห้ ญิงตงั้ ครรภว์ ยั รนุ่ ได้มีโอกาสในการเข้าถงึ บริการทางด้านสุขภาพด้วยราคาท่ีถูก ซ่ึงภายหลังจากการ ใช้นโยบายน้ีท้าให้หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นเข้าถึงบริการมากข้ึน นอกจากน้ีผู้ให้บริการด้านสุขภาพควรมีทักษะและ ความเข้าใจในปัญหาของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่น ซ่ึงเป็นกลุ่มวัยที่มีลักษณะเฉพาะ ระบบบริการที่ เน้นการให้บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นท่ีมีการด้าเนินการอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ระบบการบริการฝากครรภ์ใน ปัจจุบันยังมีปัญหาและอุปสรรคในการด้าเนินงานหลายประการ เช่น ระบบการบริการท่ีมีความซับซ้อน การช้ีแจง ข้ันตอนของการบริการฝากครรภ์ไม่ชัดเจน ท้าให้หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นเกิดความสับสนเก่ียวกับขั้นตอนการบริการ ล้าดับขั้นตอนไม่มีการจัดระบบท่ีแน่นอน ขาดการประสานงาน ระบบส่งต่อกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้าบล ทา้ ให้มผี ลต่อการตัดสินใจมาฝากครรภ์ตามเกณฑ์ของหญงิ ตง้ั ครรภว์ ยั รุ่น 4) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มาตรา 10 ให้บทบาทกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ้านาจหน้าท่ีด้าเนินการให้วัยรุ่นในเขต ราชการท้องถิน่ ได้รบั สทิ ธิตามมาตรา 5 คอื สิทธทิ จ่ี ะตดั สนิ ใจดว้ ยตนเอง สิทธิทจ่ี ะได้รับความรู้ด้านอนามัยการ เจริญพันธ์ุ ได้รับสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสม และการรักษาความลับความเป็นส่วนตัวของวัยรุ่นเอง ซึ่งหน่วยงานทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องสามารถบูรณาการ ประสานเช่ือมโยงการด้าเนินงานระหว่างหน่วยงาน โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซึ่งเป็นหน่วยงานท่ีท้างานใกล้ชิดกับประชาชนในพื้นท่ี จะเป็นกลไก สา้ คัญในการขบั เคล่อื นการด้าเนนิ งานป้องกนั และแก้ไขปัญหาการต้ังครรภใ์ นระดับพื้นทีใ่ หม้ คี วามย่ังยนื ต่อไป 5) จัดบริการสวัสดิการด้านอ่ืนๆ ในเวลาเดียวกัน การจัดสวัสดิการต่างๆส้าหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น หรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอดน้ัน จ้าเป็นต้องจัดสวัสดิการต่างๆให้มีการด้าเนินงานควบคู่กันไปในระดับต่างๆ คือ นโยบายด้านต่างๆ ของกระทรวง/กรม ท่ีเกี่ยวข้องในเป้าหมายร่วมกันอย่างบูรณาการ ระดับปฏิบัติการของ ภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องควรร่วมด้าเนินงานกันโดยค้านึงถึงประโยชน์สูงสุดของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและครอบครัว และ การพัฒนางานสังคมสงเคราะห์ในพ้ืนที่ท่ีมีการท้างานกับกลุ่มสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นซึ่งมักเป็นกลุ่มเปราะบางทางสังคม การท้างานแบบไร้รอยตอ่ กบั กลุม่ สตรตี งั้ ครรภว์ ัยรุ่นท้ังในและนอกระบบการศึกษา 6) การศึกษาและวิจัยในโอกาสต่อไป คือ การศึกษารูปแบบการท้างาน โดยใช้โรงเรียนหรือสถานศึกษา เป็นฐานในการพัฒนาอาชีพ และรายได้ เพ่ือพัฒนาความเข้มแข็งของครอบครัวเล้ียงเดี่ยววัยรุ่น กระบวนการมี ส่วนร่วมของผู้ปกครองของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและชุมชนในการพัฒนาการศึกษาเพ่ืออาชีพเสริมสร้างความมั่นคง ทางรายได้และคุณภาพชีวิตครอบครัวสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่น การส้ารวจสถานการณ์และปัญหาความยากล้าบากของ ครอบครัวสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นในสังคมไทยที่เป็นชุมชนเมือง กึ่งเมืองกึ่งชนบท และชนบท การทบทวนหลักสูตร การผลิตครูหรือบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือเสริมสร้างแนวคิดความเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็งแก่ผู้เรียน และการ ค้านงึ ถึงคณุ ค่าและศกั ดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ และแนวโนม้ งานสังคมสงเคราะห์กับปญั หาของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นท้ังใน และนอกระบบการศกึ ษา เปน็ ต้น
บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหาการวจิ ยั กรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) ซ่ึงเป็นกรอบการพัฒนาประเทศระยะยาวพร้อมกับ การปฏิรูปและการพัฒนาระบบและกลไกการบริหารราชการแผ่นดิน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้สามารถ นาไปสกู่ ารปฏิบตั อิ ยา่ งจริงจงั เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพของประเทศไทยและบรรเทาความรุนแรงของปัญหาทั้งด้านเศรษฐกิจ ความเหลื่อมลา้ ทุจรติ คอรปั ชัน่ และความขัดแย้งในสังคม รวมถงึ ความสามารถในการรับมือกับภัยคุกคามและ บริหารจดั การกบั ความเสย่ี งทจี่ ะเกดิ ขึ้นในอนาคต ซงึ่ จะทาให้ประเทศไทยสามารถดารงรักษาความเป็นชาติที่มี ความมั่นคงทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม และคนไทยในประเทศมีความอยู่ดีมีสุขอย่างถ้วนหน้า เพ่ือให้ บรรลุวิสัยทัศน์ คือ “ประเทศมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” หรือตามคติพจน์ประจาชาติ “ม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน” สาหรับ “ความมั่นคง” เป็นความปลอดภัยในทุก ระดบั และทกุ มิติ ท้ังในระดับประเทศ และระดับชุมชน โดยเน้นชุมชนเข้มแข็ง ครอบครัวอบอุ่น มีรายได้ มีที่อยู่ อาศยั และความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพย์สิน ซ่ึงสอดคล้องกับกรอบแนวทางการพัฒนายุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เป้าประสงค์เก่ียวกับการสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย รวมท้ัง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างและพัฒนา ศักยภาพทุนมนุษย์ และแผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ.2563 - 2565) ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความม่ันคงของมนุษย์ เร่ือง พัฒนาศักยภาพคน ครอบครัว ชุมชน ให้มีความเข้มแข็งและสร้างระบบที่เอ้ือต่อ การพฒั นาคนให้มีคุณภาพชวี ิตทีด่ ี กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ได้กาหนดนิยามศัพท์ “ครอบครัวเข้มแข็ง” หมายถึง บุคคลต้ังแต่ 2 คนข้นึ ไป ดาเนินชีวิตรว่ มกันอย่างมีจดุ หมายมสี ัมพนั ธภาพท่ดี ีต่อกนั สามารถดารงอยูไ่ ด้ด้วยการพ่ึงพาตนเอง พร้อมท่ีจะเกื้อกูลสังคมและคนรอบข้างปรับตัวได้ในสภาวการณ์ท่ีเปลี่ยนแปลงไม่สั่นคลอนกับปัญหาหรือ อุปสรรคเมือ่ เผชิญปัญหากส็ ามารถรว่ มกนั แก้ไขจนลลุ ่วงไปไดด้ ว้ ยดี โดยไดด้ าเนินการจัดเก็บข้อมูลสถานการณ์ ครอบครัวเข้มแข็งเพ่ือวิเคราะห์มาตรฐานของครอบครัว พบว่า ข้อมูลจัดเก็บสถานการณ์ครอบครัวทั่วประเทศ จานวน 59,439 ครัวเรือน เป็นครอบครัวเดี่ยว จานวน 50,184 ครัวเรือน ครอบครัวขยาย 8,034 ครัวเรือน และ ครอบครวั ลักษณะพิเศษ ไดแ้ ก่ ครอบครัวพ่อหรือแม่เล้ียงเด่ียว ผู้สูงอายุดูแลเด็กโดยลาพัง มีสมาชิกครอบครัว ท่ีอยู่ต่ากว่า 18 ปี ต้ังครรภ์ เป็นต้น จานวน 1,221 ครัวเรือน (รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ภาคตะวนั ออก 1 ไตรมาสท่ี 3 ปี 2562) ทัง้ นี้ครอบครัวเหล่านี้อาจจะมีองค์ประกอบและสภาวะของครอบครัว เหมือนหรือแตกต่างจากครอบครัวปกติทั่วไป องค์ประกอบของครอบครัวมีความบกพร่อง บุคคลท่ีควรทา หน้าท่ีหลักของครอบครัวขาดหายไป เหลือแต่สตรีผู้เป็นแม่หรือแม่วัยเยาว์ และผู้สูงอายุต้องทาหน้าที่เล้ียงดู ลกู หลาน หรอื ในสภาวการณย์ ุ่งยากซับซอ้ นของครอบครัวทมี่ ีเด็กพิการ หรือมีเด็กเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังหรือมี โรคประจาตัว ครอบครัวต้องประสบปัญหา เป็นอุปสรรคต่อการดารงชีวิต ส่งผลให้สถานภาพครอบครัว
2 ดังกล่าวต้องคลอนแคลน ไม่ม่ันคง ไม่สามารถทาหน้าท่ีตามบทบาทได้อย่างสมบูรณ์ทาให้ครอบครัวต้องใช้ ศักยภาพอยา่ งมากและพยายามเสริมสร้างศกั ยภาพสมาชิกของครอบครัวในการฝ่าวกิ ฤตและปัญหาท่ีเกิดขึ้นให้ ผ่านพน้ ไปได้ ครอบครัวจาเปน็ ต้องปรับเปล่ียนบทบาทและหน้าทใี่ หม่เพ่อื เตรียมรองรับกับการดูแลลูกหลานใน ระยะยาว ท้ังน้ีครอบครัวถือเป็นสถาบันที่สาคัญของสังคมไทย การส่งเสริมให้ครอบครัวรู้จักสร้างความรักให้แก่กัน รวมทั้งไดท้ าหน้าทใ่ี นการแกป้ ญั หา การสือ่ สาร รับผิดชอบตามบทบาทของตนเองในครอบครัว ตอบสนองทาง อารมณ์ของสมาชิกในครอบครัว แสดงออกถึงความผูกพันทางอารมณ์ และการควบคุมพฤติกรรมของสมาชิก ในครอบครัว จะเปน็ พลงั สร้างสังคมไทยให้มีความเข้มแข็งมั่นคง แต่ท่ีผ่านมาหลายครอบครัวประสบปัญหาต่าง ๆ มากมาย ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นปัญหาที่ส่งผลมาจากสภาพสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ท่ีมีการเปลี่ยนแปลง ทาให้ บางครอบครัวไม่สามารถทาหน้าท่ีได้อย่างเต็มที่ เพราะองค์ประกอบของครอบครัวมีความบกพร่อง บางครอบครัว ประสบปัญหาความยากลาบากในการดาเนินชีวิต บางครอบครัวมีอุปสรรคจนไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรหลานได้ ครอบครัวลักษณะพิเศษจึงมีความสาคัญย่ิงต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกในครอบครัวให้กลายเป็นคน ทมี่ ีคุณภาพต่อประเทศชาติ สภาพปัญหาและความตอ้ งการของครอบครัวลักษณะพิเศษมีความแตกต่างและมีความเฉพาะเจาะจง ตามสภาพปัญหาท่ีครอบครัวน้ันประสบ เช่น ครอบครัวพ่อแม่วัยรุ่น มีปัญหาความเครียดเนื่องจากต้ังครรภ์ ไม่พร้อม ต้องการคาปรึกษาและแนวทางเพ่ือแก้ไขปัญหา อย่างไรก็ตามครอบครัวลักษณะพิเศษ ทุกรูปแบบ ตอ้ งการการฟ้นื ฟูสภาพครอบครัวให้สามารถทาบทบาทของตนเองได้ในอนาคต และต้องการสวัสดิการสาหรับ ครอบครัวด้วย ท้ังน้ีปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนและมีความรุนแรงมากขึ้น มีผลกระทบต่อตัววัยรุ่นเองและต่อทารก มารดาวัยรุ่นมีความเส่ียงต่อภาวะครรภ์เป็นพิษ ภาวะเย่ือบุภายใน โพรงมดลูกอักเสบ และภาวะติดเชื้อหลังคลอดได้มากกว่าหญิงต้ังครรภ์ที่มีอายุ 20-24 ปี นอกจากนี้ทารกท่ี คลอดจากมารดาวัยรุ่นยังมีความเสี่ยงต่อน้าหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ การคลอดก่อนกาหนดและ ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรกเกดิ ที่รนุ แรงมากกว่าทารกท่ีคลอดจากมารดาท่ีมีอายุมากกว่า (WHO, 2015) การตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นยังส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจ วัยรุ่นท่ีต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์ส่งผลให้ถูกตีตราจากสังคม ถูกปฏิเสธ หรือได้รบั การกระทารุนแรงจากสามี วัยรุ่นหญิงท่ีตั้งครรภ์ก่อนอายุ 18 ปี มีแนวโน้มที่จะถูกกระทา รุนแรงจากคู่สมรสมากกว่า (Raj & Boehmer, 2013) นอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังทาให้วัยรุ่นหญิงต้อง ออกจากโรงเรียนกลางคันและยากที่จะกลับไปเรียนภายหลังคลอด ซ่ึงส่งผลกระทบต่ออนาคตการศึกษาและ โอกาสในการทางานของมารดาวัยรุ่น (WHO, 2015) ท้ังนี้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นส่วนหนึ่งมาจากปัจจัย ภายในจากการท่ีสมาชิกครอบครัวใช้ชีวิตที่รีบเร่ง การปล่อยให้วัยรุ่นอยู่กับสื่อออนไลน์และขาดทักษะ ภูมิคุ้มกันในการเลือกส่ือท่ีเหมาะสม บริบทครอบครัวไทยท่ีมองเรื่องการสอนเรื่องเพศศึกษาเป็นเร่ืองท่ีปกปิด ตลอดจนความรู้ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในวัยรุ่นของพ่อแม่ อีกท้ังปัจจัยภายนอกคือ สภาพแวดลอ้ ม ชมุ ชนท่มี ีการแพร่ระบาดของยาเสพติด และกลุ่มเพื่อนที่เป็นพ่อแม่วัยรุ่น และส่ือออนไลน์ เช่น ทีวี และอินเทอร์เน็ตท่ีมีการเผยแพร่รูปภาพท่ีไม่เหมาะสม สื่อลามกต่าง ๆ โดยพื้นที่กลุ่มจังหวัด 4 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด เป็นพื้นท่ีท่ีมีสถานการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยมีจานวนทารกที่ คลอดจากมารดา วัยรุ่นไทย จาแนกตามอายุมารดา พ.ศ.2560 จานวนท้ังส้ิน 3,787 ราย (ที่มาข้อมูลสถิติ :
3 รายงานสถานการณท์ างสังคมกลุ่มจงั หวัดภาคตะวันออก ไตรมาส 1 ปี 62 (สสว.3)) จากสถานการณ์ปัญหาใน ปัจจุบันและผลกระทบท้ังในระดับบุคคลและสังคม สะท้อนถึงความจาเป็นเร่งด่วนท่ีจะต้องศึกษาสถานการณ์ ของการให้บรกิ ารครอบครัวทมี่ ีลกั ษณะพเิ ศษนี้ จากสถานการณ์ท้อง แท้ง ทิ้ง รวมท้ังการตั้งครรภ์ซ้า ทาให้ทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องต้องทบทวนการ จัดสวัสดกิ ารสาหรบั สตรตี ้ังครรภ์วยั รุ่นและมารดาวยั รุ่นอีกครั้ง ซ่ึงท่ีผา่ นมาสวัสดิการสาหรบั สตรีต้งั ครรภ์วัยรุ่น และมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่อยู่ในรูปแบบสวัสดิการถ้วนหน้า ซ่ึงสวัสดิการท่ีสาคัญหลัก คือสวัสดิการทางด้าน สุขภาพ และด้านการศึกษา ส่วนสวัสดิการลักษณะเฉพาะสาหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นยังมีไม่ มากนกั สว่ นหนึ่งเป็นสวัสดิการท่ีรวมกลุ่มอยู่กับสวัสดิการครอบครัวและเด็ก ตอบสนองความต้องการพ้ืนฐาน ซ่ึงเป็นสวัสดิการท่ีหน่วยงานจัดเพื่อกลุ่มเป้าหมายใดเป้าหมายหน่ึงตามนโยบายเท่านั้น ส่วนการเข้าถึง สวสั ดกิ ารและการบริการท่ีผ่านมายังคงมีข้อจากัดจากความไม่รู้ของตัวสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นเอง ประกอบกับสวัสดิการท่ีไม่เอ้ือต่อการเข้าถึงทัศนคติของผู้ให้บริการยังมองสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่น ในเชิงตาหนิ ทาให้สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นไม่รู้สึกไว้วางใจ รวมทั้งการจัดสวัสดิการและการ ให้บริการยังขาดความต่อเนื่อง ส่ิงเหล่าน้ีมีความสาคัญต่อการจัดสวัสดิการสาหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและ มารดาวัยรุ่น ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไข และไม่มีแนวทางการจัดสวัสดิการอย่างเป็นจริง สถานการณ์สตรี ต้ังครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นก็จะกลายปัญหาสังคมท่ียืดเย้ือยาวนานและบานปลาย ส่งผลต่อการพัฒนา ประเทศในระยะยาว (กรมอนามัย, 2557 ; กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง และคณะ, 2557) ดังน้ัน ประเทศไทยควรค้นหา แนวทางการจัดสวัสดิการสาหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นอย่างเป็นจริง ซ่ึงแนวทางดังกล่าวควรมา จากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ที่ผ่านมาจะเห็นว่าภาครัฐพยายามระดมสมองและดึงการมีส่วน รว่ มจากทุกภาคส่วนเพอ่ื หาแนวทางการจดั สวสั ดิการสาหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นร่วมกนั ในการนี้สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2 เล็งเห็นความสาคัญของปัญหาและโอกาสในการ พัฒนาแนวทางการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมสาหรับสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่น จึงศึกษาสถานการณ์ ปัจจุบันและการจัดสวัสดิการสาหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่น ศึกษาปัญหาความต้องการการจัด สวสั ดิการ และพฒั นาแนวทางหรอื รูปแบบการให้บริการท่ีเหมาะสมสาหรับสตรตี ้งั ครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่น เพอ่ื เปน็ นโยบายให้หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งตอ่ ไป
4 1.2 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย (Conceptual Framework) สถานการณ์ปจั จบุ ันของวัยรนุ่ ตง้ั ครรภ์และ แนวทางการจัดสวสั ดกิ ารทเ่ี หมาะสม การจดั สวัสดกิ ารสาหรับกลุ่มเปา้ หมาย สาหรับกลุ่มเป้าหมายตั้งครรภ์ในวยั ร่นุ ตง้ั ครรภ์ในวัยรนุ่ ขอ้ มลู ดา้ นการศึกษา ข้อมลู ด้านครอบครัวและการเล้ียงดบู ุตร ข้อมลู ด้านภาวะการมีงานทา และรายได้ ขอ้ มลู ด้านความรู้เรื่องการคุมกาเนดิ ปญั หาการจัดสวสั ดิการทีเ่ หมาะสมและความ ตอ้ งการการจัดสวัสดกิ ารทเ่ี หมาะสม - ความตอ้ งการการจัดสวัสดิการ ไดแ้ ก่ การศึกษา , สุขภาพอนามัย , ท่อี ยู่อาศัย , การ ทางานและการมีรายได้ , นันทนาการ, กระบวนการยุตธิ รรม , บริการทางสังคมท่วั ไป 1.3 วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั (Objectives) 1. เพอ่ื ศึกษาสถานการณ์ปัจจุบนั และลักษณะการจดั สวสั ดกิ ารสาหรบั กล่มุ เป้าหมายต้ังครรภใ์ นวัยรุ่น 2. เพื่อศึกษาปัญหาและความตอ้ งการการจดั สวัสดิการทเี่ หมาะสมสาหรับกลมุ่ เปา้ หมายต้งั ครรภ์ในวยั รุ่น 3. เพ่อื กาหนดแนวทางการจัดสวัสดิการทีเ่ หมาะสมสาหรบั กล่มุ เป้าหมายตั้งครรภ์ในวัยรนุ่ 1.4 คาถามการวจิ ัย 1. สถานการณป์ ัจจุบนั และการจดั สวสั ดิการสาหรับกลุ่มเปา้ หมายต้ังครรภใ์ นวัยรนุ่ มีลกั ษณะอย่างไร 2. ปญั หาและความต้องการการจดั สวัสดกิ ารที่เหมาะสมสาหรบั กลุม่ เปา้ หมายตั้งครรภใ์ นวัยร่นุ เป็นอย่างไร 3. แนวทางการจดั สวัสดิการที่เหมาะสมสาหรบั กลมุ่ เปา้ หมายต้งั ครรภ์ในวัยรุ่นเป็นอย่างไร
5 1.5 นยิ ามศัพท์เฉพาะ (Definition of Terms) วัยรุ่น หมายถึง ผู้ที่มีอายุ 10 - 19 ปี และมีลักษณะ 3 ประการ คือ มีพัฒนาการทางร่างกาย โดยมี วุฒิภาวะทางเพศ มีพัฒนาการทางจิตใจ โดยมีการเปล่ียนแปลงจากเด็กไปสู่วัยผู้ใหญ่ และมีการเปล่ียนแปลง สภาวะทางเศรษฐกิจ จากการที่ต้องพึ่งพาครอบครัวมาเป็นบุคคลที่สามารถ ประกอบอาชีพหารายได้ด้วย ตนเอง การตัง้ ครรภใ์ นวยั รุน่ หมายถึง การต้ังครรภ์ในแมท่ ี่มอี ายุ 19 ปี หรือนอ้ ยกวา่ ครอบครัวลักษณะพเิ ศษทม่ี ีกลุ่มเป้าหมายตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หมายถึง ครอบครัวท่ีไม่มีความสมบูรณ์ หรือประสบปัญหาความยากลาบาก อย่างใดอย่างหน่ึงในการดาเนินชีวิตครอบครัว ครอบครัวเหล่านี้อาจจะมี องค์ประกอบและสภาวะของครอบครัวเหมือนหรือแตกต่างจากครอบครัวปกติทั่วไป แต่องค์ประกอบของ ครอบครัวนนั้ มีความบกพร่อง ระบบย่อยไม่สามารถทาบทบาทของตนเองได้ หรือระบบย่อยที่ต้องทาบทบาท ของตนเอง ขาดหายไป สวัสดิการสังคม หมายถึง ระบบการจัดบริการทางสังคมซึ่งเกี่ยวกับการป้องกัน การแก้ไขปัญหา การพัฒนา และการสง่ เสริมความมน่ั คงทางสงั คมเพือ่ ตอบสนองความจาเป็นขั้นพ้ืนฐานของประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และการพ่ึงตนเองได้อย่างท่ัวถึง เหมาะสม และเป็นธรรม และให้เป็นไปตามมาตรฐานทั้งทางด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยู่อาศัย การทางานและการมีรายได้ นันทนาการ กระบวนการยุติธรรมและบริการสังคม ท่ัวไป โดยคานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์สิทธิประชาชนจะต้องได้รับและการมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการ สังคมทกุ ระดับ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2547: 201-202) 1.6 ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ (Expected Benefits) 1. แนวทางในการจดั สวสั ดิการสาหรบั สตรตี ง้ั ครรภ์วัยรนุ่ และมารดาวัยรุ่นหลังคลอด 2. แนวทางการดแู ลหรือให้บรกิ ารสตรตี ้ังครรภว์ ัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นหลงั คลอดแบบครบวงจรและอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม แนวทางการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมสาหรับกลุ่มเปูาหมายต้ังครรภ์ในวัยรุ่น มีทฤษฎีและงานวิจัยที่ เกย่ี วขอ้ ง ดงั น้ี 2.1 ความหมายของวัยรนุ่ และพฒั นาการตามวัย 2.2 ทฤษฎที เ่ี ก่ยี วข้องกับวยั รุ่นและพฒั นาการ 2.3 แนวคดิ เกย่ี วกบั การตง้ั ครรภใ์ นวัยร่นุ 2.4 กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกบั การตัง้ ครรภ์ในวยั รุ่น 2.5 ทฤษฎเี กีย่ วกับครอบครวั 2.6 แนวคิดเกย่ี วกับการจัดสวสั ดิการสังคม 2.7 งานวิจัยทเี่ กีย่ วขอ้ ง 2.1 ความหมายของวัยรนุ่ และพฒั นาการตามวยั วยั รุน่ เป็นการเปลีย่ นผ่านจากวยั เดก็ ไปสู่วัยผใู้ หญ่ เปน็ ช่วงเวลาท่มี ีการเปล่ยี นแปลงทางรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคมอย่างรวดเร็ว ตามคาจากัดความขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) “วัยร่นุ ” หมายถึง บคุ คลทมี่ ีอายรุ ะหว่าง 10-19 ปี แบ่งย่อยออกเป็น 3 ช่วงอายุ ได้แก่ วัยรุ่นตอนต้น อายุ 10 -14 ปี วัยรุน่ ตอนกลาง อายุ 15 -17 ปี และวัยรุ่นตอนปลาย อายุ 18 -19 ปี (Sawyer et., 2018) พัฒนาการทางกายของวัยร่นุ วยั รนุ่ เปน็ ระยะเวลาทร่ี ่างกายมีการเจรญิ เติบโต มีการเพ่ิมของความสูงและนา้ หนักอย่างรวดเรว็ และมกี ารเปลย่ี นแปลง ทางร่างกายอยา่ งมาก (พิมพาภรณ์ กลั่นกล่ิน, 2555) ได้แก่ กระดูกมีการเจริญเติบโตอย่างเห็นได้ชัด เช่น กระดูกแขน ขา และไหล่ ซ่ึงเป็นผลมาจากการทางานของฮอร์โมน Testosterone ในเพศชายและ Estrogen ในเพศหญิง มือและ เท้าเจริญเติบโตเร็วกว่าอวัยวะอ่ืนจึงทาให้ดูมือเท้าใหญ่ แขนขาเจริญเติบโตเร็วกว่าลาตัว จึงทาให้ดูเก้งก้างแต่มี กล้ามเนื้อที่แข็งแรง การเปลี่ยนแปลงของความสูงเกิดขึ้นรวดเร็วในช่วงระยะเวลา 2-3 ปี ทั้งนี้กระดูกจะ เจริญเติบโตจนถึงอายุ 25 ปี โดยการเปล่ียนแปลงของความสูงในเพศหญิงเกิดขึ้นเร็วกว่าเพศชาย สัดส่วน ศีรษะและใบหน้าวัยรุ่นจะมีลักษณะรูปหน้าที่ยาวและใหญ่ขึ้น แต่ถ้าเทียบกับลาตัว สัดส่วนใบหน้าเล็กลง คอ จะขยายออกกลอ่ งเสียงและหลอดเสยี งโตขน้ึ ทาให้เสียงเปล่ียนไป การเปล่ียนแปลงของผิวหนัง ฮอร์โมนเพศทาให้มีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง โดยวัยรุ่นหญิงจะมี ผิวหนังท่ีอ่อนนุ่ม เรียบ และหนาขึ้น มีเส้นเลือดมากข้ึน วัยรุ่นชายมีผิวหนังหนาและสีเข้มขึ้น เม่ือเข้าสู่วัยรุ่น ต่อมเหง่ือทางานเพิ่มขึ้น ทาให้มเี หงอ่ื มาก เกดิ เป็นสิว มีกลิ่นตวั การทางานของสมอง มีการพัฒนาของสมองส่วน Cerebral cortex ที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการคิดและ การใช้เหตุผล ซึ่งจะพัฒนาจนถึงอายุ 20 - 25 ปี ทาให้การคิดของวัยรุ่นยังไม่สมบูรณ์ สมองส่วน Limbic ที่ทางาน ดา้ นการควบคมุ อารมณย์ ังไม่สมบรู ณ์ ทาให้วยั รนุ่ ตัดสินใจโดยใชอ้ ารมณ์เหนือเหตุผล
7 การเปล่ยี นแปลงทางเพศของวัยรุ่น: จะมี 2 ลักษณะได้แก่ Primary sex characteristics หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะภายในและภายนอกที่ทาหน้าที่สืบพันธุ์ เช่น การเจริญเติบโตของรังไข่ มดลูก เต้านม หรือองคชาต และ Secondary sex characteristics หมายถึง การเปล่ียนแปลงของทุกระบบในร่างกายอัน เป็นผลมาจากการเปลย่ี นแปลงฮอร์โมน เช่น เสียงแตก การเปลี่ยนแปลงของใบหน้า การมีขนบริเวณหัวหน่าว และการสะสมของไขมันบริเวณส่วนตา่ งๆของรา่ งกาย การเข้าสู่วัยเจริญพันธ์ุเกิดจากการกระตุ้นของ hypothalamic pituitary gonadol (HPG) axis ทาให้มีการหล่ัง gonadotropin releasing hormone (GnRH) จาก hypothalamus มากระตุ้นเซลล์ gonadotropin ท่ีต่อมใต้สมอง ส่วนหน้า ทาให้มีการหล่ัง Lutinizing hormone (LH) และ Follicular-stimulating hormone (FSH) ซ่ึงจะกระตุ้น ต่อมเพศ คือ รังไข่ในเพศหญิงให้มีการหลั่งฮอร์โมนเอสโตรเจน และกระตุ้นอัณฑะในเพศชายทาให้มีการหล่ัง ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน และทาให้เกิดการเปล่ียนแปลง secondary sexual development ตามเพศ เด็กหญิงจะ เข้าสู่วัยเจริญพันธ์ุเม่ืออายุ 8-13 ปี ลาดับข้ันของ secondary sexual development ได้แก่ เด็กหญิงจะมีเต้านม เป็นอย่างแรก พร้อมๆกับมีอัตราการเพิ่มของความสูงเพิ่มขึ้น ซ่ึงอัตราการเพ่ิมของความสูงสูงสุด (Growth spurt) เกดิ ขึ้นภายใน 6-9 เดือนหลังมีเต้านม หลังจากนั้นจะมีขนหัวหน่าว และมีประจาเดือนตามมาภายใน 2 ปีหลังเริ่มมี เต้านม สาหรับเด็กชายจะเริ่มมี secondary sexual development เมื่ออายุ 9 -14 ปี การเปล่ียนแปลงอย่างแรก คือขนาดอัณฑะใหญ่ขึ้น แล้วจึงมีการขยายขององคชาต ต่อมาจึงมีขนหัวหน่าว เด็กชายจะมีอัตราการเพ่ิมความสูง สูงสุดช้ากว่าในเด็กหญิง โดยอัตราการเพิ่มความสูงสูงสุดเมื่ออัณฑะมีขนาด 10-12 มล. และจะเร่ิมสังเกตเห็นเสียง เปล่ียนในเด็กชาย เมอ่ื อัณฑะมีขนาด 8 มล. การเปลยี่ นแปลงทางเพศสามารถประเมนิ ได้จาก Tanner stages พัฒนาโดย Dr. J.M. Tanner (Rodgers, 2017) ซึ่งอธิบายขั้นของการเข้าสู่วัยเจริญพันธ์ 5 ขั้น โดยใช้ลักษณะของขนบริเวณอวัยวะเพศ การเปล่ียนแปลงของ เต้านมในเพศหญิง การเปล่ียนแปลงของอัณฑะและองคชาตในเพศชาย (กรมิกา วินิจกุล, 2559) มีรายละเอียด ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) Pubic hair stage แบ่งระดับการเปลี่ยนแปลงของขนบรเิ วณหัวหนา่ ว (pubic hair) เป็น 5 ระดับ ดงั นี้ Stage 1 กอ่ นเขา้ สู่วยั ร่นุ (preadolescence) ยงั ไม่มี pubic hair Stage 2 เรมิ่ มขี นเสน้ บางตรง สีจาง จานวนเลก็ น้อย บรเิ วณโคนองคชาตหรือ labia majora Stage 3 ขนเสน้ หนาขึ้น สเี ขม้ ขึ้น จานวนมากข้นึ เร่ิมขดงอ Stage 4 ขนเสน้ หนา ขดงอมากขึ้น แตป่ กคลมุ ผวิ หนังบริเวณหัวหน่าวเทา่ น้ัน Stage 5 ขนมีลักษณะเชน่ เดยี วกนั กบั ทพ่ี บในวัยผใู้ หญ่ 2) Breast stage แบ่งระดับการเปลย่ี นแปลงของเตา้ นมในเพศหญิง เปน็ 5 ระดับ ดังน้ี Stage 1 ก่อนเข้าสวู่ ยั รุน่ (preadolescence) ยังไม่มกี ารพฒั นาของ breast tissue Stage 2 เรมิ่ มี breast bud คลาไดเ้ ป็นไต Stage 3 เตา้ นมและบรเิ วณลานหวั นม (areola) โตเห็นได้ชัด เป็นลอนเดียวเมื่อดดู า้ นข้าง Stage 4 มกี ารเพ่มิ ขนาดเตา้ นมและมีการขยายตัวบริเวณลานนม ทาใหเ้ หน็ เป็น 2 ลอนเมอ่ื ดดู ้านขา้ ง
8 Stage 5 mature stage มีการยื่นของ papila อย่างเห็นได้ชัด ส่วนลานหัวนมยุบตัวลง กลมกลืน กบั เตา้ นมซึ่งมขี นาดโตขึ้น มลี ักษณะเช่นเดยี วกนั กบั ที่พบในวัยผูใ้ หญ่ 3) Genital stage แบง่ ระดบั การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะสบื พันธเ์ุ พศชาย เป็น 5 ระดบั ดังน้ี Stage 1 อวัยวะเพศภายนอกยงั ไมม่ ีการเปล่ียนแปลงใดๆ (preadolescence) Stage 2 เริม่ มีการเพิ่มขนาดของอณั ฑะ โดยเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางแกนยาวของอัณฑะเท่ากับ 2.5 ชม. ถงุ อณั ฑะบางตัวลง ขนาดองคชาตยังไม่มีการเปลยี่ นแปลง Stage 3 อัณฑะโตข้นึ การเปล่ยี นแปลงของถุงอัณฑะมากขนึ้ องคชาตเร่มิ ยาวขน้ึ Stage 4 องคชาตเพิ่มขนาดทัง้ ความยาวความกวา้ ง อย่างเหน็ ไดช้ ดั ถงุ อัณฑะมสี คี ล้าข้ึน Stage 5 อวยั วะเพศภายนอกมีลกั ษณะที่พบไดใ้ นวยั ผใู้ หญ่ จะเห็นได้วา่ มกี ารเจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเร็วในช่วงวัยรุ่น ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากและเห็น ลักษณะเฉพาะของเพศตนเองชัดเจนข้ึน โดยแต่ละคนจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่แตกต่างกัน บางคนการ เจริญเติบโตจะเกิดข้ึนอย่างสม่าเสมอ ในขณะท่ีบางคนจะดูเติบโตเร็วในช่วงแรก หรือมาเติบโตอย่างรวดเร็ว ในช่วงหลังอันเป็นผลมาจาก ความแตกต่างของเพศ เชื้อชาติ กรรมพันธุ์ อาหารและการออกกาลังกาย ตลอดจนสภาพสงั คม เศรษฐกจิ และวฒั นธรรม 2.2 ทฤษฎที เ่ี ก่ียวข้องกับวยั รุน่ และพฒั นาการ ทฤษฎที ีเ่ กยี่ วข้องกับวัยรุน่ และพัฒนาการ มดี งั น้ี ทฤษฎีพัฒนาการทางสตปิ ัญญา โดย Jean Piaget ศาสตราจารย์ชาวสวิสเซอร์แลนด์ ได้เสนอทฤษฎี ว่าด้วยการปรับตัวและสร้างบุคลิกภาพของเด็ก แพร่หลายในยุโรปตั้งแต่ ปี 1930 และเริ่มมาแพร่หลายใน สหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี 1960 เป็นต้นมา เป็นทฤษฎีท่ีศึกษาถึงกระบวนการคิดทางด้านสติปัญญาของเด็กต้ังแต่ แรกเกดิ จนถงึ วัยร่นุ และถกู นามาอธิบายพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญาของเดก็ ตามทฤษฎพี ัฒนาการทางสติปัญญา ของ Piaget วัยรุ่นอยู่ในระยะท่ีเร่ิมมีการเข้าใจถึงส่ิงท่ีเป็นนามธรรมมากขึ้น (formal operational stage) จากเดิม ท่ีเคยเข้าใจเพียงระดับรูปธรรมในวัยเด็ก (concrete operational stage) วัยรุ่นจะเร่ิมเข้าใจเก่ียวกับความรู้สึก ความดงี ามหรือจรยิ ธรรมมากขน้ึ ในบางครง้ั วยั รุ่นเกดิ ความสับสนเนอื่ งจากตีความถงึ ความรู้สึกของคนรอบข้าง มากเกนิ ไป ทาให้คดิ วา่ คนอนื่ สนใจหรอื จ้องมองตวั เองอย่เู สมอ วยั รุน่ ตอนตน้ (11-14ปี) ยังคงมคี วามคิดเป็นรปู ธรรมมากกว่านามธรรม มองอนาคตแบบอุดมคติ ยังมี การเพ้อฝันหรือจินตนาการแบบเด็กยังไม่มีการใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและอาจยังไม่เข้าใจผลกระทบ จากการตดั สินใจของตนเอง การรับรู้จากส่ือต่างๆ ทั้งในเรื่องทางเพศ ความรุนแรง การใช้สารเสพติด สามารถมี อทิ ธพิ ลต่อพฤตกิ รรมเสี่ยงต่อเดก็ วัยรนุ่ ตอนตน้ ไดม้ ากกว่าวยั อนื่ ๆ วัยรุ่นตอนกลาง (15-17 ปี) เร่ิมมีความคิดเป็นนามธรรมมากขึ้น สามารถคิดวิเคราะห์โดยมีเหตุผล ประกอบ แต่อาจมีการใช้อารมณ์ในการตัดสินใจบ้าง เริ่มเข้าใจและยอมรับผลของการกระทาของตนเอง รู้จัก เข้าใจผอู้ น่ื และสามารถมองเหตุการณ์ตามความเปน็ จริง
9 วยั รุน่ ตอนปลาย (18-21 ปี) สามารถคิด วเิ คราะหต์ ัดสนิ ใจโดยใชเ้ หตุผลมากขนึ้ มีความเขา้ ใจศีลธรรม จริยธรรม มีจดุ ยืนของตนเอง การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาในเด็กวัยรุน่ มคี วามต่อเนอ่ื งมาจากเด็กวยั เรียน ควรเปิดโอกาสให้ วัยรุ่นเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ที่หลากหลาย ฝึกการแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบด้านการเรียน รวมท้ังวางแผนการเรียนด้วยตัวเองมากขึ้น อย่างไรก็ตามผู้เลี้ยงดูควรรับรู้และเป็นท่ีปรึกษาเก่ียวกับการเรียน การทากิจกรรม การวางแผนการทางานในอนาคต ทฤษฎีจิตสังคมของ Ericson โดย Eric H. Erickson นักจิตวิเคราะห์ชาวเยอรมัน ได้อธิบายว่าบุคลิกภาพ ของบุคคลเปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลาต้ังแต่เกิดจนตาย ข้ึนอยู่กับสังคมที่บุคคลน้ันเก่ียวข้องด้วย บุคคลจึงมี บุคลิกภาพ 2 แบบ แบบแรกเกิดข้นึ เมอื่ บคุ คลสามารถแก้ไขความขดั แย้งทางจติ สังคมได้ น่ันคือบุคลิกภาพท่ีพึง ปรารถนา (strong ego) และแบบท่ีสองเป็นบุคลิกภาพท่ีเป็นปัญหา (weak ego) เกิดข้ึนเม่ือบุคคลน้ันไม่ สามารถแก้ไขความขัดแย้งทางจิตสังคมได้ ทฤษฎีของ Ericson ถูกนามาใช้อธิบายพัฒนาการด้านอารมณ์และ สังคม ซ่ึงหมายถึง ความสามารถในการรับรู้และเข้าใจอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น รวมถึงการมีความสามารถ ในการควบคุมการแสดงออกทางอารมณ์ มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น สร้างและรักษาสัมพันธภาพได้อย่าง เหมาะสม พัฒนาการด้านอารมณ์และสังคมข้ึนอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ปัจจัยทางชีวภาพ สิ่งแวดล้อม การเล้ียงดู พันธุกรรม รวมถึงพื้นอารมณ์ของเด็ก (กลุ่มเล้ียงง่าย, กลุ่มเล้ียงยาก และกลุ่มปรับตัวช้า) เป็นต้น ตามทฤษฎี พัฒนาการของ Erikson ซึ่งให้ความสาคัญของปัจจัยทางสังคมและส่ิงแวดล้อมในการพัฒนาทางด้านจิตใจ ในวัยรุ่น ตอนตน้ จะมลี กั ษณะเป็นการเริ่มต้นความรู้สึกแข่งขันและแสวงหาความม่ันใจในกิจกรรมต่างๆ (sense of industry) หากผู้ปกครองหรอื คนรอบขา้ งไม่ได้สร้างบรรยากาศท่สี ง่ เสริมการเรยี นรู้ มกี ารตาหนิลงโทษ เด็กจะรู้สึกด้อยค่า สู้ผู้อ่ืนไม่ได้ (sense of inferiority) ในวัยรุ่นตอนกลางขึ้นไป เด็กจะแสวงหาส่ิงที่บ่งบอกความเป็นตนเองหรือ การแสวงหาอัตลักษณ์ (sense of identity) และเริ่มสร้างความสัมพันธ์อย่างลึกซ้ึงมากข้ึน และมีการสร้าง ความสมั พันธก์ บั เพศตรงข้าม (Intimacy) การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และสังคม (จุฑามาส วรโชติกาจร, 2556) สาหรับวัยรุ่นตอนต้น ควรซักถามในประเด็น ความสัมพันธ์ในครอบครัว การเรียนและกิจกรรมนอกหลักสูตรความวิตกกังวล ความเครียดและการจัดการกับปัญหา และพฤติกรรมการคบเพ่ือนต่างเพศ การสูบบุหร่ีและการใช้สารเสพติด คาแนะนาทคี่ วรใหแ้ ก่ผปู้ กครอง มีดงั น้ี 1. ผู้ปกครองควรรจู้ กั เพอื่ นของลกู และพูดคุยกบั ลูกเร่ืองการเลือกคบเพื่อน 2. ส่งเสริมใหเ้ ดก็ เข้ารว่ มกจิ กรรมหรอื สโมสรท่ตี นสนใจ 3. ยา้ ให้เดก็ ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของการเรยี น 4. ชมเชยเมอื่ เด็กมีความพยายามตั้งใจเรยี น 5. กระต้นุ ใหเ้ ดก็ ได้คดิ แกไ้ ขปญั หา ดีกวา่ การบอกวิธีแก้ปญั หาแกเ่ ดก็ 6. ห้ามสูบบุหรี่ ด่ืมเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์ และการใช้สารเสพติด รวมถึงสอนเด็กรู้จักปฏิเสธอย่าง ชดั เจนและจริงจัง 7. สอนเรือ่ งการปรบั ตวั เข้าสวู่ ัยรนุ่ และการปฏิบัติตวั อย่างเหมาะสมกบั เพ่ือนต่างเพศ
10 สาหรับวัยรุ่นตอนกลางและตอนปลาย ควรซักถามในประเด็น ดังนี้ ความสัมพันธ์ในครอบครัว การเรียนและกจิ กรรมนอกหลักสูตร ความวิตกกังวล ความเครยี ดและการจัดการกับปัญหา และพฤติกรรมการ คบเพื่อนตา่ งเพศ การสบู บุหร่ีและการใชส้ ารเสพตดิ คาแนะนาที่ควรใหแ้ ก่ผู้ปกครอง มีดงั นี้ 1. พดู คยุ เรื่องแผนงานในอนาคต เชน่ การเรยี นต่อหรือการหางานทา 2. ส่งเสรมิ ให้เดก็ เขา้ รว่ มกิจกรรมหรือสโมสรท่ตี นสนใจ 3. ยา้ ใหเ้ ดก็ ตระหนักถึงความสาคัญของการเรียน 4. ชมเชยเม่อื เดก็ มีความพยายามตง้ั ใจเรยี น 5. กระต้นุ ให้เดก็ ได้คิดแกไ้ ขปัญหา ดกี ว่าการบอกวธิ ีแก้ปัญหาแก่เดก็ 6. ห้ามสูบบหุ รี่ ดม่ื เคร่อื งดมื่ ท่มี แี อลกอฮอล์ และการใชส้ ารเสพตดิ รวมถงึ สอนใหเ้ ด็กร้จู ักปฏิเสธอย่าง ชัดเจนและจรงิ จงั 7. สอนเรอื่ งการปรับตัวเขา้ สู่วัยรุน่ และการปฏิบัตติ ัวอยา่ งเหมาะสมกบั เพ่ือนตา่ งเพศ ทฤษฏพี ัฒนาการทางจริยธรรมของ Kohlberg (Kohlberg’s Levels and Stages of Moral Development) โดย Lawrence Kolberg นักจิตวิทยาชาวเมริกัน ซึ่งมีความสนใจในทฤษฎีของ Piaget ก่อนจะเริ่มทาการสัมภาษณ์ เดก็ และวยั รุ่นในประเดน็ เก่ียวกับจริยธรรม สาระสาคัญของทฤษฎี ประกอบดว้ ย 1. การให้เหตุผลเชิงจริยธรรม ซ่ึงหมายถึงการที่บุคคลใช้เหตุผลในการตัดสินใจท่ีจะเลือกที่จะกระทา หรือเลอื กทีจ่ ะไมก่ ราพฤตกิ รรมอย่างใดอยา่ งหนึง่ 2. การมีเหตุผลเชิงจริยธรรมของบุคคลในแต่ละข้ันของพัฒนาการจะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับระดับ ความรู้คดิ ของบคุ คลน้นั และ 3. พัฒนาการทางจรยิ ธรรม ถูกกาหนดเป็นระดับและขั้นตอนที่เป็นสากล ซ่ึงแบ่งเป็น 3 ระดับ 6 ขั้น ได้แก่ 1.ระดับก่อนเกณฑ์ (Preconventional level) 2.ระดับตามเกณฑ์และประเพณีนิยม (Conventional level) และ 3.ระดบั มจี รยิ ธรรมของตนเอง (Postconventional level) ตามแนวคิดทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของ Kohlberg วยั ร่นุ อย่ใู นระดับ conventional level อธบิ ายเป็นข้นั ตั้งแต่ข้นั ท่ี 4 - 6 (พงษศ์ ักด์ิ นอ้ ยพยคั ฆ์, 2556) ได้ดงั นี้ ขั้นที่ 4 (10-15 ปี) Social- Order-Maintenance Orientation ความเข้าใจเกี่ยวกับถูกหรือผิด: เด็กวัยนี้จะปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเต็มใจเพื่อให้ได้รับการยอมรับจากสังคม เหตุผลในการกระทาสิ่งท่ีถูก: เช่อื วา่ กฎระเบยี บทาให้สงั คมดารงอยไู่ ด้และควรปฏิบตั ติ าม มุมมองทางสังคม: เห็นแก่สังคมท่ีใหญ่ขึ้น โดยเชื่อ วา่ ตนเปน็ สว่ นหน่ึงของสังคมใหญ่ ขั้นที่ 5 (12 ปีข้ึนไป) Social Contract Orientation ความเข้าใจเกี่ยวกับถูกหรือผิด: คุณธรรมใน สังคมมาจากบรรทัดฐานของคนส่วนใหญ่ โดยระเบียบมาจากความคิดเห็นร่วมกันเพื่อให้เกิดความยุติธรรมใน การอยู่ร่วมกัน อย่างไรก็ตามวัยนี้เข้าใจว่า ค่านิยมของสังคมอาจขึ้นกับบริบท โดยไม่จาเป็นต้องปฏิบัติตาม เสียงส่วนใหญ่ เหตุผลในการกระทาส่ิงที่ถูก: เชื่อว่าการทาดีจะได้รับผลดีตอบแทน และวัยนี้ปฏิบัติตาม กฎหมายเพ่ือให้สังคมดารงอยู่ได้ภายใต้สิทธิท่ีเท่าเทียมกัน มุมมองทางสังคม: รับรู้ถึงความขัดแย้งระหว่าง คุณธรรมและกฎระเบียบของสงั คม ใหค้ วามสาคญั กบั คา่ นยิ มของสงั คมและสิทธผิ ู้คนมากกว่ากฎระเบียบ
11 ขัน้ ท่ี 6 Universal-Ethical-Principal Orientation ความเขา้ ใจเกยี่ วกับถกู หรอื ผิด: ถูกหรือผิดข้ึนอยู่ กับหลักจริยธรรมส่วนบุคคลซึ่งได้รับการยอมรับกว้างขวางในสังคม เมื่อมีการกระทาผิดกฎหมายยึดหลัก จรยิ ธรรมในการตดั สินร่วมด้วย เหตุผลในการกระทาสิ่งที่ถูก: เชื่อและปฏิบัติตามความถูกต้องของคุณธรรมซ่ึง เป็นท่ียอมรับอย่างกว้างขวางในสังคม มุมมองทางสังคม:ให้ความสาคัญกับความเท่าเทียมและให้เกียรติผู้อ่ืน อยา่ งเทา่ เทยี มกัน การส่งเสริมพัฒนาการด้านจริยธรรมสาหรับวัยรุ่น (พงษ์ศักด์ิ น้อยพยัคฆ์, 2556) วัยรุ่นตอนต้นจะมี egocentrism กลับมาเหมือนในช่วงวัยก่อนเรียนอีกคร้ัง ช่วงน้ีเรียกว่า adolescent egocentrism วัยรุ่นช่วงนี้มี ความคิดเปน็ ของตัวเองและคดิ ว่าคนอื่นโดยเฉพาะผู้ใหญไ่ มเ่ ข้าใจความคิดของตนเอง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง ผู้ปกครองและวัยรุ่นมีความสาคัญอย่างมากต่อการยอมรับผู้ปกครองของวัยรุ่น ซ่ึงมีผลต่อการสร้างเสริม คุณธรรมจริยธรรม การใช้เหตุผลเป็นวิธีหลักของการสร้างเสริมคุณธรรมให้กับวัยรุ่นตอนตันและวัยรุ่น ตอนกลาง ส่วนการส่งเสริมคุณธรรมให้กับวัยรุ่นตอนปลายต้องให้วัยรุ่นได้มีกิจกรรมจริง รวมถึงมีบทบาทคิด วางแผนในกจิ กรรมเหล่าน้นั รว่ มกบั กลุม่ ภายใต้คาแนะนาดแู ลของผู้ใหญ่ วยั รุ่นตอนปลายจะเข้าใจคุณธรรมได้ ซบั ชอ้ นและลึกซ้งึ แต่จะปฏิบตั ิได้ดีหรือไม่ขึน้ กบั ประสบการณ์ทีผ่ า่ นมา รวมท้งั การสง่ เสรมิ จากบรบิ ทแวดล้อม ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ (Psychoanalytic หรือ psychosexual theory) โดย Sigmund Freud จติ แพทยช์ าวออสเตรีย ฟรอยดม์ คี วามเชื่อวา่ บุคลกิ ภาพของผู้ใหญท่ แ่ี ตกตา่ งกนั เป็นผลอันเน่ืองมาจาก ประสบการณ์ในวัยเด็กของแต่ละคน และข้ึนอยู่กับการแก้ปัญหาของความขัดแย้งของแต่ละวัยของเด็กแต่ละ คนเป็นอย่างไร ตามทฤษฏีจิตวิเคราะห์ของ Freud อธิบายว่าพัฒนาการของมนุษย์มีอิทธิพลสาคัญจากปัจจัย ภายในตัวบุคคล หรือ แรงขับทางเพศ (libido) โดยในช่วงอายุวัยก่อนเรียน (3-6 ปี) เป็นช่วงที่เด็กสารวจ ลักษณะทางเพศของตนเอง (Phallic stage) ทาให้เริ่มสนใจและเปรียบเทียบตนเองกับเพศตรงข้าม มีความรู้สึกเป็น เจ้าของในตัวบิดาหรือมารดา (Oedipus complex) จากน้ันในระยะวัยเรียน (6-11 ปี) เด็กเร่ิมให้ความสนใจ ต่อกิจกรรมต่างๆและการผูกมิตรกับเพื่อน (Latency stage) จากนั้นเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจึงเข้าสู่ระยะที่มีการ กระต้นุ ทางทุตยิ ภูมิทางเพศ (Genital stage)โดยมีแรงกระตุ้นทางเพศจากอิทธิพลของบุคคลอื่น มีความพอใจ เพศตรงข้าม ร่วมกบั การเปล่ยี นแปลงของลกั ษณะทตุ ิยภมู ทิ างเพศของตนเอง การสง่ เสริมพฒั นาการดา้ นบคุ ลกิ ภาพทางเพศ (พิมพาภรณ์ กล่ันกล่ิน, 2555) ควรให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา ท่ีเข้าใจง่าย เช่น การเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ประจาเดือน การดูแลผิว เพศสัมพันธ์ก่อนวัย และผลที่ตามมา ยาคุมกาเนิดชนดิ ต่างๆ ทาอย่างไรให้ห่างไกลความเสี่ยงเรื่องเพศ ในกรณีที่วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ แล้วควรแนะนาวธิ ีการคมุ กาเนดิ และการปอู งกันโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์ 2.3 แนวคดิ เกี่ยวกบั การตั้งครรภใ์ นวยั รุ่น 1) ความหมายการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การต้ังครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาสาคัญทางระบบสุขภาพ โดยมารดาวัยรุ่นเผชิญกับการ เปลี่ยนแปลงของอารมณ์ท่ีหลากหลาย มีภาวะทางอารมณ์ที่ไม่ม่ันคง เกิดความรู้สึกยอมรับและไม่ยอมรับการ ตั้งครรภ์ เน่ืองจากการตั้งครรภ์น้ันมักเกิดขึ้นภายใต้การขาดการวางแผนล่วงหน้า หรือความไม่พร้อมของสตรี
12 วัยรุ่น และมักถูกสังคมตัดสินในการกระทาว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานของสังคมว่าการตั้งครรภ์ควรอยู่ในวัยท่ี เหมาะสม และต้องมีพิธีการสมรสอย่างถูกต้องตามประเพณี หลังจากเกิดการต้ังครรภ์แล้วอาจเกิดเหตุการณ์ ไม่คาดคิดมาก่อน จนบางรายอาจเลือกยุติการตั้งครรภ์ ในปัจจุบันมีผู้ให้ความหมายของคาว่าการต้ังครรภ์ใน วัยรนุ่ ไว้มากมาย ตัวอย่างเช่น การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หมายถึง การต้ังครรภ์ในแม่ท่ีมีอายุ 19 ปี หรือน้อยกว่า พบได้ ร้อยละ 10-13 ของการตั้งครรภ์ท้ังหมด วัยรุ่นท่ีเติบโตมาจากครอบครัวท่ียากจน ใช้เหล้าหรือสารเสพติด หรือครอบครัวท่ีมี ปัญหาจะมีโอกาสต้ังครรภ์สูงกว่าวัยผู้ใหญ่ เด็กท่ีคลอดออกมามีน้าหนักตัวน้อย มีความผิดปกติแต่กาเนิดหรือ เลี้ยงดูเด็กไม่เหมาะสม จนเกดิ ปญั หาตามมาได้ง่าย (ชมรมจิตแพทยแ์ ละวัยรนุ่ แห่งประเทศไทย , 2558) การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หมายถึง วัยรุ่นตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อยกว่า 20 ปี ถึงแม้ว่าวัยรุ่นหลายคนมี การตั้งครรภ์ท่ีสมบูรณ์ คลอดบุตรโดยไม่มีโรคแทรกซ้อนและทารกปลอดภัยแต่มีหลายคนที่ไม่ได้เป็นเช่นน้ัน แม้ว่าร่างกายของวัยรุ่นจะเติบโตพอที่จะต้ังครรภ์ได้ แต่ก็ยังไม่สมบูรณ์พอที่จะตั้งครรภ์และคลอดอย่าง ปลอดภัย วัยรุ่นท่ีต้ังครรภ์มักจะไม่ได้รับการดูแลก่อนคลอดและยังมีปัญหาสุขภาพมากกว่าผู้ใหญ่ท่ีอายุเกิน 20 ปี (สุวชัย อินทรประเสริฐ , 2553) กล่าวโดยสรุป การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมักเป็นการตั้งครรภ์ในสตรีวัยรุ่นท่ีไม่ได้ต้ังใจหรือไม่ต้องการ รวมถึงกรณที ต่ี ัง้ ครรภ์มีการวางแผนหรอื ต้ังใจ แต่หลังจากเกิดการต้ังครรภ์แล้วเกิดเหตุการณ์ไม่คาดคิดมาก่อน ทาใหก้ ารตงั้ ครรภ์น้ันเปน็ การตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม จนตอ้ งอาจต้องยุตกิ ารต้ังครรภ์ 2) สถานการณก์ ารตง้ั ครรภว์ ัยรนุ่ ในปจั จบุ นั วยั รุน่ เปน็ ช่วงวยั ทสี่ าคญั เป็นการก้าวผ่านจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ มีเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรม สังคมได้คาดหวังให้วัยรุ่นได้พัฒนาความรู้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพและ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงทางสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคมและ ครอบครัวรวมถึงเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทาให้สถานการณ์และแนวโน้มปัญหาการต้ังครรภ์นับวันจะทวีความ รุนแรง นอกจากน้ีสถานการณด์ ้านอนามัยเจริญพันธ์ุพบวา่ วยั รุ่นไทยมีเพศสมั พันธเ์ ร็วข้นึ และอายุน้อยลงเร่ือยๆ และเกิดปัญหาการต้ังครรภ์ตามมา ทาให้การปูองกันและการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นถูกกาหนดให้ เป็นวาระแห่งชาติ โดยหน่วยงานที่เก่ียวข้องร่วมกาหนดนโยบายท่ีมุ่งเน้นการบูรณาการทุกภาคส่วน อีกท้ัง กระทรวงสาธารณสุขไดต้ ระหนักถึงการดูแลสุขภาพวยั ร่นุ อย่างเป็นองค์รวม จากการติดตามสถานการณ์การคลอดในวัยรุ่น ระยะประมาณ 10 ปีที่ผ่านมา พบว่าอัตราการ คลอดในวยั รุ่นสูงท่ีสดุ ใน ปี พ.ศ. 2554 และ ปี พ.ศ. 2555 คอื 53.4 ตอ่ พนั หลังจากนัน้ มแี นวโนม้ ลดลงเร่ือยๆ แต่ เน่อื งจากการใช้สถติ กิ ารคลอดมีชีพจากสถติ ิสาธารณสุข (ฐานขอ้ มลู ทะเบียนราษฎร์) น้ันไม่สามารถดูข้อมูล ในปีปัจจุบันได้ อัตราการคลอดของปี 2563 จะได้รับในปี 2564 ดังน้ันกรมอนามัยจึงได้ใช้ข้อมูลจากระบบ Health Data Center (HDC) ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ท่ีสามารถติดตามสถานการณ์ปัจจุบันได้ มาใช้ในการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานต้ังแต่ปี 2561 แต่ อยา่ งไรกต็ ามขอ้ มลู จากระบบ HDC กย็ งั คงมีความแตกต่างกับข้อมูลอัตราการคลอดมีชีพจากฐานทะเบียน ราษฎร์เนื่องจากใช้ฐานข้อมูลที่ใช้ในการคานวณท่ีแตกต่างกัน โดยร้อยละการตั้งครรภ์ซ้าในหญิงอายุน้อยกว่า
13 20 ปีมีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 18.0 ในปี พ.ศ. 2559 เหลือร้อยละ 14.9 ในปี พ.ศ. 2562 (ฐานข้อมูล Health Data Center : HDC กระทรวงสาธารณสุข) สานักอนามัยการเจริญพันธุ์จึงได้ดาเนินการเฝูาระวังการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเพ่ือติดตามสถานการณ์ และขอ้ มลู ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั แม่วยั ร่นุ อย่างต่อเนื่อง โดย ข้อมูลสาคัญ ในปี พ.ศ. 2562 พบว่า วัยรุ่นที่มีความต้ังใจ ต้ังครรภ์ ลดลงจากร้อยละ 48.8 ปี พ.ศ. 2561 เหลือร้อยละ 39.4 วัยรุ่นที่ไม่ตั้งใจตั้งครรภ์และไม่ได้ใช้วิธีการ คมุ กาเนิด เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 24.7 ในปี พ.ศ. 2561 เป็นร้อยละ 27.1 ในปี พ.ศ. 2562 และในกลุ่มวัยรุ่นที่ไม่ ตั้งใจตั้งครรภ์ มีการคุมกาเนิดแต่การคุมกาเนิดล้มเหลวเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 26.5 ในปี 2561 เป็นร้อยละ 33.5 ในปี พ.ศ. 2562 อาชีพก่อนตัง้ ครรภข์ องวยั รนุ่ ส่วนใหญ่ร้อยละ 39.5 เป็นนักเรียน/นักศึกษาในระบบโรงเรียน และ รอ้ ยละ 25.0 ไม่ได้ประกอบอาชีพ สถานะการศึกษาในขณะตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในกลุ่มท่ีก่อนต้ังครรภ์เป็น นักเรียน/นักศึกษา ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 44 หยุดเรียน/ลาอออก มีเพียงร้อยละ 25 ท่ียังได้เรียนในสถานศึกษาเดิม สถานะการศึกษาของมารดาวัยรุ่นหลังคลอด ในกลุ่มที่ก่อนต้ังครรภ์เป็นนักเรียน/นักศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 50.1 อยู่บ้านเล้ียงลูก มีเพียงร้อยละ 23.0 ที่ได้กลับไปเรียนท่ีเดิม จะเห็นว่า สถานการณ์การคลอดใน วัยรุ่นของประเทศไทยมีแนวโน้มดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง แต่อย่างไรก็ตามยังมีวัยรุ่นจานวนมากต้องออกจาก การศึกษา หรือไม่ได้เรียนในสถานศึกษาเดิมเนื่องมาจากการตั้งครรภ์ รวมถึงกลุ่มมารดาวัยรุ่นท่ีต้องอยู่บ้าน เล้ียงลูกและออกไปหางานทาหลังคลอด จึงจาเป็นต้องมีการดาเนินมาตรการต่างๆ เพื่อรักษาโอกาสทางการ ศึกษาของวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ รวมทั้งให้ความช่วยเหลือสนับสนุนท้ังด้านสาธารณสุขและสวัสดิการสังคมท่ี เหมาะสมต่อไป 3) ผลกระทบจากการต้งั ครรภ์ในวัยรนุ่ ในปัจจุบันเม่ือได้รับทราบว่าวัยรุ่นต้ังครรภ์มักทาให้ผู้เก่ียวข้องรู้สึกยุ่งยาก ลาบากใจ ท้ังๆท่ีทราบ ความจรงิ กันอย่แู ลว้ ว่าการตงั้ ครรภ์วัยรุน่ เปน็ ช่วงเวลาท่ยี ากลาบากสาหรับมารดาและทารก ทั้งเร่ืองความเส่ียง ในดา้ นสุขภาพ การหยุดพกั การศกึ ษา การใช้ยาและสารเสพติด การทารุณกรรมเด็ก ความรุนแรงในครอบครัว ความยากจน ภาวะซึมเศร้าและอื่นๆ การมองว่าการต้ังครรภ์วัยรุ่นเป็นความล้มเหลวควรเปล่ียนมุมมองว่า วัยรุ่นตั้งครรภ์อาจจะเป็นจุดเปล่ียนที่ท้าทาย เพราะสาหรับวัยรุ่นบางคนการต้ังครรภ์ช่วยให้ชีวิตพวกเขา ประสบความสาเร็จมากข้ึน หากเรามีกลุ่มให้ความช่วยเหลือสนับสนุน และสามารถเชื่อมโยงแลกเปล่ียน ประสบการณก์ บั บคุ คลทช่ี ่วยใหพ้ วกเขาผา่ นช่วงชีวิตที่สาคญั น้ไี ปได้ ผลกระทบของการต้งั ครรภ์ การตั้งครรภ์มผี ลตอ่ วัยรุ่นทัง้ ผลกระทบทางดา้ นร่างกาย ดา้ นจิตใจ ดา้ นครอบครัว และสังคม ดังน้ี 1. ผลกระทบทางด้านร่างกาย การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจะทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้มากกว่าการ ตัง้ ครรภใ์ นสตรที ม่ี ีอายุมากกว่า 20 ปี ภาวะแทรกซอ้ นท่เี กิดขึ้นมีได้ท้ังในระยะต้ังครรภ์ ระยะคลอด และระยะ หลงั คลอด ภาวะแทรกซ้อนในระยะต้ังครรภ์ ไดแ้ ก่ การคลอดก่อนกาหนด ภาวะโลหิตจาง ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะความดนั โลหติ สูงระหว่างตั้งครรภ์ และการแท้งบุตร เนื่องจากสตรีวัยรุ่นท่ีตั้งครรภ์มักจะขาดความสนใจ ในการดูแลตนเอง มกี ารฝากครรภล์ ่าช้า หรอื ไมม่ กี ารฝากครรภ์ สาหรับภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด มีความ เชื่อว่าวัยรุ่นยังมีการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการของกระดูกเชิงกรานท่ียังไม่สมบูรณ์พอ ส่งผลให้เกิด
14 ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดได้แก่ ภาวะคลอดลาบากเนื่องจากศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกรานมารดา ภาวะการคลอดที่ยาวนาน และภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด ได้แก่การตกเลือดหลังคลอด และมีการฉีกขาด ของหนทางคลอดมาก (Pillitteri, 1995) ซ่ึงภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวจะสามารถปูองกันได้โดยการฝากครรภ์ โดยสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นควรไปฝากครรภ์ตั้งแต่ในระยะไตรมาสแรกของการต้ังครรภ์และต้องมีการฝากครรภ์ อยา่ งตอ่ เน่ือง แต่ในสภาพการณท์ ี่เกิดขึ้นจริงสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นมักจะไปฝากครรภ์ล่าช้า เนื่องจากหลากหลาย สาเหตุ เช่น ครอบครัวหรอื ฝาุ ยชายไม่ยอมรบั การต้ังครรภ์ มีความรู้สึกอับอายหรือถูกตีตราจากสังคม ต้องการ ปกปิดการตั้งครรภ์ และมีฐานะยากจน ส่งผลให้เป็นการตั้งครรภ์ท่ีไม่ต้องการและจบลงที่การทาแท้งที่ไม่ ปลอดภัย หรือการทอดท้ิงทารกไว้ตามที่สาธารณะ นอกจากนี้ยังพบว่าสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นท่ีไม่สามารถเรียนรู้ และเข้าใจพฤติกรรมและอารมณข์ องบุตรอาจเกิดการทอดท้ิงบุตรไว้กับปูุย่า ตายาย หรือญาติ หรือบุตรไม่ได้รับการ ดูแลเอาใจใส่เท่าท่ีควร (ศรีเพ็ญ ตันติเวสส, ทรงยศ พิลาสันต์, อินทิรา ยมาภัย, ชลัญธร โยธาสมุทร, อภิญญา มัต เดช ,และณัฐจรัส เองมหัสกุล, 2556) จากการศึกษาของเฟอร์สเตนบอร์กและคณะ (Furstenberg et. al, 1987 cited in May & Mahlmeister, 1994) พบว่าผลกระทบระยะยาวของการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นต่อบุตรของมารดา วัยรุ่น ซึง่ ศกึ ษาตดิ ตามบุตรของมารดาวัยรุ่นในช่วง 17 ปีต่อมา พบว่าส่วนใหญ่จะมีความล้มเหลวทางด้านการ เรยี น โดยรอ้ ยละ 50 มีการเรียนซา้ ชัน้ รอ้ ยละ 40 มปี ัญหาเก่ียวกบั ระเบียบวินัย ขาดเรียน มีพฤติกรรมรุนแรง และถูกพักการเรียน (สุพิชฌาย์ สีหะวงษ์, 2554) ส่วนหนึ่งมีปัญหามีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและมีปัญหา การตั้งครรภ์ การหนีออกจากบา้ น มีปัญหาด้านกฎหมาย และมปี ญั หาการใช้สารเสพตดิ 2. ผลกระทบทางด้านจิตใจ เม่อื มีการตัง้ ครรภ์เกดิ ขน้ึ จะมกี ารเปล่ยี นแปลงดา้ นฮอร์โมนทาให้มีการ เปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และจิตใจ สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นมักจะมีอารมณ์แปรปรวนง่าย มักครุ่นคิดถึงแต่เรื่องของ ตนเอง โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ถา้ เป็นการตั้งครรภท์ ่ียังไม่พรอ้ มจะทาใหส้ ตรตี ้ังครรภ์วัยรุ่น มีความกลัวว่าพ่อแม่จะ รู้วิตกกังวล สับสนกับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น รู้สึกอับอาย บางคนอาจไม่ต้องการทารกในครรภ์ และอาจนาไปสู่ การตัดสนิ ใจแกไ้ ขปญั หาดว้ ยการทาแท้ง (สรุ ศกั ด์ิ ฐานพี านิชสกุล, 2555) นอกจากน้นั สตรีตั้งครรภ์ไม่ได้รับการ ยอมรับจากบิดาของทารกในครรภ์ ถูกปฏิเสธความรับผิดชอบ ถูกทอดทิ้ง หรือไม่ได้รับการยอมรับจากบิดา มารดาของตนเองอาจทาให้สตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นรู้สึกไร้คุณค่า และอาจนามาซ่ึงความคิดที่จะฆ่าตัวตายเพ่ือหนี ปัญหาการต้ังครรภไ์ มพ่ งึ ประสงค์ 3. ผลกระทบต่อครอบครัว บิดามารดาและสมาชิกในครอบครัวของวัยรุ่นต้ังครรภ์ โดยเฉพาะเป็น การตั้งครรภ์ท่ีไม่พร้อมหรือตั้งครรภ์ในวัยเรียน มักจะมีความโกรธ ผิดหวังและอับอาย เมื่อทราบว่าบุตรสาว ต้ังครรภจ์ ึงมกั ไมย่ อมรบั การตั้งครรภ์ และถูกฝุายชายปฏิเสธ ไม่รับผิดชอบ หรืออาจมีการกีดกันไม่ให้ฝุายชาย เก่ียวข้องกับบุตรท่ีเกิดมา (สุรศักด์ิ ฐานี พานิชสกุล, 2555) บางครอบครัวอาจต้องมีภาระหรือมีปัญหาการ เล้ียงดูทั้งมารดาวัยรุ่นและบุตรที่เกิดมาเพิ่มข้ึนด้วย โดยเฉพาะในครอบครัวที่มีรายได้น้อย จึงอาจนามาซ่ึง ความเครยี ดของครอบครวั ได้ 4. ผลกระทบต่อสังคม ผลกระทบต่อสังคมอันเน่ืองมาจากการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น ได้แก่ ปัญหา เก่ียวกับการทาแท้ง ซึ่งเป็นปัญหาท่ีเก่ียวข้องกับกฎหมายและศีลธรรม นอกจากนั้นการท่ีสังคมต้องแบก รบั ภาระเล้ียงดูเด็กท่ีถูกทอดท้ิงและมีปัญหาครอบครัว ทาให้รัฐบาลสูญเสียค่าใช้จ่ายในเร่ืองการเลี้ยงดูการจัด
15 การศึกษา การรักษาพยาบาล และสวัสดิการสังคมอื่นๆ แก่เด็กเหล่าน้ันเป็นจานวนมากในแต่ละปีด้วย วัยรุ่น ตง้ั ครรภ์อาจถกู ตาหนติ ิเตียนและไม่ได้รับการยอมรับจากครอบครัว สังคม ทาให้ต้องแยกจากสังคม กลุ่มเพ่ือน (มาลีวัล เลิศสาครศิริ, 2557) และถ้าไม่ได้รับการยอมรับจากฝุายชาย อาจต้องเลี้ยงดูบุตรตามลาพัง นอกจากน้ัน ถา้ มีการสมรสเกิดขนึ้ มกั พบวา่ อัตราการหย่าร้างเพ่ิมสูงขึ้นในกลุ่มครอบครัววัยรุ่น (อดิณา ศรีสมบูรณ์, เยาวลักษณ์ เสรีเสถียร, ฉวีวรรณ อยู่สาราญ และวรรณา พาหุวัฒนกร, 2554) จากผลกระทบดังกล่าวข้างต้น ส่งผลให้ วัยรุ่นต้งั ครรภ์ ต้องแบกรับปัญหาตา่ งๆเป็นช่วงวิกฤติในชีวิต การจะก้าวข้ามผ่านช่วงนี้ไปได้ ตัววัยรุ่นเองต้องมี การปรับตวั อย่างมาก 4) การสง่ เสรมิ สขุ ภาพวัยร่นุ ในระยะตั้งครรภ์ วัยรุ่นตั้งครรภ์สามารถมีสุขภาพดีโดยได้รับการส่งเสริมให้ดูแลตัวเองและทารกในครรภ์อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม เพราะนอกจากต้องดูแลทารกในครรภ์เพิ่มข้ึนแล้วตัววัยรุ่นเองยังอยู่ในวัยเจริญเติบโต ดว้ ย การสง่ เสรมิ สขุ ภาพตนเอง สามารถปฏิบัตไิ ด้ ดงั น้ี 1. ไปรับบริการฝากครรภ์โดยเร็วอย่างต่อเน่ือง เพื่อรบั การประเมนิ สขุ ภาพมารดาและทารกในครรภ์ 2. ตรวจคน้ หาโรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ และรบั การรักษาทถี่ กู ต้องหากตรวจพบความผิดปกติ 3. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสารอาหารครบถ้วน ในระหว่างต้ังครรภ์ควรได้รับกรดโฟลิค แคลเซียม เหล็ก โปรตีนฟอสฟอรัส สารอาหารที่จาเป็นอื่นๆ และวิตามินก่อนคลอดเป็นประจาทุกวันเพราะ ช่วยในการเตบิ โตของตนเองและทารกในครรภ์ 4. ออกกาลังกายและบริหารร่างกายอย่างเหมาะสม เข้าร่วมโปรแกรมการบริหารร่างกายเพื่อ เตรยี มความพร้อมในการคลอด 5. ควบคุมน้าหนักให้เหมาะสม ด้วยการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ปล่อยให้น้าหนักเพ่ิมมาก หรือลดมาก จนเกนิ ไป รวมถงึ การวางแผนควบคุมน้าหนกั หลงั คลอดดว้ ย 6. หลีกเลี่ยงสารที่มีความเสี่ยง เช่น แอลกอฮอล์ บุหรี่ และยาเสพติดที่ผิดกฎหมายอื่น ๆ ที่มี ผลกระทบกับตนเองและทารกในระหว่างตัง้ ครรภ์ รวมทงั้ การใชย้ าตามใบส่ังของแพทยอ์ ย่างระมัดระวัง 7. เม่ือเกิดความท้อแท้ใจ หาเพ่ือนคุยที่ให้กาลังใจ หาคนท่ีผ่านประสบการณ์คล้าย ๆ กันแล้ว ประสบความสาเรจ็ ในการแกป้ ญั หามาชว่ ยประคบั ประคองจติ ใจ 8. เตรียมตัวเป็นแม่ดว้ ยการเขา้ เรยี นเกี่ยวกับการเตรียมตัวคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การดูแล ทารกแรกเกิด 9. เตรยี มปรึกษาดา้ นการเงิน สถานท่ีคลอด สถานท่ดี ูแลบตุ รหลังคลอด และคนชว่ ยดูแลบุตร 2.4 กฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องกบั การตง้ั ครรภ์ในวัยรุน่ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ได้แก่ พระราชบัญญัติการปูองกันและแก้ไขปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 โดยได้ใหค้ าจากัดความของวยั รนุ่ ว่าหมายถึง “บุคคลอายุเกินสิบปีบริบูรณ์ แต่ยัง ไม่ถึงยี่สิบปีบริบูรณ์” ซ่ึงตามพระราชบัญญัติฉบับน้ีกาหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
16 ความมัน่ คงของมนษุ ย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข มอี านาจในการออกกฎกระทรวงและระเบียบเพ่อื ปฏบิ ัติตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี สิทธิของวัยรุ่น ตามหมวดท่ี 1 การปูองกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ได้กาหนดสิทธิของ วัยรุ่นไว้ใน มาตรา 5 ดังน้ี“วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง และมีสิทธิได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้ ได้รับ การบริการอนามัยการเจริญพันธ์ุ ได้รับการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว ได้รับการจัดสวัสดิการสังคม อย่างเสมอภาคและไม่ถูกเลือกปฏิบัติ และได้รับสิทธิอื่นใดท่ีเป็นไปเพ่ือประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้อย่าง ถกู ต้อง ครบถว้ น และเพยี งพอ” นอกจากนี้ พระราชบญั ญัตนิ ้ยี งั กาหนดหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งหมายถึง กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนและมีหฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถ่ิน รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชนและหน่วยงานอน่ื ของรัฐ ภายใต้ 5 กระทรวงดังกลา่ ว ไวด้ ังนี้ สถานศกึ ษา ตามมาตรา 6 มีหน้าท่ี จดั ให้มีการเรยี นการสอนเรื่องเพศวิถีศึกษาให้เหมาะสมกับช่วงวัย ของนกั เรยี นหรอื นักศกึ ษา รวมถึงการจดั หาและพัฒนาผ้สู อนให้สามารถสอนเพศวิถีศึกษา และให้คาปรึกษาใน เร่ืองการปูองกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นแก่นักเรียนหรือนักศึกษา จัดให้มีระบบการดูแล ช่วยเหลือ และคุ้มครองนักเรียนหรือนักศึกษาซ่ึงตั้งครรภ์ให้ได้รับการศึกษาด้วยรูปแบบที่เหมาะสมและ ต่อเนื่อง รวมทั้งจัดให้มีระบบการส่งต่อให้ได้รับบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ และการจัดสวัสดิการสังคมอย่าง เหมาะสม สาหรับสถานบริการตามมาตรา 7 ซึ่งหมายถึงสถานบริการตามกฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพ ให้มีหน้าท่ีในการ ให้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เก่ียวกับการปูองกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นแก่ ผรู้ บั บริการซึ่งเปน็ วัยร่นุ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ อีกทั้งต้องจัดให้มีบริการให้คาปรึกษาและบริการ อนามัยการเจริญพนั ธุท์ ี่ไดม้ าตรฐานสาหรบั ผรู้ ับบริการซง่ึ เปน็ วัยรุ่น รวมท้ังจัดให้มีระบบการส่งต่อให้ได้รับการ จัดสวัสดิการสงั คมอยา่ งเหมาะสม สาหรับสถานประกอบกิจการ ซ่ึงหมายถึงสถานท่ีซ่ึงผู้ประกอบกิจการใช้เป็นสถานที่ประกอบธุรกิจ และมีลูกจ้างทางานอยู่ในสถานประกอบกิจการ ตาม มาตรา 8 มีหน้าที่ให้ข้อมูลข่าวสารและความรู้เกี่ยวกับ การปูองกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นแก่ลูกจ้างซึ่งเป็นวัยรุ่นอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ และจัดหรือสนับสนุนให้ลูกจ้างซ่ึงเป็นวัยรุ่นเข้าถึงบริการให้คาปรึกษา และบริการอนามัยการเจริญพันธ์ุ รวมทง้ั จัดให้มรี ะบบการส่งตอ่ ใหไ้ ด้รับการจัดสวัสดกิ ารสงั คมอยา่ งเหมาะสม สาหรับ การจัดสวัสดิการสังคม ซึ่งหมายถึง การจัดสวัสดิการสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม การจดั สวัสดิการสงั คม ตามมาตรา 9 มีหนา้ ที่ดงั นี้ 1) ส่งเสริมสนับสนุนให้สภาเด็กและเยาวชนระดับจังหวัดและระดับอาเภอสร้างเครือข่ายเด็กและ เยาวชนในพน้ื ที่เพ่อื เป็นแกนนาปูองกัน แกไ้ ข และเฝาู ระวังปัญหาการตง้ั ครรภ์ในวัยรนุ่ 2) สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้หน่วยงานของรัฐ และหน่วยงานของเอกชนท่ีเก่ียวข้อง ทาหน้าที่ประสานงาน เฝาู ระวงั และให้ความชว่ ยเหลอื แก่วัยรนุ่ ทตี่ ้งั ครรภ์และครอบครัว
17 3) จัดให้มีการฝึกอาชีพตามความสนใจและความถนัดแก่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ก่อนและหลังคลอดที่ ประสงค์จะเขา้ รับฝึกอาชีพ และประสานงานเพื่อจดั หางานใหไ้ ดป้ ระกอบอาชีพตามความเหมาะสม 4) จดั หาครอบครัวทดแทนในกรณที ่วี ยั รนุ่ ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรดว้ ยตนเองได้ และ 5) การจดั สวสั ดกิ ารสังคมในด้านอน่ื ๆ เพ่อื สง่ เสรมิ การปูองกันและแกไ้ ขปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวยั รุ่น สาหรับราชการส่วนท้องถ่ิน ตามมาตรา 10 กาหนดให้มีอานาจหน้าท่ีดาเนินการให้วัยรุ่นในเขตราชการ ส่วนทอ้ งถิน่ ไดร้ บั สทิ ธติ ามมาตรา 5 นอกจากน้ียังกาหนดให้มีคณะกรรมการปูองกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดย นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และประกอบด้วย กรรมการได้แก่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวง ยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม และปลัดกรุงเทพมหานคร และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยประธานกรรมการเป็นผู้แต่งตั้ง จากผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญ มีผลงาน และมี ประสบการณ์เป็นท่ีประจักษ์ไม่น้อยกว่า 5 ปี ในด้านการสาธารณสุข ด้านการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ วัยรุ่น ด้านการศึกษา ด้านจิตวิทยา และด้านการสังคมสงเคราะห์ โดยมีหน้าท่ีในการเสนอนโยบายและ ยุทธศาสตร์ เสนอแนวทางปรับปรุงกฎหมาย เสนอรายงานและกาหนดแนวทางปฏิบัติสาหรับหน่วยงานของรัฐ และหน่วยงานของเอกชนเพ่ือปูองกัน ช่วยเหลือ แก้ไข และเยียวยาปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อีกท้ังยัง กาหนดสาระสาคัญในนโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารปูองกนั และแกไ้ ขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่นไว้ในหมวดท่ี 2 มาตรา 18 นอกจากนี้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย์ได้ออกกฎกระทรวงและระเบียบเพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ตามลาดับ ได้แก่ กฎกระทรวงกาหนดประเภทของสถานประกอบกจิ การและการดาเนินการของสถานประกอบกิจการใน การปูองกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2561 กฎกระทรวงกาหนดประเภทของสถานบริการ และการดาเนินการของสถานบริการในการปูองกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2562 และ กฎกระทรวงการจัดสวสั ดกิ ารสงั คมท่ีเกยี่ วกบั การปอู งกนั และแกไ้ ขปญั หาการต้ังครรภ์ในวัยร่นุ พ.ศ.2563 2.5 ทฤษฎเี กยี่ วกับครอบครัว 1) ความหมายของครอบครวั ครอบครัว จัดเป็นสถาบันทางสังคมท่ีเก่าแก่อันดับแรกของมนุษย์เป็นรากฐานท่ีสาคัญที่สุดใน บรรดาสถาบันทางสังคมท้ังหลาย โดยมีความสาคัญและมีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อมนุษย์ทุกคนนับตั้งแต่เกิด เจริญเติบโต จนกระท่งั ถงึ วาระสุดท้ายของชีวิต ครอบครัวเป็นระบบที่เกิดจากการรวมตัวของบุคคลเข้าด้วยกัน เกิดเป็นระบบใหม่ท่ีมีลักษณะแตกต่างไปจากลักษณะของบุคคล และลักษณะนี้ก็ไม่ใช้การรวมตัวของหลาย บุคลิกภาพเขาดว้ ยกนั ตัวอย่างของส่ิงที่เกิดเฉพาะครอบครัว เช่น การเข้าพวกกัน (Coalition) เมื่อบุคคลท่ีมา อยู่รวมกันเป็นครอบครัวเกิดความขัดแย้งกันก็จะเกิดการเข้าพวกกันข้ึนมา แม่เข้ากับลูกเพื่อตามพ่อ เป็นต้น เมื่อหน่วยหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงก็จะทาให้เกิดความเครียดในระบบชั้นและมีผลทาให้หน่วยย่อยอ่ืน ๆ และ
18 ระบบท้ังระบบมีการเปล่ียนแปลงไปด้วยและการเปลยี่ นแปลงในระบบรวมก็จะมีผลต่อระบบหน่วยย่อย แต่ละ หนว่ ยเช่นกัน ลกั ษณะท่สี าคัญของระบบครอบครัว ได้แก่ 1. ครอบครัวมีความเป็นพลวัตร (Dynamic) หมายถึง ครอบครัวมีคุณสมบัติมีชีวิตในฐานะ ท่ีเป็น หนว่ ยพ้นื ฐานของชีวติ นนั่ คือ มีกจิ กรรมการเปล่ียนแปลง และการเคลื่อนไหวต่างๆ มีการเกิด การเติบโต การ พัฒนาอย่างมีทิศทาง มีความทุกข์ ความสุข มีการเริ่มต้น การถดถอยและการสิ้นสุด แต่ละครอบครัวต่างก็มี รายละเอยี ดบนหน้าประวัติศาสตร์ของตนเองโดยเฉพาะซงึ่ แตกตางไปจากครอบครัวอ่ืนๆ อย่างมากมาย 2. ครอบครัวมีความเป็นระบบ (System) หมายถึง ครอบครัวเกิดจากการรวมตัวของบุคคลเข้าด้วยกัน เกิดเป็นระบบใหม่ คือ ระบบครอบครัวซ่ึงประกอบด้วยหลายระบบย่อย (subsystem) ได้แก่ ระบบย่อยของ บุคคล ของสามี ภรรยา ของพ่อแม่และพ่ีน้อง ภายในระบบย่อยจะบ่งบอกถึงตาแหน่งของสมาชิกที่มี ความสัมพันธ์กับตาแหน่งอ่ืน ๆ และระบบทั้งระบบมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วย ในทานองเดียวกันการ เปลยี่ นแปลงของระบบรวมกจ็ ะส่งผลกระทบต่อหน่วยย่อยแต่ละหน่วยเช่นกัน ดังนั้นการเข้าใจครอบครัวอย่าง ลกึ ซ้งี กต็ อ้ งพจิ ารณาสมาชกิ แต่ละคน และความสมั พันธ์ระหว่างสมาชกิ น้นั กับสมาชิกอ่ืนภายในครอบครัวด้วย ระบบครอบครัวจัดเป็นระบบก่ึงปิด ซึ่งให้เห็นว่าครอบครัวไม่ได้อยู่โดดเด่ียว แต่จะมีการเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร กับส่ิงแวดล้อมตลอดเวลาครอบครัวจึงมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ บทบาทของสมาชิกครอบครัว จะได้รับ ผลกระทบจากระบบต่าง ๆ ภายในสังคม เช่น ระบบชมุ ชน ระบบโรงเรยี น ระบบสถาบันศาสนา และอืน่ ๆ 3. ครอบครัวเป็นการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) หมายถึง การมีสมาชิกมากกว่า 1 คน มาอยู่ร่วมกัน ทาให้เกิดความเชื่อมโยงของสภาพต่าง ๆ ที่สมาชิกเป็นอยู่และกาลังกระทาอยู่ ซ่ึงแต่ละคนก็ยังถือว่ามี ลักษณะเฉพาะเป็นของตนเอง ครอบครัวจึงได้รับผลกระทบจากสมาชิกทั้งในปัจจุบันและอนาคต การ ปฏิสมั พันธ์ภายในครอบครัวมีลักษณะการโต้กลับไปกลับมา และมีกฎควบคุมชีวิต ครอบครัว (Family rules) อยู่ทั้งที่เป็นสากลและยอมรับกันทั่วไปในทุกสงั คม 2) การทาหน้าทขี่ องครอบครัว ครอบครัวจะดารงหรือพัฒนาการได้อย่างเหมาะสมและปกติสุขมากน้อยแค่ไหนขึ้นอยู่กับการ ปฏิบัติหน้าที่ประจาวันว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด แนวคิดท่ีอธิบายการปฏิบัติหน้าท่ีของครอบครัวที่ นิยมใช้กันแพร่หลาย ท่ีจะกล่าวถึงในน้ีคือ แนวคิดแบบ Mc Master Model ของ แอพเสตน และคณะ (กรม สขุ ภาพจิต, 2542 : 19 อ้างจาก Epstein, et at, 1982) การปฎิบัติหน้าที่ของครอบครัว Mc Master Model of Family Functioning (MMFF) ตาม MMFF ครอบครัวเป็นระบบเปิด (Open System) ซึ่งประกอบด้วย ระบบย่อยอันได้แก่ สมาชิกแต่ละคน (Individual Subsystem) คู่สมรส (Spousal Subsystem) และพี่น้อง (Sibling Subsystem) การปฏิบัติหน้าท่ีของครอบครัวท่ีไม่เหมาะสมก็จะเกิดปัญหา MMFF แบ่งการทาหน้าที่ ของครอบครวั ออกเป็นด้านตา่ งๆ ดงั นี้ 1. การแก้ปัญหา (Problem Solving) หมายถึง ความสามารถของครอบครัวในการแก้ไข ปัญหา ต่าง ๆ ท่ีเกิดขน้ึ อยา่ งเหมาะสม ทาให้ครอบครัวดาเนินไปได้และปฏิบัตหิ น้าทดี่ า้ นต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครอบครัวแต่ละครอบครัวมีทักษะการแก้ปัญหาแตกต่างกัน บางครอบครัวจะแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับวัตถุได้หมด แต่อาจแก้ปัญหาทางอารมณ์ได้ลาบากครอบครัวที่มีประสิทธิภาพ จะแก้ปัญหาอย่างรวดเร็วและเป็นระบบ
19 ปัญหาท่ีมีมักเป็นปัญหาท่ีเพ่ิงเกิดข้ึนใหม่ไม่ใช่ปัญหาเรื้อรังที่แก้ไม่ได้ ในทางตรงข้าม ครอบครัวท่ีไม่มี ประสทิ ธภิ าพ มักแก้ปัญหาอย่างไมเ่ ป็นระบบ ไมเ่ สร็จสนิ้ ไปเป็นเรื่อง ๆ และกลายเป็นปญั หาเรอื้ รงั ในท่สี ดุ 2. การสอื่ สาร (Communication) หมายถึง การแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกันและกัน การสื่อสาร มีสองแบบคือ การสื่อสารโดยใช้คาพูด (Verbal Communication) และการสื่อสารโดยไม่ใช้คาพูด (Nonverbal Communication) MMFF จะเน้นการสื่อสารแบบแรกเนื่องจากสามารถวัดได้ชัดเจนกว่า อย่างไรก็ตามการสื่อสารโดยไม่ใช้คาพูดนั้น แม้เนื้อหาจะไม่เด่นชัด แต่เป็นเนื้อหาที่มีความสาคัญโดยจะแสดง ออกมาทางระดบั เสียง คาพูดที่เลือกใช้สีหน้าแววตา การประสานสายตาและท่าทาง เป็นต้น เนื้อหาของการสื่อสาร แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เนือ้ หาท่ีเก่ียวกับวัตถุและการดาเนินชีวิตประจาวัน และ เน้ือหาท่ีเก่ียวข้องกับอารมณ์ ความรู้สึก ครอบครัวท่ีส่ือสารโดยใช้คาพูดได้ไม่ดีก็มักจะมีปัญหาการส่ือสารด้านอารมณ์ร่วมด้วยเสมอ ครอบครัวทีม่ ีประสทิ ธิภาพจะส่ือสารได้ชัดเจนและตรงต่อบุคคลเปูาหมาย ถ้าการสื่อสารมีความคลุมเครือและ ออ้ มค้อมมากเท่าใด ครอบครัวกจ็ ะทาหน้าที่ไดไ้ มด่ ีเท่านั้น ผู้ท่ีสื่อสารอย่างคลุมเครือและอ้อมค้อม จะทาให้อีก ฝุายหน่ึงสอื่ กลับมาแบบเดียวกัน ในครอบครัวปกติความสามารถในการส่ือสารแต่ละดา้ นจะแตกต่างกันไป บาง ครอบครัวการส่อื สารเกย่ี วกบั ปัญหาท่ขี ดั แย้งกันอาจไมช่ ดั เจนและไม่ตรงต่อบุคคลเปูาหมายแต่ก็จะเป็นอยู่ช่วง ส้นั ๆ และไมท่ าให้เกดิ ปญั หาแต่อย่างใด 3. บทบาท (Role) หมายถึง แบบแผนพฤตกิ รรมท่ีสมาชิกประพฤติต่อกันและกันซ้า ๆ เป็นประจา บทบาทแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ดา้ น คือบทบาทพ้นื ฐานและบทบาทอ่ืน ๆ 3.1 บทบาทพื้นฐาน หมายถึง บทบาททจี่ าเป็นต้องกระทาให้ครบถ้วนเพื่อให้ครอบครัวดารงอยู่ ไดอ้ ย่างปกติสขุ นั้นคือ การจัดหาปัจจัยส่ใี ห้แก่สมาชิก การฟูมฟักเลี้ยงดูและให้การประคับประคอง สนับสนุน แก่สมาชกิ การตอบสนองความต้องการทางเพศในระหว่างคสู่ มรสการช่วยพัฒนาทักษะต่างๆ ให้สมาชกิ 3.2 บทบาทอื่น ๆ หมายถึง บทบาทเฉพาะของแต่ละครอบครัว จึงอาจเป็นได้ทั้งบทบาทที่ เหมาะสมและไมเ่ หมาะสม เช่น ลูกชายทีเ่ รียนเก่งและไดร้ บั ทุนไปเรยี นต่อต่างประเทศ บทบาทของลูกชายก็นา ชอ่ื เสียงเกียรตยิ ศมาสู่ครอบครวั การประเมนิ ว่าบทบาทในครอบครัวเป็นไปไดด้ ีหรอื ไมจ่ ะต้องพิจารณา 2 ด้าน คือ (1) การมอบหมายหมายหน้าที่ตามบทบาท (Role Allocation) หมายถึง การมอบหมาย ความรับผิดชอบในหน้าท่ีบางประการให้สมาชิก การมอบหมายนี้อาจทาโดยเปิดเผยหรือไม่ก็ได้ครอบครัวท่ีมี ประสิทธิภาพจะมีการมอบหมายหน้าท่ีที่จาเป็นทุกด้านอย่างชัดเจนให้กับบุคคลท่ีเหมาะสม แต่ครอบครัวท่ีมี ปัญหาจะมีการมอบหมายหน้าท่อี ย่างไมเ่ หมาะสม (2) การดูแลให้สมาชิกรับผิดชอบในบทบาท (Role Accountability) หมายถึง วิธีการที่ ครอบครัวดูแลให้สมาชิก รับผิดชอบต่อบทบาทและหน้าที่ครบถ้วนหรือของตนนั้น คือ ครอบครัวต้องมีวิธี ตรวจสอบว่าสมาชิกแต่ละคนทาหน้าทค่ี รบถ้วนหรอื ไม่ เช่น พอตรวจสอบว่าลูกทางานตามท่ีมอบหมายหรือไม่ และถ้าไม่ทาจะมีบทลงโทษอย่างไรบทบาทและหน้าที่ของสมาชิกคนหนึ่ง จะต้องสอดคล้องกับของคนอ่ืนด้วย ภารกิจในครอบครัวจะดาเนินไปได้ก็ต่อเม่ือมีการมอบหมายหน้าท่ีอย่างเหมาะสม และมีระบบควบคุมให้ สมาชิกปฏบิ ัติหน้าที่ของตนอย่างครบถว้ น
20 4. การตอบสนองต่ออารมณ์ (Affective Responsiveness) หมายถึง ความสามารถที่จะตอบสนอง ทางอารมณ์ต่อกันและกันอย่างเหมาะสมทั้งด้านคุณภาพและปริมาณ อารมณ์ท่ีเกิดข้ึนในครอบครัวมีทั้ง อารมณใ์ นภาวะปกตเิ ช่น อารมณ์รัก เป็นสุข และอารมณใ์ นภาวะวิกฤติ เช่น กลัว โกรธ เป็นต้น ครอบครัวที่ทา หนา้ ที่ปกติจะแสดงอารมณ์ เช่น แสดงออกมาน้อยเกนิ ไป บางครอบครวั แสดงออกเฉพาะอารมณ์เชิงบวกแต่ไม่ สามารถแสดงอารมณเ์ ชงิ ลบได้ เช่น ภรรยาไม่สามารถแสดงอารมณ์โกรธต่อสามีได้ เพราะกลัวสามีจะไม่พอใจ หรือลูกไมส่ ามารถเล่าความรู้สึกเศรา้ และคดิ ถึงพ่อท่ีเสียชีวิตไปเพราะเกรงจะสะเทือนใจแม่ สมาชิกที่เติบโตมา ในครอบครัวแบบน้ีจะแสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างจากัดและมีปัญหาบุคลิกภาพ 5. ความผูกพันทางอารมณ์ (Affective Involvement) หมายถึง ระดับความผูกพันหวงใยท่ีสมาชิก แตล่ ะคนมีตอ่ กนั รวมท้งั การแสดงออกซง่ึ ความสนใจและการเหน็ คณุ ค่าของกันและกันความผูกพันทางอารมณ์ มีหลายระดบั คอื 5.1 ปราศจากความผูกพัน (Disengagement) สมาชิกในครอบครัวไม่สนใจใยดีกันเลย การเป็นครอบครัว มีความหมายเพียงการมาอยู่รว่ มชายคาเดียวกนั เทา่ นนั้ 5.2 ผูกพันอยา่ งมคี วามเข้าอกเข้าใจความสนใจผูกพันมตี ่ออีกฝายหน่ึงอย่างแท้จริง (Emphatic involvement) โดยมีพ้ืนฐานอยู่บนความเข้าใจในความต้องการอีกฝายหน่ึงความผูกพันแบบนี้มีความเหมาะสม ทส่ี ุดเพราะจะสามารถตอบสนองความต้องการทางอารมณ์อีกฝุายหน่งึ ได้อย่างเหมาะสม 5.3 ผูกพันมากเกินไป (Over-involvement) ความผูกพันเป็นไปอย่างปูองกันหรือจุ้นจ้านเกินไป จนอีกฝุายหนึ่งไมม่ คี วามเปน็ ส่วนตัว 5.4 ผูกพันจนเหมือนเป็นบุคคลเดียวกัน (Enmeshment) เป็นความผูกพันท่ีแน่นแฟูนจน กระทั่ง เหมือนกับทั้งคเู่ ป็นบคุ คลเดยี วกัน และขอบเขตส่วนตวั ของแต่ละคน (Personal Boundary) น้ันไม่ชัดเจนหรือ แทบไมม่ ีเลย 6. การควบคุมพฤติกรรม (Behavior Control) หมายถึง วิธีการท่ีครอบครัวควบคุมหรือ จัดการ กับพฤติกรรมของสมาชิก การควบคุมพฤติกรรมเป็นส่ิงจาเป็น ท้ังนี้เพ่อื ให้สมาชกิ ประพฤติตนอยู่ในขอบเขตอัน เหมาะสมไม่ทาให้เกดิ ความเดือดร้อนแกต่ นเองและผอู้ น่ื พฤติกรรมทจี่ าเป็นต้องมีการควบคุมแบ่งออกเป็นด้าน ต่างๆ ดงั น้ี 6.1 พฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนเพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านจิตใจและชีวภาพ เช่น การกิน นอน ขบั ถา่ ย ความต้องการทางเพศและความก้าวร้าว เป็นต้น 6.3 พฤติกรรมทางสังคม เช่น การคบเพื่อนฝงู หรือเป็นสมาชกิ ในชมรม เป็นต้น 6.3 พฤติกรรมทอี่ าจเป็นอันตรายต่อร่างกายหรือทรัพย์สนิ 6.4 การรักษาระเบียบวนิ ยั ภายในครอบครวั
21 2.6 แนวคิดเกย่ี วกบั การจดั สวสั ดกิ ารสังคม 1) ความหมายของสวัสดกิ ารสังคม สวัสดกิ ารสังคม หมายถงึ ระบบการจดั บริการทางสังคมซึง่ เกยี่ วกบั การปอู งกัน แก้ไขปัญหา การพัฒนา และสง่ เสริมความมน่ั คงทางสงั คมเพื่อตอบสนองความจาเป็นข้นั พนื้ ฐานของประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและ พ่ึงตนเองได้อย่างทั่วถึงเหมาะสมเป็นธรรมและให้เป็นไปตามมาตรฐานท้ังทางด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย ท่ีอยอู่ าศัย การทางานและการมรี ายได้ นันทนาการ กระบวนการยุติธรรม และบริการสังคมท่ัวไปโดยคานึงถึง ความเป็นมนุษย์สิทธิท่ีประชาชนจะต้องได้รับและการมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการสังคมทุกระดับ (พระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ การจดั สวัสดิการสงั คม, 2546) แนวทางการจัดสวัสดิการสังคมขององค์การสวัสดิการสังคมให้แก่ผู้รับบริการ สวัสดิการสังคมต้อง คานึงถงึ เรื่องดังตอ่ ไปน้ี คอื 1. สาขาต่างๆ ทจ่ี ะดาเนินการตามความจาเป็นและเหมาะสม เช่น การบรกิ ารทางสงั คม การศึกษา สุขภาพอนามยั ที่อยู่อาศยั การฝกึ อาชีพ การประกอบอาชพี นนั ทนาการ และกระบวนการยตุ ิธรรม เปน็ ตน้ 2. การกาหนดลักษณะหรือรูปแบบและวิธีการในการดาเนินการ เช่น การส่งเสริมการพัฒนา การ สงเคราะห์ การค้มุ ครอง การปูองกัน การแก้ไข และการบาบดั ฟ้ืนฟู เปน็ ตน้ ในการจัดสวัสดิการสังคมให้มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น องค์กรวิชาชีพ สถาบันการศึกษาและองค์กรอื่นร่วมด้วย (พระราชบัญญัติส่งเสริมการ จัดสวสั ดกิ าร สงั คม,2546) การจดั สวสั ดิการสงั คมหมายถงึ การจดั สวสั ดิการสังคมตามกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม (ยุทธศาสตร์การปูองกนั และแกไ้ ขปัญหาการตง้ั ครรภใ์ นวัยรนุ่ ระดบั ชาติ พ.ศ. 2560 – 2569 , 2560) การจัดสวัสดิการสังคม หมายถึง การกาหนดเกณฑ์คุณภาพชีวิตท่ีดี หรือการอยู่ดี กินดี (Quality of Life or Well – being) ควบคู่กับการใช้นโยบายทางสังคม เพ่ือสร้างระบบบริการสังคมอย่างครอบคลุม เพ่ือ นาไปสกู่ ารสรา้ งความมั่นคงของมนุษย์และความม่ันคงทางสังคมโดยรวม (มาริสสา ภู่เพ็ชร์ อ้างใน ระพีพรรณ คาหอม, 2549) 2) องค์ประกอบของงานสวสั ดกิ ารสังคม องคป์ ระกอบของงานสวสั ดกิ ารสงั คม โดยทวั่ ไปมกี ารใช้ใน 2 ลักษณะคือ ลักษณะกว้างและลักษณะ แคบ โดยแบ่งออกเป็น 1. องค์ประกอบของงานสวัสดิการสังคมในลักษณะกว้าง 7 ด้าน และ 2. องค์ประกอบ ของงานสวัสดิการสงั คมในลักษณะแคบ 3 ดา้ น (ระพพี รรณ คาหอม, 2549) ดงั นี้ (1) องค์ประกอบของงานสวัสดกิ ารสังคมในลกั ษณะกวา้ ง แบ่งเปน็ 7 ด้าน ไดแ้ ก่ 1) การศึกษา (Education) 2) สขุ ภาพอนามัย (Health) 3) ท่ีอยู่อาศยั (Housing) 4) การทางานและการมรี ายได้ (Employment and Income Maintenance) 5) ความมั่นคงทางสังคม (Social Security)
22 6) บรกิ ารสังคม (Social Services) 7) นนั ทนาการ (Recreation) (2) องค์ประกอบของงานสวัสดิการสังคมในลักษณะแคบ ตามความหมายของคาว่า “สวัสดิการ” ในระบบสวัสดิการสังคมให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติความม่ันคงทางสังคม (Social Security Act 1935 อ้างใน ระพพี รรณ คาหอม, 2549) ของประเทศสหรฐั อเมริกา แบง่ บรกิ ารสวัสดกิ ารสังคมเป็น 3 บรกิ าร ได้แก่ 1) บรกิ ารประกนั สังคม (Social Insurance) 2) บรกิ ารสงเคราะหป์ ระชาชน (Public Assistance) 3) บริการสงั คม (Social Services) ในประเทศไทยมกี ารนาองคป์ ระกอบของงานสวัสดิการสังคม มาใช้ท้ัง 2 ลักษณะ ทั้งองค์ประกอบ ของงานสวัสดิการสังคมในลักษณะกว้าง และองค์ประกอบของงานสวัสดิการสังคมในลักษณะแคบ แต่โดยท่ัวไป แล้วสังคมไทยมกั จะรูจ้ ักบรกิ ารสวสั ดกิ ารสงั คมในลกั ษณะแคบมากกว่า ได้แก่ การบรกิ ารประกันสังคมซึ่งถือว่า เป็นบริการที่นาไปสกู่ ารสร้างความม่นั คงทางสังคมให้กบั ลูกจ้างผใู้ ชแ้ รงงานที่พฒั นาขยายความครอบคลุม และ สิทธิประโยชน์ทดแทนมากขึ้น ในขณะท่ีการบริการสงเคราะห์ประชาชนยังคงเป็นบริการที่ภาครัฐต้องจัดสรร งบประมาณการชว่ ยเหลอื กบั ผ้เู ดือดร้อน เปน็ ต้น (ระพีพรรณ คาหอม, 2549) 3) รปู แบบการจดั สวัสดกิ ารสงั คม รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคม หมายถึง การจัดสวัสดิการสังคมท่ีเกิดขึ้นในความเป็นจริงของ สังคมไทยข้นึ อยูก่ ับการให้ความหมายโดยใช้ฐานคิดในลักษณะใดลักษณะหนึ่งในสังคมน้ัน ๆ โดยท่ัวไปปรากฏ (กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์, 2548) ดังน้ี (1) รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมตามพื้นท่ี (Area – based) โดยการจัดสวัสดิการสังคมใน รูปแบบของพ้ืนท่ีเป็นฐาน โดยท่ัวไปเป็นการจัดสวัสดิการพ้ืนท่ีทางภูมิศาสตร์ พื้นท่ีการปกครองประเทศ เช่น ภาค จังหวัด อาเภอ ท้องถ่ิน ตาบล ซึ่งรูปแบบการจัดสวัสดิการลักษณะน้ีหน่วยงานในพื้นท่ีจะต้องมาร่วมกัน จัดบริการตามภารกิจ หน้าท่ีขององค์กร สวัสดิการสังคมเพื่อให้เกิดความครอบคลุมท่ัวถึง เป็นธรรม และมี มาตรฐานทดี่ ีด้านคุณภาพบริการ รูปแบบสวัสดิการตามพ้ืนท่ีเป็นฐาน จึงมีข้อจากัดต่อการเข้าถึงแหล่งบริการของ กลุ่มเปูาหมาย เพราะต้องแสดงหลักฐานสิทธิตามภูมิลาเนาของการต้ังถ่ินฐานท่ีอยู่อาศัยเป็นหลัก ปัจจุบัน รูปแบบนี้มีการพัฒนาโดยใช้มิติอ่ืนๆ มาร่วม เช่น ใช้ท้ังพ้ืนท่ีเป็นฐานร่วมกับการใช้โครงสร้างการบริหารงาน ขององคก์ รภาครัฐ และการใชก้ ารมสี ว่ นรว่ มของภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อให้เกิดรูปแบบการจัดสวัสดิการท้ังแนวดิ่ง และแนวราบร่วมกันทส่ี ร้างกระบวนการมีสว่ นรว่ มจากภาคส่วนต่าง ๆ (2) รูปแบบการจดั สวสั ดิการสงั คมตามวธิ ีการ (Methods) รูปแบบน้ีให้ความสาคัญกับวิธีการให้บริการทางสังคมสงเคราะห์ระดับจุลภาค เช่น เฉพาะ รายกลุ่มชนและชุมชน ซึ่งถือเป็นรูปแบบการจัดบริการโดยตรงกับกลุ่มเปูาหมาย ขณะที่การให้บริการโดย ทางอ้อมระดับมหภาค เช่น การบริหารงานองค์กรและการวิจัยก็เป็นการสนับสนุนให้เกิดรูปแบบการจัด สวัสดิการใหม่ ๆ ขึ้นแต่โดยท่ัวไปรูปแบบการจัดสวัสดิการจะเน้นท้ังการให้บริการเฉพาะรายมาก จึงส่งผลให้
23 รปู แบบการจัดสวสั ดิการในวธิ กี ารอื่น ๆ ถูกให้ความสาคัญน้อยกว่ารูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมในลักษณะนี้ จึงตอ้ งใช้ท้งั ระดับจุลภาคร่วมกบั ระดบั มหภาค ปัจจุบันรูปแบบการจัดสวัสดิการมีการพัฒนาหลาย ๆ วิธีการโดยเฉพาะอย่างย่ิงทางสังคม สงเคราะห์จะมุ่งเน้นการบูรณาการร่วมกัน โดยเฉพาะการกระทาทางสังคม เช่น การรณรงค์ การผลักดัน การ ต่อรองกับกลไกตา่ งๆ ทางสงั คม เพ่อื ใหเ้ กดิ รปู แบบสวัสดกิ ารใหม่ ๆ ข้ึน (3) รปู แบบการจัดสวัสดิการสังคมในลักษณะของการเคล่ือนไหวทางสังคม (Social Movement) รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมในลักษณะน้ีเป็นการสร้างกระแสใหม่ กระแสทางเลือกของ สังคมต่อการจัดสวัสดิการที่เช่ือมโยงกับประเด็นปัญหาสาคัญของสังคมที่เชื่อว่าต้องเสริมสร้างพลังอานาจให้ กลุ่มเปูาหมายต่างๆ ให้รู้จักการปกปูอง คุ้มครองสิทธิของตนเอง การเมือง และสังคมวัฒนธรรม การ เคลือ่ นไหวทางสังคมกเ็ พือ่ สรา้ งความตระหนักของคนในสังคม ความรบั ผิดชอบทางสังคมรว่ มกันด้านสวัสดิการ สังคม เช่น การใช้เครือข่าย การใช้องค์กรชุมชนเคลื่อนไหวต่อรองกับอานาจรัฐ เป็นต้น รูปแบบนี้เช่ือว่า จาเป็นต้องกาหนดแผนยุทธศาสตร์ เปูาหมาย กลไกการทางาน เพ่ือให้เกิดการขับเคล่ือนไปในทิศทางท่ี เหมาะสม (4) รูปแบบการจดั สวสั ดิการสังคมโดยสถาบนั (Institutional – based) รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมโดยสถาบันเป็นการจัดสวัสดิการที่รัฐเชื่อว่ารัฐควรแทรกแซง การจัดสวัสดิการให้กับประชาชน โดยใช้โครงสร้างอานาจของรัฐทาหน้าที่จัดระบบสวัสดิการสังคมในลักษณะ ต่าง ๆ เช่น สวัสดิการภาคบังคับ เป็นการจัดผ่านกลไกนโยบายสังคมทางกฎหมาย เช่น บริการประกันสังคม บริการการศึกษาภาคบังคับ บริการประกันสุขภาพ บริการสถานสงเคราะห์ เป็นต้น แต่เนื่องจากบริการ ดังกล่าวไม่สามารถตอบสนองกับความต้องการของคนทุกคนในสังคมได้จึงทาให้เกิดรูปแบบการจัดบริการ สวัสดิการที่ลดการพ่ึงพาสถาบันของรัฐลง บริการในลักษณะน้ีเกิดข้ึนจากภาคส่วนของชุมชน ประชาชนท่ีมี ศักยภาพ ความเข้มแข็งเข้ามามสี ว่ นร่วมในการจดั บริการเฉพาะกลุ่ม เช่น กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ กลุ่มฌาปนกิจ สงเคราะห์ชมุ ชน บริการลกั ษณะนี้เช่ือวา่ รัฐควรลดบทบาทการแทรกแซงการจดั สวัสดกิ ารลง แต่ปล่อยให้กลไก ของชุมชน ประชาชนทาหน้าที่จดั สวัสดกิ ารแทนรัฐ 4) กระบวนการจัดสวสั ดิการ กระบวนการจัดสวัสดิการ มีขั้นตอนสาคัญ 4 ข้ันตอน (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์, 2548) ไดแ้ ก่ (1) วางแผนการจัดสวัสดิการ โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการ ครอบครัวและชุมชน ร่วมกันพิจารณาการให้สวัสดิการให้แก่ผู้รับบริการ ครอบครัว หรือชุมชน โดยท่ีจะใช้สวัสดิการที่เป็นทางการ หรือสวสั ดกิ ารที่ไมเ่ ป็นทางการข้นึ อยกู่ บั บรบิ ททางสังคม ทนุ ทางสงั คม และภาคีหนนุ เสริมในแตล่ ะพน้ื ที่ (2) การดาเนินการจัดสวัสดิการ ภายใต้ผลการประเมินสภาวะ ความต้องการ และความจาเป็น หรอื ปัญหาของผู้รับบริการและจดั กจิ กรรมตามลาดบั ความสาคัญ
24 (3) การวางแผนดาเนินการในระดับชุมชน ต้องกาหนดวัตถุประสงค์ วิธีการ สถานท่ี ระยะเวลา และงบประมาณ การติดตามประเมินผล โดยละเอียด และชัดเจน มีการแต่งต้ังคณะทางานรับผิดชอบ และ ประชุมชแ้ี จงกับผเู้ กยี่ วขอ้ งใหม้ คี วามสนใจตรงกัน (4) การวางแผนใหค้ วามชว่ ยเหลือท้งั แผนระยะสน้ั และแผนระยะยาว การดาเนินการช่วยเหลือการจดั สวัสดกิ าร (1) ดาเนินการตามแผนทวี่ างไวใ้ นลักษณะหรือรปู แบบการสง่ เสรมิ การพัฒนาการ (2) สงเคราะห์การคุ้มครอง การปูองกัน การแก้ไข และการบาบัดฟื้นฟู โดยให้ผู้รับบริการ ครอบครัวชุมชน มีสว่ นร่วม (3) ให้บริการสังคมที่เหมาะสมกับสภาพปัญหา ความต้องการ ความจาเป็นของผู้รับบริการ ครอบครวั ชมุ ชน (4) ระดมทรพั ยากรในชุมชน และประสานงานหรือส่งเร่ืองตอ่ ให้หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องในชุมชนและ นอกชุมชนไดร้ ว่ มให้ความชว่ ยเหลอื หรือพัฒนา (5) การจัดสวัสดิการสังคม จะตอ้ งนาไปสู่การสง่ เสริมพัฒนาผ้รู บั บริการทงั้ ระดับบุคคล (6) กลุ่มชุมชน เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการพัฒนาและสามารถทาหน้าที่ทางสังคมได้อย่าง เหมาะสม (7) การจัดสวัสดิการจะต้องกระตุ้นส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้รับบริการได้ใช้ศักยภาพของตนเองได้ อยา่ งเตม็ กาลังความสามารถ 5) สวสั ดิการสาหรับสตรตี ัง้ ครรภ์วัยรุ่น หรือมารดาวัยรนุ่ ในปจั จุบัน ในปัจจุบันสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น หรือมารดาวัยรุ่นจะได้รับสวัสดิการเงินอุดหนุนเพ่ือการเลี้ยงดูเด็ก แรกเกิดในกรณีที่อยู่ในครัวเรือนยากจน หรือมีความเป็นอยู่ท่ีมีความยากลาบาก ซ่ึงสวัสดิการเงินอุดหนุนเพ่ือ การเล้ียงดูเด็กแรกเกิดและเด็กปฐมวัย เป็นนโยบายสาคัญของรัฐบาล เพื่อลดความเหล่ือมล้าทางสังคม โครงการเงินอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด เป็นนโยบายสาคัญระดับชาติตามแผนบูรณาการ การพัฒนา คนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นให้เด็กแรกเกิดได้รับการเล้ียงดูท่ีมีคุณภาพ และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย เพ่ือ เติบโตเป็นประชากรท่ีมีคุณภาพในอนาคต รวมทั้งเป็นหลักประกันให้เด็กได้รับสิทธิด้านการอยู่รอด และการ พัฒนาตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ซ่ึงคณะรัฐมนตรีมีมติ เห็นชอบหลักการโครงการเงินอุดหนุน เพ่ือการ เลี้ยงดูเด็กแรกเกิด โดยให้เงินอุดหนุนแก่เด็กแรกเกิดที่อยู่ในครัวเรือนยากจน รายละ 600 บาท ต่อคน ต่อเดือนเป็นเวลา 6 ปี ซึ่งรัฐจะจ่ายเงินอุดหนุนให้กับมารดา หรือผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กแรกเกิด เพื่อใช้ใน การเลี้ยงดเู ด็ก ซ่งึ ถอื ว่าเปน็ การคุม้ ครองทางสังคมและเป็นสวสั ดกิ ารพน้ื ฐานท่จี ะช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายใน การเลี้ยงดูเดก็ แรกเกดิ ให้ได้รับการเล้ียงดูทีม่ คี ณุ ภาพ และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย รวมท้ังยังเป็นการเพ่ิม โอกาสและช่องทางในการเข้าถึงบริการของรัฐ เพื่อให้เด็กได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ ด้วยการส่งต่อข้อมูล หญิงตัง้ ครรภท์ ข่ี อรบั สทิ ธิใหก้ ระทรวงสาธารณสุข เพ่ือให้ทีมหมอครอบครัวและอาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน (อสม.) ลงพื้นท่ีเย่ียมบ้านให้คาแนะนาดูแลสุขภาพแม่และเด็ก และติดตามพัฒนาการเด็ก รวมทั้ง อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) ในพื้นท่ี ให้การดูแลในมิติด้านสังคมอื่น ๆ เพ่ือให้
25 สตรีต้ังครรภ์และเด็กได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ เงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิดถือเป็นสวัสดิการ พนื้ ฐานในหลายประเทศท่ัวโลก ผลการศกึ ษาในหลายประเทศทว่ั โลก พบตรงกันว่า เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดู เด็กแรกเกิด มีประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว จากการศึกษาของศ.ดร. เจมส์ เจ เฮคแมน นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล พบว่า การลงทุนในเด็กเล็กจะได้รับผลตอบแทนในระยะยาวกลับมา 7 เท่า และการ ลงทุนในกลุ่มเด็กเล็กท่ีอยู่ในครอบครัวที่ยากจนจะได้รับผลตอบแทนระยะยาวถึง 17 เท่า ดังน้ันการที่ประเทศไทย เห็นความสาคัญและลงทุนกับการพัฒนาเด็กแรกเกิดในครัวเรือนยากจนและครัวเรือนท่ีเส่ียงต่อความยากจน ผ่านโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ย่อมเกิดผลตอบแทนต่อการพัฒนาประเทศในระยะยาว (นโยบายเงินอดุ หนุนเพอ่ื การเลี้ยงดเู ด็กแรกเกดิ และเดก็ ปฐมวยั , 2559) ประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ ับ ได้แก่ (1) ประโยชน์ต่อเด็ก จากการศึกษาในหลายประเทศ พบว่า เด็กแรกเกิดที่ได้รับเงินอุดหนุนจะ ได้รับการเล้ียงดูท่ีมีคุณภาพกว่ากลุ่มท่ีไม่ได้รับ เนื่องจากสามารถเข้าถึงบริการทางสาธารณสุขได้มากกว่า อีกทั้งได้รับสารอาหารท่ีดีกว่าซึ่งปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้น จะส่งเสริมให้เด็กแรกเกิดและปฐมวัยมีพัฒนาการ เหมาะสมตามวัย เป็นพื้นฐานท่ีสาคัญในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในช่วงวัยอ่ืน ๆ ต่อไป ผลการศึกษายังพบว่า เด็กท่ีได้รับเงินอุดหนุนในช่วงแรกเกิดจนถึง 6 ปี เมื่อเติบโตขึ้นถึงวัยเรียนก็จะมีระดับผลการเรียนท่ีดีกว่าเด็ก กลุ่มท่ีไม่ได้รับเงินอุดหนุน และยังช่วยลดความเหลื่อมล้าทางสังคมในระยะยาวอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า การให้เงินอุดหนุนแก่เด็กเล็กจะช่วยลดช่องว่างของระดับผลการเรียนระหว่างเด็กที่เกิดในครอบครัวยากจน และเดก็ ท่ีอยู่ในครอบครวั ปกติ (2) ประโยชน์ต่อพ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก เงินอุดหนุนเพ่ือการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดจะช่วยแบ่งเบาภาระ ค่าใช้จ่ายในการดูแลเด็ก รวมทั้งเปิดโอกาสให้พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้มากขึ้น ทาให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจในการเลย้ี งดูและส่งเสริมพฒั นาการเด็ก (3) ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาประเทศ ผลการศกึ ษาทัว่ โลกพบว่าเด็กทีร่ บั เงินอุดหนุนเม่ือโตขึ้นจะมี ผลการเรยี นทีด่ ขี ้ึนกว่ากลุ่มทีไ่ ม่ได้รบั และนาไปสูร่ ะดบั รายไดท้ ่สี ูงขึ้น เงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิดจึง เป็นการลงทนุ ทค่ี ุ้มค่าเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ และสรา้ งรากฐานท่ีสาคญั ของการพัฒนาประเทศ เพื่อให้เด็ก เตบิ โตเปน็ ประชากรทมี่ คี ณุ ภาพ และเป็นกาลงั สาคัญในการพฒั นาประเทศตอ่ ไป (นโยบายเงินอุดหนุนเพื่อการ เล้ยี งดูเดก็ แรกเกดิ และเด็กปฐมวัย, 2559) 2.7 งานวิจัยทเี่ กยี่ วข้อง จากการทบทวนวรรณกรรมในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับแนวทางการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับ กล่มุ เปาู หมายตั้งครรภใ์ นวยั รุ่น มงี านวิจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง ดงั น้ี มาลี จิรวัฒนานนท์ (2560) ศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการและลักษณะบริการสวัสดิการทาง การศึกษาสาหรับครอบครัวเลี้ยงเดี่ยววัยรุ่น พบว่าความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ท่ีแม่เลี้ยงเดี่ยว วัยรุ่นได้รับล้วนมาจาก แม่ ยาย ปูา น้า และพี่สาว ลักษณะบริการสวัสดิการทางการศึกษาที่ต้องการมีท้ัง บรกิ าร สนบั สนนุ และบริการเสริม บริการตา่ งๆ ท่ีมอี ยู่ แมเ่ ลี้ยงเดี่ยวแตล่ ะรายสามารถเขา้ ถงึ บริการได้แตกต่าง
26 กัน และหน่วยงาน/องค์กรที่จัดบริการก็มีขอบเขตข้อจากัดในการให้บริการเนื่องจากหลายๆ แห่งดาเนิน โครงการโดยภาคเอกชนท่ีรัฐมิได้ให้การสนับสนุนทุนแต่อย่างใด และยังพบว่าเป็นความต้องการบริการใน ลักษณะการสนับสนุนเกื้อกูล และ ความต้องการบริการในลักษณะการเสริมสร้างเติมเต็ม ซึ่งครอบคลุม กลุ่มบริการงานสังคมสงเคราะห์ กลุ่มบริการงานด้านสุขภาพและจิตวิทยา กลุ่มบริการแนะแนว และกลุ่ม บริการอื่นๆ อาทิ บริการการรับเข้าและเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่ระบบการศึกษาของสถานศึกษาต่างๆ บรกิ ารด้านอาหารและท่ีพกั อาศัย บริการเก่ยี วกับการมาเรยี นของนักเรียนในแตล่ ะวัน กุลธิดา อนุตรกุลศรี (2561) พบว่ารูปแบบและกลไกการให้ความช่วยเหลือแม่วัยใส แบ่งเป็น 4 รปู แบบ ได้แก่ 1)รูปแบบตอบสนองความต้องการที่จาเป็น เป็นรูปแบบท่ีจัดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการ ขั้นพื้นฐานทางร่างกายและความต้องการต้นทุนชีวิต 2) รูปแบบฟ้ืนฟูเยียวยาทางจิตใจ เป็นรูปแบบท่ีให้ความ ช่วยเหลือฟื้นฟูเยียวยา จิตใจ แม่วัยใสและครอบครัวให้มีสุขภาพจิตท่ีดี 3) รูปแบบติดอาวุธทางปัญญาเป็น รูปแบบที่ส่งเสริมความรู้สร้างทักษะชีวิต และพัฒนาศักยภาพต่างๆ และ 4) รูปแบบคืนสู่ครอบครัว เป็น รูปแบบท่ีเกิดข้ึนภายหลังจากท่ีแม่วัยใสผ่านกระบวนการให้ความช่วยเหลือแม่วัยใสและรูปแบบอ่ืนๆมาแล้ว สาหรับแนวทางการพัฒนารูปแบบการให้ความช่วยเหลือแม่วัยใส ที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของสังคม แบง่ เปน็ ระดับปฏิบัติงาน ได้แก่ การเข้าถึงกลุ่มแม่วัยใสและการทางาน ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ระดับ องค์กร ได้แก่ เสริมสร้างพลังในคนทางานและสรรหาแหล่งเงินทุนสนับสนุน และระดับนโยบาย ได้แก่ การผลักดันให้เปน็ สวัสดิการสขุ ภาพถว้ นหน้า กฤตยา อาชวนิจกุล, จิตตมิ า ภาณเุ ตชะ และสมุ าลี โตกทอง (2563) พบว่าการสนับสนุนให้เข้าถึงสวัสดิการรัฐ ต้องส่งเสริมและประสานงานให้แม่วัยรุ่นเข้าถึงสวัสดิการของรัฐโดยเฉพาะเงินอุดหนุนเพ่ือการเลี้ยงดูเด็กแรก เกิด ซงึ่ เปน็ สวัสดิการเดียวที่ช่วยเสริมความมั่นใจทางเศรษฐกิจให้แก่แม่วัยรุ่น แต่ด้วยเง่ือนไขและขั้นตอนการ เข้าถึงที่ซับซ้อนยุ่งยากทาให้ต้องมีคนคอยช่วยเหลือให้คาปรึกษา และช่วยกรอกรายละเอียดต่างๆ ใน แบบฟอร์ม สว่ นด้านการสง่ เสรมิ อาชีพ แมว่ ัยรุน่ แทบทุกคนมีปัญหาการเงนิ ไม่มีรายได้เป็นของตัวเอง การต้อง พ่ึงพิงคนในครอบครัวหรือแฟนทาให้ไม่มีอิสระในการจัดการชีวิตของตนเองได้ การสนับสนุนด้านอาชีพให้แก่ แม่วัยรุ่นจึงเป็นข้อท้าทาย เน่ืองจากแม่วัยรุ่นอายุน้อยไม่สามารถทางานประจาไม่มีคนดูแลลูก การศึกษาน้อย เป็นได้เพยี งแรงงานไร้ฝมี อื ทรี่ ับจ้างรายวนั หรอื ได้ค่าจ้างไม่เพยี งพอกบั คา่ ใชจ้ ่ายการสนับสนุนให้พ่อแม่วัยรุ่นทา อาชีพอสิ ระ เชน่ ขายอาหารหรือทาขนมยังเป็นเรื่องยาก โดยเฉพาะแม่วัยรุ่นท่ีไม่อดทนต่อความยากลาบากใน การค้าขายได้ การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพแม่วัยรุ่น ต้องมีการพัฒนาศักยภาพแม่วัยรุ่นให้สามารถตั้งตัว มีรายได้ โดยส่งเสริมบทบาทของผู้ชาย (ท่ีเป็นพ่อวัยรุ่น) ร่วมด้วย เพื่อให้เกิดการปรับพฤติกรรมรับผิดชอบ ครอบครวั รว่ มกัน
บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ การวิจัย แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ส วั ส ดิ ก า ร ท่ี เ ห ม า ะ ส ม ส า ห รั บ ใ น ส ต รี ตั้ ง ค ร ร ภ์ ห รื อ ม า ร ด า วั ย รุ่ น โ ด ย ก า ร ศึ ก ษ า สถานการณ์ปัจจุบันของการจัดสวัสดิการสาหรับสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ปัญหาและความต้องการการ จัดสวัสดิการ ผลการศึกษานี้จะนาไปสู่การพัฒนารูปแบบ แนวทางหรือรูปแบบการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสม สาหรบั สตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น โดยวธิ ีดาเนนิ การวจิ ยั มดี ังน้ี 3.1 ขอบเขตของการวจิ ยั (Scope of the research) การศึกษาในคร้ังน้ีเป็นการศึกษาสถานการณ์ ปัญหาและความต้องการของการจัดสวัสดิการสาหรับ สตรีต้งั ครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และค้นหาแนวทางการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับกลุ่มเป้าหมายตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2 จานวน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จงั หวัดระยอง จังหวดั จนั ทบรุ ี และจงั หวดั ตราด โดยทาการศกึ ษาระหว่างเดือนตลุ าคม 2563 - กนั ยายน 2564 3.2 รปู แบบการวิจัย (Research design) เป็นการศึกษาวิจัยท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ (Mixed methods studies: Integrating quantitative and qualitative data collection and analysis) โดยมีขน้ั ตอนในการศกึ ษา ดงั น้ี (1) การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม และการประชุม เชิงปฏิบัติการจากบุคคลท่ีมีความเกี่ยวข้องกับการดูแลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นใน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด ในกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม ได้แก่ เจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง กับการดูแลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น สตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นและครอบครัวของสตรีต้ังครรภ์หรือ มารดาวยั ร่นุ (2) การวจิ ัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสนทนากลุ่ม (Focus group) กับเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องกับการดูแล สตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth interview) เจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องกับการ ดแู ลสตรีต้งั ครรภห์ รอื มารดาวัยร่นุ และสตรตี ง้ั ครรภห์ รอื มารดาวัยรนุ่ 3.3 กล่มุ ตวั อย่าง (Samples) ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ เจา้ หน้าทที่ เี่ กีย่ วข้องกบั การดแู ลสตรีต้งั ครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น สตรี ตั้งครรภ์หรอื มารดาวัยรนุ่ หลังคลอดและครอบครัวของสตรีตงั้ ครรภ์วัยรุ่น ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสานักงาน ส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 2 ดงั น้ี 3.1 การกาหนดขนาดตัวอย่างในการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ตารางของ Krejcie and Morgan (1970) ได้จานวน 383 ราย โดยแบ่งเป็น เจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องกับการดูแลสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น จานวน 210 ราย
28 สตรีตั้งครรภห์ รอื มารดาวัยรนุ่ จานวน 99 ราย และครอบครวั ของสตรีตง้ั ครรภห์ รอื มารดาวัยรนุ่ จานวน 74 ราย รวมกล่มุ ตวั อย่างทั้งหมดจานวน 383 ราย 3.2 กลุม่ ตวั อย่างในการเกบ็ ข้อมลู เชงิ คุณภาพ ดังนี้ 3.2.1 กลุ่มตัวอย่างสาหรับการเก็บข้อมูลด้วยการสนทนากลุ่ม คือ เจ้าหน้าท่ีที่เก่ียวข้องกับการ ดูแลสตรีตัง้ ครรภ์หรอื มารดาวัยรุน่ จากหนว่ ยงานของรฐั ในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ มนุษย์ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข ในส่วนราชการส่วนภูมิภาคและราชการส่วน ทอ้ งถน่ิ รวมทง้ั องคก์ รที่ไม่ใช่องคก์ รของรฐั และมูลนิธิ ดงั นี้ 1.1) จังหวดั ชลบุรี จานวน 10 คน 1.2) จังหวัดระยอง จานวน 5 คน 1.3) จงั หวดั จันทบุรี จานวน 7 คน 1.4) จังหวัดตราด จานวน 9 คน 3.2.1 กลุ่มตัวอย่างสาหรับการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก คือ เจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องกับ การดูแลสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นจากพ้ืนท่ีท้ัง 4 จังหวัด จานวน 18 คน โดยเลือกเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ที่มี สถานการณ์ต้ังครรภ์วัยรุ่นและปฏิบัติงานให้การดูแลหรือช่วยเหลือสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นหรือมารดาวัยรุ่น เช่น กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน และ สตรตี ัง้ ครรภ์วยั รนุ่ หรือมารดาวัยร่นุ เป็นต้น จานวน 25 คน 3.4 การพิทกั ษส์ ทิ ธก์ิ ลุ่มตัวอย่าง โครงการวิจัยนี้ได้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ และในการเก็บ ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามเป็นการเก็บข้อมูลท่ีเป็นความยินยอมการเข้าร่วมวิจัยของกลุ่มตัวอย่าง และไมม่ กี ารระบุชอื่ สกุล และหนว่ ยงานของผ้ใู หข้ ้อมูล สว่ นการเก็บข้อมูลกับสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นทั้ง เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเป็นความยินยอมการเข้าร่วมวิจัย โดยกลุ่มตัวอย่างที่อายุต่ากว่า 18 ปี จะมีผู้ปกครอง หรือผู้แทนที่บรรลุนิติภาวะร่วมเป็นพยานในการยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย นอกจากนี้ในส่วนของการ สัมภาษณ์เชิงลึกของสตรีต้ังครรภ์วัยรุ่นและมารดาวัยรุ่นนั้นจะใช้การสัมภาษณ์ในท่ีที่มีความเป็นส่วนตัวและ กล่มุ ตวั อยา่ งสามารถหยุดการสมั ภาษณห์ รือไม่ตอบในบางคาถามไดห้ ากเกดิ ความไม่สบายใจหรือไม่ยินดีในการ ใหข้ ้อมลู บางประเดน็ 3.5 เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวจิ ยั เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการศกึ ษาวจิ ัยครง้ั นี้ ไดแ้ ก่ 3.5.1 แบบสอบถามสาหรับการเกบ็ ขอ้ มูลเชิงปริมาณ ดังน้ี 1) แบบสอบถามสาหรบั การเก็บข้อมูลเชงิ ปรมิ าณ สาหรบั กลุม่ ตัวอย่างสตรีต้ังครรภ์หรือมารดา วัยร่นุ ได้แก่
29 สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พืน้ ฐาน จานวน 7 ข้อ ส่วนที่ 2 ขอ้ มลู พ้ืนฐานของบุคคลในครอบครวั ของสตรีตั้งครรภห์ รือมารดาวัยรนุ่ จานวน 8 ขอ้ ส่วนท่ี 3-4 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพในระยะก่อนตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์และคลอด รวมท้ังหลงั คลอด จานวน 21 ข้อ สว่ นที่ 5 สถานการณ์ในการจัดสวัสดิการการดูแลสตรีตั้งครรภห์ รือมารดาวัยรนุ่ จานวน 44 ขอ้ ส่วนท่ี 6 ความต้องการการจัดสวสั ดิการการดูแลสตรีตั้งครรภห์ รือมารดาวยั รุ่นจานวน 38 ขอ้ 2) แบบสอบถามสาหรบั การเก็บขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ สาหรับกลุ่มตัวอย่างเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องกับ การดูแลสตรตี งั้ ครรภห์ รือมารดาวยั รุ่น ได้แก่ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐาน จานวน 7 ขอ้ สว่ นที่ 2 ปัจจัยทมี่ ีผลตอ่ การเข้าถึงบริการของสตรีตงั้ ครรภห์ รอื มารดาวัยร่นุ จานวน 15 ขอ้ ส่วนท่ี 3 ลักษณะการจดั สวัสดิการสาหรับสตรีต้ังครรภห์ รอื มารดาวัยรนุ่ จานวน 15 ขอ้ สว่ นท่ี 4 ความตอ้ งการการจดั สวสั ดกิ ารการดแู ลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น (การบริการ เชงิ รกุ ) จานวน 13 ข้อ 3) แบบสอบถามสาหรับการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ สาหรับกลุ่มตัวอย่างครอบครัวของสตรีตั้งครรภ์ หรอื มารดาวัยรนุ่ ได้แก่ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน จานวน 7 ข้อ สว่ นท่ี 2 สถานการณ์ในการจดั สวสั ดิการการดูแลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวยั รนุ่ จานวน 44 ข้อ สว่ นที่ 3 ความตอ้ งการการจัดสวัสดิการการดูแลสตรตี ้ังครรภห์ รือมารดาวัยรุ่นจานวน 38 ข้อ 3.5.2 ลักษณะแบบสอบถามในส่วนท่ีเป็นข้อมูลพ้ืนฐานของทุกกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลพื้นฐานของบุคคล ในครอบครัวของสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพในระยะก่อนตั้งครรภ์ ขณะ ต้ังครรภ์และคลอด รวมทั้งหลังคลอด เป็นแบบสอบถามท้ังปลายเปิดและปลายปิดให้เลือกตอบมีท้ังเลือกตอบ ได้ 1 ตัวเลือกและมากกว่า 1 ตัวเลือก ส่วนแบบสอบถามท่ีเหลือ เป็นแบบวัดความรู้สึกแบบ Rating scale ให้ เลือกตอบ 4 ตวั เลือก ไดแ้ ก่ ไม่เห็นดว้ ยอย่างย่ิง ไมเ่ ห็นด้วย เห็นด้วย และ เหน็ ดว้ ยอยา่ งยิง่ 3.5.3 การพัฒนาแบบสอบถาม โดยผู้วิจัยพัฒนาจากการทบทวนวรรณกรรม และผ่านการพิจารณา ความสอดคล้องของข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ของการวัดของแบบสอบถามและประเด็นการวิจัย จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ทา่ น และการประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการจากบุคคลท่มี ีความเกย่ี วขอ้ งกบั การดูแลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นใน 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ จังหวดั ชลบรุ ี จังหวัดระยอง จังหวดั จันทบรุ ี และจังหวดั ตราด 3.5.4 โครงคาถามสาหรบั การสนทนากลุม่ และการสัมภาษณเ์ ชิงลึก ท่ีได้จากการประชุมเชิงปฏิบัติการ เจา้ หนา้ ท่ีมีความเกี่ยวข้องกับการดูแลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นใน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัด ระยอง จังหวัดจนั ทบรุ ี และจงั หวัดตราด
30 3.6 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.6.1 การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ มีการเก็บข้อมูลโดยใช้ท้ังการตอบแบบสอบถามแบบกระดาษ และ Google form เนือ่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค Covid -19 โดยมกี ารประสานงานกับหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องกับการดูแลสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นใน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัด จันทบุรี และจังหวัดตราด เพ่ือให้เชิญชวนให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม ส่วนกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นสตรี ตงั้ ครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น มีการเก็บข้อมูลโดยการประสานงานกับโรงพยาบาล และท้องถ่ินท่ีมีข้อมูลของกลุ่ม ตัวอย่างดังกล่าว 3.6.2 การเกบ็ ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ ดังนี้ (1) การสนทนากลุ่ม โดยผู้วิจัยทาการเลือกจากผู้ให้ข้อมูลโดยคัดเลือกจากพื้นที่จังหวัดในการ ทาวิจัยที่มีผนู้ าชุมชนเข้มแข็ง คณะผูว้ ิจยั ไดส้ อบถามความสมัครใจจากผ้ใู ห้สมั ภาษณ์ จานวน 8 - 12 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการบริหารส่วนตาบล จานวน 2 คน ข้าราชการประจาหน่วยงานท้องถิ่น จานวน 2 คน และแม่วัยรุ่น จานวน 6-8 คน เพอื่ นามาสู่การสนทนากลุ่มหาข้อสรุปเก่ียวกับความต้องการในการจัดสวัสดิการสังคมสาหรับ แม่วัยร่นุ (2) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in depth interview) การเลือก key informant ผู้วิจัยทา การเลอื กจากผู้ใหข้ อ้ มูลท่ตี อบแบบสอบถามส่วนท่ี 1และ 2 แล้ว ผ้วู จิ ัยจะอธิบายชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียด เกี่ยวกับการทาวิจัยในระยะที่ 2 รวมถึงการพิทักษ์สิทธิของผู้ให้ข้อมูล เปิดโอกาสให้ผู้ให้ข้อมูลตัดสินใจในการ เขา้ ร่วมการวจิ ยั ตามความสมคั รใจ เมอื่ ผใู้ ห้ข้อมูลยินดีให้สัมภาษณ์เชิงลึกเป็นรายบุคคล การสัมภาษณ์เริ่มจาก ผู้วิจัยมีการสร้างสัมพันธภาพเพิ่มเติมโดยพูดคุยกันในเร่ืองทั่วไป เพ่ือทาความรู้จักซ่ึงกันและกันระหว่างผู้วิจัย และผ้ใู หข้ อ้ มลู และเร่มิ สมั ภาษณจ์ ากขอ้ มูลส่วนบุคคลท้ังของผู้ให้ข้อมูลและบุตร เพื่อเป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการ สมั ภาษณ์ โดยสถานทีใ่ นการสัมภาษณ์ คอื ในพื้นที่ท่ีจัดไว้ให้มีความเป็นส่วนตัวในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตาบล หรือบ้านของมารดาวัยรุ่นโดยผู้วิจัยเดินทางไปเยี่ยมบ้านของผู้ให้ข้อมูลเพ่ือสัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคล ซึ่งเป็นบริเวณที่มีความสะดวก และเป็นส่วนตัว ในขณะทาการเก็บข้อมูลบุตรของผู้ให้ข้อมูลบางรายจะได้รับ การเลย้ี งดจู ากบุคคลในครอบครัวของผใู้ ห้ข้อมลู เพือ่ ไมร่ บกวนการสมั ภาษณ์ หรือบางรายท่ีอาศัยในครอบครัว เด่ียวและครอบครัวขยายที่บุคคลในกรอบครัวออกไปประกอบอาชีพ อาจต้องใช้เวลาระยะหน่ึงจนกว่าบุตร นอนหลับจึงจะมีช่วงเวลาในการสัมภาษณ์ เม่ือสัมภาษณ์ ข้อมูลส่วนบุคคลเสร็จสิ้นก็เริ่มสัมภาษณ์ตามแนว คาถาม โดยเม่ือเริ่มสัมภาษณ์ประเด็นแรก ซ่ึงเป็นคาถามปลายเปิดก็จะนาข้อมูลท่ีได้จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ ข้อมูลมาทาการสัมภาษณ์เพ่ิมเติม เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกท่ีมากพอในประเด็นนั้น ๆ โดยพิจารณาจาก แนวคาถามย่อยที่สร้างขึ้นเพ่อื ให้ได้ขอ้ มลู ทีค่ รอบคลุมมากท่ีสุด จึงจะเริ่มคาถามในการสัมภาษณ์ประเด็นต่อไป การสัมภาษณ์แต่ละคร้ังใช้เวลาประมาณ 30-60 นาที ซึ่งข้ึนอยู่กับลักษณะส่วนบุคคลของผู้ให้ข้อมูล โดยการ สัมภาษณ์จะพูดคุยภาษาถ่ินเป็นส่วนใหญ่และภาษาราชการในบางประเด็น เพื่อให้สามารถบอก เล่า ประสบการณ์และความรู้สึกได้อย่างละเอียด เป็นธรรมชาติตามบริบทของผู้ให้ข้อมูล เม่ือสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล จนได้ข้อมูลท่ีเพียงพอ หรือไม่มีประเด็นเพ่ิมเติมก็จะพูดคุยกันในเรื่องทั่วไปก่อน โดยไม่หยุดสัมภาษณ์ทันที หลังจากน้ันก็นัดหมายการสัมภาษณ์ครั้งต่อไป จะทาการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลรายละ 2 ครั้ง จนได้ข้อมูลที่มี
31 ความอ่ิมตัวโดยไมม่ ขี ้อมูลใหมเ่ กดิ ขนึ้ และมีการสัมภาษณ์เพิ่มเติมทางโทรศัพท์ เพื่อให้ได้ข้อมูลในบางประเด็น เพิ่มเติม หลังจากน้ันก็นาบทสัมภาษณ์ที่ได้จากการถอดเทปเสียงมาอ่านทบทวน เพื่อสารวจว่าได้ข้อมูล ครบถว้ นหรือไม่ และคน้ หาข้อมลู เพิม่ เติมในการสัมภาษณ์ครง้ั ตอ่ ไป ภายหลังการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลแต่ละราย และการสนทนากลุ่มเสร็จส้ิน ผู้วิจัยจะบันทึก ภาคสนาม (field not) และ การบันทึกความรู้สึกสะท้อนคิด (reflective journal) ทุกครั้งและทุกราย โดย การบันทึก ภาคสนามจะทาการบันทึกในประเด็นท่ีค้นพบท้ังสถานท่ี วันเวลา สีหน้าท่าทาง ลักษณะคาพูด น้าเสยี งตามความเป็นจรงิ รวมไปถึงขอ้ มูลที่เป็นความคดิ และปัญหาทเ่ี กดิ ขึ้นกับผู้วจิ ยั ในขณะทาการสัมภาษณ์ เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ มลู ท่ีชว่ ยเพ่ิมความชดั เจน ครอบคลุมข้อมลู จากการบันทึกเสียง และการบันทึกความรู้สึกสะท้อนคิด ซึ่งเป็นการบรรยายถึงความรู้สึกของผู้วิจัยท่ีมีต่อการสัมภาษณ์และสถานการณ์ของผู้ให้ข้อมูล การบันทึก ความรู้สึกสะท้อนคิดเพื่อป้องกันการนาความรู้สึกของผู้วิจัยไปตีความเหตุการณ์ของผู้ให้ข้อมูล การบันทึก ภาคสนามและความรู้สึกสะท้อนความคิดจะบันทึกลงในแบบฟอร์มที่เตรียมไว้ด้วยลายมือ ก่อนสัมภาษณ์ผู้ให้ ข้อมูลรายตอ่ ไป เพ่ือปอ้ งกนั ความสบั สนของข้อมลู หลังจากน้นั จะนาขอ้ มลู จากการบันทึกด้วยลายมือมาบันทึก ลงในคอมพวิ เตอร์อกี ครง้ั เพ่ือความสวยงามและความสะดวกในการตรวจสอบข้อมลู 3.7 การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาในครั้งนี้ประกอบด้วย การวิเคราะห์เชิงปริมาณและ เชิงคณุ ภาพ โดยทาการวเิ คราะหเ์ ชิงปรมิ าณจากสตรีตง้ั ครรภ์วัยร่นุ หรือมารดาวยั รุ่นหลังคลอด และครอบครัว ของกลมุ่ เป้าหมาย รวมทั้งหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ดงั นี้ 3.7.1 การวิเคราะหผ์ ลขอ้ มูลเชิงปริมาณ มีขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. การตรวจสอบขอ้ มูล (Editing) ผวู้ จิ ัยตรวจสอบความสมบรู ณข์ องการตอบแบบสอบถาม 2. การลงรหสั (Coding) ผวู้ ิจยั นาแบบสอบถามที่มีความถูกต้องสมบูรณ์มาลงรหสั ตามทก่ี าหนดไว้ 3. การประมวลผลข้อมูล ผู้วจิ ยั นาแบบสอบถามที่ผา่ นการลงรหัสเรียบร้อยแล้วมาบันทึกข้อมูล ลงในเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ และวิเคราะหโ์ ดยใช้สถิตเิ ชิงพรรณนา 3.7.2 การวิเคราะห์ผลข้อมูลเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยนาข้อมูลท่ีได้จากกงานวิจัยมาจัดกระทาให้เป็นระบบ ทาการหาความหมาย แยกแยะองค์ประกอบ เชื่อมโยง และหาความสัมพันธ์ของข้อมูล เพื่อนาสู่การทาความเข้าใจ โดยผู้วิจัยได้ทาการจัดระเบียบข้อมูลทันทีหลังจากการเก็บรวบรวมข้อมูล นาข้อมูลหลายประเภทท่ีได้มาจาก หลายวิธีการ เช่น ข้อมูลจากการสังเกต จากการสัมภาษณ์ และสนทนากลุ่ม มาจัดระเบียบเน้ือหาของข้อมูล (Data organization) และดาเนนิ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ภาคสนาม (Field note) วิเคราะห์จาแนกประเภทข้อมูล (Typological analysis) วิเคราะห์เชิงเน้ือหา (Content analysis) และวิเคราะห์แบบเมทริกซ์ (Matrix) เพื่อ หาโครงสร้าง ความหมาย เช่ือมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลที่รวบรวมมาสร้างข้อสรุปจากข้อมูลชุดต่าง ๆ โดย การวเิ คราะหแ์ ละตีความข้อมูล
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา การจดั สวสั ดกิ ารทเ่ี หมาะสมสําหรับสตรตี ง้ั ครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นหลังคลอด แบ่งผลการศึกษาออกได้ เป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ส่วนท่ี 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ และส่วนที่ 3 แนวทางการจดั สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับกลมุ่ เปาู หมายตงั้ ครรภใ์ นวยั รุน่ ดังน้ี 4.1 ส่วนที่ 1 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชิงปรมิ าณ ตอนท่ี 1 จากการศึกษาพบว่าสถานการณ์การจัดสวัสดิการการดูแลสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ปัญหาและความต้องการการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมสําหรับสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นและข้อเสนอการ บรกิ ารเชงิ รกุ ในการจดั สวัสดิการสําหรับสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นตามความคิดเห็นและประสบการณ์ของ มารดาวัยรนุ่ ครอบครวั ของมารดาวยั รนุ่ และเจา้ หนา้ ท่ี มีดงั น้ี 1) สถานการณ์การจัดสวัสดิการการดูแลสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ปัญหาและความต้องการ และ ข้อเสนอการบรกิ ารเชงิ รุก ในการจัดสวสั ดิการสาหรับสตรตี ง้ั ครรภ์หรือมารดาวัยรุน่ หลังคลอด ตามความคิดเห็น และประสบการณข์ องสตรีตงั้ ครรภห์ รอื มารดาวัยรนุ่ 1.1) ขอ้ มลู ลกั ษณะท่ัวไปของสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุน่ หลงั คลอด ปัญหา/ความต้องการการจดั สวัสดิการที่เหมาะสมสําหรับสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น และ ข้อเสนอการบริการเชิงรุกในการจัดสวัสดิการสําหรับสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่น ตามความคิดเห็นและ ประสบการณ์ของสตรตี ้งั ครรภห์ รอื มารดาวยั รุ่นจํานวน 99 ราย มีดงั น้ี 1.1.1) ข้อมูลลักษณะทัว่ ไปของสตรตี ั้งครรภห์ รือมารดาวัยรุ่น ได้แก่ สตรีตงั้ ครรภห์ รือมารดาวยั รุน่ ส่วนใหญ่อายุต่ํากว่าหรือเท่ากับ 18 ปี ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ สถานภาพสมรสคู่ ลาออกจากสถานศึกษาหรือหยุดการศึกษา และไม่ได้ประกอบอาชีพ หรือมี อาชีพแม่บ้าน มีรายได้ 3,000 บาท/เดือนขึ้นไป โดยเป็นรายได้จากการประกอบอาชีพของตนเองเป็นหลัก สว่ นใหญ่มีบุตร 1 คน และอายุบุตรคนสดุ ทอ้ งส่วนใหญ่นอ้ ยกว่า 12 เดอื น โดยสถานภาพสมรสของบิดามารดา ในปัจจุบันของสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสคู่ มากกว่าร้อยละ 50 มีบุคคลท่ีรู้จัก ใกล้ชิดท่ีต้ังครรภ์ขณะเป็นวัยรุ่นทั้งพ่ี/น้องและเพ่ือนซึ่งกลุ่มตัวอย่างบางคนมีทั้งเพ่ือนและพี่/น้องท่ีมีประวัติ ต้ังครรภ์ขณะวัยรุ่น ส่วนสามีหรือบิดาของบุตรของสตรีตั้งครรภ์/มารดาวัยรุ่น ส่วนใหญ่อายุมากกว่าหรือ เท่ากับ 20 ปี ประกอบอาชีพท้ังรับจ้าง ธุรกิจส่วนตัว เกษตรกรและรับราชการ และมีเพียงร้อยละ 2.4 ยังคง เปน็ นกั ศึกษา (ตารางที่ 1)
33 ตารางที่ 1 ลกั ษณะทัว่ ไปของสตรีตงั้ ครรภ์/มารดาวัยรุน่ ขอ้ มูล จานวน ร้อยละ 7 7.1 อายปุ ัจจบุ นั (ปี) 13 – 15 53 53.5 39 39.4 16 – 18 91 91.9 8 8.1 19 – 21 50 50.5 25 25.3 ศาสนา พุทธ 10 10.1 3 3.0 อสิ ลาม 1 1.0 10 10.1 การศึกษาในปจั จุบนั หยุดเรยี น/ ลาออก 86 (11/75) 86.9 (11.1/75.8) ศกึ ษานอกระบบ 13 13.1 47 47.5 พกั การศกึ ษาชั่วคราว 29 29.3 16 16.2 ศึกษาตอ่ ในสถานศกึ ษาเดิม 3 3.0 4 4.0 ศึกษาตอ่ ในสถานศึกษาใหม่ 5 5.1 4 4.0 ไมต่ อบ 60 60.6 19 19.2 สถานภาพสมรส คู่ (จดทะเบียนสมรส/ไมจ่ ดเบยี นสมรส) 11 11.1 43 43.4 หย่า/หม้าย/แยก 20 20.2 18 18.2 อาชีพ ไม่ได้ประกอบอาชพี /แมบ่ ้าน 18 18.2 73 73.7 รบั จ้างทัว่ ไป 8 8.1 18 18.2 ธุรกจิ สว่ นตัว เกษตรกร ไม่ตอบ รายได้ตอ่ เดือน ไม่มีรายได้ < 3,000 3,000 – 10,000 > 10,000 ไม่ตอบ แหลง่ ของรายได้หลกั การประกอบอาชพี สามี ครอบครวั ไม่ตอบ/ไมม่ ีรายได้ จาํ นวนบตุ รมีชวี ติ 1 คน 2 -3 คน ไม่ตอบ
ข้อมูล 34 อายขุ องบุตรคนแรก (เดือน) < 24 จานวน ร้อยละ 42 42.4 24 ขน้ึ ไป 11 11.1 46 46.5 ไม่ตอบ 50 50.5 22 22.2 อายุของบุตรคนสุดท้อง (เดอื น) < 12 27 27.3 56 56.6 12 เดอื นข้ึนไป 43 43.4 78 78.8 ไม่ตอบ 53 53.5 7 7.1 สถานภาพสมรสของบิดามารดา อย่ดู ว้ ยกนั 23 23.2 51 51.5 ในปัจจบุ นั หมา้ ย/หยา่ /แยก 11 11.1 7 7.1 บคุ คลใกลช้ ดิ ที่ตั้งครรภ์ขณะ เพ่อื น 63 63.6 10 10.1 เปน็ วัยรุ่น พ/ี่ น้อง 6 6.1 3 3.0 อายุของพอ่ ของบุตร (ป)ี <18 2 2.0 6 6.1 18 - 19 9 9.1 20 - 29 30 ปีขึ้นไป ไม่ตอบ อาชพี ของพอ่ ของบตุ ร รบั จา้ ง ธรุ กจิ สว่ นตัว เกษตรกร นกั ศกึ ษา รับราชการ ไมป่ ระกอบอาชพี ไมต่ อบ/ไม่ทราบ 1.1.2) ขอ้ มลู สตรตี ั้งครรภห์ รอื มารดาวัยรุ่น ระหว่างตงั้ ครรภแ์ ละการมีบตุ ร 1.1.2.1) สตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นมากกว่าร้อยละ 80 มีการตั้งครรภ์ตอนอายุ น้อยกวา่ หรือเท่ากบั 18 ปี ร้อยละ 36.4 ต้ังครรภ์ขณะเป็นนักเรียน เกือบคร่ึงหนึ่งไม่ตั้งใจตั้งครรภ์ โดยที่ร้อยละ 35.4 ไม่ได้คุมกาํ เนิด มากกว่าร้อยละ 90 ไม่สูบบุหรี่ และร้อยละ 13.1 ยังคงด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ขณะท่ีสามี หรอื เพ่อื นชายร้อยละ 43.4 ทีส่ ูบบุหร่หี รอื ด่มื เครื่องด่มื แอลกอฮอล์ (ตารางท่ี 2) 1.1.2.2) สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นไปฝากครรภ์ครั้งแรกเม่ืออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ (35.4%) บุคคลท่ีทราบเรื่องการต้ังครรภ์คนแรกส่วนใหญ่คือ สามี (53.5%) ซึ่งเป็นทั้งผู้ให้คําปรึกษา (45.5%) รวมท้งั เป็นผ้ดู ูแลขณะต้ังครรภ์ (58.6%) สตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่ดูแลบุตรด้วยตนเอง (73.7%)
35 และสตรีตั้งครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นส่วนใหญ่อาศัยอยู่กับบิดามารดาของตนเองในขณะต้ังครรภ์ (62.6%) (ตารางท่ี 2) ตารางที่ 2 ขอ้ มูลสตรตี ้ังครรภ์หรือมารดาวยั รนุ่ ระหว่างต้ังครรภแ์ ละการมบี ตุ ร ขอ้ มูล จานวน รอ้ ยละ 16 16.2 อายขุ ณะตง้ั ครรภค์ รง้ั แรก (ป)ี 13 – 15 66 66.7 17 17.2 16 – 18 36 36.4 28 28.3 19 – 20 23 23.2 12 12.1 อาชีพก่อนตั้งครรภ์ นักเรียน 49 49.5 47 47.5 รับจา้ ง/ธุรกิจส่วนตัว/เกษตรกร 3 3.0 64 64.6 ไมไ่ ด้เรียนและไม่ประกอบอาชีพ 35 35.4 ไมต่ อบ 19 19.2 8 8.1 ความตง้ั ใจในการตั้งครรภ์ ตง้ั ใจ 4 4.0 4 4.0 ไม่ต้งั ใจ 15 23.4 11 17.2 ไม่ตอบ 9 14.1 7 10.9 การคุมกาํ เนิดกอ่ นต้ังครรภ์ ใช้ 3 4.7 2 3.1 ไมใ่ ช้ 2 3.1 2 3.1 เหตุผลทไี่ ม่คุมกําเนิด 11 17.2 1) มเี พศสัมพันธ์แบบไมไ่ ด้ตง้ั ใจ/เมาสุรา 2) ไม่ทราบวิธกี ารคมุ กําเนิด 3) มผี ลข้างเคียงจากการคมุ กาํ เนิด 4) อนื่ ๆ ประเภทการคมุ กําเนดิ ก่อนการ ยาเมด็ คมุ กาํ เนิด ตง้ั ครรภ์ ถงุ ยางอนามัย ยาคุมฉุกเฉนิ ยาฝงั คมุ กาํ เนดิ ยาฉดี คมุ กาํ เนดิ หล่ังภายนอก ถงุ ยางอนามัยและคมุ กาํ เนดิ ชั่วคราวอ่ืน ๆ นับระยะปลอดภยั ไมร่ ะบุ
36 ข้อมูล จานวน รอ้ ยละ 64 64.6 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไมเ่ คย 22 22.2 13 13.1 เคยและเลกิ แลว้ 88 88.9 10 10.1 ปัจจบุ ันยงั ด่มื 1 1.0 29 29.3 การสบู บหุ รี่ ไม่เคย 27 27.3 43 43.4 เคยและเลิกแลว้ 41 41.4 15 15.2 ปจั จุบันยังสบู บหุ ร่ี 43 43.4 47 47.5 การด่มื แอลกอฮอล์ของสามหี รอื ไมเ่ คย 35 35.4 17 17.2 เพอ่ื นชาย เคยและเลิกแลว้ 53 53.5 33 33.3 ปัจจุบนั ยงั ด่ืม 14 14.1 3 3.0 การสูบบหุ ร่ขี องสามหี รือเพื่อนชาย ไม่เคย 1 1.0 45 45.5 เคยและเลกิ แลว้ 45 45.5 40 40.4 ปัจจุบันยงั สบู บหุ ร่ี 5 5.1 3 3.0 อายคุ รรภท์ ี่ไปฝากครรภ์ครั้งแรก ภายใน 12 สปั ดาห์ 7 7.1 58 58.6 หลงั 12 สปั ดาห์ 48 48.5 38 38.4 ไมต่ อบ 11 11.1 9 9.1 บุคคลคนแรกท่ที ราบการตงั้ ครรภ์ สามี (เลือกไดม้ ากกว่า 1 ตัวเลอื ก) บิดา มารดา หรอื ผูป้ กครองของตนเอง บิดา มารดา หรือ ผปู้ กครองของสามี เพอื่ น เจ้าหน้าท่ี บุคคลทใ่ี ห้คําปรึกษาเม่ือทราบการ สามี ต้ังครรภ์ บิดา มารดา หรอื ผู้ปกครองของสามี (เลือกได้มากกวา่ 1 ตัวเลอื ก) บิดา มารดา หรือ ผ้ปู กครองของตนเอง ครู เพือ่ น ไม่มี ผทู้ ่ใี หก้ ารดแู ลขณะตง้ั ครรภ์ครั้งนี้ สามี (เลอื กได้มากกวา่ 1 ตัวเลอื ก) บดิ า มารดาของตนเอง บดิ า มารดาของสามี ญาติพีน่ ้องของตนเอง ญาติพน่ี อ้ งของสามีหรอื เพอื่ นชาย
37 ขอ้ มูล จานวน รอ้ ยละ เพอ่ื น 4 4.0 ผู้ทเ่ี ปน็ หลกั ในการเลยี้ งดูบุตร ตนเอง 73 73.7 บิดา มารดา หรือ ญาตขิ องตนเอง 18 18.2 บิดา มารดา หรอื ญาตขิ องสามี 6 6.1 สามหี รือเพ่ือนชาย 2 1.0 บคุ คลที่อาศยั อย่ดู ว้ ยขณะตั้งครรภ์ บิดา มารดา หรือญาติของตนเอง 62 62.6 บิดา มารดา หรอื ญาติของสามี 19 19.2 สามีหรอื เพ่อื นชาย 18 18.2 1.2) สถานการณใ์ นการจดั สวสั ดิการการดูแลสตรีต้งั ครรภ์วยั รุ่นหรอื มารดาวัยรุ่น 1.2.1) บคุ คลหรือหน่วยงานท่ีสตรีต้ังครรภ์หรือมารดาวัยรุ่นได้รับความช่วยเหลือหรือดูแลใน ระหว่างต้ังครรภ์ พบว่ามากกว่าร้อยละ 80 บิดา มารดา ญาติของสามี และบุคลากรด้านสุขภาพในชุมชน ให้ความช่วยเหลือดูแลในระหว่างการต้ังครรภ์ และมากกว่าร้อยละ 60 ท่ีมีบิดา มารดา ญาติหรือเพื่อนของ ตนเองและสถานบริการสาธารสุขของรัฐบาลทั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล โรงพยาบาลชุมชน หรือ โรงพยาบาลจังหวัด ส่วนกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และโรงพยาบาลหรือคลินิก เอกชนให้ความช่วยเหลือดูแลระหว่างการตั้งครรภ์มากกว่าร้อยละ 33 ส่วนการได้รับความช่วยเหลือดูแลใน ระหว่างการตั้งครรภ์จากหน่วยงานที่น้อยที่สุด (ร้อยละ 25.3 – 29.3) ได้แก่ กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน (สาํ นักค้มุ ครองแรงงาน) และจากมลู นธิ ติ ่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง (ตารางท่ี 3) ตารางที่ 3 บคุ คลหรือหน่วยงานทสี่ ตรีตงั้ ครรภ์หรอื มารดาวัยรุ่นไดร้ บั ความชว่ ยเหลือหรอื ดแู ลในระหวา่ ง ตงั้ ครรภ์ บคุ คลหรือหน่วยงาน จานวน รอ้ ยละ 1. บิดา มารดาหรือญาติของสามี 88 88.9 2. บุคลากรทางสุขภาพในชมุ ชน เช่น อสม. พยาบาล แพทย์ 82 82.8 3. บดิ า มารดา ญาติหรอื เพ่ือนของตนเอง 61 61.6 4. โรงพยาบาลชมุ ชน/โรงพยาบาลจังหวัด 61 61.6 5. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตําบล (รพ.สต.) 53 53.5 6. โรงพยาบาลเอกชน/คลนิ กิ เอกชน 37 37.4 7. กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ 33 33.3 8. กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน (สํานกั คุ้มครอง 29 29.3 แรงงาน)
38 บคุ คลหรอื หน่วยงาน จานวน รอ้ ยละ 9. มูลนิธเิ พ่อื นหญิง 27 27.3 10. มูลนธิ สิ หทัยมลู นธิ ิ และ มูลนธิ ิภคินศี รีชุมพาบาล 25 25.3 1.2.2) การเขา้ รว่ มกจิ กรรมหรอื รับบรกิ ารจากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ของสตรีตัง้ ครรภว์ ัยรนุ่ พบว่า มากกว่าร้อยละ 80 หญิงต้ังครรภ์วัยรุ่นเข้าร่วมกิจกรรมจากหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ การเตรียมความพร้อมเล้ียงบุตร การฝากครรภ์และให้ความรู้การดูแลครรภ์ การดูแลตนเองระหว่างการ ต้ังครรภ์ การเตรียมตัวคลอดคําแนะนําเก่ียวกับการผ่อนคลายความเครียด การสอนให้รู้วิธีการคุมกําเนิด และ การรับฟงั ปัญหาและใหค้ าํ ปรึกษาอยา่ งต่อเนื่อง (ตารางท่ี 4) มากกว่าร้อยละ 70 หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นเข้าร่วมกิจกรรมจากหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ การจัดกลุ่มฝึกทักษะชีวิตการเป็นมารดา บิดาเช่น ฝึกใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ การดูแลทารก การให้คําปรึกษาด้าน กฎหมาย เช่นการแจ้งช่ือของสามี การรับรองบุตร การแจ้งเกิด และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ รว่ มกนั (ตารางท่ี 4) ร้อยละ 54.5 – 69.7 ของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นเข้าร่วมกิจกรรมจากหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ การสอนการยับย้ังช่ังใจ การแจ้งสิทธิกรณีสตรีตั้งครรภ์ และ/หรือครอบครัวเป็นผู้เสียหาย การสนับสนุนการ ฝึกอาชพี การไดร้ บั ทุนอุดหนนุ ศิลปะบําบัด และการสนบั สนุนการเรยี นต่อ (ตารางท่ี 4) ตารางท่ี 4 การเขา้ ร่วมกจิ กรรมหรือรบั บริการจากหน่วยงานทใี่ ห้ความชว่ ยเหลอื ดแู ล การเข้าร่วมกิจกรรมหรือรบั บริการ จานวน รอ้ ยละ 100.0 1. เตรียมความพร้อมเลยี้ งบตุ ร 99 96.0 89.9 2. ฝากครรภ์ และให้ความรู้การดแู ลครรภ์ 96 87.9 3. การดแู ลตนเองระหว่างการต้ังครรภ์ การเตรยี มตัวคลอดคาํ แนะนาํ เกี่ยวกบั 89 86.9 77.8 การผอ่ นคลายความเครียด 75.8 4. สอนให้รวู้ ธิ ีการคุมกําเนิด 87 73.7 5. การรับฟังปัญหาและให้คําปรึกษาอยา่ งต่อเนือ่ ง 86 69.7 61.6 6. จัดกล่มุ ฝึกทักษะชวี ิตการเปน็ มารดา บิดา เช่น ฝึกใช้อปุ กรณต์ า่ ง ๆ 77 การดแู ลทารก 7. การใหค้ าํ ปรึกษาดา้ นกฎหมาย เชน่ การแจ้งชอื่ ของสามี การรบั รองบตุ ร 75 การแจง้ เกิด 8. แลกเปลย่ี นประสบการณก์ ารเรียนรู้รว่ มกัน 73 9. สอนการยับยง้ั ชง่ั ใจ 69 10. แจ้งสิทธกิ รณีสตรีตัง้ ครรภ์ และ/หรือครอบครัวเปน็ ผเู้ สียหาย 61
39 การเขา้ ร่วมกจิ กรรมหรอื รบั บรกิ าร จานวน ร้อยละ 11. การสนับสนนุ การฝกึ อาชีพ 63 63.6 12. ไดร้ บั ทุนอุดหนนุ 57 57.6 13. ศลิ ปะบาํ บัด 54 54.5 14. การสนับสนนุ การเรียนต่อ 54 54.5 1.3) ปัญหาท่เี กดิ ข้นึ ระหว่างต้ังครรภห์ รอื หลงั คลอด โดยส่วนใหญ่พบว่า มากกว่าร้อยละ 32 ท่ีรู้สึกหดหู่ หรือเศร้าในระหว่างตั้งครรภ์ ขณะท่ีร้อยละ 10.1 ที่รู้สึกผิดจนอยากฆ่าตัวตาย หรือทําร้ายตนเองรวมท้ังทําแท้ง มากกว่าร้อยละ 25 ที่หญิงต้ังครรภ์วัยรุ่นหลุดจาก ระบบการศึกษาโดยไม่สมัครใจ และถูกกีดกันทางสังคม เช่น การไม่สามารถเข้าถึงงานอาชีพและรายได้ นอกจากน้มี ากกว่าร้อยละ 20 ยงั ไดร้ บั การชว่ ยเหลือจากญาติของตนเองและครอบครัวของสามนี ้อย (ตารางท่ี 5) ตารางท่ี 5 ปัญหาของสตรีตง้ั ครรภ์วยั รุ่นหรือมารดาวยั รนุ่ หลังคลอด จานวน ร้อยละ ปญั หา/สถานการณ์ 32 32.3 10 10.1 1. มีอารมณ์เศรา้ หดหู่ ระหว่างต้ังครรภ์ 28 28.3 2. รสู้ ึกผิดจนอยากทาํ ร้ายตนเองหรอื อยากฆา่ ตัวตายหรือทําแท้งระหวา่ งต้งั ครรภ์ 32 32.3 3. การหลดุ ออกจากระบบการศึกษาโดยไมเ่ ต็มใจ 4. ไม่มีความรู้ทางด้านกฎหมาย การเรยี กร้องสิทธติ า่ ง ๆ หรือ ไม่ได้รบั 28 28.3 การชว่ ยเหลือในกระบวนการยตุ ธิ รรม 24 24.2 5. การถกู กีดกนั ทางสังคม เช่น การไมส่ ามารถเข้าถึงงานอาชีพและรายได้ 23 23.2 6. ไดร้ บั การช่วยเหลอื จากเครือญาตขิ องตนเองน้อย 26 26.3 7. ไดร้ บั การช่วยเหลือจากเครือญาติฝาุ ยชายน้อย 8. ปญั หาดา้ นสมั พันธภาพในครอบครัว 1.4) ความตอ้ งการการจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมสาหรับสตรตี ง้ั ครรภ์วัยร่นุ ดังน้ี 1.4.1) ความต้องการการจัดสวัสดิการด้านการศึกษาสําหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นหรือมารดา วัยรนุ่ ขณะตั้งครรภ์พบมากกว่าร้อยละ 80 ความต้องการเกี่ยวกับการแจ้งเกี่ยวกับการต้ังครรภ์ให้ครูทราบมาก ที่สุด ส่วนความต้องการด้านการพูดคุยกับสถานศึกษาเก่ียวกับการต้ังครรภ์ การสนับสนุนหรือช่วยเหลือใน การศึกษาทั้งในและนอกระบบ การได้รับการปรึกษาแนะนํา และทางเลือกในการศึกษา เช่น แผนการศึกษา ย้ายรอบเรียน การหยุดหรือขาดเรียน การกลับเข้าศึกษาใหม่หลังคลอด การบริการสวัสดิการทางการศึกษา ช่วงของการตัง้ ครรภ์ คอื ความยืดหยนุ่ ในระเบียบของสถานศึกษา เช่น เครอ่ื งแต่งกาย และการปูองกันการถูกตี ตราจากครู เพ่ือนหรอื บุคลากรในสถานศกึ ษาพบความตอ้ งการมากกวา่ ร้อยละ 60 (ตารางท่ี 6)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126