Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ติดเชื้อและอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ วพบ ยะลา 2560

ติดเชื้อและอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ วพบ ยะลา 2560

Published by kholidkarunan, 2018-03-15 03:29:26

Description: การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ

คอลิด ครุนันท์
วิทยาลัยพยาลบรมราชชนนียะลา

Keywords: การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอักเสบติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ

Search

Read the Text Version

การพยาบาลผปู้ ว่ ยที่มีการอกั เสบตดิ เชือ้ ในระบบทางเดินปสั สาวะ คอลดิ ครุนนั ท์ วิทยาลัยพยาลบรมราชชนนยี ะลา



• UTI• urethritis• Cystitis• Pyelonephritis• Glomerulonephritis• Nephrotic Syndrome• Acute Glomerulonephritis ; AGN

ปัญหาการตดิ เช้อื ทางเดนิ ปัสสาวะUrinary Tract Infection (UTI) การทร่ี า่ งกายมีอณุ หภมู ิสูงขึน้ สว่ นหน่ึงมกั มสี าเหตุจากมกี ารติดเช้ือของทางเดินปัสสาวะ การติดเช้อื สว่ นใหญม่ ักมสี าเหตมุ าจากแบคทเี รีย (bacteria) ในเพศหญิงมโี อกาสติดเช้ือทางเดนิ ปสั สาวะได้มากกวา่ เพศชาย ด้วยสาเหตุของช่องทางเดนิ ปัสสาวะที่ส้นั กวา่ และอย่ใู กล้กับทวารหนกั ซึง่ อตั ราการตดิ เชื้อทางเดินปัสสาวะในเพศหญงิ ในวัย school – age พบประมาณรอ้ ยละ 1 และ ร้อยละ 4ในช่วงหลงั คลอด นอกจากสาเหตุขา้ งตน้ แลว้ พบวา่ การมเี พศสัมพนั ธ์ุและวัยสงู อายุก็จะเปน็ อีกสาเหตหุ นึ่งดว้ ย (Long, Phipps & Casmeyer, 1993)

ปัจจยั เส่ียงท่ีทำใหเ้ กิดกำรติดเช้ือของทำงเดินปัสสำวะ ปจั จยั เสีย่ ง การตรวจพบเพศหญิง (female) ทางเดนิ ปสั สาวะสนั้โครงสร้างผดิ ปกติ ทอ่ ตบี ตัน (stricture) การเชอื่ มตอ่ ระหวา่ งท่อไตกับกระเพาะปัสสาวะผดิ ปกติ (ureterovesical)การอดุ ก้ัน (obstruction) ก้อนเนอ้ื (tumors) ตอ่ มลูกหมากโต (prostatic hypertrophy) กอ้ นนิว่ (calculi)ความผดิ ปกติของกระเพาะ มคี วามผดิ ปกตขิ องเส้นประสาทแตก่ าเนิด เส้นประสาทถูกทาลาย หลอดเลอื ดปสั สาวะ แข็งตัวหลายตาแหนง่ (multiple sclerosis)โรคเรือ้ รัง (chronic disease) เกา๊ ท์ (gout) เบาหวาน (Diabetes mellitus) ความดันโลหติ สงู (Hypertension) โรคโลหิตจาง ชนดิ sickle cell ไตวายเรอ้ื รังเคร่อื งมอื /อุปกรณ์ทาง การสวน (catheterization) การวินจิ ฉยั ตา่ งๆ : - การส่องกล้อง cystoscopyการแพทย์ Long, P. & Cassmeyer. (1993). Medical Surgical Nursing ; A Nursing Process. Approach. 3rd London : Mosby.

การทมี่ ปี ัสสาวะคั่งค้างในกระเพาะปสั สาวะหรอื ทางเดนิ ปัสสาวะ ทาให้ปริมาณแบคทเี รียสะสมเพม่ิ มากขึ้น และนอกจากนี้ยังทาใหม้ คี วามดนั เพม่ิ มากขน้ึปัสสาวะจึงดันขึน้ ไปยังสว่ นบนของทางเดินปัสสาวะ ทาให้สามารถพบวา่ มกี ารอกั เสบในส่วนบนของระบบทางเดนิ ปัสสาวะได้ คือ มกี ารอกั เสบของกรวยไต(pyelonephritis) สาหรับในสว่ นลา่ งของทางเดนิ ปสั สาวะพบบอ่ ย คอื กระเพาะปัสสาวะ (cystitis) และทอ่ ปสั สาวะอักเสบ (urethritis) สาเหตุของ bacteriaสว่ นใหญ่ท่ีพบมกั เป็นแบคทเี รียกรัมลบ เช่น E. coli (Escherichia coli),klebsiella, Proteus, Enterobacter, Pseudomonas แต่อาจพบ แบคทเี รียกรัมบวก พวก Staphylococcus saprophyticus ได้ผูห้ ญิงวัยรุ่นในชว่ งหนา้ รอ้ นจากการเลน่ นา้ ในท่ีสาธารณะ

การตดิ เช้อื ทอ่ ปัสสาวะ (urethritis)

การติดเชือ้ ทอ่ ปสั สาวะ (urethritis)การตดิ เช้อื ทอ่ ปัสสาวะ (urethritis) หรือการอักเสบของท่อปสั สาวะ (inflammation)• ผ้ชู ายมีสาเหตจุ ากการร่วมเพศสาสอ่ น และมักพบร่วมกับการอกั เสบของต่อมลูกหมาก• การใช้น้าสบูพ่ ิเศษแชน่ ้าอาบ ใช้นา้ หอมเฉพาะที่• ผูห้ ญงิ มักเกิดจากการใช้ผา้ อนามัยทไี่ มส่ ะอาดพอ เช้อื ทท่ี าใหเ้ กดิ การอักเสบ เช่น Gonorrhea , Trichomonas และเช้ือรา• มสี าเหตุจากเช้ือแบคทเี รยี , การระคายเคอื ง จากการบาดเจบ็ การท่ีรา่ งกายไวต่อ ปฏิกริ ิยาต่างๆ รวมถงึ การอาบน้าในอา่ ง/สระ หรอื การติดเชอื้ กามโรคตา่ งๆ

พยาธสิ รรี วทิ ยา• การอกั เสบของท่อปสั สาวะทาใหเ้ กิดแผลเป็น ซ่งึ ทาให้เกดิ การตบี แคบของท่อ ปสั สาวะ ถ้าการอักเสบลกุ ลามไปถึงด้านนอกของท่อปัสสาวะ จะเกดิ เปน็ ฝรี อบๆ ท่อปสั สาวะ และอาจเกิดรอยทะลขุ ึน้ ได้ (Urethral fistula)• ถ้าไม่ได้รับการรักษา ในผูช้ ายเช้ือโรคจะลุกลามเข้าสู่ตอ่ มลกู หมาก ทาใหเ้ กดิ การ อักเสบและมขี นาดโตขึ้น ซ่งึ จะเบียดท่อปัสสาวะใหแ้ คบลง ทาใหเ้ กิดการอุดก้นั ของ ทอ่ ปัสสาวะ

อาการและอาการแสดงผปู้ ่วยส่วนใหญม่ ักจะมาด้วยเรอ่ื ง• การถา่ ยปสั สาวะปวดแสบ สาหรับเพศหญงิ อาจมอี าการบวมแดงของ labial tissue, urethra มสี แี ดงจัด แตจ่ ะไมม่ ี discharge• มีอาการปวดปัสสาวะอยู่เสมอ ปัสสาวะขนุ่ ในตอนแรกและถา่ ยปสั สาวะตอนหลงั ใส ถา้ เป็นมากจะรู้สกึ ปวดถว่ งบริเวณหัวเหนา่ และโคนอวัยวะเพศชาย ถา้ ไม่ไดร้ ับการ รกั ษาจะทวอี าการรนุ แรงขึ้น อาจมไี ข้ และหนาวสนั่• ผลตรวจปัสสาวะจะพบมี pus. ในปสั สาวะแรกของเชา้ ตรู่• WBC

การรกั ษา : ด้วยยาปฏิชีวนะ (antibiotic)การพยาบาล : อธบิ ายใหผ้ ู้ป่วยเข้าใจถงึ สาเหตขุ องโรค การรักษา ผลของยาและการป้องกนั การเกดิ เป็นซ้า อาจใชค้ รีมปา้ ย (ointments or creams) หลงั การถา่ ยปสั สาวะ และหากพบว่ามสี าเหตจุ ากการมเี พศสมั พนั ธุ์และการเปลยี่ นคู่นอนจึงควรแนะนาให้รักษาทงั้ คู่ เพราะสามารถตดิ ต่อกนั ได้

การตดิ เชื้อของกระเพาะปสั สาวะ (cystitis)

การติดเชอ้ื ของกระเพาะปัสสาวะ (cystitis)การติดเชอื้ ของกระเพาะปสั สาวะ (cystitis) หรอื การอกั เสบของผนงั กระเพาะปัสสาวะ(inflammatory)• แบคทเี รีย รอ้ ยละ 80 คือ เชือ้ E. Coli Klebsiella , Proteus และเชื้ออืน่ ทอ่ี าจพบได้ เชน่ Staphylococci , Neisseria gonorrhea , Treponema pallidum และ Trichomonas vaginalis เป็นตน้• เชอื้ รา (Fungal) ท่เี กดิ ข้ึนบรเิ วณผนังของกระเพาะปัสสาวะ• น่ิวในกระเพาะปัสสาวะหรือการคาสายสวนปัสสาวะ• กายวิภาคของท่อทางเดินปสั สาวะของเพศหญงิ ทท่ี าใหม้ ีอัตราการตดิ เชื้อที่สงู กวา่ เพศชาย• สาเหตุอ่นื ๆ ทีพ่ บได้ก็คือการมีเพศสมั พนั ธ์ุ (exposure), การฉายรงั สี (radiation) โดยเฉพาะในผ้หู ญิงที่แต่งงานใหมๆ่ เรยี กวา่ Honey moon cystitis

อาการและอาการแสดง• เจ็บปวดขณะถ่ายปสั สาวะ (burning) เนอื่ งจากมกี ารบบี ตัวของกระเพาะปสั สาวะ• ระคายเคอื งของผวิ กระเพาะปัสสาวะ เนื่องจากเชอื้ โรคท่ีเขา้ ส่กู ระเพาะปสั สาวะจะ ไปเกาะบรเิ วณเย่ือเมอื ก (mucous) ของกระเพาะปัสสาวะ• ปสั สาวะบอ่ ยและบางคร้งั กล้ันปัสสาวะไมไ่ ด้ และอยากถา่ ยปสั สาวะบ่อย (urgency)• ปวดบริเวณหัวเหน่า ปสั สาวะขุ่น หรือสโี คล่าหรือสีแดง ซ่งึ เปน็ สีของการมี R.B.C., W.B.C. หรอื ท้ัง 2 อย่างรวมกัน• มอี าการไขส้ งู อ่อนลา้ ไม่สขุ สบายบริเวณช่องท้อง, เชงิ กราน มกี ารคลนื่ ไส้ อาเจียน และอาจสง่ ผลใหม้ ีการอักเสบของกรวยไตดว้ ย

ภาวะแทรกซอ้ น1. ต่อมลกู หมากอกั เสบ2. กรวยไตอักเสบ3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

การประเมินสภาพ1. การซักประวัติ จะไดข้ ้อมลู ทเี่ กีย่ วกบั อาการและอาการแสดงที่ผิดปกติ2. การตรวจร่างกาย กดเจ็บบรเิ วณทอ้ งนอ้ ยหรือหัวเหนา่ ในผูช้ ายอาจพบตอ่ มลกู หมากโต3. การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ• UA พบเม็ดเลือดขาวมากกว่า 5 ตัว ตอ่ H.P.F. ในปัสสาวะทไ่ี ม่ไดป้ ั่น• พบเมด็ เลือดขาวมากกวา่ หรอื เทา่ กับ 10 ตัว ต่อมิลลิลิตร ในปสั สาวะที่ปั่น• พบรว่ มกบั White cell cast และเม็ดเลือดแดง ถ้าเพาะเชื้อในปัสสาวะพบเชือ้ มากกว่าหรอื เทา่ กับ 105 โคโลนีต่อมลิ ลลิ ติ ร

การรักษา : หากวา่ cystitis มสี าเหตุจากการอุดก้ันของทางเดนิ ปสั สาวะหรือภาวะไตวาย การรกั ษากจ็ าเป็นตอ้ งรบี ขจัดสาเหตุการอุดกั้นและรักษาการติดเชื้อทนั ทีเพราะหากไมร่ บี รักษาจะเกดิ ผลเสยี ตอ่ ไตอย่างถาวร ผู้ป่วยควรได้รบั สารนา้ อยา่ งนอ้ ยวันละ 3 ลติ ร รว่ มกับไดร้ ับยาปฏิชวี นะ

1. ให้ดม่ื น้ามากๆ ประมาณ 3,000 – 4,000 ซี.ซี / วนั ในกรณีไม่มขี อ้ หา้ ม2. ใหย้ าแก้ปวดถา้ มอี าการปวดมาก และใหย้ าปฏชิ ีวนะ เพอ่ื รกั ษาการติดเช้อื เช่น Ampicillin/ Amoxicillin , Cotrimoxazole เป็นตน้3. กาจัดแหล่งการตดิ เช้อื เช่น รกั ษาโรคฟนั ผุ รากฟนั เป็นหนองหรือต่อมทอนซลิ อกั เสบ ถา้ มีการอดุ กนั้ ของทางเดนิ ปัสสาวะ เชน่ ป็นน่ิวต้องผ่าตัดเอานวิ่ ออก และดแู ลให้ปสั สาวะไหลออกได้สะดวก4. ระหวา่ งรักษา ต้องทาการตรวจปสั สาวะเพาะเชื้อ ถา้ ยังพบเชือ้ ตอ้ งให้ยาปฏชิ ีวนะต่อ และต้องทาการเพาะเช้อื ในปัสสาวะตอ่ ไปอีกประมาณ 1 สัปดาห์ หลงั จากผปู้ ว่ ยมีอาการดีขน้ึ แลว้5. ถา้ มกี ารอักเสบเรื้อรัง ตอ้ งให้การรกั ษาตอ่ เน่อื งนานอย่างนอ้ ย 1 เดือน

การพยาบาล :• พยาบาลควรใหก้ าลังใจกับผู้ปว่ ยรว่ มกับการใหค้ วามรู้ในเรอ่ื งการปฏิบัตติ น เพอ่ื ปอ้ งกนั การ ตดิ เชือ้ อย่างถาวร• ใหเ้ กิดความสขุ สบายกบั ผปู้ ว่ ย เช่น แนะนาให้แช่ก้นด้วยน้าอุ่น (warm site bath)• ยาแก้ปวด (analgesic) พวก Pyridium (phenazo pyridine)• หลีกเลีย่ งการสวนปสั สาวะ• ดูแลให้ได้รบั สารน้าอย่างเพียงพอ• ติดตามดูแลทางานของไตบนั ทกึ จานวนสารท่เี ขา้ และออก• ให้ผู้ป่วยรับประทานผลไมห้ รือน้าผลไมท้ ่ชี ่วยเพิม่ ความเปน็ กรดใหก้ บั ปสั สาวะ เชน่ องนุ่ , สม้ , แอบเป้ิล มะเขือเทศ แต่บางตารากไ็ ม่เหน็ ดว้ ยมากนัก เพราะถอื ว่าผลไม้พวกนี้ ทาใหผ้ นัง กระเพาะปัสสาวะระคายเคอื งในระดับปานกลาง• งดเวน้ เครือ่ งด่ืมท่มี ี caffeine ทั้งน้เี พราะคายเคอื งกระเพาะปสั สาวะ

ไตและกรวยไตอักเสบ(Nephritis, pyelonephritis : PLN)

กรวยไตอกั เสบ (pyelonephritis : PLN)กรวยไตอกั เสบ (pyelonephritis : PLN) เปน็ การอกั เสบของกรวยไต (renalpelvis) อาจเกดิ ขน้ึ ขา้ งเดยี วหรอื สองข้าง ซ่ึงมักเกิดจากการตดิ เชอ้ื ในสว่ นล่างของทางเดินปัสสาวะ (lower urinary tract) แล้วลุกลามขนึ้ มาถึงไต เนอื้ ไต ท่อไต เกดิการอักเสบโดยทว่ั ไป อาจเกดิ หนองเป็นหย่อมๆ บรเิ วณเนอ้ื ไต หลอดไตอาจเกิดnecrosis และอาจลามไปถงึ renal cortex, medulla หลงั จากการอักเสบแล้วจะกลายเป็น scar pyelonephritis ถอื เป็นปัญหาใหญส่ าหรับระบบของไต (renalsystem) เปน็ โรคอนั ดบั 1 ของกลุ่มท่เี รียกวา่ การตดิ เชอื้ ของทางเดนิ ปัสสาวะ(urinary tract infection: UTI)

ไตและกรวยไตอกั เสบเปน็ โรคท่ีเกดิ จากการตดิ เชื้อปัจจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ งและเอื้ออานวยใหเ้ กดิ ท่สี าคัญท่สี ดุ• การอุดกัน้ ทางเดนิ ปัสสาวะ ทาใหน้ า้ ปสั สาวะไหลออกไมส่ ะดวก• มกี ารคงั่ ของน้าปัสสาวะและเปน็ ปัจจยั สาคัญท่ที าใหเ้ กดิ การติดเช้อื ข้นึ

การอกั เสบของไตและกรวยไต แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คือ1. ไตและกรายไตอกั เสบแบบเฉยี บพลนั (Acute pyelonephritis) ไตจะบวม มีตมุ่ ฝีเลก็ ๆ เกดิ ขนึ้ ในเนอื้ ไต เย่ือบกุ รวยไตอักเสบ ในรายทมี่ ีการอุดกน้ั ทางเดนิ ปสั สาวะ การอกั เสบมกั รนุ แรงและทาลายไตทาให้ไตเสยี หนา้ ท่ีได้ เปน็การอกั เสบท่ีเกดิ ขน้ึ อยา่ งทนั ทีทันใด และยังไมแ่ สดงอาการเฉพาะอย่างชัดเจนนอกจากมไี ข้สูง หนาวสั่น ปวดสขี ้างบริเวณ costovertebral agel (flank) และบรเิ วณหัวเหน่า พบไดบ้ อ่ ยรว่ มกบั การตัง้ ครรภแ์ ละเบาหวาน (นวลจันทร์, 2543) มีการทาลายเนือ้ ไตอยา่ งถาวรจากการอักเสบของชนิดเฉยี บพลันซ้าๆ สาเหตุใหญๆ่มกั เกดิ จากการไหลยอ้ นกลบั ของปสั สาวะจากกระเพาะปัสสาวะสูท่ อ่ ไต(ureterovesicil reflux) (Kneisl & Ames, 1986)

การอักเสบของไตและกรวยไต แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ2. ไตและกรวยไตอักเสบแบบเรอื้ รงั (Chronic pyelonephritis) การอกั เสบตดิ เชอื้ แบบเร้อื งรังจะเป็นๆ หายๆ จากเชอื้ โรคตัวเดิม (Relapse)ซง่ึ ได้รับการรกั ษาแลว้ ไม่หาย หรืออาจเกดิ จากเช้ือโรคตัวใหม่ (Reinfection) มกี ารเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งของไต คอื ผิวไต จะมีลกั ษณะขรุขระจากการเกดิ แผลเปน็ และมผี งั ผดื (fibrosis) ทโ่ี กลเมอรลู สั และหลอดเลอื ดฝอยตบี แคบ ทาให้ไตฝอ่ เล็กลงเกดิไตวาย และผลสุดท้ายจะเกิดภาวะยูรเี มยี (uremia)

พยาธสิ รรี วทิ ยาแบบเฉยี บพลนั• ถ้าดจู ากกลอ้ งจุลทรรศนจ์ ะพบเซลลข์ องไตบวม• มเี ซลลเ์ มด็ เลือดขาวและเชอ้ื โรคทท่ี าให้เกิดการอักเสบแทรกอยู่ในเนอื้ ไต• มจี ดุ เลือดออกกระจายอย่ตู ามบริเวณท่ีอกั เสบเป็นหย่อมๆ ในรายทม่ี กี ารอุดก้ัน ทางเดนิ ปสั สาวะการอกั เสบมักรนุ แรงทาลายเนอ้ื ไตให้เสยี ได้แบบเร้ือรัง• ขนาดของไตอาจดปู กตหิ รอื หดเล็กลง มลี ักษณะตะปุ่มตะป่าขนึ้ อยกู่ บั ความรนุ แรง และระยะเวลาทีเ่ ปน็• เย่ือหุม้ ไตมกั ซีด มีรอยแผลเป็นสขี าวกระจายอย่บู ริเวณทว่ั ไปของไต• ผนงั เส้นเลือดต่างๆ หนาข้ึนชัดเจน เนื้อไตถกู ทาลายจนเกือบหมด

ภาวะแทรกซอ้ นแบบเฉยี บพลนั ไตจะบวมถา้ ไมไ่ ดร้ บั การรักษาหรอื รกั ษาไมถ่ ูกตอ้ งอาจมโี รคแทรกซอ้ น ดงั นี้1. เช้อื กระจายเข้ากระแสโลหติ ทาให้โลหิตเป็นพษิ (Septicemia) อาจเกิดภาวะช็อคจากการติดเชื้อ (Septic shock) ได้2. ตมุ่ ฝีเล็กๆ รวมกันเปน็ กลุ่มใหญ่ เรยี กวา่ Renal carbancle3. เป็นฝเี ล็กๆ กระจายไปไตอีกข้างหนง่ึ หรือไปท่อี วยั วะอน่ื ๆ เช่น ตบั ปอด

ภาวะแทรกซ้อน (ต่อ)แบบเรื้อรัง ทาใหเ้ กิดภาวะต่าง ๆ ดังนี้1. ความดันโลหติ สูง เนอื่ งจากเกิดแผลเป็นดงึ ร้ังเนอ้ื ไต เสน้ เลือดแดงทีไ่ ปเล้ยี งไตมขี นาดเล็กและหดแคบลง ทาใหไ้ ตขาดเลือดไปเลี้ยงเปน็ สว่ นๆ จงึ มกี ารสร้าง Renin และAngiotensin กระตุน้ ใหเ้ กิดความดนั โลหติ สูง2. นว่ิ ในทางเดนิ ปัสสาวะ เนอ่ื งจากมกี ารอักเสบตดิ เชื้อ โดยเฉพาะเช้ือท่ีทาใหเ้ กดิ สารยูเรียทาให้น้าปัสสาวะเป็นด่างเกดิ น่วิ ได้งา่ ย3. ภาวะยูรเี มีย ถา้ การอักเสบตดิ เชื้อเปน็ ทไี่ ต 2 ข้าง และค่อยๆ ทาลายไตใหเ้ สียหน้าที่ จะทาให้ของเสยี พวก Urea และ Creatinine คั่งในกระแสเลือด จนทาใหผ้ ู้ป่วยมอี าการกล้ามเนื้อกระตุกออ่ นแรง เหนือ่ ยง่าย หายใจหอบ ผู้ป่วยอาจชกั หมดสติและถงึ แกช่ วี ิตได้

Pyelonephritis มกั เกิดจาก• bacteria gram – negative• เร่ิมมาจาก lower tract. แบคทีเรยี เชน่ E.Coli, เครบเซลลา่ (klebsiella pneumoniae) Proteus mirabilis, Psudomonas aeruginosa, streptococous

อาการและอาการแสดงแบบเฉยี บพลนั• มไี ข้สงู อุณหภูมิถงึ 39.4Oc หรอื สงู กว่าน้ี• มอี าการหนาวส่นั• ปวดศรีษะ• ปวดตามกลา้ มเน้ือ• ออ่ นเพลีย• คลน่ื ไส้ อาเจยี น และอุจจาระร่วง• อาจมีอาการกระเพาะปสั สาวะอักเสบรว่ มด้วย เชน่ ถา่ ยปัสสาวะแสบ ปวดเบง่ ปสั สาวะ บ่อย ปสั สาวะขนุ่ หรือมเี ลือดปน

อาการและอาการแสดงแบบเรอ้ื รงั• อาจไมแ่ สดงอาการสาคญั หรอื อาจมไี ข้ตา่ ๆ• คร่นั เนอ้ื คร่ันตวั• ปวดหลงั• ปัสสาวะขดั และขุ่นเล็กน้อย• มอี าการปสั สาวะเปน็ เลือดหรอื ความดันโลหติ สูง (hypertension)• ไตฝ่อลบี (kidney atrophy) และเม่อื ถงึ ขน้ั รนุ แรงกอ็ าจกลายเปน็ ไตวายเรอื้ รงั และมีอาการของไตวายเรอ้ื รงั ตามมา

การรกั ษา :Acute pyelonephritis :ยาปฏิชีวนะเปน็ สง่ิ จาเป็นซง่ึ ควรให้ยาตาม bacteria sensitive ให้โดยทนั ทแี ละมีการตรวจติดตาม urine ว่ายาทีใ่ ห้ไดผ้ ลตามทต่ี อ้ งการ ร่วมกบั การให้ยาจาพวกต้านการหดเกรง็ ของกระเพาะปสั สาวะ ใหร้ บั ประทานอาหารมปี ระโยชนใ์ หพ้ ักผอ่ นอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การใหส้ ารน้าอย่างเพียงพอ และกาจัดสาเหตุการอุดก้ันทางเดินปสั สาวะหาก จาเปน็ ต้องทาผา่ ตัดก็ควรทา

ยาปฏิชีวนะท่นี ิยมใช้ คือ• ยาฉีดกลมุ่ Aminoglycosides ได้แก่ Gentamicin Tobramycin หรือ Netilmycin ใน ขนาด 1.5 มก. / กก. ทุก 8 ช.ม.• ในรายท่มี ีอาการรนุ แรงมากใช้ Amikacin• ในรายไตเสือ่ มใหใ้ ช้ 2 nd หรอื 3 nd Generation cephalosporins• Penicillin ตัวใหม่ เช่น Piperacillin เข้าทางหลอดเลือดดาโดยเลอื กใช้ตามความรนุ แรงของโรค หลงั ใหย้ า 48 – 72 ช.ม. ใหต้ รวจปัสสาวะเพาะเช้อื ดูอกี ครง้ั ถา้ ยังมแี บคทีเรียอยู่ต้องเปลย่ี นยาใหม่ตามท่ีเชื้อนั้นจะไดผ้ ล โดยทวั่ ไปผู้ปว่ ยจะไดร้ ับยาฉดี จนไขล้ ดประมาณ 48 ช.ม. จึงเปลี่ยนเป็นยารับประทานจนครบ 10 – 14 วนั

การพยาบาล :• เน่ืองจากผปู้ ่วยมกั มีไข้สงู หนาวสั่น พยาบาลควรดูแลใหเ้ กดิ ความสุขสบาย ช่วย เชด็ ตัวลดไข้ด้วยน้าอุน่ (warm tepidsponge)• ใหค้ าแนะนาในการดูแลสขุ ภาพของตนเอง (self – care) ในเรอื่ งสขุ บญั ญัติ การ รับประทานอาหาร การขบั ถ่ายอาจต้องให้ perineal care ทกุ เวรหรอื ทกุ ครงั้ ผู้ป่วยเขา้ ห้องน้า การนอนหลับ• การนวดหลงั ลาตัว (back massages) จะชว่ ยให้ ผูป้ ่วยสขุ สบายคลายความ เจบ็ ปวดได้บา้ ง พักไดม้ ากข้ึน

การรกั ษา :chronic pyelonephritis :• การให้ยาปฏิชีวนะเปน็ สิ่งจาเป็นเช่นเดียวกบั acute pyelonephritis รว่ มกบั ยา ลดความดนั โลหติ (antihypertensive) เพอ่ื ปอ้ งกันการทาลายเนอ้ื ไต (renal parenchyma)• ยาแก้การหดเกรง็ ของกลา้ มเนือ้ (Antispasmodic drug) เพอ่ื บรรเทาอาการปวด• ไข้ หนาวสัน่ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยคร่นั เน้อื คร่นั ตวั รกั ษาโดยการใหย้ าแก้ปวด ลด ไข้ เชน่ Paracetamal 1 – 2 เม็ด ทกุ 4 – 6 ช.ม. อาจใหย้ าลดการอักเสบรว่ ม ดว้ ย• ด่ืมน้าเปน็ จานวนมาก ประมาณวันละ 3,000 ซ.ี ซี

การพยาบาล :• การพยาบาลกเ็ นน้ เรอ่ื งความสุขสบายและการตอบสนองความต้องการขนั้ พ้นื ฐานของ ผู้ปว่ ย รว่ มกบั การให้ความรู้ คาแนะนา ในการดูแลสุขภาพของตนเองร่วมกบั สมาชกิ ใน ครอบครัว• อธิบายเรื่องการรกั ษา ผลขา้ งเคยี งของยาและความก้าวหน้าของการรักษาใหก้ าลงั ใจ ผูป้ ่วยในการส่งเสรมิ การรกั ษา เช่น การพยายามด่มื นา้ ให้มากอยา่ งนอ้ ยวนั ละ 3 ลติ ร การ รบั ประทานอาหารที่มีประโยชน์ การพักผ่อนและอาจต้องให้ขอ้ มูลเรือ่ งแนวทางการรักษา อื่นๆ เชน่ การเปลีย่ นถ่ายอวัยวะ เป็นตน้

กลุ่มอาการของโรคไต (Nephrotic Syndrome)

กลุม่ อาการของโรคไต (Nephrotic Syndrome) เปน็ กลมุ่ อาการท่มี คี วามผิดปกตทิ ่ี Glomerular basement membrane เป็นเหตุให้มีการเสียโปรตีนไปกับปสั สาวะ โดยทัว่ ไปหมายถึงกลุ่มอาการซงึ่ มีความผดิ ปกตทิ างคลินกิ ท่ีประกอบข้ึนด้วย 1. Heavy Proteinuria มีโปรตนี ออกมาในปสั สาวะมากกว่า 50 มลิ ลิกรัม/นา้ หนกั ตัว 1กก/วนั หรือมากกว่า 40 มิลลิกรัม/พนื้ ทีผ่ ิว 1 ตรม / ชว่ั โมง ถอื เปน็ “Nephrotic range”proteinuria ปกตใิ นเด็กจะมีโปรตีนออกไปในปสั สาวะไมเ่ กิน 4 มลิ ลิกรัม/ตรม/ชม. หรอื น้อยกว่า 150 มิลลกิ รัม ใน 24 ช่ัวโมงหรอื 3+ - 4+ 2. Hypoalbuminenia มี Albumin ในเลอื ดตา่ กว่า 2.5 กรัม/เดซลิ ิตร 3. Hypercholesterolemia มไี ขมันในเลือดสูงกวา่ 250 มลิ ลกิ รัม/เดซิลิตร 4. Edema บวมตามหนงั ตาในระยะแรกๆ หรอื บวมทว่ั ตวั ในรายที่เปน็ มากๆ อาจเป็นแลว้เปน็ อีกเป็นเวลาหลายๆ เดือนหรือหลายๆ ปี

แบ่งตามลกั ษณะทางคลินิกได้ 2 กลุ่ม1. Primary Nephrotic Syndrome กล่มุ อาการจากัดอยเู่ พียง Glomerular injuryPrimary Nephrotic Syndrome อาศัยลักษณะทางคลนิ ิกรว่ มกับการตอบสนองตอ่ การรกั ษาด้วย Steroid แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มยอ่ ย ดงั นี้ 1.1 กลุ่มทเี่ ปน็ มาแต่กาเนิด 1.2 กลมุ่ ที่ตอบสนองต่อการรกั ษาด้วย Steroid กลุ่มนีป้ ระกอบด้วยสว่ นใหญ่ของMinimal Change Nephrotic Syndrome (MCNS) 1.3กลุ่มทไ่ี ม่ตอบสนองตอ่ การรักษาด้วย Steroid กลุ่มนป้ี ระกอบด้วยกลุ่มทม่ี ีพยาธิสภาพท่ีไตเปน็ แบบอื่น เชน่ Focal glomeruloserosrs Mesangial proliteratireGomerulonephritis Membranoproliferative Glomealenepritis (MPGN)Membranous glomerulonephropathy (MGN) และ Chronic glomerulonephritis(CGN)

แบ่งตามลกั ษณะทางคลินิกได้ 2 กลุ่ม (ตอ่ )2. Secondary Nephrotic Syndrome เกดิ จากกรวยไตถูกทาลาย และกรวยไตอกั เสบเฉียบพลัน กรวยไตอักเสบเร้อื รงั มักพบร่วมกับโรคอืน่ หรอื สภาวะต่าง ๆ อีกมาก เดก็ ทีป่ ว่ ยดว้ ยโรคเอดสม์ ักพบอาการของโรคไตด้วย

อาการและอาการแสดง• การบวม (Edema) มักบวมที่เปลอื กตา (Periorbital edema) โดยเฉพาะเม่ือตนื่ นอนตอน เชา้ ๆ สายจะลดลง ระยะแรกจะบวมถงึ และนมุ่ กดบุ๋มต่อไปจะบวมมากขึ้น ในเด็กจะมี อาการท้องมาน (Ascites) บวมทั้งตัว (Anasarca) และมีของเหลวในร่องเย่อื ห้มุ ปอดได้ บางรายอาจพบ Umbilical hernia เสน้ เลือดดาผนงั หน้าทอ้ งขยายออกมี Rectol pulapse เกดิ ขนึ้ ได้• ระบบทางเดนิ อาหารผดิ ปกติ (Gastrointestinal disturbances) อาจเกดิ จากเย่ือบุลาไส้ เลก็ บวม เป็นสาเหตุใหเ้ กิดท้องเสีย

อาการและอาการแสดง (ต่อ)• การเบ่อื อาหาร (Poor appetite) อาการเปิดอาหารมีความสัมพันธก์ บั ความรนุ แรงของการ บวม การสูญเสียโปรตนี ไปทางปัสสาวะ ทาใหเ้ กิดภาวะทุพโภชนาการได้• การหายใจผดิ ปกติ (Respiratory difficulty) เปน็ ผลจาการมีนา้ ในช่องท้อง หรอื ชอ่ งปอด ร่วมด้วย การใหส้ ารไข่ขาวทางเสน้ เลอื ดดาร่วมกับการให้ยาขบั ปสั สาวะ จะช่วยให้อาการดี ขึน้• อาการอนื่ ทอี่ าจพบได้แก่ ผิวซดี แตกในระยะบวม ผูป้ ว่ ยรู้สกึ อ่อนเพลยี จานวนปัสสาวะ ลดลงสีเขม้ ข้นึ ความดันโลหิตอาจตา่ เลก็ นอ้ ย แต่ใน MCNS. มีดันโลหิตสงู ไดร้ ้อยละ 14

การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร1. ตรวจปสั สาวะ ตรวจหาโปรตนี ในปัสสาวะมกี ารสูญเสียโปรตีน (Albumin) ไปกับปสั สาวะในปสั สาวะอาจพบ RBC หรือ WBC แลว้ แตส่ ภาพการอกั เสบ2. ตรวจเลอื ดหา serum albumin , globulin , cholesteral , antistrepto lysin O titer3. ตรวจการทางานของไต โดย 24 – hour creatinine clearance และ total proteinเพ่ือเปรียบเทยี บติดตามผลการรกั ษา

การรกั ษา1. เพื่อลด Permeability ที่ Glomerular Basement Membrane โดยการให้ ยาSteroid เรม่ิ ด้วย Prednisolone ขนาด 2 มก/กก. น้าหนักตวั /วัน หรือยาImmunosuppressont เป็นยาทีน่ ิยมใช้มาก และได้ผลคอ่ นข้างดี ยาในกลมุ่ น้ีคอืCyclophoshamide ขนาดตา่ 1 – 2 มก/กก. นา้ หนกั ตัว/วัน หรือขนาดสงู 3 – 5 มก./กก.ตัว/วนั ขอ้ เสยี สาหรบั ให้ยาขนาดสูง คือ เกดิ อาการแทรกซ้อนงา่ ย เชน่ HemorrhagreCystitis Leukopenia

การรักษา (ต่อ)2. เพ่ิมปริมาณโปรตนี ในเลือด (Albumin)2.1 ใหอ้ าหารจาพวกเนือ้ สตั ว์คณุ ค่าสงู ปกติ NS. จะมีอัตราการเผาผลาญสูงกว่าเด็กปกติ10 เท่า2.2 พลาสมา เปน็ การชว่ ยเพ่มิ ปริมาณโปรตีนในเลอื ด ช่วยดดู ซบั น้าทข่ี งั อยใู่ น intersitialspace ของรา่ งกาย ลดอาการบวมน้าและเกลือไดอ้ ย่างรวดเร็ว ช่วยลดความหนดื ของเลอื ด แต่การใหพ้ ลาสมา ในขณะที่ไตรัว่ พลาสมาจะอยใู่ นเลือดไม่นาน 24 – 48 ชม. ก็จะถูกขับออกมาในปัสสาวะ และอาจเป็นสอื่ นาเชื้อไวรสั ทท่ี าใหต้ ับอกั เสบ จงึ ป้องกนั ได้ดว้ ยการ Screen เลอื ดของ Donor2.3 Salt – poor albumin มปี ระโยชนม์ ากในรายทีต่ บั ทางานไม่ค่อยดี

การรกั ษา (ต่อ)3. ลดอาการบวมนา้ และเกลือ3.1 ลดอาหารเค็ม ปรมิ าณน้าเพยี งพอต่อความตอ้ งการของร่างกาย/วัน (นา้ จากInsensible 300 มล./30 กก. น้าหนักตวั +ปริมาณปัสสาวะ 400 มล./30 กก. นา้ หนักตัว)3.2 ยาขับปสั สาวะ ช่วยลดบวมโดยการลดการดดู กลบั ของน้าใน Tubular lumer ควรระวงั ในเดก็ อาจทาให้ Electrolyte imbalance อย่างมาก4. การให้โปเเตสเซยี มคลอไรด์ อาการบวมในผู้ปว่ ย Nephrotre syndrome จะเสยี โปแตสเซียมไปในปัสสาวะ จึงจะเป็นโปเเตสเซยี มในเซลล์ ดงั น้นั ถา้ ตรวจเลอื ดระดับโปแตสเซยี มในเลือดอาจไมเ่ ปลี่ยนแปลง

การรกั ษา (ตอ่ )5. การใหว้ ิตามินเพราะร่างกายมกี ารเผาผลาญอาหารสูงผิดปกติ6. โรคติดเช้ืออักเสบแทรกซอ้ น อาการไข้ ควรรักษาให้หายกอ่ นเพิ่มขนาดของยาให้กับผปู้ ่วย7. การออกกาลงั กายที่เกินควรอาจเกิดโทษและผลเสยี ตอ่ ไต ตลอดไปหรืออย่างน้อย1 ปี หลงั จากไม่มีไข่ขาวในปสั สาวะควรงดการฉีดวคั ซนี สรา้ งภมู ติ ้านทาน จะใหใ้ นรายท่ีจาเป็นจรงิ ๆ เชน่ เกิดสมั ผัสกับผเู้ ป็นโรคคอตีบหรอื ถูกสุนัขบา้ กัด

ไตอักเสบชนิดเฉยี บพลัน(Acute Glomerulonephritis ; AGN)

ไตอักเสบเฉยี บพลัน มีลกั ษณะสาคญั คือ• ปัสสาวะมเี ลอื ดปน• มโี ปรตนี ในปัสสาวะ• อัตราการกรอง (GFR) ลดลง• มกี ารคงั่ ของโซเดียมและน้า• ความดนั โลหติ สงู• และในบางครง้ั จะมีปสั สาวะปริมาณนอ้ ย นอ้ ยกวา่ 100 มล./วนั (oilguria) โดยท่ี อาการทั้งหมดน้เี กิดขนึ้ ในเวลาไม่มากนกั มกั จะหายได้เอง

สาเหตุ• เกิดจากหลายสาเหตุท้ังจากโรคภายในตวั ของเดก็ เอง เช่น เอส แอล อี (SLE)• เกดิ จากการตอบสนองทางด้านอมิ มูนและเกิดจากการติดเชื้อต่างๆ ซงึ่ เชอื้ ทเี่ ปน็ สาเหตสุ าคญั และพบบอ่ บท่สี ุดคือ การตดิ เชอ้ื จากคออักเสบ• ผวิ หนังอกั เสบท่เี กิดจากเชื้อเบตา้ ฮีโมไลตคิ สเตรป็ โตคอคคสั กลุ่ม เอ

อาการและอาการแสดง1. ระยะคาบแฝง (latent period) คอื• ระยะต้งั แต่ได้รบั เช้ือสเตร็ปโตคอ็ คคัส จนถึงเกิดอาการแสดงของไตอักเสบกนิ เวลา 8-21 วัน• กลมุ่ ทตี่ ิดเชอ้ื ในลาคอกนิ เวลา 8-14 วัน• ติดเช้อื ตามผวิ หนงั กินเวลา 14-21 วนั• ในระยะนี้เด็กมักไมม่ อี าการใดๆ แต่อาจพบปัสสาวะเป็นเลอื ดชนดิ ที่ตอ้ งสอ่ งดดู ว้ ย กลอ้ งจลุ ทรรศน์หรือมโี ปรตนี ในปสั สาวะได้ แตถ่ า้ อาการเหล่าน้ีนานเกิน 4 สปั ดาห์ อาจไม่ใช่การติดเชอื้ ชนดิ น้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook