Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน MOU 62

รายงาน MOU 62

Published by WB Channel, 2019-11-11 00:05:09

Description: รายงาน MOU 62

Search

Read the Text Version

ก บทสรปุ สาํ หรบั ผบู้ รหิ าร รายงานสรุปผลการตรวจติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปง บประมาณ ๒๕๖๒ มวี ตั ถปุ ระสงค ๑) เพ่อื สรปุ ผลการตรวจตดิ ตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนา คุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ๒) เพื่อรายงานจุดเดน ปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะแนวทาง พัฒนาการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ กลุมเปาหมายในการตรวจเยี่ยมและ ติดตามผลการดำเนินงาน คือ โรงเรียนเอกชนในระบบสังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี จำนวน ๑๒๒ โรง เครื่องมือที่ใชในการตรวจติดตาม คือ แบบตรวจติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนา คุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบตามคำรับรองคุณภาพการศึกษา (MOU) ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน ๔ ดาน ไดแก ๑) การพัฒนาการอานออกเขียนได ๒) ระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ๓) ความ สะอาดในสถานศกึ ษา ๔) ชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี สสู ถานศึกษา (PLC) ผลการตรวจติดตาม พบวา ๑. ผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ โดยภาพรวม พบวา รอ ยละของผลการดำเนนิ งานท้ัง ๔ ดา น เทา กับ 71.29 อยใู นระดบั ดี เม่อื พิจารณา รายดานพบวา ดานพัฒนาการอานออกเขียนได มีผลการตรวจติดตาม คิดเปนรอยละ ๘7.58 อยูใน ระดับดี ดานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ผลการตรวจติดตาม คิดเปนรอยละ๗๑.97 อยูในระดับดี ดานความสะอาดในสถานศึกษามีผลการตรวจติดตาม คิดเปนรอยละ 73.02 อยูในระดับดี และดาน ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ สูสถานศึกษา (PLC) มีผลการตรวจติดตาม คิดเปนรอยละ52.59 อยูใน ระดบั พอใช ๒. จดุ เดนการดำเนนิ งานเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ๒.๑ เรื่องพัฒนาการอานออกเขียนได พบวาโรงเรียนมีการสอนปรับพื้นฐานเพื่อแกปญหาการ อานไมออกและเขียนไมไดและโรงเรียนมกี ิจกรรมสงเสรมิ เพ่ือพัฒนาทักษะการอา นและการเขียน ๒.๒ เรื่องระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน พบวา โรงเรียนมีการดำเนินการระบบดูแลชวยเหลือ นักเรียนครบทั้ง ๕ ขั้นตอน มีการจัดกิจกรรมสงเสริมและพัฒนานักเรียนอยางหลากหลายตลอดป การศกึ ษา อกี ทงัÊ ผบู รหิ ารใหค วามสำคญั ในการดำเนนิ งานระบบดูแลชว ยเหลือนกั เรียนในสถานศกึ ษา ๒.๓ เรื่องความสะอาดในสถานศึกษา พบวา โรงเรียนมีการกำหนดนโยบายพัฒนาสิ่งแวดลอม และความสะอาดของโรงเรยี น หนวยงานภายนอก ผปู กครอง ครู ผูบริหาร สง เสริมการพัฒนาส่งิ แวดลอม และใหค วามรว มมือในการปรับปรุง พฒั นา บริหารจดั การตกแตงภูมิทัศนบ รเิ วณโรงเรียนใหสะอาดและ นา อยู มีระบบความปลอดภัยท่ีดตี อนกั เรียน สงผลใหนักเรยี นมีสุขภาพจติ ทดี่ ี ๒.๔ เรื่องชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ สูสถานศึกษา (PLC) พบวา โรงเรียนมีการประชุม คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรที่เกี่ยวของ เพื่อสรางความเขาใจ และใหมีความ ตระหนักถึงเปาหมายในการดำเนินงาน โรงเรียนมีการวางแผนกอนการปฏิบัติงาน มีเปาหมายของ โครงการทคี่ วามชัดเจน ตลอดจนโรงเรียนมีการจดั ทำ PLC เปน ระยะ ๆ ๔ ระยะ กลา วคอื ระยะที่ ๑ จดั ทีมครูคนหาปญหา ระยะที่ ๒ กระบวนการจัดการเรียนรู ระยะที่ ๓ การสะทอนผล ระยะที่ ๔ การ ประเมินผลเพื่อการพัฒนา สงผลตอผูบริหารไดรับทราบถึงปญหาตางๆ ทำใหเกิดการพัฒนาการทำงาน ของครู อีกทั้งมีการจัดทำ LogBook ในทุกๆกิจกรรมของแตละฝาย มีการคัดกรองและแยกผูเรียนได

ข อยางชัดเจน มีเคร่ืองมือบันทึกพฤติกรรม และขอมูลของผูเรียนในการรวบรวมสภาพปญหา วิธีการ แกป ญหา และการสะทอนผลการดำเนนิ งานอยางตอ เน่ือง ๓. ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะแนวทางแกไขปญหาการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพ โรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ ตามคำรบั รองการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๔ ดา น ไดแก ปญ หาเกย่ี วกับการบรหิ ารจัดการ ผบู ริหาร ครผู สู อน นักเรียน

ค คาํ นํา ในปงบประมาณ ๒๕๖๒ สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี ไดจัดทำการตรวจติดตาม ผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรยี นเอกชนในระบบ พรอมทั้งกำหนดแนวทางการตรวจติดตาม การประเมินผลและรายงานผล เพื่อใหผูมีสวนเกี่ยวของทั้งในระดับสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด สำนักงานการศึกษาเอกชนอำเภอและสถานศึกษาใชเปนขอมูลในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยกำหนดใหมีการตรวจติดตามในปงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน ๔ ดาน ไดแก ๑) การ พัฒนาการอานออกเขียนได ๒) ระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ๓) ความสะอาดในสถานศึกษา ๔) ชุมชน การเรยี นรูทางวชิ าชีพ สสู ถานศึกษา (PLC) สำนกั งานการศึกษาเอกชนจังหวดั ปต ตานี ไดจัดทำรายงานผลการตรวจติดตามผลการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ และหวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารฉบับนี้จะเปนประโยชนแก หนว ยงานตางๆ สถานศึกษาและผเู กย่ี วของทุกฝา ยเพื่อใชเ ปนแนวทางในการพฒั นาการศึกษาตอไป สำนักงานการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั ปตตานี

ง สารบญั เนื้อหา หนา บทสรปุ สำหรับผูบ รหิ าร ก คำนำ ค สารบญั ง สารบญั ตาราง จ สารบัญภาพประกอบ ฉ สว นที่ ๑ บทนำ ๑ 1.1 ความเปนมาและความสำคญั ๑ 1.2 วัตถุประสงคของการรายงาน ๑ 1.3 ขอบเขตของการรายงาน ๒ 1.๔ กรอบแนวคิดการรายงาน ๒ 1.๕ ผลท่ีคาดวาจะไดรบั ๒ สว นที่ ๒ ผลการดำเนนิ งาน ๓ 2.1 วธิ ีการดำเนินงาน ๓ 2.1.1 กลุมเปาหมายนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล ๓ 2.1.2 ขั้นตอนการดำเนนิ การ ๘ 2.1.3 เคร่ืองมือทใ่ี ช ๙ 2.1.4 การวเิ คราะหข อมลู และสถติ ิท่ใี ชในการวิเคราะหข อมลู ๙ 2.2 ผลการวเิ คราะหข อมลู ผลการดำเนินงาน ๑๐ 2.2.1 ผลการดำเนนิ งานโดยภาพรวมทง้ั ๔ ดาน ๑๐ ๒.๒.๒ ผลการดำเนินงานรายดา นจำแนกเปนรายอำเภอ ๑๑ 2.2.๒.๑ ดานการพฒั นาการอา นออกเขยี นได ๑๑ 2.2.2.๒ ดานระบบดแู ลชวยเหลอื นกั เรียน ๑๒ 2.2.๒.3 ดานความสะอาดในสถานศึกษา ๑๓ 2.2.๒.4 ดานชุมชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ (PLC) ๑๔ สวนท่ี 3 สรปุ ผลและขอ เสนอแนะในการพัฒนา ๑๕ 3.1 สรุปผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรยี นเอกชนในระบบ ๑๕ ๓.๒ จุดเดน การดำเนนิ งานเพือ่ พฒั นาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ๑๖ ๓.๓ ปญ หาและอุปสรรคการดำเนินงานเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ๑๘ 3.๔ ขอเสนอแนะ ๒๐ เอกสารอางองิ ๒๒ ภาคผนวก ๒๓ ภาคผนวก ก บันทึกขอ ตกลงตามคำรบั รองคณุ ภาพการศกึ ษา (MOU) ภาคผนวก ข เครอื่ งมือการตรวจตดิ ตาม ภาคผนวก ค ภาพกิจกรรม ภาคผนวก ง คณะผูจัดทำ

จ สารบญั ตาราง ตาราง หนา ตารางท่ี ๑ จำนวนและรอ ยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน ๓ จงั หวดั ปตตานี จำแนกเปน รายอำเภอ ๔ ๕ ตารางท่ี ๒ จำนวนและรอ ยละของโรงเรยี นเอกชนในระบบ สังกดั สำนักงานการศึกษาเอกชน ๖ จังหวัดปตตานี ท่ีเขารว มดำเนนิ การ ดานพัฒนาการอา นออกเขยี นได ๗ ตารางที่ ๓ จำนวนและรอยละของโรงเรยี นเอกชนในระบบ สังกดั สำนักงานการศึกษาเอกชน ๑๐ จงั หวัดปต ตานี ทเี่ ขา รว มดำเนินการ ดานระบบดแู ลชวยเหลือนักเรยี น ๑๑ ๑๒ ตารางท่ี ๔ จำนวนและรอยละของโรงเรยี นเอกชนในระบบ สังกัดสำนกั งานการศึกษาเอกชน ๑๓ จงั หวดั ปตตานี ทเี่ ขารวมดำเนนิ การดานความสะอาดในสถานศึกษา ๑๔ ตารางท่ี ๕ จำนวนและรอยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สงั กดั สำนักงานการศึกษาเอกชน จงั หวดั ปตตานี ท่เี ขารว มดำเนนิ การดานชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี สูสถานศึกษา (PLC) ตารางที่ ๖ รอ ยละผลการดำเนินงานเพ่ือพฒั นาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ โดยภาพรวม และจำแนกเปนรายดาน ตารางที่ ๗ รอยละผลการดำเนินงานเพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นเอกชนในระบบ ดานการพฒั นาการอา นออกเขียนได ตารางท่ี ๘ รอ ยละผลการดำเนนิ งานเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นเอกชนในระบบ ดานระบบดูแลชว ยเหลอื นกั เรยี น ตารางท่ี ๙ รอยละผลการดำเนนิ งานเพอื่ พัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนเอกชนในระบบ ดา นความสะอาดในสถานศึกษา ตารางท่ี ๑๐ รอยละผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนเอกชนในระบบ ดานชมุ ชนการเรยี นรทู างวชิ าชพี สสู ถานศกึ ษา (PLC)

สารบญั ภาพประกอบ ฉ ภาพประกอบ หนา ภาพประกอบท่ี ๑ ขน้ั ตอนการดำเนินการโครงการตรวจเยีย่ มและติดตามเพ่ือพฒั นา ๘ คณุ ภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒

๑ สว่ นทีÉ ๑ บทนํา ความเป็ นมาและความสําคญั ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕ และ(ฉบับที่ ๓) พุทธศักราช ๒๕๕๓ มาตรา ๓๐ ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการ เรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน ตัวบงชี้ที่ กำหนด การนเิ ทศภายในเปนองคประกอบหนึ่งของกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ีจะชว ยสงเสริม ใหมีการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนและปรับปรุงวิธีสอนใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมี ประสิทธิภาพ โดยบุคลากรในโรงเรียนไดม ีสว นรวมในการพัฒนาดานการเรียนการสอน เพื่อใหสอดคลอง กับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของแตละกลุมสาระการเรียนรู และคุณลักษณะอันพึงประสงคของ ผูเรียน ดงั นัน้ เพ่อื ใหส ถานศึกษามีการพฒั นาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่อง กลุมพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี จึงไดดำเนินการตรวจติดตามผลการ ดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ โดยมีรายละเอียด และสาระสำคญั ในคำรบั รองการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๔ ดาน ไดแ ก ๑) การพฒั นาการอานออกเขียน ได ๒) ระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ๓) ความสะอาดในสถานศึกษา ๔) ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ สู สถานศึกษา (PLC) โดยมีวัตถุประสงค ๓ ประการ คือ ๑) เพื่อตรวจเยี่ยมและติดตามการปฏิบตั ิงานของ โรงเรียนเอกชนในระบบในจงั หวดั ปต ตานี ๒) เพือ่ นำขอมลู มาพัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน ในระบบในจงั หวดั ปตตานีใหมีประสิทธิภาพ ๓) เพือ่ เผยแพรผลการตรวจเย่ยี มและตดิ ตามโรงเรียนเอกชน ในระบบแกหนวยงานท่ีเกย่ี วของและสาธารณชนทราบ วตั ถปุ ระสงคข์ องการรายงาน ๑. เพื่อสรุปผลการตรวจตดิ ตามผลการดำเนนิ งานเพ่ือพฒั นาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ ๒. เพื่อรายงานจุดเดนการดำเนินงานเพื่อพฒั นาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำป งบประมาณ ๒๕๖๒ ๓. เพอื่ รายงานปญ หาอุปสรรคและขอเสนอแนะแนวทางพัฒนาการดำเนินงานเพื่อพฒั นา คณุ ภาพโรงเรยี นเอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ ขอบเขตของการรายงาน

๒ ๑. กลุมเปาหมายในตรวจติดตามผลการดำเนินงานคอื โรงเรยี นเอกชนในระบบสังกดั สำนักงาน การศึกษาเอกชนจังหวดั ปตตานี ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน ๑๒๒ โรง ๒. เครื่องมือที่ใชคือ แบบตรวจเยี่ยมและติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียน เอกชนในระบบตามคำรับรองคณุ ภาพการศึกษา (MOU) ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ ๓. ระยะเวลาดำเนินงาน การตรวจติดตามผล ระหวางเดอื นตลุ าคม ๒๕๖๑ ถึง เดอื นกนั ยายน ๒๕๖๒ กรอบแนวคิดของการรายงาน การรายงานผลครั้งนี้ ยึดหลักการดำเนินการตรวจติดตามเพื่อพฒั นาคุณภาพโรงเรียนเอกชนใน ระบบ ตามกรอบขอตกลงระหวางสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานีกับโรงเรียนเอกชนในระบบ เรื่องการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีรายละเอียดและสาระสำคัญในคำรับรองการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา ๔ ดาน ไดแ ก ๑. พัฒนาการอา นออกเขยี นได ๒. ระบบดแู ลชว ยเหลอื นักเรียน ๓. ความสะอาดในสถานศกึ ษา ๔. ชมุ ชนการเรยี นรูทางวชิ าชพี สูส ถานศึกษา (PLC) ผลทÉีคาดว่าจะไดร้ บั ๑. สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานีและสำนักงานการศึกษาเอกชนอำเภอ ไดทราบ ขอมูลการดำเนินการตรวจติดตามเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบตามกรอบขอตกลงระหวาง สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานีกับโรงเรียนเอกชนในระบบเรื่องการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ท้ัง ๔ ดาน เพื่อกำหนดแนวทางในการสง เสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี นตอไป ๒. สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานีและสำนักงานการศึกษาเอกชนอำเภอ มีเผยแพร ผลการตรวจติดตามคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชนแกหนวยงานที่เก่ยี วของและสาธารณชนทราบ สว่ นทีÉ ๒

๓ ผลการดําเนินงาน การตรวจติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี ตามคำรับรองคุณภาพการศึกษา (MOU) ประจำ ปง บประมาณ ๒๕๖๒ ทงั้ ๔ ดาน มวี ธิ กี ารดำเนินการ ดงั น้ี กลม่ ุ เป้ าหมายสถานศึกษา กลุมเปาหมายในตรวจเยี่ยมและติดตามผลการดำเนินงานคือ โรงเรียนเอกชนในระบบสังกัด สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน 122 โรง จำแนกเปน รายอำเภอ ดงั นี้ ตารางที่ ๑ จำนวนและรอยละของโรงเรยี นเอกชนในระบบ สังกัดสำนกั งานการศึกษาเอกชนจงั หวัด ปตตานี จำแนกเปนรายอำเภอ ที่ อำเภอ จำนวนโรงเรียน รอ ยละ ๑๕.57 ๑ เมอื งปต ตานี ๑๙ 6.56 ๒ หนองจิก ๘ ๓ โคกโพธิ์ ๑๙ ๑๕.57 ๔ ยะรงั ๒๒ 18.03 ๕ ยะหรง่ิ ๑๑ ๖ ปะนาเระ ๗ 9.02 ๗ สายบุรี ๑๓ ๘ มายอ ๑๔ 5.73 ๙ ทุงยางแดง ๖ ๑๐ ไมแ กน ๑ ๑๐.66 11 แมลาน ๑ ๑1.48 12 กะพอ ๑ 4.92 รวม ๑๒2 ๐.๘2 ๐.๘2 ๐.๘2 ๑๐๐ จากตารางที่ ๑ จำนวนและรอยละของโรงเรยี นเอกชนในระบบ สงั กดั สำนักงานการศกึ ษาเอกชน จงั หวดั ปต ตานี จำแนกเปนรายอำเภอ พบวา อำเภอยะรังมีจำนวนโรงเรียนมากทส่ี ุด จำนวน ๒๒ โรง คิด เปนรอยละ 18.03 รองลงมาอำเภอเมืองปตตานีและอำเภอโคกโพธิ์ มีจำนวนโรงเรียน 19 โรง คิดเปน รอยละ ๑๕.๕๗ และอำเภอที่มีจำนวนโรงเรียนนอยที่สุดคือ อำเภอไมแกน อำเภอกะพอและอำเภอแม ลาน มจี ำนวนโรงเรยี น ๑ โรง คดิ เปน รอ ยละ ๐.๘2 ตารางท่ี ๒ จำนวนและรอยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกดั สำนักงานการศกึ ษาเอกชนจงั หวัด ปตตานี ทเี่ ขา รว มดำเนินการ ดานพฒั นาการอา นออกเขยี นได

๔ ท่ี อำเภอ จำนวนโรงเรียน รอ ยละ ๑๕.70 ๑ เมืองปตตานี ๑๙ 6.61 ๒ หนองจกิ ๘ ๓ โคกโพธ์ิ ๑๙ ๑๕.70 ๔ ยะรัง ๒๒ 18.18 ๕ ยะหร่ิง ๑๑ ๖ ปะนาเระ ๗ 9.09 ๗ สายบุรี ๑๓ ๘ มายอ ๑๔ 5.79 ๙ ทุงยางแดง ๖ ๑๐ ไมแกน ๑ ๑๐.74 ๑๑ แมล าน ๑ ๑1.57 12 กะพอ 4.96 0 รวม ๐.๘3 121 ๐.๘3 ๐.00 ๑๐๐ จากตารางที่ ๒ จำนวนและรอยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สงั กดั สำนักงานการศกึ ษาเอกชน จังหวัดปตตานี จำแนกเปนรายอำเภอ พบวาอำเภอยะรังมีจำนวนโรงเรียนมากทีส่ ดุ จำนวน ๒๒ โรง คิด เปนรอยละ18.18 รองลงมาอำเภอเมืองปตตานีและอำเภอโคกโพธิ์ มีจำนวนโรงเรียน 19 โรง คิดเปน รอยละ ๑๕.70 และอำเภอที่มีจำนวนโรงเรียนนอยที่สุดคือ อำเภอไมแกน และอำเภอแมลาน มีจำนวน โรงเรียน ๑ โรง คิดเปนรอยละ ๐.๘3 สำหรับอำเภอกะพอ ไมมีจำนวนโรงเรียนที่เขารวมดานพัฒนาการ อานออกเขียนได เนื่องจากโรงเรยี นในอำเภอกะพอดำเนนิ กิจการเฉพาะระดบั ปฐมวัยเทานั้น ตารางท่ี ๓ จำนวนและรอ ยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกัดสำนักงานการศกึ ษาเอกชนจงั หวัด ปตตานี ที่เขา รวมดำเนินการ ดา นระบบดแู ลชว ยเหลือนักเรยี น

๕ ท่ี อำเภอ จำนวนโรงเรียน รอยละ 12.50 ๑ เมืองปต ตานี 14 ๒ หนองจกิ 7.14 ๓ โคกโพธิ์ ๘ 15.18 ๔ ยะรัง ๑7 ๕ ยะหร่ิง ๒๒ 19.64 ๖ ปะนาเระ 11 ๗ สายบุรี ๗ 9.82 ๘ มายอ ๑๓ 6.25 ๙ ทุง ยางแดง ๑4 ๑๐ ไมแกน ๖ 11.61 ๑๑ แมลาน 0 ๑๒ กะพอ 0 12.50 ๐ 5.36 รวม ๐.๐๐ 112 ๐.๐๐ ๐.๐๐ 100 จากตารางท่ี ๓ จำนวนและรอ ยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สงั กดั สำนกั งานการศกึ ษาเอกชน จงั หวดั ปตตานี จำแนกเปนรายอำเภอ พบวา อำเภอยะรงั มีจำนวนโรงเรียนมากที่สุด จำนวน ๒๒ โรง คิด เปนรอยละ19.64 รองลงมาอำเภอโคกโพธ์ิ มีจำนวนโรงเรียน 17 โรง คิดเปนรอยละ ๑๕.18 และ อำเภอที่มีจำนวนโรงเรียนนอยที่สุดคืออำเภอทุงยางแดง มีจำนวนโรงเรียน 6 โรง คิดเปนรอยละ ๕.๓๖ สำหรับอำเภอไมแ กน อำเภอแมล านและอำเภอกะพอไมไ ดเ ขารว มดา นระบบดแู ลชว ยเหลือนกั เรยี น ตารางที่ ๔ จำนวนและรอยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกดั สำนักงานการศึกษาเอกชนจงั หวดั ปต ตานี ทเี่ ขา รว มดำเนินการดานความสะอาดในสถานศกึ ษา

๖ ท่ี อำเภอ จำนวนโรงเรียน รอยละ 15.70 ๑ เมอื งปต ตานี 19 6.61 ๒ หนองจิก 14.88 ๓ โคกโพธ์ิ ๘ 18.18 ๔ ยะรัง ๑๘ 9.09 ๕ ยะหริ่ง ๒๒ 5.79 ๖ ปะนาเระ 11 10.74 ๗ สายบรุ ี ๗ 13.22 ๘ มายอ ๑๓ 4.96 ๙ ทุงยางแดง ๑6 ๐.๐๐ ๑๐ ไมแ กน ๖ 0.83 ๑๑ แมล าน 0 ๐.๐๐ ๑๒ กะพอ ๑ 100 ๐ รวม 12๑ จากตารางท่ี ๔ จำนวนและรอยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกดั สำนักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดปต ตานี จำแนกเปนรายอำเภอ พบวาอำเภอยะรังมีจำนวนโรงเรียนมากทีส่ ดุ จำนวน ๒๒ โรง คิด เปนรอยละ18.18 รองลงมาอำเภอเมืองปตตานี มีจำนวนโรงเรียน 19 โรง คิดเปนรอยละ ๑๕.70 และ อำเภอที่มีจำนวนโรงเรียนนอยที่สุดคือ อำเภอแมลาน มีจำนวนโรงเรียน ๑ โรง คิดเปนรอยละ ๐.๘3 สำหรบั อำเภอไมแ กน และอำเภอกะพอไมไดเขา รวมดานความสะอาดในสถานศึกษา ตารางที่ ๕ จำนวนและรอ ยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สงั กัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจงั หวัด ปต ตานี ทีเ่ ขารวมดำเนนิ การดา นชุมชนการเรียนรูทางวชิ าชพี สสู ถานศึกษา (PLC)

๗ ที่ อำเภอ จำนวนโรงเรยี น รอยละ ๑ เมอื งปต ตานี ๑๙ ๑๕.83 ๒ หนองจกิ ๘ ๖.๖๗ ๓ โคกโพธิ์ ๑๘ ๑๕.๐๐ ๔ ยะรงั ๒๒ ๑๘.๓๔ ๕ ยะหรงิ่ ๑๑ ๙.๑๗ ๖ ปะนาเระ ๗ ๕.๘๓ ๗ สายบรุ ี ๑๓ ๑๐.๘๓ ๘ มายอ ๑๔ ๑๑.๖๗ ๙ ทงุ ยางแดง ๖ ๕.๐๐ ๑๐ ไมแกน ๑ ๐.๘๓ ๑๑ แมล าน ๑ ๐.๘๓ ๑๒ กะพอ ๐ ๐.๐๐ รวม 12๐ 100 จากตารางที่ ๕ จำนวนและรอ ยละของโรงเรียนเอกชนในระบบ สงั กัดสำนักงานการศกึ ษาเอกชน จงั หวดั ปตตานี จำแนกเปนรายอำเภอ พบวา อำเภอยะรงั มีจำนวนโรงเรียนมากทีส่ ุด จำนวน ๒๒ โรง คิด เปนรอ ยละ18.34 รองลงมาอำเภอเมืองปตตานี มีจำนวนโรงเรียน 19 โรง คิดเปนรอ ยละ ๑๕.83 และ อำเภอที่มีจำนวนโรงเรียนนอยทีส่ ุดคืออำเภอไมแกนและอำเภอแมลาน มีจำนวนโรงเรียน ๑ โรง คิดเปน รอยละ ๐.๘3 สำหรับอำเภอกะพอไมไ ดเขารว มดา นชุมชนการเรียนรทู างวชิ าชพี สสู ถานศกึ ษา (PLC) ขนÊั ตอนการดําเนินการ

๘ การดำเนินการตรวจติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชน ในระบบ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ มีกิจกรรมและ ขน้ั ตอนการดำเนินการ ดังภาพประกอบท่ี ๑ ดังน้ี สำนักงานการศึกษาเอกชนจงั หวัดปตตานี จดั ทำบันทึกขอ ตกลงกับโรงเรียนเอกชนในระบบเรื่องการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา Ø โรงเรยี นเอกชนในระบบดำเนินการตามกรอบขอ ตกลง Ø สำนกั งานการศกึ ษาเอกชนจังหวดั ปตตานแี ละสำนักงานการศึกษาเอกชนอำเภอ จดั ทำเคร่ืองมือการตรวจเยย่ี ม Ø สำนกั งานการศกึ ษาเอกชนจงั หวัดปตตานี แตง ต้งั คณะกรรมการออกตรวจเยี่ยมและจัดประชมุ ชี้แจงการใชเครอ่ื งมือ Ø สำนักงานการศึกษาเอกชนอำเภอ จดั ทำปฏิทินและออกตรวจเย่ียมโรงเรียนเอกชนในระบบ Ø สำนักงานการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั ปตตานี แตงต้งั คณะทำงานและจดั ทำรายงานสรปุ ผลการตรวจเยยี่ ม ภาพประกอบที่ ๑ ขั้นตอนการดำเนินการโครงการตรวจเยี่ยมและติดตามเพื่อพัฒนาคุณภาพ โรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ เครอืÉ งมือทÉีใช้

๙ เปนเครื่องมือการตรวจติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ ตามคำรับรองการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (MOU) มีลักษณะเปนแบบ ติดตามมาตราสว นประมาณคา (Rating Scales) มี ๓ ระดับ ใน ๔ ดาน ดงั นี้ ๑. ดา นพฒั นาการอา นออกเขยี นได ๒. ดา นระบบดแู ลชว ยเหลอื นกั เรยี น ๓. ดานความสะอาดในสถานศึกษา ๔. ดา นชมุ ชนการเรียนรทู างวิชาชีพ สสู ถานศึกษา (PLC) การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสถิติทีÉใชใ้ นการวิเคราหข์ อ้ มลู การวิเคราะหข์ อ้ มลู การวิเคราะหขอมูลการตรวจติดตามผลการดำเนินงานเพือ่ พัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ วิเคราะหขอมูลโดยใชเครื่องคอมพิวเตอรโปรแกรม Microsoft Excel เพื่อ วเิ คราะหห าคา คา รอยละ (Percentage) และแปลความหมายขอมูล ดังนี้ รอ ยละ ๐.๐๑ – 33.33 แปลความหมาย มกี ารดำเนนิ งานอยใู นระดับปรบั ปรุง รอยละ 33.34 – 66.66 แปลความหมาย มีการดำเนนิ งานอยูในระดับพอใช รอยละ 66.67 – ๑๐๐ แปลความหมาย มีการดำเนินงานอยูในระดับดี นอกจากนี้มีการวิเคราะหขอมูลโดยสังเคราะหขอมูลจุดเดน ปญหาอุปสรรคและแนวทางแกไข ปญหานำเสนอในรูปความเรยี ง สถิติทÉีใชใ้ นการวิเคราหข์ อ้ มลู ๑. รอยละ (Percentage) เปนคาสถิตทิ ่นี ิยมใชกันมาก โดยเปน การเปรียบเทียบความถ่ี หรือจำนวน ที่ตองการกับความถี่หรือจำนวนทง้ั หมดที่เทียบเปน ๑๐๐ จะหาคา รอ ยละจากสูตรตอไปนี้ p f u 100 N เม่ือ P แทน คารอยละ f แทน ความถ่ที ่ีตองการแปลงใหเ ปน คา รอยละ N แทน จำนวนความถที่ งั้ หมด คา รอยละจะแสดงความหมายของคา และสามารถนำคาท่ีไดไปเปรียบเทียบได ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ผลการดําเนินงาน

๑๐ ผลการวิเคราะหขอมูลการตรวจติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชน ในระบบ ประจำปง บประมาณ ๒๕62 ปรากฏผลดงั น้ี ผลการดําเนินงาน ๑. ผลการดำเนินงานโดยภาพรวมทัง้ ๔ ดาน ตารางที่ ๖ รอยละผลการดำเนนิ งานเพื่อพฒั นาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ โดยภาพรวมและ จำแนกเปนรายดาน ดาน รอ ยละ แปลความหมาย ผลการตรวจ ๑. ดานพัฒนาการอา นออกเขียนได ตดิ ตามภาพรวม อยใู นระดบั ดี ๒. ดา นระบบดแู ลชวยเหลือนกั เรียน ป ๒๕๖๒ อยูในระดบั ดี ๓. ดานความสะอาดในสถานศึกษา อยูใ นระดบั ดี ๔. ดานชุมชนการเรยี นรทู างวิชาชีพ ๘7.58 อยูในระดบั พอใช ๗๑.97 อยใู นระดบั ดี สสู ถานศึกษา (PLC) 73.02 ภาพรวม 52.59 71.29 จากตารางที่ ๖ รอยละผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ โดยภาพรวม พบวา รอยละของผลการดำเนินงาน เทากับ 71.29 อยูในระดับดี เมื่อพิจารณารายดาน พบวา ดานพัฒนาการอานออกเขียนได มีผลการตรวจติดตาม คิดเปนรอยละ ๘7.58 อยูในระดับดี ดานระบบดูแลชวยเหลอื นักเรียน ผลการตรวจติดตาม คิดเปนรอยละ ๗๑.97 อยูในระดับดี ดานความ สะอาดในสถานศึกษามีผลการตรวจติดตาม คิดเปนรอยละ 73.02อยูในระดับดี และดานชุมชนการ เรยี นรทู างวชิ าชีพ สสู ถานศึกษา (PLC) มีผลการตรวจติดตาม คิดเปน รอ ยละ52.59 อยูในระดับพอใช ๒. ผลการดำเนนิ งานรายดา นจำแนกเปน รายอำเภอ (๑) ดา นการพัฒนาการอานออกเขยี นได

๑๑ ตารางท่ี 7 รอ ยละผลการดำเนินงานเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นเอกชนในระบบ ดา นการ พัฒนาการอา นออกเขียนได อำเภอ รอ ยละผลการดำเนินงาน แปลความหมาย เมืองปตตานี ๘2.6๐ อยใู นระดบั ดี หนองจกิ ๗๕.4๐ อยูในระดบั ดี โคกโพธ์ิ ๘๑.๓๐ อยูในระดบั ดี ยะรัง 76.๑๐ อยูในระดบั ดี ยะหร่งิ ๗๕.๐3 อยใู นระดบั ดี ปะนาเระ ๖๐.๕๐ อยใู นระดบั พอใช สายบุรี ๘1.๙๐ อยูในระดับดี มายอ ๖๖.๕๐ อยใู นระดบั พอใช ทงุ ยางแดง ๖๖.๔๕ อยูใ นระดับพอใช ไมแกน ๖๐.๕๐ อยูใ นระดับพอใช แมลาน ๕๘.๓๐ อยูในระดบั พอใช ภาพรวม ๘7.58 อยใู นระดบั ดี จากตารางที่ ๗ รอ ยละผลการดำเนินงานเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี ที่ไดดำเนินการตามบันทึกขอตกลงดานการพัฒนาการ อานออกเขียนได โดยภาพรวมเทากบั ๘7.58 อยูในระดบั ดี เม่อื จำแนกเปน รายอำเภอ พบวา อำเภอ ที่มีผลการดำเนินงานมากที่สุด คือ อำเภอเมืองปตตานี คิดเปนรอยละ ๘2.6๐ อยูในระดับดี รองลงมา คืออำเภอสายบุรี คิดเปนรอยละ ๘1.๙๐ อยูในระดับดี และอำเภอที่มีการดำเนินงานนอยที่สุดคือ อำเภอแมลาน คดิ เปน รอ ยละ ๕๘.๓๐ อยใู นระดบั พอใช (๒) ดานระบบดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน ตารางที่ ๘ รอ ยละผลการดำเนินงานเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนเอกชนในระบบ ดานระบบ ดแู ลชว ยเหลอื นกั เรยี น

๑๒ อำเภอ รอยละผลการดำเนินงาน แปลความหมาย เมอื งปต ตานี 70.89 อยใู นระดับดี หนองจกิ 73.75 อยใู นระดบั ดี โคกโพธ์ิ 76.86 อยใู นระดบั ดี ยะรงั 69.70 อยูในระดับดี ยะหรง่ิ 56.06 อยใู นระดับพอใช ปะนาเระ 72.38 อยใู นระดับดี สายบรุ ี 76.92 อยใู นระดบั ดี มายอ 70.95 อยูในระดบั ดี ทงุ ยางแดง 75.00 อยูในระดบั ดี ภาพรวม 7๑.๓๙ อยใู นระดับดี จากตารางที่ ๘ รอยละผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี ที่ไดดำเนินการตามบันทึกขอตกลงดานระบบดูแล ชวยเหลือนักเรียน โดยภาพรวมเทากับ 7๑.๓๙ อยูในระดับดี เมื่อจำแนกเปนรายอำเภอ พบวา อำเภอที่มีผลการดำเนินงานมากที่สุด คือ อำเภอสายบุรี คิดเปนรอยละ 76.92 อยูในระดับดี รองลงมา คือ อำเภอโคกโพธิ์ คิดเปนรอยละ 76.86 อยูในระดับดี และอำเภอที่มีการดำเนินงานนอยที่สุดคือ อำเภอยะหริ่ง คิดเปน รอยละ 56.06 อยูใ นระดับพอใช (๓) ดา นความสะอาดในสถานศึกษา ตารางท่ี ๙ รอยละผลการดำเนินงานเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นเอกชนในระบบ ดานความ สะอาดในสถานศกึ ษา

๑๓ อำเภอ รอยละผลการดำเนินงาน แปลความหมาย เมอื งปตตานี 82.46 อยูใ นระดับดี หนองจิก 87.50 อยูในระดับดี โคกโพธ์ิ 85.19 อยใู นระดบั ดี ยะรัง 78.79 อยใู นระดับดี ยะหรงิ่ 84.85 อยใู นระดบั ดี ปะนาเระ 52.38 อยใู นระดับพอใช สายบรุ ี 70.83 อยูในระดบั ดี มายอ 54.17 อยใู นระดบั พอใช ทงุ ยางแดง 66.67 อยูในระดับดี แมลาน 66.67 อยูในระดบั ดี ภาพรวม 7๓.๐๒ อยูในระดับดี จากตารางท่ี ๙ รอ ยละผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นเอกชนในระบบ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี ที่ไดดำเนินการตามบันทึกขอตกลงดานความสะอาดใน สถานศึกษา โดยภาพรวมเทากับ 7๓.๐๒ อยูในระดับดี เมื่อจำแนกเปนรายอำเภอ พบวา อำเภอที่มี ผลการดำเนินงานมากที่สุด คือ อำเภอหนองจิก คิดเปนรอยละ 87.50 อยูในระดับดี รองลงมา คือ อำเภอโคกโพธ์ิ คิดเปนรอยละ 85.19 อยใู นระดับดี และอำเภอทม่ี ีการดำเนินงานนอยท่ีสุดคือ อำเภอ มายอ คิดเปนรอยละ 54.17 อยใู นระดบั พอใช (๔) ดานชุมชนการเรยี นรูทางวิชาชพี สูส ถานศึกษา (PLC) ตารางท่ี ๑๐ รอ ยละผลการดำเนินงานเพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นเอกชนในระบบ ดา นชมุ ชน การเรียนรทู างวิชาชีพสูสถานศึกษา (PLC)

๑๔ อำเภอ รอ ยละผลการดำเนินงาน แปลความหมาย เมืองปตตานี ๕๗.๘๙ อยูใ นระดบั พอใช หนองจกิ ๖๕.๒๘ อยูใ นระดับพอใช โคกโพธ์ิ ๕๗.๗๒ อยูใ นระดับพอใช ยะรงั ๓๘.๓๗ อยูในระดับพอใช ยะหริง่ ๖๖.๖๗ ปะนาเระ ๕๖.๓๕ อยูใ นระดับดี สายบรุ ี ๔๔.๐๒ อยใู นระดบั พอใช มายอ ๕๑.๑๙ อยใู นระดบั พอใช ทงุ ยางแดง ๕๙.๒๖ อยใู นระดับพอใช ไมแ กน ๑๖.๖๗ อยูในระดบั พอใช แมล าน ๑๖.๖๗ อยูในระดับปรบั ปรงุ ๕๒.๕๙ อยูในระดับปรับปรุง ภาพรวม อยูในระดบั พอใช จากตารางที่ ๑๐ รอยละผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี ท่ีไดดำเนินการตามบันทึกขอตกลงดานชุมชนการเรียนรู ทางวิชาชีพสูสถานศึกษา (PLC) โดยภาพรวมเทากับ ๕๒.๕๙ อยูในระดับพอใช เมื่อจำแนกเปนราย อำเภอ พบวา อำเภอที่มีผลการดำเนินงานมากที่สุด คือ อำเภอยะหริ่ง คิดเปนรอยละ ๖๖.๖๗ อยูใน ระดับดี รองลงมา คืออำเภอหนองจิก คิดเปนรอยละ ๖๕.๒๘ อยูในระดับพอใช และอำเภอที่มีการ ดำเนนิ งานนอยทส่ี ุดคอื อำเภอไมแกน และอำเภอแมล าน คิดเปนรอยละ ๑๖.๖7 อยใู นระดบั ปรับปรุง สว่ นทÉี ๓ สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะในการพฒั นา รายงานสรปุ ผลการตรวจตดิ ตามผลการดำเนนิ งานเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพโรงเรยี นเอกชนในระบบ ประจำปง บประมาณ ๒๕๖๒ มีวัตถุประสงค ๑) เพื่อสรุปผลการตรวจติดตามผลการดำเนินงานเพ่ือพฒั นา

๑๕ คณุ ภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปง บประมาณ ๒๕๖๒ และ ๒) เพ่ือรายงานจดุ เดน ปญหา อุปสรรคและขอ เสนอแนะแนวทางพฒั นาการดำเนินงานเพ่ือพฒั นาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำปง บประมาณ ๒๕๖๒ กลุมเปา หมายในตรวจติดตามผลการดำเนินงานคือ โรงเรยี นเอกชนในระบบ สงั กัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจงั หวดั ปต ตานี จำนวน 122 โรง เคร่อื งมอื ท่ใี ชคือ แบบตรวจตดิ ตามผล การดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบตามคำรับรองคุณภาพการศึกษา (MOU) ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน 4 ดาน ไดแ ก ๑) ดานการพฒั นาการอานออกเขยี นได ๒) ดา น ระบบดูแลชวยเหลือนักเรยี น ๓) ดา นความสะอาดในสถานศึกษา ๔) ดา นชมุ ชนการเรยี นรทู างวิชาชีพสู สถานศึกษา (PLC) ผลการตรวจตดิ ตามเปนดังนี้ สรปุ ผล ๑. สรุปผลการดำเนินงานเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ๑.๑ ผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ โดยภาพรวม พบวา รอยละผลการดำเนินงานเพื่อพฒั นาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ โดยภาพรวม เทากับ 72.03 อยูใน ระดับดี เมื่อพิจารณารายดานพบวา ดานพัฒนาการอานออกเขียนได มีผลการตรวจติดตาม คิดเปน รอยละ ๘7.58 อยูในระดับดี ดานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ผลการตรวจติดตาม คิดเปนรอยละ ๗๑.97 อยูในระดับดี ดานความสะอาดในสถานศึกษามีผลการตรวจติดตาม คิดเปนรอยละ 75.97 อยูในระดับดี และดานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพสูสถานศึกษา (PLC) มีผลการตรวจติดตาม คิดเปน รอ ยละ52.59 อยใู นระดับพอใช ๑.๒ ผลการดำเนินงานรายดา นจำแนกเปนรายอำเภอ พบวา (๑) ดานการพัฒนาการอานออกเขียนได พบวา อำเภอที่มีผลการดำเนินงานมากที่สุด คือ อำเภอเมืองปตตานี คดิ เปน รอ ยละ ๘2.6๐ อยูในระดบั ดี รองลงมา คอื อำเภอสายบรุ ี คิดเปนรอยละ ๘1.๙๐ อยูในระดับดี และอำเภอทีม่ ีการดำเนนิ งานนอยที่สุดคือ อำเภอแมลาน คิดเปนรอ ยละ ๕๘.๓๐ อยใู นระดับพอใช (๒) ดานระบบดูแลชวยเหลือนักเรยี น พบวา อำเภอที่มีผลการดำเนินงานมากที่สุด คือ อำเภอสายบุรี คดิ เปนรอ ยละ 76.92 อยูในระดบั ดี รองลงมาคอื อำเภอโคกโพธ์ิ คดิ เปน รอ ยละ 76.86 อยูในระดับดี และอำเภอที่มีการดำเนินงานนอยที่สุดคือ อำเภอยะหริ่ง คิดเปนรอยละ 56.06 อยูใน ระดบั พอใช (๓) ดานความสะอาดในสถานศึกษา พบวา อำเภอที่มีผลการดำเนินงานมากที่สุด คือ อำเภอหนองจิก คิดเปนรอยละ 87.50 อยูในระดับดี รองลงมา คืออำเภอโคกโพธ์ิ คิดเปนรอยละ 85.19 อยูในระดับดี และอำเภอทีม่ ีการดำเนนิ งานนอ ยที่สุดคือ อำเภอมายอ คิดเปนรอยละ 54.17 อยใู นระดับพอใช (๔) ดานชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ สูสถานศึกษา (PLC) พบวา อำเภอที่มีผล การดำเนินงานมากที่สุด คือ อำเภอยะหริ่ง คิดเปนรอยละ ๖๖.๖๗ อยูในระดับดี รองลงมา คือ อำเภอหนองจิก คิดเปนรอยละ ๖๕.๒๘ อยูในระดับพอใช และอำเภอที่มีการดำเนินงานนอยที่สุดคือ อำเภอไมแกน และอำเภอแมลาน คิดเปน รอ ยละ ๑๖.๖7 อยใู นระดับปรับปรุง ๒. จุดเดน การดำเนนิ งานเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพโรงเรยี นเอกชนในระบบ ๒.๑ ดา นการพฒั นาทกั ษะการอานและเขยี น

๑๖ ๑) โรงเรียนมีการสอนปรบั พื้นฐานเพือ่ แกป ญ หาการอานไมอ อกและเขียนไมได ๒) โรงเรียนมีกจิ กรรมสง เสริมและพัฒนาทกั ษะการอานและเขียน ๓) โรงเรียนจัดทำเครื่องมือสำรวจขอมูลนักเรียนรายบุคคลตามบริบทของโรงเรียน เก็บขอ มูลในแตละดา นอยางครอบคลุม มีการจัดเกบ็ อยา งเปนระบบ ๒.๒ ดา นระบบดแู ลชวยเหลือนกั เรยี น ๒.๒.๑ ดานการบริหารจดั การ ๑) โรงเรยี นไดร บั ทราบศักยภาพของครูในการขับเคลอื่ นงานระบบดูแลชว ยเหลอื นักเรียน ๒) โรงเรียนมรี ูปแบบกระบวนการพัฒนานักเรียนเปนระบบมากขึ้น โดยไดร บั การมี สว นรว มของบคุ ลากรในโรงเรยี น บุคลากรท่เี ก่ียวขอ งทกุ ฝาย ผูปกครอง และนกั เรียน ๒.๒.๒ ดา นผบู รหิ าร ๑) โรงเรยี นมขี อมูลพน้ื ฐานของนักเรยี น เพ่ือกำหนดแนวทางในการจัดกจิ กรรมใหก บั นักเรยี นใหส อดคลองกบั หลักสูตรสถานศึกษา ๒.๒.๓ ดา นครูผูสอน ๑) ครมู ีการดำเนนิ งานระบบดแู ลชวยเหลือนักเรยี นอยา งเปนขนั้ ตอน ไดตระหนักและ เห็นความสำคัญในการดูแลชวยเหลอื นกั เรียนอยางถูกวธิ ี ตลอดจนมีเจตคติที่ดตี อนกั เรียน ๒.๒.๓ ดานนักเรียน ๑) นกั เรยี นไดรูจักตนเอง สามารถปรับตวั ใหเกิดทักษะมีทกั ษะชีวิต และมสี มั พันธภาพ ที่ดีกับเพอ่ื น ครูและผปู กครอง ตลอดจนการอยูรว มกนั ในสังคมอยา งสนั ติ ๒) นกั เรียนไดรบั การดแู ลชว ยเหลอื พฒั นาตนเองท้ังดา นสุขภาพกาย สขุ ภาพจติ และ สภาพแวดลอมทางสงั คมอยางทัว่ ถึง อีกท่งั ไดร บั การสง เสริม พัฒนา ปอ งกนั แกไ ขปญ หาทั้งดานการ เรยี นรูและความสามารถพิเศษ ๒.๓ ดานความสะอาดในสถานศกึ ษา ๒.๓.๑ ดา นนโยบาย ๑) โรงเรียนมกี ารกำหนดนโยบายพฒั นาสิ่งแวดลอ มและความสะอาดของโรงเรยี นโดย จดั ทำเปน โครงการ อยา งนอ ยเดือนละ 1 ครั้ง ตลอดจนหนว ยงานภายนอก ผบู ริหาร ครูและผูปกครอง ใหค วามสำคญในการสงเสรมิ และปรับปรงุ ภูมิทัศนและพัฒนาสง่ิ แวดลอมในโรงเรยี น ๒.๓.๒ ดานกายภาพ ๑) บรเิ วณโรงเรียนโดยรอบ สะอาดเปนระเบยี บเรียบรอ ยและสวยงาม มีการจัดมมุ แหลงเรยี นรู เศรษฐกจิ เพียง และสวนหยอม โดยแบง หนา ท่ีผรู ับผิดชอบในบรเิ วณตางๆใหก บั ครทู ุกคน

๑๗ ๒) ภายใหหองเรียนมกี ารตกแตงดวยผลงานของนักเรียนอยา งหลากหลายและสวยงาม ทำใหเปน หองเรียนนา อยูแ ละมีชวี ติ มากขนึ้ ๒.๓.๓ ดานความปลอดภยั ๑) โรงเรยี นใหค วามสำคญั กับความปลอดภัยของนักเรียน โดยมีการจดั ระบบปายเตือน ความปลอดภัย มีร้วั รอบปองกนั และไดกำหนดเวลาเขา เวลาออกของนกั เรียน มีผรู บั ผดิ ชอบเวรท่ีเฝา ประตเู ขาออกตลอดท้ังวัน ๒.๓.๔ ดา นการจดั กจิ กรรมสง เสรมิ การจดั การความสะอาดและส่งิ แวดลอมทย่ี ั่งยืน ๑) โรงเรียนสง เสรมิ การจัดกิจกรรมทีม่ สี วนรว มในการรกั ษาความสะอาดใหนาอยูและ ปลอดภยั พรอมท้งั มผี ูรับผิดชอบบรเิ วณตาง ๆ ภายในโรงเรียน ๒.๓.๕ ดานพฤตกิ รรมของบุคลากรและนักเรยี น ๑) ผูบ ริหาร ครูและบุคลากรมีอารมณย ิ้มแยมแจม ใสและสุขภาพจิตดี ๒) นักเรยี นมีความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย มีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคตามจุดหมายของ หลักสูตร ประพฤติตนเปนแบบอยา งท่ีดี รูจักออนนอมถอมตน และเคารพผูใหญทุกคนท่ีมาเยี่ยมเยือน โรงเรยี น ๒.๔ ดา นชมุ ชนการเรียนรูทางวิชาชพี สูส ถานศกึ ษา (PLC) ๑) โรงเรียนมีการวางแผนการดำเนินงาน มีการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ครแู ละผูเ กีย่ วของทุกฝาย เพื่อสรา งความเขาใจกอนการปฏบิ ัติงาน และใหมคี วามตระหนักถึงเปาหมายใน การดำเนนิ งานทชี่ ัดเจน ๒) โรงเรียนมีการจัดทำ PLC ๔ ระยะ กลาวคือ ระยะที่ ๑ จัดทีมครูคนหาปญหา ระยะ ท่ี ๒ กระบวนการจัดการเรียนรู ระยะที่ ๓ การสะทอ นผล ระยะท่ี ๔ การประเมนิ ผลเพ่ือการพฒั นา ๓) คณะกรรมการดำเนินงานในแตละกิจกรรมของโรงเรียน มีตำแหนงท่ีหลากหลาย ประกอบดวยผูอำนวยการโรงเรียน หัวหนาวิชาการ ครูผูสอน ทำใหโรงเรียนสามารถดำเนินงานไดตาม แผนและดำเนินตามปฏทิ นิ อยางครบถว นและตอ เน่อื ง ๔) ผูบริหารโรงเรยี นไดทราบถึงปญหาแตละดานทำใหมีการพัฒนางานของครู โดยเนน การลงมอื ปฏิบตั ิงานจริงของครู ๕) ทุกกิจกรรมของแตละฝายมีการจัดทำ LogBook เพื่อยกระดับประสิทธิภาพของ กิจกรรมในการดำเนินงาน สงผลตอประสิทธิผลหลังจากการทำกิจกรรม อีกทั้งมีรองรอยหลักฐานการ ดำเนนิ งานท่ีชัดเจน ทำใหทราบถึงจุดเดน จุดดอ ยของการดำเนินกจิ กรรมตาง ๆ ๖) โรงเรียนมีการคัดกรองและแยกผูเรียนไดอยางชัดเจน โดยมีเครื่องมือบันทึก พฤติกรรม และขอมูลของผูเรียน มีการรวบรวมสภาพปญหา วิธีการแกปญหา และการสะทอนผลการ ดำเนนิ งานทกุ สัปดาห และดำเนินการเปน ไปอยา งตอ เนือ่ ง ๗) โรงเรียนมีแบบนิเทศการสอนที่หลากหลาย เพื่อกระตุนใหครูมีการเตรียมแผนการ สอน การดำเนินการสอน การวัดและประเมินผล สงเสริมใหครูมีการเตรียมการทำกิจกรรมตาง ๆ ลวงหนา และไดคิดคนนวัตกรรมใหม ๆ อยางตอเนื่อง พรอมทั้งจัดใหมีการนำเสนอผลงานแตละกลุม เพอ่ื ใหเกิดการแลกเปล่ียนเรยี นรูซ่งึ กันและกนั

๑๘ ๘) โรงเรียนสรางเครือขายในการยกระดับการจัดการเรียนการสอนในกลุมสาระการ เรยี นรตู า ง ๆ และพัฒนาวชิ าชพี ครูดวยนวตั กรรมการศกึ ษาอยางหลากหลาย ๓. ปญ หาและอปุ สรรคการดำเนนิ งานเพอ่ื พฒั นาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ๓.๑ ดา นการพฒั นาทกั ษะการอา นและเขียน ๓.๑.๑ ดานการบรหิ ารจัดการ ๑) โรงเรียนไมมีแผนการดำเนินงานที่สงเสรมิ และพัฒนาทักษะการอา นและการเขยี น เพื่อแกปญหานักเรียนที่อานไมออกเขียนไมไดอยางชัดเจน ตลอดจนการสรางแหลงเรียนรูที่สงเสริมการ อานใหเพยี งพอ ๒) โรงเรยี นไมสนับสนุนและจัดหาส่ือการเรียนการสอนใหกับครูในการนำไปใชในการ จัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนาทักษะการอา นและการเขียน ๓.๑.๒ ดา นผูบริหาร ๑) ผูบริหารไมใหความสำคัญกับการพัฒนาทักษะการอานและเขียนเทาที่ควรทำให การดำเนนิ งานของการจัดกจิ กรรมไมส ามารถแกปญหาทส่ี งผลตอผเู รยี นอยา งแทจ รงิ ๓.๑.๓ ดานครูผูสอน ๑) ครูไมมคี วามกระตอื รือรน ในการจัดกจิ กรรมการเรียนทีเ่ สรมิ ทักษะการอานและ การเขยี นใหนาสนใจตอผูเรียน ทำใหก ารแกปญหาขอ มูลของนักเรียนไมเ ปนจริงและตรงประเด็น ๒) ครไู มไ ดต ิดตามการพฒั นาทักษะการอานและเขยี นอยางตอเนือ่ ง ๓.๒ ดานระบบดแู ลชวยเหลอื นักเรยี น ๓.๒.๑ ดา นการบริหารจดั การ ๑) โรงเรียนไมไดจัดทำขอมูลสารสนเทศดานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนใหเปน ปจจุบัน และไมไ ดแตง ตงั้ คณะทำงานระบบดูแลชวยนักเรยี นทชี่ ัดเจน ๓.๒.๒ ดานผูบ รหิ าร ๑) ผูบริหารไมดำเนินการและติดตามอยางตอเนื่อง สงผลใหงานระบบดูแลชวยเหลือ นกั เรียนไมเปน ระบบและไมค รอบคลมุ สง ผลตอ การแกปญ หาไมต รงประเดน็ และเตม็ ศักยภาพ ๓.๒.๓ ดานครูผูสอน ๑) ครูมีภาระงานที่รับผิดชอบหลายอยาง ทำใหการดำเนินงานเกี่ยวกับระบบดูแล ชว ยเหลือนักเรยี นไมมีประสิทธิภาพ อกี ทั้งครูไมม ีประสบการณในการทำงานและเรียนรูงานเก่ียวกับระบบ ดแู ลชวยเหลอื นกั เรียน ๓.๒.๓ ดา นผเู รยี น ๑) นักเรียนไมคอยใหความรวมมือตอกิจกรรมระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนทำใหการ แกป ญหานักเรียนไมตรงประเด็น ๓.๓ ดานความสะอาดในสถานศกึ ษา ๓.๓.๑ ดานการบรหิ ารจัดการ

๑๙ ๑) โรงเรียนไมมีแผนการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการขยะอยางเปนระบบ และยัง ขาดการรณรงคในการแยกขยะ ตลอดจนสถานที่จัดการขยะไมเ หมาะสม ๓.๓.๒ ดา นผบู ริหาร ๑) ผูบริหารไมไ ดติดตามการทำงานของบคุ ลากรในโรงเรยี นทีร่ ับผดิ ชอบตอหนา ท่ี ดแู ลความสะอาดอยา งตอ เน่ือง ๓.๓.๓ ดานครูผูส อน ๑) ครูไมไดสรางความตระหนักใหกับตนเองในการรักษาความสะอาดในโรงเรียน เทาที่ควรทำใหการดำเนินงานเกี่ยวกับความสะอาดในสถานศึกษาไมมีประสิทธิผล โดยเฉพาะบริเวณ สถานที่ปฏบิ ัตศิ าสนกิจและบรเิ วณหอ งน้ำ ๓.๓.๔ ดา นผเู รียน ๑) นักเรียนไมคอยใหความรวมมือในเรื่องการดูแลรักษาความสะอาดในสถานศึกษา เทาท่คี วรและไมม จี ติ อาสาในการรกั ษาความสะอาดในสถานศกึ ษาเปนกิจนิสัย ๓.๔ ดานชมุ ชนการเรยี นรูท างวชิ าชพี สูสถานศึกษา (PLC) ๓.๔.๑ ดานการบรหิ ารจัดการ ๑) โรงเรียนไมไดดำเนนิ ตามแผนและระยะเวลาเกี่ยวกบั กจิ กรรม สงผลตอบุคลากร ไมคอยเขาใจในการดำเนินงาน PLC และไมไดศกึ ษากระบวนการดำเนินงานอยางลึกซ้ึง ๒) โรงเรียนไมไดกำกับคณะกรรมการผทู ำการนิเทศและติดตามมีความเขาใจ กระบวนการดำเนนิ งานท่ชี ดั เจน ๓) โรงเรยี นไมไดด ำเนินการสรปุ และรายงานผลการดำเนินงานใหเปน รปู ธรรม อกี ท้ังรายละเอยี ดของกจิ กรรมไมช ัดเจนและไมสมบูรณเ ทา ทีค่ วร ๓.๔.๒ ดานผูบริหาร ๑) ผูบริหารไมไดกำกับและติดตามคณะกรรมการผูทำการนิเทศและติดตาม มีความ เขา ใจกระบวนการดำเนินงานทช่ี ดั เจน ทำใหการนเิ ทศ ติดตาม ไมเ ปนไปตามแผนงานทวี่ างไว ๒) ผูบริหารไมไดสรางเครือขายในการดำเนินงาน PLC ใหเกิดขึ้นภายในโรงเรียนให ชัดเจนและทั่วถึง สง ผลใหการแลกเปลีย่ นเรียนรูระหวางเครือขายมนี อ ย ๓.๔.๓ ดานครูผูสอน ๑) ครูแตละฝายภายในโรงเรียนไมคอยใหความรวมมือและขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตามกระบวนการ PLC ๒) ครแู ละบุคลากรไมมีเวลาในการจดั เตรยี มการจัดกิจกรรมตามกระบวนการ ทำให การจดั กจิ กรรมไมป ระสบความสำเร็จเทา ทค่ี วร ขอ้ เสนอแนะ

๒๐ จากปญหาอุปสรรคในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ ประจำป งบประมาณ ๒๕6๒ ทีค่ น พบจากการตรวจตดิ ตามในคร้ังนี้ ทางสำนกั งานการศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี มีขอ เสนอแนะเพอ่ื เปน แนวทางในการพัฒนาการดำเนนิ งานแตละดาน ดังน้ี ๑. ดานการพฒั นาทักษะการอานและเขียน ๑.๑ ดา นการบรหิ ารจดั การ ๑) โรงเรียนควรจดั ทำแผนการดำเนนิ งานท่ีสง เสรมิ และพัฒนาทักษะการอา นและ การเขียน เพื่อแกปญหานักเรียนที่อานไมออกเขียนไมไดอยางชัดเจน จัดหาและสรางแหลงเรียนรูที่ สงเสริมการอานใหเพียงพอในสถานศึกษา สนับสนุนและจัดหาส่ือการเรียนการสอนใหกับครูในการ นำไปใชใ นการจัดกจิ กรรมเพื่อพฒั นาทักษะการอานและการเขยี น ๑.๒ ดา นผบู รหิ าร ๑) ผูบริหารควรใหความสำคัญกับการพัฒนาทักษะการอานและเขียน เพื่อใหการ ดำเนินงานของการจดั กิจกรรมสามารถแกปญหาตอผเู รียนอยางแทจ ริง ๑.๓ ดานครผู ูสอน ๑) ครูควรสรางความกระตือรือรน ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนท่เี สริมทักษะ การอานและการเขียนใหนาสนใจตอผูเรียน เพื่อทำใหการแกปญหาขอมูลของนักเรียนเปนจริงและตรง ประเด็น ตลอดจนควรติดตามการพัฒนาทักษะการอา นและเขียนของนักเรยี นอยางตอเนอื่ ง ๒ ดานระบบดูแลชว ยเหลอื นกั เรยี น ๒.๑ ดา นการบรหิ ารจดั การ ๑) โรงเรียนควรจัดทำขอมูลสารสนเทศดานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนใหเปน ปจจบุ นั และแตง ตัง้ คณะทำงานระบบดแู ลชว ยนกั เรียนที่ชดั เจน ๒.๒ ดานผูบรหิ าร ๑) ผูบริหารควรดำเนินการและติดตามงานระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนเปนระบบ อยางตอ เนื่อง เพ่ือการแกปญหาตรงประเดน็ ๒.๓ ดานครูผูส อน ๑) ครูควรจัดทำแผนและปฏิทินงานที่รับผิดชอบของตนเองใหชัดเจน ถึงแมวาจะมี ภาระงานอยางมากมาย อีกทั้งควรศึกษาและเรียนรูงานเกี่ยวกับระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนเพื่อเพ่ิม ประสบการณในการทำงานใหก บั ตนเอง ๒.๔ ดานผูเรยี น ๑) นักเรียนควรใหความรวมมือตอกิจกรรมระบบดูแลชวยเหลือนักเรียนอยางแทจริง เพ่ือใหการแกป ญหาตรงประเดน็ ๓. ดานความสะอาดในสถานศกึ ษา ๓.๑ ดา นการบรหิ ารจดั การ ๑) โรงเรียนควรมแี ผนการดำเนินงานเก่ียวกบั การจัดการขยะอยางเปนระบบ และควร มกี ารรณรงคใ นการแยกขยะ ตลอดจนจัดสถานทีจ่ ดั การขยะใหเหมาะสม ๓.๒ ดา นผูบรหิ าร

๒๑ ๑) ผบู ริหารควรตดิ ตามการทำงานของบคุ ลากรในโรงเรียนที่รับผดิ ชอบตอหนา ที่ ดแู ลความสะอาดอยา งตอ เนอื่ ง ๓.๓ ดานครูผูสอน ๑) ครคู วรสรางความตระหนกั ใหก ับตนเองในการรักษาความสะอาดในโรงเรียนเพื่อให การดำเนินงานเกี่ยวกับความสะอาดในสถานศึกษามีประสิทธิผล โดยเฉพาะบริเวณสถานที่ปฏิบัติ ศาสนกิจและบริเวณหองน้ำ ๓.๔ ดา นผูเรยี น ๑) นักเรียนจักตองใหความรวมมือในเรื่องการดูแลรักษาความสะอาดในสถานศึกษา และตองมีจติ อาสาในการรักษาความสะอาดในสถานศึกษาเปน กิจนิสยั ๔. ดานชุมชนการเรียนรูท างวิชาชพี สูสถานศกึ ษา (PLC) ๔.๑ ดา นการบรหิ ารจัดการ ๑) โรงเรยี นตอ งดำเนินตามแผนและระยะเวลาเกยี่ วกบั กิจกรรมตา งๆ ทส่ี ง ผลตอ บุคลากรใหม ีความเขาใจในการดำเนนิ งาน PLC และตองศึกษากระบวนการดำเนินงานอยางลกึ ซ้งึ ๒) โรงเรียนตอ งกำกบั คณะกรรมการผูทำการนเิ ทศและติดตามมีความเขา ใจ กระบวนการดำเนินงานทช่ี ดั เจน ๓) โรงเรยี นตองดำเนินการสรุปและรายงานผลการดำเนินงานใหเปน รปู ธรรม อีกท้ังรายละเอียดของกจิ กรรมควรชดั เจนและสมบูรณ ๔.๒ ดา นผูบรหิ าร ๑) ผูบริหารตองติดตามคณะกรรมการผูทำการนิเทศติดตามใหมีความเขาใจ กระบวนการดำเนนิ งานท่ชี ัดเจน ทส่ี งผลตอ การนเิ ทศตดิ ตามเปน ไปตามแผนงานทวี่ างไว ๒) ผูบริหารควรสรางเครือขายในการดำเนินงาน PLC ใหเกิดขึ้นภายในโรงเรียนให ชดั เจนและทัว่ ถึง เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรยี นรูระหวา งเครอื ขาย ๔.๓ ดานครูผูสอน ๑) ครแู ตล ะฝา ยภายในโรงเรยี นตองใหค วามรว มมือและขับเคล่ือนการดำเนินงานตาม กระบวนการ PLC ๒) ครูและบคุ ลากรควรสละเวลาในการจดั เตรียมการจดั กิจกรรมตามกระบวนการ ทที่ ำใหการจัดกจิ กรรมประสบความสำเรจ็ ตามแผนงาน เอกสารอา้ งอิง สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน. ๒๕๖๑. แนวทางการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ประเภทสามัญศึกษา ตามประกาศกฏกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑. กระทรวงศกึ ษาธิการ.

๒๒ สำนกั งานการศึกษาเอกชนจงั หวดั ปตตานี. ๒๕๖๑. ขอมลู สารสนเทศ ๑๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๑ สำนกั งานการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั ปต ตานี กลุมพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานการศกึ ษาเอกชนจังหวัดปตตานี. ๒๕๖๐. รายงานสรุปผลการตรวจเย่ียมและตดิ ตามผลการดำเนนิ งานเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพโรงเรยี น เอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๐. สำนกั งานการศึกษาเอกชนจังหวัดปต ตานี สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน. ๒๕๕๙. คูม ือการตรวจติดตามประเมินผลการจัดการศึกษา โรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศกึ ษา ประจำปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙. กระทรวงศึกษาธกิ าร. กลุมพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา สำนกั งานการศึกษาเอกชนจงั หวัดปตตานี. ๒๕๕๙. รายงานสรปุ ผลการตรวจเย่ียมและตดิ ตามผลการดำเนินงานเพื่อพฒั นาคุณภาพโรงเรยี น เอกชนในระบบ ประจำปงบประมาณ ๒๕๕๙. สำนักงานการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั ปต ตานี. กลมุ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา สำนกั งานการศกึ ษาเอกชนจังหวัดปต ตานี. ๒๕๕๘. รายงานผลการตรวจเยี่ยมเพ่ือพฒั นาคุณภาพโรงเรยี นเอกชนในระบบ. สำนักงานการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั ปตตานี. กลมุ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานการศึกษาเอกชนจงั หวดั ปตตานี. ๒๕๕๘. รายงานผลการนเิ ทศภายในเพอ่ื พัฒนาคุณภาพโรงเรียนเอกชนในระบบ สังกดั สำนกั งานการศึกษาเอกชนจังหวดั ปตตาน(ี ครัง้ ที่ ๑ ปก ารศึกษา ๒๕๕๗). สำนักงานการศึกษาเอกชนจงั หวัดปต ตานี.

๒๓ ภาคผนวก

๒๔ ภาคผนวก ก บนั ทึกขอ้ ตกลงตามคาํ รบั รองคณุ ภาพการศึกษา(MOU)

๒๕

๒๖ ภาคผนวก ข เครืÉองมือตรวจติดตาม

๒๗ แบบติดตามและประเมินผลการอา่ นออกเขียนได้

๒๘ แบบตดิ ตามและประเมินผลการอา นออกเขียนไดแ ละขยายผลสูการอานเขา ใจของนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 1–6 และ ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 1-3 สำนกั งานการศกึ ษาเอกชนจงั หวัดปตตานี ------------------------------- คำชี้แจง แบบติดตามและประเมินผลการอา นออกเขียนไดและขยายผลสูการอานเขา ใจของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 1–6 และ ชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 1-3 ฉบบั น้ี ประกอบดว ยขอมูล 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอ มลู เบ้ืองตน ตอนที่ 2 การดำเนินงานอา นออกเขยี นได อานคลอ งเขียนคลอง ตอนท่ี 3 วธิ ีการพฒั นาอา นออกเขียนได อานคลอ งเขยี นคลอง ตอนท่ี 1 ขอมลู เบ้ืองตนเกยี่ วกับจำนวนนักเรยี นที่อานไมออก/อานไมคลอง เขยี นไมได/ เขียนไมคลอง จำนวน จำนวนนักเรียนทม่ี ี จำนวนนักเรยี นท่มี ีผลการเขียน นกั เรยี น ผลการอา นไมอ อก/อา นไมค ลอง ไมได/เขียนไมคลอง ระดบั ชั้น ทง้ั หมด คดิ เปนระดับความสามารถ คิดเปนระดบั ความสามารถ (คน) ดี พอใช ปรับปรงุ ดี พอใช ปรับปรุง (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม หมายเหตุ จำนวนนกั เรียนท่ีมีผลการอานไมออก/อา นไมคลอ ง เขียนไมได/ เขียนไมค ลอ ง ใชขอ มลู จากระบบรายงานผลการประเมนิ นักเรยี นอานออกเขยี นได ของสำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ปการศึกษา 2560 โดยมอบหมายใหศูนยประสานงานและบรหิ ารการศึกษา จังหวัดชายแดนภาคใต( ศปบ.จชต.) เปน ผรู วบรวมขอมลู ตอนที่ 2 ขอมูลเก่ียวกบั การดำเนนิ งานอานออกเขยี นได อานคลองเขยี นคลอง คำชแ้ี จง จงเขยี นเคร่อื งหมาย 3 ลงในชองระดบั ปฏบิ ัติ 0 , 1 หรอื 2 เพยี งชอ งใดชองหนึ่งเทา นั้น ตามผลการปฏบิ ตั ทิ ีเ่ กิดข้ึนจริงในโรงเรยี น โดยมเี กณฑร ะดับการปฏิบตั ิ ดงั น้ี

๒๙ ระดับปฏบิ ัติ หมายถึง 2 มกี ารปฏบิ ตั ทิ ำไดดี 1 มกี ารปฏิบัตทิ ำไดพอใช ไมม ีการปฏิบตั ิซึง่ จะตองมกี าร 0 ปรบั ปรุง โดยมีการแปลผลของคะแนนรวมเกณฑการตดั สินผลการปฏิบตั ิ ดังนี้ คะแนนรวม การแปลผล 28 – 40 ผลปฏิบัติอยูในระดับดี 14 – 27 ผลปฏบิ ัตอิ ยูในระดบั พอใช 0 – 13 ผลปฏบิ ตั ิอยูในระดบั ปรบั ปรุง ท่ี รายการปฏิบตั ิ / ระดับปฏบิ ตั ิ เกณฑการ ปญหาและ ตวั อยา งรอ งรอย/ ดำเนนิ การ 2 1 0 พิจารณา ขอเสนอแนะ หลกั ฐาน ดานที่ 1 การวางแผน (PLAN) 1 มกี ารประกาศและ - ระดบั ปฏบิ ัติได -เอกสารประกาศ -รายงานการ ช้ีแจงนโยบาย ป 2558 2 ก็ตอเมื่อ ประชุม คณะกรรมการ เปนปปลอดนักเรยี น โรงเรียนมีการ บรหิ ารโรงเรยี น -รายงานการ อา นไมอ อกเขียนไมได ประกาศและชแ้ี จง ประชุมครู -รายงานการ ใหค รแู ละผปู กครอง นโยบาย ป 2558 ประชมุ ผูปกครอง -ภาพถาย ทราบและมสี ว นรวม เปน ปปลอด -และอน่ื ๆ เปนตน ดำเนินการตอเน่อื ง นกั เรียนอา นไม ออกเขยี นไมได ให ครูและผปู กครอง ทราบและมสี ว น รว มดำเนินการ ตอ เนื่อง ท่ี รายการปฏบิ ตั ิ / ระดับปฏบิ ัติ เกณฑก าร ปญ หาและ ตวั อยา งรอ งรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พิจารณา ขอเสนอแนะ หลกั ฐาน ดานที่ 1 การวางแผน (PLAN)(ตอ)

๓๐ 1(ตอ ) -ระดับปฏิบตั ไิ ด 1 ก็ตอ เมอื่ โรงเรยี นมี การประกาศ หรือ มีการช้แี จง นโยบาย ป 2558 อยา งใดอยางหน่งึ เปน ปป ลอด นกั เรยี นอานไม ออกเขยี นไมได ให ครูและผูปกครอง ทราบและมสี วน รว มดำเนินการ ตอเน่ือง -ระดับปฏิบัตไิ ด 0 กต็ อเมื่อโรงเรยี น ไมม ีมีการประกาศ และชี้แจงนโยบาย ป 2558 เปนป ปลอดนักเรยี น อานไมอ อกเขยี น ไมไ ด ใหครูและ ผูปกครองทราบ และมีสว นรว ม ดำเนนิ การ ตอเนื่อง 2 วเิ คราะหสภาพปญ หา - ระดบั ปฏบิ ตั ิได -บนั ทึกผลการ สาเหตุ เพ่อื เปน ขอ มลู 2 กต็ อเม่ือ วเิ คราะหขอ มลู นักเรียนทีมีปญหา โรงเรยี นมกี าร นักเรียนเปน การอา นการเขียน วิเคราะหสภาพ รายบุคคล ของนักเรียนทุก ปญ หา สาเหตุ -รายงานผลการ ระดบั ช้นั เปนรายบุคคล เพือ่ เปนขอ มลู วิเคราะหข อ มลู นกั เรียนทมี ีปญหา นกั เรียน การอา นการเขียน -สารสนเทศ ของนักเรียนครบ ขอ มูลนกั เรียนที่มี ทกุ ระดับชน้ั เปน ปญหาการอาน รายบุคคล การเขียน -และอ่ืนๆ เปน ตน ท่ี รายการปฏบิ ตั ิ / ระดับปฏิบตั ิ เกณฑการ ปญ หาและ ตัวอยา งรอ งรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พิจารณา ขอ เสนอแนะ หลักฐาน ดานที่ 1 การวางแผน (PLAN)(ตอ)

2(ตอ) -ระดับปฏบิ ตั ิได ๓๑ 1 ก็ตอเม่ือ 3 จดั ทำแผนพัฒนาและ โรงเรียนมกี าร -บนั ทกึ ผลการ ซอ มเสริมทเี่ หมาะสม วิเคราะหสภาพ วเิ คราะหขอ มลู กบั สภาพปญหาของ ปญ หา สาเหตุ นกั เรียนเปน นกั เรยี น เปน เพื่อเปนขอ มูล รายบคุ คล รายบคุ คล นกั เรียน -รายงานผลการ ทีมีปญ หาการอาน วเิ คราะหขอ มูล การเขียน นักเรียน ของนักเรยี นไม ครบทกุ ระดับชั้น เปน รายบคุ คล และมีการ วิเคราะหเปน จำนวนครง่ึ หนึง่ ของระดบั ชนั้ ท้ังหมด -ระดบั ปฏิบัติได 0 กต็ อ เมื่อ โรงเรียนไมมีมีการ วิเคราะหส ภาพ ปญ หา สาเหตุ เพือ่ เปนขอ มลู นกั เรยี นทีมีปญ หา การอา นการเขยี น ของนักเรยี นทกุ ระดับชัน้ เปน รายบคุ คล - ระดบั ปฏิบตั ไิ ด 2 ก็ตอ เมื่อ โรงเรยี นมีการ จัดทำแผนพัฒนา และ ซอ มเสริมท่ี เหมาะสมกบั สภาพปญ หาของ นกั เรยี น เปนรายบคุ คล

๓๒ ท่ี รายการปฏบิ ัติ / ระดับปฏบิ ตั ิ เกณฑก าร ปญ หาและ ตวั อยางรอ งรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พจิ ารณา ขอเสนอแนะ หลกั ฐาน ดานที่ 1 การวางแผน (PLAN)(ตอ) 3(ตอ ) -ระดับปฏบิ ัตไิ ด -แผนพัฒนาและ 1 ก็ตอ เมื่อ ซอ มเสริม โรงเรียนมีการ เก่ยี วกบั การอา น จัดทำแผนพัฒนา เขียนไดเพือ่ และ แกปญ หาใหก ับ ซอมเสรมิ ที่ไม นักเรยี นเปน เหมาะสมกบั รายบุคคล สภาพปญหาของ -โครงการหรือ นักเรยี น กจิ กรรมที่ เปน รายบคุ คล สนบั สนนุ เก่ียวกบั -ระดบั ปฏบิ ัตไิ ด การอานเขียนได 0 กต็ อ เมื่อ เพอ่ื แกป ญหา โรงเรียนไมมกี าร ใหก ับนักเรยี น จดั ทำแผนพฒั นา เปนรายบุคคล และ -และอ่ืนๆ เปน ตน ซอมเสรมิ ที่ เหมาะสมกบั สภาพปญหาของ นักเรียน เปน รายบุคคล 4 มีโครงการและ - ระดับปฏบิ ัตไิ ด -โครงการการ ผูรบั ผดิ ชอบแกปญ หา 2 ก็ตอเมื่อ แกปญหาการอา น การอานการเขยี นของ โรงเรยี นมกี าร การเขยี นของ นกั เรยี นโดยตรง จัดทำโครงการ นักเรียน และมีผรู บั ผิดชอบ -แผนปฏิบตั ิการ โครงการแกปญหา ประจำปท่ีบรรจุ การอานการเขียน โครงการเกย่ี วกบั ของนักเรียน การอานเขียนได โดยตรงอยางเปน เพื่อแกป ญหา รูปธรรม ใหก ับนกั เรียน -ระดับปฏบิ ตั ิได -คำสงั่ ผรู บั ผิดชอบ 1 กต็ อเมื่อ โครงการการอา น โรงเรยี นมกี าร ออกการเขียนเพ่ือ จดั ทำโครงการแต แกป ญ หาใหกบั ไมม ีผรู บั ผิดชอบ นกั เรียน โครงการแกป ญหา -และอื่นๆ เปนตน การอา นการเขยี น

๓๓ ของนักเรยี นอยาง เปน รปู ธรรม ท่ี รายการปฏิบตั ิ / ระดับปฏบิ ตั ิ เกณฑก าร ปญหาและ ตวั อยา งรองรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พจิ ารณา ขอ เสนอแนะ หลักฐาน ดานที่ 1 การวางแผน (PLAN)(ตอ) 4(ตอ ) -ระดบั ปฏบิ ัตไิ ด 0 ก็ตอ เม่ือ โรงเรียนไมม ี โครงการและไมมี ผรู บั ผิดชอบ โครงการแกปญหา การอานการเขียน ของนักเรยี น โดยตรง 5 มีขอมลู พ้ืนฐานเกยี่ วกับ - ระดบั ปฏบิ ัตไิ ด -บัญชรี ายชอ่ื ครู ความรูความสามารถ 2 ก็ตอเม่ือ ทกุ คนในโรงเรยี น ดานภาษาไทยของครู โรงเรียนมขี อมูล -แบบบันทึก ทกุ คน พืน้ ฐานเกย่ี วกับ ขอมูลพื้นฐาน ความรู เก่ียวกบั ความรู ความสามารถดาน ความสามารถดาน ภาษาไทยของครู ภาษาไทยของครู ทกุ คนและมีการ ทกุ คน จดั ทำขอมูล -แบบบันทกึ ผล สารสนเทศอยา ง การวเิ คราะห เปนรปู ธรรม ขอ มูลพื้นฐาน -ระดับปฏิบตั ิได เก่ียวกบั ความรู 1 ก็ตอ เม่ือ ความสามารถดาน โรงเรยี นมขี อมูล ภาษาไทยของครู พ้ืนฐานเกยี่ วกบั ทุกคน ความรู -และอน่ื ๆ เปนตน ความสามารถดาน ภาษาไทยของครู ทุกคนแตไ มมกี าร จดั ทำขอมูล สารสนเทศอยาง เปน รปู ธรรม -ระดบั ปฏบิ ตั ิได 0 กต็ อเม่ือ โรงเรยี นไมมขี อมลู พื้นฐานเกย่ี วกบั

๓๔ ความรู ความสามารถ ที่ รายการปฏิบตั ิ / ระดบั ปฏบิ ตั ิ เกณฑการ ปญ หาและ ตัวอยา งรองรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พจิ ารณา ขอเสนอแนะ หลกั ฐาน ดานท่ี 1 การวางแผน (PLAN)(ตอ) 5(ตอ ) ดา นภาษาไทยของ ครู ทุกคนและไมมี การจดั ทำขอมูล สารสนเทศอยาง เปน รปู ธรรม 6 มกี ารคดั เลือกครผู ูสอน - ระดับปฏิบตั ิได -แบบบันทึกผล ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 1 2 กต็ อ เม่ือ การคดั เลือก ดว ยความสมัครใจและ โรงเรียนมีการ ครูผูสอน เหมาะสม คัดเลือกครูผูสอน ชนั้ ประถมศึกษาป ช้ันประถมศึกษาป ที่ 1 ดวยความ ท่ี 1 ดว ยความ สมัครใจและ สมคั รใจและ เหมาะสม เหมาะสมและมี -รายงานผลการ การจดั ทำผลการ คัดเลอื กครูผูสอน คัดเลอื กขอ มลู ชัน้ ประถมศึกษาป อยา งเปน รปู ธรรม ที่ 1 ดวยความ -ระดบั ปฏบิ ัติได สมัครใจและ 1 กต็ อ เมื่อ เหมาะสม โรงเรียนมีการ -และอ่นื ๆ เปน ตน คัดเลือกครผู สู อน ชั้นประถมศึกษาป ท่ี 1 ดวยความ สมคั รใจและ เหมาะสมแตไมมี การจัดทำผลการ คดั เลอื กขอมูล อยางเปนรูปธรรม -ระดับปฏิบัติได 0 ก็ตอเมื่อ โรงเรยี นไมมีการ คดั เลือกครูผสู อน ชนั้ ประถมศึกษา ปที่ 1 ดวยความ สมัครใจ

๓๕ ที่ รายการปฏบิ ัติ / ระดบั ปฏิบตั ิ เกณฑก าร ปญ หาและ ตวั อยา งรอ งรอย/ ดำเนนิ การ 2 1 0 พิจารณา ขอเสนอแนะ หลกั ฐาน ดา นที่ 1 การวางแผน (PLAN)(ตอ) 6(ตอ ) เหมาะสมและไมมี การจัดทำผลการ คดั เลือกขอ มูล อยางเปน รูปธรรม 7 โรงเรียนกำหนดใหมี - ระดบั ปฏบิ ัตไิ ด -แผนการ ขอสอบแบบเขียนตอบ 2 ก็ตอ เมื่อ กำหนดใหม ี ในการทดสอบแตละ โรงเรียนมกี าร ขอ สอบแบบเขยี น ครงั้ กำหนดใหมี ตอบในการ ขอสอบแบบเขยี น ทดสอบแตล ะครั้ง ตอบ ในการ -แบบรายงานผล ทดสอบแตละครัง้ การประชมุ กลุม อยางนอยภาค ยอยหรอื ประชุม เรียนละ ครูทัง้ หมดใน 2 ครั้ง และมี โรงเรยี น ตัวอยา งขอสอบ -ตัวอยา งขอสอบ อยางเปนรปู ธรรม -และอน่ื ๆ เปนตน -ระดับปฏบิ ัตไิ ด 1 กต็ อเมื่อ โรงเรยี นมกี าร กำหนดใหมี ขอ สอบแบบเขียน ตอบ ในการ ทดสอบแตล ะครัง้ อยางนอยภาค เรยี นละ 1 ครัง้ และมีตัวอยาง ขอ สอบอยา งเปน รปู ธรรม -ระดบั ปฏิบตั ิได 0 กต็ อเมื่อ โรงเรยี นไมม ีการ กำหนดใหมี ขอ สอบแบบเขียน ตอบ ในการ ทดสอบแตล ะคร้งั อยางนอยภาค

๓๖ เรียนละ 2 ครงั้ และไมม ี ที่ รายการปฏิบตั ิ / ระดับปฏบิ ัติ เกณฑก าร ปญ หาและ ตัวอยา งรอ งรอย/ ดำเนนิ การ หลกั ฐาน 210 พจิ ารณา ขอ เสนอแนะ ดา นท่ี 1 การวางแผน (PLAN)(ตอ) 7(ตอ ) ตวั อยา งขอสอบ อยางเปน รูปธรรม รวมจำนวนขอ ที่ไดแตละระดับ คะแนน รวมคะแนนทไ่ี ดแตละระดับ รวมคะแนนที่ไดด านท่ี 1 จดุ เดนดา นที่ 1 1…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. จดุ ทีค่ วรพฒั นาดานท่ี 1 1…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 5………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๓๗ ที่ รายการปฏิบัติ / ระดับปฏิบตั ิ เกณฑการ ปญ หาและ รอ งรอย/ ดำเนนิ การ 2 1 0 พจิ ารณา ขอเสนอแนะ หลักฐาน ดานท่ี 2 การปฏบิ ัตติ ามแผน (DO) 8 ครูจดั การเรยี นการสอน - ระดบั ปฏิบัตไิ ด -แผนการจัด ภาษาไทย ใหนักเรยี น 2 ก็ตอเมื่อ กจิ กรรมการ ไดฝ ก ทักษะท้ังฟง พูด โรงเรียนกำหนดให เรยี นรู อา น เขยี นและคิด ครจู ดั การเรยี น -แบบรายงานผล ดวยเทคนคิ วธิ ีสอนและ การสอนภาษาไทย การใชแ ผนการจัด ส่อื ทเี่ หมาะสม ใหน ักเรียนไดฝ ก กจิ กรรมการ สอดคลอ งกับการ ทักษะทั้งฟง พูด เรยี นรู พฒั นานักเรยี น แตละ อาน เขยี นและ -สื่อการเรียนการ กลุมเปา หมาย คิด ดวย สอน เทคนคิ วิธสี อนและ -และอ่ืนๆ เปนตน สอ่ื ทีเ่ หมาะสม สอดคลองกับการ พัฒนานักเรียน แตละ กลุมเปาหมาย อยางเปน รูปธรรม -ระดับปฏิบตั ไิ ด 1 กต็ อ เมื่อ โรงเรยี นกำหนดให ครูจดั การเรยี น การสอนภาษาไทย ใหนักเรยี นไดฝ ก ทักษะทงั้ ฟง พดู อาน เขยี นและ คดิ ดวย เทคนิควิธีสอนและ สื่อทเ่ี หมาะสม แต ไมส อดคลองกับ การพัฒนา นักเรียน แตละ กลุม เปาหมาย อยา งเปน รปู ธรรม -ระดับปฏิบตั ไิ ด 0 กต็ อเมื่อ โรงเรยี นไม กำหนดใหค รู

๓๘ จดั การเรียนการ สอน ท่ี รายการปฏบิ ตั ิ / ระดับปฏิบตั ิ เกณฑการ ปญหาและ รองรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พิจารณา ขอเสนอแนะ หลักฐาน ดานที่ 2 การปฏบิ ัติตามแผน (DO)(ตอ ) 8(ตอ) ภาษาไทย ให นักเรยี นไดฝก ทักษะท้ังฟง พูด อาน เขยี นและ คิด ดวย เทคนิควธิ ีสอนและ สื่อทเี่ หมาะสม และไมสอดคลอง กับการพัฒนา นกั เรยี น แตล ะ กลมุ เปาหมาย อยา งเปน รูปธรรม 9 ครูเสรมิ สรางนิสยั - ระดับปฏบิ ัตไิ ด -รายงานการ รกั การอา น การเขียน 2 ก็ตอเม่ือ ประชมุ และการแสวงหาความรู โรงเรียนกำหนดให ประจำเดือน อยา งสมำ่ เสมอ ครูเสรมิ สรา งนิสยั -แบบบันทกึ การ รกั การอา น การ เสริมสรางนิสัยรัก เขยี น และการ การอา น การ แสวงหาความรู เขียนและการ อยา งสมำ่ เสมอ แสวงหาความรู โดยมีหลักฐาน อยางสม่ำเสมอ อยางเปน รปู ธรรม ของครู -ระดบั ปฏิบตั ไิ ด -แบบรายงานผล 1 กต็ อ เมื่อ การเสรมิ สรา ง โรงเรยี นกำหนดให นสิ ัยรกั การอา น ครูเสรมิ สรางนสิ ัย การเขียนและการ รักการอาน การ แสวงหาความรู เขยี น และการ อยางสม่ำเสมอ แสวงหาความรู ของครู อยางสมำ่ เสมอ -และอ่นื ๆ เปนตน แตไมมหี ลกั ฐาน อยา งเปน รปู ธรรม -ระดบั ปฏิบัตไิ ด 0 ก็ตอ เมื่อ โรงเรียน

๓๙ ที่ รายการปฏิบตั ิ / ระดับปฏบิ ตั ิ เกณฑก าร ปญ หาและ รองรอย/ ดำเนนิ การ 2 1 0 พจิ ารณา ขอเสนอแนะ หลักฐาน ดา นที่ 2 การปฏิบัติตามแผน (DO)(ตอ) 9(ตอ ) ไมไดก ำหนดใหครู เสรมิ สรา งนสิ ยั รักการอา น การ เขยี น และการ แสวงหาความรู อยา งสม่ำเสมอ และไมม ีมี หลักฐานอยางเปน รปู ธรรม 10 มกี ารจัดกิจกรรม - ระดับปฏิบตั ิได -โครงการหรือ ภาษาไทยบรู ณาการ 2 ก็ตอ เมื่อ กิจกรรมภาษาไทย แบบแจกรปู สะกดคำ โรงเรียนกำหนดให บูรณาการแบบ ครจู ดั กิจกรรม แจกรปู สะกดคำ ภาษาไทยบรู ณา -แผนการจัด การแบบ แจกรูป กิจกรรมการ สะกดคำพรอมมี เรียนรทู ส่ี ง เสริม หลักฐานอยางเปน กจิ กรรมภาษาไทย รปู ธรรม บรู ณาการแบบ -ระดับปฏบิ ัตไิ ด แจกรูปสะกดคำ 1 กต็ อเมื่อ -บันทกึ การ โรงเรียนกำหนดให ประชมุ ครจู ดั กจิ กรรม -แบบรายงานผล ภาษาไทยบูรณา การจัดกจิ กรรม การแบบ แจกรูป ภาษาไทยบูรณา สะกดคำพรอมมี การ หลักฐานอยางเปน แบบแจกรปู สะกด รูปธรรม -และอื่นๆ เปนตน -ระดับปฏบิ ตั ไิ ด 0 ก็ตอ เม่ือ โรงเรียนไมไ ด กำหนดใหค รจู ัด กจิ กรรมภาษาไทย บูรณาการ แบบแจกรูปสะกด คำและไมมี

๔๐ หลักฐานอยา งเปน รปู ธรรม ที่ รายการปฏบิ ัติ / ระดบั ปฏิบตั ิ เกณฑการ ปญหาและ รอ งรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พิจารณา ขอเสนอแนะ หลกั ฐาน ดานที่ 2 การปฏบิ ัตติ ามแผน (DO)(ตอ) 11 ประสานความรวมมือ - ระดบั ปฏิบัตไิ ด -รายงานการ ระหวา งครูภาษาไทย 2 ก็ตอ เม่ือ ประชมุ และครูสอนกลมุ สาระ โรงเรียนกำหนดให ประจำเดอื น อื่น มกี ารประสาน -แบบบันทึกการ เพอ่ื แกปญหาการอาน ความรวมมอื ประสานความ การเขียนของนักเรียน ระหวางครู รวมมือระหวางครู ทกุ ระดับชน้ั ภาษาไทยและครู ภาษาไทยและครู สอนกลุมสาระอ่ืน สอนกลมุ สาระอนื่ เพอื่ แกป ญหา เพื่อแกปญหาการ การอา น การ อาน การเขียน เขยี นของนกั เรียน ของนักเรยี น ทกุ ระดับชั้น ทุกระดับชั้น พรอ มมีหลกั ฐาน -แบบรายงานผล อยางเปนรูปธรรม การประสานความ -ระดับปฏิบตั ิได รว มมือระหวางครู 1 ก็ตอ เมื่อ ภาษาไทยและครู โรงเรยี นกำหนดให สอนกลุมสาระอืน่ มกี ารประสาน เพือ่ แกป ญหาการ ความรว มมือ อา น การเขยี น ระหวา งครู ของนักเรียนทุก ภาษาไทยและ ระดับชน้ั ครผู ูสอนกลุม -และอืน่ ๆ เปน ตน สาระอื่น เพ่อื แกป ญหาการอาน การเขียนของ นักเรยี น ทุกระดับชนั้ แต ไมมหี ลักฐานอยา ง เปน รูปธรรม -ระดับปฏบิ ัตไิ ด 0 กต็ อเมื่อ โรงเรยี นไมไ ด กำหนดใหมีการ ประสานความ

๔๑ รวมมือระหวางครู ภาษาไทยและ ที่ รายการปฏิบตั ิ / ระดับปฏบิ ัติ เกณฑการ ปญหาและ รอ งรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พจิ ารณา ขอเสนอแนะ หลกั ฐาน ดานท่ี 2 การปฏบิ ัติตามแผน (DO)(ตอ) -รายงานการ ประชุม 11(ตอ) ครผู ูสอนกลมุ ประจำเดือนของ โรงเรยี นท่ีกลาวถงึ สาระอนื่ เพ่ือ การประสานความ รวมมือกบั แกปญหาการอาน ผูปกครองและ ชมุ ชนใหม สี วน การเขยี นของ รวมแกปญ หาการ อานการเขยี น นักเรียน ของนักเรียนอยา ง จรงิ จงั ทกุ ระดับชั้น และ -หนังสือเชญิ หรือ หนังสอื แจงการ ไมม ีหลกั ฐานอยาง ประสานความ รวมมอื กบั เปน รูปธรรม ผูปกครองและ ชมุ ชนใหมีสว น 12 ประสานความรวมมือ - ระดบั ปฏิบตั ิได รวมแกป ญหาการ อานการเขียน กบั ผปู กครองและชมุ ชน 2 กต็ อเมื่อ ของนักเรยี นอยาง จริงจงั ใหม ีสวนรวมแกป ญ หา โรงเรยี นกำหนดให -รายงานผลการ ประสานความ การอา นการเขยี น มกี ารประสาน รวมมอื กบั ของนักเรียนอยาง ความรวมมอื กับ จรงิ จงั ผปู กครองและ ชมุ ชนใหมีสว น รวมแกปญหาการ อานการเขียนของ นักเรยี นอยาง จริงจัง พรอมมีหลกั ฐาน อยางเปนรูปธรรม -ระดับปฏบิ ตั ไิ ด 1 กต็ อเมื่อ โรงเรียนกำหนดให มีการประสาน ความรว มมือกบั ผปู กครองและ ชุมชนใหมสี ว น รวมแกป ญ หาการ อา นการเขยี นของ นกั เรียนอยาง จรงิ จัง แตไ มม ี หลกั ฐานอยางเปน รปู ธรรม

๔๒ ที่ รายการปฏิบัติ / ระดบั ปฏบิ ัติ เกณฑก าร ปญ หาและ รอ งรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พิจารณา ขอเสนอแนะ หลักฐาน ดา นท่ี 2 การปฏบิ ัติตามแผน (DO)(ตอ) ผปู กครองและ ชมุ ชนใหมีสว น 12(ตอ) -ระดบั ปฏิบตั ิได รว มแกปญ หาการ อานการเขยี น 0 ก็ตอ เม่ือ ของนักเรียน -และอ่ืนๆ เปน ตน โรงเรยี นไมไ ด -รายงานการ กำหนดใหม ีการ ประชมุ ประจำเดือนของ ประสานความ โรงเรียนทก่ี ลาวถึง การประเมินการ รวมมือกบั อา นการเขยี น ของนักเรยี นทุก ผูป กครองและ ระดับชน้ั โดย กำหนดภาคเรียน ชุมชน ละ 2 ครัง้ -แบบประเมิน ใหม ีสว นรว ม การอานการเขยี น ของนักเรียนทุก แกป ญหาการอาน ระดบั ชนั้ -รายงานผลการ การเขยี นของ ประเมนิ -และอ่นื ๆ เปนตน นกั เรยี นอยา ง จรงิ จัง และมีหลักฐาน อยา งเปนรปู ธรรม 13 ดำเนินการประเมิน - ระดบั ปฏิบตั ไิ ด การอา นการเขียน 2 กต็ อ เมื่อ ของนักเรียนทุก โรงเรียนมีการ ระดับชน้ั โดยกำหนด กำหนดให ภาคเรียนละ 2 ครั้ง ดำเนนิ การ ประเมินการอา น การเขยี น ของนักเรยี นทุก ระดับชน้ั โดย กำหนดภาคเรยี น ละ 2 คร้ัง พรอ มมแี บบ ประเมินอยางเปน รูปธรรม -ระดับปฏบิ ตั ิได 1 ก็ตอ เมื่อ โรงเรยี นมีการ กำหนดให ดำเนนิ การ ประเมนิ การอาน

๔๓ การเขียน ของนักเรยี นทุก ระดบั ชั้น โดย กำหนดภาคเรยี น ละ ที่ รายการปฏิบตั ิ / ระดบั ปฏิบตั ิ เกณฑการ ปญ หาและ รอ งรอย/ ดำเนินการ 2 1 0 พิจารณา ขอ เสนอแนะ หลกั ฐาน ดานท่ี 2 การปฏิบตั ติ ามแผน (DO)(ตอ ) -รายงานการ ประชมุ 13(ตอ) 2 คร้ัง แตไ มม ี ประจำเดือนของ โรงเรยี นท่ีกลา วถงึ แบบประเมนิ อยาง การสงตอขอ มลู การอา น การ เปนรปู ธรรม เขียนของนักเรยี น ทกุ ระดับชั้น -ระดับปฏบิ ัติได -แบบบนั ทกึ การสง ตอ ขอมลู 0 ก็ตอเมื่อ การอาน การ เขียนของนักเรียน โรงเรยี นไมได ทกุ ระดับชน้ั -รายงานผลการสง กำหนดให ตอขอมลู การอาน การเขยี นของ ดำเนนิ การ ประเมินการอา น การเขียน ของนักเรียนทกุ ระดบั ชน้ั โดย กำหนดภาคเรยี น ละ 2 ครั้ง และ ไมม แี บบประเมนิ อยา งเปน รปู ธรรม 14 มกี ารสงตอขอมูลการ - ระดับปฏบิ ตั ิได อา น การ 2 ก็ตอเมื่อ เขยี นของนักเรยี นทุก โรงเรียนมกี าร ระดบั ชัน้ กำหนดใหมีการสง ตอ ขอมลู การอาน การเขียนของ นกั เรยี นทุก ระดบั ช้ัน พรอมมี หลกั ฐานอยา งเปน รปู ธรรม -ระดบั ปฏิบตั ไิ ด 1 กต็ อเม่ือ โรงเรียนมกี าร กำหนดใหมีการสง ตอ ขอมูลการอา น การเขยี นของ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook