หนา้ ปก
คำนำ การกาหนดนโยบายการบริหารงาน ถือว่าเป็นหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารงานที่ดี เพ่ือให้การ ดาเนินงานบรรลุเป้าหมายและตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของนสิ ิต และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยจัดทาในแนวทางการจัดทาแผนยุทธศาสตร์องค์กร และกระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ มีส่วนสาคัญ อยา่ งย่ิง ในการทาให้มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน บรรลเุ ป้าหมาย ดังน้ัน เพ่ือให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน มีแผนยุทธศาสตร์ที่ทันสมัย และสามารถขับเคล่ือนให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทศั น์ และพันธกิจ ตามที่ได้กาหนดไว้ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย และคณะทางานทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563 – 2567) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จึงได้นาข้อมูลการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกมาประกอบการกาหนดประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์หลัก พร้อมท้ังกลไกการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ สูค่ วามสาเร็จ การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ฉบบั นีไ้ ด้ระดมความร่วมมอื ความคดิ ความเหน็ ของบุคลากรทกุ ระดับ ในการดาเนนิ การ กาหนดเปน็ กรอบการดาเนนิ งานเพือ่ ให้บรรลตุ ามวสิ ัยทศั นแ์ ละพนั ธกิจต่อไป แต่เน่ืองจากในสถานการณ์ปัจจุบัน สถาบันการศึกษาได้รับผลกระทบจากโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) จึงส่งผลให้การดาเนินงานไม่เปน็ ไปตามกรอบแนวทางการดาเนินงานที่ได้กาหนดไว้ จงึ ได้เล็งเห็นวา่ ควรมกี ารทบทวนตวั ช้ีวดั และคา่ เป้าหมาย เพอื่ ใหส้ อดรบั กับสถานการณ์ทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป งานยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ สานักงานวิทยาเขตกาแพงแสน ขอขอบพระคุณผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายที่ได้ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 – 2567) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จึงได้แผนยุทธศาสตร์ฉบับสมบูรณ์ และหวังเป็นอย่างย่ิง ว่าบุคลากรทุกท่านจะร่วมกันผลักดัน และขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ให้บรรลุเป้าหมาย ตามท่ีได้กาหนดไว้ ตอ่ ไป คณะทางานฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ เมษายน 2565 ก
สำรจำกรองอธิกำรบดวี ิทยำเขตกำแพงแสน วิทยาเขตกาแพงแสน เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ตลอดระยะเวลาเกือบ 42 ปขี องการดาเนินงาน ของวิทยาเขตกาแพงแสน คณะผู้บริหาร ได้ทุ่มเท แรงกาย แรงใจ ในการทางาน รวมทง้ั ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ข้อคดิ ในการปฏิบตั ิงานจากรุ่นสู่รุ่น จนวิทยาเขตกาแพงแสน เป็นองค์กรที่ได้รับความเช่ือถือและไว้วางใจจากหน่วยงาน ต่าง ๆ ซ่ึงเห็นได้จากการท่ีประชาชนส่งบุตรหลาน เข้ามาเล่าเรียนจากทุกภาคของประเทศไทย ด้วยศักยภาพ ในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ การวิจัย และการบริการวิชาการ จึงทาให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน เปน็ ที่ยอมรบั ในระดับสากล ภารกิจของวิทยาเขตกาแพงแสน ไม่เพียงแต่มีเฉพาะ ในเรื่องการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวชิ าการ เท่าน้ัน ยังมีภารกิจสาคัญท่ีจะต้องดาเนินงานในเรื่องของ การบริหารจัดการวทิ ยาเขตให้เป็นไปตามนโยบายของชาติ และของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ดว้ ย เคร่ืองมือท่ีสาคัญ ในการมุ่งไปสู่ความสาเร็จก็คือแผนยุทธศาสตร์ ดังน้ัน วิทยาเขตกาแพงแสน จึงได้ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563 - 2567) เพื่อให้สอดคล้องและ เป็นกลไกลสาคัญในการขับเคล่ือนวิทยาเขตให้บรรลุเป้าหมาย โดยคานึงถึงบริบทของการเปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม ณ ปัจจุบัน ท่ีมีผลกระทบต่อการบริหารวิทยาเขต เพ่ือให้วิทยาเขต ก้าวไปข้างหนา้ อย่างมน่ั คงและย่ังยนื ในนามของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ขอขอบคุณคณะผู้บริหารวิทยาเขต กาแพงแสน ผู้บรหิ ารส่วนงาน และผู้เก่ียวข้องทกุ ท่านทที่ ุม่ เทพลังกาย พลงั ใจและเสยี สละเวลา ในการทบทวน แผนยุทธศาสตร์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563 - 2567) สาหรับใช้พัฒนาวิทยาเขตให้เป็น “มหาวิทยาลัยชั้นนา และมีชอ่ื เสยี งเป็นทยี่ อมรบั ในระดบั สากล” อยา่ งแท้จริง รองศาสตราจารย์ นายสตั วแพทย์ ดร.อนุชยั ภญิ โญภูมมิ นิ ทร์ รองอธกิ ารบดวี ิทยาเขตกาแพงแสน ข
สำรจำกผชู้ ่วยอธกิ ำรบดฝี ำ่ ยวำงแผนยทุ ธศำสตร์องคก์ ร วทิ ยำเขตกำแพงแสน วิทยาเขตกาแพงแสน เป็นวิทยาเขตภายใต้มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ที่มีความสมบูรณ์ในทุกด้านท้ังด้านการ คมนาคม ทรัพยากร พื้นท่ีเพ่ือการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ อีกท้ังมีบุคลากรที่มีศักยภาพ ในทุก ๆ ด้าน แต่ด้วยสถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงไป อย่างรวดเร็ว ทาให้วิทยาเขตกาแพงแสน ต้องปรับตัว ให้ทันกับการเปล่ียนแปลง ทิศทางของวิทยาเขตกาแพงแสน จึงเป็นส่ิงท่ีสาคัญ การทบทวนยุทธศาสตร์ของวิทยาเขต กาแพงแสน เพ่ือเป้าหมายในอนาคตจึงต้องเร่ิมต้นจัดวาง กลยทุ ธ์ใหม่ การวัดและประเมินความสาเร็จได้นาตัวช้ีวัดผล การดาเนินงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มาผสาน เข้ากับตัวช้ีวัดของแผนยุทธศาสตร์ เพ่ือนาทุกด้านกา้ วเดิน ไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาเป็นกลไกในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน คุณภาพ เพื่อกระตุ้นการพัฒนาของวิทยาเขตกาแพงแสน แบบก้าวกระโดดในทุกทิศทางให้บรรลุวสิ ัยทศั นต์ ่อไป ในนามของฝา่ ยวางแผนยุทธศาสตรอ์ งค์กร หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่า หนังสือเล่มนจี้ ะเป็นแนวทางในการวางแผน ยุทธศาสตร์ของส่วนงานต่อไป ท้ังนี้ ขอขอบคุณคณะผู้บริหารวิทยาเขตกาแพงแสน ผู้บริหารส่วนงาน ผ้เู กี่ยวขอ้ งทุกท่าน ทีท่ าใหห้ นงั สือเลม่ น้ีสมบูรณแ์ บบดว้ ยดี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ชัย เหมอื นโพธิ์ ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยวางแผนยุทธศาสตร์ องค์กร วทิ ยาเขตกาแพงแสน ค
สำรบญั ง
สำรบัญ จ
1
2
นโยบำยอธกิ ำรบดีมหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คอื ศาสตร์แห่งแผ่นดิน สง่ิ ที่จะต้องน้อมนาตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาแห่งการดาเนินชีวิตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 เพราะมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นรากฐานของประชาชน และในปีนี้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้โยกย้าย สังกัดไปยังกระทรวงใหม่ จึงมีแนวทางในการบริหารตามหลักนโยบายรัฐบาลและกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ก่อเกิดเป็นแนวทางการบริหารและพัฒนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ ดังนี้ มงุ่ สร้างคนและนวัตกรรมศาสตร์แห่งแผน่ ดินสู่สากลเพื่อการพัฒนาประเทศอยา่ งยัง่ ยืน ในบริบทของการเปลีย่ นแปลงอย่างพลิกโฉมทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั (Disruptive Technology) นิเวศวิทยามนุษย์ (Human Ecology) และโลกหน่ึงเดยี ว (One World) ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 1 ยทุ ธศำสตร์ที่ 4 ยทุ ธศำสตร์ท่ี 5 กำรสรำ้ งสรรคศ์ ำสตร์ กำรใชห้ ลกั ธรรมำภบิ ำล กำรเพมิ่ ศกั ยภำพใน แหง่ แผน่ ดิน เพอื่ กำร ในกำรบริหำรจัดกำร กำรบริหำรและ พฒั นำประเทศที่ อย่ำงยงั่ ยืน จัดกำรทรพั ยำกรเพ่อื ยัง่ ยนื รองรับกำร ยุทธศำสตร์ที่ 2 เปล่ียนแปลง กำรพฒั นำส่คู วำมเปน็ เลศิ ทำงวิชำกำรใน ยทุ ธศำสตร์ที่ 3 กำรเพ่ิมคุณภำพและ ระดบั สำกล ประสิทธภิ ำพกำร ดำเนินงำนตำม ภำรกจิ ในประเด็นยุทธศาสตรต์ ่าง ๆ จะมีหลักแนวคดิ สาคัญ ๆ อันประกอบด้วยยุทธศาสตร์ท่ี 1 มีหลักสาคัญ คือ สร้างคนที่ตื่นรู้และมีความคิดสร้างสรรค์ สร้างสังคมแห่งปัญญาและนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ท่ี 2 สร้างความโดดเด่น ทางวิชาการ และสร้างระบบนิเวศนานาชาตภิ ายใน ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 สร้างนวัตกรรมการเรียนการสอนแบบใหม่ การพัฒนานิสิตให้มีความพร้อมในยุคการเปล่ียนแปลง ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารงานอย่างมีธรรมาภิบาล ในทกุ ส่วนงาน การสร้างความภูมิใจของบุคลากรมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ สร้างความรว่ มมือระหว่างภาครัฐ เอกชน ชุมชน และศิษย์เก่า และประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 5 มีหลักสาคัญคือการหารายได้ สร้างรายได้และกองทุน เพอ่ื การบรหิ ารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อยา่ งย่งั ยืน 3
บทนา 4
ควำมเป็นมำ มห า วิ ท ย า ลั ย เ ก ษ ต ร ศ า ส ต ร์ ไ ด้ เ ปิ ด ส อ น ห ลั ก สู ต ร ทา ง กา ร เ ก ษ ต ร เ ป็ น แ ห่ ง แ ร ก ข อง ป ร ะ เ ทศ ไ ท ย โดยถือกาเนิดจากโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2460 และต่อมาขยายและยกฐานะข้ึนเป็น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายหลังต่อมาพื้นที่ในการใช้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนและการทาวิจัย ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาของมหาวิทยาลัย จึงจัดทาโครงการขยายกิจการต่าง ๆ ในสาขาวิชาการเกษตร ไปดาเนินการ ณ สถานท่ีเหมาะสมแห่งใหม่ เพ่ือตอบสนอง นโยบายของรัฐบาลในด้านการพัฒนาการเกษตร ของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การเปลี่ยนแปลงท่ีย่ิงใหญ่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คือ การก่อตั้งวิทยาเขต เพ่ิมขึ้นอีกแห่ง ในท้องที่ตาบลกาแพงแสน (เดิม คือ ตาบลทุ่งกระพังโหม) อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลในด้านการพัฒนาการเกษตรของประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม แห่งชาติ ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2504-2509 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้เตรียมแผนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 ในชว่ งที่ศาสตราจารย์ อินทรี จันทรสถิตย์ ดารงตาแหน่ง อธกิ ารบดี โดยวางแผนเพิ่มการผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาการเกษตรและสาขาท่ีสนับสนุนการเกษตรให้มีปริมาณ เพ่ิมขึ้นและมีคุณภาพ แผนการน้ีต่อมาได้รับการสานต่อ โดยหม่อมหลวงชูชาติ กาภู อธิการบดีคนต่อมา ต่อมา ในปี พ.ศ. 2510 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้จัดหาพื้นที่ในบริเวณตาบลทุ่งกระพังโหม อาเภอ กาแพงแสน จังหวัดนครปฐม และจัดต้ังสถานีฝึกนิสิตของคณะเกษตร ภายใต้การดาเนินการของภาควิชา สัตวบาล นอกจากนี้มูลนิธิร๊อกก้ีเฟลเลอร์ ได้ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือในการยกร่างโครงการพัฒนา มหาวิทยาลัย สาหรับช่วง พ.ศ. 2511-2517 ในวันท่ี 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 รัฐบาลไทยกับธนาคารโลก ได้ร่วมลงนามในข้อตกลงว่าด้วยโครงการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และเงินกู้ธนาคารโลก กาหนดดาเนินการ โครงการพัฒนา เป็นเวลา 20 ปี แบง่ เป็น 4 ระยะ ๆ ละ 5 ปี เม่ือวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2519 ศาสตราจารย์ วัฒนา เสถียรสวัสดิ์ ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง รองอธิการบดี (กาแพงแสน) นบั เปน็ การแต่งตง้ั ผบู้ ริหารระดับสงู ของมหาวิทยาลยั ประจาวทิ ยาเขตกาแพงแสน เป็นคร้ังแรก ด้วยเหตนุ ้ีกิจการด้านการเรียนการสอนจาเปน็ ต้องดาเนินไปพร้อม ๆ กับการวิจัยและการบริการ วิชาการ แก่สังคม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ดาเนินการขอความช่วยเหลือจากรัฐบาลญี่ปุ่น เพ่ือสร้าง ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ สาหรับการวิจัยและ งานบริการวิชาการที่วิทยาเขตกาแพงแสน ในปี พ.ศ. 2525 รัฐบาลญี่ปุ่นได้จัดเงินช่วยเหลือแบบให้เปล่า แก่ มหาวิทยาลัย จานวน 4,100 ล้านเยน (ประมาณ 410 ล้านบาท ในขณะนั้น) เพ่ือก่อสร้างศูนย์ปฏิบัติการ วจิ ัยและเรือนปลูกพชื ทดลอง ศนู ย์เครื่องจักรกล การเกษตรแห่งชาติ รวมท้ังงบประมาณสาหรับจัดหาครุภณั ฑ์ และเครื่องจักรกลการเกษตรท่ีจาเป็นในการปฏิบัติงาน เป็นเงิน 500 ล้านเยน (ประมาณ 50 ล้านบาท) รวมทัง้ ส้ิน 4,600 ลา้ นเยน (ประมาณ 460 ลา้ นบาท) 5
สาหรับการจัดการเรียนการสอนที่วิทยาเขตกาแพงแสน เร่ิมขึ้นเม่ือวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 ซง่ึ เป็นวันเปิดเรยี นภาคปลาย ปกี ารศกึ ษา 2522 โดยมีหนว่ ยงานทีท่ าหน้าทีจ่ ัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย 4 คณะ ได้แก่ คณะเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จัดการเรียนการสอนมาเป็นเวลา 42 ปี โดยปัจจุบัน มีการจัดการเรียนการสอนท้ังส้ิน 8 คณะ ได้แก่ คณะเกษตร กาแพงแสน คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ คณะ สัตวแพทยศาสตร์ คณะประมง คณะอุตสาหกรรมบรกิ าร และบัณฑิตวิทยาลยั ตอ่ มาในการประชุมสภามหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ คร้ังที่ 1/2545 เม่ือวันท่ี 28 มกราคม พ.ศ. 2545 มีมติให้จัดตั้งสานักงานวิทยาเขตกาแพงแสน เพ่ือทาหน้าท่ีประสานงานกลางในการบริหาร และการจัดการ ด้านการเรียนการสอน มีการแบ่งส่วนราชการออกเป็น 2 กอง ประกอบด้วย กองธุรการ (กาแพงแสน) และ กองบรกิ ารการศึกษา (กาแพงแสน) ซึง่ ทาใหง้ านด้านแผนยุทธศาสตรข์ องมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน มีผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน แต่ยังใช้แนวทางจัดทาแผนกลยุทธ์ ประกอบด้วยการกาหนด กรอบวิสัยทศั น์ ภารกจิ วตั ถุประสงค์ เป้าหมาย รวมท้ังกลยุทธแ์ ละมาตรการต่าง ๆ ตามแผนพัฒนาการศกึ ษา ระดับอุดมศึกษา ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545-2549) ที่ทางมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้กาหนดไว้เช่นเดิม โดยสรุปเปน็ ลาดับ ดงั นี้ 6
ววิ ัฒนำกำรและพฒั นำกำรด้ำนแผนยทุ ธศำสตรข์ องวทิ ยำเขตกำแพงแสน 2521 ระยะเร่ิมแรกงานวางแผน ระดมสมองตามกรอบ แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบบั ท่ี 4 หัวหนา้ กองแผนงาน แบ่งงานออกเปน็ 4 งาน ไดแ้ ก่ 2532 งานวเิ คราะหน์ โยบายและแผน งานวจิ ัยสถาบันและ 2543 (พ.ศ. 2520 - 2524) สารสนเทศ งานวางผังแม่บท งานธุรการ ใช้แผนพฒั นา การศึกษาระดบั อุดมศกึ ษา ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540 - 2544) จัดทาแผนกลยทุ ธ์ ตามแผนพัฒนาการศกึ ษา ระดบั อดุ มศึกษา ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) สภา มก. จัดต้งั สานกั งานวทิ ยาเขตกาแพงแสน 2545 โดยมีงานดา้ นแผนยทุ ธศาสตร์ ขบั เคลื่อนดา้ นแผน ของวิทยาเขตกาแพงแสน เป็นคร้งั แรก 2548 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ให้ทุกหนว่ ยงาน 2550 จัดทาแผนปฏิบัตริ าชการ 4 ปี ตามภารกจิ หลกั ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต ฮงประยูร และกรอบยุทธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลยั ผนวกกับ รองอธกิ ารบดีวิทยาเขตกาแพงแสน เรม่ิ ตน้ ดาเนนิ การ กรอบยุทธศาสตร์ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จัดทาแผนยุทธศาสตรข์ นึ้ เป็นครง้ั แรกของวิทยาเขต กาแพงแสน 2551 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ปรับวิสยั ทัศนข์ องวทิ ยาเขตกาแพงแสนครงั้ แรก ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชวลติ ฮงประยรู รองอธิการบดวี ทิ ยาเขตกาแพงแสน 2552 จดั ทาแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2552 - 2561) 2555 รองศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ชณิ ะวงศ์ รองอธิการบดวี ทิ ยาเขตกาแพงแสน จดั ทาแผนปฏิบตั ริ าชการ 4 ปี (พ.ศ. 2555 - 2558) 7
ววิ ฒั นำกำรและพัฒนำกำรด้ำนแผนยุทธศำสตร์ของวิทยำเขตกำแพงแสน 2556 จดั ทาแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2556 - 2565) ยบุ เลกิ หนว่ ยงานภายในวิทยาเขตกาแพงแสน 2557 จึงจาเป็นท่ีจะต้องทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 10 ปี 2558 (พ.ศ. 2556 - 2565) รองศาสตราจารย์ ดร.บรรจบ ภิรมย์คา 2559 วทิ ยาเขตกาแพงแสน ไดด้ าเนินการทบทวน รกั ษาการแทนรองอธกิ ารบดวี ิทยาเขตกาแพงแสน 2561 แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ทบทวนวิสัยทศั น์ และจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 4 ปี ขน้ึ ใหม่ (พ.ศ. 2560-2563) รองศาสตราจารย์ ดร.ตฤณ แสงสวุ รรณ รองอธิการบดวี ิทยาเขตกาแพงแสน มกี ารทบทวน แผนยทุ ธศาสตร์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2561 – 2565) รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.อนชุ ยั ภญิ โญภมู ิมินทร์ 2562 รองอธกิ ารบดวี ิทยาเขตกาแพงแสน มกี ารทบทวน แผนยทุ ธศาสตร์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563 – 2567) 2565 รองศาสตราจารย์ น.สพ.ดร.อนุชัย ภิญโญภูมิมินทร์ รองอธิการบดีวิทยาเขตกาแพงแสน ทบทวนตัวช้ีวัดยุทธศาสตร์ และค่าเป้าหมาย ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565-2567) 8
วสิ ัยทศั น์ของวิทยำเขตกำแพงแสน • เป็นศูนย์กลางการศกึ ษา การวจิ ยั และการพฒั นาบคุ ลากรและนวตั กรรมด้านเกษตรศาสตร์ สิ่งแวดลอ้ ม พ.ศ. 2548 และวิทยาการเพอื่ ชมุ ชนของประเทศ • มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน เปน็ มหาวิทยาลยั วิจยั ทีม่ คี วามเปน็ เลศิ ทางการเกษตร พ.ศ. 2552 ในระดบั สากล • ศนู ยก์ ลางการเรยี นรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการเกษตร เพอื่ ความเป็นอย่ทู ดี่ อี ยา่ งย่ังยืน พ.ศ. 2559 • ศนู ย์กลางการเรียนรู้นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการเกษตร เพื่อความเป็นอยทู่ ดี่ ีอยา่ งยงั่ ยนื พ.ศ. 2561 • มหำวทิ ยำลยั แห่งนวตั กรรม กำรเกษตร สุขภำพ และสงิ่ แวดล้อม พ.ศ. 2563 9
กระบวนกำรจดั ทำแผนยุทธศำสตร์ 1. วัตถปุ ระสงค์ของกำรจัดทำแผนยทุ ธศำสตร์ 1.1 เพื่อระดมความคิดหน่วยงาน ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อกาหนดทิศทางของวิทยาเขต และตอบสนองตอ่ กระแสความเปล่ียนแปลงในปัจจบุ นั 1.2 เป็นแผนแม่บท (Master Plan) เพ่ือกาหนดกรอบแนวทางในการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี และแผนปฏิบัตกิ าร/แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปี (Action Plan) ของวิทยาเขต 1.3 เพอ่ื เป็นกรอบแนวทางในการจดั ทาคาของบประมาณ 2. กรอบกำรดำเนนิ งำนทบทวนแผนยุทธศำสตร์ เพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเป็นกระบวนการท่ีสร้างประโยชน์ ให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตลอดทั้งส่งผลต่อการขับเคลื่อนการบรรลุภารกิจและพันธกิจหลัก ของส่วนงาน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และปรับปรุงกระบวนการทางานให้ดียิ่งข้ึน ในการจัดทา แผนยุทธศาสตร์จึงต้องมีการวิเคราะห์และพิจารณาปัจจัยสาคัญประกอบด้วย ผู้เรียน ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว ข้อกาหนดท่ีสาคัญ (ความต้องการของผู้เรียน ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กฎหมาย ประสิทธิภาพของกระบวนการ ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน) และ ความสอดคล้องตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ อีกทั้งยังเป็นเคร่ืองมือ ในการกาหนดทิศทาง ความสาเร็จของวิทยาเขต การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563-2567) ได้มีการแต่งต้ังคณะทางานทบทวนแผนยุทธศาสตร์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563- 2567) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ตามคาสั่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน ท่ี 833/2562 ลงวันท่ี 20 ธันวาคม พ.ศ. 2562 และใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของบุคลากร ทุกระดับ ต้ังแต่ผู้บริหารระดับสูง คณาจารย์ บุคลากรผู้เก่ียวข้อง เข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพ่ือระดมความคิด ร่วมจัดทาร่างแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563-2567) และนาเสนอคณะกรรมการประจาวิทยาเขตกาแพงแสน ต่อมาในปี พ.ศ. 2565 ได้มีการดาเนินการทบทวน ตัวช้ีวัดและค่าเป้าหมาย โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการประชุม เสวนาผู้บริหารระดับสูง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน “กิจกรรมทบทวนแผนปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565” เพื่อระดมความคิด ปรับแก้ไขตัวชี้วัดภาพรวม และตัวช้ีวัด กลยุทธ์ ในแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565-2567) พรอ้ มปรับแก้ไขจนกระทัง่ ไดเ้ ป็นแผนยุทธศาสตรฉ์ บบั น้ี สรปุ กรอบการดาเนนิ งานได้ 5 ข้นั ตอน ดังน้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 กำหนดทิศทำงองค์กร การดาเนนิ งานในขัน้ ตอนน้ี ประกอบด้วย 2 กิจกรรมหลกั คือ 1) การวิเคราะห์องค์กร ทาการวิเคราะห์ทบทวนบริบทและสถานภาพปัจจุบันของวิทยาเขตกาแพงแสน โดยพจิ ารณาจากข้อมูลผลการดาเนินงานท่ีผ่านความสาเร็จด้านยุทธศาสตร์ ด้านงบประมาณ ด้านภารกจิ ตาม ท่ีวิทยาเขตต้องดาเนินการ และการทบทวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอก (SWOT Analysis) ผู้ที่เก่ียวข้องภายในท้ังผู้บริหาร บุคลากร นิสิต ผู้เก่ียวข้องภายนอกที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งเป็นผู้เก่ียวข้องกับองค์กร รวมถึงนโยบายขององค์กร หลังจากวิเคราะห์สภาพแวดล้อมแล้วนาผล การวิเคราะห์มาสรุปเพื่อประเมินสถานภาพองค์กร รวมถึงการวิเคราะห์ความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Advantage) และความทา้ ทายเชิงยทุ ธศาสตร์ (Strategic Challenge) 2) ทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ โดยนาข้อมูลการวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อมจากข้อ 1 มากาหนดทิศทาง องค์กร สง่ิ ที่องคก์ รต้องการจะไปให้ถงึ หรืออยากจะเป็นในอนาคต 10
ข้นั ตอนท่ี 2 พัฒนำยุทธศำสตร์ การดาเนินงานในขั้นตอนน้ี ประกอบด้วย 2 กจิ กรรมหลัก คอื 1) ทบทวนประเด็นยทุ ธศาสตร์ นาประเด็นยุทธศาสตร์เดมิ ท้ัง 4 ยุทธศาสตร์ และใช้ข้อมูลข้ันตอนที่ 1 มาพิจารณาและกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ใหม่เป็นแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563-2567) 2) แปลงแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบตั ิโดยการกาหนดกลยุทธ์ เป้าหมาย ตัวช้ีวัด ระยะเวลา รวมถึง การจัดทาแผนปฏิบัติการ ท่ีมีการกาหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ เม่อื ดาเนนิ การเสร็จแล้ว ตามกระบวนการดงั นี้ - ปรับปรุง/จัดทาร่างแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน เสนอต่อ ท่ปี ระชุมคณะกรรมการประจาวิทยาเขตกาแพงแสน พจิ ารณาข้อมลู ในร่างแผนยทุ ธศาสตร์ - จัดทาประชาพิจารณ์เสนอให้ทุกท่านที่มีส่วนร่วมในจัดทาแผนยุทธศาสตร์ และบุคลากรทุกระดับ รว่ มแสดงความคิดเหน็ และเสนอแนะเพมิ่ เตมิ - ปรับปรุง/จัดทาร่างแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563-2567) ตามข้อเสนอแนะที่ได้รับจากแบบประชาพิจารณ์ และเสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมการ ประจาวิทยาเขตกาแพงแสน พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบตอ่ ร่างแผนยุทธศาสตร์ - นาเสนอแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563-2567) ต่อท่ีประชุมคณะกรรมการประจาวิทยาเขตกาแพงแสน เพ่ือให้ความเห็นชอบ และอนุมัติ การนาแผนยุทธศาสตร์ไปใชใ้ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขั้นตอนท่ี 3 ถ่ำยทอดแผนยุทธศำสตร์สู่กำรปฏิบัติกำร การดาเนินงานในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วย 2 กจิ กรรมหลัก คอื 1) ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมาย และแผนปฏิบัติการ ให้ส่วนงาน โดยจัดกิจกรรม การประชมุ ช้ีแจงโดยผู้บริหารวิทยาเขตกาแพงแสนพบบุคลากรส่วนงานตามกาหนดการผู้บริหารวิทยาเขตพบ ส่วนงาน 2) ส่ือสารให้ผู้บริหาร บุคลากรสายวิชาการ และบุคลากรสายสนับสนุน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการนาแผนยุทธศาสตร์ในระดับส่วนงานและแผนปฏิบัติการ การบริหารโครงการในแผน ตัวชี้วัด และค่า เป้าหมายระดับปฏิบตั ิการ ขนั้ ตอนที่ 4 กำรขับเคล่ือนแผนยุทธศำสตร์ การดาเนนิ งานในขน้ั ตอนน้ี ประกอบด้วย 2 กจิ กรรมหลกั คือ 1) ส่วนงานนาแผนยุทธศาสตร์ ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมาย แผนปฏิบัติการ ไปดาเนิ นการจัดทา แผนยุทธศาสตร์ระดับส่วนงานให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563-2567) 2) บริหารโครงการในแผนปฏิบัติการ ตัวช้ีวัด ค่าเป้าหมาย ลงสู่การปฏิบัติในระดับหน่วยงาน และ ผู้รบั ผิดชอบรายบุคคล 11
ข้นั ตอนที่ 5 กำรติดตำมประเมินผลกำรดำเนินงำนตำมแผนยุทธศำสตร์ การดาเนินงานในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วย 3 กจิ กรรมหลกั คอื 1) ระดับส่วนงาน กากบั ตดิ ตามและการประเมินผลที่มุ่งเนน้ การประเมนิ เพื่อการพัฒนา และปรับปรุง การดาเนินงานโดยมีการพัฒนาตัวชี้วัดผลสาเร็จการดาเนินงาน ทั้งในด้านปริมาณ ด้านคุณภาพ กาหนด ระยะเวลาในการประเมิน โดยอาจเปน็ รายไตรมาส ตามรปู แบบทีก่ าหนด และรายงานผล 2) จัดทารายงานสรุปผลการดาเนินงานของโครงการในรอบปีงบประมาณเป็นรายเดือน ตอ่ คณะกรรมการประจาวทิ ยาเขตกาแพงแสน 3) จัดทารายงานสรุปผลตัวชี้วัดความสาเร็จของแผนยทุ ธศาสตร์ เป็นรายไตรมาส โดยคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผลความสาเร็จของแผนยุทธศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน และรายงานผลต่อผู้บริหาร อยา่ งต่อเนอ่ื ง กรอบแนวคดิ ในกำรจัดทำแผนยทุ ธศำสตร์ ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 ระยะที่ 3 ระยะท่ี 4 ระยะที่ 5 กำหนดทศิ ทำงองคก์ ร พฒั นำยุทธศำสตร์ ถ่ำยทอดแผน ขับเคลอื่ นแผน ตดิ ตำมและประเมินผล ยทุ ธศำสตร์สปู่ ฏิบตั กิ ำร กำรวเิ ครำะห์ จดั ทำประเด็น ถ่ำยทอดตัวชว้ี ัด ขบั เคล่อื นแผน ติดตำมผลกำร ศักยภำพองค์กร ยทุ ธศำสตร์ และ และค่ำเปำ้ หมำย ยุทธศำสตร์ ดำเนนิ งำน และกำรวเิ ครำะห์ แผนปฏบิ ัติกำร ปจั จัยแวดลอ้ ม เปำ้ ประสงค์ ทบทวนวิสยั ทศั น์ จัดทำกลยทุ ธ์ สื่อสำรส่วนงำน นำแผนยทุ ธศำสตร์ รำยงำน พนั ธกจิ ค่ำเป้ำหมำย และสรำ้ งควำมรู้ วิทยำเขต ประเมนิ ผล ตวั ช้วี ัด และ กำแพงแสน กำรดำเนินงำน วัตถปุ ระสงค์ โครงกำรกจิ กรรม ควำมเข้ำใจ เชงิ ยทุ ธศำสตร์ พ.ศ. 2563-2567 สกู่ ำรปฏิบัติ 12
กระบวนกำรทบทวนแผนยุทธศำสตร์ จากสภาวะแวดล้อม ท้ังปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว องค์กร จึงจาเป็นต้องมีการศึกษา ทบทวนปัจจัยท่ีเป็นประเด็นสาคัญต่อการปรับเปลี่ยนทิศทางและกลยุทธ์ เพื่อกาหนดทศิ ทางขององค์กรทช่ี ัดเจนใหส้ ามารถพัฒนาไดท้ นั ต่อสถานการณ์ และการผลักดนั แผนยุทธศาสตร์ ให้บรรลุเป้าหมายขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ดังน้ัน จึงได้จัดให้มีการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2563 - 2567) ให้มีการดาเนินงาน ท่ีทันสมัยและสอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ เพ่ือใช้ในการขับเคลื่อนองค์กรให้ เกิดผลในการปฏิบัติ อยา่ งเปน็ รูปธรรมตอ่ ไป การทบทวนแผนยุทธศาสตร์เร่ิมตั้งแต่การทบทวนผลการดาเนินงานที่ผ่านมา บริบทต่าง ๆ และ สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกที่เปล่ียนแปลงไป และมีการประชุมทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ทิศทาง เป้าหมาย ตัวช้ีวัด และแผนงาน โครงการ ตัวชี้วัด ในแผนปฏิบัติการประจาปี เพ่ือระดมสมองผู้บริหาร และ ผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง ในการร่วมกันกาหนดทิศทางการดาเนนิ งานของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ประกอบดว้ ย 7 กจิ กรรม ดงั นี้ กิจกรรม ผู้ดำเนินงำน ช่วงเวลำ 18 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 1. ทบทวนตัวชี้วัดภาพรวม มิติด้านการบริหาร - ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ องค์กร เวลา 09.00 – 12.00 น. จัดการ และประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 4 พัฒนา วิทยาเขตกาแพงแสน 18 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 เวลา 13.30 – 16.30 น. ระบบการบริหารจดั การเพือ่ ความเปน็ เลศิ - ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยบริหาร วิทยาเขตกาแพงแสน 22 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565 - ผ้อู านวยการกองบริหารทัว่ ไป เวลา 09.00 – 12.00 น. - บุคลากรทม่ี ีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง - เจ้าหน้าท่ีงานยทุ ธศาสตรแ์ ละพฒั นาคุณภาพ รวมท้งั สิน้ 17 คน 2. ทบทวนตัวชี้วัดภาพรวม มิติด้านการเรียน - ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ องค์กร การสอน และประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 1 พัฒนา วทิ ยาเขตกาแพงแสน และบริหารหลักสูตร นวัตกรรม เทคโนโลยี - ผู้ช่วยอธกิ ารบดีฝา่ ยการศกึ ษา วทิ ยาเขตกาแพงแสน เพ่อื การเรียนร้ตู ลอดชีวติ - ผู้อานวยการกองบรหิ ารการศกึ ษา - บุคลากรที่มีส่วนเกยี่ วข้อง - เจ้าหน้าทง่ี านยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ รวมทัง้ ส้นิ 15 คน 3. ทบทวนตวั ชี้วัดภาพรวม มติ ิด้านการบริการ - ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ องค์กร วิชาการ และประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนา วทิ ยาเขตกาแพงแสน การบริการวชิ าการแบบครบวงจร - ผูอ้ านวยการกองบรหิ ารท่วั ไป - ผอู้ านวยการกองบริหารการวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ - บุคลากรที่มีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง - เจา้ หน้าทงี่ านยุทธศาสตร์และพัฒนาคุณภาพ รวมท้ังสน้ิ 13 คน 13
กจิ กรรม ผู้ดำเนินงำน ชว่ งเวลำ 3 มีนาคม พ.ศ. 2565 4. ทบทวนตัวช้ีวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 - ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ องค์กร เวลา 09.00 – 12.00 น. พัฒนาและบริหารหลักสูตร นวัตกรรม วิทยาเขตกาแพงแสน 3 มีนาคม พ.ศ. 2565 เวลา 13.00 – 16.30 น. เทคโนโลยี เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ - ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต กีฬา และทานุ 22 มีนาคม พ.ศ. 2565 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบ บารงุ ศิลปวฒั นธรรม วทิ ยาเขตกาแพงแสน เวลา 09.00 – 12.00 น. การบริหารจดั การเพ่ือความเป็นเลศิ - ผอู้ านวยการกองบริหารทว่ั ไป 7 – 8 เมษายน พ.ศ. 2565 เวลา 09.00 – 16.30 น. - ผอู้ านวยการกองบรหิ ารกิจการนิสติ - บุคลากรท่ีมีสว่ นเกย่ี วข้อง - เจา้ หน้าท่ีงานยุทธศาสตร์และพัฒนาคณุ ภาพ รวมทั้งสิน้ 16 คน 5. ทบทวนตัวชี้วัดภาพรวม มิติด้านการวิจัย - ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ องค์กร และประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 2 ส่งเสริม วิทยาเขตกาแพงแสน การสร้างองค์ความรู้การวิจัย และนวัตกรรม - ผชู้ ่วยอธิการบดีฝ่ายวจิ ัย นวัตกรรม และวเิ ทศสมั พนั ธ์ ด้านเกษตร สุขภาพ และสิง่ แวดลอ้ มในระดับ วิทยาเขตกาแพงแสน สากล - ผู้อานวยการกองบริหารทว่ั ไป - ผูอ้ านวยการกองบริหารการวิจยั และบรกิ ารวิชาการ - บุคลากรทีม่ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ ง - เจา้ หนา้ ทง่ี านยุทธศาสตรแ์ ละพัฒนาคุณภาพ รวมทง้ั สน้ิ 15 คน 6. การประชุมเตรียมความพร้อม ร่วมกับ - ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์ องค์กร ผู้รับผิดชอบรายงานแผน/ผล (นักวิเคราะห์ วิทยาเขตกาแพงแสน นโยบายและแผน ระดับส่วนงาน) - ผ้อู านวยการกองบริหารทวั่ ไป - นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน สว่ นงาน - เจา้ หน้าทงี่ านยุทธศาสตรแ์ ละพฒั นาคณุ ภาพ รวมทงั้ สิ้น 22 คน 7. โครงการประชมุ เสวนาผู้บริหารระดับสูง - รองอธกิ ารบดีวทิ ยาเขตกาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต - ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี วทิ ยาเขตกาแพงแสน กาแพงแสน กิจกรรมทบทวนแผนปฏิบัติการ - สว่ นงานภายในวทิ ยาเขตกาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต - บุคลากรท่ีมีส่วนเกี่ยวขอ้ ง กาแพงแสน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. - เจา้ หนา้ ท่งี านยทุ ธศาสตรแ์ ละพฒั นาคณุ ภาพ 2565 รวมทัง้ สิ้น 84 คน 14
การวิเคราะห์ สภาพแวดลอ้ ม ขององค์กร 15
กำรวิเครำะหส์ ภำพแวดลอ้ มขององคก์ ร การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ให้สอดรับการสถานการณ์โลกปัจจุบัน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ท่เี ปลยี่ นแปลง จาเป็นต้องทาการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมเพือ่ หาจุดแขง็ จดุ เด่น หรือข้อได้เปรยี บ จุดอ่อนหรือ ข้อเสียเปรยี บ โอกาสที่จะดาเนนิ การได้ และอปุ สรรคทีอ่ าจทาให้เป็นปญั หาในการดาเนินงานไม่บรรลุผลสาเร็จ จึงตอ้ งทาการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มองคก์ รท้ังภายในและภายนอก ปัจจยั ภายใน (Internal factors) เปน็ ปัจจัยท่มี อี ทิ ธพิ ลโดยตรงต่อการปฏิบตั ิงาน ประกอบดว้ ย ปัจจัย ทางด้านโครงสร้างของหน่วยงาน ปัจจัยด้านบุคลากร ปัจจัยด้านการเงิน และปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ปัจจัยด้านการให้บริการ ความท้าทาย และความได้เปรียบท่ีวิทยาเขตกาแพงแสนมีประกอบด้วย จุดแข็ง (Strengths) คือ ปัจจัยที่เกดิ ข้ึนภายในองค์กร องค์กรสามารถปรับเปล่ียนได้ และส่งผลดีต่อพัฒนาการบริหาร องค์กร และ จุดอ่อน (Weaknesses) คือ ปัจจัยท่ีเกิดข้ึนภายในองค์กรสามารถปรับปรุงแก้ไขได้ อาจจะมีผล ทางลบในการพัฒนาการบริหารองค์กร ปัจจัยภายนอกองค์กร (External factors) ประกอบด้วย ปัจจัยท่ีควบคุมไม่ได้ แต่ส่งผลกระทบ ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อการปฏิบัติงานที่เป็นทั้งโอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) ประกอบดว้ ย ปัจจยั ด้านเทคโนโลยี ปจั จัยดา้ นเศรษฐกิจ ปจั จัยด้านกายภาพ ปัจจยั ด้านการเมอื งและกฎหมาย จากปัจจัยภายใน (Internal factors) และปัจจัยภายนอกองค์กร (External factors) นาไปสู่การกาหนด สมรรถนะหลักขององค์กร ที่มุ่งเน้นการสรา้ งและเพ่ิมพูนขีดความสามารถภายในขององค์กร และเกิดจากการปรับ และใช้ประโยชน์จากความสัมพันธ์กับองค์กรภายนอก และพันธมิตร สามารถแสดงตาแหน่งการวิเคราะห์ SWOT รายละเอยี ดการวเิ คราะห์ความได้เปรียบเชงิ ยทุ ธศาสตร์ และความท้าทายเชิงยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้ กรำฟแสดงตำแหน่งกำรวเิ ครำะห์ SWOT ภาพรวมของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน มีจุดอ่อน (Weaknesses) มากกว่าจุดแข็ง (Strengths) และอุปสรรค (Threats) มีมากกวา่ โอกาส (Opportunities) จากภาพจะพบว่าตาแหน่ง ของกราฟ จะเบ้มาทางจุดอ่อนและอุปสรรค แสดงถึงว่ามหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน สามารถกาหนดกลยทุ ธ์ เพอ่ื ลด จุดอ่อนท่ีมีโดยใช้โอกาสจากแหล่งภายนอก พร้อมทั้งกาหนดกลยุทธ์ เชิงรุก จากจุดแข็งท่ีมีโดยใช้โอกาสให้เป็นประโยชน์มากท่ีสุด ซ่ึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน สามารถใช้ เครือข่ายความร่วมภายในวิทยาเขต ที่บุคลากรมีชื่อเสียง ทางวิชาการ และยังมีพื้นท่ีจานวนมากท่ีสามารถใช้เป็นแหล่งวิจัยทางการเกษตร พืช และสัตว์ ท่ีช่วยสนับสนุน การสร้างองค์ความรู้ การบรกิ ารวิชาการแก่กลุ่มเป้าหมาย และมีพืน้ ท่ีในการฝึกประสบการณ์ ทดลอง ปฏิบัติได้จริง สามารถสนับสนุนการฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ จากการทดลองปฏิบัติจริง ได้ผลจริง และนาไปใช้ ประโยชน์ในด้านการทางานตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้ชัดเจน สามารถถ่ายทอดไปยังชุมชน ตามความต้องการในแต่ละพ้ืนท่ีได้ด้วยสภาพแวดล้อมที่เอื้อในการวิจัย แล้วยังส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ท่ีสามารถ นาไปบูรณาการกับการเรียน การสอน บริการวิชาการ การวิจัย อันนาไปใช้ประโยชน์ในระดับประเทศและ เชิงพาณิชย์ และควรมีการบูรณาการร่วมกันระหว่างคณะต่าง ๆ ในวิทยาเขต เพ่ือเพ่ิมองค์ความรู้ และ ยงั สอดคลอ้ งกบั นโยบายของกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม 16
ควำมได้เปรียบเชงิ ยุทธศำสตร์ และควำมทำ้ ทำยเชิงยทุ ธศำสตร์ Strategic Advantage (ควำมได้เปรยี บเชิงยทุ ธศำสตร)์ SA1 มก.กพส. มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย บริการวิชาการ และ การสรา้ งรายไดเ้ พิม่ ขน้ึ SA2 เปน็ ศูนย์กลางทางดา้ นเกษตรในระดับประเทศ SA3 มีส่ิงแวดล้อมทส่ี วยงาม และการท่องเท่ียวเชงิ อนุรกั ษ์ ในภูมิภาคตะวันตก ทเ่ี ป็นที่รจู้ กั เช่น ถนนชมพพู ันธ์ทุ พิ ย์ SA4 มีการคมนาคม และระบบโลจสิ ติกส์ ท่สี าคัญในภมู ิภาคตะวันตก (เสน้ ทางทวาย) SA5 เป็นวิทยาเขตที่มีองค์ความรู้รอบด้านท้ังการเกษตร อาหาร สุขภาพ และการท่องเท่ียว ที่ตอบสนองต่อ ยทุ ธศาสตรช์ าติ SA6 บคุ ลากรมคี วามเชยี่ วชาญและมคี วามพรอ้ มในการให้บรกิ าร รวมถงึ ส่ิงสนบั สนุนดา้ นการเกษตรไดอ้ ยา่ งครบวงจร SA7 เป็นวิทยาเขตท่ีมีช่ือเสียงในด้านการเกษตร วิศวกรรมชลประทาน เคร่ืองจักรกลการเกษตร องค์ความรู้ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ขา้ ว เทคโนโลยชี ีวภาพเกษตร ฯลฯ SA8 มีพนั ธุพ์ ชื พนั ธส์ุ ัตว์ และผลติ ภณั ฑ์ทีเ่ ป็นลิขสทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลยั /วิทยาเขต SA9 เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านสัตวแพทยศาสตร์ และได้รับความนิยมในการใช้บริการที่เกี่ยวขอ้ งกับสัตว์ ทุกประเภทอยา่ งครบวงจร SA10 มีศูนยก์ ารเรยี นร้เู ฉพาะทาง/สาขาวชิ า และบริการวชิ าการท่ีหลากหลาย SA11 วทิ ยาเขตกาแพงแสนเปน็ ชมุ ชนขนาดใหญ่ Strategic Challenge (ควำมทำ้ ทำยเชิงยุทธศำสตร์) SC1 Smart Knowledge and Well being Campus (สงั คมแห่งการเรยี นรูแ้ ละการอยดู่ ีกนิ ดี) SC2 การบรหิ ารสินทรัพยข์ องวิทยาเขต ทีย่ งั ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ SC3 บณั ฑติ และนสิ ติ มคี วามพร้อมด้านภาษาสากล SC4 มรี ะบบการบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบคุ คลอย่างมีประสิทธิภาพ SC5 มีองคค์ วามรู้ นวตั กรรม ไอที และส่ือการเรียนการสอนท่ที ันสมยั ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงของสงั คมโลก SC6 เปน็ ศนู ยก์ ลางการเรียนรู้และฝึกอบรมด้านการเกษตรในระดบั สากล SC7 มรี ะบบการบรหิ ารจัดการ การแสวงหาทุนวิจยั การบริการวชิ าการเชงิ รุก SC8 Smart Organization Management การปรับปรุงความพร้อมด้านเคร่ืองมือ และอุปกรณ์ ด้านสิ่งอานวย ความสะดวกท่ีครบถว้ นทนั สมยั SC9 Smart Campus SC10 ผบู้ ริหารคณาจารย์ บคุ ลากรทกุ คน มคี วามร่วมมอื ในการทางาน SC11 One Stop Service ด้านการเกษตร อาหาร สุขภาพ สงิ่ แวดล้อม และการท่องเท่ียว SC12 มรี ะเบยี บและข้อบังคับทีท่ ันสมัย คลอ่ งตวั และสนับสนุนงานบริหาร งานวิจยั งานบรกิ ารวิชาการ และอื่น ๆ SC13 ฐานข้อมูลสารสนเทศ ด้านการเกษตร อาหาร สุขภาพ สิ่งแวดล้อมและการทอ่ งเทยี่ ว SC14 สร้างมาตรฐานอาชีพด้านการเกษตร อาหาร สขุ ภาพ สิ่งแวดล้อม และการทอ่ งเท่ยี ว SC15 เปน็ มหาวทิ ยาลัยท่ใี ช้พลงั งานทดแทนชน้ั นาของประเทศ UI Green เปน็ ที่หนงึ่ South East Asia 17
แผน ยุทธศาสตร์ 18
VISION มหำวทิ ยำลัยแหง่ นวัตกรรม กำรเกษตร สขุ ภำพ และสง่ิ แวดล้อม MISSION 1. ผลติ บณั ฑติ ทีม่ ีควำมรู้ ควำมสำมำรถ และมที ักษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 รวมถงึ จดั กำรศึกษำท่ีมมี ำตรฐำนสำหรบั คนทกุ วยั เพือ่ กำรเรยี นรู้ ตลอดชีวติ 2. ผลติ งำนวิจัยเพ่อื สรำ้ งองค์ควำมรู้ นวัตกรรมดำ้ นเกษตร สขุ ภำพ และส่ิงแวดล้อมในระดบั สำกล 3. บรู ณำกำรงำนบรกิ ำรวิชำกำรเชิงรกุ ครบวงจร เพอ่ื กำรพึง่ พำตนเองอย่ำงย่ังยนื 4. พฒั นำระบบกำรบริหำรจดั กำรทสี่ อดคล้องกบั เกณฑค์ ุณภำพกำรศกึ ษำเพอื่ กำรดำเนินงำนท่ีเปน็ เลศิ Strategy ประเด็นยทุ ธศำสตร์ที่ 1 ประเด็นยทุ ธศำสตร์ที่ 2 ประเดน็ ยุทธศำสตรท์ ี่ 3 ประเดน็ ยุทธศำสตร์ท่ี 4 พฒั นำและบรหิ ำรหลกั สตู ร ส่งเสริมกำรสร้ำงองค์ควำมรูก้ ำรวิจยั พัฒนำกำรบริกำรวชิ ำกำร พฒั นำระบบกำรบริหำรจัดกำรเพ่ือ และนวัตกรรมด้ำนเกษตร สขุ ภำพ นวัตกรรม เทคโนโลยี แบบครบวงจร ควำมเป็นเลิศ เพอื่ กำรเรียนรู้ตลอดชวี ติ และส่ิงแวดล้อมในระดบั สำกล เป้าประสงค์ท่ี 1.1 มีหลักสูตร เป้าประสงค์ที่ 2.1 สร้างผลงาน เป้าประสงค์ท่ี 3.1 พัฒนาระบบ เป้าประสงค์ท่ี 4.1 พลิกโฉมการ ที่ครอบคลุม ต่อการ พัฒนา วิ จั ย แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ใ น ร ะ ดั บ บริหารจัดการบริการวิชาการ บริหารจัดการสู่การบริหารจัดการ ประเทศ และการเปลี่ยนของ สากลด้านเกษตร สุขภาพ และ แบบครบวงจร เชิงรกุ และเกดิ ความคลอ่ งตวั สงั คมโลก สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง นโยบาย การพัฒนาประเทศ เป้ า ป ร ะ สง ค์ ท่ี 3 .2 พั ฒ น า เป้าประสงค์ที่ 4.2 ผลการประเมิน เป้าประสงค์ที่ 1.2 บัณฑิตที่มี แ ล ะ ต่ อ ย อ ด ใ น เ ชิ ง พ า ณิ ช ย์ ไ ด้ คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม คุณภาพการศึกษาเพ่ือการดาเนินงาน คุณภา พและตรงตามควา ม อย่างต่อเนื่อง และสิ่งแวดล้อม แก่ชุมชนและ ท่ีเปน็ เลิศ 200 คะแนน ต้องการ ของประเทศ สังคม ทั้งในระดับชาติ และ เป้าประสงค์ท่ี 2.2 มีส่วนร่วม นานาชาติ เป้าประสงค์ท่ี 4.3 มีรายได้เพ่ิมข้ึน Objective ในการกาหนดนโยบายทางการ จากการบริหารจัดการทรัพยากร วจิ ัยและนวัตกรรมเกษตร สุขภาพ เป้าประสงคท์ ี่ 3.3 มีกระบวนการ ของวทิ ยาเขตกาแพงแสน และสิง่ แวดล้อมในทุกระดับ ผลิต และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ KU KPS ตลอดห่วงโซ่อุปทาน เป้ าป ระสงค์ที่ 4.4 นิสิตแ ละ สู่เทคโนโลยีดิจทิ ัล บคุ ลากรมคี ณุ ภาพชีวิตทดี่ ี เป้าประสงค์ที่ 4.5 เป็นมหาวิทยาลัย สเี ขยี ว (UI GreenMetric) Strategic Advantage (ควำมได้เปรยี บเชงิ ยุทธศำสตร์) Strategic Challenge (ควำมท้ำทำยเชงิ ยทุ ธศำสตร์) Strategic Advantage / Strategic Challenge SA1 มก.กพส. มีสภำพแวดลอ้ มทำงกำยภำพท่ีสนบั สนุนกำรเรียนกำรสอน กำรวิจยั บริกำรวิชำกำร SC1 Smart Knowledge and Well being Campus (สงั คมแห่งกำรเรียนรู้และกำรอยูด่ กี นิ ดี) และกำรสรำ้ งรำยไดเ้ พม่ิ ขนึ้ SC2 กำรบรหิ ำรสินทรัพยข์ องวิทยำเขต ท่ยี งั ไมก่ อ่ ให้เกิดประโยชน์ SC3 บณั ฑิตและนิสติ มคี วำมพร้อมด้ำนภำษำสำกล SA2 เป็นศูนยก์ ลำงทำงด้ำนเกษตรในระดับประเทศ SC4 มรี ะบบกำรบริหำรและพฒั นำทรพั ยำกรบุคคลอย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ SA3 มสี ิ่งแวดลอ้ มทีส่ วยงำม และกำรท่องเท่ียวเชิงอนรุ กั ษ์ ในภูมภิ ำคตะวันตก ทเ่ี ป็นทร่ี ู้จกั SC5 มอี งคค์ วำมรู้ นวัตกรรม ไอที และสอ่ื กำรเรียนกำรสอนทท่ี นั สมยั ตอบสนองตอ่ กำรเปลีย่ นแปลง เชน่ ถนนชมพพู นั ธทุ์ ิพย์ ของสังคมโลก SA4 มกี ำรคมนำคม และระบบโลจิสติกส์ ทสี่ ำคัญในภมู ภิ ำคตะวนั ตก (เส้นทำงทวำย) SC6 เป็นศนู ยก์ ลำงกำรเรยี นรแู้ ละฝกึ อบรมด้ำนกำรเกษตรในระดบั สำกล SA5 เปน็ วิทยำเขตที่มีองคค์ วำมรรู้ อบดำ้ นท้งั กำรเกษตร อำหำร สขุ ภำพ และกำรท่องเที่ยว SC7 มรี ะบบกำรบริหำรจัดกำร กำรแสวงหำทนุ วจิ ัย กำรบรกิ ำรวิชำกำร เชงิ รกุ SC8 Smart Organization Management กำรปรบั ปรุงควำมพร้อมดำ้ นเครือ่ งมอื และอุปกรณ์ ทีต่ อบสนองตอ่ ยุทธศำสตรช์ ำติ SA6 บุคลำกรมคี วำมเช่ยี วชำญและมคี วำมพร้อมในกำรใหบ้ รกิ ำร รวมถึงส่งิ สนับสนุนดำ้ นกำรเกษตร ดำ้ นส่งิ อำนวยควำมสะดวกท่ีครบถ้วนทนั สมัย SC9 Smart Campus ได้อย่ำงครบวงจร SC10 ผบู้ ริหำรคณำจำรย์ บคุ ลำกรทุกคน มีควำมรว่ มมอื ในกำรทำงำน SC11 One Stop Service ดำ้ นกำรเกษตร อำหำร สุขภำพ สิ่งแวดล้อม และกำรทอ่ งเท่ียว SA7 เป็นวิทยำเขตทีม่ ชี ่ือเสยี งในดำ้ นกำรเกษตร วิศวชลประทำน เคร่อื งจักรกล กำรเกษตร SC12 มรี ะเบยี บและขอ้ บังคบั ทท่ี นั สมัย คลอ่ งตวั และสนบั สนนุ งำนบรหิ ำร งำนวจิ ัย งำนบริกำรวชิ ำกำร และอืน่ ๆ องค์ควำมร้ดู ำ้ นวิทยำศำสตรข์ ำ้ ว เทคโนโลยชี ีวภำพเกษตร ฯลฯ SC13 ฐำนข้อมลู สำรสนเทศ ดำ้ นกำรเกษตร อำหำร สุขภำพ สงิ่ แวดล้อมและกำรทอ่ งเท่ียว SC14 สรำ้ งมำตรฐำนอำชีพดำ้ นกำรเกษตร อำหำร สุขภำพ ส่ิงแวดล้อม และกำรทอ่ งเทีย่ ว SA8 มพี ันธ์ุพชื พันธุ์สตั ว์ และผลติ ภณั ฑท์ เี่ ป็นลิขสิทธ์ิของมหำวทิ ยำลัย/วิทยำเขต SC15 เป็นมหำวทิ ยำลัยที่ใช้พลงั งำนทดแทนชน้ั นำของประเทศ UI Green เปน็ ทห่ี นง่ึ South East Asia SA9 เปน็ ศูนย์กลำงองค์ควำมรู้ด้ำนสตั วแพทยศำสตร์ และไดร้ ับควำมนยิ มในกำรใช้ บรกิ ำรที่ เกี่ยวขอ้ งกับสตั ว์ทุกประเภทอยำ่ งครบวงจร SA10 มีศูนย์กำรเรยี นรูเ้ ฉพำะทำง/สำขำวิชำ และบริกำรวชิ ำกำรทห่ี ลำกหลำย SA11 วิทยำเขตกำแพงแสนเป็นชมุ ชนขนำดใหญ่ ผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสียของมหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน (Stakeholder) 19
แผนยุทธศำสตร์มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์ วทิ ยำเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565-2567) ปรชั ญำ : มุง่ เนน้ ให้การศึกษาอุดมศึกษา สร้างสรรค์และพัฒนาความรู้ ใหบ้ รกิ ารทางวิชาการ สืบสานและอนุรักษ์ ศลิ ปวฒั นธรรม เพือ่ การพัฒนาและเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและทรัพยากรอย่างย่ังยืน วสิ ัยทศั น์ : มหาวิทยาลยั แห่งนวตั กรรม การเกษตร สขุ ภาพ และสิ่งแวดลอ้ ม พนั ธกจิ : 1. ผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 รวมถึงจัดการศึกษา ทม่ี มี าตรฐานสาหรับคนทกุ วยั เพอ่ื การเรียนรู้ตลอดชีวติ 2. ผลติ งานวจิ ัยเพอื่ สรา้ งองค์ความรู้ นวตั กรรมดา้ นเกษตร สุขภาพ และสงิ่ แวดลอ้ มในระดับสากล 3. บรู ณาการบริการวิชาการเชิงรุกครบวงจร เพื่อการพงึ่ พาตนเองอยา่ งยัง่ ยืน 4. พฒั นาระบบการบริหารจัดการท่ีสอดคลอ้ งกบั เกณฑ์คณุ ภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินงานทเ่ี ปน็ เลิศ ค่ำนิยม : ม่งุ ผลสมั ฤทธ์ขิ องงาน สืบสานสามคั คี มคี ณุ ธรรม ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ : ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 : พฒั นาและบรหิ ารหลักสตู ร นวตั กรรม เทคโนโลยี เพื่อการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 : สง่ เสรมิ การสร้างองค์ความรกู้ ารวจิ ัย และนวตั กรรมดา้ นเกษตร สขุ ภาพ และสิ่งแวดล้อม ในระดบั สากล ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 : พัฒนาการบรกิ ารวชิ าการแบบครบวงจร ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 : พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การเพอ่ื ความเปน็ เลิศ เปำ้ ประสงค์ : 1.1 มหี ลักสูตรท่คี รอบคลุม ต่อการพัฒนาประเทศ และการเปล่ียนของสงั คมโลก 1.2 บณั ฑติ ทมี่ ีคุณภาพและตรงตามความต้องการของประเทศ 2.1 สรา้ งผลงานวิจัยและนวตั กรรมในระดับสากลดา้ นเกษตร สุขภาพ และสิง่ แวดลอ้ ม เพ่ือตอบสนอง นโยบาย การพฒั นาประเทศ และตอ่ ยอดในเชิงพาณิชย์ได้อยา่ งตอ่ เนื่อง 2.2 มีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายทางการวิจัย และนวัตกรรมเกษตร สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ในทกุ ระดบั 3.1 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการบริการวชิ าการแบบครบวงจร 3.2 พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม แก่ชุมชนและสังคม ทั้งในระดับชาติ และ นานาชาติ 3.3 มกี ระบวนการผลติ และจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ KU KPS ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ส่เู ทคโนโลยดี ิจทิ ลั 4.1 พลิกโฉมการบรหิ ารจัดการสกู่ ารบริหารจดั การเชิงรุก และเกดิ ความคล่องตัว 4.2 ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาเพ่ือการดาเนินงานท่ีเป็นเลิศ 200 คะแนน 4.3 มรี ายไดเ้ พม่ิ ขึ้นจากการบริหารจัดการทรัพยากรของวิทยาเขตกาแพงแสน 4.4 นสิ ติ และบุคลากรมคี ณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี 4.5 เปน็ มหาวทิ ยาลัยสเี ขยี ว (UI GreenMetric) 20
แผนที่ยทุ ธศำสตร์ (Strategy Map) 21
22
ยทุ ธศำสตร์มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วทิ ยำเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2565 - 2567 ยุทธศำสตร์ที่ 1 ยุทธศำสตรท์ ี่ 2 พัฒนำและบรหิ ำรหลกั สตู ร สง่ เสริมกำรสรำ้ งองค์ควำมรู้กำรวิจัย และ นวตั กรรม เทคโนโลยี เพื่อกำรเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต นวตั กรรมดำ้ นเกษตร สขุ ภำพ และสิ่งแวดล้อมในระดบั สำกล กลยุทธ์ท่ี 1 ยกระดับคุณภาพการศึกษา และหลักสูตร นวัตกรรม กลยุทธ์ท่ี 1 แสวงหาทุนวจิ ัยจากแหลง่ ทนุ ภายนอก ท้ังในระดับชาติและ เทคโนโลยี เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และสร้างความร่วมมือทาง นานาชาติ วิชาการ วชิ าชีพร่วมกับภาครัฐและเอกชน 1. โครงการเสรมิ สร้างศกั ยภาพในการแสวงหาแหลง่ ทุนจาก หน่วยงานภายนอกเพอ่ื งานวจิ ัย นวตั กรรม และงานสรา้ งสรรค์ 1. โครงการส่งเสริมความร่วมมือด้านวชิ าการกบั ภาครฐั หรอื เอกชน 2. โครงการสง่ เสริมสนบั สนนุ งานวิจยั และงานสร้างสรรคจ์ ากแหลง่ ทุนภายใน 2. โครงการจัดทาหลกั สตู รระยะส้ันแบบบูรณาการ หรอื Non Degree 3. โครงการส่งเสรมิ การพัฒนาหรือปรับปรงุ หลกั สตู รเพื่อการสรา้ งนวัตกรรม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักวิจัยและสิ่งสนับสนุนการ 4. โครงการสง่ เสริมความร่วมมอื ดา้ นวิชาการระดบั ชาติ หรอื นานาชาติ ผลติ งานวจิ ัยอย่างมีประสทิ ธิภาพ 5. โครงการส่งเสริมหลักสูตรที่มีรายวิชาที่เปิดสอนมีการเรียนการสอนเป็น ภาษาต่างประเทศ 1. โครงการตลาดนัดวจิ ยั ออนไลน์ 6. โครงการสง่ เสริมการแลกเปล่ยี นนสิ ติ ในระดบั นานาชาติ 2. โครงการวิจยั หรอื งานสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมแบบบูรณาการ 3. โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพนกั วิจยั รนุ่ ใหม่ กลยุทธ์ที่ 2 บูรณาการรายวิชาร่วมกันด้านการเกษตร สุขภาพ และ 4. โครงการจัดทาวารสารด้านสงั คมและมนุษยศาสตร์ สง่ิ แวดล้อม ทงั้ ระดบั ชาติ หรอื นานาชาติ 5. โครงการยกระดับวารสารเผยแพร่งานวิจัยทางวารสารวิทยาศาสตร์ 1. โครงการจัดตงั้ คณะแพทยศาสตร์ และเทคโนโลยี 2. โครงการสง่ เสรมิ การบูรณาการรายวิชาขา้ มศาสตร์ 6. จดั ต้ังคลินิกทป่ี รึกษาการตีพิมพว์ ารสารนานาชาติ 7. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสนับสนุนงานวิจัยภายใต้เครือข่าย กลยุทธ์ท่ี 3 เสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบัณฑิต มก. ห้องปฏบิ ตั กิ ารวิจัยวทิ ยาเขตกาแพงแสน และตรงตามความต้องการของตลาดงานและผใู้ ชบ้ ัณฑติ กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมการทางานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการและ 1. โครงการพฒั นานสิ ิตตามคุณลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องบณั ฑติ มก. นโยบายการพัฒนาประเทศและตอ่ ยอดในเชงิ พาณิชย์ กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมระบบการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการ 1. โครงการส่งเสริมการเผยแพร่งานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และ ปฏิบัติ และสง่ เสรมิ การพัฒนาทกั ษะทเ่ี ก่ียวขอ้ งเพอ่ื การเรยี นรูต้ ลอด งานสรา้ งสรรค์ ชีวติ 2. จัดตั้งเมอื งนวัตกรรมการเกษตร (Agro Innopolis) 1. โครงการความร่วมมอื กบั หน่วยงานผู้ประกอบการเพื่อการพัฒนา 3. จัดตั้งศนู ยบ์ ม่ เพาะธุรกจิ จากงานวจิ ัยและนวตั กรรม ดา้ นปฏิบัติการจรงิ 2. โครงการพัฒนาอาจารย์ สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และ กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมการทาวิจยั บรู ณาการแบบสหวิชาการรว่ มกับภาครัฐ ปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นรทู้ ี่สอดคลอ้ งกบั ยคุ ดจิ ิทลั และเอกชน ทัง้ ระดบั ชาติ นานาชาติ 3. โครงการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้และคณุ ภาพชวี ติ ของผู้สงู อายุ ยคุ ใหม่ และการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ 1. โครงการส่งเสริมการวิจยั ท่ีทาร่วมกบั ภาคอุตสาหกรรม 2. โครงการส่งเสริมการวิจัยท่ีร่วมทากับหนว่ ยงานระดับนานาชาติ กลยุทธ์ที่ 5 เสริมสร้างกระบวนการ พัฒนาบัณฑิตสู่ผู้ประกอบการ 3. โครงการสง่ เสรมิ การบรู ณาการงานวิจัยแบบสหวิชาการ ร่นุ ใหม่ ดา้ นนวัตกรรมการเกษตร สุขภาพ และสงิ่ แวดลอ้ ม กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมอาจารย/์ นักวิจัย ทม่ี ีความเช่ียวชาญสู่เวที 1. โครงการเสริมสร้างทกั ษะเพอื่ พัฒนาผูป้ ระกอบการรุ่นใหม่ การกาหนดนโยบายการพัฒนางานวจิ ยั เชงิ นโยบาย 2. โ ครงก า รจั ดทา Startup platform & Co-working space (วิทยาเขต) 1. โครงการส่งอาจารย์/นักวิจยั ที่มีความเชี่ยวชาญสูเ่ วทีการกาหนดนโยบาย การพัฒนางานวจิ ยั เชิงนโยบาย 2. โครงการจัดทาฐานขอ้ มูลนักวจิ ยั /ผู้เชยี่ วชาญ 3. จัดเวทสี าธารณะเพ่ือช้ีนาทางวชิ าการสอดคลอ้ งกบั สถานการณป์ ัจจุบนั 23
ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 3 ยุทธศำสตร์ที่ 4 พฒั นำกำรบรกิ ำรวชิ ำกำรแบบครบวงจร พัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรเพ่อื ควำมเปน็ เลิศ กลยุทธ์ท่ี 1 สร้างศูนย์ประสานงานบริการวิชาการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสู่ 1. โครงการจดั ตง้ั ศูนยบ์ ริการวิจัยและบริการวิชาการ มก.กพส. การเป็นมหาวิทยาลยั ดจิ ิทัล กลยุทธท์ ่ี 2 สง่ เสรมิ การสรา้ งความรว่ มมือในด้านบรกิ ารวชิ าการ 1. โครงการพฒั นาระบบฐานข้อมลู และระบบปฎบิ ตั ิการ ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศที่สนบั สนุนเชิงรกุ ที่ครอบคลุมทกุ ภารกจิ กลยุทธ์ที่ 3 ส่งเสริมการบริการวชิ าการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชน 2. โครงการจัดทานโยบายที่เกี่ยวข้องในการพลิกโฉม มก.กพส. และสังคมให้เกิดความเขม้ แข็งอย่างยัง่ ยืน (Reinventing Policy) 1. โครงการจดั ต้งั ศูนยก์ ฬี า สุขภาพบาบดั และการใหค้ าปรึกษา 3. โครงการการจดั การความรู้ มงุ่ ส่กู ารเปน็ ศูนย์กลางการเรยี นรู้ กลยุทธ์ที่ 2 ผลักดันให้มีการบริหารจัดการตามเกณฑ์คุณภาพ กลยุทธท์ ี่ 4 สง่ เสริมการจัดการผลติ ภณั ฑต์ ลอดห่วงโซ่อุปทาน การศกึ ษาเพ่อื การดาเนินงานทเ่ี ปน็ เลศิ 1. โครงการพัฒนาและสง่ เสริมการตลาดผลติ ภณั ฑ์ 2. โครงการพัฒนาชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ e-marketing 1. โครงการขับเคลอ่ื นการบรหิ ารจัดการตามเกณฑค์ ุณภาพการศึกษาเพ่ือ 3. โครงการจัดตั้งศูนย์จาหน่ายสินค้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การดาเนนิ งานที่เปน็ เลิศ EdPEx มกี ิจกรรมสาคัญดงั น้ี วทิ ยาเขตกาแพงแสน (KU Premium Outlet) 1.1 การพัฒนาระบบบริหารและพัฒนาบุคลากรท่ีตอบสนอง ทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลยั (HRM & HRD) 1.2 การพัฒนาระบบงาน กระบวน การทางานโดยใช้การบริหาร แบบลีน (LEAN Management) 1.3 การพัฒนาและปรับปรุงแนวปฏิบัติเพื่อสนับสนุนการบริหาร จดั การเชงิ รกุ (กฎระเบียบ ข้อบงั คับ) กลยุทธ์ที่ 3 สร้างรายได้ที่เข้มแข็งจากระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน ภายใน วิทยาเขต (Circular Economy) 1. โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารจัดการทรัพยากร และสนิ ทรัพย์ กลยุทธท์ ี่ 4 พัฒนาสภาพแวดล้อมและระบบการบรหิ ารจัดการท่ีสนบั สนุน การสรา้ งคุณภาพชีวติ ทีด่ ี 1. โครงการส่งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ และความเปน็ อยขู่ องนิสิตและบคุ ลากร 2. โครงการสารวจความพึงพอใจและความผูกพันองค์กร กลยทุ ธ์ที่ 5 ประยุกต์การบรหิ ารจดั การตามเกณฑ์ UI GreenMetric 1. โครงการส่งเสริมสนับสนุนการบริหารงานตามแนวทางมหาวิทยาลัย สีเขียว 2. โครงการจัดการพลงั งานที่ดี 3. โครงการเสรมิ สร้างประสิทธภิ าพการจัดการขยะและของเสยี 24
25
ตัวชี้วัดภำพรวม ยุทธศำสตร์มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2565 - 2567 ตัวชี้วดั ภำพรวม มิติด้ำนกำรเรยี นกำรสอน 1. ร้อยละของหลกั สตู รท่ไี ด้คะแนน 3.51 ขึ้นไป 2. ค่าเฉล่ยี ผลการบริหารหลกั สตู รภาพรวมวิทยาเขต 3. รอ้ ยละของหลักสตู รทไ่ี ดร้ บั ความรว่ มมือจากภายนอกทง้ั ภาครัฐหรือเอกชน 4. รอ้ ยละของหลกั สูตรทมี่ รี ายวิชาท่ีเปิดสอนมกี ารเรยี นการสอนเป็นภาษาต่างประเทศ 5. จานวนรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติที่ได้รับจากผลงานวิจัยหรืองานสรา้ งสรรค์ หรือส่ิงประดิษฐ์ ของนิสติ ทกุ ระดับ 6. ร้อยละของนสิ ติ ที่เป็นผ้ปู ระกอบการร่นุ ใหม่ตอ่ จานวนนสิ ติ ท้ังหมด 7. ร้อยละการตีพิมพ์ผลงานของนิสิตในระดับปริญญาเอกที่อยู่ในฐานข้อมูล Scopus ในระดับ Q1 และ Q2 ตอ่ จานวนผลงานตพี มิ พข์ องนสิ ิตในระดบั ปริญญาเอกท้ังหมด 8. จานวนนิสิตท่ีไดร้ ับทนุ การศึกษา หรอื ทนุ สนบั สนนุ การวิจัยจากบคุ คลหรอื องคก์ รภายนอกทง้ั ในประเทศ และตา่ งประเทศ (ไม่นบั กยศ และ กรอ. และทุน 5A) 9. จานวนศิษย์เก่าท่ีได้รับการยกย่องด้านวิชาการหรือด้านคุณธรรมจริยธรรม หรือ ด้านการบริหารงาน จากหน่วยงานภายนอก ตวั ชี้วดั ภำพรวม มติ ดิ ้ำนกำรวิจัย 1. จานวนเงนิ สนับสนนุ งานวจิ ัยหรืองานสร้างสรรค์จากหน่วยงานภายนอก 2. จานวนผลงานวิจัย/นวตั กรรม ในระดบั ชาต/ิ นานาชาติทัง้ หมด ภายในวิทยาเขตกาแพงแสน 3. จานวนผลงานวจิ ัยทม่ี ีลกั ษณะบรู ณาการข้ามสาขา 4. ร้อยละของบทความวิจัยท่ีทาร่วมกับหน่วยงานหรือสถาบันในต่างประเทศที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ตอ่ บทความวจิ ัยทงั้ หมด 5. จานวนรางวลั ผลงานวิจัยท้งั ในระดับชาต/ิ นานาชาตขิ องอาจารย/์ นักวจิ ัย 6. สดั ส่วนของบทความวิชาการและบทความวิจัยทีต่ ีพิมพ์อยใู่ นวารสารระดับนานาชาติ ในฐานข้อมูล Scopus ต่ออาจารย์ประจาและนักวิจยั 26
ตัวช้ีวัดภำพรวม ยุทธศำสตร์มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2565 - 2567 ตัวชว้ี ัดภำพรวม มติ ิดำ้ นกำรบรกิ ำรวชิ ำกำร 1. จานวนชุมชนที่ได้รบั การพฒั นาและสามารถพงึ่ พาตนเองได้ 2. รายไดร้ วมจากการบรกิ ารวิชาการ (เฉพาะคา่ อานวยการ 3%) 3. รายไดจ้ ากโครงการพฒั นาวชิ าการทงั้ หมด (100%) 4. จานวนโครงการบริการวิชาการ/พัฒนาวชิ าการทั้งหมด ที่สง่ ผลตอ่ การเพมิ่ มูลคา่ หรือเกดิ ประโยชน์ ในระดับประเทศ 5. จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการทีส่ ง่ เสรมิ หรอื สร้างอาชพี และรายได้ 6. ร้อยละสิทธิบัตรและอนสุ ทิ ธิบัตรทีน่ าไปตอ่ ยอดในเชิงพาณิชย์ ตัวชว้ี ัดภำพรวม มิติดำ้ นกำรบรหิ ำรจัดกำร 1. คะแนนเฉลี่ยผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( KUQS) ของทุกส่วนงานทเ่ี ข้ารบั การประเมนิ 2. ร้อยละของรายได้อื่น ๆ ท่ีเพิ่มข้ึนเทียบกับปีท่ีผ่านมา (ยกเว้นค่าธรรมเนียมการศึกษา และ เงนิ อุดหนุนจากรัฐบาล) 3. ระดับการวดั สภาพแวดล้อมในการทางาน pulse survey หรอื Happy index หรือ Emo-meter ฯลฯ 4. ระดบั ความผกู พนั ของบุคลากรตอ่ องคก์ รตาม Engagement factor 5. จานวนโครงการที่เกี่ยวข้องกับ SDGs ที่บรรลุตามเป้าหมาย (ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ 2.ขจัดความหิวโหย 13.การรับมือการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ 14.การใช้ประโยชน์ จากมหาสมุทร 17.การรว่ มมอื เพือ่ การพฒั นาที่ย่ังยนื ) 6. ร้อยละของโครงการนวตั กรรมท่ไี ดร้ ับรางวลั ต่อโครงการนวัตกรรมท้งั หมด 27
ยุทธศำสตร์มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2565 - 2567 ประเดน็ ยุทธศำสตรท์ ่ี 1 พัฒนำและบรหิ ำรหลักสูตร นวัตกรรม เทคโนโลยี เพื่อกำรเรยี นร้ตู ลอดชีวติ เป้ำประสงค์ 1. มีหลกั สูตรที่ครอบคลมุ ต่อการพัฒนาประเทศ และการเปลี่ยนของสังคมโลก 2. บณั ฑิตท่มี ีคณุ ภาพและตรงตามความตอ้ งการของประเทศ กลยุทธ์ 1. ยกระดับคุณภาพการศึกษา และหลักสูตร นวัตกรรม เทคโนโลยี เพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ สรา้ งความรว่ มมือทางวิชาการ วิชาชพี ร่วมกบั ภาครัฐและเอกชน 2. บูรณาการรายวิชาร่วมกนั ด้านการเกษตร สุขภาพ และสิง่ แวดลอ้ ม ทงั้ ระดับชาติ หรอื นานาชาติ 3. เสริมสร้างคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของบัณฑิต มก. และตรงตามความต้องการของตลาดงานและ ผู้ใชบ้ ณั ฑิต 4. ส่งเสริมระบบการจัดการเรยี นการสอนโดยเนน้ การปฏิบัติ และส่งเสรมิ การพฒั นาทักษะท่ีเก่ียวขอ้ ง เพื่อการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ 5. เสริมสร้างกระบวนการพัฒนาบัณฑิตสู่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้านนวัตกรรมการเกษตร สุขภาพ และสิ่งแวดลอ้ ม ตัวชีว้ ัด 1. จานวนหลักสูตรท่ีผ่านการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรอยู่ในระดับดีมาก (ทุกหลักสูตร ทกุ ระดับ) 2. ร้อยละของหลกั สูตรท่ีได้รบั ความรว่ มมอื จากภาครฐั หรือเอกชน 3. จานวนนิสติ แลกเปลีย่ นทเี่ ปน็ Inbound (รวมทั้งนสิ ิตในระดับปริญญาตรี และบัณฑติ ศกึ ษา) 4. จานวนนสิ ติ แลกเปลย่ี นท่เี ป็น Outbound (รวมท้งั นสิ ติ ในระดบั ปรญิ ญาตรี และบณั ฑติ ศึกษา) 5. ร้อยละของอาจารย์ตา่ งชาติต่ออาจารย์ประจาทั้งหมด 6. ร้อยละของอาจารย์แลกเปล่ยี นทเี่ ปน็ Inbound ต่ออาจารย์ประจาทง้ั หมด 7. จานวนรายวิชาท่ีมีการบูรณาการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมด้านการเกษตร หรือสุขภาพ หรือ สงิ่ แวดล้อม 8. ร้อยละของนสิ ติ ปรญิ ญาตรีที่ผ่านเกณฑภ์ าษาองั กฤษ ท่มี หาวทิ ยาลัยกาหนด 9. จานวนผลงานวิจยั หรืองานสร้างสรรค์หรอื สงิ่ ประดษิ ฐข์ องนิสิตทกุ ระดับทไ่ี ด้รบั การตีพมิ พ/์ เผยแพร่ ระดบั ชาติ หรอื นานาชาติ 10. รอ้ ยละของนิสติ ท่ีเขา้ รว่ มโครงการ/กจิ กรรมผ้ปู ระกอบการรนุ่ ใหมต่ ่อจานวนนิสิตทง้ั หมด 11. จานวนโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ีมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านการเป็นผู้ประกอบการ และ/หรือนาไปพัฒนาสรา้ งรายได้ระหว่างเรยี น 12. จานวนโครงการ หรือชุดวิชา หรือรายวิชา Upskill/Reskill ที่ส่วนงานดาเนินการให้กับนสิ ิต หรือ ผ้ทู ส่ี นใจ หรอื ศิษย์เก่า 28
ยุทธศำสตร์มหำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ วทิ ยำเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2565 - 2567 ประเดน็ ยุทธศำสตร์ที่ 2 สง่ เสริมกำรสรำ้ งองคค์ วำมรู้กำรวิจัย และนวัตกรรมด้ำนเกษตร สุขภำพ และสิ่งแวดล้อมในระดับสำกล เปำ้ ประสงค์ 1. สร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมด้านเกษตร สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม เพื่อตอบสนองนโยบาย การพัฒนาประเทศ และตอ่ ยอดในเชิงพาณิชย์ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง 2. มีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายทางการวิจัย และนวัตกรรม เกษตร สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ในทุกระดบั กลยทุ ธ์ 1. แสวงหาทนุ วิจัยจากแหลง่ ทุนภายนอก ท้งั ในระดบั ชาติ และนานาชาติ 2. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพนักวิจยั และสิง่ สนบั สนนุ การผลิตงานวิจยั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 3. ส่งเสริมการทางานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการและนโยบายการพัฒนาประเทศและต่อยอด ในเชงิ พาณชิ ย์ 4. ส่งเสรมิ การทาวจิ ัยบรู ณาการแบบสหวิชาการ รว่ มกับภาครฐั และเอกชน ทง้ั ระดับชาติ นานาชาติ 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมอาจารย์/นักวิจัย ท่ีมีความเชี่ยวชาญสู่เวทีการกาหนดนโยบายการพัฒนา งานวจิ ัยเชงิ นโยบาย ตัวช้ีวัด 1. สดั ส่วนเงินสนับสนนุ งานวจิ ัยและงานสร้างสรรค์ต่ออาจารยป์ ระจาและนกั วจิ ยั ทั้งหมด 2. จานวนผลงานทางวชิ าการทงั้ หมดของอาจารย์ประจาและนักวิจยั ท้ังหมด 3. จานวนบทความวชิ าการและบทความวิจัยท่ีตพี ิมพอ์ ยใู่ นวารสารระดบั นานาชาติ ในฐานข้อมูล Scopus 4. ค่าเฉลี่ย H-index ในฐานขอ้ มลู Scopus ของอาจารย์ประจาและนักวจิ ัยทง้ั หมด 5. ร้อยละของบทความวิจัยที่ทาร่วมกับหน่วยงานหรือสถาบันในต่างประเทศที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่ตอ่ บทความวจิ ยั ทงั้ หมด 6. จานวนผลงานนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ท่ีสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหา ให้สังคมและชุมชน ตอบสนองภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการท่องเที่ยว หรืออ่ืน ๆ ซ่ึงตอบโจทย์ให้ประเทศ ตั้งแตร่ ะดบั TRL 4 ข้นึ ไป 7. จานวนผลงานวจิ ัยท่มี ีลักษณะบูรณาการขา้ มสาขา 8. ร้อยละของเงินสนบั สนุนงานวจิ ยั ภายนอกเพิม่ ขน้ึ 9. จานวนงานวิจัยเชงิ นโยบาย 10. จานวนประเดน็ การเสนอเขา้ ร่วมกาหนดนโยบาย ในทุกระดบั 29
ยทุ ธศำสตร์มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2565 - 2567 ประเด็นยุทธศำสตรท์ ี่ 3 พฒั นำกำรบริกำรวชิ ำกำรแบบครบวงจร เปำ้ ประสงค์ 1. พัฒนาระบบบริหารจดั การการบริการวิชาการแบบครบวงจร 2. พัฒนาคณุ ภาพชีวิตเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม แกช่ มุ ชนและสงั คมท้ังในระดับชาติ และนานาชาติ 3. มกี ระบวนการผลติ และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ KU KPS ตลอดหว่ งโซ่อปุ ทาน สูเ่ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั กลยทุ ธ์ 1. สร้างศูนยป์ ระสานงานบริการวิชาการแบบเบด็ เสร็จ (One Stop Service) 2. ส่งเสริมการสร้างความรว่ มมอื ในด้านบริการวิชาการ 3. สง่ เสรมิ การบรกิ ารวิชาการเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและสังคมใหเ้ กิดความเข้มแข็งอยา่ งย่ังยืน 4. สง่ เสรมิ การจัดการผลติ ภัณฑต์ ลอดห่วงโซ่อุปทาน ตัวชว้ี ดั 1. สัดส่วนของรายรับจากการบริการวิชาการแบบคิดค่าบริการ ท่ีได้จากภายนอกมหาวิทยาลัย ต่ออาจารย์ประจาและนักวจิ ยั ทปี่ ฏบิ ัติงานจริง 2. จานวนโครงการบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบาย/ทิศทางการพัฒนา/ยุทธศาสตร์ ระดบั ประเทศหรอื ระดับนานาชาติ 3. จานวนโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่า ทสี่ ามารถนาไปใช้ประโยชน์และส่งเสริมความเขม้ แข็ง แก่ชมุ ชนและสงั คม 4. จานวนประชาชน/เกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่า ท่ีสามารถนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ในการประกอบอาชีพและสรา้ งรายได้ 5. จานวนโครงการบริการวิชาการ/พฒั นาวชิ าการท้งั หมด ที่ส่งผลต่อการเพ่ิมมูลค่าหรือเกิดประโยชน์ ในระดบั ประเทศ 6. จานวนองคค์ วามรู้ ดา้ นบริการวิชาการทน่ี าไปใช้ประโยชน์ 7. ร้อยละของอนุสิทธิบัตร/สิทธิบัตร/ความลับทางการค้า/พันธุ์พืช/พันธ์ุสัตว์/จุลินทรีย์จากการวิจัย ที่นาไปตอ่ ยอดในเชิงพาณิชย์ต่ออนสุ ิทธิบัตรและสิทธิบตั รท้ังหมด 8. จานวนรายรับจากนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ที่สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แก้ไขปัญหา ใหส้ ังคมและชมุ ชน ตอบสนองภาคเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม ภาคการท่องเทยี่ ว หรืออน่ื ๆ 9. จานวนผลิตภณั ฑ์ KU ทมี่ กี ารจดั การตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน 10. ร้อยละของรายได้จากการจาหน่ายผลิตภณั ฑ์ KU 30
ยุทธศำสตรม์ หำวทิ ยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2565 - 2567 ประเด็นยุทธศำสตรท์ ่ี 4 พฒั นำระบบกำรบรหิ ำรจัดกำรเพ่ือควำมเปน็ เลศิ เป้ำประสงค์ 1. พลิกโฉมการบรหิ ารจัดการสู่การบรหิ ารจดั การเชงิ รกุ และเกดิ ความคล่องตัว 2. ผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) 3. มีรายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ จากการบริหารจดั การทรพั ยากรของวทิ ยาเขตกาแพงแสน 4. นสิ ิตและบุคลากรมคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ี 5. เป็นมหาวทิ ยาลยั สเี ขียว (UI GreenMetric) กลยุทธ์ 1. พฒั นาขีดความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศสู่การเป็นมหาวทิ ยาลยั ดิจทิ ัล 2. ผลกั ดันให้มีการบริหารจดั การตามเกณฑ์คุณภาพ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ทม่ี หาวทิ ยาลัยกาหนด 3. สร้างรายได้ท่เี ขม้ แข็งจากระบบเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น ภายในวทิ ยาเขต (Circular Economy) 4. พฒั นาสภาพแวดลอ้ มและระบบการบรหิ ารจดั การท่ีสนับสนนุ การสรา้ งคุณภาพชวี ติ ท่ดี ี 5. ประยุกต์การบริหารจัดการตามเกณฑ์ UI GreenMetric ตัวชว้ี ัด 1. รอ้ ยละของความสาเรจ็ ของแผนการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศทส่ี นบั สนนุ ทุกภารกิจ 2. คะแนนเฉล่ียผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทุกส่วนงาน ที่เขา้ รับการประเมนิ 3. ร้อยละของบุคลากรท่ีไดต้ าแหนง่ ทางวชิ าการ 4. คะแนนเฉลยี่ ของผลการบรหิ ารจดั การหลักสูตร 5. จานวนหลกั สูตรท่ีได้รบั การรับรองมาตรฐานสากล 6. จานวนหลักสตู รทีเ่ ขา้ สู่กระบวนการประเมนิ ตามเกณฑม์ าตรฐานสากล 7. จานวนแนวปฏบิ ัตทิ ดี่ ีทีไ่ ดร้ บั รางวัลในระดับมหาวทิ ยาลยั หรอื ระดบั ประเทศ 8. จานวน Best Practices ทเี่ กดิ จากการปรบั ปรุงกระบวนการในหน่วยงาน 9. จานวนนวตั กรรมทเ่ี กดิ จากการปรบั ปรุงกระบวนการในหนว่ ยงาน 10. ร้อยละของรายได้อน่ื ๆ ที่เพม่ิ ขนึ้ เทยี บกบั ปีที่ผา่ นมา (ยกเวน้ ค่าธรรมเนียมการศึกษา และเงนิ อุดหนุนจากรัฐบาล) 11. ระดบั ความผาสุก (Happy 8) ของนิสติ และบคุ ลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 12. ร้อยละของความสาเร็จของแผนส่งเสริมและพัฒนากีฬา ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเ ขต กาแพงแสน ประจาปี 13. ระดับความผูกพันของนิสติ และบุคลากรทีม่ ตี อ่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน 14. ร้อยละความสาเร็จของแผนการจัดกิจกรรมท่ีตอบสนองต่อผลการจัดอันดับ UI GreenMetric ระดับประเทศของมหาวิทยาลัย ประจาปี 15. ระดับความพึงพอใจของนิสิตในด้านความปลอดภัย พ้ืนที่สีเขียว สภาพแวดล้อม ท้ังระดั บ คณะ วิทยาเขต หรือมหาวิทยาลัย 16. จานวนโครงการเตรยี มความพร้อมในดา้ นสงิ่ แวดล้อม สขุ ภาพ และความปลอดภยั (EHS) 17. จานวนผลงานวจิ ยั นวัตกรรมทส่ี ่งเสรมิ วัฒนธรรมสีเขียว 31
ตวั ชี้วัด ภาพรวม 32
ตวั ช้ีวดั ภำพรวมยุทธศำสตรม์ หำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วทิ ยำเขตกำแพงแสน มิตดิ ำ้ น กำรเรยี นกำรสอน ตัวชี้วัด หน่วย เป้ำหมำยตวั ช้วี ดั 2565 2566 2567 1. รอ้ ยละของหลกั สูตรท่ไี ดค้ ะแนน 3.51 ขึน้ ไป ร้อยละ 30 35 40 คะแนน 3.51 3.51 3.51 2. คา่ เฉลยี่ ผลการบริหารหลกั สูตรภาพรวมวทิ ยาเขต รอ้ ยละ 25 35 40 รอ้ ยละ 3. ร้อยละของหลักสูตรท่ีได้รับความร่วมมอื จากภายนอกทั้งภาครัฐหรือ รางวลั 10 12 14 เอกชน ร้อยละ ร้อยละ 30 35 40 4. ร้อยละของหลักสูตรที่มีรายวิชาท่ีเปิดสอนมีการเรียนการสอนเป็น ภาษาต่างประเทศ คน 0.50 0.75 1.00 50 55 60 5. จานวนรางวัลระดับชาติหรือนานาชาติที่ได้รับจากผลงานวิจัยหรือ คน งานสร้างสรรค์ หรอื สงิ่ ประดษิ ฐ์ของนสิ ิตทุกระดบั 125 130 135 6. ร้อยละของนิสติ ทเ่ี ป็นผูป้ ระกอบการรุ่นใหม่ตอ่ จานวนนสิ ติ ทง้ั หมด 567 7. ร้อยละการตีพิมพ์ผลงานของนิสิตในระดับปริญญาเอกท่ีอยู่ในฐานข้อมูล Scopus ในระดับ Q1 และ Q2 ต่อจานวนผลงานตีพิมพ์ของนิสิต ในระดบั ปรญิ ญาเอกทง้ั หมด 8. จานวนนิสิตที่ได้รับทุนการศึกษา หรือทุนสนับสนุนการวิจัยจากบุคคล หรือองค์กรภายนอกทั้งในประเทศและต่างประเทศ (ไม่นับ กยศ และ กรอ. และทนุ 5A) 9. จานวนศิษย์เก่าที่ได้รับการยกย่องด้านวิชาการหรือด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม หรือ ด้านการบรหิ ารงาน จากหนว่ ยงานภายนอก มติ ดิ ้ำน กำรวจิ ยั ตวั ชว้ี ัด หนว่ ย เปำ้ หมำยตัวชีว้ ดั 2565 2566 2567 1. จานวนเงินสนบั สนนุ งานวจิ ัยหรืองานสร้างสรรค์จากหน่วยงานภายนอก ล้านบาท 145 152 160 710 740 770 2. จานวนผลงานวิจัย/นวัตกรรม ในระดับชาติ/นานาชาติทั้งหมด ภายใน ผลงาน วทิ ยาเขตกาแพงแสน 20 25 30 10 12 15 3. จานวนผลงานวิจัยที่มลี กั ษณะบรู ณาการขา้ มสาขา ผลงาน 15 20 25 4. ร้อยละของบทความวิจัยที่ทาร่วมกับหน่วยงานหรือสถาบันใน ร้อยละ ต่างประเทศทีไ่ ดร้ ับการตีพมิ พเ์ ผยแพร่ตอ่ บทความวจิ ยั ทัง้ หมด 0.2 : 1 0.3 : 1 0.4 : 1 5. จานวนรางวัลผลงานวิจัยทั้งในระดับชาติ/นานาชาติของอาจารย์/ รางวัล นกั วจิ ยั 6. สัดส่วนของบทความวชิ าการและบทความวิจัยที่ตีพิมพ์อย่ใู นวารสาร สัดสว่ น ระดบั นานาชาติ ในฐานขอ้ มลู Scopus ต่ออาจารยป์ ระจาและนักวจิ ัย 33
ตวั ช้วี ัดภำพรวมยุทธศำสตร์มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ วทิ ยำเขตกำแพงแสน มติ ิดำ้ น กำรบริกำรวชิ ำกำร ตวั ช้ีวดั หน่วย เป้ำหมำยตวั ช้วี ัด 2565 2566 2567 1. จานวนชมุ ชนทไี่ ดร้ ับการพฒั นาและสามารถพึ่งพาตนเองได้ ชมุ ชน 6 8 10 2. รายไดร้ วมจากการบริการวชิ าการ (เฉพาะคา่ อานวยการ 3%) ลา้ นบาท 16 18 20 360 380 400 3. รายได้จากโครงการพัฒนาวิชาการทงั้ หมด (100%) ลา้ นบาท 170 185 200 4. จานวนโครงการบริการวิชาการ/พัฒนาวิชาการทั้งหมด ที่ส่งผลต่อ โครงการ 40 45 50 การเพมิ่ มูลคา่ หรือเกิดประโยชนใ์ นระดบั ประเทศ 15 20 25 5. จานวนโครงการบรกิ ารวชิ าการท่สี ง่ เสริมหรอื สร้างอาชพี และรายได้ โครงการ 6. รอ้ ยละสิทธิบตั รและอนุสิทธบิ ตั รท่ีนาไปต่อยอดในเชงิ พาณิชย์ รอ้ ยละ มิตดิ ำ้ น กำรบริหำรจดั กำร ตวั ช้ีวัด หน่วย เปำ้ หมำยตัวชีว้ ัด 2565 2566 2567 1. คะแนนเฉลี่ยผลการตรวจประเมินในระบบคุณภาพ มหาวิทยาลัย คะแนน N/A 200 250 เกษตรศาสตร์ (KUQS) ของทุกสว่ นงานทีเ่ ข้ารับการประเมิน >1.5% >1.5% >1.5% 2. ร้อยละของรายได้อื่น ๆ ท่ีเพิ่มข้ึนเทียบกับปีท่ีผ่านมา (ยกเว้น ร้อยละ ≥3.51 ≥3.70 ≥4.00 ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา และเงินอุดหนนุ จากรัฐบาล) ≥3.51 ≥3.70 ≥4.00 20 22 24 3. ระดับการวัดสภาพแวดล้อมในการทางาน pulse survey หรือ คา่ เฉล่ีย Happy index หรือ Emo-meter ฯลฯ 15 20 25 4. ระดบั ความผูกพันของบคุ ลากรตอ่ องค์กรตาม Engagement factor ค่าเฉลยี่ 5. จานวนโครงการท่ีเกีย่ วข้องกับ SDGs ที่บรรลตุ ามเปา้ หมาย โครงการ (ประกอบด้วย 4 หัวข้อ ได้แก่ 2.ขจัดความหิวโหย 13.การรับมือการเปล่ียนแปลง สภาพภูมิอากาศ 14.การใช้ประโยชน์จากมหาสมุทร 17.การร่วมมือเพอื่ การพัฒนา ที่ยั่งยนื ) 6. ร้อยละของโครงการนวัตกรรมท่ีได้รับรางวัลต่อโครงการนวัตกรรม ร้อยละ ทัง้ หมด 34
ตวั ช้ีวดั แผนยุทธศาสตร์ 35
กลยุทธ์ ตวั ช้วี ดั เป้ำหมำย ตำมแผนยุทธศำสตร์ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 – 2567) ประเดน็ ยทุ ธศำสตรท์ ่ี 1 พัฒนำและบริหำรหลักสตู ร นวตั กรรม เทคโนโลยี เพื่อกำรเรียนรู้ตลอดชวี ิต เปำ้ ประสงค์ 1.1 มีหลักสตู รทค่ี รอบคลุม ต่อกำรพัฒนำประเทศ และกำรเปลี่ยนของสงั คมโลก กลยทุ ธ์ ตัวชวี้ ดั หน่วย เปำ้ หมำยตัวช้ีวดั 2565 2566 2567 1. ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา และ 1. จานวนหลักสูตรท่ีผ่านการประเมิน หลกั สตู ร 456 หลักสูตร นวัตกรรม เทคโนโลยี คุณภาพภายในระดับหลักสูตรอยู่ในระดับ 25 35 40 เพือ่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต และสรา้ ง ดีมาก (ทกุ หลกั สูตร ทุกระดับ) 10 15 20 ความร่วมมือทางวิชาการ วิชาชีพ 2. ร้อยละของหลกั สูตรท่ีได้รับความร่วมมือ รอ้ ยละ 10 15 20 รว่ มกบั ภาครฐั และเอกชน จากภาครัฐหรือเอกชน 577 345 3. จานวนนิสิตแลกเปลี่ยนท่ีเป็น Inbound คน 150 180 200 (รวมทงั้ นิสติ ในระดับปรญิ ญาตรี และบัณฑติ ศกึ ษา) 4. จานวนนิสิตแลกเปลี่ยนท่ีเป็น Outbound คน (รวมทงั้ นสิ ิตในระดบั ปริญญาตรี และบณั ฑติ ศึกษา) 5. ร้อยละของอาจารย์ต่างชาติต่ออาจารย์ รอ้ ยละ ประจาท้ังหมด 6. ร้อยละของอาจารย์แลกเปลี่ยนที่เป็น รอ้ ยละ Inbound ตอ่ อาจารย์ประจาทง้ั หมด 2. บูรณาการรายวิชาร่วมกันด้าน 7. จานวนรายวิชาทม่ี ีการบูรณาการส่งเสริม รายวิชา การเกษตร สุขภาพ และสง่ิ แวดล้อม การสร้างนวัตกรรมด้านการเกษตร หรือ ท้งั ระดบั ชาติ หรอื นานาชาติ สุขภาพ หรือสงิ่ แวดล้อม 36
เปำ้ ประสงค์ 1.2 บณั ฑติ ทม่ี คี ุณภำพและตรงตำมควำมต้องกำรของประเทศ กลยทุ ธ์ ตัวชีว้ ดั หน่วย เปำ้ หมำยตัวชีว้ ดั 2565 2566 2567 3. เสริมสรา้ งคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ 8. ร้อยละของนิสิตปริญญาตรีท่ีผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ >10 >15 >20 30 35 40 ของบัณฑิต มก. และตรงตามความ ภาษาอังกฤษ ท่มี หาวทิ ยาลยั กาหนด 8 12 16 ตอ้ งการของตลาดงานและผู้ใชบ้ ณั ฑิต 246 4. ส่งเสริมระบบการจัดการเรียน 9. จานวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ผลงาน 150 180 200 การสอนโดยเน้นการปฏิบัติ และ หรือสิ่งประดิษฐ์ของนิสิตทุกระดับที่ได้รับ ส่งเสริมการพัฒนาทักษะท่ีเก่ยี วข้อง การตีพมิ พ์/เผยแพร่ระดับชาตหิ รอื นานาชาติ เพื่อการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ 5. เสริมสร้างกระบวนการ พัฒนา 10. ร้อยละของนิสิตท่ีเข้าร่วมโครงการ/ ร้อยละ บัณฑิตสู่ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ กิจกรรมผู้ประกอบการรุ่นใหม่ต่อจานวน ด้านนวัตกรรมการเกษตร สุขภาพ นสิ ิตท้ังหมด และสงิ่ แวดล้อม 11. จานวนโครงการ/กิจกรรมเสริม โครงการ/ หลักสูตรที่มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ กจิ กรรม ด้านการเป็นผู้ประกอบการและ/หรือนาไป พัฒนาสรา้ งรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น 12. จานวนโครงการ หรือชุดวิชา หรือ โครงการ/ รายวิชา Upskill/Reskill ที่ส่วนงาน ชุดวชิ า/ ดาเนินการให้กับนิสิต หรือผู้ท่ีสนใจ หรือ รายวิชา ศษิ ยเ์ กา่ 37
กลยุทธ์ ตวั ชีว้ ดั เปำ้ หมำย ตำมแผนยทุ ธศำสตร์ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 – 2567) ประเดน็ ยุทธศำสตร์ที่ 2 สง่ เสรมิ กำรสร้ำงองคค์ วำมรู้กำรวิจยั และนวัตกรรมด้ำนเกษตร สุขภำพ และสง่ิ แวดลอ้ ม ในระดบั สำกล เป้ำประสงค์ 2.1 สร้ำงผลงำนวิจัย และนวัตกรรมด้ำนเกษตร สุขภำพ และสิ่งแวดล้อม เพื่อตอบสนองนโยบำย กำรพฒั นำประเทศ และต่อยอดในเชิงพำณิชยไ์ ด้อยำ่ งต่อเนอ่ื ง กลยุทธ์ ตวั ชวี้ ดั หนว่ ย เปำ้ หมำยตัวชวี้ ัด 2565 2566 2567 1. แสวงหาทุนวิจัยจากแหล่งทุน 1. สัดส่วนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน บาท/คน 273,000 286,650 301,000 500 550 600 ภายนอก ท้ังในระดับชาติ และ สร้างสรรค์ต่ออาจารย์ประจาและนักวิจัย 310 345 380 0.75 0.78 0.82 นานาชาติ ทงั้ หมด 24 25 26 2. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ 2. จานวนผลงานทางวิชาการท้ังหมดของ ผลงาน 12 14 16 นักวิจัยและส่ิงสนับสนุนการผลิต อาจารยป์ ระจาและนกั วิจยั ทั้งหมด 20 25 30 345 งานวิจยั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 3. จานวนบทความวิชาการและบทความ บทความ วิจัยที่ตีพิมพ์อยู่ในวารสารระดับนานาชาติ ในฐานขอ้ มูล Scopus 3. ส่งเสริมการทางานวิจัยที่ตอบ 4. คา่ เฉล่ยี H-index ในฐานข้อมูล Scopus ค่าเฉล่ีย สนองความต้องการและนโยบาย ของอาจารย์ประจาและนักวิจยั ทง้ั หมด การพัฒนาประเทศและต่อยอด ในเชิงพาณชิ ย์ 4. ส่งเสริมการทาวิจัยบูรณาการ 5. ร้อยละของบทความวิจัยท่ีทาร่วมกับ รอ้ ยละ แบบสหวิชาการ รว่ มกบั ภาครัฐและ หนว่ ยงานหรอื สถาบันในตา่ งประเทศทีไ่ ด้รบั เอกชน ท้งั ระดับชาติ นานาชาติ การตีพิมพ์เผยแพร่ต่อบทความวจิ ยั ทัง้ หมด 6. จานวนผลงานนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ ผลงาน ที่สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ แก้ไข ปัญหาให้สังคมและชุมชน ตอบสนองภาค เกษตร ภาคอตุ สาหกรรม ภาคการท่องเทย่ี ว หรืออื่น ๆ ซ่ึงตอบโจทย์ให้ประเทศ ต้ังแต่ ระดบั TRL 4 ข้นึ ไป 7. จานวนผลงานวิจยั ท่ีมีลักษณะบูรณาการ ผลงาน ข้ามสาขา 8. ร้อยละของเงินสนับสนุนงานวิจัยภายนอก ร้อยละ เพิ่มข้นึ เป้ำประสงค์ 2.2 มสี ว่ นร่วมในกำรกำหนดนโยบำยทำงกำรวจิ ัย และนวัตกรรม เกษตร สุขภำพ และส่ิงแวดล้อม ในทุกระดบั กลยทุ ธ์ ตวั ช้ีวดั หนว่ ย เป้ำหมำยตัวชีว้ ดั 2565 2566 2567 5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมอาจารย์/ 9. จานวนงานวิจัยเชงิ นโยบาย ผลงาน นักวิจัย ที่มีความเชี่ยวชาญสู่เวที 10. จานวนประเด็นการเสนอเข้าร่วม ประเดน็ 8 10 12 การกาหนดนโยบายการพัฒนา กาหนดนโยบาย ในทกุ ระดับ 345 งานวิจัยเชงิ นโยบาย 38
กลยุทธ์ ตัวชีว้ ดั เป้ำหมำย ตำมแผนยุทธศำสตร์ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 – 2567) ประเด็นยทุ ธศำสตร์ที่ 3 พฒั นำกำรบริกำรวิชำกำรแบบครบวงจร เปำ้ ประสงค์ 3.1 พฒั นำระบบบรหิ ำรจัดกำร กำรบริกำรวิชำกำรแบบครบวงจร กลยุทธ์ ตวั ชว้ี ดั หนว่ ย เปำ้ หมำยตวั ชีว้ ดั 2565 2566 2567 1. สร้างศูนย์ประสานงานบริการ 1. สัดส่วนของรายรับจากการบริการ บาท/คน 1,300,000 1,400,000 1,500,000 วิชาการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop วชิ าการแบบคิดค่าบรกิ าร ท่ีได้จากภายนอก Service) มหาวิทยาลัยต่ออาจารย์ประจาและนักวิจัย ทป่ี ฏบิ ัตงิ านจริง 2. ส่งเสริมการสร้างความร่วมมือ 2. จานวนโครงการบริการวิชาการที่ โครงการ 10 12 14 ในด้านบรกิ ารวชิ าการ สอดคล้องกับนโยบาย/ทิศทางการพัฒนา/ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ ห รื อ ร ะ ดั บ นานาชาติ 3. จานวนโครงการบริการวิชาการแบบ โครงการ 14 16 18 ให้เปล่า ท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์และ ส่งเสรมิ ความเข้มแข็งแก่ชุมชนและสงั คม 4. จานวนประชาชน/เกษตรกร ท่ีเข้าร่วม คน 1,400 1,600 1,800 โ ค ร ง ก า ร บ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร แ บ บ ใ ห้ เ ป ล่ า ที่ส าม าร ถนา ควา มรู้ ไป ใช้ ป ระ โย ชน์ ในการประกอบอาชพี และสรา้ งรายได้ 5. จานวนโครงการบริการวิชาการ/พัฒนา โครงการ 170 185 200 วิชาการท้ังหมด ท่ีส่งผลต่อการเพิ่มมูลค่า หรือเกิดประโยชนใ์ นระดับประเทศ 39
เป้ำประสงค์ 3.2 พัฒนำคุณภำพชีวิตเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม แก่ ชุมชนและสังคมท้ังในระดับ ชำติ และ นำนำชำติ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด หน่วย เป้ำหมำยตัวชี้วัด 2565 2566 2567 3. ส่งเสริมการบริการวิชาการเพ่ือ 6. จานวนองค์ความรู้ ด้านบริการวิชาการ องคค์ วามรู้ 100 110 120 พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตชมุ ชนและสังคม ทีน่ าไปใชป้ ระโยชน์ 25 25 25 ให้เกดิ ความเข้มแขง็ อย่างยง่ั ยนื 7. ร้อยละของอนุสิทธิบัตร/ สิทธิบัตร/ รอ้ ยละ 500,000 600,000 700,000 ความลับทางการค้า/ พันธ์ุพืช/ พันธุ์สัตว์/ จุลินทรีย์จากการวิจัยที่นาไปต่อยอดใน เชิงพาณิชย์ต่ออนุสิทธิบัตรและสิทธิบัตร ทง้ั หมด 8. จานวนรายรับจากนวัตกรรมและงาน บาท สร้างสรรค์ ท่ีสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจ แก้ไขปัญหาให้สังคมและชุมชน ตอบสนองภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการท่องเทีย่ ว หรอื อน่ื ๆ เป้ำประสงค์ 3.3 มกี ระบวนกำรผลติ และจำหนำ่ ยผลิตภณั ฑ์ KU KPS ตลอดหว่ งโซ่อุปทำน สู่เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั กลยุทธ์ ตวั ชี้วัด หน่วย เปำ้ หมำยตัวชวี้ ดั 2565 2566 2567 4. ส่งเสริมการจัดการผลิตภัณฑ์ 9. จานวนผลิตภัณฑ์ KU ท่ีมีการจัดการ ผลติ ภณั ฑ์ 72 74 76 ตลอดหว่ งโซ่อุปทาน ตลอดห่วงโซ่อุปทาน >10 >10 >15 10. ร้อยละของรายได้จากการจาหน่าย รอ้ ยละ ผลิตภณั ฑ์ KU 40
กลยุทธ์ ตัวชีว้ ดั เปำ้ หมำย ตำมแผนยทุ ธศำสตร์ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2565 – 2567) ประเดน็ ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 4 พัฒนำระบบกำรบริหำรจดั กำรเพ่อื ควำมเป็นเลิศ เปำ้ ประสงค์ 4.1 พลิกโฉมกำรบรหิ ำรจัดกำรสู่กำรบรหิ ำรจดั กำรเชิงรุกและเกิดควำมคลอ่ งตวั กลยทุ ธ์ ตวั ชีว้ ดั หน่วย เป้ำหมำยตัวช้วี ัด 2565 2566 2567 1. พัฒนาขีดความสามารถด้าน 1. ร้อยละของความสาเร็จของแผนการ ร้อยละ 25 50 80 เทคโนโลยีสารสนเทศสู่การเป็น พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุน มหาวิทยาลัยดิจิทลั ทุกภารกจิ เปำ้ ประสงค์ 4.2 ผลกำรตรวจประเมินในระบบคณุ ภำพ มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ (KUQS) กลยุทธ์ ตวั ชวี้ ดั หน่วย เป้ำหมำยตวั ช้วี ดั 2565 2566 2567 2. ผลักดันให้มีการบริหารจัดการ 2. คะแนนเฉลี่ยผลการตรวจประเมิน คะแนน N/A 200 250 ตามเกณฑ์คุณภาพ มหาวิทยาลัย ในระบบคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เกษตรศาสตร์ (KUQS) ท่ีมหาวิทยาลยั (KUQS) ของทุกส่วนงานทเี่ ขา้ รบั การประเมิน กาหนด 3. ร้อยละของบุคลากรที่ได้ตาแหน่งทาง ร้อยละ 65 70 75 วิชาการ 4. คะแนนเฉล่ียของผลการบริหารจัดการ คะแนน 3.47 3.49 3.51 หลักสูตร 5. จานวนหลักสูตรท่ีได้รับการรับรอง หลักสตู ร N/A 1 2 มาตรฐานสากล 6. จานวนหลักสูตรทเี่ ขา้ ส่กู ระบวนการประเมนิ หลักสตู ร 6 7 9 ตามเกณฑม์ าตรฐานสากล 7. จานวนแนวปฏิบัติที่ดีที่ได้รับรางวัล แนวปฏบิ ัติ 24 28 32 ในระดบั มหาวทิ ยาลยั หรือระดบั ประเทศ 8. จานวน Best Practices ท่ีเกิดจากการ แนวปฏิบัติ 5 10 15 ปรับปรงุ กระบวนการในหนว่ ยงาน 9. จานวนนวัตกรรมท่ีเกิดจากการปรับปรุง นวตั กรรม 10 10 10 กระบวนการในหนว่ ยงาน 41
เปำ้ ประสงค์ 4.3 มีรำยได้เพ่มิ ข้ึนจำกกำรบรหิ ำรจัดกำรทรัพยำกรของวิทยำเขตกำแพงแสน กลยทุ ธ์ ตัวชว้ี ัด หน่วย เป้ำหมำยตวั ช้ีวัด 2565 2566 2567 3. สร้างรายได้ท่ีเข้มแข็งจากระบบ 10. ร้อยละของรายได้อื่น ๆ ท่ีเพิ่มข้ึน รอ้ ยละ >1.5% >1.5% >1.5% เศรษฐกิจหมุนเวียน ภายในวิทยาเขต เทียบกับปีที่ผ่านมา (ยกเว้นค่าธรรมเนียม (Circular Economy) การศึกษา และเงินอุดหนุนจากรัฐบาล) เป้ำประสงค์ 4.4 นสิ ติ และบุคลำกรมคี ุณภำพชีวิตทด่ี ี กลยุทธ์ ตัวชวี้ ดั หนว่ ย เป้ำหมำยตวั ชี้วัด 2565 2566 2567 4. พฒั นาสภาพแวดล้อมและระบบ 11. ระดับความผาสุก (Happy 8) ของนิสิต คา่ เฉล่ีย ≥3.70 ≥3.70 ≥4.00 ร้อยละ การบริหารจัดการท่ีสนับสนุนการ และบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ค่าเฉล่ีย 80 80 80 สร้างคณุ ภาพชีวิตท่ดี ี วิทยาเขตกาแพงแสน ≥3.51 ≥3.70 ≥4.00 12. ร้อยละของความสาเร็จของแผน ส่งเสริมและพัฒนากีฬา ของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ประจาปี 13. ระดับความผูกพันของนิสิต และ บุคลากรที่มีต่อมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน เปำ้ ประสงค์ 4.5 เปน็ มหำวทิ ยำลยั สีเขียว (UI GreenMetric) กลยุทธ์ ตัวชว้ี ดั หน่วย เป้ำหมำยตัวช้ีวดั 2565 2566 2567 5. ประยุกต์การบริหารจัดการตาม 14. ร้อยละความสาเร็จของแผนการจัด ร้อยละ 80 80 80 เกณฑ์ UI GreenMetric กิจกรรมที่ตอบสนองต่อผลการจัดอันดับ คะแนน >4.30 >4.40 >4.50 โครงการ UI GreenMetric ระดับประเทศของ ผลงาน 10 10 10 มหาวทิ ยาลยั ประจาปี 15 20 25 15. ระดับความพึงพอใจของนิสิตในด้าน ความปลอดภยั พ้นื ท่ีสีเขียว สภาพแวดล้อม ทั้งระดับคณะ วิทยาเขต หรือมหาวิทยาลัย 16. จานวนโครงการเตรียมความพร้อม ในด้านส่ิงแวดล้อม สุขภาพ และความ ปลอดภัย (EHS) 17. จานวนผลงานวิจัย นวัตกรรมท่ีส่งเสริม วฒั นธรรมสเี ขียว 42
โครงการ/กจิ กรรม ขับเคล่ือน ยทุ ธศาสตร์ 43
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174