5. สาระการเรียนรู้ วธิ สี อน ส่ือ อุปกรณ์ วิธกี ารและเคร่อื งมือ 1. การตีไมท้ ี่ 1 อธิบาย สถานที่ ประเมนิ 2 .การตีไม้ท่ี 2 ชแ้ี จงคำสัง่ 3 .การตีไม้ท่ี 3 รายช่ือนักเรียน เชค็ ช่อื นักเรยี น อธิบาย นกหวดี 6. สาระการเรยี นรสู้ ่กู ารบูรณาการ สาธิต ยิมสบ์ าส วิชาสงั คมศึกษา ( ประวัตศิ าสตร์ ) คำสั่ง กระบี่ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ นกหวดี สงั เกตพฤติกรรม ยมิ ส์บาส ความตั้งใจในการ กิจกรรม กระบ่ี เรยี น 1. ข้ันเตรียม (เวลา 5 นาท)ี 1.1 ใหน้ ักเรียนน่ังตามกลมุ่ ที่จัดไว้ 1.2 สำรวจรายช่ือ เคร่ืองแต่งกาย และสุขภาพของ นกั เรยี น 1.3 ให้นักเรยี นอบอุน่ รา่ งกาย - ยืนหลังตรง ขาท่ีก้าวไปด้านหลังต้องเหยียดตรง ค่อย ๆดนั สะโพกไปด้านหนา้ จนรู้สึกตงึ ทนี่ อ่ ง - ยืนแยกขา ยกข้อศอกไปไขว้กันด้านหลังศีรษะ โน้มลำตวั ไปดา้ นขา้ ง ทีละข้าง - ประสานนิ้วมือย่ืนไปดา้ นหน้าระดับหัวไหล่ หันฝ่า มอื ออกด้านนอก เหยียดแขนตงึ - ประสานนิ้วไปด้านหลัง ค่อยๆ ยกแขนข้ึนค้างไว้ แล้วปลอ่ ยลง - งอแขนข้ามศีรษะ มือข้างหน่ึงจับข้อศอกอีกข้าง หน่ึง ค่อยๆ ดงึ ข้อศอกลงจนร้สู ึกตึงที่แขน 2. ข้นั สอน (เวลา 10 นาที) 2.1 ใหน้ กั เรยี นจดั แถวตามกลุ่มท่จี ัดไว้ = ครู = นกั เรียน 2.2 ครใู ห้ความรู้เรือ่ งการตีลูกไม้กระบี่ อธบิ าย นกหวดี สังเกตพฤติกรรม
2.3 ครูอธิบายและสาธิตการตีลูกไม้ที่ 1 การตีลูกไม้ที่ สาธติ ยิมสบ์ าส ความต้งั ใจในการ 2 และการตลี ูกไม้ที่ 3 ใหน้ กั เรียนดู คำส่งั กระบี่ เรียน 2.4 นักเรียนฝึกปฏิบัติตามครูทีละขั้นตอน ขณะฝึก ปฏิบัติ ให้นักเรียนบรรยายท่าการตีลูกไม้ตามครูไป อธิบาย นกหวีด สงั เกตพฤติกรรม ด้วย เพ่ือให้จดจำท่า และลำดับข้ันตอนในการตีได้ คำสัง่ ยิมส์บาส ความตงั้ ใจในการฝึก ถกู ตอ้ งแม่นยำ ชี้แจง กระบี่ อธบิ าย ปฏบิ ตั ิ ขณะนักเรียนฝึกปฏิบัติ ครูคอยสังเกต อย่าง นกั เรยี น ใกล้ชิด ให้คำแนะนำและแก้ไขข้อบกพร่อง ชมเชย ปฏิบัติ นกหวีด สังเกตพฤตกิ รรม เม่อื นักเรยี นปฏิบตั ไิ ด้ดี อธบิ าย กระบ่ี ความตั้งใจในการ 3. ขน้ั ปฏิบตั ิ (เวลา 15 นาที) ชี้แจง ใบรายช่ือ 3.1 นักเรียนฝึกการตีลูกไม้ที่ 1 การตีลูกไม้ท่ี 2และ ยมิ ส์บาส ทำงาน การตีลูกไม้ที่ 3 พร้อมๆกันโดยไม่ต้องดูแบบ ขณะ นกหวีด ฝึกปฏิบตั ิ ให้บรรยายทา่ ตามไปดว้ ย ยิมสบ์ าส สงั เกตพฤติกรรม 4. ข้นั นำไปใช้ (เวลา 10 นาท)ี ความตงั้ ใจในการ 4.1 เมื่อเห็นว่านักเรียนส่วนใหญ่ ทำได้แล้ว ให้ นักเรียนสอบปฏิบัติการตีลูกไม้ท่ี 1การตีลูกไม้ท่ี 2 เรยี น และการตีลูกไมท้ ่ี 3 ทีละกลุ่ม 5. ขัน้ สรปุ (เวลา 5 นาที) 5.1 นักเรียนร่วมกันสรุปความสำคัญของปฏิบัติการตี ลูกไม้ที่ 1การตีลูกไม้ท่ี 2 และการตีลูกไม้ที่ 3 / ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม เรื่องการให้ความ ช่วยเหลอื แนะนำแก่เพอ่ื นท่ีมที ักษะด้อยกว่า โดยชว่ ย สอนและฝึกซอ้ มให้เพ่ือน 8. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ กระบ่ี จำนวน 50 เลม่ 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ ยมิ สบ์ าส
9. การวัดและประเมนิ ผล (K-P-A) ส่งิ ท่ีวดั วธิ ีการวัดผล เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ด้านความรู้ (K) : การถาม - ตอบ แบบถาม - ตอบ ผ่านตั้งแตร่ ะดับพอใช้ ด้านทักษะกระบวนการ (P) : ตรวจความถูกต้อง แบบตรวจความถูกตอ้ ง ขึน้ ไป ผ่านต้ังแต่ระดบั พอใช้ ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) : การสงั เกต แบบการสงั เกต ขน้ึ ไป ผ่านตั้งแต่ระดับพอใช้ ขน้ึ ไป 9.1 เกณฑก์ ารประเมิน 1) ด้านความรู้ รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 นกั เรยี นสามารถ 32 นกั เรยี นไม่ 1. นักเรยี นสามารถ บอกขนั้ ตอนการ นกั เรยี นสามารถ นักเรยี นสามารถ สามารถ บอก บอกขน้ั ตอนการ ปฏิบัตกิ ารไมต้ ีท่ี บอกข้ันตอนการ บอกขั้นตอนการ ขน้ั ตอนการ ปฏิบัตกิ ารไมต้ ีท่ี 1 , 2 , 1 , 2 , 3 ไดอ้ ย่าง ปฏบิ ัติการไมต้ ีท่ี ปฏิบตั กิ ารไมต้ ี ปฏิบัตกิ ารไมต้ ี 3 ได้ ถูกต้องครบถว้ นท้ัง ไดอ้ ยา่ งถูกต้องแค่ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ได้ 3 ไม้ 2 ไม้ เพยี งไมเ้ ดยี ว การแปลความหมาย หมายถึง ระดับคุณภาพดมี าก ระดับ 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดับ 3 หมายถึง ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดบั 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพปรบั ปรงุ ระดบั 1
2) ด้านทกั ษะ/กระบวนการ รายการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1 นักเรยี นสามารถ 32 นักเรียนไม่ 1.นักเรียนเกิดทักษะ ปฏบิ ัติการตไี ม้ตี นกั เรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ สามารถ การปฏิบัตกิ ารตีไมต้ ี ได้ถูกต้อง ปฏบิ ัติการตีไม้ตี ปฏบิ ัตกิ ารตไี ม้ตี ปฏิบัติการตีไม้ตี ที่ 1 , 2 , 3 ได้ ครบถว้ นทกุ ไม้ตี ได้ถูกต้อง 2 ไมต้ ี ไดถ้ ูกต้อง 1 ไมต้ ี ได้ การแปลความหมาย หมายถึง ระดับคุณภาพดมี าก ระดบั 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดี ระดบั 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 2 หมายถึง ระดับคุณภาพปรบั ปรุ ระดบั 1 3) ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รายการประเมนิ 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 นักเรียนแสดงออก ถึงความไมต่ ้ังใจใน 1.นักเรียนมีความ นักเรียนแสดงออกถึง นกั เรียนแสดงออกถึง นกั เรยี นแสดงออกถงึ การปฏิบัติ ต้งั ใจในการปฏบิ ัติ ความตั้งใจ ไม่เล่น ไม่ ความตั้งใจ ไม่แกล้ง ความไมต่ ้ังใจในการ ไมต้ ที ี่ 1 , 2 , 3 แกล้งเพื่อน และไม่ทำ แตม่ ีการหยอกล้อบา้ ง ปฏิบัติ แตย่ ังปฏิบัติ รา้ ยเพ่ือน เล็กน้อย ไปได้ การแปลความหมาย หมายถงึ ระดบั คุณภาพดีมาก ระดับ 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดี ระดับ 3 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพปรบั ปรุง ระดบั 1
การปฏบิ ตั ิการใชไ้ ม้ตีท่ี 1 , 2 , 3 การตีลูกไม้กระบ่ี เปน็ การฝึกหัดตีให้ถูกเทคนิคการตีลูกไม้ การตีมีอยู่ 2 ชนิด คือ การตรี ุกและการรับ การตีรุก หมายถึง การที่อีกฝ่ายหน่ึงตีอีกฝ่ายหนึ่งด้วยท่าทางต่างๆส่วนการรับก็หมายถึง การรับการตีของอีก ฝ่ายหนึ่งด้วยท่าทางต่างๆ เช่นเดียวกันกับการตีรุก การฝึกหัดก็จะกำหนดให้ฝ่ายหนึ่งทำหน้าที่เป็นฝ่ายรุก อีก ฝา่ ยฝึกการรับ และผลัดเปล่ียนหนา้ ที่กนั บ้าง คือ ฝ่ายรกุ เปล่ยี นหน้าทเี่ ป็นฝ่ายรบั และฝ่ายรบั ก็กลับมาเป็นฝา่ ย รุก ผฝู้ กึ หัดจะได้รับการฝกึ ท้งั 2 หน้าที่ คือ หน้าทต่ี ีรกุ และหนา้ ทรี่ ับไปในตัว ลกู ไมต้ ีท1่ี ตบี นซ้าย บนขวาขน้ั ตอนการตี มี 2 ขนั้ ตอนดงั นี้ท้งั สองฝ่าย ยนื หนั หน้าเขา้ หา กันในทา่ คุมตี ข้ันตอนที่1 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า ยกกระบ่ีข้ันตีเฉียงลงที่บ่าซ้ายของคู่ต่อสู้ฝ่ายรับ ถอยเท้า ซ้ายพร้อมกบั ยกกระบ่ีข้ึนรับทางซา้ ย ปดิ ลำตัวสว่ นบน ยนื หนั หนา้ เข้าหากนั ในทา่ คมุ ตี . ข้ันตอนท่ี 2 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ตวัดกลับไปตีเฉียงลงท่ีบ่าขวาของคู่ ต่อสูฝ้ ่ายรบั ถอยเท้าขวา พร้อมกับพลิกกระบม่ี ารบั ทางขวาปดิ ลำตัวส่วนบน ลูกไมต้ ีท่ี 2 ตบี นซ้าย บนขวา ล่างซา้ ย ลา่ งขวาขั้นตอนการตี มี 4 ข้นั ตอนดังน้ี ข้นั ตอนท่ี 1 ทั้งสองฝ่าย อยใู่ นทา่ คมุ ตีกระบี่ฝ่ายรุก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า ยกกระบ่ีขึ้นตีเฉียงลงท่ีบ่า ซ้ายของคู่ตอ่ สฝู้ า่ ยรบั ถอยเท้าซา้ ยพร้อมกับยกกระบขี่ น้ึ รับทางซา้ ยปิดลำตัวส่วนบน
ข้ันตอนท่ี 2 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบ่ีกลับไป ตีเฉียงลงที่บ่าขวาของคู่ต่อสู้ ฝ่ายรับ ถอยเท้าขวา พร้อมกับพลิกกระบ่ีข้นึ รบั ทางซ้าย ปิดลำตวั ส่วนบน ข้ันตอนท่ี 3 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ตวัดตีเฉียงลงท่ีขาซ้ายของคู่ต่อสู้ฝ่าย รบั ถอยเท้าขวา พรอ้ มกับพลิกกระบี่ลงตำ่ ไปรับทางซ้ายปิดขา ข้ันตอนท่ี 4 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบี่ กลับไปตีเฉียงลงท่ีขาขวาคู่ต่อสู้ฝ่าย รับ ถอยเท้าขวา พรอ้ มกับพลิกกระบี่ไปรบั ทางขวา ปิดขา ลกู ไมต้ ีท่ี 3 ตีบนซ้าย บนขวา ลา่ งซา้ ย ล่างขวา (ไขว้ขายกตี)ขนั้ ตอนการตี มี 4 ขนั้ ตอนดงั น้ี ข้ันตอนท่ี 1 ท้ังสองฝ่าย อยู่ในท่าคุมตีกระบี่ฝ่ายรุก กา้ วเท้าขวาไปข้างหนา้ พร้อมกับยกกระบขี่ ้ึนตีลง ท่ีบา่ ซา้ ยของคูต่ ่อสูฝ้ ่ายรับ ถอยเท้าซา้ ยพรอ้ มกับยกกระบี่ข้ึนรบั ทางซา้ ยปดิ ลำตัวส่วนบน
ข้ันตอนที่ 2 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบี่กลับไป ตีเฉียงลงท่ีบ่าขวาของคู่ต่อสู้ ฝา่ ยรับ ถอยเท้าขวา พรอ้ มกบั พลกิ กระบข่ี ึ้นรับทางขวา ปิดลำตัวสว่ นบน ข้ันตอนท่ี 3 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบี่กลับ ไปตีเฉียงลงท่ีขาซ้ายของคู่ต่อสู้ ฝา่ ยรับ ถอยเทา้ ซา้ ย พรอ้ มกบั พลกิ กระบ่ีลงต่ำไปรับทางซา้ ยปิดขา ข้ันตอนท่ี 4 ฝ่ายรุก ยกเท้าขวาไปทางซ้าย โดยยกเข่าขึ้นสูงพร้อมกับตวัดกระบี่กลับไปตีเฉียงลงที่ขา ขวาคู่ต่อส้ฝู ่ายรับ ยกเท้าขวาไปทางซา้ ย โดยยกเข่าข้ึนสงู พรอ้ มกบั ตวดั กระบ่ีไปรบั ทางขวาปดิ ขา
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 16 รายวชิ า พลศึกษา 3 รหัสวชิ า พ 22103 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 เรื่อง ทักษะการตี จำนวน 5 ชว่ั โมง เร่ือง ทดสอบไม้ตที ี่ 1 ไมต้ ีท่ี 2 ไมต้ ีท่ี 3 จำนวน 1 ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 .......................................................................................................................................................................... 1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั สาระที่ 3 : การเคลือ่ นไหว การออกกำลงั กาย เกม กฬี าไทยและกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 : เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกมและกีฬา 1. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลท้ังประเภทบคุ คลและทีมอย่างละ 1 ชนดิ มาตรฐาน พ 3.2 : รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาเป็นประจำอย่าง สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มนี ้ำใจนักกฬี ามจี ิตวิญญาณในการแข่งขนั และ ชื่นชมในสนุ ทรียภาพของการกีฬา 1. อธิบายสาเหตุการเปล่ียนแปลงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาท่ีเกิดจากการออก กำลังกายและเลน่ กีฬาเปน็ ประจำจนเป็นวถิ ีชีวิต 2. เลือกเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย และเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ พร้อมท้ัง วเิ คราะห์ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เพอ่ื เป็นแนวทางในการพฒั นาตนเอง 3. มีวินยั ปฏบิ ัตติ ามกฎกตกิ า และขอ้ ตกลงในการเลน่ กฬี าท่ีเลือก 4. วางแผนการรกุ และการป้องกันในการเลน่ กฬี าทเี่ ลือกและนำไปใช้ในการเลน่ อยา่ งเมาะสมกบั ทีม 5. นำผลการปฏบิ ตั ิในการเลน่ กีฬามาสรุปเปน็ วธิ ีทีเ่ หมาะสมกบั ตนเองดว้ ยความมงุ่ มัน่ 2.จุดประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) : นกั เรยี นสามารถ บอกข้ันตอนการปฏิบตั ิการไมต้ ีที่ 1 , 2 , 3 ได้ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) : นักเรียนเกดิ ทกั ษะ การปฏบิ ัติการตไี มต้ ที ่ี 1 , 2 , 3 ได้ ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) : นักเรยี นมีความ ตั้งใจในการปฏบิ ตั ิไม้ตีท่ี 1 , 2 , 3 3. สาระสาคัญ การเรียนภาคปฏิบัติเป็นสิ่งสำคัญ ในการเรียนศิลปะแขนงนี้เม่ือได้ เรียนมากับครูอย่างถูกต้องแล้ว จะทำการแสดง หรือการตีลูกไม้ โดยมรี ะเบยี บประเพณีการเล่นและปฏิบตั ติ ามข้ันตอน 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น เพ่ือใหน้ กั เรียนมคี วามสามารถในการสอ่ื สาร
5. สาระการเรียนรู้ วธิ ีสอน ส่อื อุปกรณ์ สถานท่ี วิธกี ารและ 1. การตีไม้ที่ 1 อธบิ าย รายชื่อนกั เรียน เครื่องมอื 2 .การตีไมท้ ี่ 2 ชแี้ จงคำสง่ั นกหวดี ประเมนิ 3 .การตีไม้ที่ 3 ยมิ สบ์ าส เช็คช่ือนักเรียน อธิบาย กระบี่ 6. สาระการเรียนรู้สู่การบูรณาการ สาธิต สังเกต วิชาสงั คมศึกษา ( ประวตั ิศาสตร์ ) คำสง่ั นกหวีด พฤติกรรมความ ยมิ สบ์ าส 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ กระบ่ี ต้งั ใจในการ เรียน กจิ กรรม 1. ข้ันเตรียม (เวลา 5 นาท)ี 1.1 ให้นักเรียนน่งั ตามกลุ่มท่ีจัดไว้ 1.2 สำรวจรายชื่อ เคร่ืองแต่งกาย และสุขภาพของ นกั เรยี น 1.3 ให้นักเรียนอบอ่นุ ร่างกาย - ยืนหลังตรง ขาที่ก้าวไปด้านหลังต้องเหยียดตรง คอ่ ย ๆดันสะโพกไปด้านหน้า จนรูส้ ึกตึงที่นอ่ ง - ยนื แยกขา ยกข้อศอกไปไขวก้ ันดา้ นหลงั ศรี ษะ โน้ม ลำตวั ไปดา้ นขา้ ง ทลี ะข้าง - ประสานนิ้วมือย่ืนไปด้านหน้าระดับหัวไหล่ หันฝ่า มอื ออกด้านนอก เหยยี ดแขนตึง - งอแขนข้ามศีรษะ มือข้างหน่ึงจับข้อศอกอีกข้าง หน่ึง คอ่ ยๆ ดึงขอ้ ศอกลงจนรู้สึกตงึ ทแ่ี ขน 2. ข้นั สอน (เวลา 10 นาที) 2.1 ใหน้ กั เรยี นจดั แถวตามกลุ่มทีจ่ ดั ไว้ = ครู =นักเรียน 2.2 ครูทบทวนลูกไม้ตีที่ 1 ลูกไม้ตีท่ี 2 และลูกไม้ตีที่ 3 ให้กับนักเรียน พรอ้ มกับใหน้ ักเรยี นปฏิบตั ิตาม
3. ขัน้ ปฏบิ ตั ิ (เวลา 15 นาที) อธิบาย นกหวีด สังเกต 3.1 นักเรียนฝึกปฏิบัติลูกไม้ตีท่ี 1 ลูกไม้ตีท่ี 2 และ คำสั่ง ยมิ สบ์ าส พฤติกรรมความ ลกู ไม้ตีท่ี 3เป็นกลุ่ม ชแ้ี จง กระบี่ ตั้งใจในการฝึก 4. ข้นั นำไปใช้ (เวลา 10 นาท)ี อธบิ าย นกหวดี ปฏบิ ตั ิ กระบ่ี สังเกต 4.1 ให้นักเรยี นกลุ่มทป่ี ฏิบตั ไิ ดแ้ ลว้ ทำการทดสอบลกู ไม้ นกั เรยี น ใบรายช่อื พฤติกรรมความ ยิมสบ์ าส ต้งั ใจในการ ตที ่ี 1 ลูกไมต้ ีท่ี 2 และลูกไม้ตีท่ี 3 ปฏิบตั ิ นกหวีด ทำงาน ยิมส์บาส สงั เกต 5. ขนั้ สรปุ (เวลา 5 นาที) อธบิ าย พฤติกรรมความ 5.1 นักเรียนร่วมกันสรุปลูกไม้ตีที่ 1 ลูกไม้ตีท่ี 2 และ ชแ้ี จง ตั้งใจในการ ลกู ไม้ตีท่ี 3 / ปญั หาและข้อเสนอแนะ เรียน 8. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ กระบ่ี จำนวน 50 เล่ม แบบทดสอบปฏบิ ตั ิ เร่อื งลกู ไม้ตีท่ี 1 ลูกไม้ตีท่ี 2 และลกู ไมต้ ีที่ 3 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ ยมิ สบ์ าส 9. การวัดและประเมนิ ผล (K-P-A) ส่ิงท่ีวดั วิธกี ารวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมนิ ผล ด้านความรู้ (K) : การถาม - ตอบ แบบถาม - ตอบ ผ่านตั้งแต่ระดับพอใช้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) : ตรวจความถูกต้อง แบบตรวจความถูกตอ้ ง ขน้ึ ไป ผ่านตัง้ แตร่ ะดับพอใช้ ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) : การสังเกต แบบการสังเกต ขน้ึ ไป ผา่ นต้งั แตร่ ะดบั พอใช้ ข้นึ ไป
9.1 เกณฑ์การประเมิน 1) ดา้ นความรู้ รายการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1 นักเรียนสามารถ 32 นกั เรียนไม่ 1. นักเรียนสามารถ บอกขนั้ ตอนการ นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ สามารถ บอก บอกขั้นตอนการ ปฏบิ ัตกิ ารไมต้ ีที่ บอกข้นั ตอนการ บอกข้ันตอนการ ขัน้ ตอนการ ปฏิบัติการไมต้ ีที่ 1 , 2 , 1 , 2 , 3 ไดอ้ ย่าง ปฏิบตั กิ ารไมต้ ีที่ ปฏบิ ัตกิ ารไมต้ ี ปฏบิ ตั กิ ารไมต้ ี 3 ได้ ถูกต้องครบถว้ นทง้ั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งแค่ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ได้ 3 ไม้ 2 ไม้ เพียงไมเ้ ดียว การแปลความหมาย หมายถงึ ระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดบั 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรบั ปรุง ระดบั 1 2) ด้านทักษะ/กระบวนการ รายการประเมนิ 4 ระดับคณุ ภาพ 1 นักเรยี นสามารถ 32 นักเรียนไม่ 1.นักเรียนเกดิ ทักษะ ปฏิบตั ิการตีไม้ตี นกั เรียนสามารถ นักเรียนสามารถ สามารถ การปฏิบัตกิ ารตีไมต้ ี ไดถ้ ูกต้อง ปฏิบตั ิการตีไม้ตี ปฏบิ ัตกิ ารตีไม้ตี ปฏิบตั ิการตีไม้ตี ท่ี 1 , 2 , 3 ได้ ครบถ้วนทกุ ไม้ตี ได้ถูกตอ้ ง 2 ไม้ตี ได้ถูกต้อง 1 ไม้ตี ได้ การแปลความหมาย หมายถงึ ระดับคุณภาพดีมาก ระดบั 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดี ระดับ 3 หมายถงึ ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดับ 2 หมายถงึ ระดบั คุณภาพปรับปรุง ระดับ 1
3) ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รายการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1 32 นกั เรียนแสดงออก ถึงความไม่ต้ังใจใน 1.นกั เรียนมีความ นักเรยี นแสดงออกถงึ นกั เรยี นแสดงออกถงึ นกั เรียนแสดงออกถึง การปฏบิ ตั ิ ต้งั ใจในการปฏิบัติ ความตั้งใจ ไม่เลน่ ไม่ ความต้ังใจ ไม่แกล้ง ความไม่ต้ังใจในการ ไม้ตที ี่ 1 , 2 , 3 แกล้งเพื่อน และไม่ทำ แต่มีการหยอกล้อบา้ ง ปฏิบตั ิ แต่ยังปฏบิ ัติ ร้ายเพื่อน เลก็ น้อย ไปได้ การแปลความหมาย หมายถงึ ระดบั คุณภาพดีมาก ระดบั 4 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดับ 3 หมายถึง ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดบั 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรุง ระดับ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 17 รายวิชา พลศกึ ษา 3 รหสั วิชา พ 22103 กลุม่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ทักษะการตี จำนวน 5 ชว่ั โมง เรื่อง ไม้ตีท่ี 4 ไมต้ ีท่ี 5 ไม้ตที ่ี 6 จำนวน 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 .......................................................................................................................................................................... 1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด สาระที่ 3 : การเคล่อื นไหว การออกกำลังกาย เกม กีฬาไทยและกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 : เข้าใจ มที ักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกมและกฬี า 1. เลน่ กีฬาไทยและกฬี าสากลทงั้ ประเภทบุคคลและทีมอยา่ งละ 1 ชนดิ มาตรฐาน พ 3.2 : รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาเป็นประจำอย่าง สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มนี ำ้ ใจนักกีฬามจี ติ วิญญาณในการแข่งขันและ ช่ืนชมในสุนทรียภาพของการกฬี า 1. อธิบายสาเหตุการเปล่ียนแปลงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาที่เกิดจากการออก กำลังกายและเล่นกีฬาเป็นประจำจนเป็นวถิ ีชวี ิต 2. เลือกเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย และเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ พร้อมท้ัง วิเคราะห์ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล เพอื่ เป็นแนวทางในการพฒั นาตนเอง 3. มีวนิ ัยปฏบิ ัติตามกฎกตกิ า และข้อตกลงในการเลน่ กีฬาที่เลือก 4. วางแผนการรุกและการป้องกันในการเลน่ กีฬาทีเ่ ลือกและนำไปใช้ในการเล่นอยา่ งเมาะสมกับทีม 5. นำผลการปฏิบตั ใิ นการเลน่ กฬี ามาสรปุ เปน็ วธิ ีทเี่ หมาะสมกับตนเองดว้ ยความมงุ่ มน่ั 2.จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) : นกั เรยี นสามารถ บอกข้ันตอนการปฏิบัติการไมต้ ีท่ี 4 , 5 , 6 ได้ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) : นักเรียนเกิดทกั ษะ การปฏบิ ัติการตไี มต้ ที ่ี 4 , 5 , 6 ได้ ดา้ นคุณลักษณะ (A) : นกั เรียนมีความ ตั้งใจในการปฏิบัติไม้ตีที่ 4 , 5 , 6 3. สาระสาคัญ การเรียนภาคปฏิบัติเป็นสิ่งสำคัญ ในการเรียนศิลปะแขนงนี้เมื่อได้ เรียนมากับครูอย่างถูกต้องแล้ว จะทำการแสดง หรือการตีลกู ไม้ โดยมรี ะเบียบประเพณีการเล่นและปฏบิ ัติตามข้นั ตอน 4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน เพ่ือให้นักเรยี นมีความสามารถในการสือ่ สาร
5. สาระการเรียนรู้ 1. การตีไม้ที่ 4 2 .การตีไม้ท่ี 5 3 .การตีไมท้ ่ี 6 6. สาระการเรยี นรู้สกู่ ารบูรณาการ วชิ าสงั คมศกึ ษา ( ประวัติศาสตร์ ) 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กิจกรรม วิธีสอน สือ่ อุปกรณ์ วิธกี ารและ สถานท่ี เครื่องมอื 1. ขนั้ เตรยี ม (เวลา 5 นาท)ี อธบิ าย ประเมนิ 1.1 ให้นกั เรยี นน่งั ตามกลุ่มท่ีจัดไว้ ชี้แจงคำส่ัง รายชือ่ เช็คชือ่ 1.2 สำรวจรายชื่อ เคร่ืองแต่งกาย และสุขภาพของ นกั เรียน นกั เรยี น นักเรยี น อธบิ าย นกหวีด 1.3 ให้นักเรียนอบอนุ่ รา่ งกาย สาธติ ยมิ สบ์ าส - ยืนหลังตรง ขาที่ก้าวไปด้านหลังต้องเหยียดตรง ค่อย คำสั่ง กระบี่ ๆดันสะโพกไปดา้ นหน้า จนรสู้ ึกตงึ ที่น่อง - ยืนแยกขา ยกข้อศอกไปไขว้กันด้านหลังศีรษะ โน้ม นกหวีด สังเกต ลำตัวไปด้านข้าง ทลี ะขา้ ง ยมิ สบ์ าส พฤติกรรม - ประสานน้ิวมือยื่นไปด้านหน้าระดับหัวไหล่ หันฝ่ามือ กระบ่ี ความต้งั ใจ ออกด้านนอก เหยียดแขนตงึ ในการเรยี น - ประสานน้ิวไปด้านหลัง ค่อยๆ ยกแขนข้ึนค้างไว้ แล้ว ปล่อยลง - งอแขนข้ามศีรษะ มือข้างหนึ่งจับข้อศอกอีกข้างหน่ึง ค่อยๆ ดงึ ข้อศอกลงจนรสู้ ึกตึงท่แี ขน 2. ขนั้ สอน (เวลา 10 นาที) 2.1 ให้นักเรียนจดั แถวตามกลุ่มทจ่ี ดั ไว้ = ครู = นักเรียน
2.2 ครูให้ความรู้เร่ืองการตลี กู ไม้กระบี่ อธิบาย นกหวดี สังเกต 2.3 ครูอธิบายและสาธิตการตีลูกไม้ที่ 4 การตีลูกไม้ที่ 5 สาธติ ยมิ สบ์ าส พฤติกรรม และการตีลูกไมท้ ่ี 6 ให้นักเรียนดู คำส่งั กระบ่ี ความตงั้ ใจ 2.4 นักเรียนฝึกปฏิบัติตามครูทีละข้ันตอน ขณะฝึก ในการเรยี น ปฏิบัติ ให้นักเรียนบรรยายท่าการตีลูกไม้ตามครูไปด้วย อธบิ าย เพ่ือให้จดจำท่า และลำดับข้ันตอนในการตีได้ถูกต้อง คำสัง่ นกหวีด สงั เกต แม่นยำ ชี้แจง ยมิ ส์บาส พฤติกรรม กระบี่ ความตง้ั ใจ ขณะนักเรียนฝึกปฏิบัติ ครูคอยสังเกต อย่างใกล้ชิด ในการฝกึ ให้คำแนะนำและแก้ไขข้อบกพร่อง ชมเชยเม่ือนักเรียน นกหวีด ปฏิบัติ ปฏิบัตไิ ด้ดี กระบี่ สังเกต 3. ขนั้ ปฏบิ ตั ิ (เวลา 15 นาที) ใบรายช่ือ พฤติกรรมใน 3.1 นกั เรียนฝกึ การตลี ูกไมท้ ่ี 4 การตลี ูกไม้ท่ี 5และ การตี ยมิ ส์บาส การทำงาน ลูกไม้ที่ 6 พร้อมๆกันโดยไม่ต้องดูแบบ ขณะฝึกปฏิบัติ นกหวีด ให้บรรยายท่าตามไปด้วย ยมิ สบ์ าส สังเกต พฤติกรรม 4. ข้ันนำไปใช้ (เวลา 10 นาท)ี อธิบาย ความตั้งใจ 4.1 เมื่อเห็นว่านักเรียนส่วนใหญ่ทำได้แล้ว ให้นักเรียน นักเรียนปฏบิ ตั ิ ในการเรยี น สอบปฏิบัติการตีลูกไม้ที่ 4 การตีลูกไม้ท่ี 5 และการตี ลูกไม้ที่ 6 ทีละกลมุ่ อธบิ าย 5. ข้ันสรุป (เวลา 5 นาท)ี ช้แี จง 5.1 นักเรียนร่วมกันสรุปความสำคัญของปฏิบัติการตี ลูกไม้ที่ 4 การตลี กู ไม้ที่ 5 และการตลี กู ไมท้ ี่ 6 ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ สอดแทรกคุณ ธรรม จริยธรรม เรื่องการให้ความ ช่วยเหลือแนะนำแก่เพ่ือนที่มีทักษะด้อยกว่า โดยช่วย สอนและฝึกซอ้ มให้เพื่อน 8. สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ กระบ่ี จำนวน 50 เล่ม แบบทดสอบปฏิบตั ิ เรื่องลกู ไมต้ ีท่ี 1 ลูกไม้ตีท่ี 2 และลกู ไมต้ ีที่ 3 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ ยมิ สบ์ าส
9. การวดั และประเมนิ ผล (K-P-A) ส่งิ ท่ีวดั วธิ ีการวดั ผล เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ด้านความรู้ (K) : การถาม - ตอบ แบบถาม - ตอบ ผ่านตั้งแตร่ ะดับพอใช้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) : ตรวจความถกู ต้อง แบบตรวจความถูกตอ้ ง ขึน้ ไป ผ่านต้ังแต่ระดบั พอใช้ ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) : การสงั เกต แบบการสงั เกต ขน้ึ ไป ผ่านตั้งแต่ระดับพอใช้ ขน้ึ ไป 9.1 เกณฑก์ ารประเมิน 1) ด้านความรู้ รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 1. นักเรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรยี นสามารถ นกั เรยี นไม่ บอกขนั้ ตอนการ บอกข้นั ตอนการ บอกข้ันตอนการ บอกขั้นตอนการ สามารถ บอก ปฏิบัตกิ ารไมต้ ีท่ี 4 , 5 , ปฏิบัตกิ ารไมต้ ีท่ี ปฏบิ ัติการไมต้ ีท่ี ปฏิบตั กิ ารไมต้ ี ขน้ั ตอนการ 6 ได้ 4 , 5 , 6 ไดอ้ ย่าง ไดอ้ ยา่ งถูกต้องแค่ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ปฏิบัตกิ ารไมต้ ี ถูกต้องครบถว้ นทง้ั 2 ไม้ เพยี งไมเ้ ดยี ว ได้ 3 ไม้ การแปลความหมาย หมายถึง ระดับคุณภาพดมี าก ระดับ 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดี ระดับ 3 หมายถงึ ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดบั 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพปรบั ปรุง ระดบั 1
2) ด้านทักษะ/กระบวนการ รายการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 นักเรียนสามารถ 32 นกั เรียนไม่ 1.นกั เรยี นเกดิ ทักษะ ปฏิบัติการตีไม้ตี นักเรยี นสามารถ นักเรยี นสามารถ สามารถ การปฏิบัตกิ ารตีไมต้ ี ไดถ้ ูกต้อง ปฏบิ ตั กิ ารตีไม้ตี ปฏิบตั ิการตีไม้ตี ปฏบิ ัตกิ ารตไี ม้ตี ที่ 4 , 5 , 6 ได้ ครบถว้ นทกุ ไม้ตี ไดถ้ ูกต้อง 2 ไม้ตี ได้ถูกตอ้ ง 1 ไม้ตี ได้ การแปลความหมาย หมายถงึ ระดับคุณภาพดีมาก ระดบั 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดี ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดับ 2 หมายถึง ระดับคุณภาพปรับปรงุ ระดับ 1 3) ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รายการประเมิน 4 ระดบั คณุ ภาพ 1 32 นักเรียนแสดงออก ถึงความไมต่ ้ังใจใน 1.นักเรียนมีความ นักเรียนแสดงออกถึง นกั เรียนแสดงออกถึง นักเรียนแสดงออกถงึ การปฏิบตั ิ ตัง้ ใจในการปฏิบัติ ความต้ังใจ ไม่เลน่ ไม่ ความตั้งใจ ไม่แกล้ง ความไม่ต้ังใจในการ ไม้ตที ่ี 4 , 5 , 6 แกล้งเพื่อน และไม่ทำ แต่มีการหยอกล้อบา้ ง ปฏบิ ตั ิ แต่ยังปฏิบตั ิ รา้ ยเพ่ือน เลก็ น้อย ไปได้ การแปลความหมาย หมายถงึ ระดับคุณภาพดีมาก ระดบั 4 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดบั 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 2 หมายถึง ระดับคุณภาพปรบั ปรุง ระดับ 1
การปฏบิ ตั ิไม้ตี 4 , 5 , 6 ลูกไม้ตีท่ี 4 ตบี นซา้ ย บนขวา กลางซ้าย กลางขวาขั้นตอนการตี มี 4 ขน้ั ตอนดังน้ี ขน้ั ตอนท่ี 1 ทั้งสองฝ่าย อยู่ในทา่ คมุ ตีกระบ่ีฝ่ายรกุ ก้าวเท้าขวาไปข้างหนา้ ยกกระบ่ีขึ้นตีเฉียงลงที่บ่า ซา้ ยของคตู่ ่อสฝู้ า่ ยรับ ถอยเทา้ ซ้ายพรอ้ มกับยกกระบี่ขึ้นรบั ทางซา้ ยปิดลำตัวสว่ นบน ข้ันตอนที่ 2 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าพร้อมกับตวัดกระบี่กลับไป ตีเฉียงลงที่บ่าขวาของคู่ต่อสู้ ฝ่ายรบั ถอยเท้าขวา พรอ้ มกับพลิกกระบ่ขี น้ึ รับทางซ้าย ปิดลำตวั ส่วนบน ขน้ั ตอนท่ี 3 ฝ่ายรุก กา้ วเทา้ ขวาไปขา้ งหนา้ พร้อมกับยกกระบี่ ตีขนานพ้ืนท่ลี ำตัวข้างซ้าย(บริเวณเอว) ของคู่ต่อสู้ ฝา่ ยรับ ถอยเทา้ ซา้ ย พร้อมกับลดกระบล่ี งตำ่ ตง้ั รับทางซา้ ยปิดลำตวั ส่วนเอว มือซ้ายจบั ปลายกระบี่ ข้นั ตอนที่ 4 ฝ่ายรุก กา้ วเทา้ ซ้ายไปข้างหนา้ พร้อมกับตวัดกระบี่ กลับไปตีลำตวั ส่วนเอวด้านขวาของคู่ ต่อสู้ฝ่ายรับ ถอยเท้าขวาพร้อมกับพลิกกระบ่ีไปต้ังรับทางขวา ปิดลำตัวส่วนเอวมือซ้ายจับปลายกระบี่ให้อยู่ ดา้ นล่างมอื ขวาอยบู่ น
ลูกไม้ตที ี่ 5 ตบี นซ้าย บนขวา กลางซ้าย กลางขวา และตสี งู กลางศีรษะขนั้ ตอนการตี มี 5 ขน้ั ตอนดังนี้ ขัน้ ตอนท่ี 1 ทั้งสองฝ่าย อยูใ่ นทา่ คุมตีกระบ่ีฝ่ายรุก ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า ยกกระบี่ขึ้นตีเฉียงลงท่ีบ่า ซา้ ยของคู่ตอ่ สฝู้ ่ายรับ ถอยเทา้ ซ้าย พร้อมกับยกกระบ่ขี น้ึ รับทางซา้ ยปิดลำตวั ส่วนบน ข้ันตอนที่ 2 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบ่ีกลับไป ตีเฉียงลงที่บ่าขวาของคู่ต่อสู้ ฝ่ายรับ ถอยเท้าขวา พรอ้ มกบั พลิกกระบข่ี ้ึนรับทางซ้าย ปดิ ลำตัวส่วนบน ข้ันตอนท่ี3 ฝ่ายรกุ กา้ วเท้าขวาไปข้างหน้า พรอ้ มกับยกกระบีต่ ขี นานพ้นื ทลี่ า ตวั ขา้ งซ้าย(บรเิ วณเอว) ของคู่ต่อสูฝ้ า่ ยรับ ถอยเท้าซ้าย พรอ้ มกับลดกระบล่ี งต่ำ ตงั้ รบั ทางซา้ ยปิดลำตวั ส่วนเอว มือซา้ ยจับปลายกระบี่ ขัน้ ตอนที่ 4 ฝา่ ยรกุ ก้าวเทา้ ซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบ่ี กลบั ไปตีลำตัวส่วนเอวด้านขวาของคู่ ต่อสู้ฝ่ายรับ ถอยเท้าขวา พร้อมกับพลิกกระบ่ีไปตั้งรับทางขวา ปิดลำตัวส่วนเอว มือซ้ายจับปลายกระบ่ีให้อยู่ ดา้ นลา่ ง มอื ขวาอย่บู น
ข้นั ตอนที่ 5 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าขวาไปขา้ งหน้า พร้อมกับยกกระบ่ีขน้ึ ตีลงกลางศีรษะของค่ตู ่อสู้ (อาจจะตี โดยไมต่ ้องกา้ วเทา้ ก็ได)้ ฝ่ายรับ ถอยเท้าซ้าย พร้อมกบั กระบ่ีขึน้ รับเหนอื ศรี ษะ เข่าทง้ั สองยอ่ ลงเลก็ น้อย ลูกไมต้ ที ่ี 6 ตบี นซา้ ย บนขวา กลางซา้ ย กลางขวา และตสี งู กลางศีรษะขน้ั ตอนการตี มี 6 ข้ันตอนดงั น้ี ขัน้ ตอนที่ 1 ทั้งสองฝ่าย อยูใ่ นท่าคมุ ตีกระบ่ีฝ่ายรกุ ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า ยกกระบ่ีขึ้นตีเฉียงลงที่บ่า ซา้ ยของค่ตู อ่ สู้ฝ่ายรบั ถอยเท้าซ้าย พร้อมกบั กระบีข่ นึ้ รบั ทางซา้ ยปดิ ลำตัวสว่ นบน ข้ันตอนท่ี 2 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า พร้อมกับตวัดกระบ่ีกลับไป ตีเฉียงลงท่ีบ่าขวาของคู่ต่อสู้ ฝ่ายรับ ถอยเท้าขวา พร้อมกับพลกิกระบี่ข้นึ รบั ทางซ้าย ปิดลำตวั สว่ นบน ขัน้ ตอนท่ี 3 ฝา่ ยรุก กา้ วเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกับยกกระบี่ตีขนานพ้ืนท่ีลำตวั ขา้ งซา้ ย (บริเวณเอว) ของค่ตู อ่ สู้ฝ่ายรบั ถอยเทา้ ซา้ ย พรอ้ มกับลดกระบ่ีลงต่ำ ตง้ั รบั ทางซา้ ยปิดลำตัวส่วนเอว มือซา้ ยจบั ปลายกระบี่
ขนั้ ตอนที่ 4 ฝา่ ยรกุ กา้ วเทา้ ซา้ ยไปข้างหนา้ พร้อมกับตวัดกระบี่ กลบั ไปตลี ำตัวสว่ นเอวดา้ นขวาของคู่ ต่อสู้ฝา่ ยรับ ถอยเท้าขวา พร้อมกบั พลกิ กระบี่ไปตง้ั รบั ทางขวา ปิดลำตวั ส่วนเอว มือซ้ายจบั ปลายกระบใ่ี ห้อยู่ ด้านล่าง มือขวาอยบู่ น ขั้นตอนที่ 5 ฝ่ายรกุ กา้ วเท้าขวาไปขา้ งหน้า พรอ้ มกับยกกระบ่ีข้นึ ตลี งกลางศีรษะของคู่ตอ่ สู้(อาจจะตี โดยไมต่ อ้ งก้าวเท้ากไ็ ด)้ ฝ่ายรับ ถอยเทา้ ซ้ายพร้อมกบั ยกกระบข่ี ้ึนรับเหนือศรี ษะ เขา่ ทง้ั สองย่อ ลงเล็กน้อย ขั้นตอนท่ี 6 ฝ่ายรุก ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า(อาจจะไม่ก้าวก็ได้)พร้อมกับยกกระบี่ข้ึนใช้ด้ามกระบ่ี กระแทกลงบนศีรษะของคู่ต่อสู้ฝ่ายรับ ถอยเท้าขวา(อาจจะไม่ถอยก็ได้) มือทั้งสองจับกระบี่ยกข้ึนรับ เข่าทั้ง สองยอ่ ลงต่ำ ดนั กระบร่ี บั การกระแทกชว่ งขอ้ มอื ของฝ่ายรุก
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 18 รายวชิ า พลศึกษา 3 รหัสวชิ า พ 22103 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 เรื่อง ทักษะการตี จำนวน 5 ชว่ั โมง เร่ือง ทดสอบไม้ตที ี่ 4 ไมต้ ีท่ี 5 ไมต้ ีท่ี 6 จำนวน 1 ชวั่ โมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 .......................................................................................................................................................................... 1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั สาระที่ 3 : การเคลือ่ นไหว การออกกำลงั กาย เกม กฬี าไทยและกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 : เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกมและกีฬา 1. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลท้ังประเภทบคุ คลและทีมอย่างละ 1 ชนดิ มาตรฐาน พ 3.2 : รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาเป็นประจำอย่าง สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มนี ้ำใจนักกฬี ามจี ิตวิญญาณในการแข่งขนั และ ชื่นชมในสนุ ทรียภาพของการกีฬา 1. อธิบายสาเหตุการเปล่ียนแปลงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาท่ีเกิดจากการออก กำลังกายและเลน่ กีฬาเปน็ ประจำจนเป็นวถิ ีชีวิต 2. เลือกเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย และเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ พร้อมท้ัง วเิ คราะห์ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เพอ่ื เป็นแนวทางในการพฒั นาตนเอง 3. มีวินยั ปฏบิ ัตติ ามกฎกตกิ า และขอ้ ตกลงในการเลน่ กฬี าท่ีเลือก 4. วางแผนการรกุ และการป้องกันในการเลน่ กฬี าทเี่ ลือกและนำไปใช้ในการเลน่ อยา่ งเมาะสมกบั ทีม 5. นำผลการปฏบิ ตั ิในการเลน่ กีฬามาสรุปเปน็ วธิ ีทีเ่ หมาะสมกบั ตนเองดว้ ยความมงุ่ มัน่ 2.จุดประสงค์การเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) : นกั เรยี นสามารถ บอกข้ันตอนการปฏิบตั ิการไมต้ ีที่ 4 , 5 , 6 ได้ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) : นักเรียนเกดิ ทกั ษะ การปฏบิ ัติการตไี มต้ ที ่ี 4 , 5 , 6 ได้ ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) : นักเรยี นมีความ ตั้งใจในการปฏบิ ตั ิไม้ตีท่ี 4 , 5 , 6 3. สาระสาคัญ การเรียนภาคปฏิบัติเป็นสิ่งสำคัญ ในการเรียนศิลปะแขนงนี้เม่ือได้ เรียนมากับครูอย่างถูกต้องแล้ว จะทำการแสดง หรือการตีลูกไม้ โดยมรี ะเบยี บประเพณีการเล่นและปฏิบตั ติ ามข้ันตอน 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น เพ่ือใหน้ กั เรียนมคี วามสามารถในการสอ่ื สาร
5. สาระการเรยี นรู้ วธิ สี อน สื่อ อุปกรณ์ สถานท่ี วธิ กี ารและ 1. การตีไม้ท่ี 4 อธบิ าย เคร่ืองมือประเมิน 2 .การตีไมท้ ี่ 5 ชี้แจงคำสง่ั 3 .การตีไม้ท่ี 6 รายชื่อนกั เรียน เช็คช่ือนักเรียน อธบิ าย 6. สาระการเรยี นรู้สกู่ ารบูรณาการ สาธติ นกหวีด วิชาสังคมศึกษา ( ประวตั ศิ าสตร์ ) คำสั่ง ยิมสบ์ าส 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ กระบี่ กิจกรรม นกหวดี สงั เกตพฤตกิ รรม 1. ข้นั เตรียม (เวลา 5 นาท)ี ยิมสบ์ าส ความตั้งใจในการ 1.1 ใหน้ ักเรียนน่ังตามกลุม่ ท่ีจดั ไว้ กระบี่ 1.2 สำรวจรายช่ือ เครื่องแต่งกาย และสุขภาพของ เรียน นักเรยี น 1.3 ใหน้ ักเรียนอบอ่นุ รา่ งกาย - ยืนหลังตรง ขาท่ีก้าวไปด้านหลังต้องเหยียดตรง คอ่ ย ๆดันสะโพกไปด้านหนา้ จนรู้สกึ ตงึ ที่น่อง - ยืนแยกขา ยกข้อศอกไปไขว้กันด้านหลังศีรษะ โน้ม ลำตวั ไปด้านข้าง ทลี ะข้าง - ประสานน้ิวมือยื่นไปด้านหน้าระดับหัวไหล่ หันฝ่า มือออกดา้ นนอก เหยียดแขนตงึ - งอแขนข้ามศีรษะ มือข้างหน่ึงจับข้อศอกอีกข้าง หนง่ึ คอ่ ยๆ ดึงข้อศอกลงจนรู้สกึ ตงึ ทแ่ี ขน 2. ขัน้ สอน (เวลา 10 นาที) 2.1 ใหน้ กั เรียนจดั แถวตามกลุ่มท่ีจดั ไว้ = ครู =นกั เรียน 2.2 ครูทบทวนลูกไม้ตีที่ 4 ลูกไม้ตีที่ 5 และลูกไม้ตีท่ี 6 ใหก้ บั นกั เรียน พร้อมกับใหน้ ักเรียนปฏบิ ัตติ าม
3. ข้นั ปฏบิ ัติ (เวลา 15 นาที) อธบิ าย นกหวดี สังเกตพฤตกิ รรม 3.1 นกั เรียนฝึกปฏิบัติลูกไมต้ ีท่ี 4 ลูกไม้ตีท่ี 5 และลูกไม้ คำส่ัง ยิมส์บาส ความตั้งใจในการ ตที ี่ 6เปน็ กลุ่ม ช้ีแจง กระบ่ี 4. ขน้ั นำไปใช้ (เวลา 10 นาท)ี อธบิ าย นกหวดี ฝึกปฏบิ ัติ 4.1 ให้นกั เรียนกลุ่มท่ีปฏิบัติได้แล้วทำการทดสอบลูกไม้ นักเรยี น กระบี่ สงั เกตพฤติกรรม ตีที่ 4 ลูกไม้ตที ี่ 5 และลูกไม้ตที ่ี 6 ปฏิบัติ ใบรายชื่อ ความต้ังใจในการ ยมิ ส์บาส 5. ขัน้ สรุป (เวลา 5 นาท)ี อธิบาย นกหวีด ทำงาน 5.1 นักเรียนร่วมกันสรุปลูกไม้ตีท่ี 4 ลูกไม้ตีท่ี 5 และ ช้แี จง ยมิ ส์บาส ลกู ไมต้ ที ่ี 6 / ปญั หาและข้อเสนอแนะ สงั เกตพฤติกรรม ความตัง้ ใจในการ เรยี น 8. สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 ส่อื การเรียนรู้ กระบ่ี จำนวน 50 เล่ม แบบทดสอบปฏบิ ัติ เรื่องลกู ไมต้ ีท่ี 4 ลูกไม้ตที ่ี 5 และลกู ไม้ตีท่ี 6 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ ยมิ สบ์ าส 9. การวัดและประเมินผล (K-P-A) สง่ิ ท่ีวัด วิธีการวัดผล เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ ารประเมินผล ด้านความรู้ (K) : การถาม - ตอบ แบบถาม - ตอบ ผา่ นตง้ั แต่ระดบั พอใช้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) : ตรวจความถกู ต้อง แบบตรวจความถูกต้อง ขนึ้ ไป ผา่ นต้งั แต่ระดับพอใช้ ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) : การสงั เกต แบบการสงั เกต ขน้ึ ไป ผา่ นตงั้ แตร่ ะดบั พอใช้ ขึ้นไป
9.1 เกณฑก์ ารประเมิน 1) ดา้ นความรู้ รายการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1 32 1. นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นสามารถ นกั เรียนไม่ บอกขนั้ ตอนการ บอกขนั้ ตอนการ บอกข้นั ตอนการ บอกข้ันตอนการ สามารถ บอก ปฏิบตั กิ ารไมต้ ีท่ี 4 , 5 , ปฏิบตั ิการไมต้ ีท่ี ปฏิบตั กิ ารไมต้ ีที่ ปฏบิ ัตกิ ารไมต้ ี ขัน้ ตอนการ 6 ได้ 4 , 5 , 6 ไดอ้ ย่าง ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องแค่ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ปฏบิ ตั กิ ารไมต้ ี ถกู ต้องครบถว้ นท้ัง 2 ไม้ เพียงไมเ้ ดียว ได้ 3 ไม้ การแปลความหมาย หมายถึง ระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดับ 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรบั ปรุง ระดบั 1 2) ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ รายการประเมนิ 4 ระดับคณุ ภาพ 1 นกั เรยี นสามารถ 32 นักเรียนไม่ 1.นักเรยี นเกดิ ทักษะ ปฏิบตั ิการตไี ม้ตี นกั เรียนสามารถ นักเรียนสามารถ สามารถ การปฏิบัตกิ ารตีไมต้ ี ได้ถูกตอ้ ง ปฏิบตั ิการตีไม้ตี ปฏบิ ัตกิ ารตีไม้ตี ปฏิบตั ิการตีไม้ตี ท่ี 4 , 5 , 6 ได้ ครบถว้ นทกุ ไม้ตี ได้ถูกตอ้ ง 2 ไม้ตี ได้ถูกต้อง 1 ไม้ตี ได้ การแปลความหมาย หมายถงึ ระดับคุณภาพดีมาก ระดบั 4 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดับ 2 หมายถงึ ระดบั คุณภาพปรับปรุง ระดบั 1
3) ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รายการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1 32 นกั เรียนแสดงออก ถึงความไม่ต้ังใจใน 1.นกั เรียนมีความ นักเรยี นแสดงออกถงึ นกั เรยี นแสดงออกถงึ นกั เรียนแสดงออกถึง การปฏบิ ตั ิ ต้งั ใจในการปฏิบัติ ความตั้งใจ ไม่เลน่ ไม่ ความต้ังใจ ไม่แกล้ง ความไม่ต้ังใจในการ ไม้ตที ี่ 4 , 5 , 6 แกล้งเพื่อน และไม่ทำ แต่มีการหยอกล้อบา้ ง ปฏิบตั ิ แต่ยังปฏบิ ัติ ร้ายเพื่อน เลก็ น้อย ไปได้ การแปลความหมาย หมายถงึ ระดบั คุณภาพดีมาก ระดบั 4 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดับ 3 หมายถึง ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดบั 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรุง ระดับ 1
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130