Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Lesson Plan

Lesson Plan

Published by S.Theeramat, 2022-05-18 03:31:41

Description: Lesson Plan of M.2 P.E.

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 รายวิชา พลศกึ ษา 3 รหสั วชิ า พ 22103 กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง สมรรถภาพทางกาย จำนวน 2 ชว่ั โมง เรอ่ื ง การพฒั นาสมรรถภาพทางกาย จำนวน 1 ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 .......................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั สาระท่ี 4 การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคา่ และมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การปอ้ งกันโรค และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) : นกั เรียนสามารถ มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับสมรรถภาพทางกายและสัดส่วนร่างกายเบอ้ื งต้น ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) : นักเรียนเกดิ ทักษะ การหาคา่ ของสัดสว่ นของร่างกาย (BMI) ของตนเองได้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) : นักเรยี นมี ความสนกุ สนานในการเข้าร่วมกจิ กรรมภายในช่ัวโมงเรยี น 3. สาระสำคัญ สมรรถภาพทางกาย หมายถึง สภาวะความสมบูรณ์ของร่างกายท่ีจะประกอบกิจกรรมทางกายต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีพลังงานเหลือไว้ใช้ในสภาวะที่จำเป็นสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ( Health – Related Physical Fitness) ความสามารถของระบบต่างๆ ในร่างกายประกอบด้วย ความสามารถเชิงสรีรวิทยาด้านต่างๆ ท่ีช่วย ปอ้ งกันบุคคลจากโรคที่มีสาเหตุจากภาวะการขาดการออกกำลังกาย นับเป็นปัจจัยหรือตัวบ่งชี้สำคัญของการ มีสุขภาพดี ความสามารถหรอื สมรรถนะเหลา่ น้ี สามารถปรับปรุงพัฒนาและคงสภาพได้ โดยการออกกำลังกาย อยา่ งสม่ำเสมอ สมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพมีองคป์ ระกอบ ดังนี้ 1.องค์ประกอบของร่างกาย (Body Composition) ตามปกติแล้วในร่างกายมนุษย์ประกอบ ด้วย กล้ามเน้ือ กระดูก ไขมัน และ ส่วนอื่นๆ แต่ในส่วนของสมรรถภาพทางกายน้ัน หมายถึง สัดส่วน ปรมิ าณไขมนั ในร่างกายกับมวลร่างกายทป่ี ราศจากไขมนั โดยการวัดออกมาเป็นเปอร์เซน็ ต์ไขมัน 2. ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือด (Cardiorespiratory Endurance) หมายถึง สมรรถนะเชิง ปฏิบัติของระบบไหลเวียนเลือด (หัวใจ หลอดเลือด) และระบบหายใจในการลำเลียงออกซิเจนไปยัง เซลล์กล้ามเนอ้ื ทำใหร้ ่างกายสามารถยืนหยัดที่จะทำงานหรือออกกำลังกายท่ีใชก้ ล้ามเนอ้ื มัดใหญ่เป็น ระยะเวลายาวนานได้

3.ความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง พิสัยของการเคลื่อนไหวสูงสุดเท่าที่จะทำได้ ของขอ้ ต่อหรือกลุม่ ขอ้ ต่อ 4.ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อมัดใดมัด หนึ่งหรือกล่มุ กล้ามเนื้อ ในการหดตวั ซำ้ ๆ เพอื่ ตา้ นแรงหรือความสามารถในการหดตวั คร้ังเดียวได้เป็น ระยะเวลายาวนาน 5.ความแขง็ แรงของกล้ามเนื้อ (Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรงท่ีกล้ามเนื้อมัดใด มดั หนง่ึ หรือกลุ่มกล้ามเนื้อสามารถออกแรงตา้ นทานได้ ในช่วงการหดตวั 1 ครั้ง 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน เพื่อใหน้ ักเรียนมีความสามารถในการสอื่ สาร 5. สาระการเรยี นรู้ 1. การวัดส่วนประกอบของดัชนีมวลกาย ( Body Mass Index : BMI ) 2. ลุกนั่ง 60 วนิ าที ( Sit-Ups 60 Seconds ) 3. ดนั พน้ื 30 วินาที ( Push-Ups 30 Seconds ) 4. น่ังงอตวั ไปขา้ งหนา้ ( Sit and Reach ) 6. สาระการเรยี นรู้สกู่ ารบรู ณาการ วิชาสุขศกึ ษาและวชิ าวิทยาศาสตร์ 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ วิธีสอน ส่อื อุปกรณ์ สถานท่ี วธิ กี ารและเคร่ืองมือ อธิบาย ประเมนิ กิจกรรม ช้ีแจงคำสั่ง รายช่อื นักเรียน เชค็ ช่อื นักเรียน 1. ขน้ั เตรยี ม (เวลา 5 นาที) อธบิ าย 1.1 ให้นักเรียนน่ังเปน็ แถวตอนลึก ชแ้ี จงคำส่ัง นกหวีด 1.2 สำรวจรายชื่อ เคร่ืองแตง่ กาย 1.3 แจกใบบันทึกผลการทดสอบ ยมิ ส์บาส 2. ขน้ั สอน (เวลา 10 นาที) 2.1 อธบิ ายวัตถุประสงคข์ องการทดสอบสมรรถภาพ ใบบันทึกผลทดสอบ ทางกาย 2.2 ครูอธิบายขั้นตอนการทดสอบสมรรถภาพโดย ใบความรู้ สงั เกตพฤติกรรม กำหนดการทดสอบ -หาดชั นีมวลกาย (BMI), การลุก– นั่ง 60 วินาที,ดนั พนื้ 30 วนิ าที,นั่งงอตวั นกหวีด ความตง้ั ใจในการ ยิมสบ์ าส เรยี น

3. ขั้นปฏิบัติ (เวลา 15 นาที) อธิบาย นกหวีด สงั เกตพฤตกิ รรม 3.1 ให้นักเรียนจับคู่ผลัดกันทำการทดสอบโดยให้ คำสัง่ ยิมส์บาส ความตัง้ ใจในการ เพ่อื นอกี คนเปน็ คนนบั และบันทึกผล ชแี้ จง ใบบนั ทกึ ผลทดสอบ 3.2 ครใู หส้ ัญญาณเริม่ และหยดุ พรอ้ มท้ังจับเวลา ทำงาน 4. ขั้นนำไปใช้ (เวลา 10 นาท)ี อธบิ าย 4.1 จดบันทกึ ผลการทดสอบ นักเรียน นกหวีด สังเกตพฤติกรรม 4.2 นำผลจากการทดสอบมาเทยี บเกณฑม์ าตรฐาน ปฏบิ ตั ิ ใบบนั ทึกผลทดสอบ ความตง้ั ใจในการ 5. ขน้ั สรปุ (เวลา 5 นาท)ี อธิบาย 5.1 เรยี กนักเรียนรวม ชีแ้ จง ยิมส์บาส ทำงาน 5.2 นำใบทดสอบสมรรถภาพมาประมวลผล นกหวดี สังเกตพฤตกิ รรม 5.3 นดั หมายการเรียนการสอนในคาบถัดไป ยิมสบ์ าส ความตัง้ ใจในการ ใบบันทึกผลทดสอบ เรียน 8. สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ นกหวดี , ใบบนั ทกึ ผลการทดสอบสมรรถภาพ , อุปกรณ์การทดสอบสมรรถภาพ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ ยมิ สบ์ าส 9. การวดั และประเมนิ ผล (K-P-A) ส่ิงที่วัด วิธกี ารวัดผล เครื่องมอื วดั เกณฑก์ ารประเมินผล ด้านความรู้ (K) : ตรวจใบบันทกึ ผล ใบบันทึกผล ผ่าน ตง้ั แตร่ ะดบั พอใช้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) : ตรวจใบบันทกึ ผลฯ ใบบันทึกผลการ ขน้ึ ไป ทดสอบสมรรถภาพ ผ่าน ตงั้ แต่ระดบั พอใช้ ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) : การสงั เกต แบบสังเกต ขน้ึ ไป ผา่ น ต้งั แตร่ ะดับพอใช้ ขนึ้ ไป

9.1 เกณฑก์ ารประเมนิ 1) ด้านความรู้ (K) รายการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1 นักเรียนทำใบ 32 นักเรยี นทำใบ 1. นักเรียนสามารถมคี วามรู้ บันทึกผลได้ นกั เรียนทำใบ นกั เรยี นทำใบ บนั ทกึ ผลได้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั สมรรถภาพ ถกู ต้องมากกวา่ บนั ทกึ ผลได้ บันทกึ ผลได้ ถูกต้องนอ้ ยกว่า และสัดส่วนร่างกายเบื้องตน้ ร้อยละ 90 % ถูกต้องร้อยละ ถูกต้องรอ้ ยละ รอ้ ยละ 59 % 80 - 89 % 60 - 79 % การแปลความหมาย ระดบั 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดมี าก ระดับ 3 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดบั 2 หมายถงึ ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดบั 1 หมายถงึ ระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ หมายเหตุ : ผา่ นเกณฑ์ประเมินรอ้ ยละ 70 ขนึ้ ไป 2) ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 1. นักเรยี นเกิด นักเรียนทำใบ นักเรียนทำใบ นักเรียนทำใบ นักเรียนทำใบ ทักษะการหาค่าของ บนั ทกึ ผลการ บนั ทกึ ผลการ บนั ทึกผลการ บันทึกผลการ สัดสว่ นของร่างกาย ทดสอบไดถ้ กู ต้อง ทดสอบได้ถกู ต้อง ทดสอบได้ถกู ต้อง ทดสอบได้ถกู ตอ้ ง (BMI) ของตนเองได้ มากกวา่ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 90 % 80 - 89 % 60 - 79 % 59 % การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดมี าก ระดบั 3 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดบั 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 1 หมายถงึ ระดับคุณภาพปรับปรงุ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับพอใช้ข้นึ ไป

3) ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 นกั เรียนไมเ่ ข้ารว่ ม กิจกรรมด้วยตนเอง 1.นกั เรียนมีความ นักเรยี นเขา้ ร่วม นักเรียนเข้าร่วม นกั เรยี นเข้ารว่ ม มกี ารโดนเพื่อนหรือ ครูส่งั ให้ทำ สนุกสนานในการ กิจกรรมดว้ ยตนเอง กจิ กรรมด้วยตนเอง กิจกรรมด้วยตนเอง แบบทดสอบ เข้าร่วมกิจกรรม ดว้ ยความเต็มใจ ยม้ิ ด้วยความเต็มใจ ยม้ิ ดว้ ยความเต็มใจ ภายในชั่วโมงเรียน แย้ม หวั เราะ และตั้งใจ แย้ม หัวเราะ ทำแบบทดสอบฯ การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดมี าก ระดับ 3 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรุง หมายเหตุ : ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับพอใช้ขน้ึ ไป

แบบบนั ทึกผล การทดสอบสมรรถภาพทางกายทสี่ ัมพนั ธก์ นั สขุ ภาพ (Health-related physical fitness) ชอ่ื .............................................................................. เพศ ชาย หญิง วัน/เดือน/ปี (เกิด) ...................................................... อาย.ุ ...................ป.ี ................เดอื น น้ำหนัก (Weight)……………………..…….กโิ ลกรมั ส่วนสูง (Height)…….................เซนตเิ มตร ชั้น ม. ../... เลขที่.... กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ)์ วนั ที่ดำเนนิ การทดสอบ ครง้ั ท่ี 1................................................ วันท่ีดำเนินการทดสอบ ครั้งที่ 2................................................ ลำดบั รายการ ทดสอบคร้ังที่ 1 ทดสอบคร้งั ท่ี 2 ท่ี คา่ ท่ีวดั ได้ แปรผล คา่ ทวี่ ัดได้ แปรผล 1 ดัชนมี วลกาย (Body Mass Index) (กิโลกรมั /ตารางเมตร) 2 นงั่ งอตัว (Sit and Reach) (เซนตเิ มตร) 3 นอนยกตัว (Abdominal Curls) (คร้ัง/นาที) 4 ดนั พ้ืน (Push-Ups) (ครั้ง/นาที) 5 เดิน/วิ่ง 1.6 กิโลเมตร (One Mile Walk/Run) (นาที) ลงช่อื ................................................ผู้รับการทดสอบ ลงชอ่ื .........................................ผแู้ ปรผลการทดสอบ หมายเหตุ : เกณฑก์ ารประเมินค่า BMI: นำ้ หนักน้อยกวา่ มาตรฐาน (ผอม) = น้อยกว่า 18.49, นำ้ หนักปกติ = 15.5 - 22.99 นำ้ หนกั เกนิ = 23 - 24.99 อว้ นระดับ 1 = 25 - 29.99, อ้วนระดับ 2 = 30 - 39.99 อว้ นระดับ 3 = มากกว่า 40



แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 รายวชิ า พลศกึ ษา 3 รหัสวชิ า พ 22103 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ความรูเ้ บอื้ งต้นเก่ยี วกับการเลน่ กระบ่ีกระบอง จำนวน 2 ชว่ั โมง เรือ่ ง การพฒั นาสมรรถภาพทางกาย ( ว่ิง 1600 เมตร ) จำนวน 1 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ................................................................................................................................................ .......................... 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด สาระท่ี 4 การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคณุ ค่าและมีทกั ษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรค และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) : นักเรยี นสามารถ มคี วามรู้ความเข้าใจเกยี่ วกบั สมรรถภาพทางกายและสัดสว่ นร่างกายเบ้อื งตน้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) : นักเรียนเกิดทกั ษะ การหาคา่ ของสัดสว่ นของร่างกาย (BMI) ของตนเองได้ ด้านคุณลกั ษณะ (A) : นกั เรียนมี ความสนกุ สนานในการเขา้ ร่วมกิจกรรมภายในชว่ั โมงเรยี น 3. สาระสำคัญ สมรรถภาพทางกาย หมายถึง สภาวะความสมบูรณ์ของร่างกายที่จะประกอบกิจกรรมทางกายต่าง ๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ และมพี ลงั งานเหลือไวใ้ ช้ในสภาวะท่จี ำเป็นสมรรถภาพทางกายเพ่ือสขุ ภาพ ( Health – Related Physical Fitness) ความสามารถของระบบต่างๆ ในร่างกายประกอบด้วย ความสามารถเชิงสรีรวิทยาด้านต่างๆ ท่ีช่วย ป้องกันบุคคลจากโรคที่มีสาเหตุจากภาวะการขาดการออกกำลังกาย นับเป็นปัจจัยหรือตัวบ่งชี้สำคัญของการ มสี ุขภาพดี ความสามารถหรือสมรรถนะเหล่านี้ สามารถปรับปรุงพัฒนาและคงสภาพได้ โดยการออกกำลังกาย อยา่ งสม่ำเสมอ สมรรถภาพทางกายเพอ่ื สุขภาพมีองค์ประกอบ ดังน้ี 1.องค์ประกอบของร่างกาย (Body Composition) ตามปกติแล้วในร่างกายมนุษย์ประกอบ ด้วย กล้ามเนื้อ กระดูก ไขมัน และ ส่วนอื่นๆ แต่ในส่วนของสมรรถภาพทางกายน้ัน หมายถึง สัดส่วน ปริมาณไขมนั ในรา่ งกายกับมวลร่างกายที่ปราศจากไขมัน โดยการวัดออกมาเป็นเปอรเ์ ซน็ ต์ไขมัน 2. ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือด (Cardiorespiratory Endurance) หมายถึง สมรรถนะเชิง ปฏิบัติของระบบไหลเวียนเลือด (หัวใจ หลอดเลือด) และระบบหายใจในการลำเลียงออกซิเจนไปยัง เซลลก์ ล้ามเนอ้ื ทำใหร้ ่างกายสามารถยนื หยัดท่ีจะทำงานหรือออกกำลังกายทใ่ี ชก้ ล้ามเนอื้ มัดใหญ่เป็น ระยะเวลายาวนานได้

3.ความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง พิสัยของการเคลื่อนไหวสูงสุดเท่าที่จะทำได้ ของข้อตอ่ หรอื กล่มุ ขอ้ ต่อ 4.ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscular Endurance) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเน้ือมัดใดมัด หน่ึงหรือกลมุ่ กล้ามเน้ือ ในการหดตัวซำ้ ๆ เพ่อื ต้านแรงหรือความสามารถในการหดตัวคร้ังเดียวได้เป็น ระยะเวลายาวนาน 5.ความแขง็ แรงของกล้ามเน้ือ (Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรงท่ีกล้ามเนื้อมดั ใด มัดหน่ึงหรือกลุม่ กลา้ มเนื้อสามารถออกแรงต้านทานได้ ในช่วงการหดตัว 1 ครง้ั 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น เพื่อให้นกั เรียนมคี วามสามารถในการสอื่ สาร 5. สาระการเรียนรู้ 1. วิ่งระยะไกล ( Distance Run ) 1600 เมตร 6. สาระการเรยี นร้สู ู่การบูรณาการ วชิ าสุขศกึ ษาและวิชาวทิ ยาศาสตร์ 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กิจกรรม วธิ ีสอน ส่ือ อุปกรณ์ สถานที่ วธิ กี ารและ เครอ่ื งมือ 1. ขัน้ เตรียม (เวลา 5 นาที) อธิบาย รายชื่อนกั เรยี น ประเมนิ 1.1 ใหน้ ักเรยี นนง่ั เป็นแถวตอนลกึ ชแ้ี จงคำส่งั นกหวีด เชค็ ชือ่ นักเรียน 1.2 สำรวจรายช่ือ เคร่ืองแตง่ กาย ยิมส์บาส 1.3 แจกใบบนั ทึกผลการทดสอบ อธิบาย สังเกต 2. ขนั้ สอน (เวลา 10 นาที) ชแ้ี จงคำสั่ง ใบบันทกึ ผลการทดสอบ พฤติกรรม 2.1 อธิบายวตั ถปุ ระสงค์ของการทดสอบ ใบความรู้ ความตัง้ ใจใน สมรรถภาพทางกาย อธบิ าย นกหวดี การเรียน 2.2 ครูอธบิ ายขั้นตอนการทดสอบสมรรถภาพโดย คำสง่ั ช้ีแจง ยิมส์บาส กำหนดการทดสอบ - ว่งิ ระยะทางไกล 1600 เมตร สงั เกต 3. ขั้นปฏบิ ตั ิ (เวลา 15 นาที) นกหวดี พฤติกรรม 3.1 ใหน้ ักเรียนจับคู่ผลัดกันทำการทดสอบโดยให้ ยิมสบ์ าส ความตง้ั ใจใน เพื่อนอีกคนเป็นคนนบั และบันทึกผล ใบบันทกึ ผลการทดสอบ การทำงาน 3.2 ครูให้สญั ญาณเริ่มและหยุด พรอ้ มทง้ั จบั เวลา

4. ข้ันนำไปใช้ (เวลา 10 นาที) อธิบาย นกหวดี สงั เกต 4.1 จดบนั ทึกผลการทดสอบ นกั เรยี น ใบบันทึกผลการทดสอบ พฤติกรรม 4.2 นำผลจากการทดสอบมาเทียบเกณฑ์มาตรฐาน ปฏบิ ตั ิ ความตั้งใจใน ยมิ สบ์ าส การทำงาน 5. ขั้นสรปุ (เวลา 5 นาที) อธบิ าย สังเกต 5.1 เรียกนกั เรียนรวม ชีแ้ จง นกหวีด พฤติกรรม 5.2 นำใบทดสอบสมรรถภาพมาประมวลผล ยิมส์บาส ความตัง้ ใจใน 5.3 นดั หมายการเรียนการสอนในคาบถัดไป ใบบนั ทึกผลการทดสอบ การเรียน 8. สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ นกหวีด ใบบนั ทกึ ผลการทดสอบสมรรถภาพ อปุ กรณ์การทดสอบสมรรถภาพ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ ยมิ สบ์ าส 9. การวัดและประเมินผล (K-P-A) สง่ิ ท่ีวัด วิธีการวัดผล เครอ่ื งมือวดั เกณฑ์การประเมนิ ผล ด้านความรู้ (K) : ตรวจใบบันทึกผล ใบบันทกึ ผล ผ่าน ต้ังแตร่ ะดับพอใช้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) : ตรวจใบบันทึกผลฯ ใบบันทกึ ผลการ ขน้ึ ไป ทดสอบสมรรถภาพ ผ่าน ตงั้ แตร่ ะดบั พอใช้ ด้านคุณลกั ษณะ (A) : การสังเกต แบบสงั เกต ข้ึนไป ผา่ น ตั้งแตร่ ะดบั พอใช้ ข้ึนไป

9.1 เกณฑก์ ารประเมนิ 1) ด้านความรู้ (K) รายการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1 นักเรียนทำใบ 32 นักเรยี นทำใบ 1. นักเรยี นสามารถมคี วามรู้ บันทึกผลได้ นกั เรียนทำใบ นกั เรยี นทำใบ บนั ทกึ ผลได้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั สมรรถภาพ ถกู ต้องมากกวา่ บนั ทกึ ผลได้ บันทกึ ผลได้ ถูกต้องนอ้ ยกว่า และสัดส่วนร่างกายเบื้องตน้ ร้อยละ 90 % ถูกต้องร้อยละ ถูกต้องรอ้ ยละ รอ้ ยละ 59 % 80 - 89 % 60 - 79 % การแปลความหมาย ระดบั 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดมี าก ระดับ 3 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดบั 2 หมายถงึ ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดบั 1 หมายถงึ ระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ หมายเหตุ : ผา่ นเกณฑ์ประเมินรอ้ ยละ 70 ขนึ้ ไป 2) ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 1. นักเรยี นเกิด นักเรียนทำใบ นกั เรียนทำใบ นักเรียนทำใบ นักเรียนทำใบ ทักษะการหาค่าของ บนั ทกึ ผลการ บนั ทกึ ผลการ บนั ทึกผลการ บันทึกผลการ สัดสว่ นของร่างกาย ทดสอบไดถ้ กู ต้อง ทดสอบได้ถกู ต้อง ทดสอบได้ถกู ต้อง ทดสอบได้ถกู ตอ้ ง (BMI) ของตนเองได้ มากกวา่ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 90 % 80 - 89 % 60 - 79 % 59 % การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดมี าก ระดบั 3 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดบั 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 1 หมายถงึ ระดับคุณภาพปรับปรงุ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับพอใช้ข้นึ ไป

3) ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 นกั เรียนไมเ่ ข้ารว่ ม กิจกรรมด้วยตนเอง 1.นกั เรียนมีความ นักเรยี นเขา้ ร่วม นักเรียนเข้าร่วม นกั เรยี นเข้ารว่ ม มกี ารโดนเพื่อนหรือ ครูส่งั ให้ทำ สนุกสนานในการ กิจกรรมดว้ ยตนเอง กจิ กรรมด้วยตนเอง กิจกรรมด้วยตนเอง แบบทดสอบ เข้าร่วมกิจกรรม ดว้ ยความเต็มใจ ยม้ิ ด้วยความเต็มใจ ยม้ิ ดว้ ยความเต็มใจ ภายในชั่วโมงเรียน แย้ม หวั เราะ และตั้งใจ แย้ม หัวเราะ ทำแบบทดสอบฯ การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดมี าก ระดับ 3 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรุง หมายเหตุ : ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับพอใช้ขน้ึ ไป



แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 รายวชิ า พลศกึ ษา 3 รหสั วิชา พ 22103 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง ความรูเ้ บื้องต้นเกยี่ วกับการเล่นกระบี่กระบอง จำนวน 2 ชวั่ โมง เรอื่ ง ประวัตคิ วามเปน็ มาของกระบ่กี ระบอง จำนวน 1 ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 .......................................................................................................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด สาระที่ 3 : การเคลอ่ื นไหว การออกกำลังกาย เกม กีฬาไทยและกฬี าสากล มาตรฐาน พ 3.1 : เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกมและกฬี า 1. เลน่ กีฬาไทยและกฬี าสากลทงั้ ประเภทบคุ คลและทีมอยา่ งละ 1 ชนดิ มาตรฐาน พ 3.2 : รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาเป็นประจำอย่าง สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มนี ำ้ ใจนักกีฬามจี ิตวญิ ญาณในการแข่งขนั และ ชนื่ ชมในสนุ ทรียภาพของการกีฬา 1. อธิบายสาเหตุการเปล่ียนแปลงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาที่เกิดจากการออก กำลงั กายและเลน่ กีฬาเป็นประจำจนเปน็ วถิ ชี ีวติ 2. เลือกเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย และเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ พร้อมท้ัง วเิ คราะหค์ วามแตกต่างระหว่างบุคคล เพอ่ื เป็นแนวทางในการพฒั นาตนเอง 3. มีวินัยปฏบิ ตั ติ ามกฎกติกา และขอ้ ตกลงในการเลน่ กฬี าทเ่ี ลือก 4. วางแผนการรกุ และการป้องกันในการเลน่ กีฬาท่เี ลือกและนำไปใช้ในการเลน่ อยา่ งเมาะสมกบั ทีม 5. นำผลการปฏิบัติในการเลน่ กฬี ามาสรปุ เปน็ วธิ ีที่เหมาะสมกับตนเองดว้ ยความมุ่งมัน่ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) : นักเรียนสามารถ มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ประวัตคิ วามเป็นมาของกระบกี่ ระบอง ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) : นักเรยี นเกดิ ทกั ษะ กระบวนการการแสวงหาข้อมลู ข่าวสาร ความรู้ ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) : นกั เรียนมี ความตั้งใจในการเรียนร้ภู ายในชัว่ โมงการเรยี น 3. สาระสำคัญ กระบี่ เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของไทยมาแต่โบราณ ใชใ้ นการสู้รบป้องกันประเทศในยามที่ว่าง จากสงครามจะมีการแข่งขันประลองความสามารถท่ีเรียกว่า “การเล่นกระบี่กระบอง”เพ่ือให้เกิดความ สนุกสนานเพลิดเพลินและเป็นการฝึกซ้อมรบไปในตัว แม้ปัจจุบันเราจะไม่ใชก้ ระบีใ่ นการรบ แต่เราสามารถใช้ ในการออกกำลังกาย และปอ้ งกันตวั ยามคบั ขัน ซงึ่ คนไทยทุกคนควรภูมิใจและรักษาไวเ้ ปน็ มรดกของชาติสบื ไป

4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น เพ่ือให้นกั เรียนมคี วามสามารถในการสื่อสาร 5. สาระการเรยี นรู้ 1. ประวตั ิความเป็นมาของกระบ่กี ระบอง 2. มารยาทการเปน็ ผูเ้ ลน่ ทดี่ ี 6. สาระการเรยี นรู้สูก่ ารบูรณาการ วชิ าสงั คมศกึ ษา ( ประวตั ศิ าสตร์ ) 7. กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอน ส่อื อุปกรณ์ สถานท่ี วิธกี ารและ อธบิ าย รายช่อื นักเรยี น เคร่อื งมือประเมิน กจิ กรรม ชแ้ี จงคำสัง่ นกหวดี เช็คชอื่ นกั เรียน ยิมส์บาส 1. ข้ันเตรียม (เวลา 5 นาท)ี อธิบาย สังเกตพฤติกรรม 1.1 ใหน้ กั เรียนนัง่ ตามอัธยาศัย ชีแ้ จงคำส่ัง ใบความรู้ ความตง้ั ใจในการ 1.2 สำรวจรายชอ่ื เคร่อื งแตง่ กาย นกหวีด 1.3 อธบิ ายขอ้ ตกลงในชัน้ เรียน อธบิ าย ยมิ ส์บาส เรียน 2. ขนั้ สอน (เวลา 10 นาที) คำสง่ั ชี้แจง 2.1 อธิบายประวตั คิ วามเปน็ มา ประโยชนแ์ ละ นกหวีด สังเกตพฤติกรรม คุณค่าของกีฬากระบกี่ ระบอง อธบิ าย ยมิ สบ์ าส ความตง้ั ใจในการ 2.2 เปดิ โอกาสให้นักเรียนซกั ถาม นกั เรยี ปฏบิ ัติ ใบงาน 3. ข้ันปฏิบตั ิ (เวลา 15 นาที) ทำงาน 3.1 นักเรียนศึกษาประวัติความเป็นมาของกระบี่ นกหวีด กระบองประโยชน์และคุณค่าของกระบ่ีกระบอง ใบความรู้ ใบงาน สังเกตพฤตกิ รรม อุปกรณ์การเล่นกระบ่ีและการดูแลรักษา จาก ความตั้งใจในการ เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “ความรู้เบ้ืองต้น ยิมสบ์ าส เก่ียวกับการเล่นกระบี่กระบอง” แล้วตอบคำถาม ทำงาน ลงในใบงาน 4. ขน้ั นำไปใช้ (เวลา 10 นาที) 4.1 นักเรียนแลกกันตรวจใบงาน นักเรียนร่วมกัน เฉลย ครูช่วยเสริมเพ่ือเติมเต็ม หากตอบผิดให้ แกไ้ ข ดว้ ยปากกาสแี ดง ประเมนิ ผล ครชู มเชยผล การปฏิบตั งิ าน

5. ขั้นสรปุ (เวลา 5 นาที) อธบิ าย นกหวดี สงั เกตพฤติกรรม 5.1 นักเรียนร่วมกนั สรปุ ความรทู้ ี่ได้รบั ชแี้ จง ยมิ สบ์ าส ความต้ังใจในการ สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เรยี น 1. ความภาคภูมิใจในศิลปะป้องกันตัวประจำชาติ ของไทย 2. การชว่ ยกันอนุรกั ษ์การเล่นกระบ่ีกระบองไวเ้ ป็น มรดกของชาติมใิ หส้ ูญหาย 3. มารยาทของการเป็นผเู้ ล่นผดู้ ูท่ีดี 8. สือ่ และแหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ นกหวีด , เอกสารประกอบการเรยี น เร่ือง “ความรู้เบ้อื งต้นเกย่ี วกับการเลน่ กระบ่ี กระบอง” 50เล่ม , ใบงานเรือ่ ง ความรู้เบอื้ งตน้ เกี่ยวกับการเลน่ กระบกี่ ระบอง ห้องละ 50 ชดุ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ ยิมสบ์ าส 9. การวดั และประเมนิ ผล (K-P-A) สงิ่ ท่ีวัด วิธีการวดั ผล เครอ่ื งมือวดั เกณฑ์การประเมินผล ด้านความรู้ (K) : การถาม - ตอบ แบบการถาม - ตอบ ผ่านตั้งแตร่ ะดบั พอใช้ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) : การตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบฯ ขน้ึ ไป ผ่านตั้งแต่ระดบั พอใช้ ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) : การสงั เกต แบบสังเกต ขึ้นไป ผา่ นต้ังแต่ระดบั พอใช้ ขนึ้ ไป

9.1 เกณฑก์ ารประเมนิ 1) ด้านความรู้ รายการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1 32 1. นกั เรียนสามารถมี นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นกั เรียนตอบ ความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับ ตอบคำถามได้ ตอบคำถามได้ ตอบคำถามได้ คำถามได้น้อย ประวัติความเปน็ มาของ ถูกต้องมากกวา่ ถกู ต้อง 6 – 7 ข้อ ถกู ต้อง 3 – 5 ข้อ กวา่ หรือเท่ากับ กระบ่ีกระบอง 7 ขอ้ ขนึ้ ไป จาก 10 ข้อ จาก 10 ข้อ 2 ขอ้ จาก 10 ข้อ การแปลความหมาย ระดบั 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดีมาก ระดับ 3 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดบั 1 หมายถงึ ระดบั คุณภาพปรบั ปรุง หมายเหตุ : ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับพอใช้ขึน้ ไป 2) ด้านทักษะ/กระบวนการ รายการประเมนิ 4 ระดบั คณุ ภาพ 1 นกั เรยี น 32 นักเรียนแสวงหา 1. นกั เรยี นเกดิ ทักษะ แสวงหาข้อมลู นกั เรียนแสวงหา นักเรียนแสวงหา ข้อมูลแตต่ อบ กระบวนการการ และตอบ ขอ้ มลู และตอบ ขอ้ มลู และตอบ แบบทดสอบได้ แสวงหาขอ้ มลู แบบทดสอบได้ แบบทดสอบได้ แบบทดสอบได้ ถูกต้องนอ้ ยกวา่ ขา่ วสาร ความรู้ ถกู ต้องมากกว่า ถกู ต้องตงั้ แต่ ถูกต้องตั้งแต่ 64 % ลงไป 90 % ขน้ึ ไป 80 - 89 % 65 - 79 % การแปลความหมาย ระดบั 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 3 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 1 หมายถึง ระดับคุณภาพปรับปรงุ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับพอใช้ขน้ึ ไป

3) ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รายการประเมนิ 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 นักเรียนไมต่ ้ังใจ ปฏิบัติงาน เล่นหรือ 1. นักเรยี นมี นักเรียนแสดงออกถงึ นักเรียนแสดงออกถึง นักเรยี นแสดงออกถึง แกลง้ เพ่ือน ความตั้งใจในการ การต้ังใจปฏบิ ัติงาน การตงั้ ใจปฏบิ ตั ิงาน การตง้ั ใจปฏบิ ัติงาน เรยี นรภู้ ายใน แสวงหาข้อมลู ด้วย แสวงหาข้อมูล ไม่เลน่ แสวงหาข้อมูล ชัว่ โมงการเรียน ตนเอง ไมเ่ ล่นหรือ หรือแกล้งเพ่ือนคนอนื่ แกล้งเพ่ือนคนอน่ื การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดมี าก ระดับ 3 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดบั 2 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถงึ ระดบั คุณภาพปรับปรงุ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดบั พอใช้ขน้ึ ไป

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 4 รายวชิ า พลศึกษา 3 รหัสวชิ า พ 22103 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกับการเลน่ กระบ่ีกระบอง จำนวน 2 ชวั่ โมง เรือ่ ง มารยาทท่ดี แี ละวธิ ีการดแู ลรกั ษากระบกี่ ระบอง จำนวน 1 ช่วั โมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2 ................................................................................................................................................................... 1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั สาระที่ 3 : การเคลื่อนไหว การออกกำลงั กาย เกม กีฬาไทยและกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 : เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กจิ กรรมทางกาย การเล่นเกมและกฬี า 1. เลน่ กีฬาไทยและกีฬาสากลทงั้ ประเภทบุคคลและทีมอยา่ งละ 1 ชนดิ มาตรฐาน พ 3.2 : รกั การออกกำลงั กาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬาเป็นประจำอย่าง สมำ่ เสมอ มีวนิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนำ้ ใจนกั กีฬามีจิตวิญญาณในการแข่งขนั และ ชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1. อธิบายสาเหตุการเปลี่ยนแปลงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาท่ีเกิดจากการ ออกกำลงั กายและเลน่ กีฬาเปน็ ประจำจนเป็นวิถชี วี ิต 2. เลือกเข้ารว่ มกิจกรรมการออกกำลังกาย และเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ พรอ้ มทั้ง วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล เพอื่ เป็นแนวทางในการพฒั นาตนเอง 3. มวี นิ ัยปฏิบัตติ ามกฎกตกิ า และข้อตกลงในการเลน่ กีฬาทเี่ ลอื ก 4. วางแผนการรุกและการป้องกันในการเล่นกีฬาท่ีเลือกและนำไปใช้ในการเลน่ อย่างเมาะสมกับ ทมี 5. นำผลการปฏิบตั ิในการเลน่ กีฬามาสรุปเปน็ วธิ ที เ่ี หมาะสมกบั ตนเองดว้ ยความม่งุ มั่น 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) : นกั เรยี นสามารถ มคี วามร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกับมารยาทท่ดี แี ละวธิ ีการดแู ลรกั ษากระบ่ีกระบอง ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) : นักเรียนเกิดทกั ษะ กระบวนการการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ดา้ นคุณลักษณะ (A) : นกั เรียนมี ความต้ังใจในการเรยี นรู้ภายในชว่ั โมงการเรียน 3. สาระสำคญั กระบ่ี เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของไทยมาแต่โบราณ ใช้ในการสู้รบป้องกันประเทศในยาม ที่ว่างจากสงครามจะมีการแข่งขันประลองความสามารถที่เรียกว่า “การเล่นกระบี่กระบอง”เพ่ือให้เกิด ความสนุกสนานเพลิดเพลินและเป็นการฝึกซ้อมรบไปในตัว แม้ปัจจุบันเราจะไม่ใช้กระบี่ในการรบ แต่เรา สามารถใช้ในการออกกำลังกาย และป้องกันตัวยามคับขัน ซ่ึงคนไทยทุกคนควรภูมิใจและรักษาไว้เป็น มรดกของชาติสบื ไป

4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น เพื่อใหน้ กั เรยี นมีความสามารถในการส่ือสาร 5. สาระการเรียนรู้ 1. การดแู ลรักษากระบ่กี ระบอง 2. มารยาทการเป็นผ้เู ลน่ ท่ดี ี 6. สาระการเรยี นรู้สกู่ ารบูรณาการ วชิ าการงานอาชีพ ( งานบ้าน ) , วิชาสังคมศกึ ษา ( มารยาทไทย ) 7. กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรม วิธีสอน สอ่ื อุปกรณ์ สถานท่ี วิธกี ารและเคร่อื งมือ นกหวีด ประเมิน 1. ขน้ั เตรียม (เวลา 5 นาที) อธบิ าย ยมิ สบ์ าส 1.1 ใหน้ กั เรยี นนง่ั ตามอธั ยาศัย ช้ีแจงคำส่ัง เช็คชือ่ นักเรียน 1.2 สำรวจรายชือ่ เคร่อื งแต่ง ใบความรู้ 1.3 อธิบายขอ้ ตกลงในชน้ั เรียน อธบิ าย นกหวดี สังเกตพฤตกิ รรม 2. ข้นั สอน (เวลา 10 นาที) ชี้แจงคำสงั่ ยมิ ส์บาส ความตงั้ ใจในการ 2.1 อธิบายกฎ กติกาของการแข่งขันกระบี่ กระบอง ระเบียบประเพณีอันดีงามในการเล่น อธบิ าย นกหวดี เรียน กระบี่กระบอง และหลักการเล่นกระบ่ีด้วยความ ชแี้ จงคำส่ัง ยิมส์บาส ปลอดภัยให้นักเรียนฟัง สังเกตพฤติกรรม 2.2 เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถาม อธบิ าย นกหวีด ความตั้งใจในการ 3. ขั้นปฏบิ ตั ิ (เวลา 15 นาที) นกั เรยี นปฏิบัติ ใบความรู้ 3.1 นักเรียนศึกษาระเบียบประเพณีอันดีงามใน ใบงาน ทำงาน การเล่นกระบ่ีกระบอง และหลักการเล่นกระบ่ี ยิมสบ์ าส ด้วยความปลอดภัย จากเอกสารประกอบการ สังเกตพฤตกิ รรม เรียน เร่ือง “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเล่น ความต้ังใจในการ กระบกี่ ระบอง” แล้วตอบคำถามลงในใบงาน 4. ขัน้ นำไปใช้ (เวลา 10 นาท)ี ทำงาน 4.1 นักเรียนแลกกนั ตรวจใบงาน นักเรียนร่วมกัน เฉลย ครูช่วยเสริมเพื่อเติมเต็ม หากตอบผิดให้ แก้ไข ด้วยปากกาสีแดง ประเมินผล ครูชมเชย ผลการปฏิบัตงิ าน

5. ขั้นสรุป (เวลา 5 นาที) อธิบาย นกหวดี สังเกตพฤตกิ รรม 5.1 นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความร้ทู ไ่ี ดร้ บั ช้ีแจง ยิมส์บาส ความตั้งใจในการ เรยี น 8. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ นกหวดี เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง “ความรเู้ บื้องต้นเกย่ี วกบั การเลน่ กระบ่ี กระบอง” 50เล่ม ใบงานเรื่อง ความรู้เบื้องตน้ เกย่ี วกบั การเลน่ กระบี่กระบอง หอ้ งละ 50 ชดุ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ ยมิ ส์บาส 9. การวัดและประเมินผล (K-P-A) สิง่ ที่วดั วิธกี ารวดั ผล เครอ่ื งมือวัด เกณฑ์การประเมนิ ผล แบบการถาม - ตอบ ผา่ นตงั้ แต่ระดับพอใช้ ดา้ นความรู้ (K) : การถาม - ตอบ แบบทดสอบฯ ขน้ึ ไป ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) : การตรวจ ผา่ นตง้ั แตร่ ะดบั พอใช้ ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) : แบบทดสอบ แบบสังเกต การสงั เกต ขึ้นไป ผา่ นตัง้ แตร่ ะดับพอใช้ 9.1 เกณฑก์ ารประเมิน 1) ด้านความรู้ รายการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1 32 1. นักเรียนสามารถ นกั เรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรยี นตอบ มีความ รู้ความเข้าใจ ตอบคำถามได้ ตอบคำถามได้ ตอบคำถามได้ คำถามได้น้อย เก่ียวกับมารยาทท่ีดีและ ถกู ต้องมากกวา่ 7 ถกู ต้อง 6 – 7 ข้อ ถกู ต้อง 3 – 5 กว่าหรือเทา่ กับ 2 วิธีการดูแลรักษากระบ่ี ข้อขน้ึ ไป จาก 10 ข้อ ขอ้ จาก 10 ข้อ ข้อจาก 10 ข้อ กระบอง การแปลความหมาย ระดบั 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดีมาก ระดบั 3 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดับ 2 หมายถงึ ระดบั คุณภาพพอใช้ ระดบั 1 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรุง

2) ด้านทกั ษะ/กระบวนการ รายการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1 32 นกั เรียนแสวงหา ข้อมลู แต่ตอบ 1. นักเรียนเกดิ นักเรียนแสวงหา นักเรยี นแสวงหา นกั เรยี นแสวงหา แบบทดสอบได้ ถกู ต้องนอ้ ยกว่า ทกั ษะกระบวนการ ข้อมูลและตอบ ข้อมูลและตอบ ขอ้ มลู และตอบ 64 % ลงไป การแสวงหาข้อมูล แบบทดสอบได้ แบบทดสอบได้ แบบทดสอบได้ ข่าวสาร ความรู้ ถกู ต้องมากกว่า ถกู ต้องต้ังแต่ ถกู ต้องตง้ั แต่ 90 % ขนึ้ ไป 80 - 89 % 65 - 79 % การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดมี าก ระดบั 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพดี ระดบั 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถงึ ระดบั คุณภาพปรับปรงุ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับพอใช้ขนึ้ ไป 3) ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ รายการประเมนิ 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32 นกั เรยี นไมต่ ั้งใจ ปฏิบัติงาน เล่นหรือ 1. นักเรยี นมี นกั เรยี นแสดงออกถึง นกั เรยี นแสดงออกถึง นกั เรียนแสดงออกถึง แกล้งเพื่อน ความตั้งใจในการ การตง้ั ใจปฏิบัติงาน การต้งั ใจปฏบิ ตั ิงาน การตงั้ ใจปฏิบตั ิงาน เรยี นร้ภู ายใน แสวงหาข้อมลู ด้วย แสวงหาข้อมลู ไม่เล่น แสวงหาข้อมูล ชั่วโมงการเรียน ตนเอง ไมเ่ ล่นหรือ หรือแกล้งเพื่อนคนอื่น แกล้งเพ่ือนคนอ่ืน การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดีมาก ระดับ 3 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดบั 2 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ระดับคุณภาพปรบั ปรุง หมายเหตุ : ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดบั พอใช้ขน้ึ ไป

บทท่ี 1 ประวัตคิ วามเปน็ มาของการเลน่ กระบี่ ลงช่ือ................ก...ร....ะ......บ......อ......ง............./........................./..................ฝ..่.า.ยวชิ าการ กระบก่ี ระบอง เป็นศลิ ปะการต่อสู้ของไทยมาช้านาน เป็นอาวธุ ทผ่ี ู้ชายไทยสมยั โบราณใชต้ ่อสู้ ป้องกันตัวกับข้าศึกยามสงคราม และนำมาฝึกซ้อมและเล่นในยามสงบ เพ่ือเป็นการเตรียมพร้อมไป ในตัว โดยจัดให้มีการแข่งขันเป็นคู่ๆ เรียนกว่า “การเล่นกระบ่ีกระบอง” โดยเอาหวายมาทำเป็น กระบี่ ดาบ ง้าว เป็นตน้ ประวตั ิเรม่ิ ต้นของการเล่นกระบ่กี ระบองไม่ทราบวา่ เกิดข้ึนในสมยั ใครเป็นผู้ คิดค้น จากหลักฐานท่ีพอจะอ้างอิงได้ว่ากระบ่ีกระบองมีมาแล้วต้ังแต่รัชกาลที่ 2 แห่งกรุง รตั นโกสินทร์ สมัยรัชกาลท่ี 4 ทรงโปรดปรานกระบี่กระบองมากเป็นพิเศษ โปรดให้สมเด็จพระเจ้าลูกยา เธอหลายพระองค์ทรงหัดกระบ่ีกระบอง และมีการแสดงสมโภชหน้าพระอุโบสถวัดพระศรีรัตน ศาสดาราม เม่ือปี 2409 ประชาชนทั่วไปนิยมจัดให้มีการเล่นในงานสมโภชต่างๆ เช่น งานบวชนาค ทอดกฐิน ทอดผา้ ปา่ โกนจกุ เป็นต้น รัชกาลที่ 5 ทรงเคยศึกษากระบี่กระบอง มวย และฟันดาบ กับหลวงมลโยธานุโยค และได้ ทรงฝึกให้มีการแสดงหนา้ พระท่ีนง่ั อยู่เนอ่ื งๆ รชั กาลท่ี 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ทรงโปรดในวิชานาฏศิลป์มากทำให้การ เลน่ กระบก่ี ระบองน้อยลง แต่มวยไทยกลับเปน็ ท่นี ิยมมากขน้ึ สมัยรชั การที่ 7 กระบ่ีกระบองเกอื บจะสญู หายไปจนหาดไู มไ่ ด้เลย อาจารย์นาค เทพหัสดนิ ณ อยุธยา เป็นผูท้ ่มี คี วามรักใคร่ศลิ ปะการเล่นกระบี่กระบองมาก ได้ ศึกษาการเล่นกระบ่ีกระบองจากบิดามาตั้งแต่เด็ก เมื่อท่านได้เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนพลศึกษา กลาง ได้เปิดสอนวิชากระบ่ี-กระบองให้กับนักศึกษาในปี พ.ศ. 2478 ต่อมาในปี พ.ศ. 2479 ได้บรรจุ วิชากระบ่กี ระบองไว้ในหลกั สตู รของครูผสู้ อนพลศกึ ษาเป้นคร้งั แรกจนถงึ ทกุ วนั นี้ พ.ศ. 2518 กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้วิชากระบี่กระบองเป็นวิชาพละศึกษา วิชาบังคับ ชนั้ ม.4 พ.ศ. 2521 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนดให้วิชากระบี่กระบองเป็นสว่ นหน่ึงของวชิ าพลศึกษา เป็นวิชาบังคับให้เรียนในช้ัน ม.2 ซ่ึงคนไทยทุกคนควรภูมิใจและรักษาการเล่น “กระบี่กระบอง” ไว้ เปน็ ศิลปะประจำชาติสืบไป

ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของการเลน่ กระบกี่ ระบอง 1. เป็นการฝึกการต่อสู้การป้องกันตัว และสามารถใช้ต่อสู้ป้องกันตัวยามขับขัน หรือผ่อน หนกั ให้เป็นเบาได้ 2. เป็นการรกั ษาศิลปะปอ้ งกนั ตัวประจำชาติของไทยไวม้ ใิ ห้สญู หายไปจากแผน่ ดินไทย 3. ทำใหร้ ่างกายแข็งแรง เพราะต้องมีการเคล่ือนไหวร่างกาย เช่นว่งิ กระโดด ตี รับ หลบหลีก 4. ช่วยฝึกระบบประสาทต่างๆ ให้ทำงานประสานสัมพันธ์กันอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความ คล่องแคลว่ วอ่ งไว 5. ทำให้เกิดความกล้าหาญ อดทน และเชื่อม่ันในตนเอง มจี ิตใจแข็งแกร่ง เพราะอาจมีพลาด พลั้ง เจบ็ ตัว เหนด็ เหนื่อย หวาดเสยี ว เพราะเปน็ การใช้อาวุธตอ่ สู้ ทำใหม้ จี ิตใจแขง็ แกร่งข้ึน 6. เป็นการรักษาวัฒนธรรมอันดีงามของไทย เพราะการเรียนกระบ่ีต้องมีการแสดงความ เคารพครูอาจารย์ผู้สอน เคร่ืองเล่น และมีการไหว้ครูตามประเพณี จึงเป็นการรักษาวัฒนธรรมอันดี งามของไทยไว้สบื ไป 7. ฝึกจติ ใจใหเ้ ป็นคนดีมศี ลี ธรรม การเรยี นกระบขี่ ้ันแรกจะต้องฝึกการขึน้ พรหม เพื่อฝึกจติ ใจ ให้มเี มตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา เรยี กวา่ พรหมวหิ ารส่ี 8. ทำให้มีความเช่ือมั่นในตัวเองสูง เพราะการเล่นกระบี่ต้องแสดงให้ผู้อ่ืนดู และมีการต่อสู้ ดว้ ยอาวุธ เม่ือทำไดจ้ ะทำให้เกิดความเชื่อมั่นในตัวเองมากขึน้

บทท่ี 2 อปุ กรณ์กำรเล่นกระบี่กระบอง และกำรดแู ลรักษำ เคร่ืองกระบกี่ ระบอง เคร่ืองกระบี่กระบอง หมายถึง อาวุธต่างๆ ในการเล่นกระบ่ีกระบอง บางชนิดจาลองมาจากของจริง เช่น กระบี่ ดาบ และพลอง บางชนิดก็เอาของจริงมาใช้ในการเล่นเช่น หอก ทวน หลาว มีด และกริช ส่วน เคร่ืองป้องกนั อาวุธ ไดแ้ ก่ ด้งั เขน โล่ เครื่องอุปกรณ์ท้งั หมดของนกั กระบ่ีกระบอง เรียกวา่ “เครื่องไม้” เคร่ือง ไม้ มี 2 ชนิด คอื 1. เครื่องไม้รำ จาลองมาจากอาวธุ จริง ทาข้ึนเพอ่ื ไวร้ าอวดกนั มีความสวยงาม บอบบาง ไม่แขง็ แรง 2. เครื่องไม้ตี จาลองมาจากอาวธุ จริง มีน้าหนกั เบา แขง็ แรง ทนทานไมแ่ ตกหกั ง่าย กระบ่จี ริง หมายถึงกระบี่ท่ีเป็นอาวุธแท้ ทาดว้ ยเหล็กอยา่ งดี ลกั ษณะแบน น้าหนกั ไม่มากสามารถถือไดม้ ือเดียว ตรงปลายแหลม ยาวประมาณ 90 เซนติเมตร ใชส้ าหรับฟันหรือแทง ส่วนประกอบของกระบี่ 1. 1. ตวั กระบี่ 2. 2. ดา้ มกระบ่ี 3. 3. โกร่งกระบ่ี มีไวเ้ พ่อื ป้องกนั มิใหค้ ูต้ ่อสู้ฟันถูกมือ 4. 4. ฝักกระบี่ ใชส้ าหรับสวมกระบ่ีเมื่อยงั ไม่ใชง้ าน ทาดว้ ยโลหะ ไม้ หรือหนงั ขา้ งในกรุดว้ ยหนงั อ่อน หรือสักหลาด กระบ่ีรำ รูปร่างเหมือนกระบ่ีจริง ยาวประมาณ 100 เซนติเมตร มีความสวยงาม บอบบางไมแ่ ข็งแรง ตวั กระบ่ีทาดว้ ยหวายเทศ ลงรัก ปิ ดทองดา้ มมกั ถกั ดว้ ย กามะหย่ี โกร่งกระบ่ีทาดว้ ยหนัง ลงรักปิ ดทอง เขียนลวดลายไทย บางทีกท็ าดว้ ยไม้ และประดบั กระจก กระบต่ี ี จาลองมาจากอาวุธจริงทาดว้ ยหวายเทศ เพราะน้าหนกั เบาและเหนียว แขง็ แรง ทนทาน ไม่หกั งอง่าย ถา้ ไมม่ ีหวายเทศอาจใชห้ วายโป่ งแทนได้

กำรดูแลรักษำอปุ กรณ์กำรเล่นกระบี่กระบอง กระบร่ี ำและกระบ่ีตี 1. การใชห้ รือการเคลื่อนยา้ ยควรทาความระมดั ระวงั เพื่อป้องกนั การขดู กระแทก และเสียดสี กนั ควรหาผา้ หรือกระดาษเน้ือออ่ นหุม้ แตล่ ะอนั ใหเ้ รียบร้อย 2. การเก็บรักษา ควรทาตูห้ รือที่วางเครื่องมือแต่ละอนั ให้เรียบร้อยเพ่ือป้องกนั การลม้ การ เสียดสีกนั 3. เมื่อใชเ้ สร็จแลว้ ควรทาความสะอาดใหเ้ รียบร้อย หากชารุด ใหซ้ ่อมแซมก่อนท่ีจะเกบ็ กระบี่จริง ดูแลรักษาเช่นเดียวกบั กระบ่ีรา แต่ก่อนเก็บควรทาความสะอาด เช็ดให้แห้ง ทาน้ามนั เพื่อ ป้องกนั สนิมแลว้ สอดไวใ้ นฝักใหเ้ รียบร้อย เคร่ืองดนตรปี ระกอบการเลน่ กระบกี่ ระบอง เครื่องดนตรีประกอบการเล่นกระบ่ีกระบองและมวยไทย บรรเลงประกอบการแสดงตลอด การเล่นเรียกวา่ “ปี ชวา-กลองแขก” ประกอบดว้ ย 1. ปี่ ชวา 2. กลองแขกตวั ผู้ (เสียงสูง) ฉิ่ง ปี่ ชวำ 3. กลองแขกตวั เมีย (เสียงต่า) 4. ฉิ่ง ประโยชน์ของเคร่ืองดนตรี กลองแขก 1. ทาใหก้ ารแสดงครึกคร้ืน สนุกสนาน เรียกความสนใจใหค้ นมาดูการแสดงกระบี่กระบอง 2. เสียงป่ี กลองจะช่วยปลุกใจ ใหผ้ เู้ ลน่ เกิดความฮึกเหิมในการต่อสู้มากข้ึน 3. ทาใหผ้ รู้ า ราไดถ้ กู ตอ้ งตามจงั หวะจะโคน เพม่ิ ความงดงามในการร่ายรามากข้ึน 4. เสียงป่ี กลองจะช่วยหนุนให้ผูเ้ ล่นคิดต่อสู้กนั ตลอดเวลา และทาให้เกิดความกลา้ หาญมาก ข้ึน การบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการเล่นกระบี่กระบอง จะตอ้ งบรรเลงให้เหมาะสมกบั ชนิดของอาวุธ เช่น กระบ่ีใช้เพลง “กระบี่ลีลา” งา้ วใช้เพลงข้ึนมา้ ดาบสองมือ ใช้เพลง จาปาทองเทศ หรือ ขอมทรงเคร่ือง เป็นตน้

เคร่ืองแต่งกำยของผ้เู ล่นกระบก่ี ระบอง การแตง่ กายของผเู้ ลน่ กระบ่ีกระบอง แบง่ เป็น 3 สมยั 1. สมัยโบรำณ สวมเส้ือยนั ตแ์ บบไมม่ ีแขน นุ่งกางเกงขากวา้ งยาวคร่ึงน่อง 2. สมยั กลำง สวมเส้ือมีแขน หรือไม่มีแขน นุ่งผา้ โจงกระแบนแบบเขมร 3. สมยั ปัจจบุ ัน แต่งกายแบบสากลนิยม คือสวมเส้ือมีแขนบา้ ง ไม่มีแขนบา้ ง นุ่งกางเกงขาส้ัน แบบกางเกงกีฬา สวมถุงเทา้ รองเทา้ เพื่อความสะดวกในการเคลื่อนไหว มงคล มงคล เป็ นเครื่องประกอบการแต่งกายของผูเ้ ล่น ใชส้ วมศีรษะ มงคลทาดว้ ยสายสิญจน์เส้นเล็กๆ เอามารวมกนั เป็นเสน้ เดียวขนาดโตกวา่ หวั แม่มือเลก็ นอ้ ย มกั ใชผ้ า้ พนั เพื่อความคงทนถาวร ผแู้ สดง จะสวมเมื่อเริ่มแสดงจนถึงข้นั ตอนการต่อสู้ จึงเอามงคลออก จะไมน่ ิยมสวมขณะตอ่ สู้กนั เพราะจะ ทาใหม้ งคลหลดุ จากศีรษะได้ กำรสวมมงคล ในสมยั โบราณ นิยมสวมมงคลในพิธีต่างๆ เช่น โกนจุก บวชนาค แต่งงาน และการเล่น กระบี่กระบอง การสวมมงคลเพ่ือความเป็ นศิริมงคล และบารุงขวญั กาลงั ใจ เวลาสวมมงคลให้ ปลายท้งั สองขา้ งอยูข่ า้ งหลงั ผูแ้ สดงจะสวมมงคลก่อนเริ่มแสดงจนถึงข้นั ตอนที่จะต่อสู้กนั จึงถอด ออก หรือเอามาคลอ้ งคอไว้ ปกติการสวมมงคลนิยมให้ครูอาจารยท์ ี่ประสิทธ์ิประสาทวิชา หรือบุคคลท่ีผูเ้ ล่นเคารพนบั ถือ เป็นผสู้ วมให้ กติกาการแข่งขนั กระบี่ เป็นกติกาการแขง่ ขนั ของกรมพลศึกษา 1.สนาม เป็นรูปสี่เหล่ียมผนื ผ้ืกวา้ ง 8 เมตร ยาว 16เมตร ถา้ เป็นสนามในร่มควรมีเพดานสูงอยา่ งนอ้ ย 4 เมต

กฎ กติกำกำรแข่งขนั กระบ่ี 1.อาวุธ ใชอ้ าวธุ จาลอง (หวายหรือไม)้ หา้ มใชอ้ าวุธจริง หรือของมีคม ผแู้ ขง่ ขนั ตอ้ งนามาเอง 2.การแตง่ กาย แต่งกายแบบโบราณให้เหมาะสมกบั กาลสมยั 3.การใหค้ ะแนน มีกรรมการใหค้ ะแนน 5 คน ใหค้ ะแนนเตม็ แลว้ หกั ส่วนท่ีไมส่ มควรออก เอาคะแนน ขอกรรมการท้งั 5 คนรวมกนั ผทู้ ี่ไดค้ ะแนนมากท่ีสุดเป็นผชู้ นะ ถา้ คะแนนเทา่ กนั ใหแ้ ข่งขนั ใหม่ 1.การกาหนดคะแนน 1.1 คะแนนเตม็ 40 แบง่ เป็น การแต่งกาย 4 คะแนน การรา 10 คะแนน การเดินแปลง 6 คะแนน การตอ่ สู้ 20 คะแนน 1.2 การข้ึนพรหมและการร่ายรา 10 คะแนน พจิ ารณาจาก 1) ข้นึ พรหมครบทุกทิศ 2) รากลมกลืนกบั จงั หวะดนตรี 3) วา่ งท่าไมไ้ ดส้ วยงาม 4) ท่ารามีความหมายในการตอ่ สู้ 5) ทา่ ราไมน้ อ้ ยกวา่ 4 ทา่ และไมเ่ กิน 6 ทา่ 1.3 คะแนนการต่อสู้ 20 คะแนน พจิ ารณาจาก 1) ใชอ้ าวธุ ไดค้ ลอ่ งแคลว่ 2) ความแมน่ ยาในการฟัน แทง ตี 3) การรุก รับ ไดจ้ งั หวะ 4) มีไหวพริบในช้นั เชิงการตอ่ สู้ 5) การใชอ้ วยั วะอื่นๆของร่างกายเขา้ ช่วย 6) หลบหรือป้องกนั ไดค้ ล่องแคลว่ รัดกุม 7) การพลิกแพลงจากท่ารับเป็นรุก 8) การลด-ล่อ และการจากกนั 1.4 คะแนนเม่ือจบการตอ่ สู้ 5 คะแนน 1) จบแบบขอขมา 2) จบแบบแพช้ นะ

ขนั้ ตอนการแขง่ ขนั กระบ่ี 1.กำรถวำยบงั คม เป็นการแสดงความเคารพและระลึกถึงครูบาอาจารยก์ ระบ่ี ต่อมาไดป้ ฏิบตั ิเพอื่ แสดงความ จงรักภกั ดีต่อพระมหากษตั ริยแ์ ละผมู้ ีพระคณุ 2.กำรขนึ้ พรหม เป็นการร่ายราจนครบท้งั 4ทิศ เปรียบเสมือนพรหมวหิ ารสี่ ไดแ้ ก่ เมตตา กรุณา มทุ ิตา และ อเุ บกขา การข้ึนพรหมมี 2 แบบ คอื 1) การข้ึนพรหมนง่ั 2) การข้ึนพรหมยนื 3.กำรรำไม้รำ เป็นทา่ ราตามแบบอาจารยน์ าค เทพหสั ดิน ณ อยธุ ยา บรมครูผปู้ ระสิทธ์ิประสาทวชิ ากระบ่ี กระบอง โดยมีท่าราไมร้ าท้งั หมด 12 ไมร้ า ไมร้ าท่ี 1 ลอยชาย ไมร้ าที่ 2 ควงทดั หู ไมร้ าที่ 3 เหน็บขา้ ง ไมร้ าท่ี 4 ต้งั ศอก ไมร้ าที่ 5 จว้ งหนา้ จว้ งหลงั ไมร้ าที่ 6 ปกหนา้ ปกหลงั ไมร้ าที่ 7 ท่ายกั ษ์ ไมร้ าท่ี 8 สอยดาว ไมร้ าท่ี 9 ควงแตะ ไมร้ าท่ี 10 หนุมานแหวกฟองน้า ไมร้ าที่ 11 ลดลอ่ ไมร้ าท่ี 12 เชิญเทียน 4.กำรเดนิ แปลง เป็นลกั ษณะของการเดินพร้อมที่จะเขา้ สู่การตอ่ สู้ จะเดินแปลงจนสุดสนามแลว้ กลบั หวั สนาม มาท่ีเดิม เดินสวนทางขวา ขณะเดินสวนกนั อาวุธอาจจะถูกกนั เล็กนอ้ ย การเดินแปลงเป็ นการท่ีคู่ต่อสู้ดูเล่ห์ เหล่ียมของกนั และกนั ก่อนท่ีจะเขา้ ต่อสู้ 5.กำรย่ำงสำมขุม คือการเดินเขา้ หาคู่ตอ่ สู้ เพื่อหาโอกาสเขา้ ตีหรือต่อสู้กนั 6.กำรต่อสู้ เป็นการใชท้ า่ ทางการตอ่ สูท้ ี่ไดฝ้ ึกมาท้งั หมดในสถานการณ์จริง 7.กำรขอขมำ เป็นการไหวก้ นั และกนั หลงั จากการแสดงจบ เป็นการขอโทษต่อกนั

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 รายวชิ า พลศึกษา 3 รหสั วชิ า พ 22103 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การถวายบังคม การข้ึนพรหมนงั่ การข้นึ พรหมยนื จำนวน 5 ชั่วโมง เร่อื ง การถวายบงั คม การขึ้นพรหมนงั่ จำนวน 1 ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 .................................................................................................................................................................... 1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั สาระท่ี 3 : การเคลอื่ นไหว การออกกำลงั กาย เกม กฬี าไทยและกฬี าสากล มาตรฐาน พ 3.1 : เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา 1. เลน่ กฬี าไทยและกฬี าสากลทั้งประเภทบุคคลและทีมอย่างละ 1 ชนิด มาตรฐาน พ 3.2 : รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาเป็นประจำอย่าง สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ำใจนกั กฬี ามจี ิตวิญญาณในการแข่งขันและ ชื่นชมในสนุ ทรยี ภาพของการกีฬา 1. อธิบายสาเหตุการเปลี่ยนแปลงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาท่ีเกิดจากการออก กำลังกายและเล่นกีฬาเปน็ ประจำจนเป็นวถิ ีชวี ิต 2. เลือกเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย และเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ พร้อมท้ัง วเิ คราะห์ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เพ่อื เป็นแนวทางในการพฒั นาตนเอง 3. มีวินัยปฏิบตั ิตามกฎกตกิ า และขอ้ ตกลงในการเล่นกีฬาท่ีเลือก 4. วางแผนการรุกและการป้องกันในการเล่นกฬี าทเี่ ลือกและนำไปใช้ในการเล่นอยา่ งเมาะสมกบั ทีม 5. นำผลการปฏิบตั ใิ นการเล่นกฬี ามาสรปุ เป็นวิธที เี่ หมาะสมกับตนเองดว้ ยความม่งุ มั่น 2.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) : นักเรียนสามารถ บอกข้ันตอนการปฏบิ ัตกิ ารทำการถวายบังคมและการขนึ้ พรหมนงั่ ได้ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) : นักเรยี นเกิดทักษะ การปฏบิ ัติการทำการถวายบังคมและการข้ึนพรหมนั่งได้ ด้านคุณลกั ษณะ (A) : นกั เรยี นมกี าร ประพฤติตนอยา่ งสภุ าพในการถวายบังคมและการขึ้นพรหมน่ังได้ 3. สาระสำคัญ การถวายบังคม เป็นการแสดงความเคารพอย่างสูง ต่อประธานในพิธีหรือครูกระบ่ีกระบอง ท่ีได้ ประสิทธป์ิ ระสาทวชิ ากระบกี่ ระบองให้ ก่อนทจ่ี ะรำขึ้นพรหมกระบี่หรอื กอ่ นการแสดงกระบ่ีกระบอง การข้ึนพรหม เป็นลำดับข้ันตอนต่อจากการถวายบังคม การขึ้นพรหมเป็นการรำเพ่ือแสดงความ เคารพบูชาพระพรหม เพราะพระพรหมมีคุณธรรมท่ีน่าบูชา เรียกว่า “พรหมวิหารสี่” ซ่ึงได้แก่เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา การข้ึนพรหมจัดเป็นระเบียบการแสดงที่สำคัญย่ิงตอนหน่ึงของการแสดงกระบ่ี ซ่ึงจะละ เวน้ เสียมไิ ด้ การขึน้ พรหมมี 2 แบบคือ พรหมนง่ั และ พรหมยืน

4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น เพื่อใหน้ กั เรียนมคี วามสามารถในการคดิ 5. สาระการเรยี นรู้ 1. การถวายบังคม 2. การรำพรหมนัง่ 6. สาระการเรียนรู้ส่กู ารบูรณาการ วชิ าสงั คมศกึ ษา ( ประวตั ศิ าสตร์ ) , วชิ าสงั คมศึกษา ( มารยาทไทย ) 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรม วธิ สี อน สอื่ อุปกรณ์ สถานท่ี วธิ ีการและ เครื่องมือประเมนิ 1. ขน้ั เตรียม (เวลา 5 นาท)ี อธบิ าย รายช่ือนักเรียน เช็คช่ือนกั เรียน 1.1 ให้นักเรียนนง่ั ตามกลุม่ ที่จดั ไว้ ช้ีแจงคำสง่ั นกหวดี 1.2 สำรวจรายช่ือ เครื่องแต่งกาย และสุขภาพของ ยมิ สบ์ าส สังเกตพฤตกิ รรม นักเรียน อธบิ าย กระบี่ ความตั้งใจในการ 1.3 ให้นักเรียนอบอนุ่ ร่างกาย และสาธติ - ยืนหลังตรง ขาทีก่ ้าวไปด้านหลังตอ้ งเหยียดตรง ค่อย นกหวดี เรยี น ๆดนั สะโพกไปด้านหนา้ จนรู้สึกตงึ ทน่ี อ่ ง ยมิ สบ์ าส - ยืนแยกขา ยกข้อศอกไปไขว้กันด้านหลังศีรษะ โน้ม กระบ่ี ลำตัวไปด้านขา้ ง ทลี ะขา้ ง - ประสานน้ิวมือย่ืนไปด้านหน้าระดับหัวไหล่ หันฝ่า มือออกด้านนอก เหยียดแขนตึง - งอแขนข้ามศีรษะ มือข้างหนึ่งจับข้อศอกอีกข้าง หนึ่ง คอ่ ยๆ ดงึ ขอ้ ศอกลงจนรูส้ ึกตงึ ท่แี ขน 2. ขนั้ สอน (เวลา 10 นาที) 2.1 ใหน้ ักเรยี นจัดแถวเหมือนข้ันเตรียม ครู นกั เรยี น

2.2 ครใู ห้ความร้เู ร่ืองความเป็นมาและความสำคญั ของ อธิบาย นกหวดี สังเกตพฤตกิ รรม การขึน้ พรหม และสาธิต ยิมสบ์ าส ความตง้ั ใจในการ 2.3 ครอู ธบิ ายและสาธติ การขึ้นพรหมน่ัง โดยเปดิ เพลง กระบ่ี กระบ่ีประกอบ อธิบาย เรียน 2.4 ครูอธบิ ายและสาธติ ทักษะท่ใี ชใ้ นการข้นึ พรหมตาม คำสัง่ ช้แี จง นกหวีด แบบฝกึ ทีละแบบฝกึ นักเรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิตาม อธิบาย ยมิ สบ์ าสกระบี่ สงั เกตพฤติกรรม ทีละแบบฝกึ ได้แก่ นักเรียน นกหวีด กระบี่ ความตัง้ ใจในการ แบบฝึกที่ 1 การจีบอก ปฏิบตั ิ ใบรายช่อื ฝึกปฏบิ ตั ิ แบบฝกึ ท่ี 2 การรำหนา้ ยิมสบ์ าส สงั เกตพฤตกิ รรม แบบฝกึ ท่ี 3 การรำขา้ ง ความตง้ั ใจในการ แบบฝกึ ท่ี 4 การน่งั หมุนตัว แบบฝึกท่ี 5 การน่ังหมนุ ตัววาดกระบี่ ทำงาน แบบฝึกที่ 6 การหมนุ ตัวลกุ ข้นึ ยนื แบบฝึกที่ 7 การควงกระบี่ แบบฝกึ ท่ี 8 ทา่ คมุ รำ แบบฝกึ ที่ 10 การขนึ้ พรหมนั่ง ขณะนักเรียนฝกึ ปฏบิ ัติ ครูคอยสังเกต อยา่ งใกลช้ ดิ ให้ คำแนะนำและแก้ไขข้อบกพร่อง ชมเชยเม่ือนักเรยี น ปฏิบัตไิ ดด้ ี 2.5 ครอู ธบิ ายและสาธิตการข้ึนพรหมนัง่ ตามแบบฝึก ท่ี 11 นกั เรียนฝึกปฏิบตั ติ ามทีละขั้นตอน ในขณะฝึกรำ ใหน้ ักเรียนบรรยายท่ารำตามครูไป ด้วยพรอ้ มๆกัน เช่น ... โลห้ น้า...รำหน้า / วาดกระบี่ …จีบอก ฯลฯ จุดประสงคเ์ พื่อให้ นกั เรยี นได้จดจำลำดับข้นั ตอนของการรำได้อย่างถกู ต้อง แม่นยำ 3. ขน้ั ปฏิบัติ (เวลา 15 นาที) 3.1 นักเรียนฝึกการข้ึนพรหมน่ังพร้อมๆกันโดยไม่ต้องดู แบบ ขณะฝกึ ปฏิบัติ ใหบ้ รรยายทา่ รำไปด้วย 4. ขั้นนำไปใช้ (เวลา 10 นาที) 4.1 เม่ือเห็นว่านักเรียนส่วนใหญ่รำได้แล้ว ให้นักเรียน ออกมาแสดงการข้นึ พรหมน่งั ทลี ะ 2 กลมุ่ ขณะเดียวกัน ครูและนักเรียนช่วยกัน สังเกตอย่าง

ใกล้ชิด คอยให้คำแนะนำแก้ไขข้อบกพร่อง ชมเชย อธิบาย นกหวดี สังเกตพฤตกิ รรม และ ให้กำลงั ใจเมอ่ื ปฏบิ ตั ิไดด้ ี ชแ้ี จง ยมิ สบ์ าส ความต้ังใจในการ 4.2 เม่ือครบทุกกลุ่มแล้ว ให้นักเรียนแสดงการถวาย บังคมและขึ้นพรหมนั่งพร้อมๆกัน โดยเปิดเพลงกระบี่ เรียน ประกอบการรำ 5. ขนั้ สรปุ (เวลา 5 นาท)ี 5.1 นักเรียนร่วมกันสรุปความสำคัญของการขึ้นพรหม ทิศทางของการขนึ้ พรหมนงั่ / ปัญหาและขอ้ เสนอแนะ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม พรหมวิหารสี่ ได้แก่ เมตตา กรณุ า มทุ ติ า อุเบกขา 8. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ กระบ่ี จำนวน 50 เล่ม , ใบความรู้ เรอ่ื ง การขึ้นพรหมน่งั , แบบฝึกทกั ษะการขนึ้ พรหมน่ัง , เพลงกระบ่ี/เคร่ืองเสียง 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ ยมิ สบ์ าส 9. การวดั และประเมินผล (K-P-A) ส่ิงท่ีวดั วิธีการวัดผล เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์การประเมินผล ด้านความรู้ (K) : การถาม - ตอบ แบบถาม - ตอบ ผ่านตง้ั แตร่ ะดบั พอใช้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) : ตรวจความถูกต้อง แบบตรวจความถูกต้อง ขน้ึ ไป ผ่านตัง้ แตร่ ะดบั พอใช้ ด้านคุณลักษณะ (A) : การสงั เกต แบบการสงั เกต ข้ึนไป ผา่ นต้งั แต่ระดบั พอใช้ ขน้ึ ไป

9.1 เกณฑก์ ารประเมนิ 1) ดา้ นความรู้ รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 1. นักเรียนสามารถ นักเรียนบอก นักเรยี นบอก นักเรยี นบอก นักเรียนไม่ บอกข้ันตอนการ ขั้นตอนได้ถูกต้อง ขั้นตอนไดถ้ ูกต้อง ขนั้ ตอนไดถ้ ูกต้อง สามารถบอก ปฏบิ ตั ิการทำการถวาย ครบถว้ นทกุ ครบถ้วนทุก แต่ไม่ครบถว้ นทุก ขนั้ ตอนการ บังคมและการขน้ึ พรหม ขัน้ ตอนของการ ขนั้ ตอนของการ ขัน้ ตอนของการ ปฏบิ ัติได้ทั้งการ น่ังได้ ถวายบงั คมและการ ถวายบงั คมหรือ ถวายบงั คมหรือ ถวายบงั คมและ ข้นึ พรหมนั่ง การขนึ้ พรหมนงั่ การข้ึนพรหมน่ัง การข้นึ พรหมนง่ั อย่างใดอยา่ งหนงึ่ หรอื ทงั้ สองอยา่ ง การแปลความหมาย หมายถงึ ระดับคุณภาพดมี าก ระดับ 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดบั 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ ระดบั 1 2) ดา้ นทักษะ/กระบวนการ รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 1. นักเรียนเกดิ นักเรยี นสามารถ นกั เรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ ทกั ษะการปฏิบัติการ ปฏิบตั กิ ารทำการ ปฏิบัตกิ ารทำการ ปฏิบัติการทำการ ปฏบิ ตั กิ ารทำการ ทำการถวายบังคม ถวายบงั คมและ ถวายบังคมและ ถวายบงั คมและ ถวายบงั คมและ และการข้ึนพรหมน่ัง การขนึ้ พรหมนั่ง การขน้ึ พรหมน่งั การขึน้ พรหมนั่ง การขึน้ พรหมนง่ั ได้ ไดถ้ ูกตอ้ งมากกวา่ ได้ถูกตอ้ ง ได้ถูกต้อง ไดถ้ ูกต้อง น้อย 90 % 80 - 89 % 65 - 79 % กว่า 64 % การแปลความหมาย หมายถงึ ระดับคุณภาพดมี าก ระดบั 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดับ 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรุง ระดับ 1

3) ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ รายการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32 นกั เรยี นแสดงออก ถึงการไม่คำรพใน นักเรยี นมกี าร นักเรียนแสดงออกถงึ นักเรียนแสดงออกถึง นักเรยี นแสดงออกถงึ การปฏบิ ตั ิ เสยี งดงั แกล้งเพื่อน แซว ประพฤตติ นอย่าง ความสุภาพในการ ความสภุ าพในการ ความสุภาพในการ เพ่ือน สภุ าพในการถวาย ปฏบิ ัติ มีกริ ยิ าอ่อน ปฏบิ ัติ มีกริ ิยาอ่อน ปฏิบตั ิ บงั คมและการข้ึน น้อม ไมเ่ สยี งดัง จดจ่อ น้อม ไม่เสยี งดัง พรหมนงั่ ได้ กับการปฏบิ ัติ การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดมี าก ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถงึ ระดบั คุณภาพปรับปรงุ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ ระดบั พอใช้ขึ้นไป

การปฏิบัตกิ ารถวายบงั คมและการขนึ้ พรหมนัง่ 1. การถวายบังคม 1.1 ทา่ เตรียม การปฏิบัติ 1) ผแู้ สดงน่ังคกุ เขา่ โดยนั่งอยบู่ นส้นเทา้ ท้งั สองเขา่ หา่ งกนั พอประมาณ 2) วางอาวุธไว้ตามลกั ษณะของอาวุธแบบลกั ษณะของการข้ึนพรหม 3) พรหมน่ังวางกระบี่ไว้ทางด้านซ้ายมือ ด้ามกระบ่ีเสมอเข่าปลายกระบี่ช้ีไปด้านหลัง หัน โกรง่ กระบอ่ี อกนอก 4) พรหมยืนวางกระบี่ไว้ด้านหน้าปลายช้ีไปทางตรงคู่ต่อสู้โกร่งกระบี่อยู่ด้านล่าง ห่างเข่า ประมาณ1คบื ท่าเตรยี ม 1.2 ทา่ เรม่ิ ต้น การปฏบิ ตั ิ 1) ประนมมอื ท่ีหน้าอกกม้ ศรี ษะพร้อมโน้มตัวไปขา้ งหน้า ลดมอื ลง 2) จีบมือท้ังสอง แยกหงายฝ่ามือวาดมือออกข้างลำตัว ดึงน้ิวมือท้ังสองให้ชิดหากัน ดึงมือ เขา้ ประนมทห่ี นา้ อก 3) เหยยี ดแขนคู่ไปข้างหน้าข้ึนบน เงยหนา้ พร้อมน้วิ มือทั้งสองจรดหน้าผาก 4) ลดมอื ทัง้ สองใหเ้ หยียดและกลับมาประนมใหมน่ ับ 1 5) เหยียดแขนคู่ไปขา้ งหนา้ ขึน้ บนพร้อมเงยหน้าปลายน้ิวมอื ทัง้ สองจรดหน้าผาก 6) ลดมือทัง้ สองใหเ้ หยยี ด และกลับมาประนมใหม่ นบั 2 7) เหยียดแขนคู่ไปข้างหนา้ ขึ้นบนพร้อมเงยหนา้ ปลายน้ิวมอื ท้งั สองมาจรดหน้าผาก 8) ลดมือท้งั สองให้เหยียดและกลับมาประณมใหม่ นับ 3 เมื่อทำครบ 3 ครั้ง ถือเป็นการเสร็จ สิ้นการถวายบังคมกระบ่ี การถวายบงั คมสำหรับพรหมน่ัง

2. การรำพรหมน่ัง การปฏบิ ตั ิ 1) จากท่าน่ังเม่ือถวายบังคมเสร็จแล้ว หันหน้าไปทางซ้ายก้มตัวลงไหว้กระบี่ เอามือขวาจับ กระบ่ี มอื ซา้ ยจีบไวท้ ่ีหนา้ อก 2) ยกกระบี่ขนานพื้น ข้ามศีรษะทางขวา กระบ่ีอยู่ทางขวา ขนานพน้ื โกร่งกระบ่หี ันออกนอก ลำตัว หงายมอื ข้อศอกงอเปน็ มุมฉากชิดลำตวั ต้ังเท้าขวาไวข้ ้างหน้า นั่งบนสน้ เท้าซ้าย ชกั เท้าขวามานั่งคกุ เข่า ต้ังเท้าซ้ายไวข้ า้ งหน้า นัง่ บนสน้ เทา้ ขวา 3) โล้ตัวไปข้างหน้าโดยวางเข่าซ้ายลง ยกเท้าขวาข้ึน แล้วมือซ้ายรำหน้าระดับหน้าผาก หมุนตัวกลับ หลังหันทางขวา โดยยกเขา่ ทั้งสองข้ึน พร้อมกับวาดกระบี่ไปทางซ้าย กระบ่ีขนานพ้ืน วางเข่าซ้ายลง นั่งบนส้น เทา้ ซ้าย ต้งั เขา่ ขวาขนึ้ กระบ่ีแนบลำตัวทางซา้ ยมือซ้ายจีบอยู่ท่ีหน้าอก

4) มอื ซ้ายรำข้างระดับใบหู โดยให้แขนงอโคง้ เล็กน้อย วาดกระบข่ี นานพืน้ ไปทางขวา มอื ซา้ ยจบี ท่ี หนา้ อก ในขณะทวี่ าดกระบ่มี าทางขวาสดุ แล้วใหด้ ึงเข่าขวา วางบนพนื้ และตั้งเขา่ ซา้ ยขึ้น 5) โล้ตัวไปข้างหน้าวางเข่าซ้ายลง ยกเท้าขวาขึ้น มอื ซ้ายรำหน้า หมุนตัวไปทางขวา ดึงมอื ซา้ ยมาจีบไว้ ที่อก วาดกระบ่ี ไปอยู่ทางซา้ ย ชิดลำตัวต้ังเข่าขวา บิดเขา่ ซ้ายไปทางขวา วางเขา่ ซา้ ย ลงนง่ั บนส้นเท้าซา้ ย มือ ซา้ ยรำข้าง 6) ดึงมือซ้ายมาจีบไว้ที่อก วาดกระบี่ไปทางขวากระบ่ีขนานพ้ืน ดึงเข่าขวาวางไว้ที่พ้ืน ต้ังเข่าซ้ายขึ้น โล้ตัวไปข้างหน้า วางเข่าซ้ายลงบนพื้น ยกเท้าขวาขึ้น แล้วรำหน้า หมุนตัวกลับหลังหันทางขวา มือซ้ายจีบไว้ท่ี อก วาดกระบ่ไี ปทางซ้ายกระบีช่ ดิ ลำตวั ลุกข้ึนยืนด้วยเท้าซ้าย ยกเข่าขวาขึ้นใหข้ าขวารองรบั ศอกขวา 7) มือซา้ ยรำข้าง วาดกระบี่ไปข้างหน้าสองรอบ มือซา้ ยจีบเข้าอก วางเทา้ ขวาเฉียงไปทางขวา โล้ตัวไป ขา้ งหน้า เขา่ ขวางอ เขา่ ซา้ ยตึงกระบี่อยทู่ างขวา อย่ใู นทา่ คุมรำ



แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 รายวิชา พลศึกษา 3 รหสั วชิ า พ 22103 กล่มุ สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง การถวายบังคม การข้นึ พรหมนง่ั การขึ้นพรหมยืน จำนวน 5 ชวั่ โมง เรอ่ื ง ทดสอบการถวายบังคม การข้ึนพรหมน่งั จำนวน 1 ช่วั โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ........................................................................................................................................................................... 1.มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั สาระท่ี 3 : การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย เกม กฬี าไทยและกีฬาสากล มาตรฐาน พ 3.1 : เขา้ ใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกีฬา 1. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลท้งั ประเภทบคุ คลและทีมอยา่ งละ 1 ชนิด มาตรฐาน พ 3.2 : รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาเป็นประจำอย่าง สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีนำ้ ใจนกั กฬี ามีจิตวิญญาณในการแข่งขนั และ ชื่นชมในสนุ ทรียภาพของการกีฬา 1. อธิบายสาเหตุการเปล่ียนแปลงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาท่ีเกิดจากการออก กำลังกายและเล่นกีฬาเป็นประจำจนเป็นวิถชี ีวติ 2. เลือกเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย และเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ พร้อมทั้ง วิเคราะห์ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล เพือ่ เปน็ แนวทางในการพฒั นาตนเอง 3. มีวินยั ปฏิบัติตามกฎกตกิ า และขอ้ ตกลงในการเลน่ กีฬาทเ่ี ลือก 4. วางแผนการรุกและการป้องกันในการเลน่ กฬี าทเี่ ลือกและนำไปใช้ในการเลน่ อยา่ งเมาะสมกับทีม 5. นำผลการปฏิบตั ิในการเล่นกีฬามาสรุปเปน็ วิธที เ่ี หมาะสมกบั ตนเองดว้ ยความมงุ่ มน่ั 2.จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) : นกั เรยี นสามารถ บอกข้นั ตอนการปฏิบัติการทำการถวายบังคมและการขนึ้ พรหมน่งั ได้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) : นักเรยี นเกิดทักษะ การปฏบิ ัติการทำการถวายบังคมและการข้นึ พรหมนงั่ ได้ ด้านคุณลักษณะ (A) : นักเรียนมีการ ประพฤตติ นอย่างสภุ าพในการถวายบังคมและการขน้ึ พรหมนั่งได้ 3. สาระสำคัญ การถวายบังคม เป็นการแสดงความเคารพอย่างสูง ต่อประธานในพิธีหรือครูกระบ่ีกระบอง ที่ได้ ประสทิ ธป์ิ ระสาทวิชากระบีก่ ระบองให้ กอ่ นท่จี ะรำขึ้นพรหมกระบห่ี รอื กอ่ นการแสดงกระบี่กระบอง การข้ึนพรหม เป็นลำดับขั้นตอนต่อจากการถวายบังคม การขึ้นพรหมเป็นการรำเพ่ือแสดงความ เคารพบูชาพระพรหม เพราะพระพรหมมีคุณธรรมท่ีน่าบูชา เรียกว่า “พรหมวิหารสี่” ซ่ึงได้แก่เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา การข้ึนพรหมจัดเป็นระเบียบการแสดงที่สำคัญย่ิงตอนหนึ่งของการแสดงกระบ่ี ซ่ึงจะละ เว้นเสยี มไิ ด้ การข้นึ พรหมมี 2 แบบคอื พรหมนงั่ และ พรหมยืน

4. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น เพ่ือใหน้ กั เรยี นมคี วามสามารถในการคิด 5. สาระการเรยี นรู้ 1. การถวายบงั คม 2. การรำพรหมน่ัง 6. สาระการเรียนรูส้ กู่ ารบูรณาการ วิชาสงั คมศกึ ษา ( ประวัติศาสตร์ ) , วชิ าสังคมศึกษา ( มารยาทไทย ) 7. กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรม วธิ ีสอน ส่ือ อุปกรณ์ สถานที่ วธิ กี ารและ เคร่ืองมือประเมิน 1. ขน้ั เตรียม (เวลา 5 นาที) อธิบาย รายช่ือนกั เรยี น เชค็ ชอ่ื นักเรยี น 1.1 ใหน้ ักเรยี นนงั่ ตามกลุ่มท่ีจดั ไว้ ชี้แจงคำสัง่ นกหวดี 1.2 สำรวจรายชื่อ เคร่ืองแต่งกาย และสุขภาพของ ยิมส์บาส นกั เรยี น กระบ่ี 1.3 ใหน้ ักเรยี นอบอ่นุ รา่ งกาย - ยืนหลังตรง ขาท่ีก้าวไปด้านหลังต้องเหยียดตรง ค่อย ๆดนั สะโพกไปด้านหนา้ จนรู้สึกตงึ ทนี่ ่อง - ยืนแยกขา ยกข้อศอกไปไขว้กันดา้ นหลังศรี ษะ โน้ม ลำตัวไปด้านข้าง ทลี ะข้าง - ประสานนิ้วมือยื่นไปด้านหน้าระดับหัวไหล่ หันฝ่า มือออกด้านนอก เหยยี ดแขนตึง - งอแขนข้ามศีรษะ มือข้างหนึ่งจับข้อศอกอีกข้าง หน่งึ ค่อยๆ ดงึ ขอ้ ศอกลงจนรู้สึกตึงท่แี ขน 2. ข้ันสอน (เวลา 10 นาที) อธบิ าย นกหวดี สงั เกตพฤตกิ รรม 2.1 ให้นกั เรียนจดั แถวเหมือนขั้นเตรียม สาธติ ยิมสบ์ าส ความตง้ั ใจในการ คำสงั่ กระบี่ เรียน ครู นักเรยี น 2.2 ครทู บทวนการถวายบังคมและการขึ้นพรหมนัง่ ให้กบั นักเรยี น พร้อมกบั ให้นักเรยี นปฏิบตั ติ าม

3. ข้ันปฏิบตั ิ (เวลา 15 นาที) อธิบาย นกหวดี สงั เกตพฤตกิ รรม ยิมส์บาส ความตงั้ ใจในการ 3.1 นักเรียนฝึกปฏิบัติการถวายบังคมและการขึ้น คำสง่ั กระบ่ี นกหวีด ฝกึ ปฏบิ ตั ิ พรหมนงั่ เป็นกลมุ่ ชีแ้ จง กระบ่ี สงั เกตพฤติกรรม ใบรายชือ่ ความตงั้ ใจในการ 4. ข้นั นำไปใช้ (เวลา 10 นาท)ี อธิบาย ยิมส์บาส นกหวดี ทำงาน 4.1 ให้นักเรียนกลุ่มที่ปฏิบัติได้แล้วทำการทดสอบการ นักเรยี นปฏบิ ตั ิ ยมิ ส์บาส สังเกตพฤตกิ รรม ถวายบงั คมและการข้ึนพรหมนง่ั ความตง้ั ใจในการ 5. ข้ันสรุป (เวลา 5 นาที) อธบิ าย เรียน 5.1 นักเรียนร่วมกันสรุปความสำคัญของการข้ึนพรหม ชีแ้ จง ทศิ ทางของการขนึ้ พรหมน่ัง / ปัญหาและข้อเสนอแนะ 5.2 นกั เรยี นทำแบบทดสอบเรื่อง การขน้ึ พรหมนั่ง 8. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ กระบี่ จำนวน 50 เล่ม ใบความรู้ เรอ่ื ง การข้นึ พรหม แบบฝกึ ทักษะการขน้ึ พรหมน่ัง เพลงกระบี่/เคร่ืองเสียง 8.2 แหล่งการเรียนรู้ ยมิ ส์บาส 9. การวดั และประเมินผล (K-P-A) สง่ิ ที่วัด วิธีการวัดผล เครอื่ งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ผล ดา้ นความรู้ (K) : การถาม - ตอบ แบบถาม - ตอบ ผ่านตงั้ แต่ระดบั พอใช้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) : ตรวจความถูกต้อง แบบตรวจความถูกต้อง ขนึ้ ไป ผา่ นตัง้ แต่ระดบั พอใช้ ด้านคุณลกั ษณะ (A) : การสงั เกต แบบการสังเกต ขน้ึ ไป ผา่ นตง้ั แตร่ ะดบั พอใช้ ขึ้นไป

9.1 เกณฑก์ ารประเมิน 1) ดา้ นความรู้ รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 1. นักเรียนสามารถ นักเรียนบอก นักเรยี นบอก นักเรยี นบอก นักเรียนไม่ บอกข้ันตอนการ ขั้นตอนได้ถูกต้อง ขั้นตอนได้ถูกต้อง ขนั้ ตอนไดถ้ ูกต้อง สามารถบอก ปฏบิ ตั ิการทำการถวาย ครบถว้ นทกุ ครบถ้วนทกุ แต่ไม่ครบถว้ นทุก ขนั้ ตอนการ บังคมและการขน้ึ พรหม ขัน้ ตอนของการ ขนั้ ตอนของการ ขัน้ ตอนของการ ปฏบิ ัติได้ทั้งการ น่ังได้ ถวายบงั คมและการ ถวายบังคมหรือ ถวายบงั คมหรือ ถวายบงั คมและ ข้นึ พรหมนั่ง การขนึ้ พรหมนงั่ การข้ึนพรหมน่ัง การข้นึ พรหมนง่ั อย่างใดอย่างหนงึ่ หรอื ทงั้ สองอยา่ ง การแปลความหมาย หมายถงึ ระดับคุณภาพดมี าก ระดับ 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดบั 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ ระดบั 1 2) ดา้ นทักษะ/กระบวนการ รายการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 1. นักเรียนเกดิ นักเรยี นสามารถ นกั เรียนสามารถ นกั เรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ ทกั ษะการปฏิบัติการ ปฏิบตั กิ ารทำการ ปฏิบัตกิ ารทำการ ปฏิบัติการทำการ ปฏบิ ตั กิ ารทำการ ทำการถวายบังคม ถวายบงั คมและ ถวายบังคมและ ถวายบงั คมและ ถวายบงั คมและ และการข้ึนพรหมน่ัง การขนึ้ พรหมนั่ง การขน้ึ พรหมน่งั การขึน้ พรหมนั่ง การขึน้ พรหมนง่ั ได้ ไดถ้ ูกตอ้ งมากกวา่ ได้ถูกตอ้ ง ได้ถูกต้อง ไดถ้ ูกต้อง น้อย 90 % 80 - 89 % 65 - 79 % กว่า 64 % การแปลความหมาย หมายถงึ ระดับคุณภาพดมี าก ระดบั 4 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดับ 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรุง ระดับ 1

3) ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ รายการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32 นกั เรยี นแสดงออก ถึงการไม่คำรพใน นักเรียนมกี าร นกั เรียนแสดงออกถงึ นักเรียนแสดงออกถึง นักเรยี นแสดงออกถงึ การปฏบิ ตั ิ เสยี งดงั แกล้งเพื่อน แซว ประพฤตติ นอย่าง ความสภุ าพในการ ความสภุ าพในการ ความสุภาพในการ เพ่ือน สภุ าพในการถวาย ปฏิบัติ มกี ิริยาอ่อน ปฏบิ ตั ิ มีกริ ิยาอ่อน ปฏิบตั ิ บงั คมและการข้ึน น้อม ไม่เสยี งดัง จดจ่อ น้อม ไม่เสยี งดัง พรหมนงั่ ได้ กับการปฏบิ ัติ การแปลความหมาย ระดบั 4 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดมี าก ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดี ระดบั 2 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรงุ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ ระดบั พอใช้ขึ้นไป

แบบทดสอบปฏิบัติ เร่ือง การถวายบงั คม และการขน้ึ พรหมนัง่ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2/ ..... พจิ ารณาโดยการจัดอันดับคณุ ภาพ ความถูกต้อง สวยงาม ทศิ ทางการรำ และความต่อเน่อื ง 5 คะแนน ดมี าก4 คะแนน ดี 3 คะแนน พอใช้ 0-2 คะแนน ปรับปรุง เลขที่ ชอ่ื – สกลุ คะแนน

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 7 รายวชิ า พลศกึ ษา 3 รหัสวชิ า พ 22103 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 เร่ือง การถวายบังคม การขึน้ พรหมนัง่ การข้นึ พรหมยืน จำนวน 5 ชั่วโมง เรอื่ ง การขน้ึ พรหมยนื จำนวน 1 ชั่วโมง ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 …....………...................................................................................................................................................... 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด สาระท่ี 3 : การเคลือ่ นไหว การออกกำลังกาย เกม กฬี าไทยและกฬี าสากล มาตรฐาน พ 3.1 : เข้าใจ มที กั ษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกมและกีฬา 1. เล่นกฬี าไทยและกฬี าสากลท้งั ประเภทบคุ คลและทีมอยา่ งละ 1 ชนดิ มาตรฐาน พ 3.2 : รักการออกกำลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬาเป็นประจำอย่าง สม่ำเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มนี ้ำใจนกั กฬี ามีจิตวญิ ญาณในการแขง่ ขันและ ชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา 1. อธิบายสาเหตุการเปลี่ยนแปลงร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาที่เกิดจากการออก กำลงั กายและเล่นกีฬาเป็นประจำจนเป็นวถิ ชี ีวิต 2. เลือกเข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย และเล่นกีฬาตามความถนัดและความสนใจ พร้อมทั้ง วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เพ่ือเป็นแนวทางในการพฒั นาตนเอง 3. มีวินัยปฏิบตั ิตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเลน่ กฬี าท่ีเลือก 4. วางแผนการรกุ และการป้องกันในการเล่นกีฬาท่เี ลือกและนำไปใช้ในการเลน่ อย่างเมาะสมกับทีม 5. นำผลการปฏิบตั ิในการเลน่ กฬี ามาสรปุ เป็นวิธที ีเ่ หมาะสมกับตนเองดว้ ยความมงุ่ มั่น 2.จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) : นักเรียนสามารถ บอกข้ันตอนการปฏิบตั กิ ารการขึ้นพรหมยืนได้ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) : นกั เรียนเกิดทกั ษะ การปฏบิ ัติทำการขนึ้ พรหมยืนได้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) : นกั เรยี นมกี าร ประพฤตติ นอย่างสภุ าพในการขึน้ พรหมยืนได้ 3. สาระสำคัญ การข้ึนพรหม เป็นลำดับขั้นตอนต่อจากการถวายบังคม การขึ้นพรหมเป็นการรำเพื่อแสดงความ เคารพบูชาพระพรหม เพราะพระพรหมมคี ุณธรรมท่ีน่าบูชา เรียกวา่ “พรหมวิหารสี่” ซึ่งได้แก่เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา การขึ้นพรหมจดั เป็นระเบียบการแสดงที่สำคัญย่ิงตอนหน่ึงของการแสดงกระบี่ ซ่งึ จะละ เว้นเสียมิได้ การขึ้นพรหมมี 2 แบบคอื พรหมน่ัง และ พรหมยืน

4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น เพ่ือใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการคดิ 5. สาระการเรยี นรู้ 1. การข้นึ พรหมยนื 6. สาระการเรยี นรสู้ ู่การบูรณาการ วชิ าสงั คมศกึ ษา ( ประวัตศิ าสตร์ ) , วชิ าสังคมศึกษา ( มารยาทไทย ) 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ กิจกรรม วธิ สี อน สอ่ื อุปกรณ์ วิธกี ารและ สถานท่ี เคร่ืองมอื ประเมิน เช็คช่ือนกั เรียน 1. ขั้นเตรยี ม (เวลา 5 นาท)ี อธิบาย รายชอื่ นักเรียน สงั เกตพฤตกิ รรม 1.1 ให้นักเรียนนั่งตามกลมุ่ ท่ีจดั ไว้ ช้แี จงคำสัง่ นกหวดี ความตงั้ ใจในการ 1.2 สำรวจรายชื่อ เคร่ืองแต่งกาย และสุขภาพของ ยิมส์บาส เรียน นักเรยี น กระบี่ 1.3 ให้นักเรยี นอบอุ่นร่างกาย - ยืนหลังตรง ขาท่ีก้าวไปด้านหลังต้องเหยียดตรง คอ่ ย ๆดันสะโพกไปด้านหน้า จนรู้สึกตงึ ที่น่อง - ยืนแยกขา ยกข้อศอกไปไขวก้ ันด้านหลังศรี ษะ โน้ม ลำตวั ไปดา้ นข้าง ทีละขา้ ง - ประสานนิ้วมือย่ืนไปด้านหน้าระดับหัวไหล่ หันฝ่า มือออกด้านนอก เหยยี ดแขนตึง - ประสานน้ิวไปด้านหลัง ค่อยๆ ยกแขนข้ึนค้างไว้ แล้วปลอ่ ยลง - งอแขนข้ามศีรษะ มือข้างหน่ึงจับข้อศอกอีกข้าง หนึง่ คอ่ ยๆ ดึงข้อศอกลงจนรูส้ กึ ตงึ ทแี่ ขน 2. ขนั้ สอน (เวลา 10 นาที) อธบิ าย นกหวีด 2.1 ให้นกั เรยี นจดั แถวตามกลุ่มท่จี ดั ไว้ สาธติ ยิมส์บาส คำสั่ง กระบี่

2.2 นักเรียนทบทวนทักษะการถวายบังคมและการขึ้น อธบิ าย นกหวีด สังเกตพฤตกิ รรม ยิมสบ์ าส ความตั้งใจในการ พรหมนั่ง สาธติ กระบี่ เรยี น 2.3 ครูอธิบายและสาธิตการข้ึนพรหมยืน โดยเปิดเพลง คำสง่ั นกหวดี ยิมส์บาส สังเกตพฤตกิ รรม กระบ่ปี ระกอบการรำ กระบ่ี ความตงั้ ใจในการ นกหวดี 2.4 ครอู ธบิ ายและสาธิตทกั ษะทีใ่ ชใ้ นการขน้ึ พรหมตาม กระบี่ ฝึกปฏิบัติ ใบรายชือ่ สงั เกตพฤตกิ รรม แบบฝึกทลี ะแบบฝกึ นักเรียนฝกึ ปฏิบตั ติ าม ยิมส์บาส ความต้งั ใจในการ นกหวีด ทลี ะแบบฝึก ไดแ้ ก่ ยิมสบ์ าส ทำงาน สังเกตพฤตกิ รรม แบบฝึกที่ 1 ทา่ กระบ่ที ัดหู ความตัง้ ใจในการ แบบฝึกที่ 2 ท่าจ้วงกระบ่ลี ุกขึ้นยืน เรยี น แบบฝึกท่ี 3 ทา่ จ้วงกระบ่ีก้าวเดิน แบบฝึกที่ 4 ท่าควงกระบคี่ ุมรำ ขณะนักเรียนฝึกปฏิบัติ ครูคอยสังเกต อย่าง ใกล้ชิด ให้คำแนะนำและแก้ไขข้อบกพรอ่ ง ชมเชยเม่ือ นักเรียนปฏบิ ัตไิ ดด้ ี 2.5 เม่ือนักเรียนปฏิบัติได้แล้ว ครูอธิบายและสาธิต การข้ึนพรหมยืนทีละขั้นตอนตามแบบฝึกที่ 5 ขณะฝึก ปฏิบัติ ให้นักเรยี นบรรยายท่ารำตามครูไปด้วย เพ่ือให้ นักเรียนได้จดจำลำดับขั้นตอนของการรำได้อย่าง ถูกต้องและแม่นยำ 3. ขั้นปฏบิ ัติ (เวลา 15 นาที) อธบิ าย 3.1 นกั เรยี นฝึกการขนึ้ พรหมยืนพรอ้ มๆกนั โดยไม่ต้องดู คำสัง่ ชีแ้ จง แบบ ขณะฝกึ ปฏิบตั ิ ใหบ้ รรยายทา่ รำไปดว้ ย 4. ขัน้ นำไปใช้ (เวลา 10 นาที) อธบิ าย 4.1 เมื่อเห็นว่านักเรียนส่วนใหญ่รำได้แล้ว ให้นักเรียน นกั เรียปฏบิ ัติ สอบปฏิบตั ิการข้นึ พรหมยืนทลี ะกลมุ่ 5. ขัน้ สรุป (เวลา 5 นาที) อธบิ าย 5.1 นักเรียนร่วมกันสรุปความสำคัญของการข้ึนพรหม ช้แี จง ทศิ ทางของการขนึ้ พรหมยืน / ปัญหาและข้อเสนอแนะ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม เรื่องการให้ความ ช่วยเหลือแนะนำแก่เพ่ือนที่มีทักษะด้อยกว่า โดยช่วย สอนและฝึกซอ้ มใหเ้ พือ่ น

8. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ กระบ่ี จำนวน 50 เลม่ , ใบความรู้ เร่ือง การข้ึนพรหมยืน 8.2 แหล่งการเรียนรู้ ยิมส์บาส 9. การวดั และประเมินผล (K-P-A) ส่งิ ที่วดั วธิ ีการวัดผล เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมินผล ด้านความรู้ (K) : การถาม - ตอบ แบบถาม - ตอบ ผา่ นตง้ั แตร่ ะดบั พอใช้ ด้านทักษะกระบวนการ (P) : ตรวจความถูกต้อง แบบตรวจความถูกตอ้ ง ขึน้ ไป ผ่านตง้ั แต่ระดับพอใช้ ด้านคุณลกั ษณะ (A) : การสังเกต แบบการสังเกต ขึ้นไป ผา่ นตงั้ แต่ระดบั พอใช้ ขน้ึ ไป 9.1 เกณฑก์ ารประเมิน 1) ด้านความรู้ รายการประเมนิ 4 ระดับคณุ ภาพ นักเรียนบอก 321 1. นักเรียนสามารถ ขั้นตอนได้ถูกต้อง นักเรยี นบอก นกั เรยี นบอก นักเรยี นไม่ บอกขน้ั ตอนการ ครบถว้ นทุก ข้นั ตอนไดถ้ ูกตอ้ ง ขน้ั ตอนได้ถูกตอ้ ง สามารถบอก ปฏิบัตกิ ารการข้ึนพรหม ข้นั ตอนของการข้นึ แต่ขาดไป 1 - 2 แต่ขาดไป 3 - 4 ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิ ยนื ได้ พรหมยืน ขัน้ ตอนของการ ขนั้ ตอนของการ ได้หรือบอกขาด ขึน้ พรหมยืน ข้ึนพรหมยืน ไปมากกวา่ 4 ขั้นตอน การแปลความหมาย หมายถึง ระดบั คุณภาพดมี าก ระดับ 4 หมายถึง ระดับคุณภาพดี ระดับ 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 2 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรุง ระดับ 1

2) ดา้ นทักษะ/กระบวนการ รายการประเมนิ 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32 1. นักเรียนเกดิ นกั เรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรยี นสามารถ นักเรียนสามารถ ทกั ษะการปฏิบัติทำ ปฏบิ ัตกิ ารทำการ ปฏิบัตกิ ารทำการ ปฏบิ ัติการทำการ ปฏบิ ัตกิ ารทำการ การข้นึ พรหมยืนได้ ถวายบงั คมและ ถวายบงั คมและ ถวายบงั คมและ ถวายบังคมและ การขน้ึ พรหมนงั่ การขน้ึ พรหมน่งั การขน้ึ พรหมนั่ง การขึ้นพรหมนง่ั ได้ถูกตอ้ งมากกว่า ไดถ้ ูกต้อง ไดถ้ ูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง น้อย 90 % 80 - 89 % 65 - 79 % กวา่ 64 % การแปลความหมาย ระดบั 4 หมายถึง ระดับคุณภาพดมี าก ระดบั 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพดี ระดบั 2 หมายถงึ ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ระดบั คุณภาพปรับปรงุ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับพอใช้ขน้ึ ไป 3) ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ รายการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32 นกั เรยี นแสดงออก ถงึ การไมค่ ำรพใน 1. นักเรยี นมกี าร นักเรียนแสดงออกถึง นกั เรียนแสดงออกถงึ นกั เรียนแสดงออกถึง การปฏิบัติ เสียงดงั แกลง้ เพื่อน แซว ประพฤตติ นอย่าง ความสุภาพในการ ความสภุ าพในการ ความสุภาพในการ เพ่อื น สุภาพในการขึ้น ปฏบิ ัติ มกี ิริยาอ่อน ปฏบิ ตั ิ มกี ิรยิ าอ่อน ปฏบิ ัติ พรหมยนื ได้ น้อม ไม่เสียงดัง จดจ่อ นอ้ ม ไม่เสยี งดัง กับการปฏบิ ตั ิ การแปลความหมาย ระดับ 4 หมายถงึ ระดับคุณภาพดีมาก ระดบั 3 หมายถึง ระดบั คุณภาพดี ระดับ 2 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้ ระดับ 1 หมายถึง ระดับคุณภาพปรับปรุง หมายเหตุ : ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับพอใช้ขึน้ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook