Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

Published by โรงเรียน บ้านนานวน, 2020-09-25 04:46:07

Description: กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

Search

Read the Text Version

ก ประกาศโรงเรยี นบ้านนานวน เรื่อง ใหใ้ ช้หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นนานวน (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๓) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ --------------------------------------------------------- โรงเรียนบ้านนานวนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ ได้ดำเนินการ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนานวน(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเอกสารประกอบหลักสูตรข้ึน เพ่ือกำหนดใช้เป็นกรอบและ ทศิ ทางในการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านนานวน โดยโรงเรียนได้จัดทำและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กำหนด มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ี กำหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ังเจตคติท่ีจำเป็นต่อ การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพ้ืนฐานความเช่อื ว่า ทกุ คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ท้ังน้ี หลักสูตรโรงเรียนบ้านนานวนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน เมื่อวนั ท่ี ๑ เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงประกาศให้ใชห้ ลกั สตู รโรงเรยี นต้ังแตบ่ ดั นี้เปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันที ๑ เดอื น มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ (นายสมพร โคตรชยั ) ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานโรงเรยี นบ้านนานวน (นายปณิธาร ห้าวหาญ) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านนานวน

ข สารบัญ หน้า ประกาศโรงเรียน ใหใ้ ชห้ ลกั สูตรโรงเรียน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)……….................................................................................................................ก สารบัญ............................................................................................................................. .............................ข ความนำ........................................................................................................................................................1 วิสยั ทศั น์โรงเรียนบา้ นนานวน….....................................................................................................................3 คณุ ภาพผเู้ รยี น...............................................................................................................................................11 สาระมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัด ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1……………………………………………………………………………………………………….14 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2……………………………………………………………………………………………………….20 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3……………………………………………………………………………………..………………..28 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4……………………………………………………………………………………………………....40 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5……………………………………………………………………………………………..………..51 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6……………………………………………………………………………………………………….61 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1……………………………………….………………………………………………………………..70 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2…………………………………………………………………………………………………….…..81 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3…………………………………………………………………………………………………….…..89 แนวการจัดการเรยี นร.ู้ ...................................................................................................................................100 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้……………………………………………………………………………………………….…….103 สอ่ื การเรียนรแู้ ละแหลง่ เรยี นรู้…………………………………………………………………………………………………….……103 ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………………….……105 คำอธิบายศัพท์ ……………………………………………………………………………………………………………..106 คำส่งั โรงเรียน .........................................................................................................................114

1 สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ความนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสั่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลง มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีคำส่ังให้โรงเรียนดำเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมายและ มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีพัฒนาการเต็มตาม ศกั ยภาพ มคี ุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและเป้าหมายของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน โรงเรียนบ้านนานวน จึงได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านนานวน (ฉบับ ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพ่ือนำไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่ การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการ เรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางท่ีชัดเจนเพ่ือ ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรู้อย่างแท้จริง และมี ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกำหนดไว้ในเอกสารเล่มนี้ ช่วยทำให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในทุก ระดับเห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วย ให้หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การ จัดทำหลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความ ชัดเจนเรอ่ื งการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหวา่ งสถานศึกษา ดังนั้นใน การพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมท้ังเป็นกรอบ ทิศทางในการจดั การศกึ ษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผ้เู รียนทกุ กล่มุ เปา้ หมายในระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคล ต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็น

2 ระบบและต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพ่ือ พัฒนาเยาวชนของชาติไปสคู่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ทก่ี ำหนดไว้ งานวชิ าการ โรงเรยี นบ้านนานวน

3 วสิ ัยทศั น์โรงเรียนบ้านนานวน วิสยั ทัศน์ หลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นนานวนพทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เป็นหลกั สตู รที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนเป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรสู้ ู่มาตรฐานสากลและ เป็นมนษุ ยท์ ี่มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้คู่คณุ ธรรม มีความเป็นผนู้ ำของสังคมมีจติ สำนึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและเป็นพลโลกโดยใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงยึดม่นั ในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมุข มีความรู้และทกั ษะพื้นฐานสามารถใชน้ วัตกรรมและ เทคโนโลยรี วมทั้งเจตคตทิ ่จี ำเปน็ ตอ่ การศึกษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมุง่ เน้น ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั บนพนื้ ฐานความเชอ่ื ว่าทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนบ้านนานวนพุทธศักราช ๒๕๖๓ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความร้คู วามเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร ด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึง ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อยา่ ง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและ แก้ไขปัญหาและมีกาตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อตนเอง สังคมและ สงิ่ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียง พฤติกรรมไม่พงึ ประสงคท์ ี่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ ทำงาน การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

4 คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนบ้านนานวนพุทธศักราช ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่รว่ มกบั ผู้อ่ืนในสังคม ได้อย่างมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รกั ษ์ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสตั ย์สจุ รติ ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง ๖. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มจี ติ เปน็ สาธารณะ ยุทธศาสตร์ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นในระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ ใหค้ วามเสมอภาคในการเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้ท่ัวถึง ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รบั โอกาสในการพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ และมีคณุ ภาพ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ พัฒนาคณุ ภาพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กลยุทธ์ ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นในระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เปา้ ประสงค์ที่ ๑ นักเรียนระดับกอ่ นประถมศกึ ษา และระดับการศึกษา ขัน้ พื้นฐานทุกคน มี พัฒนาการเหมาะสมตามวัย และมคี ุณภาพ กลยทุ ธ์ ๑ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั การพฒั นาผ้เู รยี นอยา่ งมีคณุ ภาพ ๑.๑. พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ๑.๑.๑ ปลกู ฝงั ผูเ้ รยี นด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ๑.๑.๒ สง่ เสริม สนับสนุนการจัดกจิ กรรมแนะแนวและการบรกิ าร แนะแนวเพือ่ การศึกษาต่อ และการประกอบ อาชีพ ให้แกน่ ักเรยี นตง้ั แต่ระดบั ประถมศึกษา อยา่ งเขม้ แข็ง ต่อเน่ือง และ เป็นรปู ธรรม เพ่อื ให้ผูเ้ รียนรู้จัก และเข้าใจตนเอง สามารถวางแผนชวี ิตดา้ นการเรียน การประกอบอาชีพใน อนาคต รวมทั้งสามารถปรับตัวได้อยา่ งเหมาะสมและ อย่รู ว่ มกับผอู้ ื่นได้อย่างมีความสขุ ๑.๑.๓ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหน้ กั เรียนสามารถอ่านออกเขยี นไดต้ ามวยั

5 ๑.๑.๔ สง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสาร และภาษาอาเซยี น อย่างน้อย ๑ ภาษาเพื่อใหน้ กั เรียนสามารถสื่อสารกับชาวตา่ งชาติได้ รองรับการก้าวส่ปู ระชาคมอาเซียน และเทยี บเคยี งสู่มาตรฐานสากล ๑.๒ พฒั นาระบบส่งเสรมิ สนบั สนนุ คุณภาพการจัดการศึกษา ๑.๒.๑ สง่ เสรมิ การจัดการระบบข้อมลู สารสนเทศที่เกีย่ วข้องกับคณุ ภาพของผู้เรียน ทกุ ระดับทกุ ประเภทให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ๑.๒.๒ สนับสนุนการจดั สรรงบประมาณให้เหมาะสม สอดคล้องกับบรบิ ทและความ ตอ้ งการในการพฒั นาผู้เรียนให้เกิดคณุ ภาพ ๑.๒.๓ สง่ เสรมิ การนำหลกั สตู รไปสู่การปฏบิ ตั ใิ ห้เกิดประสทิ ธิภาพ รวมถงึ การ พัฒนาหลกั สตู ร ใหส้ อดคล้องกับความจำเป็นและความต้องการของผูเ้ รียน ชุมชน ทอ้ งถ่ิน และสังคม ๑.๒.๔ ส่งเสรมิ สนับสนนุ การใช้ส่ือการเรยี นการสอน เทคโนโลยี และนวตั กรรม และสงิ่ อานวยความสะดวกท่ีหลากหลาย การมศี ูนย์รวมสื่อใหค้ รสู ามารถยืมสือ่ ไปใช้ในการจัดการเรยี นรูไ้ ด้ เพื่อส่งเสรมิ การเรยี นรู้ทง้ั ในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน ๑.๒.๕ ส่งเสริมสนบั สนนุ การนำการทดสอบ NT, O-NET การประเมินของ PISA และระบบการทดสอบกลางของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มาใช้ในการพฒั นาการเรยี นรู้ ให้เกิดคุณภาพแก่ผเู้ รียน ๑.๒.๖ ส่งเสรมิ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ใหม้ คี วามเข้มแข็ง ๑.๒.๗ สง่ เสริมการจดั หลักสตู รทกั ษะอาชีพ ๑.๒.๘ จดั ระบบนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผล หลากหลายมิติให้มี ความเขม้ แขง็ และต่อเน่อื งเป็นรูปธรรม ให้มขี ้อมลู ปอ้ นกลับ และสามารถสะท้อนคณุ ภาพของผู้เรียน กลยทุ ธ์ ๒ สรา้ งแนวร่วมการกำกับดูแล พัฒนาคุณภาพนักเรียน ๒.๑ สร้างความเข้าใจและความตระหนักในการจัดการศึกษาข้นั พื้นฐาน ให้แก่ ผปู้ กครองชุมชน สังคมและสาธารณชน ๒.๒ ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผปู้ กครอง ชุมชน และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องทุกภาค สว่ นเขา้ มามีสว่ นรว่ มในการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ๒.๓ ประสานสถาบันที่รับนักเรยี นเขา้ ศึกษาต่อใหค้ ัดเลือกอย่างหลากหลาย สอดคลอ้ งกับหลกั สตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ให้ความเสมอภาคในการเขา้ ถึงบริการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานใหท้ ่ัวถึง ครอบคลุมผเู้ รียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ และมีคณุ ภาพ เป้าประสงค์ที่ ๒ ประชากรวยั เรยี นทุกคนไดร้ ับโอกาสในการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน อยา่ งทวั่ ถึง มี คณุ ภาพ และเสมอภาค กลยุทธ์ ๑ เพิ่มโอกาสการเข้าถงึ การจดั การศึกษาท่มี คี ุณภาพ

6 ๑.๑ จดั การศึกษาอย่างมีคณุ ภาพตามความต้องการจำเป็นของผ้เู รยี น ชุมชน และ บรบิ ทของพ้นื ท่ี ทง้ั ในระดบั ประถมศกึ ษาและระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ให้เปน็ โรงเรียนท่มี ีรปู แบบการเรียน การสอนท่สี อดคล้องกบั บรบิ ทของพื้นที่ และมุ่งสู่มาตรฐานสากล บนพื้นฐานของความเป็นไทย ให้ครอบคลุมเขตบริการของสถานศกึ ษา ๑.๒ จดั ใหม้ กี ารศกึ ษาวิชาชีพ ทั้งทจี่ ดั เองและสรา้ งความร่วมมือกบั หน่วยงานอ่นื เพื่อ เปน็ การส่งเสริมการมีงานทำของผเู้ รยี น โดยเฉพาะระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ให้สร้างความร่วมมือกับสถาน ประกอบการ เพอ่ื เปน็ ช่องทางในการเลอื กประกอบอาชีพของผูเ้ รียน ๑.๓ จดั ใหม้ กี ารศึกษาในรปู แบบทหี่ ลากหลาย ทัง้ ในรูปแบบปกติ รปู แบบเพ่ือความ เปน็ เลศิ รูปแบบเพ่ือเด็กพิการ เด็กดอ้ ยโอกาส และรปู แบบการศกึ ษาทางเลือก ใหเ้ หมาะสม กบั ความต้องการจำเปน็ ของผู้เรยี นแต่ละบคุ คล และมีคณุ ภาพ ตามมาตรฐาน โดยมีความเชือ่ มโยงระหวา่ ง รปู แบบตา่ ง ๆ กลยุทธ์ ๒ เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ของระบบที่เก่ียวข้อง เพอื่ ลดความเสี่ยงในการออก กลางคัน และดูแลชว่ ยเหลือเดก็ ดอ้ ยโอกาส และเดก็ ที่ไม่อย่ใู นทะเบียนราษฎร์อยา่ งเหมาะสม ๒.๑ พฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศ นักเรียนเปน็ รายบุคคล ทงั้ ในเชงิ ปริมาณ และคุณภาพใหม้ ีประสิทธภิ าพและต่อเน่ือง เชอื่ มโยงกนั โดยเฉพาะเมื่อเกิดการส่งต่อนักเรียน ๒.๒ สร้างความเขม้ แขง็ ของระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ระบบสง่ เสริมความประพฤติ นกั เรยี น และระบบคุม้ ครองนักเรียน รวมทั้งใหเ้ ชื่อมโยงทุกระดบั กบั งานท่ีสมั พันธ์ ๒.๓ ประสานหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง เพ่ือจดั ทำระบบดูแลชว่ ยเหลือ และจัดการศกึ ษาที่ เหมาะสม สำหรบั เด็กด้อยโอกาสท่ไี ม่อยใู่ นทะเบยี นราษฎร์ เช่น เดก็ ไร้สัญชาติ เดก็ พลดั ถ่ิน เด็กไทยท่ีไมม่ ี เลขประจำตวั ประชาชน ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ พัฒนาคุณภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา เป้าประสงค์ท่ี ๓ ครู มที ักษะทีเ่ หมาะสม และมวี ฒั นธรรมการทำงานมุ่งเน้นผลสมั ฤทธิ์ กลยุทธ์ ๑ ส่งเสริม สนบั สนนุ การพฒั นาองค์ความรู้ โดยเฉพาะด้านการวัด และประเมนิ ผล และทักษะในการสอ่ื สารของครูใหม้ สี มรรถนะในการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๑ เผยแพร่องคค์ วามรู้ และแหล่งเรยี นรเู้ กยี่ วกับนวตั กรรม วธิ ีการจัดการเรยี น การ สอน การสอนคิดแบบตา่ งๆ และการวัดประเมินผล ใหส้ ามารถพฒั นาและประเมินผลนักเรียน ใหม้ คี ุณภาพตามศักยภาพเป็นรายบุคคล ๑.๒ พัฒนาครใู ห้สามารถยกระดบั คุณภาพการศึกษาตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล โดยการประยกุ ต์ใช้สอ่ื และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สารอยา่ งเหมาะสม ๑.๓ ส่งเสรมิ ระบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตร โดยผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและครู ๑.๔ สง่ เสรมิ การสร้างเครือข่ายการเรยี นรู้ การมีส่วนรว่ มจากผมู้ ีสว่ นเกย่ี วข้อง และทุก ภาคส่วนใหเ้ กดิ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้

7 ๑.๕ ส่งเสริมใหค้ รจู ัดการเรียนการสอน ให้สอดรับกบั การเป็นประชาคมอาเซยี น กลยทุ ธ์ ๒ เสรมิ สรา้ งระบบแรงจูงใจเพ่ือใหค้ รู มีขวญั กำลังใจในการทำงาน ๔.๑ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติ ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาท่ีเป็นมืออาชพี มีผลงาน เชิงประจกั ษ์ ๔.๒ สง่ เสริมความกา้ วหนา้ ของครู ใหม้ วี ทิ ยฐานะทีส่ อดคลอ้ งกบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการ เรียนของนักเรียน กลยทุ ธ์ ๓ สนบั สนุนกจิ กรรมทสี่ ่งเสรมิ ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา มจี ิตวญิ ญาณของ ความเป็นครกู ารเปน็ ครูมืออาชพี และยึดมั่นในจรรยาบรรณของวิชาชีพ ผลผลติ ๑) ผจู้ บการศกึ ษาก่อนประถมศกึ ษา ๒) ผู้จบการศกึ ษาภาคบงั คับ ๓) เด็กพิการไดร้ ับการศึกษาภาคบงั คับและพฒั นาสมรรถภาพ ๔) ผู้ทีม่ คี วามสามารถพิเศษได้รับการพัฒนาศักยภาพ จุดเน้น ส่วนที่ ๑ จดุ เนน้ ด้านผู้เรียน ๑.๑ นกั เรยี นมสี มรรถนะสำคัญ สู่มาตรฐานสากล ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑.๑.๑ นกั เรยี นระดบั กอ่ นประถมศึกษามีพัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ และ สติปญั ญาท่สี มดุลเหมาะสมกับวัย และเรยี นรู้อยา่ งมีความสขุ ๑.๑.๒ นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นจากการทดสอบ ระดบั ชาติ (O-NET) เพ่ิมขน้ึ ๑.๑.๓ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ มีความสามารถดา้ นภาษา อา่ นออก เขียนได้ ดา้ น คำนวณและด้านการใชเ้ หตผุ ลทีเ่ หมาะสม จากการทดสอบระดับชาติ (NT) ๑.๑.๔ นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ถงึ ไดร้ บั การส่งเสริมให้มแี รงจงู ใจสอู่ าชีพ ด้วยการ แนะแนว ทงั้ โดยครูและผู้ประกอบอาชีพตา่ ง ๆ (ผู้ปกครอง ศิษยเ์ ก่า สถานประกอบการใน/นอกพื้นท่ี) และ ไดร้ บั การพัฒนาความรู้ ทักษะ ทเ่ี หมาะสมกับการประกอบอาชีพสจุ ริตในอนาคต ๑.๑.๕ นกั เรียนมที กั ษะชวี ติ ทักษะการคิดวิเคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ และทักษะการส่ือสาร อย่างสรา้ งสรรค์ ทักษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื เป็นเครอ่ื งมือในการเรยี นรู้ เหมาะสมตามชว่ งวยั ๑.๒ นักเรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม รักความเป็นไทย หา่ งไกลยาเสพติด มีคณุ ลักษณะและ ทักษะทางสงั คมท่ีเหมาะสม ๑.๒.๑ นกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษา ใฝเ่ รยี นรู้ ใฝด่ ี และอย่รู ่วมกับผู้อน่ื ได้

8 ๑.๒.๒ นักเรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ มีทักษะการแกป้ ัญหา และอยู่อย่างพอเพียง ๑.๓ นักเรยี นทมี่ ีความต้องการพิเศษไดร้ ับการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นา เต็มศกั ยภาพ เป็นรายบคุ คล ด้วยรปู แบบท่ีหลากหลาย ๑.๓.๑ เดก็ พกิ ารได้รับการพัฒนาศกั ยภาพเปน็ รายบคุ คลด้วยรูปแบบ ทหี่ ลากหลาย ตามหลกั วิชา ๑.๓.๒ เดก็ ดอ้ ยโอกาส และเด็กพเิ ศษ ไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐาน การเรยี นรขู้ องหลกั สูตร และ อัตลกั ษณ์แหง่ ตน ๑.๓.๓ นักเรียนทม่ี ีความสามารถพิเศษ ได้รับการสง่ เสรมิ ใหม้ ีความเปน็ เลิศ ดา้ นวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี พนื้ ฐานทางวศิ วกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา กีฬา ดนตรี และศลิ ปะ ๑.๓.๔ เด็กกล่มุ ที่ตอ้ งการการคมุ้ ครองและชว่ ยเหลือเปน็ กรณีพเิ ศษ ไดร้ ับการคุ้มครอง และช่วยเหลอื เยยี วยา ดว้ ยรูปแบบท่ีหลากหลาย ๑.๓.๕ เด็กวยั เรยี นในถน่ิ ทรุ กนั ดาร ไดร้ บั การศึกษาและพัฒนาทกั ษะ การเรียนรู้ ตลอดชวี ติ ส่วนที่ ๒ จุดเน้นดา้ นครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ๒.๑ ครูได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ และทักษะในการส่ือสารมสี มรรถนะในการสอน อย่างมีประสิทธภิ าพ ๒.๑.๑ ครูได้รบั การพฒั นาวิธีการจดั การเรียนการสอน การสอนคดิ แบบต่าง ๆ และการวัด ประเมนิ ผล ใหส้ ามารถพฒั นาและประเมนิ ผลนกั เรยี นให้มีคุณภาพตามศกั ยภาพเป็นรายบุคคล ๒.๑.๒ ครูสามารถยกระดับคุณภาพการศกึ ษา โดยประยกุ ตใ์ ช้ระบบสารสนเทศ และการส่ือสารอย่างเหมาะสม ๒.๑.๓ ครูไดร้ ับการนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร โดยผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ๒.๑.๔ ครูสรา้ งเครือข่ายการเรยี นรู้ การมีสว่ นร่วมจากผมู้ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง และทกุ ภาคส่วน ให้เกดิ ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ ๒.๑.๕ ครูจดั การเรยี นการสอน ใหส้ อดรับกับการเป็นประชาคมอาเซยี น ๒.๑.๖ ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีจิตวญิ ญาณของความเป็นครู การเป็นครูมืออาชีพ และยดึ มั่นในจรรยาบรรณของวิชาชีพ ๒.๒ ผู้บริหารสถานศกึ ษา มคี วามสามารถในการบรหิ ารงานทกุ ด้านให้มีประสทิ ธิภาพและเกิด ประสิทธผิ ล ๒.๓ ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา มีขวัญกำลงั ใจในการทำงานตามหน้าที่ ๒.๔ องคก์ ร คณะบุคคลและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสยี ท่ีเกีย่ วข้อง วางแผนและสรรหาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของโรงเรยี น และชมุ ชน

9 ตัวชีว้ ัด เพื่อใหก้ ารดำเนนิ งานเปน็ ไปตามจดุ เนน้ ท่กี ำหนดไว้ โรงเรยี นบ้านดินแดง(สลี าประชารฐั ) จงึ กำหนดตัวช้วี ดั ดงั นี้ จุดเน้นที่ ๑ ด้านผู้เรยี น ๑. นกั เรยี นมีสมรรถนะสำคัญส่มู าตรฐานสากล ตวั ช้ีวดั ๑.๑ ค่าเฉลี่ยร้อยละของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ ของการสอบ NT เพ่มิ ขน้ึ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๓ ๑.๒ ค่าเฉลยี่ ร้อยละของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ของผลการทดสอบ ระดบั ชาติ O-NET ทุกกลุม่ สาระหลกั เพิ่มข้นึ ร้อยละ ๓ ๑.๓ นกั เรยี นทุกคนท่ีได้รับการพฒั นาใหม้ ีคณุ ลกั ษณะผู้นำนักเรยี นอาเซียน ๑.๔ มแี นวปฏบิ ตั ิในการบรหิ ารจัดการหลกั สูตรสถานศึกษาทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ๒. นกั เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม รักสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ภมู ใิ จในความ เป็นไทย หา่ งไกล ยาเสพตดิ มคี ุณลักษณะและทักษะทางสังคมทเ่ี หมาะสม ๒.๑ ระดับความสำเร็จการดาเนินกจิ กรรม ใหผ้ ูเ้ รียนมีคา่ นิยมหลกั คนไทย ๑๒ ประการ ครบทุกตวั สอดคล้องตามช่วงวัย ๓. นกั เรยี นท่ีมคี วามต้องการพิเศษได้รบั การสง่ เสรมิ และพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ เปน็ รายบคุ คล ๓.๑ รอ้ ยละ ๘๐ ของนกั เรียนพิการท่ีไดร้ บั โอกาสให้สามารถพัฒนาตาม แผนการศึกษาเฉพาะบคุ คล (IEP.) ไดเ้ ต็มตามศักยภาพ ๓.๒ ร้อยละ ๘๐ ของของนกั เรียนพิการผา่ นการพฒั นาตามศกั ยภาพเปน็ รายบคุ คล จดุ เนน้ ที่ ๒ ด้านครู และบุคลากรทางการศึกษา ๑. ครไู ดร้ ับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะ ๑.๑ ครกู ลมุ่ เปา้ หมายทุกคน มีองค์ความรูต้ ามเน้อื หาท่กี ำหนดในระดบั ดีขึ้นไป ๑.๒ ครูกลมุ่ เป้าหมายทุกคน ไดร้ บั การนิเทศการสอนและช่วยเหลอื ครใู ห้สามารถ กจิ กรรมการเรยี นการสอน และยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นได้

10 โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรียนบา้ นนานวน หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นนานวน พุทธศักราช ๒๕6๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ เวลาเรยี น กิจกรรม ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สงั คมศกึ ษา ศาสนา ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ และวฒั นธรรม (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘0 ๘0 ๘0 ๑6๐ ๑๖๐ ๑๖๐ สุขศึกษาและพลฯ (4 นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒0 120 120 (3 นก.) การงานอาชีพ (3 นก.) (3 นก.) ภาษาตา่ งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 40 40 40 รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) (1นก.) (1นก.) (1นก.)  กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น - กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) กิจกรรมนกั เรยี น - ลูกเสือ เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ 8๐ 8๐ 80 8๐ 8๐ 8๐ (2นก.) (2 นก.) (2 นก.) - ชมุ นุม กจิ กรรมเพือ่ สังคมและ ๔0 ๔0 ๔0 ๘๐ ๘๐ ๘๐ 40 4๐ 4๐ (1 นก.) (1 นก.) สาธารณประโยชน์ (1นก.) คอมพวิ เตอร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑2๐ ๑2๐ ๑2๐ หน้าที่พลเมอื ง (3 นก.) (3 นก.) (3 นก.) *บรู ณาการหลักสูตรต้าน ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ทุจรติ (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) งานอาชพี รวมเวลาเรียนทัง้ หมด ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 ๓0 ๓0 ๓0 ๓0 ๓0 ๓0 ๓0 ๓0 ๓0 ๑0 ๑0 ๑0 ๑0 ๑0 ๑0 ๑0 ๑0 ๑0  สาระเพิ่มเตมิ ๘0 ๘0 ๘0 ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ *๔0 *๔๐ *๔๐ *๔๐ *๔๐ *๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ *๔๐ *๔๐ *๔๐ 1,000 ๘0 ๘0 ๘0 (ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ ชัว่ โมง/ปี) 1,๒00 (ไมเ่ กิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี)

11 คุณภาพผู้เรยี น จบชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 - อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 มีความรู้สึกเชิงจำนวน มีทักษะการบวก การลบ การคูณ การ หาร และนำไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ - มีความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับเศษส่วนท่ีไม่เกิน 1 มีทักษะการบวก การลบ เศษส่วนท่ีตัวส่วน เทา่ กัน และนำไปใช้ในสถานการณต์ า่ ง ๆ - คาดคะเนและวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร ความจุ เลือกใช้เครื่องมือและหน่วยที่เหมาะสม บอกเวลา บอกจำนวนเงนิ และนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ - จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอกและกรวย เขียนรูปหลายเหล่ียม วงกลมและวงรีโดยใช้แบบของรูป ระบุรูป เรขาคณิตทมี่ แี กนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร และนำไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ - อ่านและเขยี นแผนภูมิรูปภาพ ตารางทางเดยี ว และนำไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ จบชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 - อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง อัตราส่วน และร้อยละ มีความรู้สึกเชิงจำนวน มีทักษะการบวก การลบ การคูณ การหาร ประมาณ ผลลพั ธ์ และนำไปใช้ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ - อธิบายลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิต หาความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูปเรขาคณิต สร้างรูปสามเหล่ียม รูปสี่เหล่ียมและวงกลม หาปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และนำไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ - นำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิแท่ง ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม ตารางสองทาง และกราฟเสน้ ในการอธิบายเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ และตัดสินใจ จบช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 - มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั จำนวนจริง ความสัมพันธ์ของจำนวนจริง สมบัติของจำนวนจรงิ และใช้ความรูค้ วามเข้าใจน้ีในการแกป้ ัญหาในชีวติ จริง - มีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับอัตราสว่ น สดั ส่วน และร้อยละ และใช้ความร้คู วามเข้าใจน้ี ในการแก้ปัญหาในชีวติ จริง - มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเลขยกกำลังท่ีมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม และใช้ความรู้ความเข้าใจ น้ี ในการแกป้ ัญหาในชวี ติ จริง - มีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั สมการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดยี ว ระบบสมการเชงิ เสน้ สองตวั แปร และอสมการเชงิ เสน้ สองตวั แปรเดยี ว และใช้ความรคู้ วามเขา้ ใจนใ้ี นการแก้ปัญหาในชีวติ จริง

12 - มีความรู้ความเข้าใจและใช้ความรู้เก่ียวกับคู่อันดับ กราฟของความสัมพันธ์ และฟังก์ชันกำลัง สอง และใช้ความรู้ความเข้าใจเหลา่ นใ้ี นการแก้ปัญหาในชวี ติ จรงิ - มีความรูค้ วามเขา้ ใจทางเรขาคณิตและใช้เคร่อื งมือ เชน่ วงเวยี นและสันตรง รวมทัง้ โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอ่ืน ๆ เพ่ือสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจนนำความรเู้ กยี่ วกบั การสรา้ งนไี้ ปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในชวี ติ จรงิ - มีความรู้ความเข้าใจและใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสอง มติ แิ ละรูปเรขาคณิตสามมิติ - มคี วามรคู้ วามเข้าใจในเรอ่ื งพ้ืนทีผ่ ิวและปรมิ าตรของปริซมึ ทรงกระบอก พรี ะมดิ กรวย และ ทรงกลม และใช้ความรู้ความเขา้ ใจนใ้ี นการแกป้ ัญหาในชวี ติ จริง - มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั สมบตั ขิ องเส้นขนาน รปู สามเหลย่ี มทเี่ ทา่ กนั ทกุ ประการ รปู สามเหลย่ี มคลา้ ย ทฤษฎบี ทพที าโกรัสและบทกลบั และนำความรู้ความเข้าใจนีไ้ ปใช้ ในการแก้ปญั หาในชีวิตจรงิ - มคี วามรูค้ วามเข้าใจในเรือ่ งการแปลงทางเรขาคณติ และนำความรู้ความเข้าใจนี้ไปใช้ ในการแก้ปญั หาในชวี ิตจริง - มีความรคู้ วามเขา้ ใจในเรื่องอัตราสว่ นตรโี กณมิติและนำความร้คู วามเข้าใจนไี้ ปใช้ในการ แกป้ ญั หาในชีวติ จริง - มีความรคู้ วามเข้าใจในเรื่องทฤษฎบี ทเกี่ยวกบั วงกลมและนำความรคู้ วามเขา้ ใจนี้ไปใช้ ในการแก้ปญั หาคณติ ศาสตร์ - มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทางสถติ ใิ นการนำเสนอขอ้ มูล วิเคราะหข์ ้อมูล และแปลความหมายข้อมูล ทเี่ กี่ยวข้องกับแผนภาพจุด แผนภาพต้น-ใบ ฮสิ โทแกรม ค่ากลางของข้อมลู และแผนภาพ กลอ่ ง และใช้ความรคู้ วามเขา้ ใจนี้ รวมทงั้ นำสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม - มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับความน่าจะเปน็ และใช้ในชวี ติ จรงิ โครงสร้างเวลาเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดับชน้ั เวลาเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน ประถมศึกษาปที ่ี 1 ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 200 ประถมศกึ ษาปีที่ 3 200 ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 200 ประถมศึกษาปที ี่ 5 160 160

13 ประถมศึกษาปที ่ี 6 160 รวม 1,080 120 มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 120 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 120 มัธยมศึกษาปที ี่ 3 360 1,440 รวม รวมท้ังสน้ิ

14 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วดั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวัด สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวนผลท่ีเกิดข้ึนจากการดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.1/1 บอกจำนวนของสง่ิ ต่าง ๆ จำนวนนบั 1 ถงึ 100 และ 0 แสดงสิง่ ตา่ ง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อา่ นและ - การนับทีละ 1 และทลี ะ 10 เขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทยแสดง - การอ่านและการเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบิก จำนวนนับไม่เกิน 100 และ 0 ตวั เลขไทยแสดงจำนวน ค 1.1 ป.1/2 เปรยี บเทยี บจำนวนนบั ไมเ่ กิน - การแสดงจำนวนนับไมเ่ กิน 20 ในรปู ความสัมพันธ์ ของจำนวนแบบสว่ นยอ่ ย – ส่วนรวม 100 และ 0 โดยใช้เครื่องหมาย =  > < (Part – Whole Relationship) ค 1.1 ป.1/3 เรยี งลำดับจำนวนนับไมเ่ กนิ 100 และ 0 ตง้ั แต่ 3 ถงึ 5 จำนวน - การบอกอนั ดบั ที่ - หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และ การเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย - การเปรยี บเทียบจำนวนและการใช้เครื่องหมาย =>< - การเรียงลำดับจำนวน ค 1.1 ป.1/4 หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค การบวก การลบ จำนวนนบั 1 ถงึ 100 และ 0 สญั ลักษณ์แสดงการบวกและประโยคสญั ลักษณ์ - ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ แสดงการลบของจำนวนนับไมเ่ กนิ 100 และ 0 การหาผลบวก การหาผลลบ และความสัมพนั ธ์ ค 1.1 ป.1/5 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ ของการบวกและการลบ ปญั หาการบวกและโจทย์ปญั หาการลบของ - การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ จำนวนนบั ไม่เกิน 100 และ 0 และการสรา้ งโจทยป์ ัญหา พร้อมท้งั หาคำตอบ สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค. 1.2 เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสัมพนั ธ์ ฟังก์ชนั ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช้

15 ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ ค 1.2 ป.1/1 ระบจุ ำนวนที่หายไปในแบบรูป แบบรูป ของจำนวนที่เพ่มิ ขึน้ หรือลดลงทลี ะ 1 และทีละ - แบบรปู ของจำนวนท่เี พิ่มขน้ึ หรอื ลดลงทีละ 1 10 และระบุรปู ท่ีหายไปในแบบรปู ซ้ำของรูป เรขาคณติ และรปู อน่ื ๆ ท่ีสมาชิกในแตล่ ะชดุ ที่ และทลี ะ 10 ซ้ำมี 2 รปู - แบบรปู ซ้ำของจำนวน รปู เรขาคณิตและรปู อ่ืน ๆ สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพื้นฐานเกีย่ วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ทต่ี ้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้ ค 2.1 ป.1/1 วัดและเปรยี บเทยี บความยาวเปน็ ความยาว เซนตเิ มตร เป็นเมตร - การวดั ความยาวโดยใช้หน่วยที่ไม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน - การวดั ความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร - การเปรียบเทยี บความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร - การแก้โจทย์ปญั หาการบวก การลบเกีย่ วกับ ความยาวทม่ี ีหน่วยเปน็ เซนติเมตร เป็นเมตร ค 2.1 ป.1/2 วัดและเปรยี บเทียบน้ำหนกั เปน็ นำ้ หนัก กโิ ลกรัม เปน็ ขดี - การวดั น้ำหนกั โดยใชห้ น่วยท่ีไม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน - การวดั นำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั เปน็ ขดี - การเปรยี บเทียบน้ำหนักเปน็ กิโลกรมั เปน็ ขดี - การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก การลบเกี่ยวกบั นำ้ หนัก ท่ีมหี นว่ ยเปน็ กโิ ลกรัม เป็นขดี สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค. 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณติ สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพนั ธร์ ะหว่างรูป เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้

16 ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ ค 2.2 ป.1/1 จำแนกรปู สามเหลยี่ ม รูป รูปเรขาคณติ สองมิติและรูปเรขาคณติ สามมิติ ส่ีเหลยี่ ม วงกลม วงรี ทรงสเี่ หลย่ี มมมุ ฉาก - ลกั ษณะของทรงส่เี หลยี่ มมุมฉาก ทรงกลม ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ทรงกระบอก กรวย - ลกั ษณะของรปู สามเหล่ียม รปู สเี่ หล่ียม วงกลม และวงรี สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค. 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรูท้ างสถติ ิในการแก้ปญั หา ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ ค 3.1 ป.1/1 ใช้ข้อมูลจากแผนภูมริ ปู ภาพใน การนำเสนอขอ้ มลู การหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา เมอ่ื กำหนดรปู - การอ่านแผนภูมิรูปภาพ 1 รูปแทน 1 หน่วย

17 คำอธบิ ายรายวชิ า ค11101 คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตรช์ น้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลาเรยี น 200 ชั่วโมง ศึกษาความรู้เก่ียวกับเร่ืองการนับทีละ 1 และทีละ 10 การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยแสดงจำนวน การแสดงจำนวนนับไม่เกิน 20 ในรูปความสัมพันธ์ของจำนวนแบบส่วนย่อย ส่วนรวม (Part – Whole Relationship) การบอกอันดับท่ี หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการ เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจำนวนและการใช้เครื่องหมาย =  > < การ เรียงลำดับจำนวน ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ และ ความสมั พนั ธ์ของการบวกและการลบ การแก้โจทย์ปญั หาการบวก โจทย์ปญั หาการลบ และการสร้างโจทย์ ปัญหา พร้อมท้ังหาคำตอบ แบบรูปของจำนวนท่ีเพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละ 1 และทีละ 10 แบบรูปซ้ำของ จำนวน รูปเรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ การวัดความยาวโดยใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดความยาว เปน็ เซนติเมตร เป็นเมตร การเปรยี บเทยี บความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเก่ียวกับความยาวท่ีมีหน่วยเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การวัดน้ำหนักโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วย มาตรฐาน การวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรมั เป็นขดี การเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกโิ ลกรัม เปน็ ขีด การแก้โจทย์ ปัญหาการบวก การลบเก่ียวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม เป็นขีด ลักษณะของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ลักษณะของรูปสามเหล่ียม รูปส่ีเหล่ียม วงกลม และวงรี การอ่านแผนภูมิ รปู ภาพ โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การเช่อื มโยง การให้เหตุผล การคดิ สร้างสรรค์ การส่ือสาร และการสือ่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ เพ่อื ให้เกิดความรคู้ วามเขา้ ใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่ร้ใู ฝเ่ รยี น มรี ะเบยี บวินัยมุง่ ม่ันในการทำงาน อยา่ งมีระบบ ประหยัด ซ่ือสตั ย์ มีวิจารณญาณ รจู้ ักนำความรูไ้ ปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำรงชีวติ ได้อยา่ ง พอเพียง รวมทั้งมเี จตคติทีด่ ตี ่อคณิตศาสตร์ รหสั ตัวช้ีวัด ค 1.1 ป.1/2 ค 1.1 ป.1/3 ค 1.1 ป.1/4 ค 1.1 ป.1/5 มาตรฐาน ค 1.1 ค 1.1 ป1/1 ค 2.1 ป.1/2 มาตรฐาน ค 1.2 ค 1.2 ป.1/1 มาตรฐาน ค 2.1 ค 2.1 ป.1/1 มาตรฐาน ค 2.2 ค 2.2 ป.1/1 มาตรฐาน ค 3.1 ค 3.1 ป.1/1 รวมท้ังสิ้น 10 ตัวชี้วดั

18 โครงสร้างรายวิชา ค11101 คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลาเรยี น 200 ชว่ั โมง หน่วย ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา สดั สว่ น ที่ เรียนรู้ การเรียนร/ู้ ตัวช้วี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน 1 จำนวนนบั 1 ถงึ ค 1.1 ป.1/1 - การนับทีละ 1 และทีละ 10 100 และ 0 ค 1.1 ป.1/2 - การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดู (70%) ค 1.1 ป.1/3 50 18 2 การบวก การลบ อารบิก ตวั เลขไทยแสดงจำนวน จำนวนนบั 1 ถึง ค 1.1 ป.1/4 - การแสดงจำนวนนบั ไมเ่ กิน 20 ใน 50 18 100 และ 0 ค 1.1 ป.1/5 รูปความสมั พนั ธ์ของจำนวนแบบ 15 5 3 แบบรปู ค 1.2 ป.1/1 สว่ นยอ่ ย – ส่วนรวม (Part – Whole Relationship) - การบอกอันดับท่ี - หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขียนตวั เลขแสดงจำนวนใน รูปกระจาย - การเปรยี บเทยี บจำนวนและการใช้ เครื่องหมาย =  > < - การเรียงลำดับจำนวน - ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหา ผลบวก การหาผลลบ และ ความสัมพันธข์ องการบวกและ การลบ - การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทยป์ ญั หาการลบ และการสรา้ ง โจทยป์ ญั หา พรอ้ มท้งั หาคำตอบ - แบบรูปของจำนวนที่เพ่ิมข้ึนหรอื ลดลงทลี ะ 1 และทีละ 10

19 หนว่ ย ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา สัดสว่ น ที่ เรียนรู้ 4 ความยาว การเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั (ช่วั โมง) คะแนน 5 นำ้ หนกั (70%) 6 รูปเรขาคณิตสอง - แบบรปู ซ้ำของจำนวน รูปเรขาคณติ มติ แิ ละรูป เรขาคณติ สามมิติ และรูปอ่ืน ๆ 7 การนำเสนอขอ้ มลู ค 2.1 ป.1/1 - การวดั ความยาวโดยใชห้ น่วยท่ีไม่ใช่ 30 10 หนว่ ยมาตรฐาน - การวดั ความยาวเป็นเซนติเมตร เปน็ เมตร - การเปรยี บเทียบความยาว เปน็ เซนติเมตร เป็นเมตร - การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบ เก่ียวกบั ความยาวที่มหี น่วย เปน็ เซนตเิ มตร เปน็ เมตร ค 2.1 ป.1/2 - การวดั นำ้ หนกั โดยใช้หนว่ ยทไี่ มใ่ ช่ 30 10 หนว่ ยมาตรฐาน - การวดั นำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั เปน็ ขดี - การเปรียบเทยี บนำ้ หนักเปน็ กิโลกรัม เป็นขีด - การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก การลบ เกย่ี วกบั น้ำหนักทีม่ ีหน่วยเปน็ กโิ ลกรมั เปน็ ขดี ค 2.2 ป.1/1 - ลกั ษณะของรปู สามเหลยี่ ม รูปสเี่ หลีย่ ม 15 5 วงกลม และวงรี - ลักษณะของทรงส่ีเหล่ยี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ค 3.1 ป.1/1 - การอ่านแผนภมู ริ ูปภาพ 10 4 รวมคะแนนระหว่างเรียน 70 คะแนนทดสอบปลายปี 30 100 รวมคะแนนทง้ั ปี

20 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 สาระ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค. 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวนผลทเ่ี กดิ ข้นึ จากการดำเนินการ สมบตั ิของการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.2/1 บอกจำนวนของสิ่งตา่ ง ๆ แสดง จำนวนนบั ไมเ่ กนิ 1,000 และ 0 สงิ่ ต่าง ๆ ตามจำนวนท่ีกำหนด อา่ นและเขียน - การนับทีละ 2 ทลี ะ 5 ทีละ 10 และทลี ะ 100 ตวั เลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทย ตัวหนงั สอื แสดง - การอา่ นและการเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก จำนวนนบั ไม่เกนิ 1,000 และ 0 ตวั เลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจำนวน ค 1.1 ป.2/2 เปรยี บเทยี บจำนวนนับไม่เกิน - จำนวนคู่ จำนวนค่ี 1,000 และ 0 โดยใช้เครื่องหมาย =  > < - หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี น ค 1.1 ป.2/3 เรียงลำดับจำนวนนับไม่เกนิ ตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย 1,000 และ 0 ตงั้ แต่ 3 ถึง 5 จำนวนจาก - การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับจำนวน สถานการณ์ต่าง ๆ ค 1.1 ป.2/4 หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ใน การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนบั ประโยคสญั ลักษณ์ แสดงการบวกและประโยค ไม่เกนิ 1,000 และ 0 สญั ลักษณ์แสดงการลบของจำนวนนับไม่เกิน - การบวกและการลบ 1,000 และ 0 - ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร ค 1.1 ป.2/5 หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าใน การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ และ ประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการคูณของจำนวน 1 ความสมั พนั ธข์ องการคูณและการหาร หลักกบั จำนวนไม่เกนิ 2 หลกั - การบวก ลบ คณู หารระคน ค 1.1 ป.2/6 หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน - การแก้โจทยป์ ญั หาและการสร้างโจทยป์ ญั หา ประโยคสญั ลกั ษณ์ แสดงการหารทตี่ ัวตัง้ ไม่เกิน พรอ้ มทัง้ หาคำตอบ 2 หลัก ตัวหาร 1 หลัก โดยที่ผลหารมี 1 หลัก ทงั้ หารลงตัวและหารไมล่ งตวั ค 1.1 ป.2/7 หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หาร ระคนของจำนวนนับ ไม่เกิน 1,000 และ 0

21 สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค. 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสัมพนั ธ์ ฟงั กช์ นั ลำดบั และอนุกรม และนำไปใช้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ (มกี ารจดั การเรยี นการสอน เพือ่ เปน็ พ้ืนฐาน แบบรปู แต่ไม่วดั ผล) - แบบรูปของจำนวนที่เพ่ิมข้ึนหรือลดลงทลี ะ 2 ทลี ะ 5 และทีละ 100 - แบบรูปซำ้ สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกยี่ วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และ นำไปใช้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ ค 2.1 ป.2/1 แสดงวิธหี าคำตอบของ เวลา โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาท่ีมหี น่วยเด่ยี วและเปน็ - การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที (ช่วง 5 นาท)ี หนว่ ยเดยี วกัน - การบอกระยะเวลาเปน็ ชั่วโมง เป็นนาที - การเปรียบเทียบระยะเวลาเปน็ ช่วั โมง เป็นนาที ค 2.1 ป.2/2 วดั และเปรียบเทียบความยาว - การอ่านปฏิทนิ เป็นเมตรและเซนตเิ มตร - การแกโ้ จทย์ปัญหาเกยี่ วกับเวลา ค 2.1 ป.2/3 แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ ความยาว ปญั หาการบวก การลบเกี่ยวกับความยาวทมี่ ี - การวัดความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร หนว่ ยเป็นเมตรและเซนตเิ มตร - การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร - การเปรยี บเทียบความยาวโดยใช้ความสมั พันธร์ ะหว่าง ค 2.1 ป.2/4 วัดและเปรยี บเทยี บน้ำหนักเปน็ กิโลกรมั และกรมั กิโลกรมั และขดี เมตรกบั เซนติเมตร ค 2.1 ป.2/5 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกย่ี วกับความยาวท่มี ีหน่วยเปน็ เมตร ปัญหาการบวก การลบเกีย่ วกับน้ำหนักที่มี หน่วยเปน็ กโิ ลกรมั และกรมั กิโลกรัมและขดี และเซนตเิ มตร นำ้ หนกั - การวดั น้ำหนกั เป็นกิโลกรมั และกรัม กโิ ลกรมั และขดี - การคาดคะเนน้ำหนกั เป็นกิโลกรมั - การเปรยี บเทยี บน้ำหนักโดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหว่าง กิโลกรัมกับกรัม กิโลกรมั กบั ขดี

22 ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้ - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักทีม่ ีหนว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั และกรัม กโิ ลกรัมและขีด ค 2.1 ป.2/6 วดั และเปรียบเทยี บปริมาตรและ ปรมิ าตรและความจุ ความจุเป็นลติ ร - การวัดปรมิ าตรและความจุโดยใชห้ น่วยท่ีไม่ใช่ หนว่ ยมาตรฐาน - การวดั ปริมาตรและความจเุ ปน็ ช้อนชา ชอ้ นโต๊ะ ถว้ ยตวง ลติ ร - การเปรยี บเทียบปริมาตรและความจเุ ปน็ ช้อนชา ชอ้ นโต๊ะ ถ้วยตวง ลติ ร - การแก้โจทย์ปญั หาเกยี่ วกับปริมาตรและความจุ ทีม่ ีหน่วยเปน็ ชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถว้ ยตวง ลติ ร สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพันธร์ ะหว่างรปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้ ค 2.2 ป.2/1 จำแนกและบอกลักษณะของรปู รูปเรขาคณิตสองมิติ หลายเหลย่ี มและวงกลม - ลกั ษณะของรปู หลายเหลย่ี ม วงกลม และวงรี และการเขยี นรปู เรขาคณติ สองมิตโิ ดยใชแ้ บบของรปู สาระที่ 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามร้ทู างสถิตใิ นการแกป้ ญั หา ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ ค 3.1 ป.2/1 ใชข้ ้อมูลจากแผนภมู ริ ูปภาพ การนำเสนอข้อมูล ในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเมอ่ื กำหนดรูป - การอา่ นแผนภมู ริ ูปภาพ 1 รูปแทน 2 หนว่ ย 5 หน่วย หรอื 10 หน่วย

23 คำอธิบายรายวิชา ค12101 คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลาเรียน 200 ชวั่ โมง ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการนับทีละ 2 ทีละ 5 ทีละ 10 และทีละ 100 การอ่านและการเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวน จำนวนคู่ จำนวนค่ี หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวน การบวก และการลบ ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร การหาผลคูณ การหาผลหารและเศษ และ ความสัมพันธข์ องการคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทยป์ ญั หาและการสรา้ งโจทย์ ปญั หา พร้อมทง้ั หาคำตอบ แบบรูปของจำนวนทเี่ พ่ิมขึ้นหรือลดลงทีละ 2 ทีละ 5 และทลี ะ 100 แบบรูป ซ้ำ การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ช่วง 5 นาที) การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที การ เปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชั่วโมงเป็นนาที การอ่านปฏิทิน การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัด ความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวท่ีมีหน่วยเป็นเมตรและ เซนติเมตร การวัดน้ำหนักเป็นกิโลกรมั และกรัม กิโลกรัมและขีด การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรมั การ เปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม กิโลกรัมกับขีด การแก้โจทย์ปัญหา เก่ียวกับน้ำหนักท่ีมีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การวัดปริมาตรและความจุโดยใช้หน่วยท่ี ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การเปรียบเทียบ ปริมาตรและความจเุ ป็นชอ้ นชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลติ ร การแก้โจทย์ปัญหาเกีย่ วกับปริมาตรและความจทุ ่ีมี หน่วยเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม วงรี และการเขียนรูป เรขาคณิตสองมติ ิโดยใช้แบบของรูป การอ่านแผนภูมริ ปู ภาพ โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาท่ีส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณติ ศาสตร์ในการคิดคำนวณ การใหเ้ หตุผล การวเิ คราะห์ การแกป้ ัญหา การสอื่ สาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งม่ันในการทำงาน อย่างมีระบบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่าง พอเพยี งรวมทัง้ มเี จตคติทีด่ ตี อ่ คณิตศาสตร์ รหสั ตวั ชี้วดั ค 1.1 ป.2/1 ค 1.1 ป.2/2 ค 1.1 ป.2/3 ค 1.1 ป.2/4 มาตรฐาน ค 1.1 ค 1.1 ป.2/5 ค 1.1 ป.2/6 ค 1.1 ป.2/7 ค 1.1 ป.2/8 ค 2.1 ป.2/1 ค 2.1 ป.2/2 ค 2.1 ป.2/3 ค 2.1 ป.2/4 มาตรฐาน ค 2.1 ค 2.1 ป.2/5 ค 2.1 ป.2/6

24 มาตรฐาน ค 2.2 ค 2.2 ป.2/1 มาตรฐาน ค 3.1 ค 3.1 ป.2/1 รวมท้ังสนิ้ 16 ตัวช้ีวัด

25 โครงสร้างรายวชิ า ค12101 คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 เวลาเรยี น 200 ชั่วโมง หนว่ ย ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา สัดส่วน ที่ เรียนรู้ การเรยี นร/ู้ (ชวั่ โมง) คะแนน ตวั ชี้วัด (70%) 1 จำนวนนับไม่เกิน ค 1.1 ป.2/1 -การนับทีละ 2 ทีละ 5 ทลี ะ 10 และทีละ 40 14 1,000 และ 0 ค 1.1 ป.2/2 100 ค 1.1 ป.2/3 -การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดอู ารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนงั สือแสดงจำนวน -จำนวนคู่ จำนวนค่ี -หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และ การเขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรูป กระจาย -การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับจำนวน 2 การบวก การลบ ค 1.1 ป.2/4 -การบวกและการลบ 65 24 การคูณ การหาร ค 1.1 ป.2/5 -ความหมายของการคูณ ความหมายของ จำนวนนับ ค 1.1 ป.2/6 การหาร การหาผลคณู การหาผลหาร ไม่เกิน 1,000 และ ค 1.1 ป.2/7 และเศษ และความสัมพนั ธข์ องการคูณ 0 ค 1.1 ป.2/8 และการหาร -การบวก ลบ คูณ หารระคน -การแกโ้ จทย์ปญั หาและการสร้างโจทย์ ปญั หาพร้อมทง้ั หาคำตอบ 3 เวลา ค 2.1 ป.2/1 -การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ชว่ ง 5 15 5 นาท)ี -การบอกระยะเวลาเป็นชวั่ โมง เป็นนาที -การเปรียบเทียบระยะเวลาเปน็ ชวั่ โมง เป็นนาที -การอ่านปฏิทนิ -การแก้โจทยป์ ญั หาเกย่ี วกับเวลา

26 หน่วย ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา สดั สว่ น ท่ี เรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน 5 นำ้ หนัก การเรยี นรู้/ (70%) 6 ปริมาตรและ ตัวชีว้ ดั 20 7 ความจุ ค 2.1 ป.2/4 -การวดั น้ำหนกั เป็นกโิ ลกรมั และกรมั 15 5 7 รูปเรขาคณติ สองมติ ิ ค 2.1 ป.2/5 กโิ ลกรัมและขีด 10 4 8 การนำเสนอขอ้ มูล -การคาดคะเนน้ำหนกั เป็นกิโลกรัม 10 4 9 แบบรูป 5- -การเปรียบเทียบนำ้ หนักโดยใช้ 70 ความสัมพนั ธ์ระหว่างกิโลกรัมกบั กรัม 30 กโิ ลกรมั กบั ขดี -การแก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกับน้ำหนกั ทม่ี ี หน่วยเปน็ กิโลกรัมและกรมั กิโลกรมั และขีด ค 2.1 ป.2/6 -การวดั ปรมิ าตรและความจุโดยใชห้ น่วยที่ ไมใ่ ชห่ นว่ ยมาตรฐาน -การวัดปริมาตรและความจเุ ป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร -การเปรียบเทยี บปริมาตรและความจุเป็น ชอ้ นชา ชอ้ นโต๊ะ ถว้ ยตวง ลติ ร -การแก้โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับปรมิ าตรและ ความจุทม่ี ีหน่วยเป็นช้อนชา ชอ้ นโต๊ะ ถ้วยตวง ลติ ร ค 2.2 ป.2/1 -ลักษณะของรูปหลายเหลี่ยม วงกลม และ วงรี -และการเขียนรปู เรขาคณิตสองมติ โิ ดยใช้ แบบของรูป ค 3.1 ป.2/1 -การอ่านแผนภมู ิรูปภาพ (มกี ารจัดการ -แบบรูปของจำนวนทเี่ พิ่มขึน้ หรือลดลง เรียนการสอน ทลี ะ 2 ทีละ 5 และทลี ะ 100 เพ่ือเป็นพน้ื ฐาน -แบบรปู ซ้ำ แต่ไม่วดั ผล) รวมคะแนนระหว่างเรยี น คะแนนทดสอบปลายปี

27 หน่วย ชอื่ หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา สัดส่วน ที่ เรยี นรู้ การเรยี นรู้/ (ชว่ั โมง) คะแนน ตวั ชว้ี ดั (70%) รวมคะแนนทงั้ ปี 100

28 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 สาระ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วัด สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลทีเ่ กิดข้ึนจากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.3/1 อ่านและเขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก จำนวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 ตวั เลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจำนวนนับไม่ - การอา่ น การเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทยและ เกิน 100,000 และ 0 ตวั หนงั สือแสดงจำนวน ค 1.1 ป.3/2 เปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับ - หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขยี น จำนวนนบั ไม่เกนิ 100,000 จากสถานการณ์ ตวั เลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย ตา่ งๆ - การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดับจำนวน ค 1.1 ป.3/3 บอก อ่านและเขยี นเศษสว่ น เศษส่วน แสดงปรมิ าณสงิ่ ต่างๆ และแสดงสิง่ ตา่ งๆ ตาม - เศษสว่ นท่ีตวั เศษน้อยกวา่ หรือเท่ากบั ตัวส่วน เศษสว่ นทก่ี ำหนด - การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับเศษส่วน ค 1.1 ป.3/4 เปรียบเทียบเศษส่วนทต่ี ัวเศษ เท่ากนั โดยทีต่ วั เศษน้อยกวา่ หรอื เท่ากับตัว สว่ น ค 1.1 ป.3/5 หาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ใน การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ ประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการบวกและประโยค ไม่เกนิ 100,000 และ 0 สญั ลักษณแ์ สดงการลบของจำนวนนับไม่เกิน - การบวกและการลบ 100,000 และ 0 - การคณู การหารยาวและการหารส้นั ค 1.1 ป.3/6 หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าใน - การบวก ลบ คูณ หารระคน ประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการคณู ของจำนวน - การแกโ้ จทย์ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ปญั หา 1 หลกั กับจำนวนไม่เกนิ 4 หลกั และจำนวน 2 หลกั กบั จำนวน 2 หลกั พร้อมท้งั หาคำตอบ ค 1.1 ป.3/7 หาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ใน ประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหารที่ตวั ต้ังไมเ่ กนิ 4 หลัก ตวั หาร 1 หลัก ค 1.1 ป.3/8 หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คณู หาร

29 ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ ระคน ของจำนวนนับไมเ่ กิน 100,000 และ 0 ค 1.1 ป.3/9 แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ ปญั หา 2 ขน้ั ตอน ของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.3/10 หาผลบวกของเศษสว่ นทมี่ ตี ัว การบวก การลบเศษส่วน ส่วนเท่ากันและผลบวกไมเ่ กิน 1 และหาผลลบ - การบวกและการลบเศษส่วน ของเศษสว่ นท่ีมีตัวสว่ นเท่ากัน - การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา ค 1.1 ป.3/11 แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ ปัญหาการบวกเศษส่วนทีม่ ตี วั สว่ นเท่ากันและ การลบเศษส่วน ผลบวกไม่เกนิ 1 และโจทย์ปัญหาการลบ เศษส่วนท่มี ีตัวส่วนเท่ากัน สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟงั กช์ นั ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้ ค 1.2 ป.3/1 ระบจุ ำนวนที่หายไปในแบบรูป แบบรปู ของจำนวนทีเ่ พ่มิ ข้ึนหรอื ลดลงทีละเทา่ ๆ กนั แบบรูปของจำนวนท่ีเพ่มิ ขึน้ หรือลดลงทีละเท่าๆกนั สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพน้ื ฐานเกยี่ วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั และนำไปใช้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธหี าคำตอบของ เงิน โจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั เงิน - การบอกจำนวนเงนิ และเขียนแสดงจำนวนเงนิ แบบใช้ จุด - การเปรยี บเทียบจำนวนเงนิ และการแลกเงนิ - การอ่านและเขยี นบนั ทึกรายรับรายจา่ ย การแก้โจทย์ ปญั หาเกย่ี วกับเงิน

ค 2.1 ป.3/2 แสดงวธิ หี าคำตอบของ 30 โจทย์ปญั หาเกย่ี วกบั เวลาและระยะเวลา เวลา - การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที - การเขียนบอกเวลาโดยใชม้ หัพภาค(.) หรือทวิภาค (:) และการอ่าน - การบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมงและนาที - การเปรียบเทยี บระยะเวลาโดยใชค้ วามสมั พันธ์ ระหวา่ งช่ัวโมงกับนาที - การอา่ นและการเขียนบันทึกกจิ กรรมทร่ี ะบเุ วลา - การแกโ้ จทย์ปัญหาเกยี่ วกบั เวลาและระยะเวลา ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้ ค 2.1 ป.3/3 เลือกใช้เคร่ืองวัดความยาวที่ ความยาว เหมาะสมวัดและบอก ความยาวของสิ่งต่างๆ - การวดั ความยาวเป็นเซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร เป็นเซนติเมตรและมลิ ลิเมตรเมตรและ เซนตเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร กโิ ลเมตรและเมตร ค 2.1 ป.3/4 คาดคะเนความยาวเป็นเมตร - การเลือกเคร่อื งวัดความยาวที่เหมาะสม และเปน็ เซนตเิ มตร - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเป็นเซนตเิ มตร ค 2.1 ป.3/5 เปรยี บเทยี บความยาวระหว่าง - การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสมั พันธ์ระหวา่ ง เซนตเิ มตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนตเิ มตร กิโลเมตรกบั เมตรจากสถานการณ์ต่างๆ หน่วยความยาว ค 2.1 ป.3/6 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ - การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ียวกับความยาว ปัญหาเก่ียวกับความยาว ที่มีหน่วยเป็น เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร น้ำหนัก กิโลเมตรและเมตร - การเลือกเคร่อื งชง่ั ที่เหมาะสม ค 2.1 ป.3/7 เลอื กใช้เคร่อื งชัง่ ท่ีเหมาะสม วดั - การคาดคะเนนำ้ หนักเป็นกิโลกรมั และเปน็ ขีด และบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขดี กิโลกรัม - การเปรยี บเทยี บนำ้ หนักโดยใชค้ วามสัมพันธร์ ะหว่าง และกรัม ค 2.1 ป.3/8 คาดคะเนน้ำหนกั เปน็ กิโลกรมั กโิ ลกรัมกับกรมั เมตริกตันกบั กโิ ลกรมั และเป็นขีด - การแก้โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั น้ำหนกั ค 2.1 ป.3/9 เปรยี บเทียบน้ำหนักระหวา่ ง กิโลกรัมกบั กรัม เมตริกตนั กับกิโลกรมั จาก สถานการณ์ต่างๆ

31 ค 2.1 ป.3/10 แสดงวิธีหาคำตอบของ ปรมิ าตรและความจุ โจทย์ปัญหาเก่ียวกบั นำ้ หนักท่ีมีหน่วยเปน็ - การวัดปรมิ าตรและความจเุ ป็นลติ รและมลิ ลลิ ติ ร กิโลกรัมกับกรมั เมตริกตนั กับกโิ ลกรมั - การเลือกเคร่อื งตวงทีเ่ หมาะสม ค 2.1 ป.3/11 เลือกใชเ้ คร่อื งตวงทีเ่ หมาะสม - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจุเป็นลติ ร วดั และเปรยี บเทยี บปริมาตรความจเุ ปน็ ลติ ร - การเปรียบเทยี บปริมาตรและความจโุ ดยใชค้ วามสมั พนั ธ์ และมลิ ลลิ ิตร ค 2.1 ป.3/12 คาดคะเนปรมิ าตรและความจุ ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโตะ๊ ถว้ ยตวงกับ เป็นลิตร มิลลลิ ิตร การแก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั ปริมาตรและความ ค 2.1 ป.3/13 แสดงวธิ ีหาคำตอบของ จุทีม่ ีหนว่ ยเป็นลติ รและมลิ ลิลิตร โจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั ปรมิ าตรและความจทุ ี่มี หนว่ ยเป็นลติ รและมิลลิลิตร สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณติ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งรูป เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ ค 2.2 ป.3/1 ระบรุ ูปเรขาคณิตสองมติ ิที่มแี กน รปู เรขาคณติ สองมิติ สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร รปู ทมี่ แี กนสมมาตร สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแกป้ ญั หา ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้ ค 3.1 ป.3/1 เขยี นแผนภูมริ ปู ภาพ และใช้ข้อมูล การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและการนำเสนอขอ้ มูล จากแผนภมู ริ ปู ภาพในการหาคำตอบของโจทย์ - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมูล ปญั หา - การอา่ นและการเขยี นแผนภมู ิรปู ภาพ ค 3.1 ป.3/2 เขยี นตารางทางเดียวจากข้อมลู ที่ - การอ่านและการเขียนตารางทางเดียว เปน็ จำนวนนับ และใช้ขอ้ มูลจากตาราง (One-Way Table)

32 ทางเดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา

33 คำอธิบายรายวชิ า ค13101 คณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลาเรียน 200 ช่วั โมง ศึกษาความรู้เก่ียวกับ การอา่ น การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตวั หนังสือแสดงจำนวน หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและ เรียงลำดับจำนวน การบวก การลบ การคูณ การหารยาวและการหารส้ัน การบวก ลบ คณู หารระคน การ แก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมท้ังหาคำตอบ ของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 เศษส่วนทตี่ ัวเศษน้อยกวา่ หรอื เทา่ กบั ตัวสว่ น การเปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษสว่ น การบวก และการลบ เศษส่วน การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา การลบเศษส่วน แบบรูปของจำนวนที่เพ่ิมขึ้นหรือ ลดลงทีละเท่าๆกัน การบอกจำนวนเงินและเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด การเปรียบเทียบจำนวนเงิน และการแลกเงนิ การอ่านและเขียนบันทึกรายรบั รายจ่าย การแก้โจทย์ปญั หาเกี่ยวกับเงิน การบอกเวลาเป็น นาฬิกาและนาที การเขียนบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) และการอ่าน การบอกระยะเวลา เป็นชว่ั โมงและนาที การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างช่ัวโมงกับนาที การอ่านและการ เขียนบันทึกกิจกรรมท่ีระบุเวลา การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลาและระยะเวลา การวัดความยาวเป็น เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเคร่ืองวัดความยาวท่ีเหมาะสม การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง หน่วยความยาว การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกบั ความยาว การเลือกเครื่องชงั่ ท่ีเหมาะสม การคาดคะเนน้ำหนัก เป็นกิโลกรัมและเป็นขีด การเปรียบเทียบน้ำหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับ กิโลกรัม การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั น้ำหนกั การวัดปรมิ าตรและความจุเปน็ ลิตรและมลิ ลลิ ิตร การเลือกเครอื่ ง ตวงทเี่ หมาะสม การคาดคะเนปรมิ าตรและความจเุ ป็นลติ ร การเปรียบเทียบปรมิ าตรและความจุโดยใชค้ วามสัมพันธ์ ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตรชอ้ นชา ช้อนโต๊ะถ้วยตวงกบั มิลลิลิตร การแก้โจทยป์ ัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุ ที่มีหน่วยเป็นลิตรและมิลลิลิตร รปู เรขาคณิตสองมิตทิ ่ีมีแกนสมมาตร การเก็บรวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมูล การอ่านและการเขยี นแผนภมู ิรูปภาพ การอา่ นและการเขียนตารางทางเดียว(One-Way Table) โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การเชื่อมโยง การให้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ การส่ือสาร และการส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งม่ันในการทำงาน อย่างมีระบบ ประหยัด ซ่ือสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่าง พอเพยี ง รวมท้ังมเี จตคตทิ ดี่ ีตอ่ คณิตศาสตร์ รหสั ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ค 1.1 ป.3/1 ค 1.1 ป.3/2 ค 1.1 ป.3/3 ค 1.1 ป.3/4 ค 1.1 ป.3/5

34 ค 1.1 ป.3/6 ค 1.1 ป.3/7 ค 1.1 ป.3/8 ค 1.1 ป.3/9 ค 1.1 ป.3/10 ค 1.1 ป.3/11 มาตรฐาน ค.1.2 ค 1.2 ป.3/1 มาตรฐาน ค 2.1 ค 2.1 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/2 ค 2.1 ป.3/3 ค 2.1 ป.3/4 ค 2.1 ป.3/5 ค 2.1 ป.3/6 ค 2.1 ป.3/7 ค 2.1 ป.3/8 มาตรฐาน ค 2.2 มาตรฐาน ค 3.1 ค 2.1 ป.3/9 ค 2.1 ป.3/10 ค 2.1 ป.3/11 ค 2.1 ป.3/12 ค 2.1 ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/2 รวมทั้งสิ้น 28 ตัวช้ีวดั

35 โครงสรา้ งรายวิชา ค13101 คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 เวลาเรียน 200 ชว่ั โมง หนว่ ย ชือ่ หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา สัดสว่ น ท่ี เรยี นรู้ การเรียนรู้/ (ชวั่ โมง) คะแนน - การอ่านการเขยี นตวั เลข (70%) 1 จำนวนนบั ไม่เกนิ ตัวชี้วัด ฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และ 20 100,000 ค 1.1 ป.3/1 ตวั หนงั สอื แสดงจำนวน 7 และ 0 ค 1.1 ป.3/2 - หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะ 15 หลกั และการเขียนตัวเลขแสดง 20 5 2 การบวกและ ค 1.1 ป.3/5 จำนวนในรปู กระจาย 7 การลบจำนวนนับ - การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดบั 20 ไม่เกิน 100,000 จำนวน 7 และ 0 - การบวกและการลบ - การหาค่าของตวั ไมท่ ราบค่า 3 การคณู การหาร ค 1.1 ป.3/6 - โจทย์ปัญหา จำนวนนบั ไม่เกนิ ค 1.1 ป.3/7 - การสร้างโจทยป์ ัญหา 100,000 และ 0 - การคณู ของจำนวน 1 หลักกับ จำนวนไมเ่ กิน 4 หลกั 4 การบวก ลบคูณ ค 1.1 ป.3/8 - การคณู จำนวน 2 หลัก กบั การหารระคน ค 1.1 ป.3/9 จำนวน 2 หลัก - การหารยาวและการหารส้นั ท่ี ตวั ตงั้ ไมเ่ กิน 4 หลกั ตัวหาร 1 หลกั - การหาค่าของตัวไมท่ ราบค่า - โจทยป์ ญั หา - การสร้างโจทย์ปญั หา - การบวก ลบ คูณ หารระคน - การแก้โจทย์ปญั หา 2 ขั้นตอน

จำนวนนบั ไมเ่ กิน 36 100,000 และ 0 ของจำนวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0

37 หนว่ ย ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา สดั ส่วน ที่ เรียนรู้ การเรียนรู้/ (ชว่ั โมง) คะแนน 5 เวลา ตัวชี้วัด ค 2.1 ป.3/2 (70%) - การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและ 15 5 นาที - การเขียนบอกเวลาโดยใช้ มหัพภาค (.) หรือทวภิ าค (:) และ การอา่ น - การบอกระยะเวลาเปน็ ชวั่ โมง และนาที - การเปรยี บเทยี บระยะเวลาโดย ใชค้ วามสัมพันธ์ระหวา่ งชวั่ โมงกบั นาที - การอ่านและการเขียนบันทึก กจิ กรรมทร่ี ะบุเวลา - การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกบั เวลา และระยะเวลา 6 เงิน ค 2.1 ป.3/1 - การบอกจำนวนเงนิ และเขียน 10 4 แสดงจำนวนเงนิ แบบใช้จดุ - การเปรยี บเทยี บจำนวนเงนิ และ การแลกเงิน - การอา่ นและเขยี นบนั ทึกรายรบั รายจ่าย - การแก้โจทยป์ ญั หาเกยี่ วกับเงิน 7 ความยาว ค 2.1 ป.3/3 - การวัดความยาวเป็นเซนติเมตร 15 5 ค 2.1 ป.3/4 ค 2.1 ป.3/5 และมลิ ลิเมตร เมตรและ ค 2.1 ป.3/6 เซนติเมตร กโิ ลเมตรและเมตร - การเลอื กเครอ่ื งวัดความยาวท่ี เหมาะสม - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเปน็ เซนติเมตร - การเปรียบเทยี บความยาวโดย

38 ใช้ความสมั พันธ์ระหว่างหนว่ ยความ ยาว - การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับ ความยาว หนว่ ชอื่ หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา สัดสว่ น ยท่ี เรียนรู้ การเรยี นรู้/ (ช่วั โมง) คะแนน - การเลือกเครื่องช่งั ท่เี หมาะสม (70%) 8 น้ำหนัก ตวั ช้วี ดั - การคาดคะเนน้ำหนกั เป็น 15 ค 2.1 ป.3/7 กิโลกรัมและเป็นขดี 5 ค 2.1 ป.3/8 - การเปรียบเทยี บน้ำหนกั โดยใช้ 15 ค 2.1 ป.3/9 ความสัมพันธ์ระหว่างกโิ ลกรมั กับ 5 ค 2.1 ป.3/10 กรมั เมตริกตันกบั กโิ ลกรัม 10 - การแก้โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับ 4 9 ปรมิ าตรและ ค 2.1 ป.3/11 น้ำหนัก ความจุ ค 2.1 ป.3/12 - การวัดปรมิ าตรและความจเุ ปน็ ค 2.1 ป.3/13 ลติ รและมลิ ลิลติ ร - การเลอื กเครอื่ งตวงท่เี หมาะสม 10 รปู เรขาคณติ ค 2.2 ป.3/1 - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจุ เปน็ ลิตร - การเปรียบเทยี บปรมิ าตรและความ จุโดยใช้ความสมั พันธ์ระหว่างลิตร กับมลิ ลลิ ิตร ชอ้ นชา ชอ้ นโต๊ะ ถ้วยตวงกบั มลิ ลิลิตร - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเก่ยี วกับ ปริมาตรและความจุทีม่ ีหนว่ ยเป็น ลิตรและมิลลลิ ิตร - รปู ท่ีมีแกนสมมาตร สองมิติ 11 เศษส่วน การบวก ค 1.1 ป.3/3 - เศษส่วนทีต่ วั เศษน้อยกว่าหรือ 20 7

39 การลบเศษสว่ น ค 1.1 ป.3/4 เทา่ กบั ตวั ส่วน ค 1.1 ป.3/10 - การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดับ ค 1.1 ป.3/11 เศษส่วน - การบวกและการลบเศษส่วน - การแก้โจทยป์ ัญหาการบวกและ โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน หนว่ ย ช่อื หน่วยการ มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา สดั สว่ น ที่ เรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน การเรยี นรู/้ 12 การเก็บรวบรวม (70%) ขอ้ มูลและการ ตวั ชว้ี ดั 15 5 นำเสนอข้อมูล ค 3.1 ป.3/1 - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและ 10 4 13 แบบรูป 70 ค 3.1 ป.3/2 จำแนกข้อมลู 30 100 - การอา่ นและการเขยี นแผนภูมิ รปู ภาพ - การอ่านและการเขียนตาราง ทางเดียว (One-Way Table) ค 1.2 ป.3/1 แบบรูปของจำนวนทเ่ี พิ่มขึน้ หรือ ลดลงทีละเทา่ ๆ กัน รวมคะแนนระหวา่ งเรียน คะแนนทดสอบปลายปี รวมคะแนนทั้งปี

40 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 สาระ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวดั สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลทเี่ กิดขึ้นจากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนนิ การ และนำไปใช้ ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้ ค 1.1 ป.4/1 อ่านและเขยี นตัวเลขฮินดูอารบิก จำนวนนับท่ีมากกว่า 100,000 และ 0 ตัวเลขไทย และตวั หนังสอื แสดงจำนวนนับที่ - การอา่ น การเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทยและ มากกวา่ 100,000 ตวั หนงั สือแสดงจำนวน ค 1.1 ป.4/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับ - หลัก คา่ ประจำหลักและคา่ ของเลขโดด จำนวนนับทมี่ ากกว่า 100,000 จาก ในแตล่ ะหลักและการเขยี นตวั เลขแสดงจำนวน สถานการณ์ต่างๆ ในรูปกระจาย - การเปรยี บเทียบและเรียงลำดับจำนวน - คา่ ประมาณของจำนวนนับและการใช้เคร่ืองหมาย  ค 1.1 ป.4/3 บอกอ่านและเขยี นเศษส่วน เศษส่วน จำนวนคละแสดงปริมาณสงิ่ ต่างๆ และแสดงสิ่ง - เศษสว่ นแท้ เศษเกนิ ต่างๆ ตามเศษส่วน จำนวนคละทก่ี ำหนด - จำนวนคละ ค 1.1 ป.4/4 เปรียบเทียบเรียงลำดบั เศษส่วน - ความสัมพันธ์ระหวา่ งจำนวนคละและเศษเกิน และจำนวนคละทีต่ วั สว่ นตัวหนงึ่ เป็นพหคุ ูณ - เศษสว่ นท่ีเท่ากนั เศษส่วนอย่างตำ่ ของอีกตัวหนึ่ง และเศษส่วนทเ่ี ท่ากับจำนวนนบั - การเปรียบเทียบ เรยี งลำดบั เศษสว่ นและจำนวนคละ ค 1.1 ป.4/5 อ่านและเขียนทศนิยมไมเ่ กิน 3 ทศนยิ ม ตำแหน่งแสดงปรมิ าณของส่ิงต่างๆ และแสดง - การอ่านและการเขียนทศนยิ มไม่เกิน 3 ตำแหนง่ ส่ิงตา่ งๆ ตามทศนิยมที่กำหนด ตามปริมาณทก่ี ำหนด ค 1.1 ป.4/6 เปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับ - หลกั คา่ ประจำหลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลักของ ทศนยิ มไมเ่ กนิ 3 ตำแหน่งจากสถานการณ์ ทศนยิ ม และการเขียนตัวเลขแสดงทศนยิ ม ตา่ งๆ ในรูปกระจาย - ทศนยิ มท่เี ทา่ กนั - การเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับทศนยิ ม ค 1.1 ป.4/7 ประมาณผลลพั ธ์ของการบวก การบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ

41 ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้ การลบ การคูณ การหารจากสถานการณต์ ่างๆ ทีม่ ากกว่า 100,000และ 0 อย่างสมเหตุสมผล - การประมาณผลลพั ธ์ของการบวก การลบ การคูณ ตัวชวี้ ัด การหาร ค 1.1 ป.4/8 หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ใน - การบวกและการลบ ประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการบวกและประโยค - การคูณและการหาร สัญลักษณ์แสดงการลบของจำนวนนบั ท่ี มากกวา่ 100,000และ 0 สาระการเรยี นรู้ ค 1.1 ป.4/9 หาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ใน - การบวก ลบ คณู หารระคน ประโยคสัญลักษณแ์ สดงการคูณของจำนวน - การแกโ้ จทย์ปญั หาและการสร้างโจทยป์ ญั หา หลายหลัก 2 จำนวน ท่ีมีผลคณู ไมเ่ กิน 6 หลัก และประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหารที่ตวั ตัง้ ไม่ พรอ้ มทั้งหาคำตอบ เกิน 6 หลกั ตวั หารไม่เกิน 2 หลกั ค 1.1 ป.4/10 หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คณู การบวก การลบเศษส่วน หารระคนของจำนวนนับ และ 0 - การบวก การลบเศษสว่ นและจำนวนคละ ค 1.1 ป.4/11 แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ - การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หา ปญั หา2ขนั้ ตอนของจำนวนนับทม่ี ากกวา่ การลบเศษส่วนและจำนวนคละ 100,000 และ 0 ค 1.1 ป.4/12 สรา้ งโจทย์ปัญหา 2 ข้นั ตอน การบวก การลบทศนยิ ม ของจำนวนนบั และ 0 พร้อมท้ังหาคำตอบ - การบวก การลบทศนิยม ค 1.1 ป.4/13 หาผลบวกผลลบของเศษส่วน และจำนวนคละท่ีตัวสว่ นตวั หนึ่งเปน็ พหคุ ูณ ของอกี ตวั หนึ่ง ค 1.1 ป.4/14 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ ปญั หาการบวกและโจทยป์ ัญหาการลบ เศษสว่ นและจำนวนคละที่ตวั ส่วนตัวหน่งึ เปน็ พหุคณู ของอีกตวั หนึง่ ค 1.1 ป.4/15 หาผลบวก ผลลบของทศนยิ ม ไม่เกิน3 ตำแหน่ง

42 ค 1.1 ป.4/16 แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ - การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบ ทศนิยม ปญั หาการบวก การลบ 2 ข้นั ตอนของทศนยิ ม ไม่เกิน 2 ขัน้ ตอน ไมเ่ กิน3 ตำแหนง่

43 สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค.1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟังกช์ นั ลำดบั และอนกุ รม และนำไปใช้ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้ (มีการจดั การเรยี นการสอนเพื่อเปน็ พ้ืนฐาน แต่ แบบรปู ไม่วัดผล) - แบบรูปของจำนวนทเ่ี กิดจากการคูณ การหาร ด้วยจำนวนเดยี วกนั สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ท่ตี อ้ งการวดั และนำไปใช้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ ค 2.1 ป.4/1 แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ เวลา ปญั หาเกย่ี วกับเวลา - การบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ช่ัวโมง ค 2.1 ป.4/2 วดั และสร้างมุม โดยใช้ วัน สัปดาห์ เดอื น ปี โพรแทรกเตอร์ - การเปรียบเทยี บระยะเวลาโดยใช้ความสัมพันธ์ ค 2.1 ป.4/3 แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ ระหว่างหนว่ ยเวลา ปญั หาเกย่ี วกบั ความยาวรอบรปู และพน้ื ท่ีของ - การอา่ นตารางเวลา รปู สี่เหลี่ยมมุมฉาก - การแก้โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับเวลา การวัดและสรา้ งมุม - การวดั ขนาดของมุมโดยใชโ้ พรแทรกเตอร์ - การสรา้ งมมุ เมือ่ กำหนดขนาดของมุม รูปส่เี หล่ียมมุมฉาก - ความยาวรอบรปู ของรปู สี่เหล่ียมมมุ ฉาก - พ้นื ทีข่ องรปู ส่เี หลี่ยมมุมฉาก - การแกโ้ จทยป์ ัญหาเกีย่ วกับความยาวรอบรปู และพื้นท่ีของรูปสี่เหลีย่ มมมุ ฉาก

44 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณติ สมบัติของรูปเรขาคณติ ความสมั พันธร์ ะหว่างรูป เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ ค 2.2 ป.4/1 จำแนกชนดิ ของมุม บอกชือ่ มุม รปู เรขาคณิต ส่วนประกอบของมมุ และเขยี นสญั ลกั ษณแ์ สดง - ระนาบ จดุ เสน้ ตรง รังสี ส่วนของเส้นตรงและ มุม สญั ลกั ษณแ์ สดงเสน้ ตรง รังสี สว่ นของเส้นตรง ค 2.2 ป.4/2 สรา้ งรูปส่ีเหล่ียมมุมฉากเม่ือ - มมุ กำหนดความยาวของด้าน o สว่ นประกอบของมุม o การเรียกชือ่ มมุ o สญั ลกั ษณแ์ สดงมมุ o ชนดิ ของมมุ - ชนิดและสมบัตขิ องรปู สเ่ี หล่ยี มมุมฉาก - การสร้างรปู ส่เี หลีย่ มมุมฉาก สาระที่ 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรทู้ างสถติ ิในการแก้ปัญหา ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้ ค 3.1 ป.4/1 ใช้ขอ้ มูลจากแผนภมู ิแท่งตาราง การนำเสนอขอ้ มลู สองทางในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา - การอ่านและการเขยี นแผนภมู แิ ท่ง (ไมร่ วมการย่นระยะ) - การอ่านตารางสองทาง (Two-Way Table)

45 คำอธบิ ายรายวชิ า ค14101 คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 เวลาเรียน 160 ช่ัวโมง ศึกษาความร้เู กี่ยวกับการอ่าน การเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวน หลัก ค่าประจำหลกั และค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย การ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวน ค่าประมาณของจำนวนนับและการใช้เคร่ืองหมาย  การประมาณ ผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร การบวกและการลบ การคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทั้งหาคำตอบ จำนวนนับที่มากกว่า 100,000 และ 0 เศษส่วนแท้ เศษเกิน จำนวนคละ ความสัมพันธร์ ะหว่างจำนวนคละและเศษเกิน เศษส่วนที่ เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่ำและเศษส่วนท่ีเท่ากับจำนวนนับ การเปรียบเทียบ เรียงลำดับเศษส่วนและจำนวน คละ การบวก การลบเศษส่วนและจำนวนคละ การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหา การลบ เศษส่วนและจำนวนคละ การอ่านและการเขียนทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่งตามปริมาณท่ีกำหนด หลัก ค่า ประจำหลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลักขอทศนิยม และการเขียนตัวเลขแสดงทศนิยมในรูปกระจาย ทศนิยมทเ่ี ท่ากัน การเปรียบเทียบและเรียงลำดับทศนิยม การบวกการลบทศนยิ ม การแก้โจทย์ปัญหาการ บวก การลบ ทศนิยมไม่เกิน 2 ขั้นตอน แบบรปู ของจำนวนที่เกิดจากการคูณ การหารดว้ ยจำนวนเดียวกัน การบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ช่ัวโมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเวลา การอ่านตารางเวลา การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดขนาดของ มุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ การสร้างมุมเม่ือกำหนดขนาดของมุม ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหล่ียมมุมฉาก พ้ืนท่ีของรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูป และพื้นท่ีของรูปสี่เหล่ียมมุม ฉาก ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรงและสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง มุม ส่วนประกอบของมุม การเรียกช่ือมุม สัญลักษณ์แสดงมุม ชนิดของมุม ชนิดและสมบัติของรูปส่ีเหล่ียมมุมฉาก การสร้างรูปสี่เหล่ียมมุมฉาก การอ่านและการเขียนแผนภูมิแท่ง (ไม่รวมการย่นระยะ) การอ่านตารางสองทาง (Two-Way Table) โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือโจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การเชอื่ มโยง การให้เหตุผล การคิดสรา้ งสรรค์ การสื่อสาร และการส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงาน อย่างมีระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่าง พอเพยี ง รวมท้ังมเี จตคติที่ดตี ่อคณติ ศาสตร์ รหัสตัวชี้วดั ค 1.1 ป.4/1 ค 1.1 ป.4/2 ค 1.1 ป.4/3 ค 1.1 ป.4/4 มาตรฐาน ค 1.1

46 ค 1.1 ป.4/5 ค 1.1 ป.4/6 ค 1.1 ป.4/7 ค 1.1 ป.4/8 ค 1.1 ป.4/9 ค 1.1 ป.4/10 ค 1.1 ป.4/11 ค 1.1 ป.4/12 ค 1.1 ป.4/13 ค 1.1 ป.4/14 ค 1.1 ป.4/15 ค 1.1 ป.4/16 มาตรฐาน ค 2.1 ค 2.1 ป.4/1 ค 2.1 ป.4/2 ค 2.1 ป.4/3 มาตรฐาน ค 2.2 ค 2.2 ป.4/1 ค 2.2 ป.4/2 มาตรฐาน ค 3.1 ค 3.1 ป.4/1 รวมท้ังสนิ้ 22 ตัวชี้วัด

47 โครงสร้างรายวชิ า ค14101 คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 เวลาเรยี น 160 ชัว่ โมง หนว่ ย ชอ่ื มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา สัดสว่ น ที่ หนว่ ยการเรียนรู้ เรยี นรู้/ตัวช้ีวดั (ชว่ั โมง) คะแนน (70%) 1 จำนวนนบั ที่มากกวา่ ค 1.1 ป.4/1 - การอ่านการเขยี นตัวเลขฮนิ ดู 10 5 100,000 และ 0 ค 1.1 ป.4/2 อารบิก ตัวเลขไทย และ ตวั หนงั สือแสดงจำนวน - หลัก ค่าประจำหลักและคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักและ การเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนใน รปู กระจาย - การเปรยี บเทียบและ เรียงลำดับจำนวน - ค่าประมาณของจำนวนนับและ การใชเ้ คร่ืองหมาย  2 การบวกและการลบ ค 1.1 ป.4/7 - การบวกและการลบ 20 8 จำนวนนับท่ีมากกว่า ค 1.1 ป.4/8 - การประมาณผลลัพธก์ ารบวก 100,000 และ 0 การลบ - การหาค่าของตัวไม่ทราบคา่ - โจทย์ปญั หา - การสร้างโจทยป์ ัญหา 3 การคูณการหารจำนวน ค 1.1 ป.4/7 - การคณู ของจำนวนหลายหลัก 20 9 นบั ท่มี ากกว่า 100,000 ค 1.1 ป.4/8 2 จำนวน ทม่ี ีผลคณู ไมเ่ กิน 6 และ 0 ค 1.1 ป.4/9 หลัก - การหารท่ีตัวต้งั ไมเ่ กนิ 6 หลัก ตวั หารไมเ่ กิน 2 หลกั - การประมาณผลลพั ธ์การคูณ การหาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook