Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย

พัฒนาการการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย

Description: ศึกษาโครงสร้างและระบบการศึกษาของคณะสงฆ์ คณะกรรมการการศึกษาของคณะสงฆ์ สภาพการศึกษาของคณะสงฆ์ กระบวนการพัฒนาและการบริหารการศึกษาของคณะสงฆ์

Keywords: พัฒนาการการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย

Search

Read the Text Version

พฒั นาการศึกษาคณะสงฆไทย ๙๕ ๒.บาเรียนโท-ตองแปลภาษาบาลีจบพระสตู รและพระวนิ ยั ๓.บาเรยี นเอก-ตอ งแปลภาษาบาลจี บพระสตู ร-พระวินยั -และพระอภิธรรม ผเู รียนจบ บาเรียน-ตรี-โท-เอก-เรียกวา “มหาบาเรยี นบาล”ี โดยใชอ กั ษรยอ วา“บ.บ.” ๓.๙.๒.๒-สถานศึกษา ในสมัยอยธุ ยา-การเรียนการสอนพระปริยัตธิ รรม ใชบรเิ วณพระบรมมหา ราชวงั เปน ที่เลา เรียน สว นวดั วาอารามตาง ๆ เปนสถานท่ีศึกษาเลา เรยี นสวนยอยเทานน้ั ครูผสู อน ไดแ กพ ระมหากษตั ริยบางราชบณั ฑิตบา งพระเถระผมู คี วามเชยี่ วชาญในพระไตรปฎกบา ง ๓.๙.๒.๓-การวดั ผลการศกึ ษา เร่มิ แรกเรียนคมั ภีรมลู กจั จายน (หลกั ภาษา) ใชเวลาประมาณ ๒ - ๓ ป จงึ เรียนแปล พระไตรปฎกทจี่ ารกึ ในใบลานเปนหนังสอื แบบเรียน เมอ่ื มีความรคู วามสามารถในการ แปลไดดีแลว ครูบาอาจารยและเจาสาํ นักเรยี นก็จะทูลถวายรายงานพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ใหทรงทราบ และทรงโปรดใหป ระกาศการสอบไลความรขู องพระภิกษุสามเณรข้ึน เรยี กวา “สอบ สนามหลวง” หมายถึงการสอบในพระบรมราชปู ถัมภ ทรงยกยอ งผสู อบไดใ หม สี มณศักด์ิเปน “มหา”นาํ หนา ชือ่ แลวพระราชทานสมณศักดใ์ิ หเ ปน พระราชาคณะ เปน เกียรตแิ กพระพทุ ธศาสนา สบื ไป สถาน ทีส่ อบใชพระบรมหาราชวงั เปน ท่ีสอบ และใชร ะยะเวลาเรยี น ๓ ป จึงมีการสอบ ๑ คร้งั ๓.๙.๒.๔-วิธสี อบ เมอื่ พระเจา แผนดินทรงประกาศใหม กี ารสอบพระปรยิ ัติธรรมขนึ้ แลว พระ มหาเถระและ ราชบณั ฑติ ทงั้ หลาย ก็แตง ตง้ั คณะกรรมการข้ึน โดยมพี ระเจา แผนดินเปนประธาน การสอบแปล ผูส อบตอ งจับสลาก ตามทค่ี ณะกรรมการกาํ หนดให ถา จบั ไดคัมภรี ผ กู ใดก็แปลผกู นน้ั โดยเริ่มจาก พระสตู รกอ น ตองแปลปากเปลา ตอ หนาคณะกรรมการ ผดิ ศพั ทห รือประโยคไดเ พยี ง ๓ ครง้ั ถา กรรมการทกั ทว งเกิน ๓ ครง้ั ถอื วา ตก ถาแปลไดคลอ งเปนท่ีพอใจ ไมมกี ารทักทวงถือ วาสอบได ในประโยคนั้น ๆ เมอื่ ผา นพระสตู ร กใ็ หเ กยี รตคิ ณุ เปน “บาเรยี นตร”ี เรียนพระวนิ ัยปฎ ก ตอ ไป อีก ๓ ป สอบผานกเ็ ปน “บาเรยี นโท” จากนนั้ ศกึ ษาพระอภธิ รรมปฎกอกี ๓ปสอบผา นก็ ไดรบั ยกยองเปน“บาเรียนเอก” ๓.๙.๓ -การพฒั นาการศกึ ษาสมยั ธนบรุ ี ศนู ยการศกึ ษาในสมยั ธนบุรีก็ยังคงอยูที่วดั เหมือนสมัยอยธุ ยา โดยมแี ตเ ด็กผูชาย เทานน้ั ที่มีโอกาสศกึ ษา เพราะตอ งอยกู ับพระท่ีวัดเพอ่ื เรียนหนงั สือ พระสงฆก็คือครูท่ีจะสอน หนงั สอื ให แกกุลบตุ ร เพ่ือใหไดร บั การอบรมความประพฤติ เรยี นพระธรรม ภาษาบาลี สันสกฤต และศัพทเขมร เพือ่ ประโยชนใ นการอา นคมั ภรี พระพทุ ธศาสนา นอกจากนี้ ยังมกี ารเรยี นวชิ าเลข เนนมาตรา ช่ังตวง วดั มาตรเงนิ ไทย และการคิดหนา ไม ซ่ึงจะตองนาํ ไปใชในชวี ิตประจาํ วัน มีวิชา ชางฝมอื สาํ หรับเด็กโต สว นใหญเกย่ี วกับการชา งกอสรา ง เพ่ือประโยชนในการบูรณะซอมแซม

พฒั นาการศกึ ษาคณะสงฆไ ทย ๙๖ เสนาสนะ และส่ิงกอ สรางภายในวดั สาํ หรับการเรียนวชิ าชีพโดยตรงนั้นเปนหนา ท่ขี องพอ แม ใครมี อาชีพ อะไรกถ็ ายทอดวิชานัน้ ๆ ใหแกล ูกหลานของตน ตามสายตระกลู เชน วิชาแพทยแ ผน โบราณ วชิ าชางปน ชา งถม ชางแกะสลัก ชา งปูนปน ชา งเหล็ก ชา งเงนิ ชา งทอง สวนการศกึ ษา สาํ หรับ เด็กผูหญิงก็ถือตามประเพณโี บราณ คอื เรยี นการเย็บปกถักรอ ย ทํากับขาว การจดั บานเรอื น การ ฝกอบรมมารยาทของกลุ สตรสี ังคมสมยั นัน้ ไมน ิยมใหผหู ญิงเรียนหนังสือจงึ มีผูห ญิง จํานวนนอยที่อา นออกเขียนได การศึกษาของพระสงฆส มัยนี้ ชวงแรกขาดการศึกษาในระยะหนง่ึ เพราะพระสงฆมีเหลือ อยูนอย กระจายกันไปตามชนบทเพอ่ื หนีภยั ขา ศึก เมอ่ื พระเจา ตากสินมหาราชทรงวางจาก ศกึ สงครามแลว ทรงเลือกสรรพระสงฆผตู ้งั ม่ันอยใู นพระธรรมวินัยแตงต้ังเปนพระราชา คณะปกครอง คณะสงฆ รวมถงึ การจดั ระเบียบการปกครองคณะสงฆ และทรงโปรดใหม ีการเรยี น พระปรยิ ตั ิ ธรรม เหมือนสมัยอยุธยาทุกประการ ๓.๙.๔ การพฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆ สมยั รัตนโกสนิ ทรต อนตน พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงฟน ฟพู ระพทุ ธศาสนาไป พรอ มกับ การพฒั นาบานเมอื ง ทรงอาราธนาพระสงฆทรงสมณศักด์แิ ละราชบณั ฑิตเปน กรรมการ ชาํ ระ พระไตรปฎก จารกึ เปน อักษรขอมขน้ึ ใชเ วลา ๕ เดอื น จึงเสร็จสมบรู ณ ซง่ึ ถอื วา เปนการทํา สงั คายนา คร้ังแรกในกรงุ รตั นโกสินทร ๓.๙.๔.๑-หลักสตู รการศกึ ษา ในสมัยรตั นโกสินทรย คุ ตนหลักสูตรการศกึ ษาพระปริยตั ิธรรมยังใชพระไตร ปฎก เรียน ๓ ปจ งึ มกี ารสอบ ๑ ค ร้ัง เหมือนคร้งั กรงุ ศรีอยุธยา ตอมาในรชั กาลท่ี ๒ ไดมกี าร ปรับปรงุ หลักสูตรการเรียนการสอนขน้ึ ใหม โดยจัดหลักสตู รเปน ๙ ชัน้ เรียกวา ประโยค ประโยค ๑-๒_ ๓ เปนเปรียญตรี ประโยค ๔-๕-๖ เปน เปรียญโท ประโยค ๗-๘-๙ เปนเปรียญเอก และผูท ี่ สอบ ไลไ ด ๓ ประโยคแลว จงึ จดั วา เปนเปรยี ญ ถาเปน ภิกษใุ ชคํานาํ หนา วา พระมหา และถา เปน สามเณร ก็ใชอักษรยอ และตวั เลขตอทาย เชน สามเณรพุม ป.ธ.๓ เปน ตน ๓.๙.๔.๒-สถานศกึ ษา พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั รชั กาลที่ ๑ และท่ี ๒ โปรดเกลา ฯ ใหใชพ ระ ท่ีน่งั มณเฑยี รธรรมในวดั พระศรีรัตนศาสดาราม เปน สถานท่ศี กึ ษาเลาเรียนพระปรยิ ัตธิ รรมของ พระสงฆและเจา นาย สวนขาราชการช้ันผูนอยใหไปศกึ ษาตามวดั ตาง ๆ พอถงึ ยุครัชกาลท่ี ๓ โปรด เกลา ฯ ใหใ ชพ ระอารามบา ง ทรงสรา งเกงบรเิ วณพระท่ีนัง่ อมรนิ ทรวนิ ิจฉยั ภายในพระบรม มหาราชวังบาง เปนสถานทศี่ ึกษาเลา เรยี น โปรดเกลาฯ ใหเล้ยี งเพลพระภกิ ษุและพระราชทาน รางวัลดวย ภายหลังสถานทไี่ มเพียงพอจึงโปรดเกลาฯ ใหใ ชพ ระท่นี ง่ั ดุสิตมหาปราสาทเปน ทเี่ ลา เรียน ตอ มา ในรัชกาลท่ี ๔ พระองคทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหส รา งเกง ขนึ้ ๔ หลัง ณ วัดพระ ศรรี ัตน ศาสดาราม เพ่ือใหเ ปน สถานทศ่ี ึกษาเลา เรยี นเพ่มิ เติม

พฒั นาการศึกษาคณะสงฆไทย ๙๗ ๓.๙.๕ -การพฒั นาการศึกษาของสงฆ: ยคุ ปฏิรปู ประเทศ(ร.๔-ร.๖) การศึกษาของสงฆส มัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูหวั (รัชกาลที่ ๔) คง ดาํ เนนิ ไปเหมอื นเชนในรชั กาลกอน และโปรดเกลา ฯ ใหส รางเกง อีก ๔ หลงั ทวี่ ดั พระศรีรตั น ศาสดาราม สาํ หรบั ราชบัณฑติ บอกหนังสือพระ ในสมัยน้ี มีปราชญดา นการสงฆ คอื สมเดจ็ พระ มหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชโิ นรส มตี ําแหนง เปน สมเด็จพระสงั ฆราช ไดปรับปรุงการเรียน การสอนของสงฆใ หพ ฒั นาขนึ้ การวดั ผลการสอนพระปรยิ ตั ธิ รรมนับเปน ราชการแผน ดินอยา งหนง่ึ ดว ยอยใู นพระราชกจิ ของพระมหากษัตริยผเู ปนพุทธศาสนปู ถมั ภก เพราะฉะนนั้ การสอบแตละ ครั้งไดมเี จาพนักงานฝา ยราชอาณาจักรชว ยปฏิบตั ิดูแล อํานวยความสะดวกดว ย เพราะการสอบ พระปรยิ ตั ธิ รรมแตก อนสอบกันเปนคราว ๆ หลาย ๆ ปสอบคร้งั ทตี่ อ งใชเวลานานเพราะ นกั เรยี นตองนงั่ แปลดว ยปากเปลาตอหนา คณะกรรมการทลี ะองคเรียงกนั ไปตามลําดบั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหวั ถอื วาเปน ยุคใหมแ หง การศึกษาของสงฆ ทรงเห็นวา การศึกษาเปน สง่ิ สาํ คัญ จึงทรงสนบั สนุนการศกึ ษาท้ังทางโลกและการศกึ ษาสงฆด ว ย เพราะพระองคทรงประสงคใหพ ระภกิ ษสุ งฆไ ดศกึ ษาเลาเรียนท้ังดานพระปรยิ ัตธิ รรมและวชิ าการ สมยั ใหมค วบคูกันไป เพือ่ จะใหพระสงฆในฐานะผมู คี วามรอบรทู งั้ วชิ าการทางโลกและทาง ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เพ่ือจะนาํ ไปเผยแผแ กประชาชนของไทย และในรชั กาลน้ไี ดเ ริม่ เกดิ สํานกั การศึกษาของสงฆท ีเ่ ขาสูระบบการศกึ ษาสากล จงึ ไดทรงสถาปนาการศกึ ษาช้นั สงู ทางคณะ สงฆขนึ้ ๒ แหง คือ ทรงสถาปนามหาธาตุวิทยาลยั ข้ึน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ ที่วดั มหาธาตุ ถงึ ป พ.ศ. ๒๔๓๙ โปรดพระราชทานนามใหมว า “มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ” เพือ่ เปนที่ศกึ ษา พระ ปรยิ ตั ธิ รรมและวิชาการชน้ั สูง ตอ มาป พ.ศ. ๒๔๓๖ โปรดใหสถาปนา “มหามกฏุ ราชวิทยาลยั ” ข้ึน ท่วี ัดบวรนิเวศวหิ าร อยา งไรก็ตามมหาวทิ ยาลยั ทง้ั ๒แหง นกี้ ็ยงั ไมพ รอมจะดาํ เนินการในรัชกาลนี้ มาถงึ รัชกาลที่ ๖ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเปนผอู าํ นวย การศึกษาของคณะสงฆไดรว มมือกบั พระเถระในสมยั นน้ั (พ.ศ. ๒๔๕๔) จดั ใหมกี ารศกึ ษา พระ ธรรมวนิ ยั ในแบบภาษาไทย โดยคัดเลอื กหัวขอธรรมวินยั ในพระไตรปฎก จดั เปนหมวดหมเู ปน ช้ัน ๆ ตามความยากงา ย ทัง้ นเ้ี พ่อื ใหผ ูบ วชเขา มาใหมเ รยี นไดงายข้ึน โดยแบงเปน ๓ ชัน้ เรียน คอื ช้นั ตรี ชนั้ โท ช้นั เอก ผทู ี่เรียนจงึ ไดช ือ่ วานกั ธรรม พระเณรทีส่ อบได ก็เรียกกันวา “พระ นักธรรม” หลกั สูตรนต้ี อมาอนญุ าตใหชาวบา นเขา สอบดวย เรยี ก “ธรรมศกึ ษา” สาํ หรบั ผูท่ีสอบ บาลีไดเ ปน เปรียญ และสอบนกั ธรรมไดอ ีก เรียกวา “เปรยี ญธรรม” ใชอักษรยอวา “ป.ธ.” อนง่ึ ผู ท่จี ะสอบบาลนี นั้ จะตอ งสอบนักธรรมใหไดกอน ถา สอบนกั ธรรมตก บาลกี โ็ มฆะ คือนกั ธรรมตรี มี สทิ ธ์สิ อบไดแ ค ประโยค ๑-๒-๓ นักธรรมโท มสี ิทธส์ิ อบประโยค ๔-๕-๖ สว นนักธรรมเอก มี สทิ ธิ์ สอบประโยค ๗-๘-๙ ๓.๙.๕.๑ -การวัดผลการศึกษา ยคุ แรกการสอบพระปริยัตธิ รรมใชเ วลาศึกษา ๓ ป สอบ ๑ ครัง้ ตอมาในป พ.ศ. ๒๔๓๖ จงึ ไดกาํ หนดใหส อบปล ะ ๑ คร้งั ตลอดมา วิธสี อบพระปริยตั ธิ รรมในสมัยรัชกาลที่ ๕ ยงั คงใช สอบแบบเดมิ คอื สอบดวยปากเปลา ตอ มาป พ.ศ. ๒๔๕๕ ไดเปล่ยี นแปลงมาสอบดว ยวธิ ี

พฒั นาการศกึ ษาคณะสงฆไ ทย ๙๘ เขยี น เฉพาะประโยค ๑ และประโยค ๒ สวนตง้ั แตประโยค๓ข้นึ ไปสอบแปลดวยปากตามแบบเดิม ๓.๙.๖ -การพัฒนาการศกึ ษาของสงฆสมยั -ร.๗-ปจ จบุ ัน นับต้ังแตร ชั กาลที่ ๖ เปนตนมา นโยบายการศกึ ษาไดเ ปลยี่ นไป โดยแยกการศึกษา ของ ภกิ ษสุ ามเณร และเดก็ นกั เรยี นออกจากกนั ตลอดจนถงึ สวนราชการท่ีรบั ผดิ ชอบดวย โดยให กระทรวงศึกษาธิการรบั ผิดชอบเฉพาะการศกึ ษา สําหรับเด็กนักเรยี นเทา นนั้ สว นการศึกษาสําหรับ ภกิ ษสุ ามเณรใหสังกดั กระทรวงธรรมการ คณะสงฆก็ไดเ ปน ภาระรับผดิ ชอบดําเนนิ การตางหาก ออก ไปจนเปน เอกเทศจากการศึกษาของรัฐ โครงการและแผนการศึกษาของชาตใิ นสมัยตอ มาก็ ไมไ ดก ลา วถงึ สงฆและการศกึ ษาของสงฆอกี เลย การศกึ ษาของฝายบานเมอื งก็ไดมกี ารปรับปรุงเปลีย่ นแปลงใหเจริญรุดหนา มาตามลําดับมี มหาวิทยาลัย วทิ ยาลัย โรงเรียนเกิดขน้ึ มากมายทว่ั ทุกสวนของประเทศและมีการพัฒนาทางดาน การเรยี นการสอนไปตามเทคโนโลยสี มยั ใหมตลอด เวลาขณะ ทส่ี ภาพการศกึ ษาพระปรยิ ตั ิธรรม มิไดม ีการแกไ ขปรบั ปรุง ทําใหค า นิยมในหมเู ยาวชนและภกิ ษสุ ามเณรทีม่ ตี อ การศึกษาปรยิ ตั ธิ รรม ลดลงไป พระภกิ ษสุ ามเณรมคี วามไมม่ันใจตอระบบการศกึ ษาสายพระปริยัตธิ รรมเดิมของคณะสงฆ จึงไดข วนขวายเรียนวิชาตา ง ๆ ทางโลกมากกวา วิชาพระปริยตั ิธรรม แตป จจบุ ันน้ี พระเถระ ผบู รหิ ารการพระศาสนาเรม่ิ เปดกวางมากข้นึ เพอื่ ใหไดเ รยี นวิชาการสมัยใหมม ากยง่ิ ขนึ้ โดยเฉพาะ มหาวทิ ยาลยั สงฆท้งั ๒ แหง ไดแสดงบทบาทเปนทีย่ อมรับท้งั ในประเทศและตา งประเทศ จนขยาย วิทยาเขตในทวั่ ประเทศมากขน้ึ ๓.๑๐-การศกึ ษาพระปริยัตธิ รรมแผนกธรรม ในป พ.ศ. ๒๔๕๔ ไดมกี ารเริม่ ศกึ ษาแบบนักธรรมขนึ้ ควบคกู ับฝายเปรยี ญ แตย งั เปน การศึกษาของสงฆเ ทา น้นั จนถงึ รชั กาลที่ ๗ จึงเปด โอกาสใหฆราวาสชายหญงิ เขา เรียนดว ย โดย แยกเปน แผนกธรรม สาํ หรบั ภกิ ษุสามเณรและแผนกธรรมศกึ ษาสาํ หรับฆราวาสชายหญิงแบงเปน ๓ ชัน้ นักธรรมศึกษาตรีชน้ั โทและชั้นเอก มลู เหตทุ ่ีเร่มิ ใหมกี ารศกึ ษาแผนกธรรมข้นึ ในสมยั รชั กาลที่ ๖ นั้น เนอ่ื งมาจากทางราชการ ไดป ระกาศใชพ ระราชบัญญัติเกณฑท หาร ร.ศ. ๑๒๔ (พ.ศ. ๒๔๔๘) ในพระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ี ได ยกเวน พระภิกษุสามเณรไมต อ งถกู เกณฑท หาร สาํ หรบั ผูรธู รรม ตอมาสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดทรงตง้ั หลักสูตรการศึกษาของพระภิกษุสามเณรแบบใหมน เ้ี รยี กวา “นักธรรม” มี ๓ ชั้น คอื นกั ธรรมชั้นตรี นักธรรมช้ันโทและนักธรรมช้นั เอกเร่มิ สอบไลสนามหลวง เปน ครงั้ แรกเมอื่ พ.ศ.๒๔๕๗เปน ตน มา ป พ.ศ. ๒๔๗๒ ทางคณะสงฆอนญุ าตใหค รทู ีเ่ ปน คฤหัสถเขาสอบไลวิชานักธรรมตรีใน สนามหลวงคณะสงฆได และตอมาทางคณะสงฆไ ดอนญุ าตใหค ฤหสั ถช ายหญงิ เขา สอบความรู นักธรรมในสนามหลวงไดดว ย โดยกาํ หนดใหส อบพรอ มกับภิกษสุ ามเณรทัว่ ราชอาณาจกั ร สาํ หรับ หลกั สตู รวนิ ยั บัญญัตนิ นั้ ไมเ หมาะกบั คฤหัสถ จึงเปลีย่ นเปน เบญจศีล เบญจธรรมและอโุ บสถศีล

พัฒนาการศกึ ษาคณะสงฆไทย ๙๙ เปน หลักสูตรแทน สาํ หรับผเู รียนธรรมศึกษาตรี เรียน ๔ วชิ า สวนธรรมศกึ ษาโทและเอก เรยี น เพียง ๓ วิชา ยกเวนวชิ าวนิ ยั ๓.๑๐.๑ -การศึกษาพระปรยิ ัตธิ รรมแผนกบาลี ตง้ั แตโบราณมาไมค อ ยมีการเปล่ียนแปลงไปจากเดมิ มากนัก สว นใหญย ังคงรปู เดมิ อยู ทัง้ ทางดา นหลักสตู ร การวัดผลและวิธสี อบ ยังยากตอ การเลา เรยี น ตองใชเ วลามาก และเดมิ ที การสอบบาลีตอ งสอบดว ยปากเปลา จนกระทงั่ ถึงป พ.ศ. ๒๔๕๙ จงึ ใหย กเลิกการสอบความรูบาลี ดว ยวธิ แี ปลปากเปลา มาใชเ ปนการสอบดว ยวิธีเขียนแทนทุกประโยค ในปจ จุบนั การสอบบาลี สนามหลวง ป.ธ. ๑-๒ ถึง ป.ธ.๕ เมอื่ สอบไดวชิ าหนึง่ และตกวิชาหน่งึ แลว แมก องบาลีสนามหลวง เปดโอกาสใหสอบแกต ัวอกี ครัง้ อนงึ่ การสอบบาลี เม่ือกอ นไมกาํ หนดวนั สอบแนน อน กรรมการจะประกาศเปน คราว ๆ ไป จนถึงป พ.ศ. ๒๔๓๖ จึงกาํ หนดใหส อบปล ะคร้งั ตลอดมาเพงิ่ มาเปลีย่ นเปน สอบ๒ครง้ั ในรัชกาล ปจ จุบนั เมื่อพ.ศ.๒๔๙๑นีเ้ อง ๓.๑๐.๒ -การศึกษาพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการใหออกระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการวา ดว ยโรงเรียนพระปริยัติ ธรรม แผนกสามัญศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๑๔ เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ และปรับปรุงใหมเ มอ่ื วนั ที่ ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ การศกึ ษาแบบนเี้ ปนการศกึ ษาแบบประยุกตห รือเปนการศกึ ษา รูปแบบ หน่ึงของการศึกษาคณะสงฆ เปนการศกึ ษาทรี่ ฐั กาํ หนดใหม ีขึน้ ตามความประสงคข องคณะ สงฆ โดยมวี ตั ถุประสงคเพ่ือใหฝ า ยศาสนจักร ได ศาสนทายาททดี่ ีมีความรคู วามเขาใจในหลกั ธรรม ทาง พระพุทธศาสนาอยา งแทจ รงิ และสบื ตอพระพทุ ธศาสนาใหเ จริญสถาพรตอ ไป และฝา ย บา นเมือง เมอื่ พระภกิ ษุสามเณรไดลาสกิ ขาแลว ก็สามารถเขาศกึ ษาตอในสถานศึกษาของรัฐได หรือเขา รบั ราชการสรางคณุ ประโยชนใ หแ กต นเองและบานเมืองสบื ตอไปปจ จบุ ันนก้ี ารศึกษา ประเภทน้ีไดกระจายอยใู นจังหวดั ตางๆทวั่ ประเทศ ๓.๑๐.๓ -มหาวิทยาลยั สงฆ ในสมยั รชั กาลที่ ๕ ทรงเหน็ วา การศกึ ษาเปนสิง่ สําคญั จึงไดปฏิรูปการศกึ ษา จดั การ เรยี นการสอนใหเปนระบบเหมอื นนานาอารยประเทศ ใหราษฎรทุกคนไดศึกษาอยางมรี ะบบ และ สาํ หรบั พระภิกษสุ ามเณร พระองคก ็ทรงสนบั สนุนใหค ณะสงฆไดศ กึ ษาเลาเรยี น ท้ังดา นพระปรยิ ัติ ธรรมและวชิ าการชัน้ สูงสมยั ใหมค วบคูกนั ไป ไดท รงสถาปนามหาธาตวุ ทิ ยาลัยขนึ้ เม่อื พ.ศ. ๒๔๓๒ ตอ มาเมอื่ พ.ศ. ๒๔๓๙ ไดพระราชทานนามใหมวา “มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ” และในป พ.ศ. ๒๔๓๖ กโ็ ปรดใหเ ปดขน้ึ ท่วี ัดบวรนเิ วศวิหารและไดทรงพระราชทานนามวา “มหา

พฒั นาการศึกษาคณะสงฆไทย ๑๐๐ มกฏุ ราช วทิ ยาลัย” อยา งไรกต็ ามมหาวิทยาลยั สงฆทง้ั ๒ แหงนไ้ี ดดําเนนิ การมาโดยลาํ ดับแตก็ยัง ไม กา วหนาถงึ ขนึ้ เปนมหาวิทยาลัย เพิง่ จะมายกระดับการศกึ ษาขึน้ เปนมหาวิทยาลยั ในรัชกาลปจ จุ บัน น้ีเอง โดยเฉพาะเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๑๒ มหาเถรสมาคมไดออกคาํ ส่งั มหาเถรสมาคมเรอ่ื งการศึกษา ของมหาวิทยาลยั สงฆอ ันเปน การรับรองวา การศึกษาของมหาวิทยาลัยสงฆทง้ั ๒ แหงนัน้ เปน การ ศึกษาของสงฆอยางเปนทางการ ตอ มารัฐบาลโดยการยนิ ยอมของรัฐสภา กไ็ ดต ราพระราชบัญญตั ิกําหนดวทิ ยฐานะ ผสู ําเร็จ วิชาการพระพทุ ธศาสนา พ.ศ.๒๕๒๗ ลงวันท่ี ๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๗ และไดตรา พระราชบัญญตั ิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย เมือ่ พ.ศ. ๒๕๔๐ ลงวนั ที่ ๒๑ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยใหม สี ถานะเปนมหาวทิ ยาลยั ในกํากับของ รัฐและ เปน มหาวทิ ยาลยั ของรัฐท่ไี ดร ับงบประมาณสนบั สนนุ จากรัฐบาลไทย จดั การเรียนการสอน ต้ังแต ระดบั ปริญญาตรีถงึ ปริญญาเอกเปดสอนทง้ั บรรพชติ และคฤหัสถแ ละจัดหลักสูตรท้ังภาค ภาษาไทย และภาคภาษาองั กฤษ เพือ่ ผลิตบัณฑติ เปนสะพานเชือ่ มเครือขายทั่วโลกแนวโนม การพัฒนา การศกึ ษาของคณะสงฆใ นอนาคต ปจจบุ นั นี้ การศึกษาในวงการคณะสงฆไดพลิกโฉมหนา ไปอยางมาก โดยไดมีการจดั การ ศกึ ษาสมยั ใหมเ พม่ิ ขึ้นอีก ไมเ หมือนสมัยดงั้ เดิมที่เนน อยูเ ฉพาะการศึกษาแผนกนักธรรมและภาษา บาลเี ทา น้นั แตไดเ ปล่ียนมาเปน ระบบการศกึ ษาในรูปแบบของการศึกษาปริยัตธิ รรมสายสามัญ และ มหาวิทยาลยั ระดบั อดุ มศกึ ษาขึน้ ไป เพ่ือเนน ใหพ ระสงฆม คี วามสมบรู ณทางความรใู นหลายๆดาน โดยเนน ในการเผยแผพ ระพุทธศาสนาแกช าวตา งประเทศดว ย ยงิ่ ขณะนี้ พระสังฆาธิการระดบั ตาง ๆ ไดต ื่นตัวในการศกึ ษาเพ่อื ใหมีความรูด าน ตาง ๆ ใหทนั กับเหตุการณ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั จึงไดเปดหลักสตู รประกาศนยี บัตร การบรหิ ารกจิ การคณะสงฆ (ปบ.ส.) ตงั้ แตป  พ.ศ. ๒๕๔๗ เปน ตนมา พระสงั ฆาธิการ ทว่ั ประเทศ ไดศึกษาหลักสตู ร ปบ.ส. ๑ ป และสามารถเขาเรยี นตอ ระดับปรญิ ญาตรี และขณะน้ีมี พระสงั ฆาธิ การไดเ รียนจบปริญญาตรี และกาํ ลังศึกษาตอระดับปริญญาโท นบั วาเปนหลักสตู รที่ ทาํ ใหพระ สงั ฆาธกิ ารสนใจและศกึ ษาเปน จาํ นวนมาก สรุปทา ยบท ขณะน้ีสงั คมไทยกาํ ลังสนใจเรือ่ งโครงสรางการบรหิ ารองคกรตาง ๆ และสังคมการศกึ ษา มี การเปล่ียนแปลง มีการใชเทคโนโลยีมากข้ึนกาํ หนดใหครอู าจารยเปน ผูบริหารมืออาชีพในการ กําหนดวิธีการและเครื่องมือในการวัดจริยธรรม คณุ ธรรม และวัดคณุ ภาพทงั้ ภายในและภายนอก ในการประกันคุณภาพทางการศึกษา สวนในการปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู ใหยึดผเู รียนเปน สําคญั จดั ตั้งศูนยการเรียนรูต า ง ๆ ใหเ ปนศูนยก ารเรียนรขู องชุมชน เมอ่ื การศึกษาทางโลกมกี ารเปลย่ี น แปลงอยูเ สมอ และมีความตระหนักที่จะนาํ ศลี ธรรมเขาไปแกป ญหาของสังคม เชน รัฐบาลได สนบั สนุนใหพ ระเปนครูสอนศลี ธรรมในโรงเรียนทว่ั ประเทศเปนตน ดงั นั้น กระบวนการจัดการ ศกึ ษาของคณะสงฆโดยเฉพาะพระปริยัติธรรมทง้ั แผนกบาลแี ละแผนกธรรม จงึ ควรท่จี ะมกี าร เปลี่ยนแปลงปรับปรุงใหเ ขาเปน ระบบ เพ่อื จะไดร องรบั เด็กที่จบช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ สามารถ

พัฒนาการศกึ ษาคณะสงฆไ ทย ๑๐๑ เขา มาศึกษาในคณะสงฆ และสามารถเทียบโอนกนั ไดก จ็ ะทาํ ใหเดก็ ทมี่ ศี รทั ธาในพระพุทธศาสนา อยแู ลว ไดศกึ ษาทงั้ ฝายธรรมและฝา ยโลกควบคูกนั ไป และเปนการสรา งศาสนทายาทและเปด โอกาสใหเ ปน ทางเลอื กใหมใ นการศึกษาของชาติ เพราะเหตวุ า การเรยี นในโรงเรียนทวั่ ไปนัน้ จะมี ปญหาเรื่องยาเสพตดิ เรอ่ื งคณุ ธรรมจริยธรรม ถา เขา มาบวชเรยี นในวัด พระจัดการดูแลให คอื จัดศาสนศกึ ษาซง่ึ เป?นการจัดการศกึ ษาสําหรับพระภิกษสุ ามเณรที่เขามาบวชเรียนเพอ่ื เปน ทางเลอื ก หน่งึ ของผตู อ งการใหลูกของตนเองมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม เขา มาบวชเรียนเพือ่ ทจ่ี ะ เปนพลเมืองดีของชาติ และรฐั จะตอ งใหการสนบั สนุนดา นงบประมาณเหมือนโรงเรยี นทั่วไป สิ่งสําคัญ ผูบริหารคณะสงฆ จะตองเรงพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาของคณะสงฆโดยเฉพาะ หลกั สูตรพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกธรรมและบาลใี หม คี ุณภาพมากย่งิ ข้ึน ทส่ี ามารถรกั ษาสาระหลักสตู ร เดมิ ไวและสามารถเทยี บโอนผลการเรียนกบั การจดั การศกึ ษาสามญั ทว่ั ไปของรัฐ มิฉะนัน้ ใน ทศวรรษ หนา คณะสงฆจะเกดิ วิกฤตขิ าดแคลนผูเขามาบวชเรียนและสืบตอ พระพุทธศาสนาอยา ง รนุ แรง บญั ชสี ถติ จิ าํ นวนนกั เรียนบาลสี นามหลวง พุทธศกั ราช ๒๕๔๐-๒๕๕๐ พ.ศ. ขอเขาสอบ ขาดสอบ จํานวนนักเรยี น สอบตก % ท่ีสอบได คงสอบ สอบได ๒๕๔๐ ๒๘,๔๐๓ ๑๐,๖๖๐ ๑๗,๗๔๓ ๕,๕๑๓ ๑๒,๒๓๐ ๓๑.๐๗ ๒๕๔๑ ๒๙,๑๗๗ ๑๑,๖๔๘ ๑๗,๕๒๙ ๓,๗๖๙ ๑๓,๗๖๐ ๒๑.๕๐ ๒๕๔๒ ๓๔,๙๖๘ ๑๓,๔๑๐ ๒๑,๕๕๘ ๔,๖๔๖ ๑๖,๙๑๒ ๒๑.๕๕ ๒๕๔๓ ๔๐,๖๐๔ ๑๓,๔๙๑ ๒๗,๑๑๓ ๕,๐๗๙ ๒๒,๐๓๔ ๑๘.๗๓ ๒๕๔๔ ๔๑,๓๕๔ ๑๖,๐๖๕ ๒๕,๒๘๙ ๖,๑๒๐ ๑๙,๑๖๙ ๒๔.๒๐ ๒๕๔๕ ๔๓,๔๐๘ ๑๗,๒๐๒ ๒๖,๒๐๖ ๔,๙๔๕ ๒๑,๒๖๑ ๑๘.๘๗ ๒๕๔๖ ๔๑,๒๗๘ ๑๓,๔๕๕ ๒๗,๘๒๓ ๕,๑๗๕ ๒๒,๖๔๘ ๑๘.๖๐ ๒๕๔๗ ๓๘,๘๐๕ ๒๖,๑๖๔ ๑๒,๖๔๑ ๕,๑๐๘ ๗,๕๓๓ ๔๐.๔๑ ๒๕๔๘ ๓๕,๙๙๖ ๑๙,๓๘๒ ๑๖,๖๑๔ ๕,๖๗๑ ๑๐,๙๔๓ ๓๔.๑๓ ๒๕๔๙ ๓๒,๖๒๗ ๑๓,๓๐๐ ๑๙,๓๒๗ ๕,๕๑๓ ๑๐,๖๖๘ ๑๙.๗๗ ๒๕๕๐ ๒๙,๓๔๒ ๑๐,๕๘๙ ๑๘,๗๕๓ ๔,๕๔๗ ๑๔,๒๐๖ ๓๕.๙๗ รวม ๓๙๕,๙๖๒ ๑๖๕,๓๖๖ ๒๓๐,๕๙๖ ๕๖,๐๘๖ ๑๗๑,๓๖๔ ๒๔.๓๒ ที่มา : เรื่องสอบบาลสี นามหลวง พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๕๐ ของกองบาลีสนามหลวง

พฒั นาการศึกษาคณะสงฆไ ทย ๑๐๒ เอกสารอา งอิงประจาํ บท กรี ติ ศรีวิเชยี ร. ตวั แปรที่เกี่ยวขอ งกับผลการเรยี นของนกั เรยี นพระปริยัตธิ รรมแผนกบาลี, กรงุ เทพฯ: วทิ ยานิพนธ กศ.ด.(การศึกษาดษุ ฎีบัณฑติ ), มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ๒๕๔๑. กองบาลสี นามหลวง. เร่อื งสอบบาลสี นามหลวงแผนกบาล,ี ฉบบั พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๕๐. ๑๑เลม . กรุงเทพฯ: โรงพมิ พก ารศาสนา. ๒๕๔๐-๒๕๕๐. สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาต.ิ กองแผนงานการศึกษา. สภาพการจดั การศกึ ษาของ คณะสงฆไ ทย, กรุงเทพฯ : สาํ นกั งาน, ๒๕๒๖. คนงึ นติ ย จนั ทรบุตร.แนวคดิ ทศิ ทางการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย [บทความวจิ ยั ] , วารสารพุทธ ศาสนศ ึกษา ปท ่ี ๘,ฉบับที่ ๒ (พ.ค.-ส.ค. ๒๕๔๔), หนา ๖-๔๙. พระราชวรมุนี (ประยทุ ธ ปยุตฺโต). การศกึ ษาของคณะสงฆ: ปญ หาท่ีรอทางออก, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมลู นธิ โิ กมลคีมทอง.๒๕๒๙. สมชาย ไมตร.ี รายงานการวิจยั การศกึ ษาของพระสงฆใ นประเทศไทย : กรณศี ึกษาพระปรยิ ัติ ธรรมแผนกบาล,ี กรุงเทพฯคณะสงั คมสงเคราะหศ าสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๙. สุภาพร มากแจง .,สมปอง มากแจง .รายงานการวจิ ยั การศกึ ษาสภาพการจัดการศกึ ษาของคณะ สงฆ, กรงุ เทพฯ:กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๒. แหลงขอมลู เทคโนโลยสี ารสนเทศ http://th.wikipedia.org www.bloggang.com http://socialscience.igetweb.com/index.php

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๐๖ บทที่ ๕ แนวโนมการจัดการศึกษาของพระสงฆ วัตถุประสงคประจําบทเรยี น o เมือ่ ศึกษาบทท่ี ๕ จบแลว นักศกึ ษาสามารถ o ๑.อธิบายแนวโนม การจัดการศกึ ษาได o ๒.อธบิ ายกระแสของอุดมศกึ ษาของโลกได ขอบขายเน้อื หา o แนวโนม การจัดการศกึ ษาระดบั อุดมศกึ ษา o กระแสของอุดมศึกษาของโลก

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๐๗ ๕.๑ ความนาํ การจดั การศึกษาของคณะสงฆใ นอนาคตควรประกอบดว ยการจัดการศึกษา ท่ีคํานึงถงึ หลกั การ ๔ ประการ ไดแ ก ความคาดหวงั ของสงั คมตอ บทบาทของสถาบนั สงฆ ความตอ งการการศกึ ษาของคณะสงฆ ความสอดคลอ งกับนโยบายการศึกษาของชาตติ ามรฐั ธรรมนญู และพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาติ ตลอด จนรวมอยูในระบบการจัดการศึกษาของชาตไิ มแ ยกสวนเฉพาะสงฆ โดยมีผูแทนสงฆเขา รว มอยูในคณะ กรรมการการศึกษาทกุ ระดบั อนั จะชวยเอือ้ ประโยชนตอความเปนเอกภาพเชิงนโยบายในการจัดการศึกษา และใชทรัพยากรทางการศึกษาอยา งไดป ระโยชนสงู สดุ รวมทั้งบรรลุจดุ มงุ หมายของการจัดการศึกษาเชงิ ความรูคูค ณุ ธรรม ในดานหลกั สูตรการศึกษาของคณะสงฆค วรจาํ แนกหลักสูตรออกเปน ๓ ประเภท ตามสภาพของ ผูเ รยี น การสรางหลักสตู รควรดาํ เนนิ การโดยคณะผูเช่ียวชาญหลากหลายสาขาทง้ั บรรพชิตและคฤหัสถ โดย คํานึงหลกั การจัดการศึกษาทัง้ ๔ ประการ รว มกบั ภกิ ษุภาวะและวนิ ัยสงฆ ในดา นการปฏริ ปู การศึกษาของ คณะสงฆ หนว ยงานผูด ูแลควรเตรยี มการแกก ฎระเบยี บทีเ่ ปนอุปสรรคตอการจดั การศึกษาตามโครงการ ศกึ ษาของชาติ พัฒนาบุคลากรวิชาชีพ สรา งความม่ันคงและสวัสดิการแกบ ุคลากร0� ๕.๒ แนวโนมการจัดการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา เร่ืองของมหาวทิ ยาลัยจะออกนอกระบบหรอื ที่เรยี กวา มหาวิทยาลัยในกํากบั ของรัฐน้นั จะมีผลดี ผลเสียอยางไร คาํ วาออกนอกระบบน้นั คืออยางไรเปน ประเดน็ หนงึ่ ทนี่ า สนใจ และผเู ขียนเองไดพยายามตดิ กระแสแนวคิดน้จี ากบทความทางวชิ าการ แนวคดิ จากนักวชิ าการมานาน และคราวใดไดเ จอครูบาอาจารย ในมหาวิทยาลยั หากสบโอกาสเหมาะก็จะพยายามสอบถามความคดิ เหน็ เสมอ รวมไปถึงสอบถามความ คิดเหน็ ของนกั ศกึ ษา ตลอดทั้งสอบถามความหวงใยของพอแมผ ูปกครอง แมจะเปนการสอบถาม สนทนา พดู คยุ แบบไมเปนกิจลกั ษณะเพ่ือนํามาสะสมความคิดเห็นและวเิ คราะหเนอ้ื หาของความคดิ เหน็ น้นั มาเปน ระยะ ๆ จงึ ตอ งการเสนอความคดิ เห็นตอสาธารณะชนใหร บั ทราบ เทาท่ีผา นมาการผลิตบณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทยโดยสวนใหญ มงุ เนน ไปที่ความเลศิ ทางวิชาการ มุงความเปนอสิ ระทาง วชิ าการ ( Freedom Academic)บางแหง กเ็ นน วชิ าการแบบไมม องบริบทรอบขา งอนั เปน ฐานวิถีชีวติ แหง ตน หรือท่ีเรยี กวา วฒั นธรรมของสังคมแหงตน อันนีร้ วมไปถึงมหาวทิ ยาลัยสงฆด ว ย เพราะมหาวิทยาลยั ของพระสงฆ โดยวตั ถปุ ระสงคพ ื้นฐานแลว เนนในวิชาการดานพระพทุ ธศาสนา มุงใหเ ปน แหลงคนควา วิจัย ในทางวิชาการ ดานพระพทุ ธ ศาสนา เพือ่ ใหส ามารถทจ่ี ะนาํ ไปเผยแผพ ระพทุ ธศาสนา ไดท ง้ั ในและ ตางประเทศอยางมีประสิทธภิ าพ สามารถเปน ท่ีพ่งึ ของประชาชนได เปน ผนู าํ ทางจิตวิญญาณของ ประชาชน เปน สถาบนั หลักทต่ี องเตือนสติทางสงั คม ( Social Reminder)ในคราวทส่ี ังคมเพล่ียงพลํา้ เดิน ผดิ ทาง หรือเพอื่ ปอ งกันมใิ หสงั คมเดินไปในทศิ ทางผิดพลาด อนั จะกอใหเ กิดปญหาและนาํ ความหายนะมา สูสงั คมและตอ สถาบนั ชาติ สถาบนั ศาสนาและสถาบันพระมหากษัตรยิ  ท่เี ปนสถาบนั หลกั ของสงั คมไทย Ò http://mcucri.igetweb.com/index.php?mo=๓&art=๔๘๐๙๘๒

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๐๘ ดวยฐานคดิ แบบธุรกจิ ทางการศกึ ษา มองความคมุ ทุนทางเศรษฐกิจ มากกวา ความคุมทุนทางสังคม ปจ จบุ นั มหาวิทยาลัยสงฆไ ดขยายวทิ ยาเขตไปทั่วประเทศ และเปด รบั ใหฆ ราวาสเขาเรียนดว ย ซงึ่ เปนเรื่อง ไมเสียหายอะไร แตถ า หากลืมพระสงฆสามเณร อันเปน วัตถปุ ระสงคห ลักของการสถาปนามหาวทิ ยาลัย สงฆ น่ันแหละคอื ความไมถกู ตองกําลงั จะเกดิ ขน้ึ เพราะขัดตอ เจตนารม ณ ของมหาวทิ ยาลัย ถูกอํานาจทนุ นยิ มบริโภคนิยมครอบงําโดยสิ้นเชิง เกบ็ คา หนวยกติ กบั พระเณรแพงข้ึน กเ็ ทาเปน การกีดกนั การศึกษา พระสงฆส ามเณรทางออ ม มหาวิทยาลัยสงฆท้งั ๒ แหง หากไมสาํ นกึ ตระหนักและปลอ ยใหการศกึ ษาของสงฆไวอ ยา งทเี่ ปน อยู จะมีแตทรงกบั ทรดุ ย่ิงรัฐบาลอดุ หนุนจุนเจอื ดว ยอามิสเงนิ ทองและรับรองปรญิ ญาบัตร ดูจะเปนโทษย่งิ กวา เปน คุณ เพราะจะนาํ เขา สูความเปนโลกมากข้นึ จะอยภู ายใตอ ิทธิพลของราชการ หรืออํานาจนยิ ม (โทสจรติ ) กบั ของวฒั นธรรมแบบบริโภคหรอื ทุนนยิ ม(โลภจรติ )มากยงิ่ ข้ึน โดยการศกึ ษาทเี่ ดินเขาหาฝร่งั มาก เพยี งไร กเ็ ปน ไปเพอ่ื เพ่มิ อัตตานปุ าทานและเปน การเรียนอยา งอวิชชา(โมหจริต)มากขึ้นทกุ ที เพราะหากตก อยูใ นภาวะอยา งนแ้ี ลว โอกาสที่จะเปนผูทีอ่ ยูในฐานะของผูเ ตอื นสติทางสังคม(Social Reminder) ก็เปนไป ไดย าก (ผศ.พระครูสนุ ทรธรรมโสภณ) ๕.๓ กระแสของอดุ มศึกษาของโลก ปจจุบันกระแสของการศกึ ษาโดยเฉพาะการศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษาตกอยูภายใตกระแสของโลกาภิ วัตน (Globalization) ซง่ึ จะต้งั ใจรบั หรือไมตั้งใจรับมนั ก็จะมาเองโดยไมต อ งเชิญ กระแสน้นั แบง ๖ กระแส หลกั ไดแก ๑.กระแสของเพื่อคนสวนใหญ หรือที่เรยี กวา Massification หรอื ทเี่ รียกอกี อยา งวา Universilizationท่ีถือวา การศึกษาระดับอุดมศกึ ษาควรจะตอ งจดั เพื่อใหค นสวนใหญของสังคม หมายความ วาทกุ คนมีสทิ ธ์ไิ ดรับการศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษาอยางเทา เทียมกนั หรอื จัดใหกับคนสว นใหญข องประเทศ เปน ทงั้ สทิ ธแิ ละหนา ทขี่ องบคุ คลทีจ่ ะไดรับ เปนหนา ท่ีของรฐั ท่จี ะตองจัดให ในลกั ษณะอยางนี้เราจะเห็น แนวโนม การศึกษาระดบั อดุ มศึกษาอยา งในสหรัฐอเมริกา ในญ่ปี ุน ยุโรปนนั้ ของเขาอาจเรียกไดวา กา วสู Mass Education แลว นั่นคอื คนของเขาท่จี บชัน้ มัธยมศึกษาไดร ับการศกึ ษาระดบั อุดมศกึ ษา ๘๐ – ๙๐ % ซึ่งในสังคมไทยเราจะเห็นมหาวิทยาเปดมากขึ้น มีหลากหลายรูปแบบมากขึ้น อยางตามมหาวิทยาลยั รามคําแหง มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ เปดโครงการพเิ ศษขึ้น รวมทัง้ มหาวทิ ยาลยั สงฆ มี Campus มากขน้ึ และเปดโครงการพเิ ศษกันมากขึน้ ๒.กระแสของความเปน Privatization หรือบางทเี รียกวา Corporatization หรอื Corporate และท่เี ราไดย ินกันเสมอก็คือ Autonomous University น่ันเอง นั้นก็คอื การท่จี ะพยายาม จะจดั การและดูแล และดําเนนิ การใหก ารศึกษาระดับอุดมศึกษามีลักษณะทีด่ ี ดาํ เนินการในรูปแบบของ เอกชน ในรปู แบบของคณะกรรมการ ในรูปแบบทใ่ี หมหาวิทยาลัยมคี วามเปน อสิ ระ มคี วามคลองตวั ในการ จัดการบริหาร ไมเปน ระบบราชการ แนวคิดอนั นีม้ ีความหลากหลาย เราจะเห็นไดชัดเจนวา แบบอยางอนั น้ีนนั้ ทจี่ รงิ แลวเปน แบบอยา งทม่ี าจากสหรัฐอเมริกา ระบบของอเมรกิ าน้นั ถือวา การศกึ ษาระดบั อุดมศกึ ษา เปน ธุรกิจ มีการบรหิ ารในรปู ของคณะกรรมการ จากกระแสแนวคิดนีแ้ บงออกเปน ๓ วธิ ียอ ย คือ

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๐๙ ๒.๑ เปนลักษณะเอกชนเต็มตวั มีการจดั การบริหารแบบมหาวิทยาลัยเอกชน หาเงินแบบ เอกชน นักศกึ ษาตองจา ยแพงขึ้น เปนหนา ทข่ี องมหาวทิ ยาลยั ท่จี ะตองหาเงินมาสําหรับใชจ า ยเอง โดยตรง รัฐจะเขา ไปเกย่ี วขอ งนอ ยมาก นเ้ี รียกวา การบรหิ ารจดั การเปน แบบเอกชนเตม็ รูปแบบ ๒.๒ เปนลกั ษณะการบรหิ ารมีความเปนอสิ ระ โดยมีคณะกรรมการดูแลทเ่ี รียกวา Corporate ก็คือ คณะกรรมการดแู ล แตดานการเงนิ หรืองบประมาณยังเปนของรัฐอยเู ปน สว นใหญ รัฐบาลเองยงั ใหเ งินมาแตใ หเ งินมาคอ นขา งอสิ ระและรฐั มีมาตรการมาดแู ล โดยใหม ีคณะกรรมการมาดแู ล การเงนิ น้นั รูปแบบนี้หลายสวนยังคอนขา งเปน ราชการ ๒.๓ เปนลักษณะ Autonomous University มหาวทิ ยาลยั คอนขา งเปน อิสระ นัน่ คอื ให มหาวทิ ยาลยั มีสิทธิที่จะตดั สินใจดําเนนิ การดแู ลภายใตจุดมงุ หมาย กระบวนการ วิธกี ารของมหาวทิ ยาลยั เอง แตรฐั ยังใหเ งินดูแลในสว นทเี่ ปน คาใชจา ยหลัก ๆ และมหาวทิ ยาลยั เองก็มิสิทธิทจี่ ะหาเงินเขามาสมทบ ได การบรหิ ารจะไมใชแบบปกติ หากเปน การบรหิ ารภายใตก รอบของมหาวิทยาลัย รัฐจะดูแลเงินในระดบั หนง่ึ ท่เี ปน พืน้ ฐาน ๓.กระแสของความเปน Marketization คือทาํ ใหม หาวิทยาลยั เปนระบบการตลาด เปน Competition มกี ารแขง ขนั และเปน ระบบ Consumerlization คอื การจดั การบรหิ ารสนองประโยชนข อง ลกู คา เปนสําคัญ ซ่งึ ขณะน้ีมหาวทิ ยาลยั ทวั่ โลกกาํ ลังเดนิ และปรบั ทศิ ทางใหส อดคลอ งกบั ควมตองการของ ตลาดเปนหลกั สําคญั น่ันคือในสาขาวชิ าทเ่ี ปด สอนตองเปน สาขาวชิ าทีต่ ลาดตอ งการ ในแตล ะหลักสูตรตอ ง จัดการเรียนการสอนใหสอดคลอ งกบั ตลาดตอ งการ และบัณฑิตที่จบออกไป ตองพยายามปรบั ตัวใหเ ขากับ สง่ิ ทตี่ ลาดตองการ ตลาดตอ ตลาดก็มีการแขง ขนั กัน ใหม หาวิทยาลัยเปน สนิ คา อยางหนงึ่ ๔.กระแสของความมาตรฐาน Standardization คือเม่อื มีการแขงขนั เตม็ ทแ่ี ลว พอไปถึงระดับหนึ่ง กจ็ ะมกี ารประกาศลดราคา มีการลดแลกแจกแถม เพอื่ แยง ลูกคากนั การลดราคาทางการศกึ ษา หมายถงึ การลดคุณภาพลง มาเรยี นกับฉันจบแน ตามท่ีพดู กนั เสมอวา “จายครบตองจบแน” ทกี่ าํ ลงั เกดิ ขน้ึ ท่ัว โลก เราจะเห็นไดว า มหาวิทยาลยั ตาง ๆ มกี ารโฆษณากันอยา งเปนข้ันเปน ตอน ไมแตกตา งอะไรกบั หางสรรพสินคา ดวยเหตุนน้ั กจ็ ะเกดิ กระแสท่เี ราเรียกวา Standardization หรือกระแสของคณุ ภาพ Quality กระแส Excellent น่นั คือ ทว่ั โลกใหค วามสําคัญในเร่อื งคณุ ภาพ เรอื่ งมาตรฐาน เรื่องความเปน เลิศ ของการอุดมศึกษา การประกนั คุณภาพการศกึ ษาจึงมีอยทู ัว่ โลก ๕.กระแสของ Globalization หรอื Internetionlization หรือไมก เ็ รยี กวา Virtualization ท้งั สาม คอื Globalization หรือ Internetionlization หรือ Virtualizationและเรียกอีกวา Networking ท้งั สาม คาํ น้ีเปนระบบของโลกาภิวตั น เปน ระบบนานาชาติ ระบบเครอื ขายของ Globalization คอื ทําใหโลกทั้ง โลกเปน โลกใบเดยี วกัน คอื การศกึ ษาจะตอ งสื่อสารถึงกันทวั่ โลก เดมิ เปน Internationlization. ความ แตกตา งอยูท่วี า เปน Inter. Internationlization. หมายความวา Nation ตอ Nation ยงั มีอยู แลวก็มามี Inter มาเกยี่ วของ แตขณะนี้มันไมม ี Nation เพราะมันกลายเปน Global มันสามารถส่ือสารถงึ กันได แต กอนเวลาตดิ ตอผา นตองตดิ ตอ ผานประเทศแตละประเทศเขา มากอน ขณะนีค้ นแตล ะประเทศไมตอ งตดิ ตอ ผานแลว สามารถโยงถึงกนั ไดเลย Globalization เร่มิ เม่ือไร แนวคิด Globalization จรงิ ๆ เร่ิมเม่อื กําแพง เบอรล นิ ถูกพงั ลง เพราะเดมิ มันผานกาํ แพงไมไ ด เหตเุ พราะความเปนชาติคอมมวิ นิสตอ ยู พอคาย คอมมิวนสิ ตพ งั ลงมาเทา นั้นสื่อสารทง้ั หมด ความเปน Globalization เกดิ ขึ้นมาอยางชัดเจน ตอ ไป มหาวิทยาลยั ตา ง ๆ จะจดั การในเร่ืองของหลักสูตร การเรยี นการสอน อาจารย อาจเรยี นและสอนรว มกัน

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๑๐ ทํางานรว มกัน เพราะความเปน Globalization ไมม ขี ้นั ตอนของความรู คณาจารยแ ละนักศึกษามีการ แลกเปลย่ี นความรูก ันอยา งหลากหลายและรวดเรว็ ตรงนีเ้ องทที่ ําใหก ารศกึ ษาเปลย่ี น แปลง เพราะความรู มนั ไปรวดเร็วเหลือเกิน ๖.กระแสของ Technologilization หรือกระแสของ Technology และกระแสของ Technologilization และจะเปน กระแสทม่ี คี วามสําคัญมาก เพราะความเติบโตของ Technology นเ้ี องที่ ทําใหก ระแสของนานาชาตเิ กดิ ข้นึ อยางกวา งขวางและรวดเร็ว ความเปน IT ,ICT, Information และ Communication Technology ทําให Massification มันกวา งขวางออกไป เรยี นทางทีวี เรยี นทาง วิทยุ ทาง Electronic หรอื ทเ่ี รยี กวา E – Learning ทําใหร ะบบการจัดการสมยั ใหมเขา มาได มันทําให ระบบตลาดเปนไปอยางกวางขวาง ทําใหน านาชาตเิ กิดขน้ึ IT มีทง้ั ของมนั เองท่ีมนั กลายเปน Virtual University-กลายเปน มหาวิทยาลยั เสมอื น-Virtual-Library-หอ งสมุดเสมอื Virtual Classroom หองเรียน เสมอื น กระแสตาง ๆ เหลานก้ี ําลังเกดิ ขึน้ ในการศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษาภายใตกระแสของโลกาภิวตั น (Globalization) และกระจายไปยังประเทศตาง ๆ มากข้ึนแตล ะประเทศก็จะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรซู งึ่ กัน และกนั แตล ะประเทศคงหลบเลยี่ งระบบน้ีไปไมไ ด ขณะนมี้ หาวทิ ยาลัยในประเทศไทย มกี ารประกาศขา วทางการศกึ ษา รบั สมคั รทาง อนิ เตอรเ นต็ คน ควา หาความรูทางอนิ เตอรเนต็ งานวิจยั วทิ ยานิพนธลงในอนิ เตอรเ น็ต และ Web-site สถานศกึ ษาครอู าจารยแ ละเด็กนกั เรยี นต้งั แตร ะดบั ประถม มธั ยมเขาหาขอ มลู ทาํ รายงานทาง Internet กนั ทั้งน้ัน แตอยางไรกต็ ามผเู ขียนไมมน่ั ใจวามหาวทิ ยาลัยในประเทศไทยกาํ ลงั เดินตามกระแสใดในจํานวน ๖ กระแสหลักของมหาวทิ ยาลยั ทวั่ โลกนัน้ แตเกรงวา อา งความเปน Massification หรอื ที่เรยี กอีกอยางวา Universilization อา งเพ่ือคนสว นใหญของสังคม โดยตอ งการจะเปน Privatization หรือเรยี กวา Corporatization หรือ Corporate และนนั่ ก็คือ Autonomous University นนั่ เอง แตมีเปา หมายจะ เดินไปสคู วามเปน Marketization คือทําใหม หาวิทยาลัยเปน ระบบการตลาด เปน Competition มีการ แขงขนั กันในเชิงการตลาด เปน การศกึ ษาท่ีสงเสริมหรอื กระตุนโลภะใหกระเพื่อมมากข้ึน น่นั หมายถึง การศึกษาทผ่ี ลติ นักบริโภคนิยม และเปน ระบบ Consumerlization คือการจัดการบริหารสนองประโยชน ของลูกคา กลมุ ทุนนิยมเปนสาํ คญั ซง่ึ ขณะนมี้ หาวิทยาลยั ท่วั โลกกาํ ลังเดินและปรบั ทิศทางใหสอดคลอ งกบั ความตอ งการของตลาดแบบสงั คมบริโภคนยิ มอยูแลว เปน สวนใหญอสิ รภาพท่ไี มมีคณุ ภาพ มีกรณีตวั อยา งใหเหน็ อยา งการกระจายอาํ นาจออกสูทองถ่นิ มอี งคกรบรหิ ารสว น ทองถ่ิน เจตนาเพ่อื ใหม กี ารกระจายบริหารจัดการออกสทู องถ่นิ เพอื่ ใหการจัดการบริหารโดยคนในทอ งถิ่น เพอื่ คนในทองถน่ิ ไดค ิด ไดทําอะไรท่ีเปน ประโยชนแ กท อ งถ่นิ ของเขา มคี วามรกั หวงแหนในวัฒนธรรม ประเพณขี องทอ งถ่ิน จะไดจดั การบรหิ ารโดยคนในทองถ่ินอยางอิสระ แตประเดน็ ทคี่ วรระวงั วิธคี ดิ ของ คนในองคกรบรหิ ารสว นทองถิ่น กลับไมม ีความเปนอสิ ระ ความคดิ ยงั ถกู จาํ จองพนั ธนาการดวยโซตรวน รอ ยรัดทางจิตวิญญาณ มคี วามเปน ไปแบบระบบราชการในฐานะความชา ในการตัดสินใจ หลายข้นั ตอน วิธี คิดท่ีสวามิภกั ดต์ิ อสว นกลาง อยากใหเ ปน แบบสวนกลาง อยากเปนระบบราชการ แลว อยากกระจายการ บริหารงานออกไปทาํ ไม นา สนใจ ประเภทตวั เปนไทแตใจเปนทาส

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๑๑ ดานการเมืองไทยมปี ญหาความม่นั คงของคณะรฐั บาล มีการอภิปรายกนั ไปกนั มา นักการเมืองยา ยพรรค งา ย ขายตัวคลอง นกั ลงทุนทง้ั ตา งชาติและในชาติเดยี วกนั ขาดความมน่ั ใจในความไมแ นนอนของคณะ รฐั บาล ไมแนนอนในนโยบายของรัฐท่เี ปล่ียนไปเปล่ยี นมา ตอมามีการออกพระราชบญั ญตั ิเพอื่ ใหนักการ เมอื งยา ยพรรคยากขึ้น ใหคณะรฐั บาลมีความม่ันคง อภปิ รายซักฟอกรฐั มนตรยี ากขนึ้ โดยเฉพาะ นายกรัฐมนตรี ในท่สี ุดกเ็ กิดปญหาใหม ท่ีสืบเนื่องจากความมนั่ คงของรฐั บาล เพราะไมไดม่นั ดวยการทาํ ความดี ความถกู ตอ ง แตก ลบั รว มหัวกนั ท้ังคณะรัฐบาลโกงบา นโกงเมอื ง ทําใหบานเมอื งกลายเปน บริษทั ท่ี คณะบคุ คลเขามาแสวงหาผลประโยชน ชาติลมจมแตค ณะบคุ คลรวยขน้ึ “ประเทศชาตยิ ากจน ประชาชน เปน หนี้ ทร่ี วยอยไู มเพยี งกีต่ ระกูล” และทาํ ใหอ าจารยท ี่เกง ๆ นักกฎหมายทเี่ กง ๆ ในมหาวิทยาลัยตา ง ๆ และรวมทั้งนกั การเมืองท่ดี ตี ลอดทั้งผูบรหิ ารทด่ี พี ลอยเสียผเู สียคนมากตอมาก เพราะไดผ นู าํ ประเทศทมี่ ี จิตใจขาดศลี ธรรมเขา มาบริหาร ใหเกิดเปน ความม่นั คงคูกับความไมด ี กวาจะกําจดั ออกไปไดเมืองไทยตอง กลับยอ นยคุ ไปใชก ระบอกปนอกี คร้ัง จึงเกิดเหตุการณ ๑๙ กันยายน ๒๕๔๙ ขนึ้ น้เี ปน ประวตั ศิ าสตรอีก ยอหนา หน่ึงของสังคม ทีย่ กมากลา วเพ่ือใหเ ห็นวาความมีอสิ รภาพโดยระบบ แตไ ดคนทไี่ มมคี ุณภาพไปใชในระบบนน้ั มนั เส่ยี งภยั มาก ความคลองตวั ในทางทีไ่ มด ี เหมือนเรอื่ งท่ีกําลังพูดถงึ กนั คือมหาวทิ ยาลัยออกนอกระบบ หรือใหเ ปน มหาวิทยาลัยในกํากบั ของรัฐ โดยเจตนาก็เพอื่ ตอ งการใหเกดิ ความคลองตวั ในการจัดการ บรหิ าร รัฐจะโยนงบประมาณใหเ ปนกอ น แลว ไปจัดการบรหิ ารกันเอง โดยรูปแบบของคณะกรรมการ และ นอกนน้ั ไปหางบประมาณเพมิ่ เตมิ เอง ตามแตคณะกรรมการ หรอื ตามความรูความสามารถของ คณะกรรมการ พดู ตรง ๆ หลายฝา ยไมมั่นใจในศักยภาพของผบู ริหารมหาวิทยาลัย ในคณะกรรมการของ มหาวิทยาลยั เพราะประเดน็ สาํ คัญอยูท ีว่ ามอี ิสระบนฐานคิดอยา งไร อสิ ระไปสูท ิศทางใด เพราะขณะนีค้ น ในมหาวทิ ยาลัยคาดวาจํานวนมากถูกครอบงาํ โดยคา นิยมแบบสงั คมบริโภคนิยม มีแนวคดิ เชิงธรุ กิจทาง การศกึ ษา มองความคมุ ทุนทางเศรษฐกจิ เพียงอยา งเดียว ละเลยความคมุ ทนุ ทางสังคม เม่ือเปน เชนนี้หากให ความอสิ ระแบบปลอ ยเสือเขา ปา เมื่อหวิ มาส่งิ ทเ่ี สอื จะกินกค็ อื ส่งิ อยูใกลตัวมัน หมาอยใู กลก ินหมา วัวอยู ใกลกนิ วัว หากเปน คณะกรรมการประเภทเสอื หิว อะไรท่อี ยใู กลก็คอื นกั ศึกษาข้นึ คา เลา เรยี น เดอื ดรอ น ผปู กครอง คนยากจนจะโดนตัดสิทธโิ์ ดยระบบ โดยกระบวนการ แนน อนอาจบอกวา ทกุ คนยงั มสี ทิ ธิเรียน ได แตโ อกาสทจี่ ะใชสิทธ์สิ แิ ตกตาง ทศิ ทางการอดุ มศกึ ษาไทย มาถงึ อกี เร่ืองหน่งึ ทีอ่ ยากพดู ถงึ และมีความเปนจาํ เปน ทีพ่ ูด คอื เร่อื งของมหาวิทยาลัยในกํากับของ รฐั หรือทเี่ รียกกันตดิ ปากวา ”มหาวิทยาออกนอกระบบ” โดยเจตนารมณข องการใหม หาวิทยาลัยออกนอก ระบบหรอื เปนมหาวทิ ยาลัยในกาํ กบั ของรัฐน้นั นา จะตองการใหการจัดการบริหารมหาวิทยาลัยมีความ คลองตัว มคี วามเปน อิสระทางวิชาการ ในการจดั การเรยี นการสอน หากดูทีเ่ จตนาของตัวหนังสอื นั้นลวนดี ทัง้ น้ัน “แตเ กรงจะเปนอิสระไมจ รงิ พอออกนอกระบบก็จะกลายเปนราชการ ๒ ข้นึ มา คอื ไดเ งินเดอื นมาก แตท ําตวั เปน ราชการเหมือนเดิม ถา อยางนย้ี ิ่งจะแยไปใหญ” ไมวา จะเปนการโอนการศึกษาใหท องถ่นิ ให มอี งคกรการปกครองสวนทอ งถน่ิ และแมแตใหรฐั บาลมีความมน่ั คง แตส งั คมไทยเปน อยา งไรกบั บทเรยี นท่ี ผานมา โดยเฉพาะอยางยง่ิ วฒั นธรรมทางความคิดของคนไทยเรา ระบบความคิดของผบู ริหารมหาวิทยาลัย ประเดน็ ที่สนใจตอไป ก็คอื จะมีความเปนอิสระในลกั ษณะอยางไร มคี วามเปน อิสระเชงิ การตลาด เกรงจะ ใหม หาวิทยาลัยเปนประดุจศูนยการคา มองเชิงกาํ ไรขาดทุน ซงึ่ ความเปน จรงิ ในปจ จบุ นั น้คี นในมหาวิทยาลยั

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๑๒ สวนหน่งึ กม็ องก็คิดกันแลว อยางมองความคมุ ทนุ ก็มองเพียงคุม ทนุ ทางเศรษฐกจิ แตไ มไดมองความคมุ ทุน ทางสังคม ในท่สี ุดภาระจะไปตกอยูกบั เดก็ กบั พอ แมผ ปู กครองตองจา ยแพงมากข้ึน ลกู ยายสี ปา มี อา ย ทดิ จอ ยหมดสทิ ธ์เิ รียนแนน อน “ขณะนีจ้ ะเหน็ ไดชดั เจนวาคนท่ยี ากจนกับคนมฐี านะดี มีโอกาสทาง การศึกษาท่แี ตกตางกัน อยางเรียนที่จุฬา ฯ ๘๐ –๙๐ % ยังเปนลูกเศรษฐี สวนลกู ชาวนาชาวไร โนน ไลไป อยอู กี กลุม Massification บา นเราแมจ ะเปดมากข้นึ แตยังมคี วามแตกตางในดานของสถาบันเหมอื นเดิม มหาวทิ ยาลัยสว นใหญยังรบั ใชค นมีฐานะดี รับใชคนมีเงนิ อยู รับใชภาคธุรกิจเอกชน รบั ใชส งั คมบรโิ ภคนยิ ม โดยสยบยอม ทัง้ คนเรยี นและคนสอนไมเคยคิดจะออกจากโซตรวนพันธนาการเหลาน้ี ความจริงมหาวทิ ยาลัยในระบบทดี่ ี ทีเ่ ปนมหาวิทยาลยั ของรฐั น้นั ก็เปน มหาวิทยาลัยสาธารณะท่ีตอ ง รบั ผิดชอบตอสังคมสวนรวม เพ่อื คนสวนใหญข องสงั คม ความจริงแลว ไมมคี วามจําเปน ทจี่ ะตองพัฒนา บุคลากรสนองความตอ งการโดยตรงแกบรษิ ัทหางราน เพราะความรูและบคุ ลากรเหลานน้ั ควรถกู ผลติ จาก มหาวทิ ยาลัยเอกชนมากกวา โดยใหส ะทอนตน ทุนท่แี ทจ รงิ ทางเศรษฐกิจ และปลอ ยใหบรษิ ทั หา งรา น เหลานั้นเอาเปรียบสงั คมในการปลอยใหม กี ารเอางบประมาณทค่ี วรจะมีไวในการพัฒนาประเทศมารองรับ การพัฒนาบุคลคลใหเขา ทํางานใหบริษัทหางรานทแี่ สวงหากาํ ไรจากตน ทุนตาํ่ สวนมหาวทิ ยาลยั ของรฐั ควร มองความคมุ ทนุ ทางดานสังคมมากกวา และมองคณุ ภาพก็ตอ งมองดานคณุ ภาพทางวิชาการและคุณภาพ ดานคุณธรรมจรยิ ธรรม ควบคไู ปดว ยมเิ ชน นั้นสังคมจะไปไมรอด พอจบไปอยูองคก รใด หนวยงานใดมันจะ โกงบานโกงเมือง องคก รจะตกตา่ํ สงั คมจะยอยยบั เพราะเราไมไ ดผ ลติ นกั สัมมาวชิ าการ ตัง้ หนาตัง้ ผลิตนัก มิจฉาวชิ าการเต็มบา นเตม็ เมืองและเต็มโลกในขณะนี้ ประเดน็ นีจ้ ะมีความสาํ คัญมากข้ึนภายใตระบบสังคม โลกยคุ โลกาภิวตั น(Globalization) และมคี วามสําคัญมากข้นึ ในโลกอนาคต ประเด็นสําคัญตอมาจะทํา อยา งไรจะใหสถานศึกษาโดยเฉพาะระดับอดุ มศกึ ษา มองความคุม ทนุ ทางสังคมมากกวา การคมุ ทนุ ทาง เศรษฐกิจ และใหเ ปน ไป”เพอ่ื ประโยชนของชุมชนไมวา จะเปน ในแงของการปลกุ จิตสาํ นกึ หรือรกั ษา จติ สาํ นึกของชมุ ชนและเครือขา ยของชุมชนตองสมั พันธก ันในการดาํ รงชวี ติ ” เพราะขณะนี้จะมกี ารละเลย ในสงิ่ เหลานกี้ ันมาก หากออกนกระบบแลว มคี วามคลอ งตัว มคี วามเปนอสิ ระมากข้นึ อาจารยในมหาวทิ ยาลยั มคี วาม เปนอิสระทางวิชาการ มคี วามอสิ ระทางความคิด ทาํ งานวิจยั เพอ่ื งานวชิ าการท่บี ริสทุ ธ์(ิ Pure Academic) มุง รับใชง านวิชาการ เพื่อวิชาการไมตอ งมวั พะวงจะเอาใจผนู าํ ประเทศจนขาดความเปน ตัวของตวั เอง เพราะถา ไมท าํ ตามตณั หาของผูบริหาร งบประมาณก็ไดน อย ซง่ึ เราจะเหน็ นักวชิ าการ นกั วิจยั นักกฎหมาย เกง ๆ เสยี คนมากตอ มากแลว เพราะระบบอยา งน้ี แตหากออกนอกระบบมีความคลอ งตัว มคี วามเปน อิสระ แตเ ปน ความอสิ ระท่ยี ังโดนความอยาก (โลภจรติ )ครอบงาํ ทาํ ใหมหาวทิ ยาลัยกลายเปน หางสรรพสนิ คา เปน สถานทสี่ ง เสรมิ สังคมบริโภคนยิ ม ใช การศกึ ษาเพอ่ื แสวงหารายได มคี วามเปนอิสระในการทาํ ธุรกิจทางการศึกษา ดว ยกลยุทธตา ง ๆ นานา เชน รบั เดก็ เขามามาก ๆ สมมตุ ิวา มหาวิทยาลัยแหงหน่ึง และสาขาวิชาหนึ่งรบั เดก็ เขามา ๙๐๐ คน ลงทะเบียนเรยี นไปได ๑ เทอม สอบตกไป ๕๐๐ คน สถานศึกษารบั เงนิ ลงทะเบยี นไปแลว พอแม ผูปกครองเขาจายเงินไปแลว ตอ งขายขา ว ขายเปด ขายไก ขายหมู ขายยางพารา ขายมันสําปะหลังไปแลว ท้ัง ๆ ท่โี ดนกดราคากต็ อ งยอมเพอ่ื จะไดจ า ยเงนิ คาเลาเรยี นใหลูก แตแ ลว ลูกเขาโดนใหอ อก โดยอางเรียนไป ไมไ หว แบบนค้ี วรเปนความผิดของใคร ตัวอยางลักษณะอยา งนีผ้ เู ขียนไดรบั ทราบจากการสนทนากบั อาจารย มหาวทิ ยาลัยแหงหนึง่ ทานใหค วามเหน็ วา หากมีเจตนาทบี่ ริสุทธจิ์ ริง ตอ งการเด็กมคี ุณภาพจริง

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๑๓ ควรจัดการเสียต้ังแตกอนเขามา เชนอาจใชมาตรการทางขอ สอบ ทาํ ใหยากขึ้น คัดเอาไวเทา ท่จี ะเปด จรงิ อาจเผอ่ื ไวเ ล็กนอย มใิ ชใหอ อกเปน ๕๐๐ คนและใหพอ แม ผปู กครองเขาเดือดรอ น ตองขายขา วเขยี ว (ตกเขยี ว)มาจายคา ลงทะเบียนใหล ูก เสยี คา ชดุ คาเชาทีพ่ กั และคา อื่น ๆ จิปาถะ อยางนี้กลโกงซา้ํ เติมคน จนมากเกนิ ไปไมค วรใหอภัยเปน อยา งยิ่ง และแสดงความจริงจังเด็ดขาด อางระเบยี บ อางเกณฑทเี่ กิดจาก อาํ นาจนยิ ม(โทสจรติ )ครอบงาํ เพราะฐานความคดิ ที่เห็นแกไ ดจนหนามืดตามวั (โมหจริต)เพราะโดนอวิชชา ครอบงาํ น้ี คอื ทาสแทข อง”ระบบธนกจิ การศึกษา”กาํ ลงั แผข ยายครอบงาํ สังคมโลก เหตนุ น้ั สังคมไทยควร ทําความเขาใจใหชดั เจน และปรับทาทขี องตนใหเ หมาะสมเราจะเกย่ี วขอ งกระแสธนกจิ การศกึ ษานีอ้ ยา งไร โดยยดึ ฐานความเปน จริงของสงั คมไทยเปน ตวั ตั้ง มิใชย ึดสังคมตะวันตกเปนตวั ต้งั แลวใหสงั คมไทยเปน ผู ตามอยา งทก่ี าํ ลงั เปนอยู ๕.๔ ความเปน สากล ความเปน เลศิ ทางวชิ าการและคุณธรรม เมือ่ พดู ถงึ ความเปนเลิศทางวิชาการแตต อ งไมล ะเลยความเปน เลิศทางคณุ ธรรม จรยิ ธรรมไปพรอ ม ดว ย และความเปน สากลกต็ อ งเปน สากลท่ถี กู ตอ ง เพราะขณะพูดถงึ ความเปน นานาชาติ (International)ความเปน สากล แตค วามสากลนั้นควรยดึ ตามหลกั ๓ ประการตอไปนี้ ๑.ความจรงิ ทีส่ ากล เราไมยอมรบั หรือเอามาทาํ ใหไ มสากล ความจริงท่ีสากลหมายความวา การกระทาํ อนั เดยี วกนั ไมวาจะเปน มนษุ ยค นใดทํา ก็ยอมเปน เหตุปจ จัยใหไ ดร ับผลอยางเดียวเหมือนกนั เปนสากลหมด ถา กระทาํ ทไ่ี มด เี ปนเหตุใหไ ดรบั ผลไมด ี ก็ตอ งเปนความจรงิ สําหรบั มนษุ ยทุกหนทุกแหง ทกุ หมเู หลา ทุกพวกไมใชว า คนพวกนท้ี ําแลวไดรบั ผลดี แตอกี พวกหน่งึ ทาํ ไมสามารถไดร บั ผลดี ถา อยา งน้ีก็ แสดงวายังไมเ ปน ความจริงท่สี ากล ยงั เปนความจริงแบง แยก คอื ไมใ ชค วามจรงิ แทน น่ั เอง ๒.ความเปนมนษุ ยท ี่สากล เมอื่ เปน มนุษยก ต็ องมฐี านะของความเปนมนุษยท ้งั นนั้ แตเวลา น้มี ปี ญหาวาความเปนมนษุ ยไมส ากล เพราะมีการแบง แยก มนุษยพ วกนีไ้ มใชพ วกเรา ฆาไดไ มบ าป หรอื มนษุ ยพวกนนั้ ฆาไดเลย เปน คนพวกมารรา ย ฆา ไปแลวไดบญุ ดว ยซาํ้ ในความจรงิ ท่เี ปนสากลน้นั มนษุ ยไ ม วาพวกไหนคนไหนทีใ่ ดก็ตอ งไดร บั การยอมรับวา เปน มนษุ ยท งั้ น้ัน การทํารายหรอื ฆามนุษยไมวา คนใด ตอ ง เปน ความผิดความไมดเี หมือนกนั หมด ถา อยางนี้จึงจะมีสันติภาพได ถาแคค วามเปน มนษุ ยก ็ยังไมส ากล แลว สันตภิ าพจะมไี ดที่ไหน ๓.ความมีเมตตาที่สากล คือ ความรักความปรารถนาดี ความเปนมติ ร มีไมตรีตอมนุษยท กุ คน ไมว า คนไหน พวกไหน ทใ่ี ด เสมอเหมือนกันหมดโดยไมแบงแยก แตเ ทาทเ่ี ปน มาจนบดั นี้ โลกเต็มไปดว ย ลทั ธคิ าํ สอน แมก ระท่งั คําสั่งใหม ีเมตตารกั ใครช วยเหลือกนั เฉพาะในพวก ในหมขู องตนเองและพรอมกันนนั้ กใ็ หร งั เกยี จ หรือเกลียดชงั พวกอ่นื เมื่อแบง แยกอยา งน้ีสันตภิ าพกไ็ มม ที างเกดิ ขึน้ ได การศกึ ษานบั เปน เร่อื งทีม่ คี วามสําคญั ตอชาติตอ บานเมือง หากจะเปลี่ยนแปลงอยางไร ใหไ ปสู ทิศทางใดน้นั ควรคดิ ควรมีการศึกษาวิจยั อยางจริงจงั อยาทําเปนเครอื่ งทดลอง สงั คมบา นเมืองไมใชสิง่ จะ มาลอ เลน ไมวาจะเปนเกมการเมืองของใคร “หยดุ สกั นิดคดิ ใหด ีแลวคอ ยเดนิ ตอไป ชา แตถาเดินถกู ทาง ยงั ดกี วาเรว็ แลวตอ งกลบั มาตัง้ หลัก ตั้งตนใหม” ขอแสดงความเหน็ ไวดว ยความหว งใย หากตอ งการความเปนสากล ( International)ความเปนนานานชาติ ก็ตองเปน ความจรงิ ท่สี ากล ความเปนมนษุ ยท ส่ี ากล และความมเี มตตาทสี่ ากล ตามทีก่ ลาวมาแลว เหตนุ น้ั การออกนอกระบบ หรอื จะ

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๑๔ อยใู นระบบ กว็ า กนั ไปแตควรศึกษาทางเปนไปได ในทางปฏิบัตจิ ริงตามวัฒนธรรมทางความคิดของคน ไทย เพราะประเดน็ สําคญั อยูท่ฐี านความคดิ ในการพฒั นาคน ในผลติ นกั ศกึ ษาใหม คี ุณลกั อยางไร ใหมี คุณลักษณะเปน ”นักมจิ ฉาวชิ าการหรอื สมั มาวิชาการ” คนในมหาวทิ ยาลยั ทัง้ หลายมีจุดยืนและมีทิศทางที่ แนนอนหรอื ยังวา จะเดินไปสทู ิศทางใด จะไปสยบยอมกับระบบสังคมบริโภคนยิ ม ผลติ นักศึกษาเพ่ือรับใช ระบบทนุ นยิ ม ทําใหมหาวิทยาลัยกลายเปนตลาดหลกั ทรพั ย ใหกลายเปนตลาดหุนหว งใยเพยี งจะปรบั เงิน ของอาจารยแ ละบคุ ลากรสงู ข้นึ ในฐานะของความเปนเจา ของหนุ และไดรับการปนผลทุกเดอื น แตน ักศกึ ษา พอแมผูปกครองในฐานะผูใ ชบ รกิ ารจะตอ งจา ยแพงมากข้นึ แลว ใหพ วกหนึ่งปนผลกนั สบายแฮ แตคนแยคือ ประชาชน ลูกหลานผยู ากไร ลกู ยายสี ปามี แมต ู ยายหนุย ลูกอา ยลําพอง เอื้อยลาํ แพน ในอนาคตยัง จะมีสทิ ธ์เิ ขาเรยี นอยูห รอกหรอื ทสี่ ุดแลวชวยตอบหนอยวาจะเปนมหาวทิ ยาลยั ของพวกทุนนยิ ม(คนสว น นอ ย) หรอื ของมหาชนผยู ากไร อนั เปน คนสวนใหญข องประเทศชาติ น้คี ือสภาพความจริงท่ีเปน อยู การท่ีจะออกนอกระบบหรอื ไมกส็ ดุ แลว แต อนาคตจะไดงบเพยี งพอกบั ความตอ งการหรือไมนน้ั ไม มีใครรบั ประกันได จะจายหนวยกติ แพงข้นึ หรือไม ขอตอบแทนไดวาแนวโนม แพงข้นึ แน เพราะแมแ ต มหาวิทยาลัยสงฆต ้งั แตออกนอกระบบมาก็ขูดรดี คา หนว ยกติ กบั พระเณรแพงข้ึน ท้งั ๆ วตั ถุประสงคของการ สถาปนามหาวิทยาลยั เพ่อื อนเุ คราะหล กู หลานผยู ากไรใหไ ดรับการศึกษา อนุเคราะหล ูกหลานประชาชน ชายขอบ หรือประชาชนชนั้ ๓ โดยแทจ รงิ ที่ทา นอตุ สาหแหวกแทรกตวั กระเสือกกระสนเอาตัวรอดกําแพง กระแสทนุ นยิ มมาได มุงหนาเขา สูรม กาสาวพตั ร หวังจะพ่งึ รม เงาพระพุทธศาสนา พอจะโผลห นา ไดลืมตา อา งปากหนอย กโ็ ดนขูดรีด โดนกระหน่ําซ้ําเติมอีก โดยการสรา งกาํ แพงทุนนิยมปดกัน้ ทางการศกึ ษาของ ลกู หลาน ของประชาชายขอบ ตอ ไปอาจกลายกลมุ ชนนอกขอบ และจะตกขอบไปในที่สดุ แนวโนม การจดั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน (มธั ยมศกึ ษา) ชาญณรงค บุญหนุน ไดทาํ การวิจยั เร่อื ง\"แนวโนม จํานวนและคณุ ภาพ ของพระสงฆในชนบทของประเทศไทย\" พบวาจํานวนพระสงฆไทยในปจจบุ นั ลดลง และมแี นวโนม จะลดลง เรอ่ื ยๆ เมื่อเปรยี บเทยี บกบั สดั สว นประชากร จากการสํารวจเมือ่ ป พ.ศ.๒๕๐๐ มีพระสงฆจ ํานวน ๒ แสนรปู ตอ ประชากร ๒๘ ลา นคน แตป จจุบนั มีพระสงฆประมาณ ๓ แสนรูปตอ ประชากร ๖๒ ลา นคน นอกจากนี้ จากการวจิ ัยสุมตัวอยา งใน ๒ จังหวดั คือเชยี งใหม และอบุ ลราชธานี ยังพบปญ หาการกระจายตัวของ พระสงฆจ ะอยูในเมอื ง หรอื ในพื้นทที่ ีม่ มี หาวทิ ยาลยั สงฆ สว นในชนบทจะขาดแคลนพระสงฆเปนอยา งมาก และที่นาเปนหวงคอื เร่ืองของคณุ ภาพ โดยในอดตี พระสงฆเปนทีเ่ คารพนับถอื มีการบวชทย่ี าวนาน แต ปจจบุ นั ระยะเวลาบวชสน้ั ลง จํานวนสามเณรกล็ ดลงดวย จงึ กอ ใหเ กิดปญ หาในเร่อื งศาสนทายาท ปญ หา ตางๆ ดังกลาวมาจากหลายสาเหตุ เชน ระบบการศกึ ษาในโรงเรยี นทําใหเยาวชนไมม าบวชเรียนเหมอื น สมัยกอ น และการบวชในปจจบุ นั บางสวนเปน การบวชตามประเพณีระยะสนั้ ๆ มากกวา การบวชเรียนเพอ่ื ปฏบิ ตั ธิ รรมและผวู ิจัยไดเสนอแนะวาควรใหท องถน่ิ เขา มามสี วนรวมแกป ญหาขาดแคลนศาสนทายาทรวมทัง้ ฟน ฟูพระพทุ ธศาสนา โดยใหพทุ ธศาสนิกชนเขามามีสว นรว มมากขน้ึ อยางไรก็ตาม เร่อื งน้ีควรตอ งมี การศกึ ษาเพิ่มเติม ดังนน้ั เมอ่ื มขี อมูลออกมาในลกั ษณะนี้ สาํ นักงานพระพทุ ธศาสนาแหงชาติ จึงควรตองหาแนวทางที่ จะสง เสริมใหค นบวชมากข้นึ และมีคณุ ภาพมากข้ึนดวย ซึง่ แนวทางทีต่ นเหน็ วาจะสามารถแกไขปญ หา ดงั กลา วได คือ การสงเสรมิ การศกึ ษาของคณะสงฆใ หมคี ณุ ภาพมากข้นึ โดยจดั ระบบการศกึ ษาของโรงเรียน พระปรยิ ัตธิ รรมทั้งแผนกสามญั ศึกษา และแผนกธรรม-บาลี ใหมคี ณุ ภาพมากขึน้ ซึง่ จะทําใหมคี นสนใจเขา มาบวชเรยี นมากขึน้ (ดร.อาํ นาจ บวั ศิริ)

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๑๕ อยา งไรก็ตามคงตองมีการสํารวจจาํ นวนพระภกิ ษุ สามเณรใหม เพอ่ื หาจาํ นวนทชี่ ดั เจน โดยจะ แบงเปนการสํารวจจํานวนพระภกิ ษุ สามเณร ทั้งในพรรษา และนอกพรรษา สวนการพัฒนาการศกึ ษาสงฆ น้ัน ปญหาในขณะน้ี คือ คนไมรูว ามาเรยี นในโรงเรียนพระปรยิ ัติธรรม แลวจะไปทาํ อะไร ไมมีอะไรจงู ใจ ดงั นั้นจงึ ตอ งทาํ ใหผ ูปกครองเห็นวาเมือ่ เขามาบวชเรยี นแลว นอกจากจะไดความรแู ลวยงั ไดในเร่อื งของ ศลี ธรรมดวย สรปุ ทายบท พระพุทธเจา ทรงวางพระธรรมวินยั และสั่งสอนพระสงฆศากยบุตรเอาไวใหเปนบุคคลท่มี ปี ญญาและ มีอิสระจะไดเ ปนที่พ่ึงแกคนทั้งหลาย ไมวา จะเปน ยาจกเข็ญใจ หรือเปน เศรษฐี หรือพระราชา พระสงฆศากย บตุ รมหี นาท่ีทาํ ใหแผน ดินเย็นลงดว ยธรรม แผนดนิ รมุ รอ นวุนวายเพราะความไมถกู ตอง การทแ่ี ผน ดินจะเย็น ลงดวยธรรมหรอื ความถูกตองน้นั หลกั ธรรมจะตองหนกั แนน ลึกซึง้ ผูแสดงจะตองมปี ญญาและอิสรภาพ อกี ทั้งมอี นสุ าสนปี าฏิหารยิ  พระศาสดาผูเ ปนมหาบรุ ุษเอกของโลกประกอบดว ยสพั พัญุตญาณ ไดทรงวาง หลกั ธรรมและการวางรูปแบบพระสงฆพทุ ธบุตรเอาไวใ หส ามารถทําใหแ ผนดนิ เย็นลงดวยธรรม หากคณะ สงฆไ ดเ อาใจใสด แู ลอนวุ รรตใหเ ปน ไปตามที่พระศาสดาไดว างหลกั และกรอบเอาไว ศกั ยภาพจักเกิดขึน้ อยา ง มหาศาลในการดับความรอ นของแผน ดนิ และของโลกดว ยธรรม หากเปน ไปในทางตรงขาม กลาวคอื คณะสงฆส นใจแตการพฒั นาวัตถุย่ิงกวาการพัฒนาคน คณะ สงฆส นใจในอทิ ธปิ าฏิหาริยย ิง่ กวาอนุสาสนีปาฏิหาริย คณะสงฆส นใจในการประจบผมู อี าํ นาจและผูใหผ ล ประโยชนย ่ิงกวา การดาํ รงตนใหม ีอสิ ระ แลวไซร คณะสงฆย อ มเศราหมองและไมส ามารถทําใหแผน ดินเยน็ ลงดว ยธรรมไดเลย จุดสําคญั อยทู ่กี ารศกึ ษาของคณะสงฆ การศึกษาทถ่ี กู ตอ งของคณะสงฆเทานัน้ ท่จี ะจรรโลงพระพุทธ ศาสนาไวไ ด หาใชการกอสรางทางวตั ถไุ ม การศกึ ษาของสงฆควรจะมแี นวทาง ๓ ประการ คือ ๑.ศกึ ษาพทุ ธธรรมใหลกึ ซ้งึ ทง้ั ทางปริยตั ิและปฏิบตั ิ เพราะหากขาดการศกึ ษาทีล่ กึ ซึ้งจน ตนเองรู ธรรมและ บรรลอุ ิสรภาพในระดบั หนง่ึ ยอ มยากทจ่ี ักแสดงธรรมใหจ บั ผคู น ๒.ศกึ ษาใหเ ขาใจชีวิตและสงั คมของคนปจ จบุ นั สังคมเปล่ยี นแปลงไปมาก มีปญหาใหม ๆ ที่ สลับซับซอนเกิดขน้ึ มากมาย ถา พระสงฆไ มเ ขา ใจชวี ติ และสังคมของคนปจจบุ ัน ยอ มไมสามารถ แสดงธรรม ใหเปน ท่สี นใจหรือสะกิดใจมหาชนได คงฟง ๆ กนั ไปพอเปนพิธีกรรมมากกวา จะสนใจใหเกิดปญญา ๓.ศกึ ษาเร่อื งการติดตอส่ือสาร ทงั้ ทางทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ เพื่อใหก ารแสดงธรรมมปี ระสทิ ธผิ ล ยิ่งขน้ึ ทงั้ ๓ ขอนี้เปนไปเพ่อื สง เสรมิ อิสรภาพและความสามารถในการแสดงอนสุ าสนีปาฏิหาริยของพระสงฆ ทั้งส้ินนอกจากสงเสรมิ การศกึ ษาของพระภกิ ษุสามเณรโดยท่วั ไปแลว ควรจะมกี าร คดั เลอื กพระภกิ ษุและ สามเณรท่มี ีปญญาเลิศ และสงเสรมิ ใหทา นไดเลาเรียนตามแนวทางทั้ง ๓ ท่ี กลา วขางตน อยา งเตม็ ตาม ศกั ยภาพ เพ่ือเตรียมไวเ ปนครู การมีพระสงฆทรงปญญาสงู แมเ พยี งรปู เดียวกเ็ กิดอานิสงสแผไ ปไดอยา ง กวางขวาง ดงั เชนทานพทุ ธทาสมหาเถระ และทา นพระพรหมคณุ าภรณ (ประยทุ ธ ปยุตโฺ ต) เปน ตวั อยา ง หากสง เสริมใหม มี ากรูป อานิสงสยอ มเพิ่มพูนหลายเทา แตท้งั นี้ตองเปนไปโดยแยบคายดว ยสตปิ ญญาและ อสิ รภาพมากทสี่ ดุ ปลอดจากการทาํ อยา งเปนทางการแตไ รคณุ ภาพ

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๑๖ บทท่ี ๖ ความเคลื่อนไหวดานการศึกษา วตั ถปุ ระสงคประจําบทเรียน เมือ่ ศกึ ษาบทท่ี ๖ จบแลว นกั ศกึ ษาสามารถ ๑.อธบิ ายความเคลอื่ นไหวทางการศกึ ษาได ๒.อธิบายจบั ประเดน็ ความเคลื่อนไหวทางการศึกษาได ขอบขา ยเน้อื หา o ความเคลื่อนไหวทางการศึกษา o ประเดน็ ความเคล่อื นไหวทางการศกึ ษา

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๑๗ ๖.๑ ความเคลอ่ื นไหวภาครฐั ๖.๑.๑ พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติฉบับใหม หัวขอ ขา ว ๑.พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหงชาตคิ วามหวงั ใหมข องสงั คมไทย ๒.นานาทัศนะเกีย่ วกับพ.ร.บ.การศกึ ษาแหง ชาติ สรุปประเดน็ ขา ว ๑.พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหงชาตคิ วามหวงั ใหมของสงั คมไทย(กรุงเทพธรุ กิจ ๑๙,๒๑/๐๑/๔๒, ๑๖,๒๙/๐๓/๔๒, ไทยโพสต ๒๔/๐๑/๔๒, ๐๙, ๑๐, ๑๘, ๒๕/๐๓/๔๒, มตชิ น ๐๖,๒๐/ ๐๓/๔๒) พ.ร.บ.การศึกษาแหง ชาติ ฉบบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ไดผา นสภาผแู ทนราษฎรเปนทีเ่ รียบรอ ย ไปแลวและเขาสลู าํ ดบั การพจิ ารณาของสมาชกิ วฒุ สิ ภาเปน กฎหมายแมบท ทางการศกึ ษาของไทยฉบบั ใหม ดร.รุง แกวแดง เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ กลาววา การศึกษาไทยในป ๒๕๔๒ นีม้ ี ความสาํ คัญมาก ซงึ่ ประชาชนกวารอ ยละ ๙๐ ตองการใหผา นเพราะจะนําไปสกู ารปฏิรูปการศึกษา หาก ไมผ า นจะทําใหก ารศึกษาไทยลา หลงั จากเวทีโลกเพราะการพฒั นาคนเปนเร่ืองสาํ คัญ ในการตอ สแู ขงขนั ใน เวทีโลก ปญหาทุกดา นของไทยขึ้นกบั คณุ ภาพของคนเปนหลกั อยา งไรกต็ าม สาระเกยี่ วกบั การศกึ ษาพืน้ ฐานแบบใหเ ปลา ๑๒ ป ซง่ึ รัฐบาลตองรับภาระหนกั ดา นงบประมาณการยุบรวมกระทรวงศึกษาธกิ ารและทบวงมหาวิทยาลยั เปน หนว ยงานเดยี วคือกระทรวง ศกึ ษาฯตลอดจนความไมช ดั เจนทีก่ ารศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษาตอ งออกนอกระบบราชการ เปนเพยี งหา วิทยาลัยในกํากับรัฐ เปน สาระของราง พ.ร.บ.ท่ีหลายฝายเกรงกันวาจะเปนอุปสรรคในการผา นราง พ.ร.บ. จากการสํารวจของสวนดุสิตโพล จากกลุมตัวอยางทัว่ ประเทศทกุ สาขาอาชพี จาํ นวน ๑๐,๓๔๘ คน ระหวางวันท่ี ๑ -๘ มีนาคม เสียงสวนใหญล ว นแตส นับสนุนใหสภาผาน พ.ร.บ. การศกึ ษาแหง ชาติ เพราะมี ผลดีตอการจัดการศกึ ษาในอนาคต ใหเทาเทียมกับประเทศทีเ่ จรญิ อ่ืนๆ สาระสาํ คัญของกฎหมาย กฎหมายฉบบั น้ีบง บอก ถึงเปา หมายของการปฏริ ูปการศกึ ษาไทยท่จี ะเกิดขนึ้ สรุปได ๗ ประการ ดว ยกัน ๑.รัฐตองขยายการศกึ ษาภาค บงั คับจาก ๖ ป เปน ๙ ป และจัดการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานใหแ กป ระชา ชนอยา งนอย ๑๒ ป รฐั จัดใหอ ยา งทั่วถงึ และมีคุณภาพโดยไมเ กบ็ คา ใชจ าย คนปกติ คนพิการ ผดู อ ย โอกาส ไดเ รยี นหมด กลา วคอื หากกาํ หนดป.๑ เปนปแรกของการศึกษาภาคบงั คับเดก็ เมือ่ เรียนจบม.๓ แลวยังมสี ิทธเิ รยี นตอ ถงึ ช้นั ม.๖ ซงึ่ ถือวาเปนการศึกษาพ้ืนฐานท่ไี มบ งั คับ

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๑๘ ประโยชนท ไ่ี ดรบั ในประเดน็ นี้ คือ พอแมผ ปู กครองสามารถสงลกู หลานเขา เรียนไดจนจบ ม.ปลาย รวมถึงสายอาชวี ศกึ ษาโดยไมตองจา ยคาเลา เรยี น ๒.รฐั บาลจะจดั ระบบประกนั คณุ ภาพมาตรฐานสถานศกึ ษาตา งๆ เพอื่ ใหเ กดิ ความเทา เทียมกนั ไมวา เดก็ จะเขา เรียนท่ีไหนคณุ ภาพการเรยี นการสอนจะไมแ ตกตางกนั มากนัก การจัดระบบประกนั ดัง กลา วทําใหก ารเรียนการสอนของครู การจดั กิจกรรมของโรงเรยี น จะมีประโยชนตอผเู รียนมากขึน้ ครูตองพัฒนาการเรียนการสอน ความรูความสามารถ ความประพฤติ และการปฏบิ ตั งิ าน ปฏบิ ัติตน มฉิ ะนัน้ อาจไมไดมาตรฐาน โรงเรยี นตอ งพัฒนาท้งั อาคารสถานท่ี อปุ กรณ ชมุ ชนจะมีบทบาทมากขึน้ เพราะกฎหมายกําหนดใหพ อแม ผปู กครอง องคกรเอกชน ภมู ปิ ญ ญาทองถนิ่ เขา ไปมสี วนรว มใน การกํากับ ดแู ลการศึกษา เปนวทิ ยากร และผสู อนพเิ ศษ เปนผูประเมินผลงานของโรงเรียน เปนตน ๓.ไดมีการรวมกระทรวง ศึกษาธกิ ารและทบวงมหาวทิ ยาลัย ตลอดจนสํานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาแหง ชาตเิ ขา ไวเ ปน กระทรวงเดยี วกัน เรยี กวา กระทรวงศกึ ษาธิการศาสนาและวฒั นธรรม ประโยชนจะเกดิ จากการรวม พลังของการจัดการอดุ มศกึ ษา ซ่งึ ขณะนีต้ างคนตา งจดั แตใ น อนาคต คณะกรรมการอดุ มศกึ ษาและสาํ นกั งานอดุ มศึกษา ซึ่งสังกดั กระทรวงใหมจ ะดแู ลทัง้ สถาบนั ราชภฏั สถาบนั เทคโนโลยีราชมงคล วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษา วิทยาลัยพลศึกษา และมหาวิทยาลัยท้ังหมด ซง่ึ จะมโี อกาสวางแผนการขยายการรับนกั ศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษาอยา งมรี ะบบ เพอื่ รองรบั นักศกึ ษาจํานวน นบั แสนทีจ่ บจากม.ปลาย ๔.มกี ารจัดระบบการบรหิ าร การศึกษาแบบใหม โดยกําหนดใหกระทรวงทาํ หนา ทห่ี ลักดานการ กาํ หนดนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แตกระจายอาํ นาจหนาทีบ่ รหิ ารสถานศกึ ษาไปใหสถานศึกษาและ เขตพืน้ ที่การศกึ ษา สว นระดับอดุ มศกึ ษาจะเปน นิติบคุ คลสามารถจัดระบบการบรหิ ารการจัดการภายใน ของตนเองภายใตการกาํ กบั ของสภาของแตล ะสถาบัน ในการปรบั ระบบบรหิ ารเพ่อื ใหเ กิดประสิทธิภาพ ในการดําเนินงานนนั้ ตองทาํ ควบคไู ปกับระบบการพฒั นามาตรฐานวิชาชีพครู ระบบการจัดสรรงบ ประมาณแบบใหม และระบบประกันคณุ ภาพ จึงจะบรรลผุ ลสําเร็จ ๕.ในระยะยาวผลการปฏริ ูป โครงสรา งในขอ ๓ และ ๔ จะนําไปสกู ารพัฒนาคณุ ภาพการเรียน การสอน จะทาํ ใหค ณุ ภาพของเยาวชนไทยในอนาคตมคี วามเปนเลิศไมแ พป ระเทศตางๆท่ัวโลก ซ่งึ คณุ ภาพ ท่ีดขี องประชากรน้จี ะสง ผลดตี อการพัฒนาเศรษฐกจิ สงั คม และการเมืองในท่ีสุด ๖.เกิดระบบใหมท ี่เปดโอกาส ใหครอบครวั ชมุ ชน เอกชน สถาบนั ทางสงั คม สถาบันทางศาสนา ได มสี ว นรว มในการจดั การศึกษามากขน้ึ โดยรฐั จะจดั ระบบแรงจูงใจใหเ หมาะสม และยงั เปดโอกาสใหองคกร ปกครองทองถ่นิ ไดร บั ผิดชอบงานการศกึ ษามากขึน้ ตามลาํ ดับ ๗.รูปแบบของการศึกษา มี ๓ ระบบ คือ ในระบบ(โรงเรียน) นอกระบบ และตามอธั ยาศัย ใคร อยากเรียนระบบใดเลอื กไดแ ละสามารถเทยี บโอนผลการเรยี นได ผเู รยี นจะไดเ รยี นตามความสนใจ และเต็ม ศกั ยภาพ เปน การปรบั ระบบการศึกษาใหเหน็ คณุ คาของการศึกษาทั้งในระบบโรงเรยี น การศึกษานอกระบบ โรงเรยี นและการศึกษาตามอัธยาศัย ซงึ่ จะทําใหการศึกษาผูใ หญข ยายตวั มากยิง่ ข้ึน ประกอบกับนโยบาย

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๑๙ ดา นการพัฒนาเทคโนโลยดี านการศึกษาจะทําใหร ะบบการศกึ ษาตลอดชวี ติ เปน ความจรงิ มากยงิ่ ขน้ึ ตลอดจนจะสงผลใหเกิดสงั คมการเรยี นรู พ.ร.บ.การศกึ ษาแหง ชาติ ฉบับใหมนเี้ ปนการปฏวิ ัตริ ะบบการศกึ ษาไทยโดยสิ้นเชงิ ซ่งึ บางทาน บอกวาเปน การพลิกแผน ดนิ การศึกษาไทย กลาวโดยรวม พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติจะสงผลดีตอผเู รียนมากทส่ี ุด คนไทยจะมีการพัฒนา โดย มาตรการทางการศึกษาอยา งมปี ระสิทธิภาพ และไดค ณุ ภาพตามมาตรฐานของชาตแิ ละของโลก ๖.๑.๒-นานาทรรศนะเกีย่ วกับพ.ร.บ.การศกึ ษาแหงชาติ นายสมพงศ จิตระดับ คณะครศุ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ใหความเห็นเก่ยี วกบั การ รวมหนว ยงานท่ีรบั ผดิ ชอบดานการศกึ ษาใหเปน หนวยงานเดยี วกนั ใน พ.ร.บ.การศึกษาแหง ชาติวา สง ผลตอ อุดมศึกษาไมมากนกั ถา เทยี บกบั ผลกระทบที่ตอ งออกนอกระบบไปเปนมหาวิทยาลัยในกํากบั รฐั บาลแตท นี่ า จบั ตาคอื การท่ีรมต.เขา มารว มเปน กรรมการใน Board of Trustees จะทาํ ใหม หา-วิทยาลยั ไมป ลอดการ เมืองอยา งท่ีผานมา นายพยนต จนั ทรวฑิ ูรย เครือขายเสรีภาพทางการศกึ ษา ใหค วามเหน็ วา อํานาจรฐั ดานการ จัดการศึกษาผอ นคลายลง เพราะมกี ารพูดถึงการจัดการศึกษาโดยครอบครัว ชุมชน องคการปกครองสว น ทอ งถ่ิน แตกลไกการปฏบิ ตั ิยังไมชัดเจน จึงยังไมหวังถึงขั้นการปฏิรูปการศกึ ษา นางสาวสมลักษณ ล้มิ มูลนิธเิ พ่อื เดก็ พกิ าร พบวามปี ระเด็นตางๆ ทอี่ งคก รคนพกิ ารพยายาม เสนอหลายประเด็น เชน เรอ่ื งสทิ ธคิ นพิการ ทจ่ี ะไดรับการดูแลต้งั แตแรกเกดิ หรอื ทนั ทีท่ีพบความพิการ การ อาํ นวยความสะดวกตา งๆ เชนทรพั ยากรทางการศึกษา รวมท้ังเรอ่ื งงบประมาณ นายวลั ลภ ตงั คณานุรักษ เลขาธกิ ารมลู นิธสิ รา งสรรคเ ดก็ และวฒุ ิสมาชิก เกรงปญหาจะเกดิ ในข้ันตอนการออกกฎกระทรวง ตอ งดูกลไกทจ่ี ะมากาํ กับกฎหมายที่รองรับใหส อดคลอ งกบั รัฐ-ธรรมนญู ดวย ภาคประชาชนควรติดตามราง พ.ร.บ. อยา งใกลช ิด ภาพรวมไมมีปญ หา แตทีน่ า เปนหวงคือสงั คมไทยมกั มี ปญ หาเรื่องการบงั คับใช นายวฒุ พิ งษ เพรยี บจริยวัฒน ระบุวา พ.ร.บ.ยงั ไมไ ดแกปญหาการศกึ ษาที่แทจริง และยงั เปน แบบผกู ขาด เพราะเนอ้ื หาในรา งฯ เพียงแตเปล่ียนการสังกัดจากอธิบดีกรมฯ มาเปน สํานกั งานคณะ กรรมการฯ เทา นั้น เทา กบั ปด ความรับผดิ ชอบใหพนตวั อธิบดี แตทย่ี งั เปน ตวั ปญ หาคอื แนวคิดเดมิ ๆทีย่ งั ไม เปลี่ยน นอกจากน้ี พ.ร.บ. ฉบบั ดังกลา วยงั ขาดวิสยั ทศั นใ นการแปรวกิ ฤตใิ หเ ปนโอกาสดวยการเรง พัฒนา การศึกษาให แกผ ตู กงาน การใชวิธปี ระเมนิ คณุ ภาพของสถานศึกษากวา ๔๐ ,๐๐๐ แหงทาํ ใหส ้ินเปลอื ง งบประมาณ ควรตง้ั เปน สภาปฏริ ปู การศกึ ษาแหงชาติ ระบุมาตรการกวา งๆ ไว ๘ มาตรการ เชนโครงสราง หนาท่ี กระบวนการสรรหาและวธิ กี ารฯลฯ

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๒๐ นางทพิ ยพาพร ตนั ติสนุ ทร ผอ.รว มสถาบนั นโยบายศึกษา จากการทําประชาพิจารณ ๘ ครัง้ ทีผ่ านมา กลุม ตวั อยา งสวนใหญเปน ขาราชการ ครู ขา ราชการรฐั วสิ าหกิจ สว นนอ ยเปน เอกชน แสดงวา แนวคดิ กย็ งั มาจากระบบราชการ ทง้ั ท่ผี ลการสํารวจของสวนดสุ ิตโพล ออกมาวา ชมุ ชนสว นใหญต อ งเขามามี สวนรวมในการกําหนดการศกึ ษาแหง ชาติ พ.ร.บ.ไมไดพ ูดถึงการผลิตคนออกมาใหทนั สถานการณโลก ปจ จุบัน โดยความรว มมอื ของชมุ ชนอยางแทจ รงิ นายพภิ พ ธงไชย ประธานมลู นธิ ิเด็กเหน็ วา พ.ร.บ.ดงั กลาวขาดการศกึ ษาทางเลอื กทีไ่ มว า หนวยงานใดกส็ ามารถจดั การศกึ ษาใหกับเดก็ ได ไมจําเปน ตองใหร าชการจดั เสมอไป เดก็ ไทยจะวิเคราะห ไมไ ดห ากใหร าชการมาเปน ผูจัดการศึกษาใหก ับประชาชน นายชยั อนนั ต สมุทรวณชิ ผบู ังคบั การโรงเรียนวชิราวธุ วทิ ยาลยั อางถึง รัฐธรรมนูญมาตรา ๔๓ วาโดยเจตนารมณของรฐั ธรรมนญู รัฐไมจ าํ เปนตอ งดําเนนิ การเอง (Operate) เพียงแต Provide โดยให การสนับสนุนหรือสรางแรงจูงใจก็เพียงพอแลวทร่ี ะบบเกาวกิ ฤติกเ็ พราะรฐั เขามาดาํ เนินการเองหมด นายสมเกยี รติ พงษไ พบูลย อาจารยป ระจําสถาบันราชภัฏนครราชสมี า ตอ งการใหรัฐออก กฎหมาย คาเรียนฟรี สมดุ ฟรี อาหารกลางวันฟรี นมดี ๆ ฟรีมากกวา เพื่อคนจะไดเ ขามาเรยี น นเ่ี ขยี นไวว า จะยกเวน คา เลา เรยี นและอปุ กรณการเรียน การออกกฎหมายการศกึ ษาภาคบังคบั ซึง่ ทีผ่ านมารฐั จัดไวเพียง รอ ยละ ๙๒ และมเี ด็กออกกลางคันถงึ รอยละ ๒๒ การท่ีมกี ระทรวงเดยี วรับผดิ ชอบการศกึ ษา เทา กบั เปน การสรา งอภิมหากระทรวง เกิดกรมใหม ๆ อกี ๒๔ กรม วลที ี่วา ทงั้ นีเ้ ปนไปตามกฎกระทรวง ท้งั นี้ตาม กฎหมายบัญญตั ิ ใหเ ปนไปตามกฎหมายกําหนด ทําใหเ กรงกันวาแนวคดิ เร่ืองสิทธิเสรีภาพทางการศกึ ษาไปๆ มาๆ จะกลายเปน การคิดการตัดสินใจของขาราชการ แบบราชการอยา งเดิม รศ.ประภาภัทร นยิ ม ผอ.โรงเรยี นรงุ อรณุ ไมใหความหวังกับกฎหมายใดๆ จุดที่ดที ีส่ ุดคือ ความพยายามเปลยี่ นโครงสรา งการบรหิ ารจดั การ ซ่ึงถาทําไดกเ็ ทากับเปนการเปดทางใหคนเดนิ การ กระจายอํานาจตอ งอยูบนฐานของความเชอ่ื วา ทกุ คนมีศักยภาพทจ่ี ะทําไดเปด โอกาสใหท กุ คนสามารถเขา มามีสวน รวมกับการศกึ ษาอยางแทจ รงิ จดุ ท่ียากคอื การเปลย่ี นวิธคี ิดของคน ครูสว นใหญไมก ลาคิด ไมกลา สรา งสรรค เคยชินกับการรอคาํ ส่งั ระบบครอบความคดิ ครอบพฤตกิ รรม ๖.๒ ความเคล่ือนไหวดา นการปฏริ ปู ระบบบริหารการศกึ ษา: ความลงตวั ระหวางยทุ ธศาสตร และการปฏบิ ตั ิ หัวขอ ขา ว ๑. ยทุ ธศาสตร ๕ ประการ ในการปฏิรปู ระบบบริหารศกึ ษา (ไทยโพสต ๒๓/๐๒/๔๒) ๒. แนวทางปฏริ ูประบบ บริหารการศึกษา (ไทยโพสต ๐๔/๐๓/๔๒, ไทยรัฐ ๐๘,๑๖/๐๓/ ๔๒) ๓. สถาบันอุดมศกึ ษา นอกระบบราชการ ความเปน อสิ ระทไี่ มพึงปรารถนา (กรงุ เทพธรุ กิจ ๐๓/๐๑/๔๒, มติชนสดุ สปั ดาห ๐๙/๐๓/๔๒, มติชน ๐๖/๐๓/๔๒)

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๒๑ สรปุ ประเด็นขา ว ๑. ยทุ ธศาสตร ๕ ประการ ในการปฏริ ูประบบบรหิ ารศกึ ษา (ไทยโพสต ๒๓/๐๒/๔๒) คณะกรรมการดําเนินงานปฏิรปู การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประกาศ ๕ ยุทธศาสตรเปาหมายในการ ปฏิรูปการศกึ ษา ใหสอดคลองกบั พ.ร.บ.การศกึ ษาแหง ชาติ ๕ ประการดว ยกนั ประกอบดวย ๑.๑ การกระจายอาํ นาจใหโ รงเรยี น และสถานศึกษามอี ิสระ และคลองตวั ใน การบริหารและตดั สนิ ใจในกจิ การของโรงเรียนและสถานศกึ ษาจดั การศึกษาใหสอดคลองกับสภาพพน้ื ท่ี ลด บทบาทหนว ยงานสว นกลาง เปน หนว ยงานที่ทาํ หนา ที่กาํ กับประสาน สงเสริมดานนโยบาย แผน มาตรฐาน การศกึ ษา ทรพั ยากรการศึกษา และการติดตามประเมนิ ผล สนับสนุนการดาํ เนนิ งานของหนว ยปฏิบัติ ๑.๒ จัดทาํ แผนยทุ ธศาสตรห รือแผน ปรับปรุงงาน ต้ังแตระดบั กระทรวง กรม เขตการศึกษา จงั หวดั อําเภอ จนถึงโรงเรยี นและสถานศกึ ษาใหเปน เครอื่ งมอื สาํ คัญในการปฏิรปู การศึกษา ๑.๓ เปดโอกาสการมีสวนรวมให หนว ยงานทั้งภาครฐั ภาคเอกชน องคก ร ทอ งถ่ินและผปู ระกอบการ เขามามสี ว นรวมเปน คณะกรรมการหรอื คณะทาํ งานในทุกระดับ สรา งแนวรว มใน การปรบั ปรงุ การศกึ ษาใหเกิดขึน้ ในสังคมและชุมชน ๑.๔ ประกนั คุณภาพ ใหมรี ะบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษามกี ารควบคมุ การตรวจสอบแทรกแซงประเมินคณุ ภาพ และใหมีการรายงานผลตอ สาธารณะ ๑.๕ เนน ผเู รยี นเปนศูนยกลาง ยดึ หลกั ทกุ คนสามารถเรียนรูได จดั รปู แบบ และกระบวนการเรยี นรูใหเ หมาะสมกบั สภาพของผูเ รียน ปรบั บทบาทของครใู หเปนผูส นบั สนุนการเรียนรู อยางสมบูรณแ ละกวางขวาง ท้ังนเี้ ปน การเปด เผยของปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร นายสุรัฐ ศลิ ปอนันต ซง่ึ กลาวเพม่ิ เตมิ วา หาก ทกุ ฝายรว มมอื กันแกป ญหา และปฏริ ูปการศึกษาโดยพงุ เปา ไปทีเ่ ด็ก หอ งเรยี น สถานศกึ ษา พัฒนาคุณภาพ ใหไ ดมาตรฐาน ก็จะสามารถทาํ ประเทศใหหลุดพนจากวิกฤติทเ่ี กดิ ข้นึ ได ๒.แนวทางปฏริ ูประบบบรหิ ารการศกึ ษา(ไทยโพสต๐ ๔/๐๓/๔๒,ไทยรฐั ๐๘,๑๖/๐๓/๔๒) นายปญ จะ เกสรทอง รองนายกฯ และรมว.ก.ศกึ ษาธกิ ารไดม กี ารหารอื กบั รมช. ๓ ทา น ปลดั กระทรวง และนายวิจติ ร ศรสี อา น ประธานคณะกรรมการปฏริ ูประบบบริหารการศกึ ษา เกย่ี วกบั การ ปฏิรปู ระบบบรหิ ารการศกึ ษาในกระทรวงศกึ ษาฯ เพอื่ เตรยี มสรุปหลกั การสําคัญและแนวทางการปฏริ ูป ระบบบรหิ ารการศึกษาใหค รอบคลุมงานจดั การศกึ ษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ของชาตทิ ง้ั หมด ภายใต กระทรวงเดยี วเพือ่ รองรบั พ.ร.บ.การศกึ ษาแหง ชาติ ทั้งน้มี ีหลักการสําคญั ๓ เรือ่ งคือ ความเปน เอกภาพ กระจายอํานาจและการมีสว นรว มของประชาชน โฉมหนาใหมของกระทรวงฯ จะมีองคกรบริหารในรูปคณะบคุ คล ๔ คณะ คือ สภาการศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมแหง ชาติ คณะกรรมการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา และ คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม แตละคณะมีสาํ นกั งานทาํ หนา ท่เี ปน ฝา ยธรุ การ กรมตา งๆ ทีเ่ คย กมุ บงั เหียนเกาอ้ีสาํ คัญ ๆ จะถูกยบุ ลงโดยปรยิ ายและมอี งคกรอสิ ระ ๔ หนว ยงาน ภายใตการกาํ กบั ของ กระทรวงฯ คือ องคกรประกันคุณภาพการศกึ ษา คุรุสภา ราชบัณฑิตยสถาน และสถาบันสง เสริมการสอน

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๒๒ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ท้งั นี้ ก. ศึกษาฯ จะสรปุ แนวทางการปฏิรูประบบบรหิ ารทชี่ ัดเจนในงานสัมมนา เพือ่ ระดมความคดิ ท่จี ัดขนึ้ ในตน เดือนม.ี ค. เพ่อื ใหก ารกระจายอาํ นาจบริหาร และการจัดการศึกษามผี ลในทางปฏบิ ัติ กระทรวงศกึ ษาธิการ จงึ ไดก ําหนดเขตพน้ื ท่ีการศึกษา โดยมคี ณะกรรมการและสาํ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษารว มกบั สถานศึกษาใน เขตพื้นทรี่ บั ผดิ ชอบในการบริหารและจัดการศึกษารว มกนั ท้งั ในดา นวชิ าการ งบประมาณ การบรหิ ารงาน บคุ คลและการบริหารทัว่ ไป โดยใหส ิน้ สดุ ในระดบั สถานศึกษาใหม ากทส่ี ุด ภายใตก ารกาํ กับดูแลของ คณะกรรมการสถานศึกษาแตละแหง นายวจิ ิตร ศรสี อาน กลาววาเปา หมายในการกาํ หนดเขตพื้นท่ีจดั การศึกษา เพราะตอ งการให ประชาชนมีสวนรวมในการจัดการศึกษาใหมากทสี่ ุดโดยในการกําหนดเขตพ้ืนทจี่ ะพจิ ารณาจากจาํ นวน ประชากรไมตา่ํ กวา ๑๒๐ ,๐๐๐ คน มสี ถานศึกษาครอบคลุมการสอนต้ังแตระดับอนบุ าลถงึ ม.ปลายโดยตง้ั สํานักงานการศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมในแตละเขต เพอื่ จดั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานและระดับตํ่ากวา ปรญิ ญาใหหนว ยงานในกระทรวงศึกษาฯในสว นกลางทําหนา ที่กํากบั นโยบาย เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามี ๓๒๖ เขต ไมรวมกทม. และมจี ังหวดั ภเู ก็ต ระนอง ตราด สิงหบุรี และ แมฮองสอน เปน เขตพื้นทีก่ ารศึกษา แตจ ากการสํารวจประเมินผลพบวา ทอ งถน่ิ ทส่ี ามารถจัดการ ศกึ ษาไดส าํ เร็จมีเพยี ง ๕ % เทาน้นั จงึ จาํ เปนตองเรง กระจายอาํ นาจลงสูพ น้ื ทีใ่ หม ากกวา เดมิ ซึ่งคาด วา จะมกี ารกาํ หนดเขตพื้นทกี่ ารศึกษานํารอ งทุกสว นภูมิภาค เพ่อื ทดลองใชเ ปนเวลา ๒ ปก อ นบังคับ ใชทัว่ ประเทศ ๓. สถาบันอุดมศึกษานอก ระบบราชการ ความเปนอสิ ระทีไ่ มพึงปรารถนา (กรุงเทพธุรกจิ ๐๓/๐๑/๔๒, มตชิ นสุดสปั ดาห ๐๙/๐๓/๔๒, มติชน ๐๖/๐๓/๔๒) ภายในป ๒๕๔๕ สถาบัน อุดมศึกษาของรัฐ ตอ งออกนอกระบบ ดังนนั้ จงึ มกี ารเคลือ่ นไหวใน การออกนอกระบบราชการของมหาวทิ ยาลัยตางๆ ในชวงน้ี ปรากฏการเคลือ่ นไหวทมี่ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบรุ ี ซง่ึ ไดด าํ เนนิ การมาเกือบปแลว และท่มี หาวิทยาลยั มหดิ ลท่กี ําลงั เริ่มดําเนินการ ดร.กฤษณพงศ กีรติกร อธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี เปดเผยถงึ ความคืบ หนาในการเปนมหาวิทยาลัยในกํากับรัฐชวงทผี่ านมาวา ทางมหาวิทยาลยั ไดตัง้ คณะทํางานขนึ้ มา๗ ชุด แบง ความรบั ผิดชอบตามสายงาน ประกอบดวย กลมุ แผนงานและบรหิ ารงานบุคคล กลมุ การเงินทรพั ยสินและ พัสดุ กลมุ เชงิ บรหิ าร กลุมเชิงวิชาการ กลมุ สวสั ดกิ าร กลมุ กจิ การนกั ศึกษาและกลมุ บรกิ ารสารสนเทศ คณะ ชุดทํางานเหลา นีม้ ีหนา ทศี่ ึกษาจัดทําระเบยี บขอ บงั คบั ใหม ในดา นการบรหิ ารจัดการใหมีความสอดคลอง ภายใต พ.ร.บ.มหาวิทยาลยั ฯ อนั เปน แนวทางทจ่ี ะนาํ ไปสูการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัยตามหลกั การของมหา วิทยาลยั ในกํากบั รัฐอยางเต็มรูปแบบตอ ไป ซ่ึงการดําเนนิ การเทาทผ่ี านมาสามารถกลาวไดว า มหาวิทยาลัย เรม่ิ เหน็ ภาพชดั เจนขน้ึ ในการออกนอกระบบตลอดจนการกําหนดทิศทางสอู นาคต อกี มหาวิทยาลัยหนึ่ง ท่กี าํ ลังมีการเคล่ือนไหวท่จี ะออกนอกระบบราชการ คอื มหาวิทยาลยั มหิดล ซ่งึ จากการเปด เผยของ น.พ.อรรถสิทธ์ิ เวชชาชีวะ อธกิ ารบดี ระบุวามหาวทิ ยาลัยฯไดตัง้ เปาในการออกนอก ระบบภายในวนั ที่ ๑ ต.ค. ๒๕๔๔ และในชวงนี้อยูในระหวางการพิจารณารายละเอียดรา ง พ.ร.บ.มหาวทิ ยา ลยั นอกระบบราชการ พรอ มท้งั ปรบั เปลย่ี นขอบังคับตาง ๆใหสอดคลองกนั เพ่อื ให พ.ร.บ.มผี ลใชบ งั คับทนั ที ทผี่ า นการพิจารณาของรัฐสภา คาดวาประมาณเดือน ก.ย. น้ี รางคงจะเสรจ็ และนาํ เสนอตอสภาหาวทิ ยาลัย

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๒๓ ได ตน ปง บประมาณ ๒๕๔๓ ทางมหาวิทยาลยั จะเรงทาํ ความเขาใจกบั บคุ ลากรระดบั ตา งๆ และคิดวาไมน า มี ปญ หาใดๆ การออกนอกระบบจาํ เปน ตอ งมีทนุ ซงึ่ เฉพาะงบประมาณอยา งเดียวไมเพยี งพอ จาํ เปน ตอ งมีท้ัง ทนุ ทางความรแู ละปญญา ทุนทางสังคม เริม่ จากทนุ คนหรอื ทรัพยากรบุคคลในสถาบันอุดมศึกษา เพราะ สาระสาํ คญั ของการออกนอกระบบราชการคือการพึ่งพาตนเอง ซ่ึงวสิ ยั ทศั นในเรอื่ งนีต้ องชัดเจน เพราะ ไมเฉพาะการพ่งึ ตนเองดา นเศรษฐกจิ เทาน้ันแตร วมท้ังดา นสังคม วฒั นธรรม การเปนผูน ําทางปญ ญาให สังคมทง้ั ปจจบุ นั และอนาคต การเปน สว นหนงึ่ ของสังคมของชมุ ชน เปน ตน ๖.๓ ความเคลอ่ื นไหวเกย่ี วกบั แนวคิดใหมใ นการจดั การศกึ ษา : การศกึ ษาทางเลือกท่ีทาทาย หวั ขอ ขาว ๑.โรงเรยี นรงุ อรุณ โรงเรยี นพฒั นาการคิด และโฮมสคูล ทางเลือกใหมข องการศึกษา ( กรงุ เทพธรุ กจิ ๐๘/๑๒/๔๑ ,๑๕/๐๑/๔๒, ๒๒/๐๑/๔๒ , ๑๒/๐๓/๔๒) ๒.การศกึ ษาของชมุ ชน : การกระจายอาํ นาจทางการศกึ ษา (กรงุ เทพธุรกิจ ๑๒/๐๑/๔๒, ๑๗/๐๒/๔๒,๐๕/๐๓/๔๒ ) สรปุ ประเด็นขาว ๑. โรงเรยี นรุงอรุณ โรงเรยี นพัฒนาการคดิ และโฮมสคลู ทางเลอื กใหมของ การศกึ ษา ( กรุงเทพธุรกจิ ๐๘/๑๒/๔๑ ,๑๕/๐๑/๔๒, ๒๒/๐๑/๔๒ , ๑๒/๐๓/๔๒) โรงเรยี นรุง อรณุ โรงเรียนรงุ อรุณ เปน รปู แบบหรอื ทางเลอื กหนึ่งในการจดั การศึกษาปจจบุ ัน ทหี่ ลีกหนจี าก ความพกิ ลพิการของรูปแบบการศึกษาในปจ จุบัน โดยพยายามจัดใหเ ดก็ ไดอ ยูกบั ธรรมชาติ ครกู บั เดก็ มคี วาม สมั พันธก ัน รว มกันแสวงหาความรจู ากธรรมชาติ เปน หองเรียนเปด มกี ตกิ าวาอยา บอกอะไรเดก็ งาย ๆ ท้งั ๆ ทมี่ ีคําตอบอยแู ลว ครจู ะคอยสนบั สนนุ เด็กใหเขาถงึ กระบวนการเหลา นนั้ เด็กจะสนกุ กับการเรียน แตครูจะคอ นขางเหน่ือยเนอื่ งจากตอ งเตรยี มบทเรียน ตอ งอดทนท่จี ะไมบ อก ทําใหเด็กแขง็ แกรง เรียนรู จริง สําคญั ทส่ี ดุ ที่ความคิด ไมห ว งเร่อื งการแขงขนั เพราะในระยะยาวจะมคี วามรูท่ีลมุ ลึกและแตกฉาน กวา พวกที่เรยี นแบบทอ งจาํ โรงเรยี นชนั้ ดีในตางประเทศจะมีลกั ษณะเปน โรงเรียนแบบน้มี ากข้นึ ผอู าํ นวยการโรงเรียนรุงอรณุ คอื คุณประภาภทั ร นยิ ม อดีตอาจารยคณะสถาปตยกรรม ศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย ทสี่ ังเกตถึงความผิดปกติในเรอ่ื งการศึกษาของเด็กไทยวา ยง่ิ เรียนสูงข้นึ ความมีบุคลิกภาพเปน ตัวเองจะลดลง ถายังอยใู นระบบการศกึ ษาแบบเดิมก็จะยังไมพ บความเปนตัวของตวั เอง การเปด โอกาสใหเ ดก็ ไดเรยี นรูจากธรรมชาติ และนํามาเชื่อมโยงกับการศึกษาจะเปนการเปด โลกของ เดก็ ใหช ัดเจนข้ึน โรงเรยี นพัฒนาการคิด โรงเรยี นแนวใหมในอีก แนวคิดหนึง่ เปน ของ คณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิ โรฒโดย รศ.ดร.วชิ ยั วงษใหญ ภายใตช อื่ วา โรงเรียนพฒั นาการคิด (Thinking School) ความคบื หนา อยใู น

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๒๔ ระหวา งการวางแผนประชมุ ปฏบิ ตั ิ (Workshop) ใหกบั อาจารยในสงั กดั จะนาํ มาใชจ รงิ ในโรงเรียนสาธิต ๓ แหงของมหาวิทยาลยั ซึ่งในตอนน้ีไดม กี ารจัดสัมมนาใหกบั โรงเรียนดงั กลา วแลว เปาหมายหลกั ของแนวคิด ดังกลาวคือ ตอ งการใหผ ูเรียน รูวธิ กี ารเรยี นรทู ่มี ีประสิทธภิ าพ และ สามารถเรียนรูไดต ลอดชวี ิตอันจะสง ผลตอ เนอื่ งไปถงึ สงั คมใหก ลายเปนสงั คมแหง การเรียนรู ตอ ไปจะสรา ง คณุ ลักษณะที่จําเปน ๔ ประการ ของผูเรียนคอื ๑.ทักษะการเรยี นรู มุง เนน ใหผเู รยี นรูว ธิ ีการเรียนรู ฝก วธิ กี ารเรยี นรู หมายถงึ การเรยี นรทู จี่ ะอยู รว มกบั ผูอื่น เรียนรทู จ่ี ะเปนบุคคลทใ่ี ชศ ักยภาพของตนเอง เพ่ือทาํ ประโยชนตอ สว นรวมอยา งมีศกั ดศ์ิ รี ๒.ทักษะการคิดสรางสรรคมงุ เนนพฒั นาศักยภาพความคดิ สรางสรรค ใหเจริญเติบโตเตม็ ศกั ยภาพ เพ่อื จะอยแู ละควบคมุ ระบบสารสนเทศไดท ี่จะทําใหเกิดคุณคาตอ ตนเองและสังคม ๓.ทกั ษะการส่อื สาร เนน ในเร่อื งการใชภ าษา ท้งั ภาษาไทย ภาษาตา งประเทศ รวมท้งั ภาษา เทคโนโลยเี ปน ทง้ั เครอ่ื งมอื ในการสอื่ สารและเครื่องมอื ในการเขาถึงองคความรไู ดอยางรวดเร็ว ๔.ทักษะทางอารมณ เนน ความฉลาดในการควบคมุ อารมณของตนเองได การจัดการกับความ ขัดแยง ทางอารมณค วามเครยี ดความโกรธฯลฯ นอกจากทกั ษะตวั บุคคล ดังกลา วแลวยังมกี ารกําหนดเกีย่ วกับหลกั ของการวางแผนในโรงเรียน แนวใหมดว ย ประกอบดวยหลกั สูตรและการประเมินผล ซึง่ เปน การปรบั หลักสูตรไปสูความสมดุลระหวา ง ความรกู ับความจริง ทรพั ยากรการเรียนรู ซ่ึงมุง สง เสริมการพฒั นาซอฟตแ วร และการจดั ทําโฮมเพจการ เรยี นรูใหม ากขึ้นในศูนยพัฒนาศักยภาพการเรียนรูดว ยตนเอง การพฒั นาอาจารยแ ละผเู ก่ียวของ เปน การ ออกแบบหลกั สูตรสําหรับฝก อบรมอาจารยจ ํานวน ๑๐๐ ช่ัวโมงเพื่อใหส ามารถใช ไอที สําหรับการเรียนการ สอนไดอยางตรงวัตถุประสงคห ลกั การสุดทายคือส่งิ จาํ เปนพนื้ ฐานทางกายภาพและเทคโนโลยี ซง่ึ เปนเรอ่ื ง ของการวางแผนจัดหาคอมพวิ เตอรใ หม ีสดั สวนที่เหมาะสมสาํ หรับการเรียนรขู องผเู รียน วางแผนเพอ่ื วาง เครอื ขา ยเช่อื มโยง โรงเรยี นสาธติ ท้งั ๓ แหง และเช่ือมโยงกบั ศนู ยค อมพวิ เตอรนอกมหาวทิ ยาลัยเปนตน ผูเ สนอระบวุ าแนวคดิ ดังกลาว จะสามารถนําไปสูก ารปฏิรูปการศกึ ษาท้ังระบบใหเกดิ ขึ้นได ๑.โฮมสคูล สบื เนอ่ื งจาก พ.ร.บ. การศึกษาแหง ชาติ มีสาระสาํ คญั เกย่ี วกับการปฏริ ูปการศกึ ษาในหลาย ประเดน็ หน่งึ คอื แนวคิดเรือ่ งสิทธเิ สรีภาพทางการศกึ ษา โดยใหผ เู รยี นมที างเลอื กท่หี ลากหลายในการ เขารับบรกิ ารทางการศึกษาโดยไมจ าํ เปน ตอ งเขาเรยี นเฉพาะในโรงเรียนแตอาจเปดโอกาสใหพอแมป กครอง ไดม ีสวนรว มจดั การศึกษาในระดับตาํ่ กวา อดุ มศกึ ษา(Home School) สภาการศกึ ษาไดจางนักวจิ ยั ขอ มูล เกีย่ วกับโฮมสคลู ทงั้ ในและตา งประเทศหวงั ผลกั ดันเขา สพู .ร.บ.การศกึ ษาแหงชาติ นายอมรวิชช นาครทรรพ อาจารยประจาํ คณะครศุ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปน ผทู าํ วจิ ัย การศึกษาเบ้ืองตนเรอื่ ง รูปแบบของการจดั การศึกษาโดยพอ แมผูป กครองในประเทศและตา งประเทศ กลา วถึงการจดั โฮมสคูลในสหรัฐอเมริกาวา เปน ปรากฏการณในชว ง ๒๐ ปที่ผา นมา โดยมปี จ จยั หลกั มา จาก “ความตระหนักสาธารณะ” เรอ่ื งคณุ ภาพการศกึ ษา ประกอบกับบรรยากาศประชาธิปไตยในยุคสาร สนเทศและเทคโนโลยที างการศึกษากา วหนา ประชาชนจงึ เรยี กรอ งสิทธเิ สรภี าพทางการศกึ ษาเพม่ิ ข้ึน

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๒๕ โฮมสคูลเปน ทางเลอื กหนงึ่ ซ่งึ ปจ จุบนั ตัวเลขประมาณการของเด็กอเมริกันท่ีเรยี นอยูกับบานมี จํานวนถึง ๑.๒๓ ลานคน และมอี ัตราการขยายตวั ระหวางรอ ยละ ๒๐ .๖๕ ในแงก ฎหมาย ป ค.ศ.๑๙๘๐ มี เพยี ง๓รัฐทก่ี ฎหมายอนุญาตใหมีการจัดโรงเรยี นภายในบานแตปจจบุ ันมคี รบทุกรัฐ การจัดโฮมสคลู ไดร บั การตอ ตา น ท้งั จากกลุม ครู เจาหนา ที่ทางการศกึ ษาหลายประเด็น เชน ไม สามารถใหประสบการณการเรียนรูท ส่ี มบูรณแกผเู รียนไดเพิม่ ภาระแกเ จาหนา ทใ่ี นการสอดสอ งดูแลการวัด มาตรฐานการศกึ ษาทําไดยากและสว นหนึง่ ใหเหตุผลวา ยอดงบประมาณทีใ่ หแกรฐั และหนวยงานการศกึ ษา จะลดลงซึง่ เปนเรอื่ งผลประโยชน โฮมสคลู ขึน้ กับปรชั ญาความเชื่อ ของพอแมใ นสหรฐั ทเ่ี หน็ แนวโนม รวมกัน ในแงก ฎหมายและ ระเบียบที่รองรบั ทผ่ี อ นคลายลง แทนทร่ี ฐั ตา ง ๆ จะควบคมุ กระบวนการ กเ็ ปล่ยี นมาเปน ควบคุมการ ผลติ แทน แทนท่จี ะกาํ หนดเงื่อนไขเก่ยี วกบั หลกั สตู ร ก็หันมาดูทีม่ าตรฐานการทดสอบ (standardtesting) เปนเครอ่ื งมือในการประกันคณุ ภาพเปน หลัก ประเด็นทใี่ ชใ นการวางฐานคดิ ทเี่ หมาะสมแกการจัดการศึกษาแบบโรงเรยี นในบาน สาํ หรบั สังคม ไทย คอื พอ แมผ ูปกครองมสี ทิ ธอิ นั ชอบธรรม ในการจัดการศกึ ษาแกบุตรหลานของตนมากนอ ยเพียงใด ขอบเขตความรบั ผิดชอบระหวางพอ แมกับหนว ยงานของรัฐมมี ากนอยแคไ หน รฐั จะวางมาตรการ กํากบั สนับสนนุ ตรวจสอบ อยา งไร ใหม ีความสมดุลระหวางสิทธกิ ับความรบั ผดิ ชอบของพอแมผปู กครอง และ มาตรการสงเสรมิ เสรภี าพกับการประกันคุณภาพ โดยพอ แมผูปกครองจะมีวถิ ที าง ทวงสทิ ธ-ิ รักษาสิทธิ ควบคูไปกับการรบั การตรวจสอบจากภายนอกไดอ ยา งไร อะไรคือหลักการรวมในการเรยี นรทู ่ดี ที พ่ี ึงยดึ ถอื รวมกันของโรงเรยี นในแบบ โรงเรยี นนอกแบบหรอื โรงเรยี นทางเลอื ก ความสมั พันธท ีเ่ หมาะสมระหวา ง ” บาน-โรงเรยี น” ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน และจดุ เชอื่ มตอ ระหวางการศึกษาทางเลอื กกับ การศกึ ษาในระบบในอนั ทน่ี ักเรียนในบานจะเปนท่ียอมรบั ของสถาบนั ในระบบ โฮมสคลู ในประเทศไทยคอ นขา ง นาํ การวจิ ยั ไปแลว เพราะเริ่มมีบางครอบครัวจดั รปู แบบการศกึ ษา ดังกลาว ขอดีของระบบโฮมสคลู กค็ อื อยา งนอ ยทําใหทุกฝา ยไดห ันมามองปญ หาที่เกิดกับการศึกษาไทยใน ปจจบุ นั ทาํ ใหพ อแมม คี วามละเอยี ดออ นกับลกู ๆมากข้ึน นายอมรวิชช กลา ววา จริงๆแลวเร่ืองน้เี ปนพน้ื ฐานในการพูดถงึ การฟน ฟูสถาบนั ครอบครัวเปนหลัก ไมถ ึงกับตองทําโฮมสคูลกไ็ ดแ ตท ําอยางไรจะใหเ กิดการเรยี นรูขึน้ ในครอบครวั ทําอยา งไรจะสรา งความเปน บา นขนึ้ ในโรงเรยี นรวมทงั้ การเชอ่ื มโยงบาน-โรงเรยี น ชุมชน เขาหากันไดมากขนึ้ ๒.โครงการบา นปา แหงการเรียนรู โครงการน้ีจดั ขึน้ โดยสํานกั งาน การประถมศกึ ษาแหง ชาติ ใหเปนความรวมมือระหวา ง โรงเรียนกบั ครอบครัว เพือ่ จดั กระบวนการเรยี นรแู บบใหมร ว มกนั โครงการน้เี ร่ิมมาตง้ั แตภาคเรยี นท่ี ๒ ของ ปการศกึ ษา ๒๕๔๑ ทง้ั นี้มีพื้นฐานจากความคิดของครบู าสทุ ธนิ นั ท ปรชั ญพฤทธิ์ ผูซ่งึ ไดร บั ยกยอ งเปน ๑ ใน ๓๐ ครูภมู ิปญ ญาไทยทมี่ ีความเช่อื ในการทําการเกษตรยง่ั ยืน แตมีความเหน็ วาระบบการศึกษาท่ี เปนอยู ทําใหกรอบความคิดของเด็กถกู กาํ หนดจากโรงเรยี น บวกกับคา นยิ มและพฤติกรรมที่ถกู กระตนุ โดยสื่อและสงั คมลว นไมเ อ้อื ตอ วิถแี บบชนบท ครบู าเชอื่ วาเดก็ แตล ะคนมี ธรรมชาตแิ ละศกั ยภาพท่แี ตกตางกัน ยอมตอ งการทาํ นุบาํ รุงในทาํ นองเดียวกัน และเชอื่ ตอ ไปอีกวาการศกึ ษาแบบทีค่ าดหวัง เปน สง่ิ ที่โรงเรียนซึง่ ใชร ะบบ mass product มงุ ผลติ คนปอ นโรงงาน ปอนเมอื ง ไมส ามารถตอบสนองได ครบู าไมไดต ง้ั โจทกกบั รูปแบบวธิ กี าร

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๒๖ เรียนการสอนของโรงเรยี นแตท่ีเปน ปญ หามากคอื หลักสตู รแอบแฝงทสี่ ง ถา ยคา นยิ มแบบเมอื งๆจนลูกหลาน จากบานนารอ ยทงั้ รอยเรียนแลว จอ งแตจ ะเขา เมอื งไปเปนลกู จา งไมคิดสรา งงานชว ยพัฒนาบานเกิด ครูบา เช่อื วา การเรยี นรทู ีด่ ที ีส่ ดุ คอื การเรยี นจากการทําจริงการศกึ ษาทีค่ รบู าคาดหวังคือการศกึ ษาท่สี รางคนใหมี ความสามารถในการคดิ เลอื กวิถีชวี ิตของตนเองไดและทีส่ าํ คญั คือตองเชอื่ มน่ั ในการพ่งึ ตนเอง โครงการดังกลา วจดั ขึน้ ทบ่ี า นและโดยลกู ๆ ของครบู าเปน สว นหนึง่ ของโครงการ กลา วคือ วนั จนั ทร- พธุ จะเรียนวชิ าภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสรา งเสริมลักษณะนิสยั ทีโ่ รงเรยี นเหมอื นเพอ่ื นคน อ่นื ๆ สว นวันพฤหัส-อาทติ ยจ ะเรียนรอู ยูทบี่ านดวยการจัดการของพอ และแม เรียกไดวาเปนก่งึ ๆ โฮม- สคลู ทแ่ี พรหลายในหลายประเทศท่ีเปด โอกาสใหพอแมล งมอื จดั การศึกษาใหแ กล กู หลาน แทนท่ีจะ ปลอ ยใหเ ปน สทิ ธิขาดของภาครฐั แตเพียงฝา ยเดียว ๓.การศึกษาของชุมชน:การกระจายอาํ นาจทางการศกึ ษา (กรงุ เทพธุรกจิ ๑๒/๐๑/๔๒,๑๗/๐๒/๔๒,๐๕/๐๓/๔๒) ภาพการจดั การศึกษาในความคดิ ของคนไทย คอื โรงเรียน หองเรยี น ครู นกั เรียน หลักสตู ร และการเรยี นการสอน การเปลยี่ นภาพดังกลา วในสมองของคนไทยเรม่ิ อยางเปน รปู ธรรม ตั้งแตแผนการ ศึกษาแหง ชาติ พุทธศักราช ๒๕๓๕ และสานผานแผนพัฒนาการศกึ ษาแหง ชาตฉิ บับที่ ๘ จนถงึ ความ พยายามในการผลักดนั รางพ.ร.บ.การศึกษาแหง ชาติพ.ศ....ที่มาจากหลายสาํ นกั ความคิด บทบาทชุมชนกับการศึกษาเปน ประเด็นท่ถี กู เอย ถงึ บอยครั้งเมอื่ มกี ารกลา วถึงความลมเหลวของการ จดั การศึกษาเพราะในขณะทช่ี มุ ชนไดข อ สรปุ ถงึ การจดั การศกึ ษาในชมุ ชนมานานแลว การเรียนรูข องชุมชน ไมไ ดถ ูกแบง แยกจากวถิ ีของชมุ ชนตา งจากการศกึ ษาในระบบราชการท่มี ีแนวคิดแบบแยกสวน หลายรปู แบบ ทรี่ าชการเรม่ิ มองเห็นและนําเสนอกลบั มายังชุมชนกลับเปน รูปแบบท่ชี มุ ชนดาํ เนินการอยแู ลว ตวั อยางการ ศกึ ษาของชมุ ชน เชน ตลาดนดั รมิ ทาง เปน รปู ธรรมในการจดั การศกึ ษา โดยชุมชน เพ่ือชุมชน บริเวณสแ่ี ยกตะวนั ออกคอมเพล็กซ ถนนสายบางนาตราด เปน เวทอี ธบิ ายใหกบั ทุกกลุมไดเขาใจถึงกระบวนการเรยี นรทู ม่ี ีอยูใ นวิถีชวี ิตของชุมชน แทนท่ีจะเปน เพียงเวทแี ลกเปลย่ี นสนิ คา เจา ของโครงการคือผูใหญวิบูลย เขม็ เฉลมิ ๑ ใน ๓๐ ครูภูมิปญญา ไทย และวุฒิสมาชิก รวมกันกับชาวบานบริเวณใกลเคียงที่มแี นวคิดเดยี วกนั จัดตลาดนัดริมทางขน้ึ เปน รูปแบบของการจดั การศึกษาในวถิ ีชีวิตของชุมชน เพราะตามปรชั ญาการศึกษาตลอดชีวิตท่หี มายความถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหวางการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั เพอื่ ใหส ามารถ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ไดอยางตอเนื่องตลอดชวี ิตแลว จะทําใหเขาใจการศึกษาในกรอบความคิดใหม ซ่ึงเปน การตดิ อาวธุ ในการพัฒนากระบวนทัศนใ หมใหนกั การศกึ ษารุนใหม ใหเ ขา ใจถึงการศกึ ษาท่ีเกดิ ข้นึ ในวิถี ชุมชนไดอ ยา งชดั เจน ผูคนท่ีมายงั ตลาดนัดริมทางแหงน้ี มคี วามหลากหลายท้งั ทีเ่ ปน นักเรียน นกั ศึกษา นักวชิ าการ ชาวบานทม่ี ผี ลผลิตสวนเกินมาแลกเปล่ียนกันโดยผา นระบบตลาดนอกจากมาขายแลวสงิ่ สาํ คญั คือการไดมา พบปะกันเพื่อพดู คยุ แลกเปลี่ยน เรยี นรู ใหก ําลงั ใจ ปรบั ทกุ ข ปรบั สุข กนั มากกวา เปน การเรยี นรู ทั้งเรอ่ื งเศรษฐกิจ สังคม การเรียนรูในตลาดนัดแหง นี้มไิ ดจ าํ กดั อายุ วฒุ ิ เพศ หรอื เผาพนั ธุ ทง้ั น้ีขนึ้ กับ ความสามารถในการเก็บเก่ียว

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๒๗ ๖.๔ ความเคลือ่ นไหวดา นโอกาสทางการศกึ ษา การบกุ ทะลวงปราการท่มี องไมเหน็ หวั ขอขาว ๑.กรณีการสอบเขา ร.ร.สาธติ เกษตร-กลาย เปนกรณพี ิพาท“พ.ร.บ.ขอมลู ขา วสาร” (ไทยรัฐ ๐๑, ๒๖, ๒๘/๐๒/๔๒, มตชิ น ๒๓,๒๖,๒๗/๐๑/๔๒, มตชิ น ๒,๐๗,๑๐,๑๔,๑๕,๑๖,๑๘/๐๒/๔๒, ไทยรฐั ๐๒ ,๐๔,๐๕,๐๙,๑๗,๑๘,๒๒/๐๒/๔๒, ไทยโพสต ๐๒ ,๐๕,๑๑,๑๔,๑๖,๒๓,๒๙/๐๒/๔๒, The Nation๐๒,๑๑,๑๕/๐๒/๔๒, ไทยรัฐ ๐๙,๑๑,๑๒,๑๕,๑๖,๑๗,๑๘,๒๐/๐๒/๔๒, Bangkok Post ๐๑/๐๓/ ๔๒ , มติชน ๐๑,๐๖/๐๓/๔๒, ไทยรฐั ๐๔ /๐๓/๔๒, กรงุ เทพธุรกิจ ๑๐ ,๑๑,๑๒/๐๓/๔๒,ไทยโพสต ๑๒/ ๐๓/๔๒) ๒.กระทรวงศึกษาธิการรบั เดก็ เขาเรียนตอ:ระบบอภสิ ทิ ธ์ิเดก็ ฝาก (กรงุ เทพธุรกจิ ๒๙/๐๑/๔๒, มตชิ น๒๙/๐๑/๔๒ , กรุงเทพธุรกจิ ๐๙ /๐๒/๔๒ , ไทยโพสต ๑๓ /๐๒/๔๒ , มตชิ นสุดสัปดาห ๑๖ /๐๒/๔๒, ไทยรฐั ๐๙/๐๓/๔๒, ไทยโพสต. ๐๙,๑๐,๑๖/๐๓/๔๒ , กรุงเทพธรุ กจิ . ๐๙,๒๙/๐๓/๔๒ , ผจู ดั การ ๑๑/๐๓/๔๒) สรปุ ประเด็นขา ว ๑.กรณีการสอบเขา ร.ร. สาธิตเกษตร-กลายเปนกรณีพพิ าท “พ.ร.บ.ขอมลู ขาวสาร” (ไทยรัฐ ๐๑, ๒๖, ๒๘/๐๒/๔๒, มติชน ๒๓ ,๒๖,๒๗/๐๑/๔๒, มตชิ น ๒ ,๐๗,๑๐,๑๔,๑๕,๑๖,๑๘/๐๒/๔๒, ไทยรฐั ๐๒,๐๔,๐๕,๐๙,๑๗,๑๘,๒๒/๐๒/๔๒,ไทยโพสต ๐๒,๐๕,๑๑,๑๔,๑๖,๒๓,๒๙/๐๒/๔๒, THE NATION ๐๒,๑๑,๑๕/๐๒/๔๒, ไทยรฐั ๐๙,๑๑,๑๒,๑๕,๑๖,๑๗,๑๘,๒๐/๐๒/๔๒, Bangkok Post ๐๑/๐๓/๔๒ ,มติ ชน๐๑,๐๖/๐๓/๔๒,ไทยรฐั ๐๔/๐๓/๔๒,กรงุ เทพธุรกิจ๑๐,๑๑,๑๒/๐๓/๔๒,ไทยโพสต๑ ๒/๐๓/๔๒) การสอบเขา ร.ร.สาธิต มก.ในปการศกึ ษา ๒๕๔๑ มีผปู กครองของเด็กนกั เรยี นคนหน่ึงคือนางสุมาลี ลิมปโอวาทซ่งึ สอบเขา ไมได ขอดูขอ สอบเพอ่ื ความโปรงใส ปรากฏเปนเร่อื งราวใหญโต ทก่ี ลายเปนกรณี ศึกษาทไี่ มม ใี ครคาดถึงวา จะสง ผลตอ สงั คมระดบั ประเทศไดม ากมายถึงเพยี งน้ี ในอดตี มักจะปกปดกนั การ เปด เผยขอ มลู ยอ มมีสาระซอ นเรนกันโดยตลอด กรณสี าธิตมก. เปน บทเรียนใหส ถาบนั การศึกษาท่ัวประเทศ ไดตระหนักวา การดําเนินการตามวธิ ีการเกา ๆ อาจใชไมไดผ ลแลว ในโลกยคุ ใหมทเ่ี นนความโปรง ใสเปน หลกั ลาํ ดบั เหตุการณ ๓ เม.ย. ๔๑ นางสุมาลี ลิมปโอวาท มารดาและผูปกครอง ด.ญ.ณฐั นิช ลมิ ปโอวาท ผสู มคั ร สอบคัดเลอื กเขาชั้นป.๑ร.ร.สาธติ แหงมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร (มก.) ปการศกึ ษา ๒๕๔๑ ขอตรวจดูและ ถา ยสําเนากระดาษคําตอบและบัญชคี ะแนนของลูก และนักเรยี นท่ผี านการคดั เลอื กจํานวน ๑๒๐ คน ๑๙ ม.ิ ย.๔๑ มก.ปฏเิ สธวาไมมเี หตผุ ล สมควร ๒๕ ม.ิ ย.๔๑ นางสุมาลี รองเรยี นวา มก.ไมป ฏิบัตติ าม พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๒๕ ก.ย.๔๑ คณะกรรมการขอ มูล ขา วสารของราชการมีหนังสอื ถงึ มก.เพื่อทราบขอเทจ็ จริง และขอเอกสารท่เี กีย่ วขอ งตามทผี่ ูรอ งทุกขร อ งขอ

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๒๘ ๒๑ ต.ค.๔๑ มก. มหี นังสอื ถงึ คณะกรรมการขอ มูลฯ พรอ มไดส งคําช้ีแจงขอ เท็จจริง เกี่ยวกบั ร.ร.สาธติ ฯและบัญชีเอกสารตามท่ีคณะกรรมการรอ งขอจํานวน ๑๐ แฟม ๑๑ พ.ย.๔๑ คณะกรรมการวนิ ิจฉยั การเปดเผยขอมูลขา วสารดานสงั คม ไดแจง คําวนิ ิจฉัยให เปด เผยกระดาษคาํ ตอบและบัญชีคะแนนของด.ญ.ณฐั นชิ และนกั เรยี นท่ผี า นการสอบคดั เลอื กทงั้ ๑๒๐ คน ใหนางสมุ าลี ตรวจดูและถายเอกสาร ๒๕ พ.ย.๔๑ มก. หารือกบั คณะกรรมการ ขอมลู ฯ ทบวงฯและอยั การสงู สดุ ถึงข้ัน ตอนและ ผลกระทบในการดําเนนิ การ รวมท้ังแนวทางปฏบิ ัตซิ งึ่ มก.ไดต อบรับวา จะเปนผนู ดั หมายใหม าดขู อมลู ๓-๖ ธ.ค. ๔๑ ประชาชาติธุรกจิ เปดเผยคําชีแ้ จงเก่ียวกบั สาธติ เกษตรตอ คณะกรรมการ กฤษฎกี าโดยในเอกสารระบวุ ามีการรบั เด็กกรณพี เิ ศษจาํ นวน ๓๘ คนจากนกั เรียน ๑๒๐ คน (๓๑%) ๒๕ ธ.ค.๔๑ ผูป กครองนักเรียนทผี่ านการสอบคัดเลือกทาํ หนงั สือขอคัดคา นการดู กระดาษคาํ ตอบกลาววา เปนการละเมดิ สิทธสิ ว นบุคคล ๑๓ ม.ค.๔๒ กลมุ ผปู กครอง ไดม ีหนังสือถงึ อธิการฯมก. เพ่อื ขอใหระงับการเปด เผย กระดาษคําตอบของนกั เรยี นทงั้ หมด จนกวาศาลจะมคี าํ วินจิ ฉยั เปนทสี่ ดุ ๑๙ ม.ค.๔๒ นายเชิดชยั จนิ ตสเุ มธ ผปู กครอง ด.ญ.ชลติ า จินตสุเมธ ยื่นฟอ งตอศาลแพง เพอื่ ใหเพิกถอนคําวินิจฉัยของคณะกรรมการวนิ ิจฉัยขอมลู ฯ อางวา คาํ ตอบของเด็กแตละคนเปนขอมลู ขา วสารสว นบคุ คล โดยมจี ําเลย ๘ คนคือคณะกรรมการวินจิ ฉัย ๗ คนและอธก.มก. ๑ คน ๒๕ ม.ค.๔๒ มก.แถลงขา วขอ เท็จจริง การรับนกั เรียนโรงเรยี นสาธิตเกษตร โดยอาจารยใหญ นางจงรกั ษ ไกรนาม แจง วา กําลงั รอคําแนะนําจากกฤษฎีกาและอัยการสงู สดุ เพอื่ จะไดปฏบิ ัตอิ ยา งถูกตอ ง และยอมรบั วา มเี ด็กฝากจริง ๒๘ ม.ค.๔๒ ศาลแพงมีคําสง่ั ยกคํารอง ฉุกเฉนิ ของนายเชิดชยั จนิ ตสุเมธ โดยวนิ ิจฉยั วามี เหตุผลสมควรรับฟง เหตุผลและ คํารองของจําเลย แตไ มม เี หตุฉุกเฉนิ จึงใหย กคํารอ งของนายเชิดชัย ๒๙ ม.ค.๔๒ คณุ หญงิ สุพัตรา มาศดิตถ รมต.ประจําสํานักนายกฯในฐานะประธาน คณะกรรมการขอมลู ขาวสารฯ ทําหนงั สือถึงมก.ใหป ฏิบัตติ ามมตคิ ณะกรรมการวินจิ ฉยั ฯ ๓๐ ม..ค. ๔๒ ผศ. เกื้อกลู ทาพิสิทธิ เขา ดาํ รงตําแหนง อาจารยใหญ ร.ร. สาธติ มก.แทน อาจารยจงรักษซ ึ่งครบวาระ ๑ ก.พ.๔๒ นายธีระ สูตะบตุ ร อธก.มก. ยอมรับเปน คร้งั แรกวา จะเปดเผยขอมลู กระดาษคาํ ตอบและบัญชคี ะแนนเดก็ ทั้ง ๑๒๐ คน เพราะถอื วาการสัง่ การดังกลา วเปนทสี่ ิ้นสดุ ตามกฎหมาย ๔ ก.พ.๔๒ เดก็ นักเรียนชัน้ ป.๑ ร.ร.สาธติ มก. โดย ด.ญ.กมลมาศ วรรณพาหุกบั พวกรวม ๑๐๙ คนไดยื่นฟองนายชเู ชดิ รักตะบุตร ประธานคณะกรรมการวินจิ ฉยั การเปด เผยขอ มูลขา วสารดา นสังคม ๗ คนกบั อธก.มก. ๑คน เปน จําเลยตอ ศาลแพง ในฐานความผดิ ขอใหเ พกิ ถอนมติและคาํ วนิ ิจฉยั ของ คณะกรรมการวินิจฉัยฯ ถอื วา เปนการละเมดิ สิทธ์สิ ว นบคุ คลของโจทกท ง้ั ๑๐๙ คน ท้ังเปนคําวินจิ ฉัยทไ่ี ม ชอบดวยกม. และเปนการกระทาํ ทผ่ี ดิ กม.ตอโจทก ขอใหศาลมีคาํ สัง่ ใหจาํ เลยท่ี ๘ (อธก.มก.) ระงบั การ เปด เผยขอมูลดงั กลาว ๕ ก.พ.๔๒ โจทกชดุ เดมิ เขา ย่นื คํารองขอใหศ าลคุมครองฉุกเฉนิ เพือ่ ไมใหทาง อธก.มก.และ สาธิตมก.ตอ งเปดเผยขอ มูล ๖ ก.พ. ๔๒ อธก.มก.บอกวา เปด เฉพาะเลขที่สอบและคะแนนเด็ก ๑๒๐ คน แตไ มเ ปด เผย

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๒๙ รายชื่อวันที่ ๑๕ ก.พ. ๘ ก.พ.๔๒ ศาลนัดไตส วนคํารองฉกุ เฉิน พิเคราะหแ ลว เห็นวา เปนเอกสารทางราชการ ไมใ ช สวนบุคคลเปด เผยได นายเชิดชยั จนิ ตสเุ มธ บดิ าเดก็ ฝา ยโจทกก ลาววายืน่ อทุ ธรณตอ ไป และหากตอ ง เปดเผยจริงกจ็ ะฟองเรียกคา เสยี หายตอ นางสมุ าลี และวนั เดียวกันนท้ี บวงมหาวทิ ยาลยั เรยี กประชมุ ผบู รหิ าร โรงเรยี นสาธิต ๘ แหงในสงั กดั เพ่ือกําหนดหลักเกณฑเพือ่ ความโปรง ใสในการสอบเขา ป.๑ ๙ ก.พ.๔๒ อธก.มก.แถลงขา ววา ร.ร.สาธิต มก.จะเปดเผยขอ มลู เฉพาะตวั ให นางสมุ าลีไปดู ไดใน วันท่ี ๑๕ ก.พ.๔๒ โดยใหด ูคนเดยี ว ๑๐ ก.พ.๔๒ ด.ญ.กมลมาศ วรรณพาหุ กบั พวก ๑๐๙ คน มอบใหท นายความยื่นคาํ รอ ง อทุ ธรณค ําพพิ ากษาศาลแพง ทย่ี กฟองคณะกรรมการวนิ ิจฉยั และอธก.มก. ศาลรับอุทธรณแตไมร ับคาํ รองให ไตส วนฉกุ เฉนิ ๑๕ ก.พ.๔๒ นางสุมาลี ไมไ ดเดิน ทางไปดกู ระดาษคําตอบและบญั ชีคะแนน เพราะยังไมไ ด รบั จดหมายแจง อยางเปนทางการจาก ร.ร. ซงึ่ ทางร.ร.บอกวาสง มาตง้ั แตว นั ท่ี ๕ ก.พ.แลว ตอมาบอกวา ไดรบั จดหมายเลย ๑๒.๐๐ น. ซึง่ เลยเวลากําหนดนัดหมายในวันเดียวกัน แมจ ะไดร บั กอ นก็จะไมไป เพราะ มี เงื่อนไขมากโดยเฉพาะขอ ๓ ระบวุ า นางสมุ าลตี องลงลายมือชื่อรับเอกสารและรับทราบเงอื่ นไขของมก.ที่ จะไมน ําเอกสารไปเผยแพรแกบคุ คลอื่น หรือไปใชป ระโยชนใ นทางทเี่ สียหายแกม ก. หรือนักเรียนทผ่ี า นการ ทดสอบ ซงึ่ เง่อื นไขดังกลาวไมเ ปน ไปตามมติของคณะกรรมการวนิ ิจฉัยทใี่ หเ ปด เผยโดยไมมเี งอ่ื นไข เอกสารทน่ี าํ มาเปด เผยมี ๓ สว นคอื ๑) รายชอ่ื เด็กทสี่ อบผา นการคดั เลอื ก ๑๒๐ แตไมมีเลขทีส่ อบ ๒) กระดาษคาํ ตอบซึง่ อยู ในชดุ เดยี วกบั ขอ สอบมแี ตเลขท่สี อบไมมชี ่ือเด็ก ๓) บัญชคี ะแนนที่สอบผา น ๑๒๐ คน มีเลขทน่ี ง่ั สอบแตไ มม ชี อื่ อธก.มก.บอกวาไมเ หน็ ความจําเปนวาตองรูชื่อเด็ก รวู า เด็กที่สอบ ผา นทาํ คะแนนไดเทา ใด ๑๖ ก.พ. ๔๒ นางสมุ าลที ําหนงั สือแจง ไปยงั คณะกรรมการขอมลู ฯกรณีทมี่ ก.ระบวุ า ไมยอม ใชส ทิ ธไิ ปดูผลสอบ ๔ ม.ี ค.๔๒ สาํ นกั งานอัยการสงู สุด ต้ังกรรมการสอบนางสมุ าลี ลิมปโอวาท ท่ีใชพ .ร.บ.ขอมลู ขา วสารฯ ขอดผู ลการสอบเขาโรงเรยี นสาธติ มก. ตามบตั รสนเทหในนามผูปกครองนักเรียนโรงเรียน สาธติ มก.รองเรียนมาซ่งึ นางสุมาลบี อกวาใชส ิทธิในแงผ ูปกครองไมไ ดใ ชในฐานะพนกั งานอัยการ ๑๕ ม.ี ค.๔๒ หนังสือนายดิเรก สนุ ทรเกตุ รองอัยการสงู สุด สงหนังสอื ความเหน็ ใหยตุ กิ าร สอบสวนขอเทจ็ จรงิ ในเร่อื งนตี้ ออยั การสงู สดุ หนงั สือดงั กลา วในเบ้ืองตนนายเสรี หิรญั ทรนัย อธบิ ดีกรม อยั การฝา ยคดแี พงในฐานะผูบงั คบั บัญชา นางสุมาลเี สนอความเห็นผานไปยังนายดิเรก วาการกระทํา ของนางสุมาลเี ปนการใชส ิทธิสว นตวั ตามรัฐธรรมนญู และทาํ ในฐานะผูป กครองเด็กนกั เรียนซึ่งสามารถทํา ได ตามกฎหมาย จึงไมม ีเหตุผลทีจ่ ะดาํ เนินการสอบสวนในเรือ่ งน้ตี อไป ๖.๕ นานาทศั นะเกีย่ วกบั การ ใชส ิทธิตาม พ.ร.บ.ขา วสารขอ มูลของทางราชการ และการรบั เด็กของโรงเรยี นสาธติ มก. นายชวน หลีกภัย นายกรฐั มนตรี ยอมรบั วาฝากหลานเขาเรียนสมัยเปน ฝายคา นในฐานะเปน กรรมการสภามหาวทิ ยาลัย คนตองการเขาร.ร.สาธติ กนั มากเนอื่ งจากมีอาจารยม หาวิทยาลยั มาสอนเดก็

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๓๐ ประถมฯและมัธยมฯ วิธีแกปญหาคือ การกระจายอาํ นาจ ความเสมอภาค ประสิทธภิ าพและศกั ยภาพ ของโรงเรียนใหด ีทีส่ ดุ เพ่อื ลดการแกง แยง กนั เขา ร.ร.ประเภทใดประเภทหนง่ี นางสุมาลี ลมิ ปโอวาท บอกวา ท่ตี อ งเรยี กรอ งใหมกี ารเปดเผยขอมูลกเ็ พอื่ เปนบรรทัดฐานใน การใช พ.ร.บ.ขอ มูลขา วสาร แตหากขอ มลู ท่ีเปด เผยไมม คี วามโปรงใส ก็จะดําเนินการทุกวิถีทางเพือ่ ใหข อ เทจ็ จรงิ ปรากฏออกมาตอสาธารณชน นายวชิ ัย ตันศริ ิ รองประธาน คณะกรรมาธกิ ารการศึกษา สภาผูแทนราษฎร สว นตัวมองวาการ ฝากเดก็ เปน เรอ่ื งปกติ คงไมน าํ เขา พจิ ารณาในคณะกรรมาธกิ าร นายสมพงษ จติ ระดับ อาจารยค ณะครศุ าสตร จุฬาฯ คิดวา ผูใหญในประเทศทกุ คนฝากเด็ก มี อภิสิทธก์ิ ันท้ังนนั้ ทง้ั ทีค่ นกลุม น้ตี อ งเปน ผยู ึดระเบยี บกฎเกณฑและสรา งความโปรง ใส เปน แบบอยาง ใหมากท่ีสุด หากดาํ เนินตาม พ.ร.บ.ขอ มูลฯ ปญหาการฝากจะลดลง นายสมศักด์ิ ปรศิ นานันทกุล รมต.ศธ. เรอื่ งฝากเด็กเขา เรยี นในสงั คมไทยมมี านานแลว จะให หมดไปเลยคงเปน ไปไดย ากตองแกแ บบคอ ยเปนคอ ยไป ระยะหลงั ปญ หาลดลง เพราะประชาชนรูจ ักใช สิทธิของตนเองมากขึน้ นายสรุ นิ ทร พิศสวุ รรณ รมว.ก.ตางประเทศ ซ่ึงถกู ระบวุ าฝากลกู เขาเรียนดวย ปฏเิ สธการตอบ คําถาม ไมอ ยากตอความยาวสาวความยดื เพราะกลวั เดก็ จะเสียใจ นายประจวบ ไชยสาสน รมต.ทบวงฯ ยอมรบั วาสังคมไทยเปน สงั คมอปุ ถมั ภ มีลกู ทานหลาน เธอ มวี ฒั นธรรมของการใชเ สน สาย มกี ารวงิ่ เตน การฝากเด็กเปน เรอ่ื งธรรมดา ทบวงฯ จะประชุม ผูบ รหิ าร ร.ร.สาธติ ท้งั ๘ แหง เพื่อขอชีแ้ จงหลกั เกณฑในการรับนักเรียน นายวันชยั สริ ชิ นะ ปลดั ทบวงฯ สงั คมไทยเปนสังคมท่เี กือ้ กลู กนั จงึ ยากที่จะปฏเิ สธการรบั ฝาก เด็ก การรบั นกั เรียนสาธิตทกุ แหงท่ีผานมาทาํ ดวยความบรสิ ทุ ธโ์ิ ปรงใส แตข าดการประชาสมั พันธถ ึงขน้ั ตอนการดําเนินงาน แมว า สดั สวนและนโยบายรับจะข้นึ กับวัตถปุ ระสงคของมหาวิทยาลัยแตก็ยืนยันได วา ทกุ ร.ร.ไมมกี ารรบั นกั เรยี นดา นผลประโยชนต อบแทนเปน ตัวเงินหรือสินบน นายธีระ สูตะบตุ ร อธก.มก. ทราบวาทกุ คนมีสิทธฝิ ากเด็ก จะไดหรือไมอยูที่คณะกรรมการกลาง ท่ี จะพจิ ารณา วาผปู กครองเปน บคุ คลทสี่ รา งคุณประโยชนตอประเทศโดยสว นรว มหรอื ไม นายเปลว สเี งิน คอลัมนน ิสต น.ส.พ.ไทยโพสต กรณรี .ร.สาธติ มก.เปนกรณีตัวอยาง มตดิ านใดท่ี ออกมาถอื วาเปน มตนิ าํ รอ ง และสงั คมจะยึดถอื เปน บรรทัดฐานเพอื่ ใชต อไปกบั ทกุ ร.ร. และทกุ ร.ร.ตอ งปรับ กฎระเบยี บของตนใหส อดคลอ งและเอือ้ เฟอ พรอมรองรับ พ.ร.บ.ขอมูลขาวสารฯ ไมเฉพาะอาจารยเทา นน้ั แตรวมถึงผูป กครองทจี่ ะมีสว นรวม ตอ งรับรดู ว ยความเขา ใจดว ย กระดาษคําตอบและคะแนนท้ังหมดตอง เปดเผยใหค นที่อยากรไู ดร ู

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๓๑ ผศ.ดร.พฤทธ์ิ ศริ บิ รรณพทิ ักษ คณบดีคณะครุศาสตร จฬุ าฯ กลาววา การเปด เผยกระดาษคาํ ตอบ ทาํ ได ถา แยกออกจากตวั ขอสอบ แตถ าติดอยูก ับขอ สอบ ตองพดู คุยกนั อีก เพราะมีผลตอระบบออกขอสอบ เน่อื งจากเปนมาตรฐานทเี่ กบ็ ไวใ นคลงั ขอ สอบ ตระหนักดวี า สาเหตุทค่ี นจาํ นวนมากตอ งการเขา เรียนร.ร. สาธิต เพราะเขาใจวาเปน การสอนแนวใหม ท่ผี ปู กครองพอใจ โกวิทย วงศส ุรวัฒน คอลมั นนิสตน .ส.พ.มตชิ น เมืองไทยมีโรงเรียนสาธิต เนอ่ื งมาจากไมต อ งทาํ วิจัย เพราะลอกความรฝู ร่งั มา ร.ร.สาธิตจงึ เปนสวสั ดิการใหพ วกคนที่ทาํ งานในมหาวทิ ยาลัยนัน้ ๆไปและมที ีเ่ หลือ ใหเดก็ ขางนอกเล็กนอย ธรรมเกยี รติ กนั อริ ผา นคอลมั นบงั อบายเบกิ ฟา กรุงเทพธุรกิจ มองสังคมไทยผาน พ.ร.บ. ขอมลู ฯ วา ยังมีอทิ ธพิ ลตกคางของระบบอปุ ถัมภ มกี ระบวนทศั นท่เี ปล่ียนผานการอุปถัมภท สี่ ัมพันธกบั ผลประโยชน ตา งตอบแทนตลอดจนการแสวงหาประโยชนโ ดยมชิ อบรว มกัน ดว ยเหตุน้จี ึงตองสรางความเขม แขง็ ให ประชาชน ใหมสี ิทธมิ เี สียงอยางแทจรงิ โดยมีสวนรบั รูวาคนทอ่ี าสาเขามาปกครองประเทศแทนตน เนินการ โดยสจุ รติ โปรง ใสตามที่อาสามาหรอื ไม ขาราชการประจาํ เปนกลไกรฐั และกนิ เงินเดอื นจากภาษีประชาชน ปฏบิ ตั หิ นาที่ดว ยความชอบธรรมตามครรลองเพียงใด ประชาชนจึงควรใชสทิ ธนิ ี้จะไดรูเ พ่อื ประโยชนต นและ สังคม สายลอฟา ผานคอลมั น กลาไดกลาเสยี ไทยรฐั ผปู กครองเดก็ ตองฟาดฟนกนั เอง ท้ังๆ ที่ขอ ใหญ ใจความอยูทก่ี ฎกติกา ทีร่ .ร.สาธติ กาํ หนด โดยเฉพาะระบบโควตาทก่ี ําหนดไว เชน ลูกหลานอาจารย พนักงานเทา ใด เดก็ เสน อกี เทา ใด การเกิดกรณแี บบนี้เปน การดี เพ่อื จะไดสรางความถกู ตอ งชอบธรรมให เกดิ ขนึ้ ในวงการศึกษา เปน การศึกษาเพือ่ เปดโอกาสใหก ับคนไทยทุกคน ไมว า จะมหี รือจนระบบอปุ ถมั ภ ครอบงําสังคมไปทง้ั ระบบ จนบานเมืองจะไปไมร อด กาแฟดาํ กรงุ เทพธรุ กจิ โรงเรยี นสาธติ มก.จะไมเปนปญ หาท่ีตองซักถามกนั ถา ไมใชเ พราะเปน ร.ร. ของรฐั เอาภาษีประชาชนไปใชจ า ยเพื่อเปน สถานทกี่ ารศกึ ษาแกประชาชน มีหนาที่ทํางานเพอื่ สังคม ไมใ ช เพอ่ื คนเพยี งกลุม เดยี ว หรอื คนที่บงั เอิญมีอาํ นาจหนาท่ีในการควบคมุ โรงเรียนขณะน้ัน คุณหญิงสพุ ตั รา มาศดติ ถ เร่ืองที่เกดิ ขนึ้ เปนบทเรียนทด่ี ี สําหรับหนว ยราชการอนื่ ที่มกี ารใชง บ ประมาณหรอื บคุ ลากรตองมคี วามพรอ มใหประชาชนสามารถตรวจสอบได ดร.นธิ ิ เอยี วศรีวงศ อาจารยมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม ครึ่งศตวรรษของร.ร.สาธิต ในเมืองไทย ไมไ ดท าํ ใหเกิดความเปลย่ี นแปลงอะไรแกก ารศึกษาไทยเลย เพราะในท่ีสุดร.ร.สาธติ กเ็ ขา ไปเพมิ่ ความเขมขน ใหแ ก ระบบไตบ นั ไดและคนแพค ดั ออกของการศกึ ษาไทยเทาน้นั ครูใหญและผอ.โรงเรียนไมใ หความรวมมือทนั ที เพราะวัฒนธรรมอาํ นาจนยิ มของระบบราชการไทย ไมชอบใหมีอาํ นาจอ่ืนแทรกเขา มาในการบริหาร ร.ร. สาธติ ไมม ีเปา หมายอะไรมากไปกวา สงเสริมระบบอภสิ ิทธ์ใิ นสังคมใหแ ขง็ แกรง โดยผา นโอกาสทางการศึกษา บทบาทของร.ร.สาธิตในปจ จบุ ันคือการโชวผลงานใหเ หน็ วาน.ร.ของตนสามารถสอบเขามหาวทิ ยาลัยไดใน สถติ ิสงู

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๓๒ ท่ีนา สนใจอีกอยางหนง่ึ คอื บรรทัดฐานในการแจกจายอภิสทิ ธข์ิ องร.ร.สาธิต คอื ลูกคนรวยที่บริจาค ชวยโรงเรยี น ลกู คนท่ีมปี ระโยชนแ กส ังคมหรอื คนมีเสนท้งั จากภาคราชการ เอกชน และนกั การเมอื ง สว น สดุ ทายคอื ลูกขา ราชการของสถาบนั การศึกษาสงั กดั ของโรงเรยี น และเพ่อื ใหด ชู อบธรรมกม็ กี ารสอบแขงขัน เพ่ือคัดเลือกเด็กอกี สว นหนึง่ ทท่ี ําคะแนนดเี ขามาเรียน โรงเรียนสาธิตฝง ตวั เองอยใู นระบบ อภิสทิ ธ์จิ นกลายเปน นา้ํ เนือ้ เดียวกันกับความฟอนเฟะของ ระบบอภสิ ิทธ์ิ แลว ลืมไปวาโรงเรยี นสาธิตใชภาษขี องประชาชนเหมือนโรงเรยี นหลวงอน่ื ๆโรงเรียนสาธติ ใน ฐานะหนว ยราชการเอาอํานาจมาจากไหนทีจ่ ะตั้งระบบสวัสดกิ ารของตนเองเปนเอกเทศทีใ่ ชงบประมาณ แผนดนิ คอลัมนรกั ษมนตรี ไทยโพสต การอาง พ.ร.บ.ขอ มูลขาวสารฯ ของนางสุมาลี ขอใหเ ปดเผยขอ มลู การสอบเขา ร.ร.สาธติ มก. เปนนิมิตหมายท่ีดี เปนมติ ใิ หมของการสรา งความ \"โปรงใส ”ใหเ กิดข้นึ ในระบบ การศกึ ษาไทย ๑.๔.๒ กระทรวงศึกษาธกิ ารรบั เดก็ เขา เรียนตอ : ระบบอภิสิทธ์ิเดก็ ฝาก (กรุงเทพธุรกิจ.๒๙/๐๑/ ๔๒, มติชน๒๙/๐๑/๔๒ , กรงุ เทพธุรกิจ ๐๙/๐๒/๔๒ , ไทยโพสต ๑๓/๐๒/๔๒ , มติชนสุดสัปดาห ๑๖/๐๒/๔๒, ไทยรัฐ ๐๙/๐๓/๔๒ , ไทยโพสต. ๐๙,๑๐,๑๖/๐๓/๔๒ , กรงุ เทพธรุ กจิ .๐๙,๒๙/๐๓/๔๒ , ผจู ดั การ ๑๑/๐๓/๔๒) พ.ต.เทอดฤทธิ์ บญุ ญฤทธ์ิ โฆษก ประจํากระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปด เผยวา ปก ารศกึ ษา ๒๕๔๒ ทาง กระทรวงศกึ ษามแี ผนการรับนกั เรยี นนักศึกษาในสงั กัดรวมจํานวน ๔,๒๐๙,๒๓๕ คน เปน นักเรยี นระดบั กอนประถมศึกษา ๑,๓๐๒,๔๐๐ คน ช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ ๙๗๑,๒๐๐ คน ช้นั ม.๑ ๙๑๖,๗๖๐ คน ม.๔ ๔๙๕,๓๕๐ คน ปวช.๒๔๗,๙๔๕ คนและระดับอุดมศึกษา ๒๗๕,๕๘๐ คน สปช.รับเด็กนักเรียนทกุ คนในพืน้ ท่ี เขา เรียน หากมนี ร.เกนิ ใหจับสลาก และปน้ีคงไมม ีปญหาเรือ่ ง การรับเดก็ ๓ ขวบ เพราะถา ยโอนใหเ ปนความรบั ผิดชอบขององคก รทองถ่นิ มากขึน้ นายกวา ง รอบคอบ อธิบดีกรม สามญั ศึกษา แถลงหลักเกณฑและกาํ หนดการรับสมคั ร นร.ม.๑ และ ม.๔ ประจาํ ปการศึกษา ๒๕๔๒ วา ไดกาํ หนดการรบั นร. ม.๑ ในพน้ื ท่บี ริการรอยละ ๖๐ หากมกี าร สมัครเกนิ ใหใชวิธีจับสลาก และใหม กี ารสอบคดั เลือกไมเ กนิ รอยละ ๓๐ รับนร.ที่มีความสามารถพเิ ศษ ไมเ กินรอ ยละ ๕ และในสวนผูมอี ุปการคุณไมเ กินรอ ยละ ๕ สาเหตุท่เี พ่มิ สัดสว นการสอบจาก รอ ยละ ๒๐ เปน ๓๐ นั้น มาจากผลวิจัยระหวา งปการศึกษา ๒๕๓๗-๒๕๔๑ และจากการทาํ ประชาพจิ ารณทั่วประเทศพบวาสวนใหญต องการใหเ ปดรบั นักเรียนนอก พ้นื ท่มี ากขึ้น เพราะเช่ือวา โรงเรียนยงั มคี ณุ ภาพไมเทา เทยี มกนั จงึ ตอ งการใหสอบคดั เลือกเพราะเปน วิธีที่ โปรง ใส ยุติธรรม และจากผลการวิจัยพบวา นักเรียนทเี่ ขา เรียนชั้น ม.๑ ของกรมสามัญในกทม. มที อ่ี ยอู าศัย และเรียนในพื้นทบ่ี ริการของโรงเรยี นจริง ๆ ไมเ กินรอยละ ๗๐ ทุกปจะมกี ารเคลอื่ นยา ยไปยังโรงเรยี นที่ ตองการ ซึง่ เฉพาะกทม.มี รอ ยละ ๓๒ ตางจงั หวดั มีรอ ยละ ๖ นอกจากน้ผี ปู กครองตองยายไปทาํ งานนอก พื้นท่ีท่ีอยอู าศยั จงึ จําเปนตอ งนาํ บตุ รหลานไปเรยี นในโรงเรยี นทใ่ี กลท ที่ ํางาน

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๓๓ สาํ หรบั ม.๔ ใหร ับเด็กม.๓ เดมิ ท่จี ะตอ ม.๔ เขาเรียนกอ น หากยงั ไมเต็มใหรบั นกั เรียนท่ัวไป หากมี เกินกวา แผนการรับ ใหโ รงเรียนตดั สนิ ใจโดยใชก ระบวนการแนะแนว หากไมเ ปนผลใหใชว ธิ กี ารจบั สลาก ซ่งึ กระทรวงศกึ ษาธิการใหค วามมน่ั ใจวาไมมนี โยบายใหโ รงเรยี นจับสลากไลนักเรียน เกา ชั้น ม.๓ ออกเพอ่ื รับ นกั เรียนใหมชน้ั ม.๔ โรงเรยี นนัน้ ๆ ตอ งรบั เดก็ ท้ังหมดหากเดก็ ตอ งการเรยี นตอ ในโรงเรียนเดมิ แมจ ะ ออกไปสมคั รสอบโรงเรียนอ่นื แลว ไมไ ด ตองการกลับมาที่โรงเรียนเดิมก็ตองรบั หากหอ งเรยี นไมพ อก็ให ขยายหองเรยี นเพิ่มเตมิ ท้ังน้ีเปนการปฏบิ ัตติ ามรัฐธรรมนญู ใหมทีเ่ นน ใหนักเรียนทุกคนที่ตองการเรียนช้ันม. ๑-ม.๖ ใหไ ดเ รียนทุกคน โดยกําหนดใหทกุ โรงเรยี นปรบั หอ งเรียนชั้น ม.๑-ม.๖ ใหเ ทา กนั สําหรับโรงเรียนท่เี ปด ม.ปลาย ใหส อบคดั เลอื ก รอ ยละ ๙๐ ความสามารถพเิ ศษ รอ ยละ ๕ และ บตุ รหลานผมู ีอุปการคณุ รอยละ ๕ ในกรณีผูมอี ปุ การคุณรอ ยละ ๕ นน้ั นายสมพงศ ธรรมอปุ กรณ ผอ.ร.ร.เตรยี มอดุ ม กลาววา ตอ ง มีการหารือเกย่ี วกับหลักเกณฑกอ นเพราะยงั ไมเ คยมีมากอ นแตย ืนยนั วา ไมมเี รอ่ื งการบริจาคเงนิ เพื่อแลกกบั การรบั เด็กเขา เรียน ซึง่ นายกวางบอกวา รับในสวนนีไ้ ดแ ตตองเสนอช่ือใหกระทรวงฯพจิ ารณาเปน รายๆ ไป สว นบุตรครถู ือวาอยใู นสว นผมู ีอปุ การคณุ ดว ย ในประเดน็ โควตารับนักเรียนทมี่ ี ความสามารถพิเศษ และบุตรหลานของผูมอี ุปการคณุ ซง่ึ มสี ดั สวน รวมกนั ถงึ รอยละ ๑๐ นัน้ เปนท่ี จบั ตามองของคนทั่วไป เพราะเปนประเดน็ ทเ่ี ปด โอกาสใหม กี ารใชระบบ อภิสิทธิก์ ันได ซงึ่ เปน ระบบที่ยกเลิกไปในชว งทน่ี ายชมุ พล ศิลปอาชา เปน รมว.ศธ. การปรกึ ษาหารือของ ผอ.ร.ร.เตรยี มอดุ มกับอธิบดกี รมสามัญศึกษาในการกาํ หนดหลักเกณฑก ารรบั เดก็ กลมุ ดังกลา ว ย่ิงเปน ท่ี เพงเลง็ ของการใชร ะบบอภสิ ิทธิใ์ หเปน แบบแผนมากข้ึน นายสมพงศ จิตระดบั อาจารยค ณะครุศาสตร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย กลา ววา หลักเกณฑการ รบั ทไี่ มชัดเจน อนญุ าตใหยดื หยุนได การดาํ เนินงานทีม่ ีลกั ษณะปดบัง เชน บางโรงเรียนประกาศรับจาํ นวน เดก็ สอบเขาตาํ่ กวาทเี่ ปน จริง สิ่งเหลา นลี้ ว นแตกอใหเกิดกระบวนการเด็กฝากได กรณนี นี้ ายกวา ง รอบคอบ กลา ววา เปน เรือ่ งท่ีทางโรงเรียนตองตดั สินใจดําเนินการเองและตอ ง ระมดั ระวงั ไมใ หเ กิดปญ หา นอกจากน้ยี ังประกาศหา มทกุ โรงเรยี นขึ้นคาเลาเรยี นอยา งเดด็ ขาด ยกเวน การเปด สอนวชิ าพเิ ศษเพิม่ เตมิ ๑.๕ ความเคลอ่ื นไหวดา นการยกระดบั คุณภาพการศึกษา: เดนิ หนาสูอ นาคต หัวขอขา ว ๑.๕.๑ หลักสตู รใหม ใหเด็กเปน ศนู ยกลาง (มติชน ๒๖/๐๑/๔๒, กรงุ เทพธุรกิจ ๐๖/๐๑/๔๒, ไทยโพสต ๒๗/๐๑/๔๒, ๐๔/๐๓/๔๒) ๑.๕.๒ การประกันคุณภาพ การศกึ ษาในระดบั อุดมศึกษา (กรงุ เทพธรุ กิจ ๐๔/๐๒/๔๒, ๐๔/ ๐๓/๔ผจู ัดการ ๑๑/๐๓/๔๒) ๑.๕.๓ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรง ปรับปรุงคุณภาพครู-คุณภาพเด็ก (ไทยโพสต ๓๑/๑๒/๔๑, กรุงเทพธุรกิจ ๑๖,๒๑/๐๑/๔๒, ไทยรัฐ ๑๙/๐๒/๔๒, กรุงเทพธุรกิจ ๒๓/๐๒/๔๒, ไทยโพสต ๒๖/๐๒/๔๒,

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๓๔ กรุงเทพธุรกจิ ๐๒,๒๓/๐๓/๔๒, ไทยโพสต ๐๙,๑๐/๐๓/๔๒) สรุปประเดน็ ขา ว ๑.๕.๑ หลักสูตรใหม ใหเ ด็กเปนศนู ยกลาง (มตชิ น ๒๖/๐๑/๔๒, กรงุ เทพธรุ กจิ ๐๖/๐๑/๔๒, ไทยโพสต. ๒๗/๐๑/๔๒,๐๔/๐๓/๔๒) นายพยุงศกั ด์ิ จนั ทรสรุ นิ ทร อธิบดีกรมวิชาการเปดเผยเกีย่ วกบั หลกั การสาํ คญั ของหลักสูตรใหมว า จะเนนความสําคญั ของการเรียนรูร ว มกันระหวางครูกับนักเรียน โดยกรมฯจะกําหนดเฉพาะกรอบเปาหมาย และมาตรฐานความรูในแตล ะระดบั ช้ัน แตก ารจดั การเรียนการสอนนนั้ ผสู อนสามารถหารือกับผเู รียนเพอ่ื วางแผนรวมกัน ซึ่งกระบวนการดงั กลาวจะอยูบ นพนื้ ฐานซึง่ ประกอบดวยแนวคดิ หลกั ๔ ประการ อันเปน แนวคดิ ในการดําเนนิ การปรบั ปรงุ หลักสตู รการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ซง่ึ เปนจุดเปล่ียนในการจัดการศกึ ษาทงั้ ดา น การบริหารจัดการและการปฏิบตั ิของสว นกลางและสวนภมู ิภาค ดงั ตอไปนี้ ๑. การกระจายอาํ นาจโดยใหผูปกครองหนวยงานและองคก รในทองถนิ่ มีสว นรวมในการศึกษาต้ังแต รวมคิด กาํ หนดทิศทางและพจิ ารณารา งกรอบหลักสตู ร รวมทั้งเปนแหลง วทิ ยาการ ทําหนาทก่ี าํ กบั กระตนุ ใหเ กิดความต่ืนตัวทางการศกึ ษา ๒. ใหอ สิ ระทอ งถน่ิ สถานศกึ ษา จดั ทาํ หลกั สูตรเอง โดยกรอบหลกั สูตรมีความยดื หยุนเก่ียวกับเวลา สาระการเรยี นรู การจัดการเรียนการสอน วธิ ีการวัดผล ประเมนิ ผล แตล ะทองถิ่นจะมคี วามโดดเดน มคี วาม หลากหลายในการบริหารจดั การ โดยใชป จจยั ทางสงั คม วัฒนธรรม ภูมิปญ ญา บุคลากร ๓. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู ใหน ักเรียนใชก ระบวนการคดิ และเปน ผลู งมอื ปฏบิ ตั ิในกิจกรรม การเรยี นการสอนทีห่ ลากหลาย และการดาํ เนินชวี ติ ทาํ ใหเกดิ การเรียนรูท ่แี ทจ รงิ รูจักตนเอง เห็นคณุ คา ของตนเองและผอู ื่น เกดิ ปญ ญาเชือ่ มโยงความสัมพนั ธข องตนกบั สรรพสิง่ สรา งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ใน การดาํ เนินชีวติ และการอยูรวมกับผอู ืน่ อยางสรา งสรรค ๔. สรา งกลไกในการควบคมุ คุณภาพ การศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐาน โดยกํากับตดิ ตามตรวจสอบ ประเมนิ และรายงานของ สถานศกึ ษาเองภายใตก ารกาํ กบั ของคณะกรรมการโรงเรยี นและจากองคกรภาย นอกของกระทรวงศึกษาธิการหรือองคก รอิสระทีม่ รี ะบบประกันคุณภาพเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน แนวคดิ ดังกลา วกอ ใหเ กิดการ ปรบั เปลี่ยนบทบาทของรฐั หนว ยงานทางการศกึ ษา องคก ารตางๆ และประชาชน ภายหลงั การประชุมคณะกรรมการ พฒั นาหนงั สอื แหงชาตนิ ายพยงุ ศักดิ์กลา ววา ขณะนี้กรมวชิ า- การกําลังเตรยี มสรุปแนวทางและโครงสรา งหลักสตู รใหมข องกระทรวงศึกษาธิการ ซง่ึ โครงสรา งหลกั สตู ร ใหมจ ะมีสาระการเรียนรู ๘ กลุมดว ยกนั ประกอบดว ย การพฒั นาคน สุนทรียศลิ ป สังคมศึกษา ภาษาไทย คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยี การงานอาชพี และภาษาตา งประเทศ ใน ๔ ชว งคอื ชัน้ ปท่ี ๑-๓, ช้ันปที่ ๔-๖, ช้ันปท ่ี ๗-๙ และชัน้ ปท ่ี ๑๐-๑๒

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๓๕ ตามหลกั สูตรใหมจ ะใหส ถานศึกษา ทกุ แหงเปน ฝา ยจดั ซื้อหนังสอื เรยี นเขาหอ งสมดุ เพอื่ ใหเด็ก คน ควา แทนท่ีเดก็ จะมีแบบเรียนสว นตัว หรอื ตอ งแบกหนังสือหนัก หนงั สอื เรียนในอนาคตจะเปนกลมุ สาระการเรยี นรูหรือมาตรฐานการเรยี นรู โดยมเี น้อื หาครอบคลมุ ตงั้ แตความรพู ้ืนฐานจนถึงความรูข ั้นสงู อยใู นหนงั สอื หน่งึ เลม ปการศึกษา ๒๕๔๓ กรมวิชาการจะเร่มิ ใชห ลกั สตู รใหมโดยเรม่ิ ตั้งแตระดบั ชน้ั ป.๑ ป.๔ ม.๑ และ ม.๔ อธิบดกี รมวิชาการกลา ววา การเรยี นแบบใชเด็กเปน ศนู ยก ลางจะตองเปน การเรียนแบบองคร วม แตม ีความหลากหลายและเพิม่ ศักยภาพใหแกเดก็ นักเรยี น ซ่ึงมกี ารวางกรอบวา จะตองดาํ เนนิ การเรอื่ งนี้ ภายใน ๓ ป และตองดําเนนิ การไปตรงจดุ ใด กรมวชิ าการเตรยี มยุทธศาสตรความพรอมไวแ ลว ๑๐ ยทุ ธ ศาสตรเ ดก็ จะมีหนงั สือติดตวั นอยลง เนน ทห่ี นังสือประจําหองสมุดท่เี ดก็ ตอ งเขา ไปคนควา หนังสือท่ีเด็กมตี ดิ ตัวนา จะเปน หนงั สอื ที่เปน ทกั ษะดานภาษา และคณติ ศาสตร ๑.๕.๒ การประกนั คุณภาพ การศกึ ษาในระดับอุดมศึกษา (กรุงเทพธุรกจิ ๐๔/๐๒/๔๒, ๐๔/๐๓/๔๒, ผจู ัดการ ๑๑/๐๓/๔๒) ศ.ดร.อทุ ุมพร จามรมาน อาจารยประจําคณะครศุ าสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั เปดเผย เก่ียวกบั โครงการศกึ ษาและพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพอดุ มศึกษา ของทบวงมหาวิทยาลยั วาเปน โครง การนํารอง เพือ่ ดาํ เนนิ การประกันคณุ ภาพการศึกษาของคณะวชิ าบางคณะและบางสาขา ใหไดแนวทาง ที่ชดั เจน และสามารถดําเนนิ การไดท กุ สาขาของมหาวทิ ยาลัยของรัฐภายในป ๒๕๔๓-๒๕๔๕ ตามท่ีทบวงฯ ไดประกาศเปน นโยบายไวตงั้ แต ป ๒๕๓๙ โครงการน้เี ร่มิ ดาํ เนนิ การตั้งแต กลางป ๒๕๔๑ มีคณะวิชาเขารว ม ๒๒ แหงใน ๕ สาขาวชิ า คอื แพทยศาสตร พยาบาลศาสตร วศิ วกรรมศาสตร ครศุ าสตร/ ศึกษาศาสตร และวทิ ยาศาสตร ขึน้ กบั ความ สมคั รใจของแตล ะคณะแตละมหาวทิ ยาลยั ท่ผี านมาเปนการประชมุ เพอ่ื สรางความเขา ใจเก่ียวกับคอนเซปต ของการประกนั คณุ ภาพ รวมท้ังกลไกและระบบ กลไกคอื การมโี ครงสรา ง มีคณะ กรรมการ มเี จา หนาท่ี และเคร่อื งมอื สว นระบบกเ็ ชน ISO , TQM แตแทจ รงิ แลว ตอ งการใหแตละแหงสรางระบบของตนเองขนึ้ มาใชมากกวา เพราะซอ้ื ระบบจาก ตา งประเทศเขามาจะส้ินเปลืองมากกวา ภารกจิ หลักทไี่ ทยกําหนด เพื่อการประกนั คุณภาพประกอบดว ย ๔ ดา น ไดแ ก การผลิต บณั ฑิตการวจิ ยั การบรหิ ารทางวิชาการ และการทาํ นบุ าํ รงุ ศลิ ปวัฒนธรรม การตรวจสอบทําไดทง้ั จาก ภายในคณะวชิ าเอง ( Internal Audit) และการตรวจสอบจากภายนอก ( External Audit) โดยมีสํานัก มาตรฐานอุดมศึกษา ทบวงมหาวทิ ยาลัยรับผิดชอบในการดําเนนิ งาน ในอนาคตจะมกี ารจดั ตงั้ สํานักงาน ประกนั คณุ ภาพการศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษาขึ้นเปนหนว ยงานอิสระ ในกาํ กบั ของทบวงฯข้ึนตรงกับ รมว.ทบวง ฯ คาดวาโครงการนาํ รองจะดาํ เนนิ การแลว เสรจ็ เพอื่ พรอ มตรวจสอบไดภายในปน ี้ หลงั จากน้ันคณะวชิ าท่ี เขา รว มก็จะสามารถดาํ เนนิ การไดดว ยตวั เอง

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๓๖ ๑.๕.๓ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรง ปรบั ปรุงคณุ ภาพคร-ู คุณภาพเดก็ (ไทยโพสต ๓๑/๑๒/ ๔๑,กรงุ เทพธรุ กิจ ๑๖,๒๑/๐๑/๔๒, ไทยรัฐ ๑๙/๐๒/๔๒, กรุงเทพธุรกจิ ๒๓/๐๒/๔๒, ไทยโพสต ๒๖/๐๒/ ๔๒, กรุงเทพธรุ กจิ ๐๒,๒๓/๐๓/๔๒, ไทยโพสต ๐๙,๑๐/๐๓/๔๒) ๖.๖-คณุ ภาพครูกบั การเผชญิ หนา-๓-กระแสสังคม ในการกลา วอวยพร แกขา ราชครูในสังกดั ในวาระขนึ้ ปใ หม นางกษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยาเลขาธกิ าร สํานักงานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแหง ชาติ (สปช) ระบวุ าครูยุคปจ จุบนั และอนาคตจะตองปรบั ตัวให เขากบั กระแสสังคมทมี่ ี ความเปลีย่ นแปลงในหลาย ๆ ดา นที่เกิดขน้ึ ใหได กระแสดังกลาวไดแ ก กระแสการ เรยี นรทู ่จี ะตองมงุ เนน ไปทเ่ี ด็กเปนสาํ คญั ทส่ี ดุ วา เดก็ จะไดอะไรจากการจัดการเรยี นการสอนของครู ของ โรงเรียน กระแสท่ี ๒ คือกระแสความตอ งการของเด็กที่มคี วามแตกตางกัน ครตู อ งรูวา เด็กที่อยใู นความ รับผิดชอบเกง -ออนดานใด เพ่อื คน หาวิธกี ารเรยี นการสอนท่ีหลากหลาย เพื่อพัฒนาเดก็ แตละระดบั ใหเ ต็ม ศกั ยภาพของเดก็ กระแสที่ ๓ เปน กระแสของการกระจายอาํ นาจท่จี ะลงสูโ รงเรียนในเกือบทุกเรื่อง โดยมอี งคกร คณะบคุ คลคือ ชมุ ชนเขามามีบทบาทในการบรหิ ารงานทุกเรอ่ื งเพ่ือใหก ารจดั การศึกษาเปนไปตามความ ตอ งการของชมุ ชน และกระแสสุดทายคอื กระแสของการตรวจสอบ นน่ั คือจากประชาชนและสื่อมวล ชน สามารถเขามาตรวจสอบการทํางานในทุกระดับ การบรหิ ารงานตองโปรง ใส สามารถตรวจสอบได ๖.๖.๑-คณุ ภาพพฤติกรรมครใู นสายตาของเดก็ นกั เรยี น จากการสาํ รวจของ สวนดุสิตโพลเกยี่ วกับความรูสกึ หรอื ความตองการของเดก็ ทมี่ ีตอครูในโอกาสวนั ครูนนั้ พบวา เด็กตอ งการใหค รูมกี ารเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมหลายอยางดวยกัน เชน ชั้นอนุบาลอยากใหครู เลิกตีเดก็ ช้ันประถมฯใหค รเู ลิกบน ชัน้ มัธยม-ปวช.ใหครูเลกิ ดุ ดา ตี ลงโทษรนุ แรง โดยไมม เี หตผุ ลช้นั อดุ มศกึ ษา อยากใหครูเลิกใชอารมณ ระดับช้นั นจี้ ะรักครูทม่ี ีเหตุผล อยา งไรก็ตามก็มสี ิ่งดี ๆ ของครทู ี่เด็กมีความประทบั ใจ เชน ชั้นอนบุ าลชอบครูทใี่ จดี ช้ันประถมฯ ชอบครูท่ีสอนดี ชั้นมัธยมฯ ชอบครูทจี่ ริงใจใหค าํ ปรึกษา สวนชั้นอดุ มศึกษาชอบครูที่ชว ยเหลอื มคี ําปรึกษาท่ี ดี โดยภาพรวมแลว เด็กจะรกั ครูทีใ่ จดี เอาใจใสนักเรยี น ๖.๖.๒-การพฒั นาครูสอนวทิ ยาศาสตรค ณติ ศาสตรและเทคโนโลยี นายอาคม เอง ฉวน ไดเ ปด เผยมตขิ องคณะกรรมการกําหนดนโยบายการดาํ เนนิ งานพัฒนาและ สงเสรมิ ผมู ีความสามารถพิเศษทางวทิ ยาศาสตรและคณิตศาสตร ซึง่ ประชุมเม่ือวันท่ี ๘ ม.ี ค. วา ท่ปี ระชมุ มี มติใหสถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (สสวท.) รวมมอื กับสํานกั งานคณะกรรมการการ ประถมศึกษาแหงชาติ (สปช.) และหนวยงานที่เก่ียวของ จดั ทําหลักสูตรเรงรดั เพ่ืออบรมครูผสู อนวิชา

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๓๗ วิทยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตรชนั้ ม.๓ ของโรงเรียนขยายโอกาสทว่ั ประเทศจาํ นวน ๑๒,๐๐๐ คน โดยสสวท. ต้งั งบประมาณการดาํ เนินการดานวชิ าการและสปช. ตงั้ งบประมาณดําเนนิ การดา นการฝก อบรมและคา ใช จายสําหรับครู ถือเปน นโยบายเรงดวน ทําในปง บประมาณ ๒๕๔๒ รายงานกลา วตอมาวา ทางกระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) รวมกบั สสวท. ไดร วมมือกันจดั ทําโครงการนาํ รอ งเปดโรงเรียนสาธิตการสอนวทิ ยาศาสตรและคณติ ศาสตร เพ่ือพฒั นาครวู ทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร โดยมโี รงเรยี นเอกชนนาํ รอ ง ๘ โรงเรยี น คาดวาป ๒๕๔๕ จะ ขยายสูภูมิภาค นายธงชยั ซิวปรีชา ผอ.สสวท. กลาววา โรงเรียนทจ่ี ะใชเปนโรงเรยี นนาํ รองน้ันตองเปนโรงเรยี นท่มี ี ความพรอ มท่จี ะพัฒนาหอ งทดลอง อปุ กรณวทิ ยาศาสตรใ หม คี รบและเพียงพอตามคําแนะนําของ สสวท. อยางนอ ยคอื ตามมาตรฐานหลักสูตร ซึง่ โรงเรียนตองเปนผูลงทุนทั้งหมด และตอ งยนิ ยอมใหโรงเรยี นอนื่ เขา มาศึกษาดูงาน สวน สสวท. จะรบั ผดิ ชอบดา นวชิ าการ เชน การฝกอบรมครู การกําหนดเกณฑม าตรฐานทัง้ อุปกรณทดลอง หองทดลอง และสอ่ื การเรยี นการสอน เพ่อื ใหเ ปนการเรียนการสอนวิทยาศาสตรอยา งเตม็ รปู แบบ โดยขอ ตกลงรวมกนั ระหวา ง สช.กบั สสวท. ทีจ่ ะรว มพฒั นาโรงเรยี นเอกชนประเภทสามญั ศึกษา ระดับประถมฯ และมธั ยมฯ เปน โรงเรยี นสาธิตการสอนวิทยาศาสตรข อง สช. โดยจะแลกเปลี่ยนขอมูลทาง วิชาการและบริหารจดั การใชทรพั ยากรระหวางสองหนวยงานในเรื่องหลักสูตร เทคนคิ การจัดการเรยี นการ สอน สถานท่ี เคร่ืองมอื บุคลากร และงบประมาณ มกี ารจดั ต้ังคณะกรรมการอํานวยการคณะทาํ งานในการ ดาํ เนนิ งาน ซง่ึ ประกอบดวยผูบรหิ าร และเจา หนาที่ของทัง้ สองหนว ยงาน ตลอดจนการกํากบั ดูแลและ ตดิ ตามผล ๖.๖.๓-ระบบประกันคณุ ภาพครู จากการเปด เผยของ นายมนตรี จุฬาวฒั นฑล ประธานคณะอนุกรรมการขาราชการครู (อ.ก.ค.) เฉพาะกจิ เกยี่ วกับการประกันคุณภาพครู วา ทางสาํ นกั งานคณะกรรมการขา ราชการครู (กค.) เตรียมใช ระบบประกันคุณภาพครูเพือ่ ยกระดับครไู ทยจาํ นวน ๖๐๐,๐๐๐ คนทัว่ ประเทศ ระบบดงั กลาวประกอบดว ย หลกั ๓ ประการคอื การตดิ ตามประเมินคุณภาพ การพฒั นาคุณภาพ และการตอบแทนตามคณุ ภาพครู และ จะนําระบบนีม้ าใชในป ๒๕๔๓ โดยแบงเกณฑก ารพิจารณา ๖ ดานดว ยกนั คือ การครองตัว (ความประพฤติ คณุ ธรรม จรรยาบรรณครู) วิชาการ (ความสามารถในวิชาท่ีสอน ความทนั สมัยและความลึกซงึ้ ของวชิ าการ) การสอน (ความสามารถในการสอน ความรับผิดชอบและการประเมินการเรยี น) ความรูในภาษาตางประเทศ (ใชภาษาไทยไดถ กู ตอ ง และมคี วามรูภาษาตางประเทศอีก ๑ ภาษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ)การรวม กิจกรรมระหวางครูและบุคลากรในสถานศึกษาและชมุ ชนรวมทง้ั การใชค อมพิวเตอร การวัดคุณภาพและมาตรฐาน ของครูจะครอบคลมุ ท้ังกลุมครใู นและนอกระบบตงั้ แตร ะดบั อนบุ าล ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา เมื่อครูผานการประเมนิ แลว จะไดร ับเงนิ ตอบแทน พิเศษเพอ่ื สง เสรมิ และกระตนุ ใหครูตองการพฒั นาตนเอง ซึง่ จะเปนลกั ษณะของการสะสมแตมหรอื โบนัส

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๓๘ จา ยเมือ่ สิ้นป หรือรวมกบั บําเหน็จตอนเกษียณอายุ หรือหลังลาออกจากราชการ เม่อื ครูเขาใจระบบประกัน คณุ ภาพแลวจะทําใหครกู ลายเปนวิชาชีพที่แทจ ริงและมีสภาวะการครองชีพทด่ี ขี ึน้ จะทาํ งานดมี ากขึ้น เปน ผลใหนักเรียนและการศกึ ษาไทยมีมาตรฐานที่ดี ซง่ึ ป ๒๕๔๓ ก.ค.จะประสานไปยังกรมทม่ี ีสถานศึกษาสง ครู เขา รบั ประกนั คณุ ภาพจาํ นวน ๖๐ ,๐๐๐ คน หรือรอยละ ๑๐ เปน การทดลองนํารอ งกอ น เปน กลมุ ครูใน ระดับจังหวดั หรือเขต ๑.๖ ปญ หาทสี่ ง ผลกระทบตอ วงการศึกษาไทย หัวขอ ขา ว ๑.๖.๑ โรงเรยี น: เครอื ขาย แกง คา ยาเสพยติด (มติชน ๒๖/๐๑/๔๒, มตชิ นสดุ สปั ดาห ๑๖/ ๐๒/๔๒, ผูจัดการ ๐๒/๐๓/๔๒,กรงุ เทพธุรกิจ ๑๒/๐๓/๔๒, ไทยรัฐ ๑๒/๐๓/๔๒ ,ไทยโพสต ๑๖/๐๓/๔๒) สรปุ ประเดน็ ๑.๖.๑ โรงเรยี น: เครอื ขา ย แกงคา ยาเสพยต ิด (มติชน ๒๖/๐๑/๔๒, มตชิ นสุดสปั ดาห ๑๖/ ๐๒/๔๒,ผูจัดการ ๐๒/๐๓/๔๒,กรุงเทพธุรกิจ ๑๒/๐๓/๔๒, ไทยรฐั ๑๒/๐๓/๔๒ ,ไทยโพสต ๑๖/๐๓/๔๒) จากผลการวจิ ยั ของวิบลู ย กลน่ิ สคุ นธ ในวารสารตอตานยาเสพยต ดิ ของสภาสังคมสงเคราะหแ หง ประเทศไทย ระบุวา รอยละ ๓๕.๗ ของผูติดยาเสพยต ดิ หญิงท่ีเขา มารักษาในรูปแบบชุมชนบําบัด เปนผทู ม่ี ี การศกึ ษา ม.ตน พล.ต.ต. สันติ จติ ตจ ารึก ประธาน ศนู ยซ บั นา้ํ ตาผตู ดิ ยาเสพยติด โรงพยาบาลตํารวจ ระบุวาสถาน การณยาเสพยตดิ ในกลุมเยาวชนตามโรงเรยี นตา งๆ ในเขตกทม.มอี ตั ราความรุนแรงสูงขึ้น ขบวนการคา ยาเสพยติดกาํ ลังรกุ คืบหนา เขา สูโรงเรียนตางๆ และจะใชโ รงเรยี นเปน ศูนยกลางของเครือขา ยคา ยาเสพยต ดิ โดยเฉพาะโรงเรียนในระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษาเปนเปา หมายสําคญั ของขบวนการพวกนี้ ปญหาที่ เปน อยไู มเฉพาะเรื่องเด็กตดิ ยาเทา นั้นแตร วมถึงเดก็ มสี วนรวมในการขายยาดวย เพราะมีบทลงโทษเบากวา ผูใ หญ และไมไ ดมเี ฉพาะยาบา แตยงั มียาอี ยาเค โคเคน จากการสํารวจพบวา กลุมนกั เรียน ในระดับ ป.ปลาย และม.ตน เปน เปา หมายสาํ คญั ของแกง คา ยา เพราะเปน วัยที่อยากรูอยากทดลอง สามารถหวานลอมลอหลอกไดงา ย โดยใชว ธิ ีการหลอกลอใหก ินฟรจี น ติดแลว ใหซ ้อื กนิ เองหรอื ซ้ือไปจาํ หนายเพือ่ แลกยา ในระดับประถม ถา เปนระดับมัธยมกใ็ ชการขม ขู เมือ่ ทาํ กับเด็กในหลายๆ คนก็เทากบั เปน การขยายเครอื ขายตลาดของตน ประธานศนู ยฯ กลาววา มเี ดก็ ท่ีตกเปน เครอ่ื งมือของขบวนการแกง ยานี้เกอื บทกุ โรงเรียนทัว่ กรุงเทพฯ ซ่ึงนายถริ ชัย วุฒธิ รรม รองผวู า กทม. บอกวา จดุ อนั ตรายเกีย่ วกบั ยาเสพยต ิดมากที่สุดคือท่ี เขตคลองเตย บางคอแหลม และเขตหวยขวาง เปน เขตที่มี เครือขา ยผูติดยาและชุมชนท่ีมผี ูตดิ ยาฯสูงสดุ ในเขต กทม. แหลง สถานบันเทงิ และชมุ ชนแออดั หลายแหง ก็ เปน แหลง การคา และคอยชกั จงู เดก็ ใหต ิดยา ในจงั หวดั ยะลาพบวานกั ศกึ ษาตดิ ยาแกไอ ซ่ึงมสี ว นผสมของ สารเสพยต ดิ บางประเภทเพราะหาซ้ือไดงาย เดก็ นกั เรียนทีต่ ดิ ยาและเขา มารบั การรกั ษาท่ศี นู ยบ อกวายาเสพยติดทีโ่ รงเรียนหางา ยมากมีเอเยนต ขายให เปน นกั เรยี นดว ยกนั ครูดีแตพดู จัดการอะไรไมได

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๓๙ หนทางปอ งกันท่ดี ที สี่ ดุ คือผปู กครองหรือครอบครัวของเด็กจะตองคอยเปนหเู ปนตา และเอาใจ ใสด ูแลพฤติกรรมของเดก็ พวกที่เปนกลุม มาเฟยคายาบา ในโรงเรยี นจะเปน กนั ทง้ั บานพอแมลูกคา หมด ปจจบุ ันมีระบบ ไดเร็คเซลเขา มาอกี ทาํ ใหการติดตอซอ้ื หายาไมตอ งผานตวั กลาง เครอื ขายก็กวางขวางมากขนึ้ และท่ี หนกั คอื การลามเขา มาในโรงเรียนอนบุ าลดวยการละลายน้ําใหก ิน นายสมศักด์ิ ปรศิ นานันทกลุ รมต. ชว ย ศธ. บอกวา ยงั ไมไ ดร ับรายงานแตไ มนา เปน ไปไดเ พราะเดก็ อนุบาล พอแมค รจู ะไมค อยใหพ กเงนิ จาํ นวนมากเน่ืองจากยังใชกนั ไมเปน กระทรวงศกึ ษาธิการจัดโครงการ โรงเรียนสีขาวเพอื่ ใหม งี บประมาณ และการดาํ เนินงานอยา ง ตอ เนือ่ งในการแกป ญ หายาเสพยตดิ ในโรงเรยี น โดยเฉพาะยาบาท่กี าํ ลงั ระบาดหนัก ท้งั น้ีโรงเรียนกรม สามญั ศกึ ษามีนกั เรยี นติดยาเสพยต ิดมากท่ีสดุ อางองิ : สํานักงานกองทุนสบั สนุนการวจิ ยั . ม.ป.ป. ความเคลือ่ นไหวการศึกษา. [Online]. Available, URL : http://ttmp.trf.or.th/copy_๑/part๒/study/ttmpd๑.htm.