Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย

พัฒนาการการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย

Description: ศึกษาโครงสร้างและระบบการศึกษาของคณะสงฆ์ คณะกรรมการการศึกษาของคณะสงฆ์ สภาพการศึกษาของคณะสงฆ์ กระบวนการพัฒนาและการบริหารการศึกษาของคณะสงฆ์

Keywords: พัฒนาการการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย

Search

Read the Text Version

พัฒนาการการศึกษา ของคณะสงฆ์ไทย TREND OF BUDDHISM STUDY โ ด ย ทิ พ ย์ ขั น แ ก้ ว

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา พฒั นาการการศึกษาของคณะสงฆไ ทย (Educational Development of Thai Sangha) วิทยาลัยสงฆบ รุ ีรมั ย มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

คํานาํ เอกสารประกอบการสอนรายวชิ า พัฒนาการการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย (Educational Development of Thai Sangha) ในหลักสตู รพทุ ธศาสตร สาขาวิชาการ สอนพระพุทธศาสนา คณะครุศาสตร ไดร วบรวมขึ้น เพอื่ ใหนสิ ติ นกั ศกึ ษาและผูท ่ีสนใจ ได ศกึ ษาประกอบการเรยี นการสอนในรายวิชาที่เรียน โดยไดนําแนวสงั เขปรายวิชา ศกึ ษา โครงสรา งและระบบการศึกษาของคณะสงฆ คณะกรรมการการศึกษาของคณะสงฆ สภาพ การศึกษาของคณะสงฆ กระบวนการพฒั นาและการบรหิ ารการศกึ ษาของคณะสงฆ พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหงชาติกับการศึกษาของคณะสงฆ ปญ หาและอปุ สรรคใ นการ จัดการศึกษาพฒั นาการการศึกษาของคณะสงฆ ความเคลือ่ นไหวทางการศึกษาของคณะ สงฆ แนวโนมในการบรหิ ารการศึกษาของคณะสงฆ กราบขอบพระคุณพระครปู ริยตั ภิ ัทรคุณ ผูอ าํ นวยการวิทยาลยั สงฆบ รุ ีรมั ย ที่ให โอกาสในการจัดทาํ เอกสารประกอบการสอนวชิ านี้ เพ่อื เปน ประโยชนแกนิสติ นักศกึ ษาและ ผทู ี่สนใจ ไดศกึ ษาคน ควา ใชเ ปนเอกสารประกอบการเรยี น เอกสารประกอบการสอนเลม น้ี ไดจดั ทาํ และรวบรวมขอ มูลจากเว็บไซตตางๆที่ เผยแพรท างอินเตอรเ น็ตโดยไมไดขออนุญาตจากเจา ของบทความ ตอ งขออภัยไว ณ ท่ีนี้ หวังเปน อยางยิ่ง จะอํานวยประโยชนแ กน ิสติ นกั ศกึ ษา ผทู ส่ี นใจ และคณาจารย ท่ี สนใจ หากพบขอ บกพรอ งหรือมีคําช้ีแนะเพอื่ การปรบั ปรุงใหส มบูรณม ากยิง่ ข้นึ ยนิ ดีรับฟง ความคดิ เห็น และจะนําไปปรับปรงุ แกพ ัฒนาใหเ อกสาร มคี วามสมบรู ณและมีคณุ คาทาง การศึกษาตอไป ทพิ ย ขนั แกว อาจารยประจาํ วทิ ยาลยั สงฆบรุ รี ัมย ๗ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔

สารบัญ บท หนา คํานํา...............................................................................................................(ก) สารบญั ............................................................................................................(ข) แผนการสอนรายวชิ า.......................................................................................(จ) บทท่ี ๑ โครงสรางและระบบการศึกษาของคณะสงฆ.........................(๑) แมก องธรรมสนามหลวง อดตี -ปจจบุ ัน...............................................(๒) คณะกรรมการการศกึ ษาคณะสงฆ. .....................................................(๕) ประวัตนิ ักธรรมโดยสงั เขป.................................................................(๖) ทาํ เนียบแมก องบาลีสนามหลวง..........................................................(๘) คณะกรรมการการศกึ ษาคณะสงฆ. .....................................................(๙) ประวัตบิ าลโี ดยสังเขป.........................................................................(๑๐) โครงสรา งมหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย..........................(๑๕) ประวตั มหาวทิ ยาลัย............................................................................(๑๖) โครงสรางมหาวทิ ยาลยั มหามกฏราชวทิ ยาลัย.....................................(๒๒) ประวติ มหาวทิ ยาลัย............................................................................(๒๓) บทที่ ๒ กระบวนการพัฒนาและการบรหิ ารการศกึ ษา........................(๓๖) แนวทางการพฒั นาการศกึ ษา..............................................................(๔๐) บทสรปุ แนวทางการพัฒนาการศกึ ษา..................................................(๔๑) ยทุ ธศาสตรที่ ๑ การพฒั นาคุณภาพผูเ รียน.........................................(๔๓) ยุทธศาสตรท่ี ๒ การพฒั นาคุณภาพครู คณาจารยและบุคลากรฯ.......(๔๖) ยุทธศาสตรท ี่ ๓ การพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การศึกษา.........(๔๘) ยุทธศาสตรท ่ี ๔ การจัดระบบการศกึ ษาทส่ี ง ผลตอ คณุ ภาพการศกึ ษา.(๔๙) ยุทธศาสตรท ี่ ๕ การสรา งความเขม แขง็ ของสถานศกึ ษาฯ..................(๕๓) ยุทธศาสตรที่ ๖ การสง เสริมการมสี ว นรวมของทกุ ภาคสว น...............(๕๔) บทวเิ คราะหยุทธศาสตรการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา........................(๕๕) บทที่ ๓ พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติกับการศึกษาของคณะสงฆ. .....(๕๘) พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕................(๖๐) ปฏิรูประบบบริหารการศกึ ษา..............................................................(๖๔) บา น วดั โรงเรยี น (บวร)......................................................................(๖๕)

สารบัญ บท หนา การดาํ เนินการโรงเรียนวถิ ีพทุ ธมุงแกปญหา........................................(๖๕) ความเปน มาของโรงเรยี นวิถีพทุ ธ........................................................(๖๖) มหาเถรสมาคมสนับสนนุ โรงเรยี นวถิ ีพุทธ...........................................(๖๗) ปฏิรปู การศกึ ษา..................................................................................(๖๘) บทที่ ๔ ปญหาและอปุ สรรคในการจัดการศกึ ษาพัฒนาการการศึกษา ของคณะสงฆ. ................................................................................(๗๕) สภาพการจัดการศกึ ษาพระปรยิ ัติธรรมแผนกบาล.ี .............................(๗๖) การศกึ ษาของสงฆ. ..............................................................................(๗๖) การศึกษาพระปรยิ ัติธรรมแผนกบาล.ี ..................................................(๗๗) การพฒั นาการศกึ ษาคณะสงฆไ ทย......................................................(๘๑) การศึกษาของคณะสงฆเ ปน มาอยางไร................................................(๘๑) ลกั ษณะของการศึกษาพระพุทธศาสนาในสมัยพทุ ธกาล.....................(๘๓) พัฒนาการศึกษาของพระพทุ ธศาสนาหลังพุทธปรินิพพาน..................(๘๓) พระพทุ ธศาสนาเขาสปู ระเทศไทย.......................................................(๘๔) การพัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆสมัยสุโขทัย....................................(๘๕) การพัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆสมยั อยธุ ยา....................................(๘๖) การพัฒนาการศึกษาสมยั ธนบรุ .ี ..........................................................(๘๗) การพฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆ รัตนโกสนิ ทร................................(๘๗) บทสรปุ ................................................................................................(๙๑) บทที่ ๕ แนวโนมการจัดการศกึ ษาของพระสงฆ........................................(๙๔) แนวโนมการจัดการศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา..........................................(๙๔) กระแสของอุดมศกึ ษาของโลก............................................................ .(๙๕) ความเปน สากล ความเปน เลศิ ทางวิชาการและคณุ ธรรม....................(๑๐๐) บทสรปุ ................................................................................................(๑๐๒) บทที่ ๖ ความเคลื่อนไหวดา นการศึกษา.....................................................(๑๐๔) ความเคล่อื นไหวภาครัฐ.......................................................................(๑๐๔) ความเคลื่อนไหวดา นการปฏิรปู ระบบบริหารการศกึ ษา........................(๑๐๘)

สารบัญ บท หนา ความเคล่ือนไหวเกยี่ วกับแนวคิดใหมในการจัดการศกึ ษา...................(๑๑๐) ความเคลื่อนไหวดา นโอกาสทางการศึกษา.........................................(๑๑๔) นานาทัศนะเกย่ี วกบั การใชสิทธติ าม พ.ร.บ.........................................(๑๑๗) คณุ ภาพครกู ับการเผชิญหนา ๔ กระแสสงั คม.....................................(๑๒๓) คุณภาพพฤติกรรมครูในสายตาของเด็กนกั เรยี น.................................(๑๒๔) ระบบประกนั คุณภาพครู.....................................................................(๑๒๕)

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑ บทท่ี ๑ โครงสรางและระบบการศึกษาของคณะสงฆ วัตถุประสงคประจําบทเรยี น o เม่อื ศึกษาบทท่ี ๑ จบแลว นักศึกษาสามารถ o ๑.อธิบายโครงสรางพระปริยตั ิธรรม แผนกธรรม-บาลีได o ๒.อธิบายโครงสรา งการบริหารคณะสงฆแผนธรรม-บาลีได o ๓.อธิบายโครงสรางมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ได o ๔.อธิบายโครงสรา งมหาวทิ ยาลยั มหามกุฎราชวทิ ยาลัยได ขอบขายเนื้อหา o โครงสรางพระปรยิ ตั ิธรรม แผนกธรรม-บาลี o โครงสรางบริหารคณะสงฆแผนธรรม-บาลี o โครงสรา งมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั o โครงสรางมหาวทิ ยาลยั มหามกุฎราชวทิ ยาลัย

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๒ ๑.๑ ความนํา บทบาทของพระสงฆปจจบุ ันนัน้ นอกจากตอ งบาํ รุงวดั จดั กิจกรรม ดูแลสอดสองบรรพชิต และคฤหัสถท ีอ่ ยอู าศัยภายในวดั ใหการอบรมการศกึ ษาแกบรรพชิตและคฤหสั ถ และใหค วาม สะดวกแกผ มู าบาํ เพญ็ บญุ กุศลตา งๆ แลว ยังตองมีบทบาทใหก ับชุมชนรอบวัด เชน ปรับเปลย่ี น สถานทว่ี างในวดั ใหเ ปนสถานท่ีจัดตง้ั โรงเรยี นสอนศาสนพิธี ฯลฯ พระสงฆน ้นั มบี ทบาทในการให ธรรมเปน ทาน เปนผชู ี้แนะแนวทางใหป ระชาชนประพฤตปิ ฏบิ ตั ิดา นจรยิ ธรรม และเปน คนดีของ สังคม ดานการสงเคราะหการศึกษาของพระสงฆน ัน้ มี ๒ ประการ คือ การสงเคราะหการศกึ ษา ใหแ กพระภกิ ษุ-สามเณร คฤหัสถ ดา นการอาชีพน้ัน ชวี ิตความเปน อยขู องพระสงฆเน่ืองดวย คฤหัสถ เม่ื อเหน็ วา ชาวบานไมม อี าชีพไมงานทําก็สนับสนุนโดยการจัดทําโครงการสง เสรมิ อาชีพ ตา งๆ เพอ่ื บรรเทาความทกุ ขยากของประชาชน โดยเฉพาะดา นการศึกษานน้ั พระสงฆกไ็ ดแสดง บทบาทออกอยา งชัดเจน ท้ังฝา ยนกั ธรรม และบาลี ในแตล ะปก็จัดใหม ีการสอบโดยใหน ักเรียน นักศึกษาประชาชนท่ัวไปไดสมัครเขาสอบ เพ่อื ทดสอบความรูค วามเขา ใจในหลกั ธรรมของ พระพุทธศาสนาอันเปน หลกั การครองเรือน ครองตน ครองงาน0� Ò พระมหาทพิ ย โอภาสโก ป.ธ.๙ (ขนั แกว ). เอกสารประกอบการบรรยาย รายวิชา การบริหารการศกึ ษาคณะสงฆ. วทิ ยาลยั สงฆบ ุรีรัมย. (หนา ๓๑-๓๖).

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๓ ๑.๒ ทําเนียบ แมก องธรรมสนามหลวง อดีต – ปจจบุ นั 1� ปพ ทุ ธศกั ราช ๒๔๗๑ คณะสงฆจ ดั ใหมกี ารสอบธรรมสนามหลวงทัว่ ราชอาณาจักรเปนครัง้ แรกโดยมีแมกองธรรมสนามหลวง เปนผูดําเนินการจัดการสอบ ตั้งแตคร้งั น้นั เปนตน มา และมีพระ เถระทไี่ ดร ับแตง ตัง้ ใหเ ปน แมก องธรรมสนามหลวงสืบมาตามลาํ ดบั จาํ นวน ๗ รูป ดงั รายนาม ตอไปน้ี รูปท่ี ๑ พระศาสนโศภน (แจม จตตฺ สลฺโล) วัดมกฏุ กษัตริยาราม ไดร ับแตง ตง้ั เปนแมกองธรรมสนามหลวงทัว่ ราชอาณาจักรเปนครง้ั แรก ดาํ รงตําแหนง พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๔๘๔ (ไมม รี ูป) รปู ที่ ๒ พระ ศรีสมโพธิ (เกษม ภทฺทธมโฺ ม) วัดมหาธาตยุ วุ ราชรังสฤษฎ์ิ ไดร ับแตง ต้งั เปน แมก องธรรมสนามหลวง ดาํ รงตาํ แหนง ถึงป พ.ศ. ๒๔๘๖-๒๔๘๘ Ó http://www.gongtham.net/my_data/number_meakong/index.php

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๔ รูปท่ี ๓ สมเดจ็ พระพฒุ าจารย (อาจ อาสโภ) วัดมหาธาตยุ วุ ราชรงั สฤษฎิ์ ไดรับแตง ตัง้ เปน แมกองธรรมสนามหลวง ดาํ รงตําแหนง ขณะเปน ท่ี พระศรสี ุธรรมมุนี ดํารงตําแหนงถงึ พ.ศ. ๒๔๘๘-๒๔๙๑ รปู ท่ี ๔ พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารี) วัดราษฎรบํารุง จังหวัดชลบุรี ไดรบั แตง ต้งั เปน แมกองธรรมสนามหลวง ดํารงตาํ แหนง ขณะเปนที่ พระชลธารมนุ ี - พระราชสธุ ี - พระเทพเมธี - พระธรรมโกศาจารย ดาํ รงตําแหนง ถงึ พ.ศ. ๒๔๙๑-๒๕๐๓

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๕ รปู ที่ ๕ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ (วนิ ธมมฺ สาโร) วัดราชผาติการาม ดํารงตาํ แหนง ขณะเปนที่ พระธรรมปาโมกข - พระพรหมมุนี ไดรับแตงตั้งเปนแมกองธรรมสนามหลวง ดํารงตําแหนงถึง พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๓๒ รูปท่ี ๖ (ไมมรี ปู ) พระสุธรรมาธิบดี (เพม่ิ อาภาโค) วดั ราชาธวิ าส ดํารงตาํ แหนง ขณะเปน ที่ พระธรรมวราภรณ ไดรับแตงตง้ั เปนแมก องธรรมสนามหลวง ดาํ รงตําแหนงถึง พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๔๒ รปู ที่ ๗ สมเด็จพระวนั รตั (จนุ ท พฺรหมฺ คตุ ฺโต) วดั บวรนเิ วศวิหาร ดาํ รงตําแหนงขณะเปนท่ี พระธรรมกวี - พระพรหมมนุ ี พ.ศ. ๒๕๔๒ - ปจ จุบนั

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๖ ๑.๓ คณะกรรมการการศึกษาของคณะสงฆ พระปรยิ ตั ิธรรมแผนกธรรม2� คณะผูบริหาร สาํ นักงานแมก องธรรมสนามหลวง ๑.สมเด็จพระวนั รตั วดั บวรนเิ วศวิหาร แมก องธรรมสนามหลวง ๒.พระพรหมเมธี วดั เทพศิรินทราวาส รองแมก องธรรมสนามหลวง รูปท่ี ๑ ฝา ยนกั ธรรม ๓.พระ วดั รองแมก องธรรมสนามหลวง รูปท่ี ๒ ฝา ยธรรมศกึ ษา ๔.พระธรรมรตั นดิลก วดั สทุ ศั นเทพวราราม รองแมก องธรรมสนามหลวง รปู ท่ี ๓ ฝายธรรมศกึ ษา ๕.พระพรหมเมธาจารย วัดบุรณศริ ิมาตยาราม ผชู ว ยแมกองธรรมสนามหลวง ๖.พระธรรมกิตติเมธี วดั สัมพนั ธวงศ ผูชว ยแมกองธรรมสนามหลวง ๗.พระธรรมวราภรณ วัดราชบพธิ ฯ ผูชว ยแมกองธรรมสนามหลวง ๘.พระธรรมไตรโลกาจารย วดั ราชประดษิ ฐฯ ผูช ว ยแมก องธรรมสนามหลวง ๙.พระธรรมสิทธินายก วดั สระเกศ ผชู ว ยแมกองธรรมสนามหลวง ๑๐.พระธรรมธชั มุนี วดั ปทุมวนาราม ผชู วยแมกองธรรมสนามหลวง ๑๑.พระเทพภาวนาวกิ รม วัดไตรมิตรวทิ ยาราม ผชู ว ยแมก องธรรมสนามหลวง ๑๒.พระราชสทุ ธมิ งคล วัดมกฏุ กษัตริยาราม ผชู ว ยแมกองธรรมสนามหลวง ๑๓.พระราชพศิ าลสธุ ี วดั โพธิการาม จ.ชมุ พร ผชู วยแมก องธรรมสนามหลวง ๑๔.พระธรรมวรเมธี วดั ราชบพธิ ฯ เลขานุการแมก องธรรมสนามหลวง ๑๕.พระเทพญาณวศิ ิษฎ วดั ปทมุ วนาราม ผชู วยเลขานุการแมก องธรรมสนามหลวง ๑๖.พระราชญาณกวี วดั โสมนัสวิหาร ผูช วยเลขานุการแมก องธรรมสนามหลวง ๑๗.พระราชวิจติ รปฏภิ าณ วัดสุทศั นเทพวราราม ผชู วยเลขานกุ ารแมกองธรรมสนามหลวง ๑๘.พระราชวิสุทธิญาณ วัดบวรนเิ วศวิหาร ผูช วยเลขานกุ ารแมกองธรรมสนามหลวง ๑๙.พระราชสุมนตมุนี วดั บวรนเิ วศวิหาร ผูชว ยเลขานุการแมก องธรรมสนามหลวง ๒๐.พระมหานายก วดั บวรนเิ วศวหิ าร ผูชวยเลขานุการแมก องธรรมสนามหลวง ๒๑.พระสุธีรตั นาภรณ วดั สุทัศนเทพวราราม ผชู ว ยเลขานุการแมก องธรรมสนามหลวง ๒๒.พระวิสุทธิคณาภรณ วัดราชาธวิ าสวหิ าร ผูช ว ยเลขานกุ ารแมกองธรรมสนามหลวง ๒๓.พระปรยิ ัติโมลี วัดสมั พนั ธวงศ ผชู วยเลขานุการแมก องธรรมสนามหลวง Ô โครงสรางแมก องธรรมสนามหลวง. http://www.gongtham.net/my_data/main/index.php

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๗ ๒๔.พระครสู ิริสุตกจิ วดั สามพระยา ผูชว ยเลขานุการแมกองธรรมสนามหลวง ๒๕.พระครพู ิศาลวินยั วาท วัดบวรนิเวศวิหาร ผชู ว ยเลขานุการแมก องธรรมสนามหลวง ๒๖.พระชนิ วงศเวที วัดตรที ศเทพ ผชู วยเลขานกุ ารแมก องธรรมสนามหลวง ๒๗.พระราชสารเวที วดั สัมพันธวงศ เลขานกุ ารรองแมก องธรรมสนามหลวง รปู ที่ ๑ วดั สทุ ศั นเทพวราราม เลขานกุ ารรองแมก องธรรมสนามหลวง ๒๘.พระประสิทธิสตุ คุณ รูปที่ ๒ ๑.๕ ประวตั ินักธรรมโดยสงั เขป การศกึ ษาพระปรยิ ตั ิธรรมแผนกธรรม หรือที่เรยี กกนั วา นกั ธรรม เกดิ ขึ้นตามพระดํารขิ อง สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส เปน การศึกษาพระธรรมวินัยในภาษาไทย เพ่อื ใหภ กิ ษสุ ามเณรผเู ปนกําลงั สําคญั ของพระพุทธศาสนาสามารถศึกษาพระธรรมวนิ ัยไดส ะดวก และทว่ั ถึง อันจะเปนพืน้ ฐานนาํ ไปสูสัมมาปฏิบตั ิ ตลอดจนเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาใหกวา งไกล ออกไป การศกึ ษาพระพุทธศาสนาของพระสงฆไทยแตโบราณมา นยิ มศกึ ษาเปนภาษาบาลี ท่ี เรียกวา การ ศกึ ษาพระปรยิ ัตธิ รรม ซ่ึงเปนสง่ิ ท่ีเรยี นรูไดย ากสําหรับภิกษุสามเณรท่ัวไป จึงปรากฏ วา ภิกษสุ ามเณรที่มคี วามรใู นพระธรรมวนิ ัยอยา งทั่วถึงมีจาํ นวนนอย เปนเหตุใหส ังฆมณฑลขาด แคลนพระภิกษผุ มู ีความรูความ สามารถทจ่ี ะชวยกิจการพระศาสนาทง้ั ในดานการศกึ ษา การป ครอง และการแนะนําสงั่ สอนประชาชน ดงั น้นั สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโร รส จึงไดทรงพระดาํ รวิ ิธีการเลา เรียนพระธรรมวนิ ัยในภาษาไทยขึน้ สาํ หรบั สอนภิกษุสามเณรวัด บวรนิเวศวหิ ารเปนครั้งแรก นับแตทรงรับหนาทป่ี กครองวดั บวรนิเวศวหิ าร เม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๕ เปน ตน มา โดยทรงกําหนดหลกั สูตรการสอนใหภ ิกษสุ ามเณรไดเ รียนรพู ระพุทธศาสนา ทั้งดาน หลกั ธรรม พุทธประวตั ิ และพระวนิ ัย ตลอดถงึ หัดแตงแกกระทูธรรม เมื่อทรงเหน็ วา การเรียนการสอนพระธรรมวนิ ัยเปน ภาษาไทยดงั นี้ไดผล ทาํ ใหภกิ ษุ สามเณรมคี วามรูกวางขวางขน้ึ เพราะเรยี นรูไดไมย าก จึงทรงดําริทีจ่ ะขยายแนวทางน้ีไปยังภิกษุ สามเณรท่ัวไปดว ย ประกอบกบั ใน พ.ศ.๒๔๔๘ ประเทศไทยเรมิ่ มพี ระราชบัญญัตเิ กณฑทหาร ซึง่ ภิกษทุ ้ังหมดจะไดร ับการ ยกเวน สวนสามเณร จะยกเวนใหเฉพาะสามเณรผรู ูธ รรม ทางราชการได ขอใหค ณะสงฆชว ยกําหนดเกณฑข องสามเณรผรู ธู รรม สมเดจ็ พระมหาสมณเจาฯ จึงทรงกําหนด หลกั สตู รองคสามเณรรธู รรมขนึ้ ตอมาไดท รงปรบั ปรงุ หลกั สูตรองคสามเณรรูธรรมนนั้ เปน “องค นักธรรม” สําหรับภิกษุสามเณรช้ันนวกะ (คอื ผบู วชใหม) ทว่ั ไป ไดร บั พระบรมราชานุมัติ เมื่อวันที่ ๒๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๕๔ และโปรดใหจัดการสอบในสวนกลางขน้ึ เปนคร้งั แรกในเดอื นตุลาคมป เดียวกัน โดยใชวัดบวรนเิ วศวิหาร วัดมหาธาตุ และวดั เบญจมบพติ ร เปน สถานท่ีสอบ การสอบคร้ัง แรกนี้ มี ๓ วชิ า คือ ธรรมวิภาคในนวโกวาท แตง ความแกก ระทธู รรม และแปลภาษามคธเฉพาะ ทองนทิ านในอรรถกถาธรรมบท

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๘ พ.ศ. ๒๔๕๕ ทรงปรบั ปรงุ หลักสูตรองคน กั ธรรมใหเหมาะสมสาํ หรับภิกษุสามเณรท่ัวไปจะ เรียน รูไ ดกวา งขวางยงิ่ ขึ้น โดยแบง หลกั สูตรเปน ๒ อยา งคอื อยา งสามญั เรียนวิชาธรรมวภิ าค พทุ ธประวัติ และ เรยี งความแกกระทธู รรม และ อยางวสิ ามญั เพมิ่ แปลอรรถกถาธรรมบทมีแก อรรถ บาลไี วยากรณและสมั พนั ธ และวนิ ัยบญั ญัตทิ ีต่ องสอบท้งั ผทู ่ีเรียนอยางสามญั และวิสามัญ พ.ศ. ๒๔๕๖ ทรงปรบั ปรุงหลักสตู รองคน กั ธรรมอกี คร้ังหนงึ่ โดยเพ่ิมหลักธรรมหมวดคิหิ ปฏิบัติเขาในสว นของธรรมวภิ าคดว ย เพือ่ ใหเ ปนประโยชนในการครองชวี ิตฆราวาสหากภกิ ษุ สามเณรรปู นั้นๆ มีความจาํ เปน ตองลาสกิ ขาออกไปดวยเหตุใดเหตหุ น่งึ เรียกวา นกั ธรรมชนั้ ตรี การศึกษาพระธรรมวินัยแบบใหมนี้ ไดร บั ความนิยมจากหมภู กิ ษสุ ามเณรอยางกวา งขวาง และ แพรหลายไปอยางรวดเรว็ เพยี ง ๒ ปแรกก็มีภิกษุสามเณรสมัครเขาสอบสนามหลวงเกือบพนั รปู เมอื่ ทรงเหน็ วา การศึกษานักธรรมอาํ นวยคุณประโยชนแ กพ ระศาสนาและภิกษสุ ามเณรทวั่ ไป ใน เวลาตอมา จงึ ทรงพระดํารขิ ยายการศกึ ษานกั ธรรมใหท ัว่ ถึงแกภ ิกษทุ ุกระดับ คอื ทรงตั้งหลักสตู ร นักธรรมช้นั โท สาํ หรับภิกษุชั้นมชั ฌมิ ะ คือ มีพรรษาเกนิ ๕ แตไ มถ งึ ๑๐ และนักธรรมชน้ั เอก สําหรับภิกษุชั้นเถระ คือมีพรรษา ๑๐ ข้ึนไป ดังท่ีเปน หลักสตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานของคณะสงฆ สืบมาตราบถึงทกุ วนั นี้ ตอ มา พระเจา วรวงศเธอ กรมหลวงชนิ วรสริ วิ ัฒน สมเด็จพระสงั ฆราชเจา วดั ราชบพธิ ฯ ทรงพจิ ารณาเห็นวา การศึกษานกั ธรรมมไิ ดเปนประโยชนตอภิกษุสามเณรเทา นน้ั แมผทู ีย่ งั ครอง ฆราวาสวสิ ัยก็จะไดรบั ประโยชนจากการศกึ ษานักธรรมดว ย โดยเฉพาะสาํ หรับเหลาขาราชการครู จงึ ทรงตงั้ หลักสูตรนกั ธรรมสําหรับฆราวาสขนึ้ เรยี กวา “ธรรมศึกษา” มีครบทงั้ ๓ ชน้ั คอื ชน้ั ตรี ช้นั โท ช้นั เอก ซึ่งมเี น้อื หาเชน เดยี วกันกับหลกั สูตรนักธรรมของภกิ ษสุ ามเณร เวนแตวินัยบัญญตั ิท่ี ทรงกาํ หนดใชเบญจศีลเบญจธรรมและอโุ บสถศีลแทน ไดเปด สอบธรรมศกึ ษาตรีคร้ังแรก เม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๒ และเปดสอบครบทกุ ช้ันในเวลาตอ มา มีฆราวาสทง้ั หญิงและชายเขาสอบเปนจาํ นวนมาก นบั เปน การสงเสริมการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาใหก วางขวางยิ่งขน้ึ ปจ จบุ ัน การศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกธรรมน้ี มี พระพรหมมุนี (พรฺ หฺมคตุ ฺตเถร) วดั บวร นิเวศวิหาร เปน แมก องธรรมสนามหลวง เนน การพัฒนาศาสนทายาทใหมีคุณภาพสามารถดํารง พระศาสนาไวไดดวยดี ทง้ั ถอื วา เปน กิจการของคณะสงฆส วนหนึ่งทส่ี าํ คญั ยิง่ ในการเผยแผ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยมาตัง้ แตคร้ังอดีตถงึ ปจจุบัน3� Õ ประวตั นิ กั ธรรม. http://www.gongtham.net/my_data/history_gongtham/index.php.

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๙ ๑.๖ ทําเนียบ แมก องบาลสี นามหลวง อดีต – ปจจบุ ัน4� สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (พระองคเ จามานุษยนาคมานพ) (แพ ตสิ สฺ เทโว ป.ธ.๕) สมเดจ็ พระสงั ฆราช องคท ี่ ๑๐ แหงกรุงรัตนโกสินทร วัดสุทศั นเทพวราราม กรุงเทพ ฯ ผทู รงยกระดบั มาตรฐานการศกึ ษาบาลขี องคณะสงฆไ ทย แมก องบาลสี นามหลวง รูปที่ ๑ พ.ศ. ๒๔๗๑-๒๔๗๔ สมเด็จพระวนั รัต (เฮง เขมจารี ป.ธ.๙) สมเดจ็ พระสังฆราชเจา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ วัดมหาธาตยุ ุวราชรงั สฤกฎ์ิ กรุงเทพ ฯ (ม.ร.ว.ชื่น สจุ ติ โฺ ต ป.ธ.๗) วัดบวรนิเวศ กรุงเทพ ฯ แมก องบาลีสนามหลวง รปู ที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๗๕-๒๔๗๖ แมกองบาลีสนามหลวง รูปท่ี ๓ พ.ศ. ๒๔๗๗-๒๔๗๘ สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย (ฟน ชตุ นิ ฺธโร ป.ธ.๙) (ปลด กิตตฺ ิโสภโณ ป.ธ.๙) วดั เบญจมบพติ ร กรงุ เทพ ฯ วัดสามพระยา กรุงเทพ ฯ แมกองบาลสี นามหลวง รูปท่ี ๔ พ.ศ. ๒๔๗๙-๒๕๐๒ แมก องบาลสี นามหลวง รูปท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๐๓-๒๕๓๑ สมเด็จพระพทุ ธชินวงศ (สวุ รรณ สวุ ณณฺ โชโต ป.ธ.๗) สมเดจ็ พระมหารชั มังคลาจารย (ชวง วรปุ ฺโญ ป.ธ.๙) วัดเบญจมบพติ ร กรุงเทพ ฯ วดั ปากนาํ้ กรุงเทพ ฯ แมกองบาลีสนามหลวง รปู ท่ี ๖ พ.ศ. ๒๕๓๑-๒๕๓๗ แมก องบาลสี นามหลวง รูปที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๓๘ – ปจจุบนั Ö แมก องบาลสี นามหลวง. http://www.watpaknam.org/content.php?op=maekongpali

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๐ ๑.๗ คณะกรรมการการศกึ ษาของคณะสงฆ พระปริยัตธิ รรมแผนกบาลี5� สมเดจ็ พระมหารชั มังคลาจารย (ชว ง วรปุโฺ ญ ป.ธ.๙) แมก องบาลสี นามหลวง วัดปากนํา้ ภาษเี จรญิ พระวสิ ุทธิวงศาจารย (วเิ ชียร อโนมคุโณ ป.ธ.๙) รองแมกองบาลสี นามหลวง วดั ปากนาํ้ ภาษีเจรญิ กทม. พระธรรมคุณาภรณ พระธรรมปญ ญาภรณ พระเทพปรยิ ตั วิ งศ รองเลขานกุ ารแมก องบาลี เลขานุการแมกองบาลี รองเลขานุการแมก องบาลี วัดปากนํ้า ภาษีเจรญิ กทม. วัดปากน้ํา ภาษีเจรญิ กทม. วัดสามพระยา กทม. พระเทพกิตตเิ วที พระราชวริ ิยาลังการ พระปริยตั กิ วี ผูชวยเลขานกุ ารแมก องบาลี ผชู วยเลขานุการแมกองบาลี ผชู วยเลขานกุ ารแมกองบาลี วดั ปากนา้ํ ภาษเี จริญ กทม. วัดปากนํ้า ภาษีเจรญิ กทม. วดั เบญจมบพิตร กทม. × พระมหาทพิ ย โอภาสโก ป.ธ.๙ (ขนั แกว). อางแลวเร่ืองเดยี วกัน.(หนา ๖๖-๖๗).

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๑ พระปฎ กโกศล พระปริยัตธิ รรมธาดา พระมหาบุญชู กติ ตฺ ิโชติโก ผูช วยเลขานุการแมก องบาลี ผชู วยเลขานกุ ารแมกองบาลี ผูชวยเลขานุการแมก องบาลี วดั ปากนํ้า ภาษีเจรญิ กทม. วัดปากน้าํ ภาษีเจรญิ กทม. วัดเบญจมบพติ ร กทม. พระมหาทองดี ปญฺ าวชโิ ร พระมหาวัฒนพร อภวิ ฑฒฺ โน พระมหากฤชาภคั มหสิ สฺ โร ผชู ว ยเลขานุการแมกองบาลี ผชู วยเลขานกุ ารแมก องบาลี ผูชวยเลขานกุ ารแมกองบาลี วดั ปากนา้ํ ภาษีเจรญิ กทม. วัดปากนํ้า ภาษีเจริญ กทม. วัดปากนํา้ ภาษีเจริญ กทม. ๑.๘ ประวตั บิ าลโี ดยสงั เขป6Ĩ พระพุทธศาสนาพระพุทธเจา ทรงวางแผนการศกึ ษาไวเปน ๓ ขนั้ ๑. ขัน้ ปรยิ ัติ ๒. ข้ันปฏบิ ตั ิ ๓. ขนั้ ปฏิเวธ ขน้ั ปริยตั ิ ไดแก การศกึ ษาทางทฤษฎคี อื การศึกษาพระธรรมวนิ ยั ใหม คี วามรเู ปน พนื้ ฐาน โดยแจม แจงเสียกอ นวา คําสอนของสมเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจา มีอะไรบา ง ถาจะนํามาปฏบิ ตั จิ ะ ทาํ อยางไร และเม่ือปฏิบตั ิแลวจะไดผ ลอยางไร ขัน้ ปฏบิ ัติ คอื การนําเอาพระธรรมวนิ ยั มาปฏิบัติดว ยกาย วาจา ใจ และ ขั้นปฏเิ วธ เปนขน้ั ท่ีแสดงถึงผลของการปฏิบตั ิตามพระธรรมคําสั่งสอนของพระสัมมาสมั พุทธเจา ผทู ่เี ขามาศกึ ษาพระ ปรยิ ตั ิธรรมน้ี สว นใหญเปนพระภกิ ษสุ ามเณรผูมีศรทั ธาทไี่ ดเ ขามาบรรพชาอุปสมบทใน พระพทุ ธศาสนา บุคคลที่เขา มาบวชในพระพทุ ธศาสนาแลวมภี ารกิจทีต่ อ งทาํ สองประการ คือ ประการแรก ไดแก คนั ถธุระ การศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั ซ่ึงพระพทุ ธเจา ไดท รงสง่ั สอนไว การศกึ ษา ชนิดน้เี นน ภาคทฤษฎี และประการทส่ี อง คือ วปิ ส สนาธรุ ะการเรยี นพระกรรมฐานโดยเนน ลงไปที่ การปฏิบตั ทิ างกายวาจาและใจ Ø http://www.phrathai.net/pali/kampenma.php

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๒ สาํ หรบั การศึกษาที่เรยี กวา “คันถธรุ ะ”นนั้ ในสมัยทพ่ี ระพุทธเจายงั ทรงพระชนมอยนู ้นั พระพุทธเจาทรงสงั่ สอนสาวกเปนประจําทุกวนั ดว ยการแสดงพระธรรมเทศนา คําสง่ั สอนที่ พระพทุ ธเจาทรงแสดงน้ัน ทรงแสดงดวยพระโอฐตามทีพ่ ระองคจ ะทรงโปรดประทานพระสัทธรรม เทศนาแกพุทธ บริษัทซึง่ มีเปนประจาํ ทุกวัน ผทู ่ฟี งก็มที ั้งพระภิกษุสงฆแ ละคฤหสั ถ สาํ หรบั พระภิกษสุ งฆนัน้ เมื่อไดฟงพระสทั ธรรมเทศนาของพระพุทธเจาแลวก็นาํ มาถา ยทอดแกส ัทธวิ หิ าริก และอนั เตวาสิกตอ กนั ไป การศึกษาคําสอนของพระพุทธเจาน้เี รียกวา คนั ถธุระ หรือการศกึ ษาพระ ปรยิ ัติธรรม ซึ่งมี ๙ ประการ เรยี กวา “นวังคสตั ถุศาสน” แปลวา คาํ สอนของพระศาสดามีองคเกา ซึง่ ไดแ ก สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิตวิ ุตตกะ ชาดก อพั ภตู ธรรม และเวทัลละ พระปริยัตธิ รรม หรือ นวงั คสตั ถศุ าสนน้ี พระพทุ ธเจาทรงแสดง ดวยภาษาบาลี เพราะในสมัยนนั้ ประเทศอินเดยี มีภาษาหลกั อยู ๒ ตระกลู คอื ๑. ภาษาปรากฤต ๒.ภาษาสนั สกฤต ๑.๘.๑ ภาษาปรากฤต แบง ยอ ยออกเปน ๖ ภาษา ๑. ภาษามาคธี ภาษาทใ่ี ชพดู กนั อยใู นแควน มคธ ๒. ภาษามหาราษฎรี ภาษาที่ใชพูดกันอยใู นแควนมหาราษฎร ๓. ภาษาอรรถมาคธี ภาษาก่งึ มาคธี เรยี กอกี อยางหน่งึ วา ภาษาอารษปรากฤต ๔. ภาษาเศารนี ภาษาที่ใชพูดกนั อยใู นแควน ศูรเสน ๕. ภาษาไปศาจี ภาษปี ศ าจ หรือภาษาชั้นตาํ่ และ ๖. ภาษาอปภรงั ศ ภาษาปรากฤตรุนหลังท่ไี วยากรณไดเ ปลย่ี นไปเกอื บหมดแลว ภาษามาคธี หรือ ภาษามคธ เปน ภาษาทีพ่ ระพุทธเจา ทรงใชส ั่งสอนประชาชน ครัน้ ตอมาพระพทุ ธศาสนาไดม าเจรญิ แพรหลายทปี่ ระเทศศรีลังกา ภาษามาคธีไดถูกนกั ปราชญแ กไข ดดั แปลงรปู แบบไวยากรณใ หกระทัดรัดย่งิ ขนึ้ จึงมีชอื่ ใหมว า “ปาล”ี หรือ ภาษาบาลี เปน ภาษา จารกึ พระไตรปฎกดังทเี่ ราเหน็ อยูในปจจุบนั คาํ วา “บาล”ี มาจากคําวา ปาลี ซ่ึงวิเคราะหม าจาก ปาล ธาตุ ในความรักษา ลง ณี ปจ จัย ๆ ที่เน่อื งดว ย ณ ลบ ณ ทงิ้ เสยี มรี ปู วิเคราะหว า พุทธวจนํ ปาเลตีติ ปาลี แปลโดยพยญั ชนะวา ภาษาใดยอ มรกั ษาไวซ่ึงพระพทุ ธวจนะ เพราะเหตุน้นั ภาษานั้นชอ่ื วา ปาลี แปลโดยอรรถวา ภาษา ท่ีรกั ษาไวซ ึ่งพระพุทธวจนะ คําสั่งสอนของพระพทุ ธเจา ทานจารึกไวใ นคัมภีรต างๆ ดวยภาษาบาลีซงึ่ สามารถแบง ลําดบั ชั้นของคมั ภรี ต างๆ ไดด ังน้ี - พระไตรปฎ กเปนหลักฐานชนั้ หนงึ่ เรยี กวา บาลี - คาํ อธิบายพระไตรปฎ กเปน หลักฐาน ชนั้ สอง เรียกวา อรรถกถา หรือ วณั ณนา - คาํ อธบิ ายอรรถกถาเปน หลักฐานชน้ั สาม เรยี กวา ฎกี า - คําอธบิ ายฏีกาเปนหลักฐานชัน้ ส่ี เรียกวา อนุฏีกา

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๓ นอกจากนี้ ยังมหี นงั สือทีแ่ ตงขึ้นภายหลังเปน ทํานองอธบิ ายเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงทมี่ ีใน คัมภรี  พระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ หนังสือประเภทน้ี เรยี กวา “ทีปนี” หรือ “ทปี ก า” หรือ “ปทีปก า” และหนังสือทอ่ี ธิบายเรือ่ งปลกี ยอยตา งๆ ทม่ี ีในคมั ภีรท างพระพทุ ธศาสนา หนังสือประเภทน้ี เรียกวา “โยชนา”หนังสอื ทั้งสองประเภทน้ีจดั เปน คมั ภรี อ รรถกถา จะเหน็ ไดวา คาํ สอนทอี่ ยใู นคมั ภีรเหลา นี้ คาํ สอนทอี่ ยูในพระไตรปฎ กเปน หลกั ฐานสําคญั ทส่ี ดุ เพราะเปนหลกั ฐานช้ันแรกสดุ คําสอนทอ่ี ยูใ นพระไตรป ฎกน้ันมถี ึง ๘๔ ,๐๐๐ พระธรรมขันธ โดย จดั แบงเปน -๓-หมวด-คือ หมวดท่หี น่ึง พระวนิ ยั วา ดวยเรื่อง ระเบยี บ กฎ ขอ บงั คับควบคุมกิริยา มารยาท ของภิกษุ สงฆ มที ัง้ ขอ หา มและขออนุญาต ท้งั น้ี เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอ ยในหมสู งฆ มี ๒๑,๐๐๐ พระ ธรรมขนั ธ หมวดทส่ี อง พระสูตร วา ดว ยเรือ่ งราว นทิ าน ประวัตศิ าสตร ท่พี ระพทุ ธองคทรงสงั่ สอน และทรงสนทนากบั บุคคลทง้ั หลายอันเกี่ยวกบั ชาดกตา งๆ ท่ที รงสอนเปรียบเทียบเปน อปุ มาอปุ ไมย เปน ตน -ม-ี ๒๑,๐๐๐พระธรรมขันธและ หมวดที่สาม พระอภธิ รรมวา ดว ยธรรมขน้ั สูง คือ วา ดว ยเรื่องเฉพาะคาํ สอนทเี่ ปน แกน เปน ปรมตั ถใ นรปู ปรชั ญาลวนๆม๔ี ๒,๐๐๐พระธรรมขนั ธ คาํ สอนท้งั ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธน้นั เรยี กวา “ธรรมวนิ ัย” ธรรมวนิ ัยเปนส่ิงสาํ คญั มาก ท่ีสดุ ของชาวพทุ ธ เพราะถอื เปน ส่ิงแทนองคพ ระศาสดา ดงั พทุ ธพจนที่ตรสั กบั พระอานนทก อ นจะ เสดจ็ ดับขนั ธปรนิ พิ พานวา “ดูกอนอานนท ธรรมวนิ ัยอนั ใดทเ่ี ราบญั ญัติไวแลว แสดงแลว แกเธอ ทั้งหลาย ธรรมะและวินัยนั้นจกั เปน ศาสดาของพวกเธอเมื่อเราลวงลับไปแลว ” ดังนน้ั กลา วไดวา พระไตรปฎ กเปนคมั ภรี ท ่สี ําคัญมากที่สดุ ของชาวพุทธ พระไตรปฎ กแตเ ดิมเปน ภาษาบาลซี ่ึงเปนภาษาท่ีมีในมชั ฌิมประเทศที่เรยี กวา แควนมคธ ในครงั้ พุทธกาล ตอ มาพุทธศาสนาแพรห ลายไปในนานาประเทศทใี่ ชภาษาอืน่ ประเทศตางๆ เหลานั้น มธี ิเบตและจนี เปน ตน ไดแ ปลพระไตรปฎกจากภาษาบาลีเปนภาษาของตน เพอ่ื ประสงคท่ี จะใหเรียนรูไดง า ย จะไดมีคนเลอ่ื มใสศรัทธามาก ครนั้ ไมม ีใครเลา เรียนพระไตรปฎ ก ตอ มาก็คอยๆ สญู ส้ินไป ส้ินหลกั ฐานทจี่ ะสอบสวนพระธรรมวินยั ใหถอ งแทได ลทั ธศิ าสนาในประเทศฝา ยเหนอื เหลา นน้ั กแ็ ปรผนั วปิ ลาสไป แตส วนประเทศฝา ยใตม ี ลงั กา พมา ไทย ลาว และ เขมร ประเทศเหลานีค้ ิดเหน็ มาแตเดมิ วา ถาแปลพระไตรปฎกเปน ภาษาอน่ื โดยท้ิงของเดิมเสียแลวพระธรรมวินัยกค็ งคลาดเคล่อื นจงึ รกั ษาพระไตรปฎ กไวใ นเปน ภาษาบาลี การเลาเรยี นคันถธรุ ะก็ตองเรียนภาษาบาลใี หเ ขาใจเสยี ชนั้ หนง่ึ กอ นแลว จงึ เรยี นพระธรรม วินัยในพระไตรปฎ กตอ ไป ดว ยเหตุนี้เองประเทศฝายใตจึงสามารถรกั ษาลัทธศิ าสนาตามหลักธรรม วนิ ัย ย่งั ยืนมาได การศึกษาเลา เรียนพระปริยัตธิ รรมทงั้ แผนกธรรมและบาลี นอกจากจะเปน การศกึ ษาหลักธรรมคาํ สง่ั สอนแลวยังไดชือ่ วา เปนการสืบตอ อายพุ ระพทุ ธศาสนาไวอกี ดว ย โดยเฉพาะการศกึ ษาภาษาบาลี เพราะถาไมรูภาษาบาลีแลว ก็จะไมมผี ูใ ดสามารถรแู ละเขาใจพระ

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๔ พทุ ธวจนะในพระไตรปฎ ก ถา ขาดความรูเรื่องพระไตรปฎกแลว พระพทุ ธศาสนากจ็ ะตองเส่อื มสญู ไปดว ย ดวยเหตนุ ี้ พระมหากษตั รยิ ผ เู ปนศาสนปู ถมั ภกตั้งแตโ บราณมาจงึ ทรงทาํ นุบาํ รงุ สนบั สนุน การเลา เรียนพระปรยิ ัตธิ รรม และทรงยกยอ งพระภกิ ษุสามเณรท่เี รียนรูพ ระพทุ ธวจนะใหมีฐานนั ดร พระราชทานราชปู การตา งๆ มนี ติ ยภัตรเปน ตน จึงไดทรงจัดใหมีวธิ กี ารสอบพระปรยิ ตั ิธรรมเพื่อให ปรากฏตอชาวโลกท่วั ไปวา พระภิกษสุ ามเณรรูปใดมคี วามรูม ากนอ ยแคไ หน เพียงไร เมอื่ ปรากฏวา พระภิกษสุ ามเณรรูปใดมีความรูถงึ ขน้ั ทกี่ าํ หนดไว พระมหากษัตริย กท็ รงยกยอ งพระภกิ ษสุ ามเณรรปู ปน ใหเ ปน “มหาบาเรยี น” คร้ันอายุพรรษาถงึ ชัน้ เถรภมู ิ กท็ รงต้ังใหมสี มณศกั ดิ์ในสังฆมณฑลตามควรแกคุณธรรมและความรูเปนครู อาจารย สงั่ สอนพระ ปรยิ ตั ิสืบๆ กันมาจนปจจุบันน้ี ๑.๘.๒ -ภาษาสันสกฤต7ĩ คาํ วา สสํ ฺกฤต แปลวา \"กล่นั กรองแลว\" สว นคาํ วา สสํ ฺกฤตา วากฺ จะใชเ พื่อเรียก \"ภาษาท่ีกลัน่ กรองแลว \" ซงึ่ เปน ภาษาของชนช้ันพราหมณ ตรงขามกับภาษาพดู ของชาวบานทว่ั ไปท่ี เรียกวา ปรากฤต ภาษาสนั สกฤตมพี ฒั นาการในหลายยุคสมยั โดยมหี ลักฐานเกา แกที่สดุ คือภาษาท่ี ปรากฏในคัมภีรฤ คเวท (เม่ือราว ๑ ,๒๐๐ ปก อ นครสิ ตกาล) อนั เปนบทสวดสรรเสริญพระเจา ใน ลทั ธิพราหมณใน ยุคตนๆ อยา งไรก็ตาม ในการจาํ แนกภาษาสนั สกฤตโดยละเอยี ด นักวชิ าการอาจ ถือวาภาษาในคมั ภีรฤคเวทเปน ภาษาหน่งึ ทต่ี า งจากภาษาสันสกฤต แบบแผน ( Classical language) และเรียกวา ภาษาพระเวท (Vedic language) ภาษาพระเวทดั้งเดิมยังมไิ ดมกี ารวาง กฎเกณฑใหเปนระเบยี บรดั กุมและสละสลวย และมหี ลักทางไวยากรณอยา งกวาง ๆ ปรากฏอยูใ น บทสวดในคมั ภรี พ ระเวทของศาสนาฮนิ ดู เน้ือหาคือบทสวดสรรเสรญิ เทพเจา เอกลักษณทีป่ รากฏ อยเู ฉพาะในภาษาพระเวทคือระดับเสยี ง ( Accent) ซึ่งกําหนดไวอ ยา งเครงครัดและถอื เปนสิง่ สําคญั ของการสวดพระเวทเพือ่ ใหส มั ฤทธผิ ล ภาษาสันสกฤตมวี วิ ฒั นาการมาจากภาษาชนเผา อารยนั หรืออนิ โดยโู รเปย น (Indo- European) บรรพบรุ ษุ ของพวกอินโด-อารยนั ต้งั รกรากอยูเหนอื เอเชียตะวันออก (ตอนกลางของ ทวีปเอเชยี - Central Asia) โดยไมม ที ีอ่ ยูเปน หลักแหลง กลุมอารยนั ตองเรร อ นทาํ มาหากิน เหมือนกันชนเผาอ่ืน ๆ ในจดุ นีเ้ องท่ที ําใหเกิดการแยกยายถน่ิ ฐาน การเกดิ ประเพณี และภาษาท่ี แตกตางกันออกไป ชนเผา อารยันไดแ ยกตัวกนั ออกไปเปน ๓ กลุมใหญ กลุม ท่ี ๑ แยกไปทาง ตะวันตกเขา สูท วปี ยโุ รป กลมุ ท่ี ๒ ลงมาทางตะวันออกเฉยี งใต อนุมานไดว านาจะเปน ชนชาติ อิหรา นในเปอรเ ซีย และกลุมที่ ๓ เปน กลุม ทีส่ ําคัญท่สี ุด กลุมนแ้ี ยกลงมาทางใตตามลุม แมน ํ้าสินธุ (Indus) ชาวอารยันกลมุ น้เี ม่อื รุกเขาในแถบลมุ แมน า้ํ สินธุแลว ก็ไดไ ปพบกบั ชนพื้นเมืองทเี่ รยี กวา ดราวิเดยี น (Dravidian) และเกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมและภาษา โดยชนเผาอารยนั ไดนาํ Ù http://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาสันกฤต

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๑๕ ภาษาพระเวทยุคโบราณเขา สอู นิ เดียพรอมๆ กบั ความเชือ่ ทางศาสนาซง่ึ ในยุคตอมาไดเ กิดตํารา ไวยากรณภ าษาสนั สกฤต คืออัษฺฏาธฺยายี \"ไวยากรณ ๘ บท\") ของปาณนิ ิ เชือ่ กันวา รจนาขึน้ ในชวง พุทธกาล ปาณนิ เิ ห็นวา ภาษาสันสกฤตแบบพระเวทนนั้ มภี าษาถิน่ ปนเขามามากพอสมควรแลว หากไมเ ขยี นไวยากรณทเี่ ปนระเบียบแบบแผนไว ภาษาสนั สกฤตแบบพระเวทที่เคยใชม าตง้ั แตยุค พระเวทจะคละกับภาษาทองถ่ินตางๆ ทาํ ใหก ารประกอบพิธกี รรมไมม คี วามศักดส์ิ ิทธ์ิ ดังนน้ั จงึ แตง อษั ฏาธยายีขึน้ ความจรงิ ตาํ ราแบบแผนไวยากรณก อนหนา ปาณินไิ ดม ีอยกู อ นแลว แตเมื่อ เกดิ อษั ฏาธยายีตําราเหลาน้ันกไ็ ดห มดความนิยมลงและสูญไปในทีส่ ดุ ผลของไวยากรณป าณนิ กิ ค็ อื ภาษาเกดิ การจาํ กดั กรอบมากเกนิ ไป ทําใหภาษาไมพฒั นา ในท่สี ดุ ภาษาสนั สกฤตแบบปาณนิ ิ หรอื ภาษาสันสกฤตแบบฉบบั จงึ กลายเปนภาษาเขยี นในวรรณกรรม ซง่ึ ผทู ีส่ ามารถจะอา น เขยี นและ แปลไดจ ะตองใชเวลามากพอสมควรภาษาสันสกฤตแบงไดเ ปน๒กลุมกวางๆไดแก ๑. ภาษาสันสกฤตแบบแผน เกิดขน้ึ จากการวางกฎเกณฑข องภาษาสันสกฤตใหมแี บบแผนที่แนนอนในสมยั ตอ มา โดยนกั ปราชญช่อื ปาณินิตามประวตั ิเลา วา เปน ผเู กดิ ในตระกลู พราหมณ แควนคนั ธาระราว ๕๗ ปก อนพทุ ธปรนิ ิพพาน บางกระแสวาเกิดราว พ.ศ. ๑๔๓ ปาณนิ ิไดศ กึ ษาภาษาในคัมภรี พระ เวทจนสามารถหาหลกั เกณฑของภาษานัน้ ได จงึ จดั รวบรวมข้ึนเปนหมวดหมู เรยี บเรยี งเปนตํารา ไวยากรณขึ้น ๘ บทใหช่อื วา อัษฏาธยายี มสี ตู รเปน กฎเกณฑอ ธิบายโครงสรางของคาํ อยา งชดั เจน นกั วิชาการสมยั ใหมม ีความเหน็ วา วธิ กี ารศกึ ษาและอธบิ ายภาษาของปาณินเิ ปน วิธวี รรณนา คอื ศกึ ษาและอธบิ ายตามที่ไดสงั เกตเหน็ จรงิ มิไดเ รียบเรยี งขนึ้ ตามความเช่ือสว นตัว มไิ ดเรียบเรียงขึ้น ตามหลกั ปรชั ญา คมั ภีรอ ษั ฏาธยายจี งึ ไดร ับการยกยอ งวาเปน ตําราไวยากรณเ ลมแรกท่ศี ึกษาภาษา ในแนววิทยาศาสตรแ ละวิเคราะหภาษาไดส มบรู ณท ี่สุด[ตองการอางอิง] ความสมบูรณของตํารา เลม นที้ ําใหเกดิ ความเชอื่ ในหมูพ ราหมณวา ตาํ ราไวยากรณสนั สกฤตหรือปาณนิ ริ จนานี้ สําเรจ็ ได ดวยอาํ นาจพระศวิ ะ อยา งไรกต็ าม นักภาษาศาสตรเ ชอื่ วาการวางแบบแผนอยางเครงครดั ของปาณิ นิ ถือเปน สาเหตุหน่ึงท่ที ําใหภ าษาสนั สกฤตตองกลายเปนภาษาตายอยางรวดเรว็ กอ น เวลาอันควร เพราะทําใหส นั สกฤตกลายเปนภาษาท่ถี กู จาํ กัดขอบเขต ( a fettered language) ดว ยกฎเกณฑ ทางไวยากรณท่ีเครง ครดั และสลบั ซับซอ น ภาษาสันสกฤตทไ่ี ดร บั การปรบั ปรงุ แกไ ขหลกั เกณฑใหดี ขน้ึ โดยปาณินินเี้ รียก อีกช่ือหน่ึงวา \"เลากกิ ภาษา\" หมายถงึ ภาษาที่ใชกับสง่ิ ทเี่ ปน ไปในทางโลก ๒. ภาษาสันสกฤตผสม ภาษาสันสกฤตผสม (Buddhist Hybrid Sanskrit or Mixed Sanskrit) เปนภาษา สันสกฤตทีน่ ักวชิ าการบางกลมุ ไดจ ดั ไวเปนพเิ ศษ เนื่องจากมคี วามแตกตางจากภาษาพระเวทและ ภาษาสนั สกฤตแบบแผน (ตนั ตสิ ันสกฤต) ภาษาสนั สกฤตแบบผสมน้คี ือภาษาทีใ่ ชบ นั ทึกวรรณคดี สนั สกฤตทางพระพุทธศาสนา ท้ังในนกิ าย สรรวาสติวาท และ มหายาน ภาษาสันสกฤตชนิดน้ีคาด

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๖ วา เกดิ ขนึ้ ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๓-๔ นกั ปราชญบ างทานถอื วา เกดิ ขึ้นรว มสมยั กับตันติสนั สกฤต คือ ในปลายสมัยพระเวทและตน ของยคุ ตนั ตสิ ันสกฤต โดยปรากฏอยูโดยสวนมากในวรรณกรรมของ พระพทุ ธศาสนามหายาน อาทิ พระสตู ร เชน ลลติ วสิ ตฺ ร ลงกฺ าวตารสูตฺร ปรฺ ชญฺ าปารมิตา สทธฺ รมฺ ปุณฺฑรีกสูตฺร และศาสตรอ นั เปน คาํ อธิบายหลักพุทธปรัชญาและตรรกวิทยา เชน มธฺยมิกการิกา อภิธรมฺ โกศ มหาปฺรชฺญาปารมติ าศาสตฺ รฺ มธยฺ านตฺ านคุ มศาสตฺ ฺร เปนตน ๑.๙ โครงสรา งมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั (มจร)8� Úพระมหาทพิ ย โอภาสโก ป.ธ.๙ (ขันแกว). อา งแลว เรอื่ งเดียวกนั .(หนา ๖๙).

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๑๗ ๑.๙.๑ ประวัตมิ หาวิทยาลยั 9�� มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั มหาวิทยาลัยสงฆแ หงคณะสงฆไ ทย เปน สถาบันการศึกษาชัน้ สูงของคณะสงฆ ซ่ึงสมเด็จบรมบพติ ร พระราชสมภารเจา สมเดจ็ พระ ปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัวไดท รงสถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ มชี ่อื เดมิ วา \"มหาธาตุวทิ ยาลยั \" และมีพระบรมราชโองการเปลีย่ นนามใหมว า \"มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั \" เมอื่ วนั ที่ ๑๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๓๙ โดยมีพระราชประสงคจะใหเ ปนอนสุ รณเ ฉลิมพระเกียรติยศ ของพระองคส ืบไป ดังปรากฏในประกาศพระราชปรารภในการกอพระฤกษส ังฆกิ เสนาศนร าช วิทยาลัยตอไปน้ี *พระราชปรารถในการกอพระฦกษส ังฆิกเสนาสนร าชวทิ ยาลยั *พระพิมลธรรม พระพิมลธรรม (ชอ ย ฐานทตฺตเถร) สนองพระราชปรารถ *ยุคริเริ่มการจัดการศึกษา *ยุคปรับปรุงและขยายการศกึ ษา *ยคุ รบั รองปรญิ ญาบตั รและสถานะของมหาวิทยาลัย ๑.๙.๒ พระราชปรารถในการกอ พระฦกษส งั ฆกิ เสนาสนร าชวิทยาลัย ศภุ มัสดพุ ระพุทธศาสนกาล เปน อดตี ภาค ลวงแลว ๒๔๓๙ พรรษา ปต ยบุ นั กาล จันทรคตนิ ิยม จุลศกั ราช ๑๒๕๘ วานระสังวัจฉระ ภทั รบทมาศ ชษุ ณปก ษ สับตมีดิถี รววิ าร สรุ ิ ยคติกาล รตั นโกสนิ ทร ศก ๑๑๕ กันยายนมาศ เตรสมะมาสาหะคณุ พิเศษ ปรเิ ฉทกาลกําหนด พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาจฬุ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยมหามงกฎุ บรุ ศุ ยรัต นราชรววิ งษ วรุตมพงษบรพิ ัตร วรขัตติยราชนิกโรดม จาตรุ ันตบรมมหาจกั รพรรดิราชสงั กาศอภุ โต สชุ าติสังสทุ ธเคราะหณี จักรกรีบรมนารถ มหามกฎุ ราชวรางกรู สจุ รติ มูลสสุ าธติ อรรคอุกฤษฐ ไพบูลยบรู พาดลู ยก ฤษฎาภินิหารสภุ าธิการรงั สฤษด์ิ ธญั ญลกั ษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค มหาช โนตมางคประนต บาทบงกชยคุ ล ประสทิ ธิ สรรพศุภผลอดุ มบรมสุขุมาล ทิพยเทพาวตารไพศาล เกยี รตคิ ณุ อดลุ ยพิเศษ สรรพเทเวศรานรุ กั ษ วสิ ิฐศักดิส์ มญา พนิ ิตประชานารถ เปรมกระมลขตั ตยิ ราชประยูร มลู มุขมาตยาภริ มย อดุ มเดชาธิการ บรบิ รู ณคณุ สาร สยามาทนิ ครวรุฒเมกราชดิลก มหาปรวิ ารนายก อนันตม หนั ตวรฤทธิเดช สรรพวเิ ศษศริ ินทร อเนกชนนกิ ร สโมสรสมมติ ประ สทิ ธวิ รยศมโหดม บรมราชสมบัติ นพปดลเสวตฉัตราดฉิ ตั ร ศิริรัตโนปลักษณมหา บรมราชาภเิ ศ กาภสิ ติ สรรพทศทศิ วชิ ติ ไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหนิ ทรมหารามาธิราชโรดม บรมนารถ- ชาติอาชาไศรย พุทธาทไิ ตรรตั นสรณารกั ษ อดลุ ศักดอิ์ รรคนเรศราธบิ ดี เมตตากรุณาสิ ÒÑ http://www.mcu.ac.th/site/history.php

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๑๘ ตลหฤไทย อโนปไมยบญุ การสกลไพศาล มหารัษฎาธบิ ดนิ ทร ปรมนิ ทรธรรมกิ ราชาธิราช บรมนา รถบพิตร พระจลุ จอมเกลา เจา อยูหวั ทรงพระดาํ รหิ วา “จําเดิมแตไ ดเสด็จเถลงิ ถวลั ยราชสมบัติบรมราชาภเิ ศกแลว มาไดท รงทะนบุ าํ รุงพระพทุ ธ ศาสนาใหถาวรรุงเรืองเจรญิ ขน้ึ โดยลาํ ดับ แตพ ระสัทธรรมในพระบรมพทุ ธสาสนานี้ ยอ มมเี หตุ ปจ จยั อาศรยั กันแลกัน เมอ่ื พระปริยตั ิสัทธรรมเจริญแพร หลายอยู พระปฏิบัตสิ ัทธรรม- จึง่ จะ เจริญไพบูลได เมอื่ พระปฏิบัติสัทธรรมไพบลู อยู พระปฏิเวทสทั ธรรมจงึ จะสมบูรณไ ด พระปรยิ ัติ สทั ธรรมยอมเปนรากเหงา เคามูลแหง พระสาสนา ๆ จะดาํ รงอยูแลเจรญิ ข้นึ กด็ วยพระปรยิ ตั ิ สทั ธรรม การท่จี ะบาํ รุงพระปรยิ ัตสิ ัทธรรม อันเปนรากเหงา ของพระพทุ ธสาสนาใหไพศาลบรบิ รู ณ ย่งิ ข้ึนก็ยอมอาศรัยการบาํ รุงใหมผี ูเลาเรยี นแลที่เลา เรียนใหส ะดวกยิง่ ขึ้น” การเลา เรยี นพระปริยัติสทั ธรรม ท่เี ปนไปอยูในเวลานนั้ กไ็ ดโปรดเกลาฯ ใหจัดการบาํ รุง ทัว่ ไปทกุ พระอาราม แตยังหาเปนอนั นบั วา บรบิ รู ณแทไม เพราะเปนแตสถานท่ีเลา เรียนในชั้นตน จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตั้งวิทยาลัยทจ่ี ะเลาเรยี นพระไตรปฎ กแลวชิ าชน้ั สงู ขึ้น ๒ สถาน ๆ หนึง่ เปน ทเ่ี ลาเรยี นของพระสงฆฝายธรรมยุตินิกาย ใหตัง้ ท่วี ัดบวรนิเวศวรวหิ ารพระอารามหลวง พระราชทานนามวา มหามกุฏราชวิทยาลัย เปนที่เฉลมิ พระเกียรติยศสมเดจ็ พระบรมชนกนารถ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูหวั อีกสถานหน่งึ เปน ที่เลา เรยี นของพระสงฆฝาย มหานิกาย ไดต งั้ ไวท ี่วัดมหาธาตรุ าชวรมหาวิหาร พระอารามหลวงนี้ มีนามวา \"มหาธาตวุ ิทยาลยั \" ไดเปด การ เลา เรยี น แตว นั ที่ ๘ พฤศจกิ ายน รัตนโกสินทร ศก ๑๐๘สืบมาแตสังฆิกเสนาสนสาํ หรบั มหาธาตุ วิทยาลัยน้ี ยงั ไมเ ปนท่ีสมควรแกการเลา เรียน ในสมยั ทก่ี ารเรยี นเจรญิ ขึน้ สบื มานี้ จึงทรงพระราชดาํ ริหท่จี ะทรงสรา งสงั ฆกิ เสนาสนส าํ หรบั มหาธาตุ วทิ ยาลัยนขี้ ึน้ ใหมใ หเปน สถานอนั สมควรแกก ารเลา เรยี นการน้ียังอยูใ นระหวา งพระบรมราชดาํ ริห ยงั หาทนั ตลอดไมพอ ประจวบ เวลาท่ี สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา ฟามหาวชิรณุ หิศ สยามมกุฎราชกมุ าร ซึ่งมพี ระ ราชประสูตกิ าล ณ วนั พฤหัสบดี เดอื นเจ็ดแรมสิบสองค่าํ ปขาน สมั ฤทธิศกจลุ ศกั ราช๑๒๔๐ตรง กบั วนั ท่ี ๒๗ มถิ นุ ายน รัตนโกสนิ ทรศก ๙๗ เสด็จสวรรคต ลว งไปในวันท่ี ๔ มกราคม รตั นโกสินทร ๑๑๓ ตรงกับวนั ศกุ ร เดือนยี่ ขึน้ เกาคาํ่ ปมะเมีย ฉศกจลุ ศกั ราช๑๒๕๖ จงึ ทรงพระราชดาํ รหิ วา โดยราชประเพณีทม่ี ีมาแตก อน เมอ่ื พระบรมวงศท่ไี ดดาํ รงพระ เกียรตยิ ศชน้ั สงู สวรรคต ก็ไดเ คยทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหทําพระเมรมุ าศขนาดใหญ ตามพระ เกยี รตยิ ศ ณ ทอ งสนามหลวง เพ่อื เชญิ พระศพไปประดิษฐาน พระราชทานเพลงิ ณ พระเมรมุ าศ นน้ั ก็การทําพระเมรุมาศขนาดใหญเ ชนเคยมาน้นั เปนการเปลอื งพระราชทรพั ยไปในสงิ่ ซ่งึ มิได ถาวร แลมไิ ดเปนประโยชนสืบเน่ืองไปนานเปนการลาํ บากแกค นเปนอันมากแลไดป ระโยชนช วั่ สมัย หนงึ่ แลวกอ็ ันตรธานไป ครัง้ นี้มสี มยั ทีจ่ ะตอ งทาํ การพระเมรมุ าศขนาดใหญนนั้ ขึน้ ควรจะนอมการทําพระเมรุมาศ น้ันมารวมลงในการพระราชกศุ ล สวนสาสนูปถัมภนกจิ วทิ ยาทาน วหิ ารทานการกอ สรา งสังฆิก เสนาสน สําหรบั มหาธาตุวิทยาลัยน้ี ใหพระราชกศุ ลบุญราศสี วนทกั ษิณาทาน เน่ืองในภารถาวร วัตถสถาน เปนท่ตี ้ังแหง สาสนธรรมสัมมาปฏิบัตแิ หงพทุ ธบริษัท สปั ปุริสชนสําเรจ็ ประโยชนอ ิฐวบิ ูล

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๑๙ ผลสืบเน่อื งไปตลอดกาลนานแล จะไดเ ปนเหตุใหงดเวนการทาํ พระเมรมุ าศขนาดใหญอ ันเปน เครื่อง เปลอื งประโยชนเปลาดงั พรรณนามาแลวนัน้ จึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ดาํ รสั ส่งั ใหพ ระเจา นองยาเธอ เจา ฟา กรมขุนนริศรานุ วัตติวงษ เปน ผูบัญชาการใหเจา พนักงาน ทาํ การกอ สรา ง วทิ ยาลัยยอดปรางค ๓ ยอด ลวนแลว ดว ยถาวรภณั ฑ อันมกี ําหนดสว นยาวแตท ิศเหนอื มาทศิ ใต ๘๘ วา สวนกวางในทศิ เหนือ แลทศิ ใต นั้น สว นละ ๘ วา ๓ ศอก สว นกลางต้งั แตทิศตะวันตก มาทิศตะวนั ออก ๒๕ วา สว นกวา งในมุข ใหญ ๑๑ วา สว นสูงในรวมมขุ ยอดใหญนั้น ๒๒ วา ในรวมยอดนอยทงั้ ๒ แหงละ ๑๖ วา ดว ยพระ ราชทรัพย ๕,๔๐๐ช่งั เพอื่ ไดเ ปน ท่เี ชญิ พระบรมศพ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชเจาฟา มหาวชริ ณุ หิศ สยาม มกฎุ ราชกมุ าร มาประดิษฐานบาํ เพญ็ พระราชกศุ ล ทักษณิ าทานมีการมหกรรมแลว จะไดเ ชญิ พระ บรมศพไปประดิษฐาน-ณ-พระเมรมุ าศขนาดนอ ยณทอ งสนามหลวงพระราชทานเพลิง เมอื่ การบําเพญ็ พระราชกุศลสว นนเ้ี สรจ็ แลว จะไดท รงพระราชอุทศิ ถวายถาวรวัตถนุ ้ี เปนสังฆิกเสนาสนสาํ หรับมหาธาตวุ ิทยาลยั เพ่อื เปนทีเ่ ลา เรยี นพระปรยิ ัติสัทธรรมแลวชิ าช้ันสูง สบื ไปภายหนา พระราช ทานเปลย่ี นนามใหมวา \"มหาจุฬาลงกรณร าชวิทยาลยั \"เพื่อใหเ ปนท่ีเฉลมิ พระเกียรติยศสืบไป พระเจานองยาเธอเจา ฟา กรมขุนนริศรานุวตั ติวงษ ไดทรงบญั ชาการใหเจาพนกั งานจบั การ กอ สรางจําเดมิ แตการรอ้ื ขนปราบแผว สวนทค่ี วรทําน้นั มาแตวนั ที่ ๒๔ เมษายน รัตนโกสนิ ทรศก ๑๑๔ บัดน้ี การทาํ รากสงั ฆิกเสนาสนราชวทิ ยาลยั นี้ แลว เสร็จควรจะวางศลิ าฤกษไ ด จง่ึ ทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ ใหบ รรจุคาํ ประกาศแสดงพระพระราชดําริหอันน้ี แลแผนท่รี ูปถายตัวอยา ง สงั ฆกิ เสนาสนนนั้ กับหนงั สือพิมพร าชกจิ จานเุ บกษา อันเปนหนงั สอื พมิ พร าชการในสมยั นี้ เลือกคดั แตฉ บับที่สมควรแลเหรียญท่รี ฤกในการพระราชพธิ ีตาง ๆ ท้ังทองเงนิ แลเบยี้ ทองแดงซ่งึ ใชอ ยู ปจจุบันนี้ ลงในหีบศลิ าพระฤกษแ ลวโปรดเกลา ฯใหน มิ นตพ ระสงฆ๑๐รูปมาเจริญพระพทุ ธมนต ในท่ีน้ี ณ เวลาเย็นวนั ท่ี ๑๒ กันยายน รัตนโกสนิ ทร ๑๑๕ รุงข้ึนเวลาเชา วนั ที่ ๑๓ กันยายน พระสงฆไดร ับพระราชทานฉัน เวลาบายพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห วั พรอ มดว ยพระ บรมวงษานุวงษ ขาทลู ลอองธุลีพระบาทผูใ หญผ ูนอยโดยเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ มา ณ ท่ปี ระชมุ น้ี ครัน้ ถงึ กําหนดศุภมหามงคลฤกษ ทรงวางศลิ าพระฤกษ และอฐิ ปดทอง ปด เงิน ปดนาคซ่งึ เปน อฐิ ฤกษลง ณ ท่ีอนั จะไดก อ สังฆกิ เสนาสนร าชวิทยาลยั เปนประถม โดยนิยมแหง โบราณราช ประเพณีแลว นายชางจะไดทําการตอไปใหส าํ เรจ็ โดยพระบรมราชประสงค ขอผลแหงพระบรมราชประสงคซ่งึ จะทรงบํารุงพระพุทธศาสนาใหส ถิตยส ถาพร และจะให วทิ ยาการแพรหลาย อันเปนทางมาแหง ประโยชนความศขุ ของมหาชนทวั่ ไปน้ี จงสําเร็จ โดยพระ บรมราชประสงค จงทุกประการ เทอญ. (คดั มาจากราชกิจจานเุ บกษา เลม ที่ ๑๓ แผนที่ ๒๕ วันท่ี ๒๐ กันยายน ร.ศ. ๑๑๕ หนา ๒๖๕ - ๒๖๘)

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๒๐ ๑.๙.๓ พระพิมลธรรม (ชอย ฐานทตฺตเถร) สนองพระราชปรารถ ในป พ.ศ. ๒๔๘๙ พระพิมลธรรม (ชอ ย ฐานทตฺตเถร) อธิบดีสงฆว ัดมหาธาตยุ วุ ราช รังสฤษฎิ์ รูปที่ ๑๕ มีความประสงคจ ะปรบั ปรุงการศกึ ษา ภายในสถาบันการศกึ ษาทเี่ ปนอยใู น ขณะนนั้ ใหเจริญกาวหนายง่ิ ข้ึน จงึ มอบหมายให พระมหาบุญเลศิ ทตตฺ สุทธฺ ิ ป.ธ.๘ (ปจ จุบันดาํ รง สมณศกั ดิท์ ่พี ระธรรมมหาวีรานุวตั ร) อาจารยแหงมหาธาตุวทิ ยาลัย และบรรณารกั ษหอ งสมุด มหาธาตุวิทยาลัย ซึง่ กาํ ลงั ปรบั ปรงุ กจิ การหองสมุดของมหาธาตุวิทยาลยั ไดช ว ยรวบรวมความ เปน มาดา นการจดั การศึกษาของมหาธาตุวทิ ยาลัยทั้งปวง เพือ่ เก็บไวเ ปน หลักฐานทางเอกสารของ มหาธาตุวทิ ยาลัยสืบไป เมื่อพระมหาบญุ เลิศ ทตฺตสุทธฺ ิ ไดไ ปตดิ ตอ กบั นายธนิต อยโู พธิ์ หวั หนา แผนกวรรณคดี ได ใหความอนเุ คราะหดว ยดี และไดขอความรวมมือจากนายยม้ิ ปณฑยางกูร หัวหนา กองจดหมาย เหตุ กรมศิลปากร ชว ยอํานวยความสะดวกอกี ตอหนึ่ง และไดพบเอกสารสาํ คัญทเ่ี กีย่ วกับ มหาจุฬา ลงกรณราชวทิ ยาลยั เอกสารทพ่ี บน้ี คอื ลายพระหัตถ ในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว ทรงมีไปถงึ หมอมเจาประภากร ลงวนั ท่ี ๒๓ กนั ยายนร.ศ.๑๑๕ ดงั จะขออัญเชญิ สําเนา ลายพระราชหัตถม าแสดงดังตอไปนี้ เมอื่ พระมหาบุญเลศิ ทตตฺ สทุ ธฺ ิ ไดพ บลายพระหัตถนแ้ี ลว ไดน ําสําเนาลายพระหตั ถไป ถวายพระพิมลธรรม (ชอย ฐานทตตฺ เถร) ซ่ึงพระพมิ ลธรรมไดนาํ เรื่องน้ีไปปรึกษาหารอื กับพระ เถรานเุ ถระในวดั มหาธาตยุ วุ ราชรงั สฤษฎิ์ และตางวัด โดยทกุ รปู เหน็ พองตอ งกันวา สมควร ที่จะได จดั การศกึ ษาของพระสงฆใ หเ ปนไปตามพระราชปณิธานท่ีลนเกลารชั กาลท่๕ี ไดทรงพระราชทาน ไว* ความนป้ี รากฏในสว นหนึง่ ของวทิ ยานิพนธครศุ าสตรมหาบณั ฑิตชื่อเรือ่ ง\"พฒั นาการของ มหาวทิ ยา ลยั สงฆในประเทศไทย\" ของ นายมนสั เกดิ ปรางค, พ.ศ. ๒๕๒๗.) จนกระทง่ั ในที่สุดพระ พมิ ลธรรม (ชอย ฐานทตฺตเถร) จึงไดม หี นังสือนมิ นตพ ระเถระทง้ั จากวัดมหาธาตุ และวดั อ่นื ๆ จํานวน ๕๗ รปู และฆราวาสอีกจํานวนหน่ึงมาประชุมกัน ณ หอปรยิ ัติ วดั มหาธาตฯุ ในวนั จันทรที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๔๘๙ เวลา ๑๗.๐๐ น. โดยถอื เปน การประชุมท่ีดว นมาก และลับเฉพาะ จะ สังเกตเหน็ ไดชัดกค็ อื หนังสือนดั ประชุมออกเมื่อวันท่ี ๒๒ ธนั วาคม เพอื่ นมิ นตเ ขาประชุมวนั ท่ี ๒๓ ธนั วาคม เปนการออกหนงั สอื เชญิ ลวงหนาเพยี งหนง่ึ วนั เทานั้นดังปรากฏตวั อยางหนงั สือเชิญ ประชมุ ดงั นี้ ผูที่ไดร ับอาราธนาหรอื เชญิ เขาประชุมคร้งั นี้ ประกอบดวยทงั้ ฝายบรรพชิต ๗ รูป และ ฆราวาส ๔ คน ซึ่งทกุ ทา นจะไดรบั เอกสารบนั ทึกโครงการปรับปรุงมหาธาตวุ ทิ ยาลยั หรือ มหาจฬุ า ลงกรณราชวทิ ยาลยั จดั ทาํ โดยหลวงวิจติ รวาทการซงึ่ หลวงวจิ ิตรวาทการใหถอื วา บนั ทกึ น้เี ปน ความลบั และอา นไดเ ฉพาะผทู ี่ไดร ับเชิญมาประชุมเทา นั้น ๑.๙.๔-ยคุ ริเรมิ่ การจัดการศึกษา

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๒๑ เพอ่ื สืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว ดานการ พฒั นาบคุ ลากรของประเทศใหมีความรู ความเขาใจ สามารถนาํ มาประยกุ ตใชในชีวติ ประจาํ วนั มี ความสามารถในการรักษา และเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาใหมคี วามมัน่ คงย่ิงขนึ้ พระพิมลธรรม ( ชอย ฐานทัตตมหาเถร) อธบิ ดสี งฆวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์ิ ในสมัยนน้ั จงึ จัดประชุมพระเถรานเุ ถระ ฝา ยมหานกิ าย จาํ นวน ๕๗ รปู เม่ือวนั ที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๐ และประกาศใหมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลยั ดาํ เนนิ การจดั การศกึ ษาพระไตรปฎ กและวิชาชั้นสงู ในระดับมหาวิทยาลัย เปด สอน ระดับปรญิ ญาตรี คณะพทุ ธศาสตรเ ปน คณะแรกเม่ือวันท๑ี่ ๘กรกฎาคมพ.ศ.๒๔๙๐และมีพัฒนาการ ตามลาํ ดับดังนี้ • พ.ศ. ๒๕๐๐ ปรับเปลีย่ นระบบการวดั ผลมาเปนระบบหนว ยกติ โดยกําหนดใหนิสิตตอง ศกึ ษา อยา งนอ ย ๑๒๖ หนวยกิตและปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ ๑ปก อ นรบั ปรญิ ญาบัตร • พ.ศ.๒๕๐๕ เปดสอนคณะครุศาสตร • พ.ศ. ๒๕๐๖ เปดสอนหลกั สูตรแผนกอบรมครศู าสนศึกษา ระดบั ประกาศนยี บตั รและ เปดสอน คณะเอเซยี อาคเณยแ ละเปลยี่ นเปน คณะมานษุ ยสงเคราะหศ าสตรเมอื่ พ.ศ.๒๕๑๖ • พ.ศ.๒๕๑๒ ปรบั หลกั สูตรแผนกอบรมครูศาสนศึกษาเปนวทิ ยาลยั ครศู าสนศึกษา และ ปรับเปล่ียนหนวยกติ เปน ๒๐๐ หนว ยกติ การจดั การเรยี นการสอนชว ง ๒ ทศวรรษแรก ยังไมไ ดร บั การสนบั สนนุ จากคณะสงฆแ ละ รฐั เทาท่ีควร ทาํ ใหป ระสบปญ หาดานสถานะของมหาวิทยาลยั และงบประมาณเปนอยางมาก แตก็ สามารถจัดการศกึ ษามาไดอ ยางตอเน่ือง ๑.๙.๕-ยคุ ปรบั ปรงุ และขยายการศึกษา • พ.ศ.๒๕๑๒ คณะสงฆ โดยมหาเถรสมาคม ไดอ อกคําสง่ั มหาเถรสมาคม เร่ือง \" การศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๑๒ \"และเรอื่ ง\" การศกึ ษาของสงฆ พ.ศ. ๒๕๑๒ \" คาํ สั่งท้ัง ๒ ฉบบั นี้ สงผลใหมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยมสี ถานะเปน สถาบนั การศกึ ษาของคณะสงฆไทยโดย สมบรู ณ • พ.ศ.๒๕๒๑ เรม่ิ ขยายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปยังสว นภูมิภาค เรม่ิ ต้ังวทิ ยา เขตแหงแรกท่ี จังหวัดหนองคาย และไดขยายไปยงั จังหวดั อืน่ ๆ ที่มคี วามพรอ มดา นบคุ ลากร งบประมาณ อาคารสถานท่ี ปจจุบันมหาวทิ ยาลยั มีวิทยาเขตในกาํ กบั ดูแล ทั่วประเทศ ๑๐ แหง วทิ ยาลยั สงฆ ๔ แหง และ ศูนยการศึกษา ๑ แหง คือ • พ.ศ. ๒๕๒๖ มหาวทิ ยาลัยไดป รับปรงุ โครงสรางหลกั สูตรระดบั ปริญญาตรใี หม โดยลด จํานวนหนวยกิตจาก ๒๐๐ หนว ยกิต ใหเหลือเพยี ง ๑๕๐ หนว ยกติ และปรบั ปรงุ ระบบการบรหิ าร วชิ าการใหม โดยแบงออก เปน ๔ คณะ คอื คณะพุทธศาสตร คณะครุศาสตร คณะมนษุ ยศาสตร และ คณะสังคมศาสตร

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๒๒ ๑.๙.๖ -ยุครบั รองปริญญาบตั รและสถานะของมหาวทิ ยาลัย • พ.ศ. ๒๕๒๗ รฐั บาล โดยการนําของ ฯพณฯ พล.อ. เปรม ติณสลู านนท ไดดําเนนิ การ เสนอรางพระราชบัญญัตกิ ําหนดวทิ ยฐานะ ผูสาํ เรจ็ วิชาการพระพุทธศาสนา โดยรฐั สภาไดใหค วาม เห็นชอบ และพระบาทสมเด็จพระเจา อยหู วั ไดทรงลงพระปรมาภิไธย แลว ประกาศใชเปน กฎหมายตง้ั แตว นั ท-ี่ ๒๗-กนั ยายนพ.ศ.๒๕๒๗เปนตนมามผี ลทาํ ใหผ ูสาํ เรจ็ การศึกษา จากมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั มีศกั ดแิ์ ละสิทธิแหงปรญิ ญา เชนเดียวกับผูสําเรจ็ การศกึ ษาในระดับเดียวกนั จากสถาบนั การ ศกึ ษาอืน่ ๆที่รฐั ใหการรับรอง • พ.ศ.๒๕๓๔ มหาวทิ ยาลัยไดจ ดั ตง้ั ศูนยการศกึ ษาทว่ี ดั ศรสี ุดาราม เขตบางขนุ นนท กรงุ เทพฯ ซึ่งปจจบุ ันใชเ ปน สถานที่ ศึกษาของนิสิตปท ี๑่ -๔ของคณะครุศาสตรมนษุ ยศาสตร สังคมศาสตร • พ.ศ.๒๕๓๕คณะกรรมการการศึกษาของสงฆ ซึ่งมีสมเดจ็ พระสังฆราชทรงเปน ประธานได ออกระเบียบคณะกรรมการการศกึ ษาของสงฆ วาดวยการจดั การศกึ ษา มหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยมหาวิทยาลยั สามารถจัดการศกึ ษา และการบริหารใหเปนไปตามระบบ สากล(คณะเอเซียอาคเณยและเปลี่ยนเปนคณะมานษุ ยสงเคราะหศาสตรเ มือ่ พ.ศ.๒๕๑๖) • พ.ศ. ๒๕๔๐ แมมหาวทิ ยาลัยจะมี พ.ร.บ. กําหนดวิทยฐานะของผสู าํ เรจ็ วชิ าการ พระพทุ ธศาสนา พ.ศ. ๒๕๒๗ แลวกต็ ามแตกย็ ังไมมีการรบั รองสถานะภาพ ความเปน นิตบิ คุ คล ของมหาวทิ ยาลัยเหมือนมหาวทิ ยาลยั ทว่ั ไป จงึ ทาํ ใหไมส ามารถขยาย การจดั การศกึ ษาในระดบั ปริญญาโทและปรญิ ญาเอกตามวัตถปุ ระสงคและนโยบายของมหาวิทยาลยั ได ดงั น้ันจงึ มคี วามพยายามในการผลักดนั ใหม ีการดาํ เนนิ การตามกฎหมายหรอื พระราชบัญญตั ิ มหาวทิ ยาลัยเปน การเฉพาะ โดยใชเ วลาในการดาํ เนนิ การเปนเวลานานถงึ ๕๐ ป จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๔๐ รัฐบาล โดยการนาํ ของ ฯพณฯ พล.อ ชวลติ ยงใจยุทธ ไดเสนอใหรัฐสภาตรา พระราชบญั ญตั มิ หาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั โดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ภมู ิ พลอดลุ ยเดชมหาราช ไดท รงลงพระปรมาภิไธยเมือ่ วนั ท่๒ี ๑กันยายนพ.ศ. ๒๕๔๐ และ ประกาศใน ราชกิจจานเุ บกษาเมือ่ วันที๑่ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ สงผลใหมหาวิทยาลัย มีพระราชบัญญตั ิรบั รอง สถานภาพเปน มหาวิทยาลยั ของรฐั ในกํากับของรฐั บาลและเปน นติ ิบคุ คลทไ่ี มเ ปนสว นราชการและ ไมเ ปนรฐั วสิ าหกิจ เนน จดั การศึกษาวิชาการดา นพระพุทธศาสนา ต้งั แตน้นั เปน ตน มา

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๒๓ ๑.๑๐ โครงสรา งมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย (มมร)10�� ÒÒพระมหาทพิ ย โอภาสโก ป.ธ.๙ (ขันแกว). อางแลวเร่อื งเดียวกัน.(หนา ๗๐).

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๒๔ ๑.๑๐.๑-ประวัติมหาวิทยาลัยมกฏราชวิทยาลัย11�� มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย มีพันธกิจดา นการผลติ บัณฑติ งานวจิ ัย งานบรกิ าร วชิ าการแกชมุ ชน และงานทํานุบํารุงศิลปวฒั นธรรมตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย เม่ือวนั ที่ ๑ ตลุ าคม พุทธศักราช ๒๔๓๖ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูหวั รชั กาลที่ ๕ ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหต ้งั วทิ ยาลยั ขึน้ ในบริเวณวัดบวรนิเวศวหิ าร พระราชทานนามวา “มหามกุฏราชวิทยาลัย” โดยมพี ระราชประสงคเ พ่ือเปนทศ่ี กึ ษาเลาเรียนของ พระภิกษสุ ามเณร ทรงอุทศิ พระราชทรัพยบ าํ รุงประจําปแ ละกอสรา งสถานศึกษาวทิ ยาลัยแหง นี้ขึน้ ครัน้ เมือ่ วนั ที่ ๒๖ ตลุ าคม พทุ ธศักราช ๒๔๓๙ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั ไดเสดจ็ มาเปดมหามกุฏราชวิทยาลัย พระองคทรงรบั มหามกุฏราชวิทยาลยั อยใู นพระบรมราชปู ถมั ภแ ละ พระราชทานพระราช ทรพั ยสวนพระองคบํารุงประจําป อาศัยพระราชประสงคดงั กลาว สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส จึงทรงตง้ั วัตถปุ ระสงค เพื่อดําเนินกจิ การของ มหาม กุฏราชวิทยาลัยขน้ึ ๓ ประการ คือ ๑. เพื่อเปนสถานศึกษาของพระภิกษสุ ามเณร ๒. เพ่ือเปนสถานศกึ ษาวทิ ยาการอันเปน ของชาตภิ ูมแิ ละของตา งประเทศ ๓. เพอื่ เปนสถานทีเ่ ผยแผพระพุทธศาสนา เมอ่ื กจิ การของมหามกุฏราชวทิ ยาลัยไดเ ปดดาํ เนินการแลว ปรากฏวาพระวัตถปุ ระสงค เหลาน้ันไดร ับผลเปนทีน่ า พอใจตลอดมา เพอื่ จะใหพระวัตถปุ ระสงคเ หลาน้นั ไดผ ลดีย่งิ ข้ึน ดังนัน้ ในวันท่ี ๓๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ ในฐานะท่ที รง เปน นายกกรรมการ มหามกุฏราชวิทยาลัยพรอมดวยพระเถระนุเถระ จึงไดท รงประกาศตง้ั สถาบนั การศกึ ษาชน้ั สงู ในรูปมหาวทิ ยาลัยพระพุทธศาสนาขน้ึ โดยอาศัยนามวา สภาการศกึ ษา มหามกฏุ ราชวิทยาลัย โดยมจี ดุ มงุ หมายดงั น้ี ๑. เพ่ือใหเปนสถานศึกษาพระปริยัตธิ รรม ๒. เพือ่ ใหเปนสถานศกึ ษาวทิ ยาการอนั เปน ของชาตภิ ูมแิ ละตา งประเทศ ๓. เพือ่ ใหเ ปน สถานเผยแผพ ระพุทธศาสนาทั้งในและนอกประเทศ ๔.เพอื่ ใหภิกษสุ ามเณรมคี วามรแู ละความสามารถในการบําเพญ็ ประโยชนแกประชาชน ๕. เพือ่ ใหภิกษสุ ามเณรมคี วามรู และความสามารถในการคน ควา โตต อบ หรอื อภปิ รายธรรม ไดอยางกวางขวางแกช าวไทยและชาวตางประเทศ ๖.เพอ่ื ใหภ ิกษสุ ามเณรไดเ ปน กาํ ลังสําคัญในการจรรโลงพระพุทธศาสนา และเปนศาสน ทายาทท่ีเหมาะแกก าลสมัย ๗. เพื่อความเจรญิ กาวหนา และคงอยตู ลอดกาลนานของพระพทุ ธศาสนา ท้งั นี้ ��http://www.mbu.ac.th/index.php?option=com_content&task=blogsection&id=๑๒&Itemid=๕๐

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๒๕ ภายใตก ารบรหิ ารของคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา กรรมการสภาการศกึ ษามหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั สถาบันการศกึ ษาแหง นี้ ไดเ ริม่ เปด ใหการอบรมศกึ ษาแกภิกษสุ ามเณร ตัง้ แตว ันท่ี ๑๖ กนั ยายน-พ.ศ.-๒๔๘๙จนถงึ ปจจุบัน เหตุผลท่ีทําใหส มเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ ทรงพระดาํ รจิ ัดต้ังมหามกฏุ ราชวิทยาลยั ฯ น้ัน ปรากฏ ในรายงานประจาํ ปข องมหามกุฏราชวิทยาลัย วาพระเถรานุเถระท้งั หลาย มคี วามประสงคในการ จดั ตงั้ วิทยาลัยเปน ที่ฝกสอนพระปรยิ ตั ธิ รรมแลอักขระสมยั ของภกิ ษสุ ามเณรแลศิษยว ดั นั้น ดว ย เหน็ วา ธรรมเนยี มในประเทศนี้ วดั ทงั้ หลายเปน โรงเรยี นท่ศี ึกษาวชิ าความรขู องราษฎรพลเมือง ตัง้ ตนแตเรยี นอักขระฝก กิริยามารยาทตลอดจนถึงเรยี นพระปริยัตธิ รรม บรรดาราษฎรมีบุตรหลานก็ นาํ เขามาฝากเปน ศิษยวดั ใหเรียนวชิ าความรู จนถงึ เติบใหญอ ุปสมบทเปน ภิกษุ บางพวกกไ็ ดอยูไ ป จนเปน คณาจารยปกครองกันตอ ๆ ไป บางพวกอยสู มควรแกศรทั ธาแลว ก็ลาสกิ ขาบทสกึ ไป ประกอบการหาเล้ียงชพี ของตนในทางฆราวาส มธี รรมเนียมเปน พนื้ เมืองมาดงั นี้ วธิ กี ารปกครองของวัดนั้น ไมไดจดั เปน ชน้ั ตามสถานท่ี วา สถานทีน่ ้ันสอนช้นั สูง สถานที่นนั้ สอนชนั้ ตา่ํ ดทู ว งทเี หมอื นในวัดหนึ่งจะมีทง้ั ช้นั สูงชัน้ ตาํ่ คอื ราษฎรนําบุตรหลานเขามาฝากภิกษุ สามเณร ใหเ รียนอกั ขระแลฝก กรยิ ามารยาทเปนตน การฝกสอนชั้นนจี้ ัดวา เปนชน้ั ตา่ํ การฝกสอน ภิกษุสามเณรใหเลา เรยี นมคธภาษากด็ ี ใหเลา เรียนพระปริยัตธิ รรมกด็ ี การศกึ ษาชั้นนจี้ ัดวาเปน ชัน้ สูง แตการหาดําเนินไปโดยเรียบรอ ยดงั วธิ ีท่ีจดั ไม เพราะขอ ขดั ขวางดงั ตอ ไปน้ี ราษฎรผจู ะนาํ บุตรหลานมาฝากตอภกิ ษุสามเณรในวดั น้นั ๆ ก็ฝากในสํานกั ทีต่ นรจู กั คุนเคย ภกิ ษสุ ามเณรผูเปนอาจารยน ้ัน บางรูปก็มคี วามรูมาก บางรปู ก็มคี วามรนู อ ย ท้ังไมมหี ลกั สตู รแหง การเลา เรยี นวาถึงไหนจัดเปนใชไ ด ความรูของศิษยจึงไมเสมอกัน ต้ังแตก รมศกึ ษาธิการจัดหลกั สตู ร สาํ หรบั สอนความรขู ้นึ แลว การเลา เรยี นจึงมีกาํ หนด แตเพราะความรขู องภกิ ษุสามเณรผูเปน อาจารยไมเสมอกัน ทัง้ ความนิยมของเด็กผเู ลาเรยี นกด็ ี ของผูใหญของเดก็ ก็ดี เปน แตเพียงอานได เขยี นไดเ ทา นั้นกพ็ อประสงค ความรขู องนกั เรียนทีอ่ อกจากวดั จงึ ยังจัดวา ถงึ กาํ หนดแทไ มได สวนการเลา เรียนมคธภาษานนั้ แตเ ดิมไมบ ังคับ แลวแตใครสมคั รจะเรยี น ในทกุ วนั นค้ี วาม นยิ มในการเลาเรยี นมคธภาษานอยลง ดวยผูท่มี าบวชเปนภิกษุสามเณรจะหาผทู ่ีมศี รัทธาแทเปน อัน ยาก ท้งั พน้ื เดิมกเ็ ปนคนขัดสน ตอ งการแตความรูท ี่จะใหผ ลเปน เครือ่ งเล้ยี งชีพไดโดยประจกั ษตา ไมต อ งการความรูท่ีเปน อาภรณข องบุรษุ หรือความรทู เ่ี ปน เครอื่ งเจริญผล โดยเพม่ิ สติปญ ญา สามารถ แลวิธีฝกสอนเด็กก็เปนการเน่นิ ชา หากจะมีผูอ ุตสาหะเรียนบา ง จะหาอาจารยผูบ อกใหรู จรงิ เห็นจริงก็ไดยาก ทง้ั ผเู รยี นจะชาํ นาญในภาษาของตนมากอ นก็ไดโดยยาก หลกั สูตรก็มากชนั้ แลการสอบความรกู ็หา ง ตอลว งหลายปจึงสอบครง้ั หน่งึ ดว ยอาศัยเหตุเหลา น้ี จึงมอี าจารยส อนให รจู ริงเหน็ จรงิ ไดน อ ยตัว เรียนไมท นั รูละทิง้ ไปเสยี ก็มี บางทเี รยี นรูพอจะสอบความรไู ด อยไู มถึงกาล สอบก็มี เขาสอบจนเปนบาเรียนแลวกม็ ี แตจ ะหาผูส อบไดจ นจบหลักสตู รไดน อยถงึ นับตวั ถวน เพราะหลักสูตรทีต่ ้ังไวม ากเกิน เมอ่ื ความเลา เรยี นเสื่อมทรามไป ผูเปนบาเรยี นเพียง ๔ ประโยค ๕ ประโยค กก็ วา งขวางมีผูน บั หนา ถอื ตาแสวงหาลาภผลเล้ียงตวั พอต้งั ตวั ไดแลว กไ็ มค ดิ ท่ีจะเปน

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๒๖ นกั เรียนตอ ไป บางรูปกร็ บั ตําแหนงพระราชาคณะปกครองหมคู ณะเสยี ในระหวา งยงั ไมท นั ไดแ ปล จบหลักสตู ร อาศัยเหตนุ ี้ การเรียนมคธภาษาจึงไมเ จริญทนั เวลาท่เี ปน อยบู ัดนี้ และพระองคไดท รงอธิบายขยายความของวตั ถปุ ระสงคทง้ั ๓ประการไวดงั นี้ ๑. การเลาเรยี นของภกิ ษสุ ามเณรนน้ั ประเพณเี ดมิ เคยเรยี นมูลปกรณก อ น แลวจึงเรยี นอรรถ กถาธรรมบท มังคลตั ถทปี นี สารัตถสังคหเปนตน ถงึ กาํ หนด ๓ ป มกี ารสอบปริยัตธิ รรม ครงั้ หนึง่ บางคราวถา ขัดของกเ็ ลื่อนออกไป ถึง ๖ ปค ร้ังหนึ่ง หนงั สือสําหรบั สอบนนั้ มี ๒ อยาง สาํ หรบั ฝา ย ไทยอยา ง ๑ สําหรบั ฝายรามญั อยา ง ๑ สาํ หรบั ฝา ยไทยนั้นจัดเปน ๙ ช้ัน อรรถกถาธรรมบท แบง เปน ๓ ชัน้ คอื ช้นั ที่ ๑ ช้ันท่ี ๒ ชั้นท่ี ๓ มงั คลตั ถทปี นีบ้ันตน ช้ันท่ี ๔ สารตั ถสังคหช้ันท่ี ๕ สา รตั ถทปี นฏี กี าพระวินัยชนั้ ที่ ๙ ภกิ ษุสามเณรผูจะสอบความรู จับประโยคแลว รบั หนงั สอื ตาม ประโยคมาดูเสรจ็ แลว เขาไปแปลในทป่ี ระชมุ พระราชาคณะดวยปาก ตามเวลาทกี่ าํ หนดให ถา แปลไดตลอดประโยคในเวลาท่กี าํ หนดไวนนั้ จัดเปน ได ถา ครบกาํ หนดเวลาแลว ยังแปลไมตลอด ประโยค จัดเปน ตก ผูท่สี อบไดตัง้ แตช้ันที่ ๓ ขนึ้ ไป จงึ นับวาเปน เปรียญ แมสอบช้ันท่ี ๑ ชนั้ ท่ี ๒ ได แลว ถาตกชั้นที่ ๓ ก็นบั วาตก ถงึ คราวหนา จะเขา แปลใหมตอ งแปลตงั้ แตช ัน้ ท่ี ๑ ข้นึ ไปอีก ฝา ย รามัญน้ันจดั เปน ๔ ชั้น บาลมี หาวภิ งั ค คอื อาทกิ ัณฑ หรือปาจิตตยี อ ยางใดอยางหนงึ่ ตามแตจะ เลอื ก เปน ชน้ั ที่ ๑ บาลีมหาวิภงั คหรอื จลุ ลวคั ค อยา งใดอยา งหน่ึงตามแตจ ะเลอื ก เปน ชัน้ ที่ ๒ บาลี มุตตกวินยั วินจิ ฉยั เปน ชั้นที่ ๓ ปฐมสมนั ตปาสาทกิ าอรรถกถาพระวนิ ัย เปนชัน้ ท่ี ๔ แปลเปนภาษา รามัญ แตตองบอกสัมพันธด ว ย ถาแปลไดต ้ังแตช้ันที่ ๒ ข้ึนไป จงึ นับวาเปน เปรียญ เปรยี ญเหลา นี้ ถา ยังไมไ ดแ ปลถึงช้ันท่ีสดุ หรอื ยงั ไมไดรับตาํ แหนงยศเปนพระราชาคณะ แมถงึ จะมพี รรษายุกาล มากก็ยงั นับวามีหนาที่จะตองแปลชน้ั สงู ขึน้ ไปอกี ตอ เมอื่ ใดแปลถึงชนั้ ที่สุดแลวกด็ ี ไดรบั ตาํ แหนง ยศเปน พระราชาคณะในระหวางนน้ั กด็ ีจึงนับวาส้ินเขตทจ่ี ะแปลหนงั สืออีก ภิกษุสามเณรผูเ ร่ิมเรียน กวาจะเรยี นจบมูลปกรณก ็ชานาน มกั เปน ท่รี ะอาเบอ่ื หนา ยแลวละ ทิ้งเสีย แมถึงเรยี นตลอดบา งก็ไมเขา ใจตลอดไปได เพราะธรรมดาคนเรียนใหม ไมอ าจเขา ใจฉบับ เรียนทพี่ สิ ดารใหตลอดไปได จะกาํ หนดจําไดแตเ พยี งพอแกสติปญญา เหมอื นเด็กนอ ยท่ีผใู หญปอน อาหารคาํ โตกวา ปากขน้ึ ไปรบั บริโภคไดพอประมาณ ปากของตนฉะนนั้ ทานผูช ํานาญในวธิ สี อนบาง ทา นจงึ ไดคดิ แตงวธิ ีสอนผูเริ่มเรยี นใหม เรียกช่อื วาบทมาลา ยอบา ง พสิ ดารบาง ตามความประสงค ของทาน สาํ หรับสอนแทนมูลปกรณ เพ่อื จะใหเ วลาเรยี นเรว็ ข้ึน สวนการเรยี นนน้ั สถานทหี่ น่งึ ก็มี ครูคนหนึ่งสอนนกั เรยี นทุกชน้ั ไมไ ดป นเปนแผนก จึงหาครทู ม่ี ีความรพู อจะสอนไดตลอดเปน อันยาก ท้ังเปน ทลี่ ําบากของครูผสู อนจะสอนนั้นดวย สวนกําหนดเวลาสอบความรู ๓ ปคร้งั หนงึ่ หรอื ๖ ป คร้งั หน่งึ นัน้ เปน การนาน ผทู ี่เรียนมีความรูพอจะสอบได แตยังไมถ งึ สมัยที่จะสอบ หรอื ผูท่ีสอบตก แลว มักสิ้นหวังท่จี ะรอคอยคราวสอบครง้ั หนา แลนักเรยี นคนหนง่ึ สอบคราวหน่งึ ก็ไดไ มก ช่ี ้นั นกั จงึ ไมใ ครจ ะมีเปรยี ญประโยคสงู จะหาครทู ส่ี อนหนงั สอื ชนั้ สงู ๆ ไดก ย็ ากเขา ทุกที ถงึ จะมีผสู อบชนั้ สงู ไดบ าง ก็คงตอ งรับตาํ แหนงยศพระราชาคณะเสยี ในระหวา งยังไมทนั สอบชนั้ สูงดวยเหตุจํา เปน มี จะตองเปนเจาอาวาสเปน ตน เม่อื เปนฉะนี้กไ็ มคอ ยมีนกั เรียนทสี่ อบไดถ งึ ช้นั ที่สุดตามแบบท่ีตง้ั ไว

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๒๗ สวนการแปลดวยปากนัน้ สอบวนั หน่งึ ไมไ ดกรี่ ปู กวา จะจบการสอบคราวหนึ่งถงึ ๓ เดือน เม่อื เปน เชนน้ี จะกาํ หนดการสอบใหเร็วเขา มากไ็ มไ ดอยเู อง แลเปรยี ญท่สี อบความรูไ ดถ ึงชัน้ นนั้ ๆ แลว กม็ ี ความรพู ออานหนังสือเขาใจไดเ ทาน้นั ผสู อบยังทราบไมไ ดวา เปนผูทรงธรรมวินัย สมควรจะ ปกครองหมูคณะแลวหรอื ไม อาศัยเหตผุ ลทกี่ ลาวมานกี้ ารเรยี นพระปรยิ ตั ิธรรมของภกิ ษสุ ามเณรจึง นับวาเจริญดแี ลว ยงั ไมไ ด เพือ่ จะคิดแกไ ขใหการเลา เรียนพระปรยิ ัตธิ รรมของภกิ ษุสามเณรเจรญิ ดีขึ้นทันเวลา ที่ เปนอยบู ัดนี้ วิทยาลยั จึงไดจัดวิธีสอนแลสอบความรดู งั น้ี ในเบอ้ื งตน ใหเรยี นบาลไี วยากรณ ซง่ึ เปน หนงั สอื ชนิดเดียวกับบทมาลา แลวจงึ ขน้ึ คัมภีรตอ ไป แบบท่ีสําหรบั สอบความรนู ้ัน บาลีไวยากรณ เปน ช้นั นกั เรียนที่ ๓ อรรถกถาธรรมบท ความนทิ าน เปน ชั้นนักเรยี นที่ ๒ แกก ถาธรรมบทบ้นั ปลาย เปน นกั เรียนชน้ั ที่ ๑ แกกถาธรรมบทบ้ันตน เปนช้ันเปรยี ญท่ี ๓ (ตอ ไปถามีกาํ ลงั จะพมิ พมังคลตั ถ ทีปนีได จะใชเ ปนแบบสําหรบั สอบชั้นเปรียญที่ ๓) พระบาลีพระวินัยมหาวคั คและจลุ ลวงั คค กบั บาลพี ระอภิธรรมบางเลม เปน ชน้ั เปรยี ญท่ี ๑ กาํ หนดสอบไลทุกป วิธสี อบไลน้ันใชเขยี น แตย อมให ผิดไดไ มเ กนิ กําหนด ถา ไดชนั้ ไหนแลวกเ็ ปนอนั ได วทิ ยาลยั ไดร ับพระบรมราชานุญาตใหสอบไลได โดยวิธที ่ีจดั นเ้ี ปน สวนพเิ ศษ ๒. การทีป่ ระชุมชนจะเขา ใจในพระพทุ ธศาสนาไดช ดั เจนมอี ยู ๓ ทาง คือ ดว ยไดฟ ง ธรรม เทศนา ดว ยไดส นทนาธรรม ดว ยไดอ า นหนงั สือที่เปน คําสง่ั สอน การเทศนานัน้ มีที่วดั ตามกาํ หนด วนั พระบาง มที โี่ รงธรรมในทีน่ นั้ ๆ บา ง มดี ว ยกิจนมิ นตใ นมงั คลามงั คลสมัยบา ง เทศทจ่ี ดั ตาม กําหนดวนั พระนัน้ จะไดฟ ง กแ็ คคนทเ่ี ขา วัดเทา นัน้ สว นเทศนาในโรงธรรมน้นั ต้งั ขึน้ ท่ีไหนกม็ แี ตค น ในจงั หวดั น้ัน และมกั จะเทศนาแตเรอื่ งนิทานนยิ ายอะไรตา ง ๆ ไมเ ปนทางทจี่ ะใหเ ขาใจใน พระพทุ ธศาสนาดขี ้นึ การเทศนาดวยกิจนิมนตในมังคลามังคลสมยั นน้ั กม็ กั มแี บบไวส ําหรบั พิธนี ้ัน ๆ ใครเคยฟงเรอ่ื งใดกฟ็ งเรอ่ื งน้ันซ้าํ ๆ อยนู นั่ ไมคอ ยจะไดฟง เรื่องทแ่ี ปลกจากน้ัน สว นการสนทนา ธรรมนนั้ เปนทางท่จี ะเขาใจในพระพุทธศาสนาไดช ัดเจน เพราะผฟู งถามขอ ทีต่ ัวไมเขา ใจหรอื สงสยั อยูได แตจะหาผูท ี่เขาใจในการสนทนาน้ยี ากยงิ่ นกั สวนการอานหนงั สอื ทเ่ี ปน คาํ สั่งสอนนน้ั เปนที่ เขา ใจในพระพุทธศาสนาไดด ีกวาฟง เทศนา เพราะอานเองมีเวลาท่จี ะกําหนดตรกึ ตรองไดตามชอบ ใจ และถาจาํ ไดแลวลมื เสยี กลับดูอกี กไ็ ด แตหนังสือท่สี ําหรับจะอา นเชนนน้ั ยังไมม ีแพรหลายพอท่ี ประชมุ ชนจะแสวงหา ไวอ านได หนังสือท่มี อี ยูแลวกย็ ังไมไ ดแ สดงคําสอนในพระพุทธศาสนาให สิ้นเชิง เปน แตแ สดงบางขอความตามประสงคของผแู ตงหนงั สือนนั้ ๆ ความยินดีในธรรมของคนก็ ตา งกนั บางคนยนิ ดใี นธรรมทีล่ กึ ซึ้ง บางคนยนิ ดใี นธรรมทไี่ มลึกซ้ึง ถา ถูกอัธยาศัยก็พอใจอา น ถา ไม ถูกอัธยาศยั กไ็ มพอใจอา นหนงั สือสาํ หรับส่ังสอนประชุมชนควรจะมหี ลายอยา งตามอัธยาศัยของคน ตา งๆกนั ในการทจี่ ะแนะนําใหประชุมชนเขาใจในพระพุทธศาสนาชดั เจนดนี ้ัน เปน กิจที่วทิ ยาลยั ควร จดุ ๒ อยา ง คอื มีธรรมเทศนาที่วัดตามกาํ หนดวนั พระอยา งหน่งึ จัดพิมพหนงั สอื แสดงคําสัง่ สอน อยา งหนง่ึ สว นการมีเทศนาตามกาํ หนดวนั พระนั้นไดเคยมเี ปนประเพณขี องวดั มาแลว สว นการ

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๒๘ พิมพห นังสอื แสดงคําสอนน้ันวทิ ยาลัยจะจดั ข้ึนตามกาํ ลงั ทจี่ ะจดั ได ๓.การฝกสอนเดก็ ชาวเมืองนนั้ วทิ ยาลัยจะจดั ใหม ีโรงเรยี นสําหรบั สอนหนังสือไทยแลเลข แลฝกกริ ยิ าเดก็ ใหเ รยี บรอ ยสอนใหรูจ ักดีชว่ั ตามสมควร ใน ๓ ขอ ทีก่ ลาวแลว น้ี การเลา เรียนของภิกษุสามเณร วทิ ยาลัยไดจัดแลว สวนอีก ๒ ขอ นนั้ อาจจัดไดเ มือ่ ใด กจ็ ะจดั เมือ่ นน้ั ตามลาํ ดบั จากพระอธบิ ายขา งตน นี้ สมเดจ็ พระมหาสมณเจาฯ ได ทรงชใ้ี หเ หน็ วา การศึกษาของพระสงฆเ ทาท่ผี า นมาไมเ จริญกาวหนา เพราะสาเหตุหลายประการ กลาวคอื ๑. ตาํ ราเรยี นบางสวนไมเ หมาะสม ทาํ ใหผ ูเรียนตองใชเวลาเรยี นนานเกินจําเปน จนผูเรียน เกิดความเบ่อื หนา ยเรียนไปไมค อ ยตลอด ๒.-เนอ่ื งจากตาํ ราเรยี นยากเกนิ ความจาํ เปนแมผูท ี่เรยี นผา นไปไดก็มักจะไมม คี วามรคู วาม เขา ใจอยางชัดเจน ๓.-การเรยี นไมม ีการจดั เปน ชน้ั อยางเปนระบบครคู นเดียวสอนหมดทกุ อยา งเปนเหตใุ หหาครทู ่ี สอนไดอยางสมบรู ณต ามหลกั สูตรยาก ๔.-การสอบไมมีกําหนดท่แี นน อนและทง้ิ ระยะนานเกินไปคือ๓ปค รั้งบาง๖ปค รงั้ บา ง ๕.-วิธกี ารสอบยงั ลาหลงั คือสอบดว ยวิธแี ปลดว ยปาก ซงึ่ การสอบแตละครง้ั ตอ งใชเวลามาก แตส อบนักเรียนไดจ าํ นวนนอยคน เน่อื งจากสาเหตตุ า ง ๆ ดังกลาวน้นี ั่นเอง ทีท่ ําใหผทู ผี่ า นการสอบไดแลวกม็ ่นั ใจไมไดว าเปน ผรู ูพระธรรมวนิ ัยดี เพราะสวนใหญไ มค อยเขาใจในสิ่งท่ีตนเรียน และเร่อื งท่ีเรยี นในช้นั นัน้ ๆ บางที ก็ไมใ ชเ รอื่ งทจี่ ําเปน จะตอ งรูป ญ หาตา งๆเหลานห้ี ากกลาวโดยสรุปก็คือเปนปญ หาเก่ียวกบั วิธีสอน และวิธสี อบนนั่ เอง วธิ ที ี่สมเด็จพระมหาสมณเจา ฯ ทรงพระดําริข้นึ เพอ่ื แกไ ขการศึกษาของภิกษสุ ามเณรให เจรญิ ทนั กาลสมัย ดังท่ีไดจ ดั ข้นึ ในมหามกฏุ ราชวิทยาลัย กค็ อื ในดา นการสอนนนั้ จดั หลกั สูตรใหมี นอยช้ัน สามารถเรียนใหจบไดใ นเวลาอนั ส้นั เรยี นไดงายข้นึ แตไดค วามรพู อเพยี งแกค วามตอ งการ สวนการสอบน้ัน ใหมกี ารสอบทุกปแ ละสอบดว ยวิธเี ขียน กลา วโดยสรุปกค็ ือจดั หลกั สตู รให เหมาะสม ใชเวลาเรียนส้ัน เรียนงา ยไดค วามรมู าก และวัดผลไดแมนยํา พ.ศ.๒๔๓๖ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว รัชกาลท่ี ๕ ไดพระราชทานพระราชทรัพยใ ห สรางวทิ ยาลัยขึ้นโดยพระราชทานนามวา มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย เพ่ืออุทิศสว นกุศลใหแด พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยหู วั รชั กาลที่ ๔ ผูเ ปนทีม่ าแหง นาม มหามกุฏราชวทิ ยาลัย พ.ศ.๒๔๘๘ เรยี กนามมหามกฏุ ราชวิทยาลยั วา สภาการศึกษามหามกฏุ ราชวิทยาลยั ในพระบรม ราชปู ถมั ภ พ.ศ.๒๔๘๙ สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ นายกกรรมการ มหามกุฏราชวิทยาลยั ใน

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๒๙ พระบรมราชปู ถมั ภ ทรงประกาศใชระเบียบและหลักสูตรของสภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลยั และเปดการอบรมการศกึ ษาแกภ ิกษุสามเณร โดยจัดเปน หลักสตู รปริญญาศาสนศาสตรบณั ฑติ ไว ๔ ป และเปดเรียนในปน เี้ ปน รุน แรก พ.ศ. ๒๔๙๐ เปลย่ี น แปลงหลักสตู รใหม คอื กาํ หนดไวว าผศู ึกษาจะตองผานการศกึ ษาชนั้ เตรยี ม ศาสน ศาสตร ปท ่ี ๑ - ๒ กอนแลว จึงเขาศกึ ษาในช้ันปรญิ ญาศาสนศาสตรบัณฑติ ปท ่ี ๑ ได พ.ศ.๒๔๙๓ เปล่ียน แปลงหลกั สูตรใหมคือกาํ หนดไววา ผูศ ึกษาจะตองผา นชน้ั บุรพศกึ ษา (สมยั น้ัน เรียกวาชัน้ มูล ) ๑ ป กอน จากนน้ั ก็เขา ศึกษาช้นั เตรยี มศาสนศาสตร ๒ ป แลวจงึ เขาศกึ ษาในช้ัน ปรญิ ญาศาสนศาสตรบณั ฑิต ปท่ี ๑ ใชเ วลาศกึ ษาภาควิชาการรวม ๗ ป กับจะตอ งรับการอบรม พิเศษและคน ควา อกี ๑ ป รวมทงั้ ส้ิน ๘ ป จงึ จะมสี ิทธิรบั ปริญญาศาสนศาสตรบณั ฑิต (ศ.บ.) พ.ศ. ๒๔๙๘ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา กรมหลวงวชริ ญาณวงศ เสด็จทรงวางศิลาฤกษ อาคารเรียนสภา การศึกษามหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ซ่ึงใชเ ปน อาคารเรียนในปจ จุบนั พ.ศ. ๒๕๐๑ ยา ย สํานักงานบรหิ ารสภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชปู ถัมภ จากตึก หอสมดุ มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย หนา วัดบวรนเิ วศวิหาร มาทีอ่ าคารเรยี นตกึ สภาการศึกษามหามกฏุ ราชวิทยาลัยในปจ จุบัน พ.ศ. ๒๕๐๔ ปรับปรงุ โครงสรา งสภาการศกึ ษามหามกุฏราชวทิ ยาลยั และโครงสา งหลักสูตรใหมเ พ่อื ให เขากับสภาพสงั คมปจ จบุ ัน พ.ศ.๒๕๐๕ เปลย่ี น แปลงหลักสตู รใหม แบงชั้นเรยี นออกเปน ๗ ช้นั คอื บรุ พศกึ ษา ๑ ชนั้ เตรียมศา สนศาสตร ๒ ช้ัน ปรญิ ญา ศาสนศาสตร-บณั ฑิต ๔ ชั้น ตัง้ แตปท่ี ๑-๕ เรยี นเตม็ ทุกวิชา ในช้ันปที่ ๖-๗ แยกเรยี นเปน ๒ สาขา คือ สาขาปรัชญา และสาขาจิตวทิ ยา เพ่อื ปรบั สภาพใหเขากับ มาตรฐานของมหาวทิ ยาลยั ท่วั ไป พ.ศ. ๒๕๐๖ เปลีย่ นแปลงหลกั สตู รอกี ในชัน้ ปท ่ี ๖-๗ แยกออกเปน ๓ สาขา คอื สาขาปรชั ญา สาขา

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๓๐ จติ วิทยาและสาขาสังคมศาสตร พ.ศ. ๒๕๐๗ ได เปลย่ี นแปลงหลกั สตู รอกี คอื ในชัน้ ปที่ ๖-๗ แยกเรยี นเปน ๗ สาขา คือ สาขาปรชั ญา สาขาจิตวิทยา สาขาสงั คมศาสตร สาขาบาล-ี สนั สกฤต สาขาโบราณคดี สาขาภาษาศาสตร สาขาวิชาการศึกษา แตส ามารถเปด สอนไดเ พียง ๓ สาขา คือ สาขาปรชั ญา สาขาจิตวิทยา สาขา สังคมศาสตร พ.ศ.-๒๕๑๑ ไดเ ปลีย่ นแปลงหลักสูตรปริญญาศาสนศาสตรบัณฑิต ๔ ป เปน ระบบหนวยกิต รวมเปน ๒๔๐ หนวยกิต เปนครงั้ แรกพ.ศ. ๒๕๑๒ มคี ําสง่ั มหาเถรสมาคม เรือ่ งการศกึ ษาของมหาวิทยาลยั สงฆ ใหเปน การศึกษาของคณะสงฆ สภาการศกึ ษามหามกุฏราชวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๑๓ ไดเ ปด การศึกษาครบ ๔ คณะ คือคณะศาสนาและปรชั ญา -คณะสังคมศาสตร-คณะศิลปศาสตร- และคณะ ศึกษาศาสตร พ.ศ. ๒๕๑๗ ไดเ ปลี่ยนแปลงหลักสูตรปรญิ ญาศาสนศาสตรบัณฑิต ๔ ป ตามระบบหนว ยกิตลดลงเหลือ เพยี ง ๒๐๐ หนว ยกิต พ.ศ.๒๕๑๘ ไดเปล่ียนแปลงหลักสูตรปริญญาศาสนศาสตรบัณฑติ ๔ ป ตามระบบหนว ยกิต คือ ตอ ง ศึกษาใหไดหนวยกติ รวมอยา งนอย ๑๔๔ หนวยกติ เพอ่ื ปรับหลกั สูตรใหเ ขากับมาตรฐาน การศกึ ษาชั้นปรญิ ญาตรี ของทบวงมหาวิทยาลัย เพื่อเสนอหลักสตู รใหส ภาผูแทนราษฎรใช ประกอบการพิจารณาตามพระราชบัญญัตจิ ัด ต้งั มหาวทิ ยาลัยสงฆ พ.ศ. ๒๕๑๒ พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดเปล่ียนชือ่ คณะศิลปศาสตร เปน คณะมนุษยศาสตร พ.ศ.๒๕๒๖ ไดเปลีย่ นแปลงหลกั สตู รปริญญาศาสนศาสตรบัณฑิต ๔ ป เฉพาะบางรายวิชาใหเ หมาะสม และมีโครงสรางของหลกั สตู รท้งั สิ้นไมนอยกวา ๑๔๔ หนว ยกติ แบงออกเปน ๔ คณะ คือ คณะ ศาสนาและปรัชญา คณะสงั คมศาสตร คณะมนุษยศาสตร และคณะศึกษาศาสตร สว นชั้นบุรพ ศกึ ษา ใชเวลาเรยี น ๑ ป ชน้ั เตรียมศาสน-ศาสตร ใชเ วลาเรยี น ๒ ป ชนั้ ปรญิ ญาศาสนศาสตร บณั ฑิต ใชเ วลาเรียน ๔ ป รวมการศกึ ษาภาควชิ าการเปน ๗ ป และตอ งปฏบิ ตั ศิ าสนกิจตามที่สภา การศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัยมอบหมายอกี ๑ ป รวมเปน ๘ ป

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๓๑ พ.ศ.๒๕๒๗ สภานิตบิ ัญญตั แิ หง ชาติไดต ราพระราชบัญญัตกิ ําหนดวทิ ยฐานะผูสาํ เรจ็ วชิ าการพระ พทุ ธศานา พ.ศ. ๒๕๒๗ ใหผสู ําเร็จวิชาการพระพทุ ธศาสนา ตามหลกั สูตรปริญญาศาสนศาสตร บัณฑิต จากสภาการศกึ ษามหามกฏุ ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชปู ถมั ภ มีวทิ ยฐานะชั้นปรญิ ญาตรี เรยี กวา ศาสนศาสตรบัณฑิต ใชอ กั ษรยอวา ศน.บ. พระราชบญั ญัตินมี้ ีผลบงั คับใชสาํ หรับผสู ําเร็จ กอนวนั ทปี่ ระกาศใชพระราชบญั ญัตินด้ี วย พ.ศ.๒๕๓๐ เปด การศึกษาช้นั ปริญญาโท เรยี กวา บัณฑติ วทิ ยาลัย ขน้ึ เม่ือวนั ท่ี ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ มี ๒ คณะ คือ คณะพทุ ธศาสนาและปรชั ญา และคณะพทุ ธศาสนนิเทศ ไดเปด ทําการสอน ในวนั ท่ี ๑ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๓๑ ผูสําเร็จการศึกษามีสทิ ธริ บั ปริญญาศาสนศาสตรมหาบัณฑติ ใช อกั ษรยอ วา ศน.ม. (สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา ), ( สาขาพทุ ธศาสนนิเทศ) พ.ศ. ๒๕๓๔ ไดปรบั ปรุงโครงสรา งหลกั สูตรใหมแ ละมีสาขาวิชาเอกในแตล ะคณะเพ่มิ ข้นึ อกี ดังนี้ ๑.คณะศาสนาและปรชั ญา วิชาเอก พุทธศาสตร, ปรัชญา, ศาสนาเปรยี บเทียบ, ศาสนาและปรัชญา ๒.คณะมนษุ ยศาสตร วชิ าเอก ภาษาไทย, ภาษาบาลีและสันสกฤต, ภาษาบาล,ี ภาษาองั กฤษ, ภาษาฝรง่ั เศส, ภาษาศาสตรว รรณคดีองั กฤษ, หลกั สตู รภาษาบาลพี เิ ศษ ๓.คณะสังคมศาสตร วชิ าเอก สังคมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา, จติ วทิ ยา, ประวตั ศิ าสตร, โบราณคดี ๔.คณะศกึ ษาศาสตร วชิ าเอก การศึกษา, การบรหิ ารการศึกษา, การใหค ําปรกึ ษา และการแนะแนว, การศึกษานอกระบบ, สงั คมศึกษา, ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทย พ.ศ. ๒๕๓๕ สมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ประธานคณะกรรมการ การศกึ ษาของคณะสงฆ วาดวยการจดั การศกึ ษาของสภาการศกึ ษามหามกฏุ ราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๕ และสภามหาวิทยาลยั อนมุ ัติใหจ ัดตง้ั วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช จังหวดั นครศรีธรรมราช พ.ศ. ๒๕๓๖ คณะมนษุ ยศาสตร เปด สอนภาควิชา ภาษาบาลีและสันสกฤต พ.ศ. ๒๕๓๗ สภา มหาวิทยาลยั อนมุ ัตใิ หจ ัดตงั้ วทิ ยาเขตรอ ยเอ็ด จงั หวดั รอยเอ็ด พ.ศ. ๒๕๓๘ สภามหาวทิ ยาลัย อนุมัติใหจ ัดต้งั วทิ ยาเขตศรลี า นชาง จังหวดั เลย

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๓๒ พ.ศ. ๒๕๓๙ -คณะศาสนาและปรชั ญา เปด สอนภาควชิ า พุทธศาสตร -สภาการศึกษามหามกฏุ ราชวิทยาลยั ตง้ั ศูนยค อมพวิ เตอร -สภา การศึกษามหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย เสนอ พ.ร.บ. มหาวทิ ยาลัยสงฆ และ พ.ร.บ. กําหนดวทิ ยฐานะผูส าํ เร็จวชิ าการพระพทุ ธศาสนา เขา สสู ภาผูแทนราษฎรและผา น คณะกรรมาธิการวิสามัญวาระแรก กําลงั เสนอเขา สูวาระท่ีสอง พ.ศ. ๒๕๔๐ รฐั สภาไดผ านรา งพระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ทีค่ ณะกรรมธิการ พจิ ารณาเสรจ็ ส้นิ แลว ๓ วาระ - พ.ร.บ. มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัยวาดวยการจัดตั้งสวนงาน วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ -สภามหาวิทยาลัยออกขอ กาํ หนดของมหาวทิ ยาลัยวาดวยการจัดตง้ั สว นงาน พ.ศ. ๒๕๔๐ -ประกาศมหาวิทยาลัยวาดวยการแบงสวนงาน พ.ศ. ๒๕๔๐ -สภามหาวทิ ยาลยั ออกขอ บงั คบั วา ดว ยการประชมุ มหาวทิ ยาลัย -สภามหาวิทยาลัยออกขอบงั คบั วา ดว ยการใหป ริญญากิตตมิ ศกั ด์ิ -สภามหาวิทยาลยั ออกขอบังคับวา ดว ยกองทุนสวัสดิการบคุ ลากร พ.ศ. ๒๕๔๐ พ.ศ. ๒๕๔๑ สภามหาวทิ ยาลยั ออกขอ บังคับระเบียบขอ กาํ หนด และประกาศมหาวิทยาลัยไวดังนี้ - ขอ บงั คับมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วาดว ยหลกั เกณฑการเลอื กสรรกรรมการ สภาวชิ าการ ซง่ึ เลือกจากอาจารยป ระจาํ คณะ พ.ศ. ๒๕๔๑ - ขอบงั คับมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วา ดวยการดําเนินการแตงต้ังบุคคลใหดาํ รง ตาํ แหนง บริหารในมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๑ - ขอบงั คบั มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วา ดว ยการสรรหากรรมการสภา มหาวทิ ยาลัยจากผูทรงคณุ วุฒิ พ.ศ. ๒๕๔๑ - ขอ บังคับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั วา ดวยการสรรหากรรมการสภา มหาวทิ ยาลัยจากผูบรหิ าร พ.ศ. ๒๕๔๑ - ขอ บังคบั มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วา ดวยการบรหิ ารงานบคุ คล พ.ศ. ๒๕๔๑ - ขอ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วาดว ยเงินประจาํ ตาํ แหนง พ.ศ. ๒๕๔๑ - ระเบียบมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั วา ดว ยการใหสวสั ดิการการรักษาพยาบาลแก บคุ ลากรและลูกจา ง พ.ศ. ๒๕๔๑ - ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั วา ดว ยบตั รประจาํ ตัวบคุ ลากร พ.ศ. ๒๕๔๑ - ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั วาดว ยเคร่ืองแบบบคุ ลากรมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๑ - ระเบียบมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วาดวยการเงินและทรัพยส ินของ

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๓๓ มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๑ - ระเบียบมหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยรหสั ของหนว ยงานตามระบบสาร บรรณ พ.ศ. ๒๕๔๑ - ประกาศมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วาดว ยภารกิจและหนา ทข่ี องสวนงานใน มหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๑ - ประกาศมหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วาดว ย การพัสดุ พ.ศ. ๒๕๔๑ - ประกาศมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วา ดว ย งานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๔๑ - ขอ กําหนดมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วาดว ยวนั เวลาทํางาน วันหยุด การลา และเกณฑการลา พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๔๒ สภามหาวทิ ยาลยั ออกขอ บงั คบั ระเบยี บขอ กําหนด และประกาศมหาวทิ ยาลัยไวดังน้ี -ขอ บงั คับมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั แกไขเพิ่มเติม ขอบงั คบั สภาการศึกษามหาม กุฏราชวิทยาลัย วา ดว ยการศึกษาชนั้ ปริญญาตรี พุทธศกั ราช ๒๕๒๖ (แกไขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. ๒๕๓๔) -ขอ บงั คับมหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วาดว ยการเบกิ จา ยคาตอบแทนของบณั ฑติ วิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๒ -ขอ บงั คบั มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วา ดวยคุณสมบัติ หลักเกณฑ และวธิ กี าร แตง ตงั้ อาจารยพเิ ศษ ผูชว ยศาสตราจารย ผชู ว ยศาสตราจารยพ ิเศษ รองศาสตราจารย และ ศาสตราจารยพเิ ศษ พ.ศ. ๒๕๔๒ -ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วา ดวยการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ บุคลากร พ.ศ. ๒๕๔๒ -ขอบังคบั มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วา ดวยหลักเกณฑก ารเลอื่ นข้นั เงนิ เดือนของ บคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๒ -ขอ บงั คบั มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วา ดวยหลกั เกณฑและวธิ กี ารจางผู เกษียณอายปุ ฏบิ ตั งิ านในมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๒ -สญั ญาจางการปฏบิ ัติงาน มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั -ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วา ดวยการใหทุนบุคลากรศกึ ษาตอและ ฝกอบรม พ.ศ. ๒๕๔๒ -สัญญารับทุนโครงการพัฒนาบคุ ลากร มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั -สญั ญาคา้ํ ประกนั ผรู ับทุนการศกึ ษาโครงการพัฒนาบคุ ลากรมหาวิทยาลยั มหามกุฏราช วิทยาลยั -ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วา ดวยการลาศกึ ษาตอ ของบคุ ลากร พ.ศ. ๒๕๔๒ -ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วา ดวยการใชหองสมุด พ.ศ. ๒๕๔๒ -ระเบยี บมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั วา ดวยการสงเสริมการวิจยั พ.ศ. ๒๕๔๒ -สญั ญารบั เงินอดุ หนนุ การวจิ ยั มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๓๔ -ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วา ดว ยการใหทนุ การศึกษาแกน กั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๒ -ขอบังคบั มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วา ดว ยการเบิกจายคา ตอบแทนการบรรยาย พเิ ศษ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๓ สภามหาวทิ ยาลัยออกขอบังคบั ระเบยี บขอกําหนด และประกาศมหาวิทยาลยั ไวด งั น้ี -ขอบงั คบั มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย แกไ ขเพมิ่ เตมิ ขอ บังคบั มหาวทิ ยาลยั มหาม กฏุ ราชวทิ ยาลัย วา ดว ยการดาํ เนนิ การแตงตั้งบคุ ลากรใหด าํ รงตาํ แหนงบรหิ ารงานในมหาวทิ ยาลัย (พ.ศ. ๒๕๔๑) พ.ศ. ๒๕๔๓ -ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วา ดวยการศึกษาภาคฤดูรอ น พ.ศ. ๒๕๔๓ -ระเบียบมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วา ดวยการอบรมกรรมฐานภาคปกติ พ.ศ. ๒๕๔๓ -ระเบียบมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วา ดว ยการปฏบิ ัติศาสนกจิ สาํ หรับพระ นกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๓ -ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วาดวยการประชมุ สภาวิชาการ พ.ศ. ๒๕๔๓ -ขอ บังคบั มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยคณะกรรมการประจาํ บัณฑติ วทิ ยาลัย และคณะกรรมการประจําคณะ พ.ศ. ๒๕๔๓ -ขอ บงั คับมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วา ดวยการเบกิ จายเบ้ยี ประชุม พ.ศ. ๒๕๔๐ แกไ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๓ -ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วาดว ยการจดั การศกึ ษาศนู ยศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย พ.ศ. ๒๕๔๓ -คณะสังคมศาสตร เปดสอนภาควิชารัฐศาสตรก ารปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๔ สภามหาวิทยาลยั ออกขอ บงั คับระเบยี บขอ กําหนด และประกาศมหาวทิ ยาลยั ไวดังน้ี -ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วาดวยการพสั ดขุ องมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอ บังคับมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วาดว ยกองทนุ เงินสะสมของบุคลากร พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอบังคบั มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วาดวยเงินบําเหน็จของบคุ ลากร พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอ บังคบั มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วา ดวยเคร่ืองแบบนกั ศกึ ษาคฤหัสถ พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอ บังคบั มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย วาดว ยเงนิ สวสั ดิการเกย่ี วกบั การศกึ ษาบตุ ร พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบยี บมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วา ดวยการรับจา ยเก็บรกั ษาเงนิ และการบัญชี

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๓๕ พ.ศ. ๒๕๔๔ -หลกั สตู รศาสนตรบัณฑิต หลกั สตู รปรบั ปรุง ๒๕๔๓ จํานวน ๑๔ สาขาวชิ า -มตสิ ภามหาวทิ ยาลัยครง้ั ท่ี ๔/๒๕๔๔ เรอ่ื งขอแกไขสาขาวชิ าภาษาองั กฤษ คณะ ศึกษาศาสตร -ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วา ดวยใชช่อื เตม็ และยอมหาวิทยาลัยและ วทิ ยาเขตภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วาดว ยคา ใชจายในโครงการฝก อบรมและการ ประชุมของมหาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอบงั คบั มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วาดวยการเบกิ จายคาใชจ า ยในการเดนิ ทาง ไปปฏบิ ัติงาน พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั วาดวยการรบั บรจิ าค พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วา ดวยการปฏิบัติงานสําหรบั คฤหสั ถ พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบียบมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วาดว ยการตรวจสอบภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ พ.ศ. ๒๕๔๔ สภามหาวิทยาลยั ออกขอบังคับระเบยี บขอกาํ หนด และประกาศมหาวิทยาลยั ไวดังน้ี -ระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วา ดว ยการพัสดขุ องมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอ บงั คับมหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วา ดว ยกองทุนเงนิ สะสมของบคุ ลากร พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอ บังคับมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยเงนิ บําเหนจ็ ของบุคลากร พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอ บังคับมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วา ดวยเครือ่ งแบบนักศึกษาคฤหัสถ พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอ บงั คับมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั วา ดวยเงนิ สวัสดิการเกี่ยวกบั การศกึ ษาบตุ ร พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วาดว ยการรบั จายเกบ็ รกั ษาเงินและการบัญชี พ.ศ. ๒๕๔๔ -หลักสตู รศาสนตรบณั ฑติ หลักสูตรปรบั ปรุง ๒๕๔๓ จํานวน ๑๔ สาขาวิชา -มตสิ ภามหาวิทยาลยั ครั้งท่ี ๔/๒๕๔๔ เรอ่ื งขอแกไ ขสาขาวชิ าภาษาองั กฤษ คณะ ศึกษาศาสตร -ระเบียบมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วา ดว ยใชช ื่อเต็มและยอ มหาวิทยาลัยและ วทิ ยาเขตภาคภาษาไทยและภาษาองั กฤษ พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบยี บมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยคา ใชจายในโครงการฝก อบรมและการ ประชมุ ของมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๔ -ขอบังคบั มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วาดว ยการเบกิ จายคา ใชจ ายในการเดินทาง

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๓๖ ไปปฏบิ ตั งิ าน พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบยี บมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วาดวยการรับบรจิ าค พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบียบมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วาดว ยการปฏบิ ตั ิงานสําหรบั คฤหสั ถ พ.ศ. ๒๕๔๔ -ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั วาดว ยการตรวจสอบภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ พ.ศ. ๒๕๔๕ สภามหาวทิ ยาลัยออกขอ บังคบั ระเบยี บขอ กาํ หนด และประกาศมหาวทิ ยาลัยไวดังนี้ -ขอ บงั คับมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วาดวยเงนิ บาํ เหนจ็ ของบคุ ลากร พ.ศ. ๒๕๔๔ แกไ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ -ระเบยี บมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วา ดว ยการสง เสริมการวิจยั พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ ขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ -ระเบียบมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วา ดวยคณะกรรมการตรวจสอบ พ.ศ. ๒๕๔๕ -ขอบงั คบั มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วาดวยการยกเลิกขอ บังคับมหาวิทยาลัย มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วาดวยเงนิ บําเหน็จของบคุ ลากร พ.ศ. ๒๕๔๔ และขอบังคบั มหาวทิ ยาลัย มหามกุฏราชวทิ ยาลยั วา ดว ยเงินบาํ เหนจ็ ของบคุ ลากร พ.ศ. ๒๕๔๔ แกไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ -ระเบียบมหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วา ดวยการสงเสรมิ การผลิตตาํ ราและเอกสาร ทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๔๕ -ระเบียบมหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วาดวยยานพาหนะ พ.ศ. ๒๕๔๕ -ขอบงั คบั มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วาดวยการใหปรญิ ญากติ ตมิ ศกั ด์ิ พ.ศ. ๒๕๔๕ ๑.๑๐.๒ ตราสัญญลกั ษณ พระมหามงกุฏ และ อุณาโลม หมายถงึ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยูหวั รชั กาลท่ี ๔ พระผูท รงเปนท่มี าแหง นาม “มหามกฏุ ราชวิทยาลยั ” พระเกย้ี วประดษิ ฐานบนหมอน หมายถึง พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูห ัว รชั กาลท่ี ๕ รอง พระผพู ระราชทานพระบรมราชานญุ าตใหจ ัดตัง้ “มหามกฏุ ราช วทิ ยาลัย” หนังสือ หมายถงึ คัมภีรและตําราทางพระพุทธศาสนา เพอื่ การศกึ ษา คนควา และเผยแผพ ระพทุ ธศาสนา ปากกาปากไก ดนิ สอ และมวน หมาย ถงึ อปุ กรณในการศกึ ษาเลาเรียน การพิมพเ ผยแพรค ัมภรี  กระดาษ และการผลิตตาํ ราทางพระพทุ ธศาสนา เพราะมหาวิทยาลยั มหาม กุฏราชวทิ ยาลัยทาํ หนาทเ่ี ปน ทงั้ สถาบนั ศกึ ษา และแหลง ผลิต

พฒั นาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๓๗ ตาํ รับตาํ ราทางพระพุทธศาสนา ชอ ดอกไมแยม กลบี หมายถึง ความเบง บานแหงสตปิ ญญา และวิทยาการในทาง พระพุทธศาสนา และหมายถงึ กิตตศิ พั ทกิตติคุณทีฟ่ งุ ขจรไป ดุจ ธงชาตไิ ทย กลนิ่ หอมแหง ดอกไม พานรองรบั หนงั สอื หรอื คัมภีร หมายถึง อุดมการณของมหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั ท่ีมงุ วงรัศมี พิทกั ษสถาบนั หลักท้ัง ๓ คือ ชาติไทย พระพทุ ธศาสนา และ มหามกฏุ ราชวิทยาลยั พระมหากษตั รยิ  หมายความวา มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัยเปนสถาบนั เพอื่ ความม่นั คง และแพรหลายของพระพุทธศาสนา หมายถึง แสงสวางแหงปญ ญา วิสทุ ธิ สันติ และกรุณา ทีม่ หา วิทยามหามกฏุ ราชวทิ ยาลัยมุงสาดสองไปทว่ั โลก หมายถงึ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั อันเปน สถาบนั การศกึ ษาทางพระพทุ ธศาสนาระดบั อุดมศึกษา

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๓๘ บทที่ ๒ กระบวนการพัฒนาและการบริหารการศกึ ษา วัตถุประสงคประจําบทเรยี น o เม่ือศกึ ษาบทท่ี ๒ จบแลว นักศกึ ษาสามารถ o ๑.อธิบายกระบวนการพฒั นาและการบริหารการศึกษา ได o ๒.อธบิ ายแนวทางการพัฒนาการศึกษา ได o ๓.อธบิ ายยุทธศาสตรก ารพัฒนาการศกึ ษาได ขอบขายเน้ือหา o กระบวนการพฒั นาและการบริหารการศึกษา o แนวทางการพฒั นาการศกึ ษา o ยุทธศาสตรการพฒั นาการศึกษา

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไทย ๓๙ ๒.๑ ความนํา “… งานดา นการศกึ ษาเปนงานสาํ คญั ทีส่ ดุ อยา งหนงึ่ ของชาติ เพราะความเจริญและความเสอ่ื มของชาตินัน้ ขนึ้ อยกู ับการศกึ ษา ของพลเมืองเปนขอ ใหญ ตามขอ เท็จจริงท่ีทราบกันดีแลว ระยะนบ้ี า นเมืองของเรามพี ลเมอื งเพ่ิมขน้ึ อยา งรวดเรว็ ท้ังมีสัญญาณบอกบางอยางเกดิ ข้ึนดวยวา พลเมืองของเราบางสวน เสอื่ มทรามลงไปในความประพฤตแิ ละจิตใจ ซ่ึงเปนอาการท่นี า วติ ก ถาหากยงั คงเปนอยูต อ ไป เราอาจจะเอาตัวไมรอด ปรากฏการณเชนนี้ นอกจากสาเหตอุ ่ืนแลว ตองมเี หตุมาจากการจัดการศึกษาดวยอยางแนนอน… เราตอ งจดั งานดา นการศกึ ษาใหเขม แข็งยง่ิ ขน้ึ …” (พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั พระราชทานในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบัตร ของมหาวิทยาลยั วชิ าการศึกษาประสานมิตร เมื่อวนั ที่ ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๑๐) จากพระบรมราโชวาทดงั กลา วขา งตน นเี้ ปนเวลาลว งผานมาเกือบ ๔๐ ป ที่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยทู รงตระหนกั ถึงการพฒั นาบุคคลใหม ปี ระสิทธิภาพ เพื่อเปนทรพั ยากร อนั มคี า ของชาตนิ น้ั จะกระทาํ ดวยการใหการศึกษา (สุภทั ร แกวพัตร : ๒๕๔๙) ตอ มาเม่ือวนั ที่ ๒๖ กุมภาพันธ ๒๕๒๔รัฐบาลไดแถลงนโยบายเพื่อพฒั นา เศรษฐกจิ และสังคมกําหนดเปนวาระ แหง ชาติ (National Agenda) ซ่งึ การพฒั นาทุนทางสังคมเปน อกี วาระหนงึ่ ทีร่ ัฐใหความสาํ คญั และ จากวาระดังกลา วรฐั ไดก าํ หนดใหเปนยทุ ธศาสตรการพฒั นาประเทศ การแกไขปญ หาความยากจน และยกระดบั คณุ ภาพชีวติ เกี่ยวกับการปฏิรูปการผลัดครู และพฒั นาครู การจัดการเรยี นการสอนท่ี เนนผเู รียนเปนศูนยกลาง และเรียนรูอ ยางมคี วามสขุ (โชตริ ัส ชวนิชย : ๒๕๔๙) การวางเปา หมาย การพัฒนาแหง สหัสวรรษหนา ในการพฒั นาระบบการศึกษาขั้นประถม ( achieve universal primary education) ตาม MDGS (Millennium Devaluation Goals) บนการพฒั นาเชงิ คุณภาพในทศวรรษที่เทคโนโลยีเปนตัวนําจําเปนตอ งดาํ เนนิ ไปพรอมกบั การสรางระบบถวงดุลของ การไดร บั การศึกษาอยางทั่วถึงเชิงคุณภาพกบั การคา เทคโนโลยจี ากภาคอตุ สาหกรรมขามชาติ ท่ี รว มกบั ระบบการ ศกึ ษาและราชการในประเทศ การศกึ ษาท่ีเริ่มเปน รูปเปน รา งขึน้ มาชดั เจนหลังพระบรมราโชวาท เกอื บ ๓๒ ป เม่อื มี กฎหมายการศึกษาคือ พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และถือวารฐั บาลไดเล็งเหน็ ความสาํ คญั ของการศกึ ษาแตก็ยงั ถือวาลา ชา ทสี่ ําคัญที่สดุ คือการนาํ แนวคดิ หลกั ปรชั ญาของ พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาลงสกู ารปฏบิ ัตใิ หเ ปน รปู ธรรมน้นั ทําไดยาก จะเหน็ ไดวา การปฏริ ปู การศึกษาตง้ั แตป  ๒๕๔๒ เปน ตนมานับถงึ วนั นเี้ กอื บ ๑๐ ป ก็ยงั ไมป ระสบผลสาํ เร็จ ไมส ามารถทาํ ใหผ ลผลิตจากการปฏริ ูปสอดคลอ งกับปรัชญาการศึกษา มีเพียงตวั บทกฎหมายทีม่ ีจํานวนมาก เปนแนวทางสําหรบั การปฏบิ ัตเิ ทาน้ัน (วทิ ยากร เชียงกลู : ๒๕๔๙)

พัฒนาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๔๐ ปญหาการศกึ ษาไทยมหี ลายประการไมว า จะเปนดานนโยบายของรฐั ท่ีมีการเปลยี่ นแปลง บอยเกนิ ไป จะเหน็ ไดจ ากในระหวาง ๑๐ ปท ี่ผา นมากระทรวงศกึ ษามีรัฐมนตรีวา การกระทรวง หมุนเวียนเปลย่ี นกนั ไปอยหู ลายคนทาํ ใหนโยบายดา นการศกึ ษาปรบั เปลยี่ นอยตู ลอดเวลา ปญหา เก่ยี วกบั การบรหิ ารจัดการ ปญหาดา นบุคลากร และดา นคณุ ภาพผเู รยี น การจัดการเรยี นการสอน ทีจ่ บแลว ไมต รงกับความตองการของตลาด มคี า นิยมชอบเรยี นสายสามญั มากกวาสายอาชีพ คุณภาพการเรียนจบแลว ขาดความรคู วามสามารถ ผเู รียนคดิ วิเคราะห สงั เคราะหไดน อ ย การให การศกึ ษานอกระบบเปน การใหผูใหญม โี อกาสสอบเทยี บความรใู นระบบ ซ่งึ ไมไดมุงเนน ใหร ักการ อาน ใฝร ูใฝเรียน รัฐไมสนใจทุมเทเรื่องปฏิรูปการศกึ ษาอยา งเอาจรงิ เอาจัง ปญหาการขาดแคลน บคุ ลากรครดู า นคณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร และภาษาอังกฤษ แตสาํ หรับบางโรงเรยี นกม็ คี รูเกนิ บางโรงเรียนก็มีครูขาด การพฒั นาบุคลากรครไู มไ ดพัฒนาเพอ่ื มุง ใหร ักการอาน การแสวงหาความรู การคดิ และการสอนแบบใหมที่จรงิ จัง แตจ ะเปน ลักษณะเพยี งการฝก อบรม และการจัดประชุมท่ี สําคญั การเรียนการสอนที่มงุ สอนใหผ เู รยี นสอบเขามหาวทิ ยาลยั โดยไมสนใจวาเรียนใหเ กิดความรู และความฉลาดในทกุ ดาน ตามปรัชญาการปฏิรปู การศกึ ษากาํ หนดไว (วิทยากร เชยี งกลู : ๒๕๔๙) ณ วนั นีห้ ากเหลยี วมองการศกึ ษาของประเทศท่พี ฒั นาตางๆ กม็ ปี ญหาไมน อยไปกวา ประเทศไทย แตก ารศึกษาของประเทศที่พัฒนาเหลา นัน้ พฒั นาไดอ ยา งไร ยกตวั อยา งเปรยี บเทยี บ ระหวา งสหรัฐอเมริกา กับประเทศไทย ตามประเดน็ ตอ ไปนี้ ประเด็น อเมริกา ไทย -การใหใบ -กาํ หนดใหครูมีการสอบใบประกอบ -กาํ หนดใหมกี ารสอบ แตต อน ประกอบ วิชาชพี สวนที่สอบไมผานก็ไดร ับการ แรกเร่ิมใหก บั ครูทกี่ ําลังสอนใน วิชาชีพ ยกเวน เพราะครูท่มี คี ุณภาพสงู ขาด ปจจบุ นั ทกุ คนไมต อ งสอบ แคลน -การทดสอบ - ใชข อ สอบกลางของ NCLB (No -ทดสอบ NT (National Test) ของนกั เรียน Child Left Behind Act) ใชทดสอบ สําหรบั ป.๓,ป.๖,ม.๓ และม.๖ ปล ะ วชิ าการอาน และคณิตศาสตร ๑ คร้ัง ๑ ครัง้ ในขณะท่เี รยี นช้ันปท ่ี ๓-๕,๖-๙ และ -ม.๖ ทดสอบ O-NET (Ordinary ๑๐-๑๒ รวม ๓ ครงั้ ตอป National Educational Test) สําหรับวดั ความรูพ้นื ฐานกอ นจบม. ๖ ทกุ กลุม สาระการเรียนรู ปล ะ ๑ ครงั้ -ม.๖ ทดสอบ A-NET (Advanced National Educational Test) สําหรบั วัดความรูระดับสูง ในขอบขาย เนอ้ื หากลมุ สาระการเรียนรู

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๔๑ ภาษาไทย วิทยาศาสตร คณิตศาสตร สังคมศึกษาและ ภาษาอังกฤษ -พฤตกิ รรม -มงุ เนน สอนเพื่อใหนกั เรยี นสอบ -เนนการสอนเพ่ือสอบขอสอบ NT, การจัดการ ขอ สอบของ NCLB ผา นในวชิ าการอาน O-NET และ A-NET เพ่อื ให เรยี นการสอน คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร เพือ่ ให นกั เรยี นมงุ เขาสรู ว้ั มหาวิทยาลยั ของครู ไดผ ลสอบออกมาดี โดยขาดการ โดยขาดการปลกู ฝง คณุ ธรรม ปลกู ฝง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ศิลปะ จรยิ ธรรม วัฒนธรรมประเพณี การ ประวตั ศิ าสตร เนนการสอนเพ่อื สอบ สอนใหมีนสิ ัยรกั การอาน รจู ัก เปนหลัก แสวงหาความรดู วยตนเอง -พฤตกิ รรม -มงุ เรยี นเพ่อื สอบใหผ านขอสอบกลาง -มงุ เรียนเพ่อื สอบใหไ ดค ะแนน A- ของนักเรียน (NCLB) ขาดความคดิ สรา งสรรค NET ทดี่ แี ละเขา มหาวทิ ยาลยั ขาด การเรียนรทู เ่ี ปนการแสวงหาความรู ไดด ว ยตนเอง ขาดความคิด สรา งสรรค คิดวิเคราะห สงั เคราะห -ปญ หา -ขาดแคลนครทู ี่มคี ุณภาพสูง -ขาดแคลนครโู ดยเฉพาะดา น บุคลากร คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และ ภาษาองั กฤษ -บางโรงเรยี นครูเกิน และบาง โรงเรียนครูขาด -กฎหมาย -จาํ นวนนอ ย มลี ําดับข้ันการใช -มีจาํ นวนมาก มีลาํ ดบั ข้นั การใช การศึกษา/ กฎหมายแบงเปน ๑) รัฐบาลกลาง แบงเปน ๑) กระทรวง ๒) สพฐ. ลาํ ดับขน้ั การ ๒) รฐั บาลของรัฐ ๓) เขตการศึกษาของ ๓) สพท.๔) สถานศึกษา ใช รฐั ๔) ระดับโรงเรียน -การให -รัฐเอาจริงเอาจงั และมีความตอ เน่ือง -รัฐไมส นใจทมุ เทเรื่องการปฏริ ปู ความสําคญั -มกี ารพัฒนาครใู หมคี ุณภาพสงู การศกึ ษาอยา งจรงิ จงั ของรัฐ -ไมไดพ ฒั นาครูใหรกั การอา น คดิ และสอนแบบใหมอยา งจรงิ จงั เปน เพียงการอบรมการประชมุ -แหลงเรียนรู -ทนั สมยั มีความหลากหลาย -โอกาสเขาหาแหลง เรยี นรูเ ชิงลึกมี นอย ถึงแมรัฐจะมคี วามพยายาม สรา งแหลงเรียนรตู างๆ จากตารางเปรยี บเทยี บดงั กลาวขางตน จะพบวา แมแ ตประเทศทพี่ ฒั นาแลว กย็ งั ประสบ กบั ปญ หาอปุ สรรค แตกม็ ีคาํ ถามวา ทาํ ไมการศึกษาของเขายงั มีคณุ ภาพสงู กวา เรา และถาเราลอง วิเคราะหจ ากตารางอาจสรุปไดว า การออกใบประกอบวชิ าชพี จะตองมีการทดสอบอยา งจรงิ จัง ถือ

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไทย ๔๒ แมว าการแกปญ หาผสู อบไมผานใหการยกเวน แตอยางนอยก็ทําใหค รูท่ยี งั ไมผ า นตอ งเตรยี มพฒั นา ตนเองเพอื่ รอรับการทดสอบอีกครั้ง แตส าํ หรับไทยเปนการออกใหก ับทกุ คน ซ่งึ ความตะหนักถึง ความสาํ คญั ก็จะมนี อ ย ทาํ ใหค ณุ คาของวชิ าชีพยังตกต่ําเชนเคย ในประเดน็ ของการทดสอบท้งั อเมริกา และไทยใชขอสอบกลางเหมอื นกันแตกตางกนั ตรงทไ่ี ทยมกี ารสอบยอ ยบอยคร้งั มากเกนิ ไป จนแทบจะไมม เี วลาเรียน ไมว า จะเปนการทดสอบ NT สําหรับนกั เรียนชน้ั ป. ๓ ป. ๖ ม. ๓ และม.๖ ปละคร้งั การทดสอบ O-NET และ A-NET สําหรบั นักเรียนท่กี ําลังจะจบชั้น ม. ๖ จะเห็นไดวา ม. ๖ จะมกี ารสอบทง้ั สิ้น ๓ ครงั้ ตอ ป และถา มองใน กระบวนการเรียนการสอนกต็ องมกี ารทดสอบในแตละกลุมสาระอยูแ ลว นอกจากนกี้ ารเขารว ม กิจกรรมที่สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาท่มี ีกิจกรรมเกยี่ วกับดานวิชาการอกี มากมาย ซ่ึงทําใหในแต ละปเวลาเรียน ๒๐๐ วัน หมดไปกับการทดสอบเปน สว นมาก ส่ิงทีไ่ มแ ตกตา งกันมากนักทัง้ อเมริกาและไทยคอื พฤตกิ รรมการจดั การเรียนการสอนของ ครทู มี่ ุง เนน การสอนเพ่อื สอบขอ สอบกลาง โดยขาดการปลกู ฝง คุณธรรม จรยิ ธรรม วัฒนธรรม ประเพณี สวนการสอนใหม ีนิสัยรกั การอาน รูจ กั แสวงหาความรูดวยตนเอง มีความคดิ สรางสรรค ไทยยังออ นกวา อเมริกาอยูม าก นอกจากนจ้ี ุดเดน ประการหน่งึ ของประเทศทพี่ ัฒนาแลว จะมีแหลง เรียนรทู ที่ ันสมัยมคี วามหลากหลาย สาํ หรบั เราโอกาสเขาหาแหลงเรียนรเู ชิงลกึ มนี อยมาก สว น ประเดน็ ที่นา จะเปนตวั ขับเคลอื่ นใหก ารศึกษามกี ารพฒั นาไดต ามเจตนารมณคือความเอาจริงเอาจัง ทมุ เท และมีความตอ เนื่องของรฐั บาล ประเทศที่จัดการศึกษาตามมาตรฐานสว นใหญจ ะกําหนดมาตรฐานเปน ๒ สวนคอื มาตรฐานการเรียนรู (Content Standard) คือ สิ่งท่บี อกวา ผูเรยี นตองเรยี นอะไร และสามารถทาํ อะไรได และมาตรฐานความสามารถ ( Performance Standard) หมายถงึ ส่ิงที่บอกวา ผเู รียนรู ตอ งรแู คไ หน และท่ตี องทาํ น้นั ทาํ ไดเ พียงใด (รตั นา แสงบัวเผอื่ น : ๒๕๕๐) ซงึ่ จากการทดสอบ O-NET และ A-NET ของนกั เรียนทีก่ ําลงั จะจบช้นั ม. ๖ ถึงแมจ ะเปนการสนอง และกระตนุ ให นักเรียนมีมาตรฐานทง้ั สองดา นน้ี แตก็ลืมที่จะพัฒนาดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี รว มทั้งการรักการอาน การใฝเรียนรูต ลอดชวี ติ และพฒั นาความคิดสรา งสรรค สาํ หรับ ในภาคของธุรกิจท่เี ปนตลาดแรงงานรองรบั ผลผลติ จากการศกึ ษามีความตองการจางงานกบั กลมุ ท่ี มีลักษณะ ๒ ประการ คอื ทกั ษะความชํานาญในวิชาชพี ทีต่ นศึกษามา และประการทีส่ องธุรกิจ มี ความตอ งการพนกั งานทีม่ ีมนุษยสัมพนั ธ เปนคนใฝร ใู ฝเ รยี น รูจ กั วิเคราะห แสวงหาความรเู พิม่ เตมิ (อุทัย ดลุ ยเกษม : ๒๕๔๙) ซง่ึ เมื่อวิเคราะหแ ลว ภาคธุรกจิ จะใหค วามตอ งการผลผลิต จาก การศกึ ษาทสี่ อดคลอ งกับปรชั ญาของการศึกษาจริงแท แตกระบวนการใหก ารศกึ ษากบั ผลผลิตของ เราไมต รงกับความตองการของตลาดแรงงานอยางส้ินเชงิ ดังนนั้ จึงทําใหเ กดิ ปญ หาเรียนมาแลวไม ตรงกบั ความตอ งการของตลาด หรือเรียนไมตรงสาย นอกจากน้แี ลวความคิดแบบดั้งเดิม คือ การ เรยี นยงั มีคา นิยมเรยี นเพื่อมุงสูร าชการ หรอื ทํางานที่สบาย ดงั นนั้ จึงควรเปลี่ยนแนวคิดใหเปน การ เรยี นเพ่ือสรางงาน ซง่ึ แนวโนม ปจ จบุ ันตองการผูทจ่ี บการศึกษาทมี่ กี ารเรยี นรตู ลอดเวลา มี ความคิดสรา งสรรค และสรา งงานใหเกดิ กับองคก าร คา นิยมอกี ประการหนึ่งของนักเรียน คอื ตองการเรียนในแหลงที่ทนั สมัยเชนกรงุ เทพฯ ดงั นน้ั สถาบันการศึกษาท่ีอยใู นเขตเมอื งจะไดร ับ ความนิยม ซ่ึงสถาบันการศึกษาทีอ่ ยตู า งจงั หวัด หรือรอบนอกตามอําเภอไมสามารถรองรบั ความ

พฒั นาการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย ๔๓ ตองการ ทําใหเกิดผลกระทบตอ คณุ ภาพของอดุ มศกึ ษาในมิติทเี่ รยี กวา Human Quality และมิติ ของความรูแ ละทักษะเปน Cultural attack (อุทยั ดลุ ยเกษม : ๒๕๔๙) ๒.๒ แนวทางการพฒั นาการศึกษา การพฒั นาการศกึ ษามีความจําเปน ย่ิง ท่หี ลายภาคสวนตอ งมีสวนรว มไมวาจะเปน หนวยงานรฐั และชุมชนควรมบี ทบาทชวยเหลอื ครอบครวั และสงเสรมิ ใหผูป กครองมสี วนรวมใน การจัดการศึกษา สนับ สนุนใหสถานศกึ ษาทําหนา ทเ่ี ปนแหลงเรยี นรูใ หก บั นกั เรยี น การประสาน หนวยงานตางๆ เพ่อื ใหความชวยเหลอื นักเรยี น ครูและโรงเรียน รวมทัง้ รวมกับโรงเรียน จัดทํา หลักสตู รสถานศกึ ษาที่ทา ทา ยพรอ มคมู ือครู แบบฝก หดั และแนวทางจัดกจิ กรรม บทบาทของ โรงเรียนควรรว มมอื กบั ชุมชนและสงั คมเพอ่ื พัฒนาครใู หสามารถสนองความตอ งการในการเรียน ของเดก็ และผปู กครอง การสรางสภาพแวดลอมในโรงเรียนใหม คี วามปลอดภัยถกู สขุ ลกั ษณะ ความเปนระเบยี บสวยงาม ใหความรแู ละสรางความไววางใจกนั การสรรหาครู และผบู รหิ ารทม่ี ี คณุ ภาพใหม ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเปนผเู รียนรตู ลอดชวี ติ มาบริหารงานโรงเรยี น บทบาทของครู ใชว ิธกี ารสอนและวธิ ปี ระเมนิ ท่ีผานการทดสอบและวิจยั มาแลววาไดผ ลดีตอ การพัฒนา ของผูเรียน จดั เน้ือหาวชิ าทกี่ วางลึก เปนทส่ี นใจ ทั้งแทรกขอคิดทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในบทเรียนตามกิจกรรม อยางมคี วามเหมาะสม มบี รรยากาศของการเรียนรูท มี่ ีความสขุ ครมู คี วามผูกพนั ระหวา งนกั เรียน ผูปกครอง และชุมชน เปนตัวอยา งในการเรียนรูตลอดชวี ิต ครหู ม่นั ศกึ ษาหาความรเู พิม่ เติมท้งั ดาน จติ วิทยาการแนะแนว และสงั คมสงเคราะห เพอ่ื ใหค วามชวยเหลอื นักเรียน สาํ หรับดานสุขภาพ และโภชนาการก็มสี วนสําคญั ดงั น้นั ควรมีทป่ี รึกษาดา นสขุ ภาพจติ สุขภาพกาย อาหารและ โภชนาการของโรงเรียน พัฒนานโยบายดานสขุ ภาพจิต สขุ ภาพกายอยา งครอบคลมุ บูรณาการ กจิ กรรม พลศกึ ษาและโภชนาการเขาไปในชีวิตประจํา วนั ของนกั เรยี นและโรงเรียน บรู ณาการ โภชนาศึกษา บรกิ ารอาหารที่มปี ระโยชน และกจิ กรรมการเคล่อื นไหวเขา ไปในกิจกรรมของ โรงเรยี น และการกระตุน ใหค รเู ปนตัวแบบที่ดใี นดา นโภชนาการและสุขภาพเนน อาหาร ๕ หมูแ ละ อาหารที่สง เสรมิ สุขภาพรางกาย สตปิ ญ ญา อารมณ และลดไขมนั ในโลหิต (Satcher : ๒๐๐๕) ขอ เสนอแนวทางการสรางคนดี คนเกง มีความสุข และประสบความสําเร็จในชวี ิต ดวยศาสตรแหง ความสําเร็จของ ปราโมทย ธรรมรตั น ( ๒๕๕๐) เปน แนวทางทนี่ า สนใจดังน้ี จดุ ประกายความคดิ ติดไฟชวี ติ ทําใหไดคิด คดิ ได และมงุ ม่ันประสบความสําเร็จในชีวติ ( Think Wap) เมือ่ เราเปล่ียนแปลงความคิด พฤติกรรมก็เปล่ยี นแปลงตามความคดิ เมือ่ มคี วามคิด ทีจ่ ะ ประสบความสาํ เร็จในชีวิต พฤติกรรมทจี่ ะกระทาํ กจ็ ะนาํ ไปสูค วามสําเรจ็ ความคิดเปนฐานรากของ พฤตกิ รรมมนุษย จากพฤตกิ รรมก็จะกลายเปนอปุ นสิ ัย เปน นสิ ยั ท่ีนาํ ไปสคู วามสําเร็จในชีวิต ซึง่ มี กลยุทธท่ีจะทําใหเ กิดการเปลย่ี นแปลงความคิดคือการอานหนงั สือทสี่ รา งแรงจูงใจตา งๆ การศกึ ษา ตวั อยา งกระบวนการทาํ ใหเปลย่ี นแปลงความคิดสคู วามสําเรจ็ การทําใหค ิดได ไดค ดิ การอาน สังเคราะห และเรียบเรียงคาํ ขอความ หรอื ถอ ยคาํ ทีม่ ีความหมายที่ทาํ ใหไดคดิ และเกิดการ เปลี่ยนแปลงความคิด การศึกษาตัวอยา งการดําเนินชีวิตของผูประสบความสําเรจ็ ในชีวิตใครเปน อยางไร ประสบความสาํ เร็จไดอยา งไร ในรูปแบบการเขยี นใหกระตุน จูงใจใหอ ยากประสบ

พัฒนาการศึกษาของคณะสงฆไ ทย ๔๔ ความสาํ เร็จตามแบบอยาง การปลูกฝง ความดี สรางพลงั คณุ ธรรม เพิ่มพนู พลงั ชวี ิต และส่งั การจติ ใตส ํานกึ ใหน าํ ไปสคู วามสาํ เรจ็ หวั ใจของการพัฒนาคนใหเปนคนดี และประสบความสาํ เร็จคือ ตอ งจุดไฟปรารถนาแหงชีวิต มีแรงจงู ใจ ความเช่อื ศรทั ธา มีกาํ ลังใจ มีพลงั สรางสรรคม ากพอ ท่ี จะตัดสินใจลงมอื กระทาํ ความดี ดาํ เนินชีวติ อยา งถูกตอ ง มเี ปาหมาย สามารถตดั ใจจากอบายมขุ ได สําเรจ็ ตั้งเปาหมายในชวี ติ ( Goal) และแผนการดําเนินชวี ติ ท่นี ําไปสูความสขุ ความสงบ ความสาํ เร็จทีย่ ง่ิ ใหญจ าํ เปน ตองเปนผูทีม่ คี วามสําเรจ็ ในทางธรรม เปน คนดี ทมี่ ีความสุขในชวี ิต ครอบครวั ทา นมคี วามสขุ สงั คมรอบขา งไดประโยชนแ ละมคี วามสขุ การลงมือทาํ สมํ่าเสมอ กาวหนาทุกวนั มคี วามรว มมอื ชว ยเหลือจากผูอ่นื ( Action and Cooperation) และการบนั ทึก ติดตามความกาวหนาของการกระทาํ เพ่อื นําสูเ ปาหมายของชีวิต การรูจักควบคมุ พวงมาลัยชวี ติ (Life monitoring) กลา วคือ ตองรจู ักเสน ทางชีวติ ทีถ่ กู ตอง และรจู กั ควบคุมจิตใจบังคับใจตนเอง ใหลงมอื ทําสิ่งดีๆ ไมขเ้ี กยี จ รจู ักบังคับทิศทางการดําเนนิ ชีวติ ใหสามารถหลบหลกี จากส่ิงกีดขวาง ปญ หาอุปสรรคชีวติ ไมห ลงทางไปกบั สง่ิ เราทไ่ี มดี อบายมขุ สิง่ ทน่ี าํ ความเสื่อมเสยี สชู ีวิต รจู ักตอ ยอดเปา หมายทิศทางการศกึ ษาและสาขาวชิ าชีพดวยคลงั ความรโู ลกสทิ ธิบตั รนานาชาติ ซ่งึ คลัง ความรูโ ลกเอกสารสทิ ธบิ ัตรนานาชาตเิ ปน แหลงเรียนรู ฐานความรทู ันสมัย รเู ทาทนั และใช ประโยชน เพ่อื พฒั นาความคิดสรา งสรรคข องเรา ๒.๓ บทสรุปแนวทางการพัฒนาการศึกษา การพัฒนาการศึกษาตอ งมคี วามเกย่ี วโยงกันทุกภาคสว น ซึ่งความเก่ียวโยงดังกลาว จะตองมีความตอ เนอ่ื งรูบ ทบาทหนา ท่ี สามาจําแนกบทบาทหนา ท่ขี องแตล ะภาคสวนไดด ังน้ี ๒.๓.๑ สวนของรัฐบาล - ทมุ เท เอาจริงเอาจัง และมีความตอ เนื่อง - สงเสริมการมสี วนรว มของทุกภาคสวน เชน สื่อมวลชน ภาคธุรกจิ เอกชน ภาคอุตสาหกรรม ฯลฯ เพ่ือควบคุมดูแลคุณภาพการศึกษา การจัดการศกึ ษา การปองกนั ทอ่ี าจเกดิ ความเสื่อมเสียทางการศกึ ษา - ออกกฎหมายทีช่ ดั เจน ใชอยางเด็ดขาด ไมซบั ซอ นงานตอการปฏิบัติ ๒.๓.๒ สว นของกระทรวงศกึ ษา - พฒั นาผบู รหิ ารการศึกษา - พัฒนาบุคลาการทางการศึกษา - พัฒนาผบู ริหารสถานศกึ ษา - พัฒนาครผู ูส อน - พฒั นาหลกั สูตร ๒.๓.๓ สว นของโรงเรียน - มแี หลง เรยี นรูเ ชิงลึก และหลากหลาย - ปลกู ฝง คุณธรรมจรยิ ธรรม - สรางผเู รยี นใหเปนคนดี คนเกง มคี วามสุข และแนะแนวทางสูความสาํ เรจ็