ห ลั ก ธ ร ร ม คื อ ห ลั ก คุ้ ม ค ร อ ง ก า ร บ ริ ห า ร โ ร ง เ รี ย น วิถีพุ ทธ BUDDHIST WAY SCHOOL ADMINISTRATION โ ด ย ทิ พ ย์ ขั น แ ก้ ว
การบริหารโรงเรียนวิถพี ุทธ (Buddhist way school administration) ๒๐๑ จำนวน ๓ หนว่ ยกิต ๓ (๒-๐-๔) --------------------------------------------------------------------------------------- อาจารยท์ ิพย์ ขันแกว้ วิทยาลยั สงฆบ์ รุ ีรมั ย์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วดั พระพุทธบาทเขากระโดง จังหวดั บรุ รี ัมย์
คำนำ **************** การบรหิ ารโรงเรียนวิถีพทุ ธ เปน็ วิชาท่มี ุ่งอธบิ ายเน้ือหาสาระในดา้ นศึกษาแนวคิดการบริหาร การจดั การโรงเรยี นวิถีพุทธ หลกั การคิดทฤษฎีตามแนวไตรสกิ ขา ความหมายการบริหารการจดั การ เรยี นการสอนโรงเรยี นวิถีพุทธ หลกั การและวิธีการจัดหลักสตู รการเรียนการสอน พทุ ธวิธีการสอนใน พระไตรปฎิ ก การพัฒนาศักยภาพผ้เู รียนในดา้ นการกนิ อยู่ ดู ฟงั ที่ถกู ต้องตามกระบวนการทาง วฒั นธรรมแสวงหาปญั ญา คณุ สมบตั ิของผสู้ อนตามหลกั พระพทุ ธศาสนา จรยิ ธรรมความเปน็ ครู การ ประยกุ ตห์ ลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนตามแนววถิ ีพุทธ โดยมี ผู้บรหิ าร ครเู ป็นกัลยาณมิตรในการพฒั นาพรอ้ มยกตัวอยา่ งประกอบในการเรยี นการสอน อนงึ่ ผรู้ วบรวมขออนโุ มทนาขอบคุณบูรพาจารย์ คณาจารย์ตลอดจนนักวชิ าการด้านครุ ศาสตร์ ทที่ ่านไดน้ ำเสนอวชิ าการในรปู ของหนังสือตำรา ที่ผู้เขียนได้ใชข้ ้อมูล และเอกสารอา้ งองิ ทาง วิชาการ ในการนำเสนอรายวิชาการบริหารโรงเรียนวถิ ีพทุ ธเพือ่ ใช้ประกอบการสอนในขาวิชา การ สอนพระพทุ ธศาสนา ของวิทยาลยั สงฆบ์ รุ รี มั ย์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย และ ขอขอบคุณ อาจารย์อภิเชฏฐ์ ภาสดา ท่อี นุเคราะหข์ ้อมลู ในครั้งน้ีเปน็ อย่างสงู หวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ หนังสือการบริหารโรงเรียนวถิ พี ทุ ธเล่มนี้คงจะมีประโยชนส์ ำหรับผู้ทม่ี ี ความใฝเ่ รยี น และค้นคว้า เพื่อใหเ้ กิดความรู้ในด้านงานสงั คมสงเคราะหใ์ นทางพระพุทธศาสนาตอ่ ไป นายทิพย์ ขันแก้ว อาจารย์ประจำรายวชิ า
สารบญั บทท่ี หนา้ คำนำ ก สารบญั ๑ ๑ ศกึ ษาแนวคดิ การบริหารการจัดการโรงเรยี นวิถีพุทธ ๑ ความนำ ๑ ความเปน็ มาโรงเรียนวถิ ีพุทธ ๔ ความหมายของโรงเรียนวิถีพุทธ ๖ ทฤษฎเี กยี่ วกับการบริหารโรงเรียน ๙ แนวคิดเกย่ี วกบั บทบาทของวดั และพระสงฆ์ในการจัดการศกึ ษา ๑๒ การบรหิ ารจัดการโรงเรียนวถิ พี ุทธ ๑๔ ๑๖ แนวการดำเนินงานในแตล่ ะขั้นตอนการบริหารจดั การโรงเรียนวถิ ีพุทธ สรุปทา้ ยบท ๒ หลกั การคดิ ทฤษฎีตามแนวไตรสิกขา ๑๗ ความนำ หลักไตรสกิ ขาในพระพุทธศาสนา ๑๘ หลักทฤษฎเี ชงิ ระบบ ๑๙ การเปรียบเทียบการใช้หลักไตรสกิ ขาและทฤษฎเี ชงิ ระบบ ๒๒ สรุปทา้ ยบท ๒๖ เอกสารอ้างองิ ทา้ ยบท ๒๘ ๓๐ ๓ การบริหารการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนวิถีพุทธ ความนำ ๓๑ การบรหิ ารจัดการโรงเรยี นวิถีพุทธ กจิ กรรมเสนอแนะการพฒั นา ๓๒ การพฒั นาบุคลากรและคุณลกั ษณะบคุ ลากรโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ ๓๒ ๓๕ คุณลกั ษณะสำคัญของบคุ ลากรโรงเรียนวิถีพุทธ ๓๖ โรงเรยี นวิถพี ุทธในตา่ งประเทศ ๓๖ ตวั ชี้วัดการดำเนินงานโรงเรียนวิถพี ทุ ธ ๓๗ สรปุ ทา้ ยบท ๔๐ ๔๓
สารบัญ ซ บทท่ี หน้า ๔ หลักการและวธิ กี ารจดั หลักสูตรการเรยี นการสอน ๔๔ ความนำ ๔๕ การจัดการเรียนรโู้ รงเรียนวถิ พี ทุ ธ ๔๕ ดา้ นการเรียนการสอน ๔๖ การจัดวถิ พี ุทธสูว่ ถิ ีการเรยี นรู้ ๔๖ กิจกรรมการพฒั นาผเู้ รียน ๔๘ ๕ พทุ ธวิธีการสอนในพระไตรปิฎก ๕๓ ความนำ ๕๔ ความหมาย ๕๕ จดุ มุ่งหมายในการสอนและแนวคิด ๕๖ สรปุ โครงสร้างระบบการสอนตามแนวทางพทุ ธวิธี ๕๘ คณุ สมบตั ขิ องผสู้ อน ๕๙ หลักธรรมตามพุทธวธิ ีในการสอน ๖๐ เทคนิค วิธกี ารสอนของพระพทุ ธเจ้า ๖๐ พุทธลีลาในการสอน ๖๑ เทคนิควธิ กี ารสอนของพระพุทธเจา้ ๖๒ สรุปทา้ ยบท ๖๒
สารบัญ ฌ บทที่ หนา้ ๖ การพัฒนาศักยภาพผู้เรยี นในดา้ นการกนิ อยู่ ดู ฟังทถ่ี กู ตอ้ งตามฯ ความนำ ๖๔ ความหมาย ๖๕ ความจำเปน็ ในการพัฒนาศกั ยภาพ ๖๕ ความสำคัญของการพฒั นาศักยภาพครู ๖๖ ประโยชน์ของการพัฒนาศักยภาพครู ๖๗ การจัดลักษณะทางกายภาพโรงเรยี นวิถีพทุ ธ ๖๘ สรุปทา้ ยบท ๖๙ ๗๒ ๗ คุณสมบตั ขิ องผ้สู อนตามหลกั พระพทุ ธศาสนา ความนำ ๗๓ ความหมาย ๗๔ แนวคดิ สำคัญ ๗๕ ครูในฐานะเปน็ ผนู้ ำทางจิตวิญญาณ ๗๖ ครูในฐานะเปน็ ผู้นำทางวชิ าการ ๗๘ ครูในฐานะเป็นผู้ชี้นำสงั คม ๗๙ ครูในฐานะเป็นวศิ วกรของสังคมและของโลก ๘๐ ครูในฐานะเปน็ ตน้ แบบทางวัฒนธรรม ๘๑ สรุปทา้ ยบท ๘๒ ๘๗ ๘ จริยธรรมความเป็นครู ความนำ ๘๘ ความหมาย ๘๙ จรยิ ธรรมความเป็นครู ๘๙ จรรยาบรรณต่อผเู้ รยี น ๙๑ จรรยาบรรณต่อวิชาชพี ๙๓ หลักพุทธธรรมในโรงเรยี นวิถีพทุ ธ ๙๗ ความมุ่งหมายของการศกึ ษาตามวถิ ีพทุ ธ ๙๘ วถิ ีพทุ ธกับการศกึ ษา ๑๐๔ กัลยาณมติ รในการพฒั นา ๑๐๖ สรปุ ทา้ ยบท ๑๑๐ ๑๑๑
ญ
คำนำ หนังสือ การบริหารโรงเรียนวิถีพุทธ (Buddhist way school administration) ในหลักสูตรพุทธศาสตร์ สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนา คณะครุศาสตร์ ผู้สอนได้รวบรวมขึ้น เพ่ือให้นิสิต นักศึกษาและผู้ท่ีสนใจ ได้ศึกษาประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีเรียน โดยได้ นำแนวสังเขปรายวิชาศึกษาทฤษฎีและหลักการบริหารจัดการ ภาวะผู้นำทางการศึกษา การคิด อย่างเป็นระบบ/การเรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร มนุษยสัมพันธ์ในองค์กร การติดต่อสื่อสารในองค์กร การบริหารจัดการชั้นเรียน การประกันคุณภาพการศึกษา การทำงานเป็นทีม การจัดทำโครงงาน ทางวิชาการ การจัดโครงการฝึกอาชีพการจัดโครงการและกิจกรรมเพ่ือพัฒนา การจัดระบบ สารสนเทศเพอ่ื การบริหารจัดการ กราบขอบพระคุณพระครปู ริยัติภัทรคุณ ผู้อำนวยการวทิ ยาลัยสงฆ์บรุ ีรมั ย์ ท่ีให้โอกาส ในการจัดทำหนังสือเล่มนี้ เพื่อเป็นประโยชน์แก่นิสิต นักศึกษาและผู้ท่ีสนใจ ได้ศึกษาค้นคว้าใช้ เป็นเอกสารประกอบการเรียน หนังสือเล่มนี้ ได้รวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้ ขออนญุ าตจากเจ้าของบทความ ต้องขออภัยไว้ ณ ท่ีนี้ หวังเป็นอย่างย่ิง หนังสือเล่มน้ีจะอำนวยประโยชน์แก่นิสิต ผู้ท่ีสนใจ และคณาจารย์ ที่สนใจในการศึกษา หากท่านผู้อ่านพบเห็นข้อบกพร่องหรือมีคำชี้แนะอันใด เพื่อการปรับปรุง มีความสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน ผู้เขียนยินดีรับฟังความคิดเห็น และจะนำไปปรับปรุงแก้พัฒนาให้มี ความสมบรู ณ์และมีคุณค่าทางการศึกษาต่อไป นายทพิ ย์ ขนั แก้ว อาจารย์ประจำ
ห น้ า | ๑ บทท่ี ๑ ศึกษาแนวคดิ การบริหารการจัดการโรงเรียนวถิ ีพุทธ วตั ถปุ ระสงคป์ ระจำบท เม่ือศกึ ษาเนอ้ื หาในบท ๑ แล้ว นสิ ิตสามารถ ๑.อธบิ ายความเป็นของโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธได้ ๒.อธบิ ายความหมายและยทุ ธศาสตร์โรงเรียนวิถีพทุ ธได้ ๓.อธิบายทฤษฎีการบรหิ ารโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธได้ ๔.อธบิ ายแนวคิดเกี่ยวกบั บทบาทของวดั และพระสงฆใ์ นการจดั การศกึ ษาได้ เนอื้ หาประจำบท ๑.ความเป็นของโรงเรียนวิถีพทุ ธ ๒.ความหมายและยุทธศาสตรโ์ รงเรยี นวิถีพุทธ ๓.ทฤษฎกี ารบริหารโรงเรียนวถิ พี ุทธ ๔.แนวคิดเกยี่ วกบั บทบาทของวดั และพระสงฆ์ในการจดั การศึกษา
ห น้ า | ๒ ๑.๑ ความนำ โรงเรยี น คือ สถานท่สี ำหรับฝกึ สอนนักเรียนภายใต้การดูแลของครหู รอื อาจารย์ หลายประเทศมี ระบบการศกึ ษาอย่างเป็นทางการ ส่วนใหญเ่ ป็นการศึกษาภาคบังคบั ในระบบการเรยี นนี้ นกั เรียนจะผ่าน โรงเรียนตามลำดบั ชื่อของโรงเรยี นเหลา่ นีอ้ าจแตกต่างไปตามภาษาและประเทศ แตโ่ ดยหลกั จะมีโรงเรยี น ประถมสำหรับเด็กเลก็ และโรงเรียนมธั ยมสำหรบั เดก็ โตท่ีได้สำเร็จการศึกษาระดบั ประถมมาแลว้ นอกเหนือจากโรงเรียนหลักแล้ว นักเรียนในบางประเทศยงั สามารถเข้าเรียนในโรงเรียนทัง้ ก่อน และหลงั โรงเรียนประถม และมธั ยม โรงเรียนอนบุ าลเสรมิ การเรียนการสอนให้กับเดก็ เล็กมาก มหาวิทยาลยั , โรงเรยี นฝกึ งาน, อดุ มศึกษา อาจมีอยหู่ ลังจากจบมัธยนศกึ ษา โดยโรงเรียนอาจจะอทุ ศิ เพือ่ สอนแค่วชิ าสาขา เดียว เชน่ โรงเรียนวชิ าเศรษฐศาสตร์ โรงเรยี นสอนเต้น สอนป่นั ฟิกเกยี ร์ ๑.๒ ความเปน็ มาโรงเรียนวิถีพุทธ การทรวงศึกษาธกิ ารสง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษานำระบบพุทธธรรมมาประยุกต์จัดเป็นระบบการเรยี น การสอนในสถานศึกษาปัจจุบันเพอ่ื พฒั นาเยาวชนไทยให้เป็นมนษุ ย์ท่สี มบรู ณ์ ตามท่พี ระราชบญั ญัติ การศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช ๒๕๔๒ กำหนดท่มี ีคณุ สมบัตขิ องการเปน็ คนดี เก่ง มีความสุขอยา่ งแท้จรงิ โดยผ่านการดำเนินงานของ “โรงเรยี นวถิ พี ุทธ” สืบเนือ่ งจากมหาเถรสมาคม ได้มีมตเิ ม่ือวันท่ี ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ มอบหมายให้พระธรรมวรเมธี เลขานุการแม่กองธรรมสนามหลวง และพระเทพ โสภณ อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เป็นผู้แทนไปพิจารณาสาระการเรียนรู้ พระพทุ ธศาสนาในหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานขอกระทรวงศึกษาธิการซึ่งกำลังประกาศใชใ้ นขณะน้นั ผลการเจรจากับกรมวชิ าการในสมยั นั้นปรากฏวา่ กระทรวงศกึ ษาธิการ พรอ้ มท่ีประกาศใช้ หลักสตู รการศึกษาขั้นพ้นื ฐานเรยี บร้อยแล้วในทสี ุดกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใชห้ ลักสูตรการศึกษาขั้น พนื้ ฐาน เมื่อวนั ท่ี ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๔ ในหลกั สูตรนีม้ เี รอ่ื งเกี่ยวกับมาตรฐานวิชา พระพุทธศาสนาเพยี งไม่กี่บรรทัดดังต่อไปนี้ “มาตรฐาน ส ๑.๑ เข้าใจประวัติ ความสำคญั หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทจ่ี น นบั ถือและสามารถนำหลกั ธรรมของศาสนามาเปน็ หลกั ปฏิบัตใิ นการอยรู่ ว่ มกนั มาตรฐาน ส ๑.๒ ยดึ ม่ันในศีลธรรม การกระทำความดี มีคา่ นยิ มท่ดี ีงาม และศรัทธาใน พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีจนนับถอื มาตรฐาน ส ๑.๓ ประพฤติ ปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรม และศาสนพิธีของพระพทุ ธศาสนาหรือ ศาสนาทีต่ นนบั ถือ คา่ นิยมทดี่ ีงาม และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาตน บำเพญ็ ประโยชน์ต่อ สังคมสง่ิ แวดล้อมเพื่อการอยูร่ ่วมกนั ได้อย่างสนั ติสขุ ” เพื่อชว่ ยให้โรงเรยี นท่วั ประเทศมรี ายละเอียดสาระการเรยี นรู้แกนกลางพระพุทธศาสนาและ จดั พิมพ์เป็นหนังสือเร่ือง “การจัดสาระการเรยี นรู้พระพุทธศาสนา กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔” สำเรจ็ เรียบร้อยทันเสนอ ในท่ปี ระชมุ เร่ือง “ หลักสตู รใหม่เด็กไทยพฒั นา : หวั ใจปฏริ ปู การศึกษา” ซ่งึ มี ฯพณฯนายกรฐั มนตรีพัน
ห น้ า | ๓ ตำรวจโท ดร.ทักษณิ ชินวัตร ให้เกยี รตเิ ป็นประธาน จัดทส่ี ถานบันราชภฎั สวนดสุ ติ เมื่อวนั ที่ ๒๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ พระเทพโสภณ ในฐานะประธานกรรมการท่จี ัดทำรายละเอยี ดสาระเรียนรู้ พระพทุ ธศาสนาเป็นผรู้ ายงานรายละเอยี ดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาต่อนายกรฐั มนตรี ซ่ึงไดเ้ ปิด โอกาสในทีป่ ระชมุ พจิ ารณาเร่ืองนีน้ านพอสมควร ผลจากการประชมุ ครั้งน้พี อสรุปได้เป็น ๓ ประการดงั นี้ ๑. นายกรฐั มนตรใี ห้ความเห็นชอบตอ่ รายละเอยี ดสาระการเรียนรพู้ ระพทุ ธศาสนา และชืน่ ชมผัง มโนทศั นข์ องสาระการเรียนรู้พระพทุ ธศาสนาพร้อมกับเสนอแนะใหส้ าระการเรยี นรอู้ ืน่ ทำผงั มโนทศั น์ เช่นเดียวกับ สาระการเรยี นรู้พระพทุ ธศาสนา ๒.นายกรัฐมนตรีเหน็ ชอบใหส้ าระการเรยี นรู้พระพทุ ธศาสนามี ๑ หนว่ ยกิต (ในระดับมัธยมศกึ ษา คำว่า๑หนว่ ยกติ มีค่าเทา่ กับ ๒ ชั่วโมงต่อสปั ดาห)์ ๓.ใหม้ ีโรงเรยี นวิถีพทุ ธนำรอ่ งจังหวัดละ ๒ โรงเรียน ในปี ๒๕๔๖ เหตทุ ท่ี ำให้มีการพูดถึงโรงเรียนวถิ พี ทุ ธก็เพราะวา่ นายกรฐั มนตรไี ดถ้ ามความเห็นของทีป่ ระชุมวา่ รายละเอยี ดสาระการเรียนรู้พระพทุ ธศาสนาเปน็ อย่างไร ผเู้ ขา้ ประชมุ ได้อภปิ รายสนับสนุนรายละเอยี ด สาระการเรียนรู้พระพทุ ธศาสนาตามทนี ะเสนอนั้น ศาสตราจารย์ ดร. ชยั อนันต์ สมุทวณชิ ผบู้ ังคับ การวชริ วุธวทิ ยาลัย เสนอแนะว่า การสอนพระพทุ ธศาสนาให้ไดผ้ ลจะต้องนำไปบูรณาการเข้ากับชวี ิตจริง เพ่อื อบรมคุณธรรมจริยธรรมใหก้ บั เดก็ ที่สำคญั คือต้องนมิ นต์พระสงฆ์มาช่วยสอนในโรงเรียน เหมอื นกบั โรงเรยี นท่ีจัดโดยบางศาสนาก็ไม่สอนเฉพาะเรื่องวิชาการ แตเ่ นน้ เรอ่ื งกิรยิ ามารยาทและอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรมด้วย โรงเรยี นเหล่านน้ั ประสบความสำเรจ็ ในการอบรมคุณธรรมจรยิ ธรรม เพราะมีบาทหลวงและ แม่ชที ้งั หลายมาเปน็ แบบอย่างอบรมดูแลเด็กอย่างใกลช้ ิด ดังนนั้ จึงควรมโี รงเรยี นทสี่ อนเนน้ เร่อื งคุณธรรม จรยิ ธรรมตามหลกั สูตรพระพุทธศาสนา โดยนิมนต์พระสงฆม์ าสอนในโรงเรียนเพื่อใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งทาง ศีลธรรมแก่เด็กและเยาวชนด้วยการ สอนให้รู้ ทำใหด้ ู อยู่ใหเ้ ห็น นายกรัฐมนตรีเห็นด้วยกับข้อเสนอของศาสตราจารย์ ดร.ชัยอนนั ต์ สมทุ วณิช ตอนแรกทป่ี ระชมุ เรียกโรงเรยี นประเภทน้วี า่ โรงเรียนสอนเน้นพระพทุ ธศาสนา เช่นเดียวกับโรงเรียนที่สอนเน้น ภาษาองั กฤษโรงเรียนเหล่าน้เี หมอื นโรงเรียนปกติท่วั ไป แตส่ อนเน้นวิชาพระพทุ ธศาสนาเป็นพเิ ศษ เพ่ือให้ เด็กสามารถนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ นชีวิตจริง นายกรัฐมนตรีให้นโยบายวา่ ในปี การศึกษา ๒๕๔๖ ให้มโี รงเรียนทสี่ อนเนน้ พระพุทธศาสนาเปน็ การนำรอ่ งจังหวดั ละ ๒ โรงเรียน ดร.สริ ิกร มณรี ินทร์ รฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการรับนโยบายของทา่ นนายกรัฐมนตรีไปดำเนินการทันที กระทรวงศึกษาธิการเรียกโรงเรยี นสอนเน้นพระพุทธศาสนาน้วี า่ “โรงเรยี นวิถพี ทุ ธ” มีการระดม ผทู้ รงคณุ วฒุ ิจดั ทำเอกสาร “แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนวถิ พี ุทธ” ปละเปิดรบั สมัครโรงเรยี นนำรอ่ ง โครงการโรงเรียนวถิ พี ุทธในรุ่นท่ี ๑ ปี ๒๕๔๖ จำนวน ๘๙ โรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการจัดประชมุ ปฐมนิเทศ ณ พทุ ธมณฑล เม่ือวนั ท่ี ๒๓ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยสมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ วดั สระเกศเป็น ประธานเปดิ การประชุม พระเทพโสภณเป็นวิทยากรบรรยายนำ จากนนั้ กระทรวงศึกษาธิการได้ เปดิ รับสมัครโรงเรียนเข้าร่วมโครงการเรื่อยมา นับจนถงึ ปัจจุบัน ขอ้ มลู ณ วันท่ี ๒๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ มีจำนวน ๑๘,๔๘๘ โรงเรยี น ๑.๓ ความหมายของโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ โรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ หมายถึง โรงเรยี นระบบปกติท่ัวไปทีน่ ำหลกั ธรรมพระพุทธศาสนามาใช้หรอื ประยุกตใ์ นการบริหาร และการพฒั นาผู้เรียนโดยรวมของสถานศกึ ษา เน้นกรอบการพัฒนา
ห น้ า | ๔ สรุปงานรายโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ,” เอกสารโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ เล่มที๑่ ๔/๒๕๔๘ สำนกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร, ๒๕๔๘.(อัดสำเนา)ตามหลกั ไตรสิกขา อย่าง บูรณาการ สว่ นไพรัช สแู่ สนสุข และ บรรเจอดพร รัตนพนั ธ์ุ ขยายความหมายของโรงเรยี นวิถีพุทธ เพิม่ เติมว่า นอกจากเน้นกรอบการพัฒนาตามหลกั ไตรสิกขาแลว้ ผูเ้ รียนจะได้เรยี นรูไ้ ด้พัฒนาการกิน อยู่ ดู ฟงั ใหเ้ ป็น โดยผ่านกระกบวนการทางวฒั นธรรมแสวงปัญญา แบะมวี ัฒนธรรมเมตตา เปน็ ฐานการ ดำเนนิ ชีวิต ดงั น้นั สรุปไดว้ า่ โรงเรยี นวถิ พี ุทธ หมายถึง โรงเรียนท่ีอย่ใู นระบบปกตทิ ัว่ ไป แต่จดั สภาพ ส่ิงแวดลอ้ มของโรงเรยี นให้รม่ ร่ืน การจดั การเรียนการสอนนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ โดยมงุ่ พฒั นานักเรียนตามหลักไตรสิกขา ทำให้นักเรียนเปน็ ผู้มปี ัญญารูแ้ ละเขา้ ใจในทางคุณคา่ แท้ ๑.๔ ยทุ ธศาสตร์สำคัญของโรงเรียนวิถีพทุ ธ ๑.ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ผู้อำนวยการสถานศึกษา และครูในโรงเรยี นท่ีมีความพร้อมและสมคั รใจเขา้ รว่ มโครงการ ๒.สนบั สนุนใหค้ วามรู้ ความเข้าใจการบรหิ ารจดั การโรงเรียนวิถพี ทุ ธ แกผ่ ู้อำนวยการสถานศึกษา ผู้รับผดิ ชอบโครงการและผู้แทนคณะกรรมการสถานศึกษาโดยการปฐมนิเทศ ๓.สนับสนุนเอกสาร แนวทางการดำเนินงานโรงเรยี นวิถีพุทธ โดยมตี วั ชวี้ ดั กำกบั การปฏิบัตงิ าน ๔.ประสานความรว่ มมอื และขอรับการสนบั สนุนจากองค์กรทงั้ ภาครฐั และเอกชนตลอดจนสถาน บันศาสนา ๕.สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ผู้รับผิดชอบโครงการโรงเรยี นวถิ ีพุทธ ระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาทง้ั ๑๗๕ เขต เป็นตวั ขบั เคลอ่ื นไหวโรงเรียน ๖.สง่ เสริมสนับสนนุ ใหม้ กี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรโู้ รงเรยี นวถิ ีพุทธ ในแตล่ ะภมู ิภาค ๗.สง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี นนำวถิ พี ุทธบรู ณาการอยา่ งกลมกลืนในระบบการบริหารจัดการ ๑.๕ การจัดสภาพในโรงเรยี นวิถีพุทธ แนวคิดเบือ้ งตน้ ของการจัดสภาพในสถานศึกษาท่ีเหมาะสมในดา้ นตา่ งๆ มีลกั ษณะดังต่อไปน้ี ๑.๕.๑ ดา้ นกายภาพ สถานศกึ ษาจะจัดอาคารสถานท่ี สภาพแวดล้อม ห้องเรียน และแหล่งเรียนรทู้ ส่ี ง่ เสรมิ การพฒั นาศลี สมาธแิ ละปัญญา เชน่ มาศาลาพระพุทธรปู เดน่ เหมาะสมที่ชวนใหร้ ะลึกถึงพระรตั นตรยั อยู่ เสมอ มมี ุมหรอื ห้องในศึกษาพุทธธรรม บรหิ ารจติ เจริญภาวนาเหมาะสม หรือมากพอทจ่ี ะบรกิ ารผูเ้ รยี น หรอื การตกแต่งบรเิ วณใหเ้ ปน็ ธรรมชาตหิ รือใกล้ชดิ ธรรมชาติ ชวยให้ในใจสงบและส่งเสริมปัญญา เชน่ รม่ รน่ื มีปา้ ยนเิ ทศ ปา้ ยคุณธรรม ดูแลเสียงต่างๆ มใิ หอ้ ึกทกึ ถ้าเปิดเพลงกระจายเสยี งก็พถิ ีพถิ นั เลือกเพลงที่ ส่งเสรมิ สมาธิ ประเทืองปญั ญา เป็นต้น ๑.๕.๒ ดา้ นกจิ กรรมพ้นื ฐานชีวติ สถานศึกษาจดั กจิ กรรมวิถชี ีวติ ประจำวัน ประจำสัปดาห์ หรือในโอกาสต่างๆเป็น ภาพรวมทง้ั สถานศกึ ษา ท่เี ป็นการปฏิบตั บิ รู ณาการท้งั ศลี สมาธิ ปญั ญา โดยเน้นการมีวถิ ชี วี ิตหรอื วฒั นธรรมของ การกิน อยู่ ดู ฟงั ดว้ ยสติสัมปชญั ญะ เพื่อเป็นไปตามคุณคา่ แท้ของการดำเนนิ ชีวิต
ห น้ า | ๕ โดยมกี ิจกรรมตัวอย่างดงั น้ี (๑)กิจกรรมสวยมนต์ไหวพ้ ระ ก่อนเขา้ เรยี น และก่อนเลิกเรียนประจำวนั (๒)กจิ กรรมรับศีล หรอื ทบทวนศีลทกุ วันอาจเป็นบทกลอนหรอื เพลงเช่นเดยี วกบั กิจกรรม แผ่เมตตา (๓)กิจกรรมพิจารณาอาหารก่อนรับประทานอาหารกลางวัน (๔)กจิ กรรมอาสาตาวเิ ศษปฏิบตั ิหรือศีล (๕)กิจกรรมประเมนิ ผลการปฏิบตั ธิ รรม (๖)กจิ กรรมสวดมนต์ ฟงั ธรรมประจำสัปดาห์หรือในวันพระ (๗)กจิ กรรมบรรทุกและการยกยอ่ งปฏิบตั ิธรรม (๘)ทกุ ห้องเรียนกำหนดข้อตกลงในการอยรู่ ่วมกัน โดยเข้าใจเหตผุ ลและประโยชน์ทม่ี ีต่อ การอยู่รว่ มกนั ๑.๕.๓ ดา้ นการบริหารจดั การ สถานศึกษาสง่ เสรมิ บรรยากาศของการใฝ่เรยี นรู้ และพฒั นาไตรสกิ ขา หรือส่งเสริมการวี วฒั นธรรมแสวงปญั ญาเขา้ ใจในหลักการและวิธีการโรงเรียนวิถีพทุ ธร่วมกนั ครแู ละผบู้ ริหารเพียรพยายาม สนับสนุนโดยลกั ษณะต่างๆ และการปฏิบตั ติ นเอง ท่จี ะสนบั สนนุ และเปน็ ตัวอยา่ งในการพัฒนาผู้เรียนตาม วิถชี าวพทุ ธ ตามความเหมาะสมของบริบทของสถานศึกษา ซ่ึงแตล่ ะสถานศึกษาจะมจี ดุ เด่น และ รายละเอยี ดรปู แบบทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป เช่น บางสถานศึกษาจะมีจดุ เน้น ประยุกตไ์ ตรสกิ ขาในระดับชัน้ เรยี น การบรหิ าร คือ กระบวนการที่จะทำให้วตั ถปุ ระสงค์ประสบความสำเรจ็ โดยผา่ นบุคคลและ องคป์ ระกอบของการบรหิ ารอันไดแ้ ก่ การกำหนดวตั ถุประสงค์ การวางแผน การจดั องค์กร การกำหนด นโยบาย การบรกิ ารและการควบคมุ กระบวนการบริหาร หนา้ ที่และกระบวนการในการบรหิ าร ยอ่ มมคี วามแตกต่างกนั บ้างในบาง เร่อื งของการจัดกลุม่ ภาระงาน อยา่ งไรก็ตาม เมื่อพิจารณาแล้วเห็นว่ากลุม่ ภาระกิจและกระบวนการ บริหารจะครอบคลมุ ใน ๕ เรอ่ื งหลกั ไดแ้ ก่ การวางแผน การจดั องค์กร การจดั บคุ ลากร การ อำนวยการ และการควบคุม การบรหิ ารโรงเรียน แนวทางการบริหารสถานศึกษาเพื่อรองรบั การกระจายอำนาจตามมาตร ๓๙ ใหก้ ระทรวงกระจายอำนาจการบรหิ ารการจัดการศึกษาด้านวชิ าการ งบประมาณ การบรหิ ารบุคคล และ การบริหารงานทว่ั ไป ไปยงั คณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาและสถานศกึ ษาในเขตพ้นื ที่ การศึกษาโดยตรง ธีระ รญุ เจรญิ (๒๕๔๖) กลา่ วว่าหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจให้เป็นไปตามที่ กำหนดในกฎกระทรวงนบั เป็นกา้ วใหมท่ างการศึกษาของไทย ทีก่ ำหนดใหม้ ีการกระจายอำนาจการบริหาร การศึกษาจากสว่ นกลางไปยงั เขตพ้นื ท่กี ารศึกษาและสถานศกึ ษาโดยตรง การกระจายอำนาจให้ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยกระจายอำนาจการบรหิ ารใน ๔ ด้าน คือ ด้าน วิชาการ งบประมาณ งานบรหิ ารบคุ คล งานบรหิ ารทัว่ ไป เพอื่ ให้การบรหิ ารตามแนวการกระจายอำนาจ ดงั กลา่ ว ประสบความสำเร็จอย่างมีประสทิ ธิภาพ จำเปน็ จะตอ้ งดำเนินการหลายอยา่ ง เชน่ การจัด องค์กรเพ่ือการรองรับการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการในแตล่ ะด้านการบริหารและการจัดการ ตามแนวการกระจายอำนาจการบรหิ ารงานท้ัง ๔ งาน ดงั นนั้ บรรยายได้จำแนกงานบรหิ ารโรงเรยี นเปน็ ๔ งาน ตามที่พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนด ไดแ้ ก่ (๑) งานวิชาการ (๒) งานบคุ คล (๓) งานการเงิน (๔) งานบรหิ ารทวั่ ไป
ห น้ า | ๖ ๑.๖ ทฤษฎีเกี่ยวกบั การบริหารโรงเรียน ๑.๖.๑ การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน (School Base Management) มหี ลกั การสำคัญ ในการบริหารแบบใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน (School Base Management) สมศักด์ิ ดลประสทิ ธ์ิ, ๒๕๕๑ : ๑) คือ (๑)หลกั การกระจายอำนาจ(Decentralization) (๒)หลกั การมีส่วนรว่ ม (Participation on Collaboration or Involvement) (๓)หลักการคนื อำนาจจัดการศึกษาให้ประชาชน (Return Power to People) (๔)หลักการบริหารตนเอง (Self-managing) (๕)หลกั การตรวจสอบและถว่ งดุล (Check and Balance) รปู แบบการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน มรี ูปแบบท่สี ำคัญอยา่ งน้อย ๔ รปู แบบ คอื (๑)รปู แบบท่ีมีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (Administration Control SBM) (๒)รูปแบบท่ีมีครเู ปน็ หลัก (Professional Control SBM) (๓)รูปแบบท่ีชมุ ชนมบี ทบาทหลัก (Community Control SBM) (๔)รปู แบบท่ีครแู ละชมุ ชนมบี ทบาทหลัก (Professional Community Control SBM) กระบวนการบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน มกี ระบวนการทีส่ ำคัญเร่ิมทกี่ ารวิเคราะหศ์ ักยภาพ ของโรงเรยี น การกำหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย เปา้ หมาย ยทุ ธศาสตร์ มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั การกำหนดกล ยทุ ธ์ วางแผนพฒั นาและแผนปฏิบัตกิ าร การดำเนินการตามแผนปฏบิ ตั ิการ การประเมนิ ตนเอง และการ ประเมินภายใน การายงานประจำปีและการายงานประเมินตนเอง ซึง่ กระบวนการต่าง ๆ เหลา่ น้ีจะมี ความเชื่อมโยงสมั พันธก์ ันในเชงิ เหตแุ ละผล ดังนั้นการบริหารโรงเรียนที่พระมสี ว่ นร่วมในการสอนศีลธรรม ได้ดำเนินการตามรปู แบบในการ บริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน โดยเน้นรูปแบบทีค่ รแู ละชุมชน มีบทบาทเปน็ หลัก ท้งั น้ีเพื่อเปิดโอกาสให้ ผ้ทู ี่เกีย่ วขอ้ งและผทู้ ่ีมสี ว่ นไดส้ ่วนเสียในการจัดการศึกษา ได้แก่คณะกรรมการสถานศกึ ษา ซึง่ ประกอบดว้ ย ผู้ปกครอง ครู ผทู้ รงคุณวฒุ ิ สมาชกิ ในชมุ ชน ศิษยเ์ กา่ ผบู้ ริหารโรงเรยี น และตวั แทน นกั เรยี น ได้เขา้ มามีสว่ นร่วมในการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ ครูพระเข้าไปสอนในโรงเรียน/สถานบนั โดยให้ เปน็ ไปตามความต้องการและความคาดหวังของสังคม และของชุมชนนนั้ ๆ ๑.๖.๒ การบรหิ ารโรงเรยี นวถิ พี ุทธ โรงเรยี นวิถีพุทธ คือ โรงเรียนระบบปกตทิ ั่วไปทนี่ ำหลักธรรม ของพระพทุ ธศาสนามาใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการบริหาร และพฒั นาผเู้ รยี นโดยรวมของสถานศึกษาเน้น กรอบการพัฒนาตามหลักไตรสกิ ขาอย่างบูรณาการ ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้พฒั นาการ กิน อยู่ ดู ฟัง ใหเ้ ปน็ โดยผา่ นกระบวนการทางวัฒนธรรม แสวงหาปัญญา และมีวัฒนธรรมเมตตาเปน็ ฐานการดำเนินชวี ติ (พระธรรมปิฏก, ๒๕๔๖ : ๗) สำหรับรปู แบบโรงเรยี นวถิ พี ุทธ โรงเรยี นมีจุดเน้นท่ีการนำหลกั ธรรมมาใชใ้ น ระบบการพฒั นาผู้เรยี น ซ่ึงอาจเปน็ การเรียนการสอนในภาพรวมของหลกั สูตรสถานศึกษา หริการจัด ระเบยี บวถิ ีชวี ติ ในสถานศึกษาของผู้เรยี นส่วนใหญ่ โดยนำไปสูจ่ ุดเนน้ ของการพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ ผู้ กิน อยู่ ดู ฟัง เป็น กลา่ วคือ ใช้ปญั หาและเกดิ ประโยชนแ์ ท้จรงิ ต่อชีวิต การจัดดำเนนิ การของสถานศึกษา จะแสดงถึงการจัดสภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศทเี่ ปน็ กัลยาณมติ ร เอื้อในการพัฒนาผ้เู รยี นจะกระทำผา่ น ระบบไตรสิกขา ซ่ึงประกอบดว้ ย ศีลหรือพฤติกรรม หรือวนิ ยั โดยการดำเนนิ ชีวิตทีด่ ีงามสำรับตนและ สงั คม (กระทรวงศึกษาธิการ,๒๕๔๖ : ๙ ) และลกั ษณะโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธจะเน้นการจัด
ห น้ า | ๗ สภาพทกุ ๆ ด้าน เพื่อสนับสนนุ ให้ผเู้ รียนพฒั นาตามหลักพุทธธรรมอย่างบรู ณาการโดยสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดความ เจริญงอกงามตามลักษณะแห่งปัญญาวฒุ ธิ รรม ๔ ประการ คอื (๑)สัปปรุ ิสสังเสวะ หมายถงึ การอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้รู้ มคี รูอาจารย์ดี มีข้อมูล มสี ื่อที่ดี (๒)สัทธมั มัสสวนะ หมายถึงการเอาใจใส่ศึกษา โดยมหี ลักสูตรการเรียนการสอนทด่ี ี (๓)โยนิโสมนสกิ าร หมายถึงมีกระบวนการคิดวิเคราะห์พิจารณาหาเหตุผลทีด่ แี ละถูกวิธี (๔)ธมั มานธุ ัมมาปฏิบตั ิ หมายถึง ความสามารถนำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ไดถ้ ูกต้อง เหมาะสมและการจัดการบรหิ ารโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ การกา้ วเขา้ สู่โรงเรยี นวิถพี ทุ ธท่ชี ัดเจน มปี ระสิทธภิ าพ จำเปน็ ต้องพิจารณาองคป์ ระกอบและลำดับข้นั ตอนท่ีเป็นระบบ ดงั นี้ (๑) ขน้ั เตรียมการท่จี ะให้การจัดโรงเรียนวถิ พี ทุ ธดำเนนิ ไปโดยสะดวกด้วยศรัทธาและฉันทะ (๒) ขน้ั ดำเนนิ การจัดสภาพองคป์ ระกอบ ที่จะเป็นปัจจยั เป็นกิจกรรม เป็นเคร่ืองมือสูก่ ารพัฒนา ผู้เรยี นได้อยา่ งเหมาะสม สอดคล้องกับลกั ษณะแห่งปญั ญาวฒุ ธิ รรม (๓) ขน้ั ดำเนนิ การพฒั นาผเู้ รียนและบุคลากรตามระบบไตรสกิ ขา ซ่งึ เปน็ ขั้นตอนท่ีเปน็ หวั ใจของ การดำเนนิ การโรงเรยี นวิถีพุทธ ซึ่งต้องดำเนินการอย่างตอ่ เนอ่ื ง (๔) ข้ันดูแลสนบั สนนุ ใกล้ชิด ท่ีจะช่วยใหก้ ารดำเนินการทุกส่วนเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพด้วย ท่าทกี ารเป็นกลั ยาณมิตร (๕) ขนั้ ปรับปรุงพัฒนาตอ่ เนื่องท่จี ะเนน้ ยำ้ พฒั นาวา่ ต้องมีมากข้นึ ด้วยหลกั อิทธบิ าท ๔ และ ปญั ญาคุณธรรม (๖) ขน้ั ประเมินผล และเผยแพร่ผลดำเนินการ ท่ีจะนำข้อมลู ผลการดำเนินงานส่กู ารเตรยี มการท่ี จะดำเนินการในรอบต่อ ๆ ไป ๑.๖.๓. การบรหิ ารมุง่ ผลสัมฤทธิ์ คอื วิธกี ารบริหารท่มี ่งุ ผลสมั ฤทธ์หิ รอื ผลการปฏิบตั ิงานเป็นหลกั โดยมกี ารวดั ผลการปฏบิ ตั งิ านด้วยตัวชวี้ ดั อยา่ งเปน็ รปู ธรรม เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงคท์ ตี่ ัง้ ไว้ ทำให้ ผู้บรหิ ารทราบผลความก้าวหนา้ ของการดำเนนิ งานเป็นระยะ ๆ และสามารถแก้ไขปัญหาไดท้ นั ทว่ งที เป็น การควบคุมทศิ ทางการดำเนนิ งานใหม้ ุง่ สู่วิสัยทัศน์ ของหนว่ ยงานสำหรับกระบวนการของการบรหิ ารแบบ มงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ การบรหิ ารแบบมงุ่ ผลสัมฤทธจ์ิ ะประกอบด้วยข้ันตอนท่ีสำคญั ๆ ๔ ขนั้ ตอน (Richard S. Williams, ๑๙๙๘ : ๒๕-๒๗ และ ทศพร ศริ ิสัมพนั ธ์, ๒๕๔๓ : ๑๕๑-๑๕๒) ไดแ้ ก่ (๑)การวางแผนกลยุทธ์ (๒)การกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้วดั ผล (๓)การวดั และการตรวจสอบผล (๔)การให้รางวลั ตอบแทน ท้งั ๔ ข้นั ตอนดงั กล่าว ถือวา่ เป็นแนวทางทีส่ ำคัญในการกำหนดรปู แบบการบริหารพระสอน ศลี ธรรมในโรงเรียน เพราะแนวคิดดงั กล่าวช่วยให้ผู้วิจยั สามารถเข้าใจถงึ สภาพขององค์กร วา่ มกี ารจัดทำ แผนกลยุทธ์ ประกอบด้วยวสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และกลยทุ ธ์การปฏบิ ัติงาน การให้ความ ร่วมมอื จากผ้บู รหิ ารในการกำหนดเป้าหมายที่เหมาะสมของการปฏบิ ัตงิ าน และการมอบหมายเจ้าหน้าท่ี ผู้รบั ผดิ ชอบการปฏบิ ตั ิงานในระบบการบริหารมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิใหช้ ัดเจน ดังน้นั การบรหิ ารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Results Based Management ; RBM) เป็นวฒั กรรม ทางการบริหารทนี่ ำมาใชใ้ นการปฏิรูประบบงานให้เกิดประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล โปรง่ ใส สามารถ ตรวจสอบได้ หวั ใจสำคัญของความสำเรจ็ ในการใช้วธิ กี ารบรหิ ารแบบมงุ่ ผลสัมฤทธน์ิ ้นั อย่ทู ่กี ารสรา้ งตวั บ่งชี้
ห น้ า | ๘ ผลการปฏิบตั ิงาน (Key Performance Indicators ; KPIs) ท่มี คี วามตรงเป็นท่ยี อมรบั และสะดวกใน การนำไปใช้ เพื่อใหเ้ มาซ่งึ สารสนเทศสำหรับการกำกับตดิ ตาม และรายงานผลการดำเนนิ งานขององค์กร ๑.๖.๔. การบริหารคุณภาพ (Quality Management) การเพิม่ ผลผลิตจงึ เปน็ ส่ิงจำเป็นท่ีต้องทำ (เกษม วฒั นชัย, ๒๕๔๖ ; ๑๑-๑๕) เป็นกระบวนการที่สำคญั ในการค้นหาปญั หา หรอื ข้อบกพรอ่ งท่ตี ้อง ปรับปรุงแก้ไข โดยการใช้วธิ ีการระดมสมองจากทุกฝ่าย จัดลำดับความสำคัญของปญั หา ปรับปรุง ตดั สินใจเลือกปัญหามาปรับปรุง สำรวจสภาพ (ขอ้ มลู ) ก่อนแกป้ ญั หาปรับปรงุ สำรวจสภาพ (ข้อมูล) หลงั การแก้ไขปรบั ปรุง ๑.๖.๕. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning ) เป็นแนวคดิ ทใ่ี ช้กนั แพรห่ ลายมากเพราะการ วางแผนกลยุทธ์จะมุ่งเนน้ การคาดคะเนสภาพในอนาคต จากการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมและการประเมนิ จดุ ออ่ นจุดแข็งขององคก์ ร เพอื่ กำหนดวสิ ัยทศั น์ ภารกิจ วัตถุประสงคข์ ององค์กร และหาแนวทางหรือ กลยุทธก์ ำกับการทำงานในอนาคตของหน่วยงาน หรือเตรียมเผชญิ กบั การแข่งขนั เผชิญกับการ เปลีย่ นแปลงทจี่ ะเกิดขนึ้ จะเนน้ ถึงความสามารถในการปรับตวั ขององค์การ เพ่ือนำองค์กรไปส่จู ุดมุ่งหมาย ทีต่ อ้ งการ ( Robbins and Coulter, ๑๙๙๙ : ๒๕๗) สำหรบั ข้นั ตอนในการวางแผนขนั้ ตอนกลยุทธ์ นักวิชาการหลายทา่ นได้กำหนดขนั้ ตอนกระบวนการในลักษณะทีแ่ ตกต่างกนั ออกไป แต่โดยส่วนใหญจ่ ะ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมหลกั ดังน้ี (๑) การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอกและสภาพแวดลอ้ มภายใน ซง่ึ ก็คือการวเิ คราะห์จุดแขง็ (Strength) และจดุ ดอ้ ย (Weakness) ภายในองค์กร รวมทง้ั โอกาส (Opportunity) และข้อจำกัด (Treat) จากภายนอกองคก์ าร (๒) การกำหนดวสิ ยั ทศั น์ (Vision) คอื ภาพอนาคตขององค์การท่ีต้องการจะไปให้ถงึ ซึ่งจะตอ้ งมี ความชดั เจนและจะต้องการการกำหนดตวั ดัชนีชวี้ ดั ความสำเรจ็ ไวด้ ว้ ย โดยเปิดโอกาสใหผ้ ทู้ ม่ี สี ่วนเก่ยี วข้อง ทุกฝ่ายไดร้ ่วมกนั กำหนด เพื่อใหเ้ ปน็ ท่ยี ึดถอื ร่วมกันและเป็นทศิ ทางในการดำเนนิ งานร่วมกัน (๓) การกำหนดพนั ธกิจ (Mission) หมายถงึ สิง่ ท่ีองค์การจะตอ้ งกระทำ โดยจะต้องสัมพนั ธ์กบั จุดมุ่งหมายหรือเหตุผลในการจดั ต้งั องค์การ (๔) การกำหนดจุดหมาย (Goals) หมายถึงผลท่ีจ้องการให้เกดิ ในระยะยาว (๕) การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objectives) หมายถึง ผลที่ตอ้ งการให้เกิดขน้ึ ในลักษณะจำเพาะ เจาะจงจากการจัดลำดับความสำคญั ของวธิ ีการ (๖) การกำหนดกลยุทธ์ (Strategies) ซึ่งเปน็ วธิ ีการท่จี ะทำให้สำเร็จ เกดิ ผลตามท่ีได้ต้ังเปา้ หมาย ไว้ รวมท้งั มีการจัดลำดบั ความสำคัญของวิธกี าร (๗) การกำหนดนโยบาย (Policies) เป็นการกำหนดแนวทางการดำเนนิ งานอยา่ งกวา้ ง ๆ ที่จะ เช่ือมโยงการกำหนดกลยุทธก์ ับการนำไปปฏิบตั ิ ๑.๗ แนวคิดเกีย่ วกับบทบาทของวัดและพระสงฆใ์ นการจดั การศึกษา ๑.๗.๑ บทบาทวัดและพระสงฆเ์ พ่ือการปฏริ ปู การศกึ ษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กล่าวถงึ บทบาทของสถาบันศาสนากับองคก์ รอนื่ ๆ เช่น วัด เพ่ือพัฒนาใหป้ ระชาชนทกุ ระดบั เป็นมนุษยท์ ี่สมบรู ณท์ ้งั รา่ งกาย จิตใจ สตปิ ญั ญา ความรู้และ คุณธรรม มจี รยิ ธรรมและวัฒนธรรมในการดำเนินชีวิต สามารถอยรู่ ว่ มกับผ้อู ่ืนได้อย่างมคี วามสุข (มาตรา ๖) สถาบันศาสนาในฐานะเปน็ สว่ นหน่ึงของสงั คม มสี ทิ ธิจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐานได้ท้ังการศึกษาในระบบ
ห น้ า | ๙ การศึกษา นอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ด้วยบทบาทอันสำคัญท่ีสถาบันศาสนาต้องรับผดิ ชอบ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบบั ปจั จบุ ัน กบั บทบาททสี่ ถาบันพระพทุ ธศาสนากำลงั ดำเนนิ การอยู่ในขณะนนั้ สอดคล้องกนั ค่อนข้างมาก กล่าวคือ วัดจดั การศกึ ษาให้แก่ศาสนา ทายาท และประชาชนทัว่ ไป ถึง ๓ ระบบ คือ การศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน และ การศึกษาตามอธั ยาศัย นอกจากน้ีภารกิจของคณะสงฆ์ดา้ นการปกครอง การศาสนศึกษา การเผยแผ่ศา สนธรรม การศกึ ษาสงเคราะห์ การสาธารณปู การ และการศาสนสงเคราะห์ ตามพระราชบัญญตั ิคณะ สงฆน์ ้ันเป็นภารกิจทม่ี ีอุปการคุณต่อสงั คมไทยเปน็ อนั มาก โดยชว่ ยหลอ่ หลอมประชาชนชาวไทยใหย้ ึดมั่น ในคณุ ธรรม และการดำเนินชวี ิตตามวิถธี รรม และจารีตประเพณไี ทยเสมอมา แมจ้ ะมีอปุ สรรค์และปญั หา ทัง้ ในสังคมนอกวัด และสังคมในวัด กส็ ามารถขจดั ปัญหาต่าง ๆ เหล่าน้นั ไปด้วยดี (สำนกั งาน คณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ ๒๕๔๔) ๑.๗.๒.บทบาทท่ีพึงประสงคข์ องวดั และพระสงฆ์กบั การพัฒนาสังคมไทย ประกอบดว้ ยด้านการ ปกครอง ดา้ นการศาสนศึกษา ด้านการเผยแผศ่ าสนธรรม ดา้ นการศึกษาสงเคราะห์ ดา้ นสาธารณปู การ ดา้ นศาสนสงเคราะห์ มีสาระสำคญั ดงั นี้ (๑)-ด้านการปกครองมบี ทบาทสำคญั ได้แก่ (๑.๑)รัฐและมหาเถรสมาคมร่วมกันกำหนดนโยบายให้พทุ ธศาสนิกชนไปวัดในวนั อาทติ ย์ เพื่อปลูกฝังใหค้ นไทย ใกลช้ ิดศาสนธรรมและสามารถนำหลกั ศาสนธรรมมาปรับใช้ในชีวิตตนได้ (๑.๒)สถาบันผลติ พระสังฆาธิการควรกำหนดนโยบาย แผน และมาตราในการ พฒั นาศักยภาพของพระสงฆใ์ ห้เปน็ ผมู้ ีความพร้อมในด้านการบริหารวัดเพือ่ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ เปน็ แหลง่ ฟ้ืนฟแู ละพัฒนาจติ ใจ และพัฒนาตนใหถ้ งึ พรอ้ มในการปฏิบัติภารกิจท้ัง ๖ ด้าน ของคณะสงฆ์ รวมทัง้ เปน็ กัลยาณมติ รของศาสนกิ ชนสามารถปลกู ฝังและฝึกอบรมให้เยาวชนมสี มั มาทฐิ ใิ นการดำรงชวี ติ (๑.๓)วดั ควรปรบั เปลี่ยนบทบาทใหท้ ันกับสงั คมในเชงิ รกุ คือ จดั โครงการและ กิจกรรมทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คมโดยรวม และมบี ทบาในการเสริมสร้างความเข็มแขง็ ของชมุ ชนโดยดงึ ศาสนกิ ชนเข้ามามสี ่วนร่วมในกิจกรรมของวัดและพระเข้าไปมีสว่ นร่วม ในกจิ กรรมพฒั นาสังคมและชุมชน มีภาครัฐสนบั สนนุ งบประมาณ (๑.๔)มหาเถรสมาคมควรมีมาตรการใหย้ ตุ ิพทุ ธพาณิชยอ์ นั เปน็ การลดความ ศรทั ธาของศาสนิกชน (๑.๕)พระสงฆ์ควรเป็นแบบอย่างทด่ี ีดา้ นศลี ธรรมและจรรยา เพอ่ื ปลูกศรทั ธาให้ เกิดกับประชาชนในท้องถิ่น (๑.๖)ฝา่ ยปกครองคณะสงฆ์ทุกระดบั ควรให้ความสำคัญแก่วัดและพระสงฆ์ท่ีมี บทบาทในการเสรมิ สร้างความเขม็ แข็งของชมุ ชน และพัฒนาเยาวชนและศาสนิกชนในแต่ละบทบาทหนา้ ที่ ตามภารกจิ ของคณะสงฆ์ เช่นสนับสนนุ ด้านงบประมาณ ความก้าวหนา้ ด้านสมณศักดิ์ การพฒั นา ศกั ยภาพและเชิดชยู กย่องใหเ้ ปน็ ที่ประจักษแ์ กห่ มคู่ ณะสงฆ์ (๒)ด้านการศาสนศึกษามีบทบาทสำคญั ได้แก่ (๒.๑)พระสงฆค์ วรศกึ ษาหลกั ธรรมใหท้ อ่ งแทท้ งั้ ปริยัตธิ รรมและการปฏิบัติ เพอื่ ให้พร้อมท่จี ะปฏบิ ัติภารกิจท้ัง ๖ ดา้ น ของคณะสงฆ์ (๒.๒)พระสงฆ์ควรพฒั นาตนให้รอบร้ทู ้งั ทางโลกและทางธรรม เพอ่ื รู้เท่าทนั ต่อ การเปลยี่ นแปลงของสังคม อันจะส่งผลตอ่ ด้านศกั ยภาพในการอบรมพัฒนาจติ การเผยแผศ่ าสนาธรรม แกศ่ าสนิกชน
ห น้ า | ๑๐ (๒.๓) ระบบการศึกษาของคณะสงฆ์ควรปรับปรงุ ประยกุ ตใ์ ห้เหมาะสมกบั ยุค สมัยแต่คงไว้ซง่ึ หลักศาสนาธรรม (๓) ด้านการเผยแผศ่ าสนธรรม มบี ทบาทสำคัญได้แก่ (๓.๑)วดั ต้องพัฒนาให้เปน็ หน่วยปฏบิ ตั ใิ นการเผยแผศ่ าสนธรรมทเี่ ข็มข้น (๓.๒)พระสงฆ์ควรเอาใจใส่ในการศกึ ษาธรรมและเพ่ิมศกั ยภาพในการเผยแผ่ศา สนธรรม (๓.๓)พระสงฆ์ควรเปน็ ผใู้ ห้คำสอนและหลกั ศาสนธรรมทั้งโดยตรงและโดยอ้อม โดยตรงคือ เป็นผใู้ ห้การฝึกอบรมแก่ศาสนกิ ชน โดยออ้ มคือ การครองตนตามหลักธรรมวนิ ัย (๓.๔) พระสงฆ์ควรมีบทบาท เชิงรุกในการสัง่ สอนเยาวชนดา้ นศีลธรรม เชน่ เปน็ วทิ ยากรการอบรมศาสนธรรม (๓.๕)พระสงฆ์ควรให้การอบรมแก่ผ้ตู ้องขงั และพนกั งานตามโรงงานทีไ่ ม่มีโอกาส ไปฟงั เทศน์ทีว่ ดั (๔) ดา้ นการศึกษาสงเคราะห์ มีบทบาทสำคัญได้แก่ (๔.๑)รัฐบาลควรมนี โยบายสนบั สนนุ การศึกษาสงเคราะหท์ ี่ชัดเจนและต่อเนื่อง เช่น การสนับสนนุ งบประมาณ (๔.๒)วดั ควรเป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชนและประชาชน เพื่อเพิ่มความเข็มแข็ง ของชมุ ชน โดยเปน็ ศนู ย์กลางประสานวทิ ยากร ช่วยอบรมประชาชนดา้ นการอาชีพ (๕) ด้านสาธารณปู การ มีบทบาทสำคญั ไดแ้ ก่ (๕.๑)รฐั ควรมนี โยบายสนับสนนุ การสาธารณูปการทชี่ ดั เจนและตอ่ เน่ือง เช่น ใหว้ ดั เปน็ แหล่งเรียนรชู้ มุ ชนดา้ นการพัฒนาศีลธรรม จรยิ ธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และศลิ ปะ วัฒนธรรมของท้องถ่ิน เปน็ แหลง่ รวมองคค์ วามรู้และภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ (๕.๒)วัดควรเป็นแบบอยา่ งที่ดีทั้งด้านการอนรุ ักษส์ ่งิ แวดล้อม และเปน็ สถานที่ พกั ผอ่ นหย่อนใจที่ปลอดภยั (๖) ด้านสาธารณสงเคราะห์ มบี ทบาทสำคัญ ไดแ้ ก่ (๖.๑) วดั ควรเป็นศูนย์กลางสร้างความเข็มแข็งให้กบั ชุมชน เป็นศนู ย์กลางท่ี สรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และสามัคคีธรรมในท้องถ่นิ (กรมการศาสนา, ๒๕๔๘ : ๒๗ – ๒๘) ๑.๗.๓.บทบาทที่พึงประสงคข์ องสังคมและครอบครวั ประกอบด้วยผู้มสี ่วนเกีย่ วขอ้ งดังนี้ (๑)-ผูป้ กครองควรนำเด็กเข้าไปมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมของวัดเพ่ือให้เดก็ ไดเ้ รียนรศู้ าสน ธรรมท้งั ภาคทฤษฏีและภาคปฏิบตั อิ ยา่ งต่อเนือ่ งตัง้ แต่เล็กจนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ (๒) ผปู้ กครอง ควรปฏิบัตติ นเปน็ ศาสนิกชนท่ดี ี เป็นแบบอย่างแก่สมาชกิ ในครอบครวั (๓) โรงเรียนควรประสานความร่วมมือกบั วัด เพอ่ื อบรมเยาวชนด้านศีลธรรมคณุ ธรรม และจริยธรรม กจิ กรรมปลูกฝังและอบรมเยาวชนให้เปน็ คนดีมคี ุณธรรม โรงเรียนและวดั ควรอบรมอย่าง ตอ่ เนอื่ ง (๔) โรงเรยี นและวัดควรเปน็ ทพ่ี ึงซึ่งกันและกนั ในการพฒั นาชมุ ชนให้เขม็ แข็ง และ ชุมชนช่วยส่งเสรมิ พระศาสนาใหเ้ ป็นศนู ยก์ ลางการเผยแผศ่ าสนธรรมและเปน็ ศนู ย์รว่ มของศาสนกิ ชน (กรมการศาสนา, ๒๕๔๘ : ๒๙) ๑.๗.๔.บทบาทของวัดในการพัฒนาสงั คมไทย ในดา้ นคุณธรรมจริยธรรมซง่ึ วัดควรมีบทบาทดังน้ี (๑) วดั ควรเป็นแบบอย่างทด่ี ีท้ังดา้ นอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม มีความเป็นระเบยี บเรียบร้อย
ห น้ า | ๑๑ สะอาดเป็นทีพ่ ักผ่อนหย่อนใจไดแ้ ละเป็นสถานที่ท่มี คี วามปลอดภยั (๒) วัดควรเป็นแหล่งการเรยี นรู้ โดยเฉพาะด้านศลี ธรรม จริยธรรม ขนบธรรมเนยี ม ศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของท้องถนิ่ เป็นแหล่งใหก้ ารสงเคราะหด์ า้ นการศึกษาแกเ่ ด็กและ เยาวชนเปน็ แหล่งร่วมองคค์ วามรู้และภมู ิปัญญาทเี่ กิดจากท้องถนิ่ ซ่งึ สามารถนำมาถา่ ยทอดไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และเหมาะสม นอกจากนี้ทกุ วันอาทติ ย์วดั ควรมบี ทบาทในการพฒั นาเด็กและเยาวชนในรูปแบบตา่ ง ๆ (๓) วัดควรเปน็ ศูนย์กลางชมุ ชน เป็นศนู ย์กลางสรา้ งความเขม็ แข็งให้กบั ชมุ ชน ควรให้วัด มโี อกาสดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของท้องถน่ิ เพราะวดั เป็นศนู ย์รวมจติ ใจและเปน็ ท่พี ึงทางใจของบุคคลใน ชุมชน สรา้ งความสามัคคีให้เกดิ ข้ึนกบั ชุมชน ร่วมกบั ชมุ ชนในการพฒั นาสภาพแวดลอ้ มของชมุ ชน และ วถิ ชี ีวติ ความเป็นอย่ใู ห้ดีขนึ้ รวมทง้ั ปลูกฝงั จติ สำนึกใหป้ ระชาชนเขา้ ใจศาสนาและนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ (๔) วัดควรมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น เช่น เป็นศนู ยก์ ลางรบั บริจาคเงิน วัสดุ ส่ิงของ และแรงงานในการพัฒนาท้องถนิ่ แบบพึง่ ตนเอง จัดอบรมและฝกึ อาชพี หรอื ส่งเสริมกลมุ่ อาชพี เพื่อเสริมรายได้แกส่ มาชกิ ในครอบครวั (๕) วัดต้องทำหน้าท่ีอยา่ งเข็มแขง็ ตามพระราชบัญญัติสงฆ์ โดยเฉพาะการเผยแผ่ศาสน ธรรมและการทำนุบำรุงพระศาสนา (๖) วัดควรเป็นสถานที่บำบัดตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นปัญหาต่อประชาชน ครอบครวั สงั คม และ ชุมชน (๗) ใช้ธรรมะเป็นเครื่องขบั เคลื่อนใหส้ ังคมพฒั นาไปในทางทถี่ กู ต้อง แต่ในขณะเดียวกัน กค็ วรระวังมใิ หเ้ ป็นเคร่ืองมือของอุดมการณ์ต่าง ๆ ที่ขัดตอ่ ศีลธรรมอันดี (๘)-วดั ควรยกเลกิ พุทธพาณิชยโ์ ดยเด็ดขาด (๙) วดั ในปัจจบุ นั ควรเปลย่ี นบทบาทให้ทนั สมยั แตม่ ีวิถีชีวติ หรอื เอกลักษณ์ของวัดไทยใน ยุคโบราณ คือ ไม่ควรมเี ทคโนโลยใี นวถิ ชี ีวิตของคนไทยเท่าท่คี วร สังคมขาดความเชื่อทางศาสนาอย่าง ถูกต้อง การไปวัดหรือการนับถือศาสนาพทุ ธไม่ได้อยู่มนจิตใจของคนไทยเสียแลว้ ไมเ่ หมอื นศาสนาครสิ ต์ ต้องไปโบสถ์วันอาทิตย์ หรือศาสนาอสิ ลามต้องมีการละหมาด วัดจงึ ไม่มีความสำคัญสำหรบั คนรุ่นใหม่ ฉะนั้นวัดควรมกี ารพัฒนา (กรมการศาสนา , ๒๕๔๘ : ๒๙-๓๐) ๑.๗.๕ บทบาทของพระสงฆ์พฒั นาสังคมไทย ในดา้ นคูณธรรมจริยธรรม ควรมภี ารหนา้ ที่สำคญั ดงั นี้ (๑)พระสงฆ์ควรเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีในเร่ืองศลี ธรรมและความประพฤติที่ดงี ามเพ่ือเรยี ก ความศรัทธาให้เกิดกับประชาชนในทอ้ งถ่ิน (๒)พระสงฆ์ควรเป็นนักเทศน์ท่ีดเี พื่อสามารถดงึ ดูดจติ ใจของประชาชนให้ปฏบิ ตั ิตามหลัก คำสอนได้อย่างถกู ต้อง (๓)พระสงฆค์ วรพัฒนาตนเองในด้านความรูท้ ั้งทางโลกและทางธรรม เพ่อื รู้เทา่ ทันต่อ กระแสโลกอันเป็นอปุ สรรคต่อการพัฒนาสังคมในปัจจบุ ัน (๔)พระสงฆ์ควรเอาใจใสใ่ นการพฒั นาจติ ใจของประชาชนมากกว่าทีจ่ ะเน้นการพัฒนาวตั ถุ ในวัดหรือมุ่งหารายไดเ้ พียงอย่างเดยี ว ซึง่ ขณะน้วี ดั ต่าง ๆ ไดเ้ ดินหลงทางเขา้ ส่รู ะบบวตั ถนุ ยิ ม หากวัด ดำเนินการเชน่ นี้ เปน็ อนั ตรายอย่างยง่ิ ต่อการเปล่ียนแปลงความคดิ ของประชาชนท่ีจะเนน้ ทางจิตใจ มากกว่าวัตถุ (๕)พระสงฆ์ควรเปน็ ผู้ให้มากกว่าผรู้ ับ หมายถึงคำสอนและดา้ นหลกั ธรรมต่าง ๆ
ห น้ า | ๑๒ (๖)พระสงฆ์ควรดำเนินโครงการตา่ ง ๆ (๗)พระสงฆค์ วรมีบทบาทในการศึกษาธรรมะให้ถงึ แก่น แลว้ นำสงิ่ ทศี่ กึ ษามาถ่ายทอด ใหก้ บั ประชาชน ทำให้คนไม่ดกี ลับเป็นคนดีและมีความรับผดิ ชอบได้ (๘)ควรกำหนดให้มีตำแหนง่ ด้านความรู้และควรแสวงหาพระสงฆ์ท่ีมีความรู้มาเป็นอย่างให้ พระสงฆต์ ืน่ ตวั ในการศึกษา หรือมองเหน็ ความสำคัญในการศึกษาจึงจะนำธรรมะมาเผยแผไ่ ด้ (๙)พระสงฆ์ต้องมีความร้สู มภูมสิ ามารถรอบรู้ต้อการพัฒนาจิตใจและรูปแบบการบรหิ าร มคี วามรดู้ ้านกฎหมาย กฎระเบยี บของสงฆ์ ต้องเปน็ ผู้นำในการพฒั นา และผลิตบุคลากรของศาสนาให้มี ความเป็นผนู้ ำ (๑๐)พระสงฆค์ วรมีบทบาทในการสง่ั สอนเยาวชนดา้ นศลี ธรรมในโรงเรียนตา่ ง ๆ ของรัฐ บาทและเอกชน (๑๑)พระสงฆ์ทีป่ ฏิบตั ดิ ีประพฤติชอบสมควรท่จี ะไปให้การอบรมแก่ผ้ตู อ้ งขงั ในเรือนจำต่าง ๆ ทั้งด้านปฏิบัตแิ ละปฏเิ วธ (๑๒)พระสงฆค์ วรมีการรวมตัวหรือทำงานเป็นทีม และทำงานเชงิ รุก ซ่ึงต้องได้รบั การ สนบั สนุนจากเจา้ อาวาสและรัฐบาลในเรอื่ งงบประมาณ (กรมการศาสนา, ๒๕๔๘ : ๓๐) ๑.๘ การบริหารจัดการโรงเรยี นวิถีพุทธ จังหวะก้าวการพัฒนาส่โู รงเรียนวิถพี ุทธทช่ี ัดเจนมปี ระสิทธิภาพจำเปน็ ต้องพิจารณาองค์ประกอบ และลำดบั ขนั้ ตอนทีเ่ ป็นระบบ และลำดบั ข้นั ตอนขององคป์ ระกอบต่อไปนี้เปน็ ข้อเสนอเชิงตวั อย่างหน่งึ ท่ี โรงเรยี นสามารถนำไปพจิ ารณาปรับใช้ไดต้ ามความเหมาะสมซง่ึ ประกอบด้วยขน้ั ตอนดังนี้ ๑.ข้นั เตรียมการ:ทีจ่ ะให้การจัดโรงเรียนวิถพี ทุ ธดำเนินไปโดยสะดวกดว้ ยศรทั ธาและฉนั ทะ ๒.ขนั้ ดำเนินการจดั สภาพและองคป์ ระกอบ : ท่ีจะเปน็ ปจั จัย เป็นกจิ กรรม เปน็ เครอื่ งมือ ส่กู ารพัฒนาผ้เู รยี นได้อยา่ งเหมาะสมสอดคล้องกับลักษณะปัญญาวฒุ ธิ รรม ๓.ข้นั ดำเนินการพัฒนาผเู้ รียนและบคุ ลากรตามระบบไตรสิกขา : ซ่งึ เปน็ ขัน้ ตอนทเ่ี ป็น หวั ใจของการดำเนินการโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ ซ่งึ ต้องดำเนนิ การอย่างต่อเน่อื ง ๔.ขั้นดแู ลสนบั สนุนใกล้ชดิ : ทจ่ี ะช่วยใหก้ ารดำเนินทุกส่วนเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ดว้ ยทา่ ทีความเปน็ กลั ยาณมิตร ๕.ขน้ั ปรบั ปรุง พฒั นาตอ่ เนื่อง : ทจ่ี ะเน้นย้ำการพัฒนาว่าต้องมีมากข้นึ ๆ ด้วยหลกั อิทธิ บาท ๔ และอุปัญญาตธรรม ๖.ขน้ั ประเมินผล และเผยแพรผ่ ลดำเนนิ การ : ทจ่ี ะนำขอ้ มลู ผลการดำเนินงานสู่การ เตรยี มการท่จี ะดำเนนิ การในรอบต่อ ๆ ไป เชน่ ในปีต่อ ๆ ไป หรือใชก้ ับโครงการต่อเนอ่ื งอื่น และนำ ผลสรปุ จัดทำรายงานผลการดำเนนิ งานแจง้ แก่ผ้เู กย่ี วข้องให้ทราบ ขน้ั ตอนการบรหิ ารจัดการแสดงดงั แผนภาพต่อไปน้ี
เตรียมการ (ศรัทธาและฉันทะ) ห น้ า | ๑๓ หาทีป่ รึกษา แหลง่ ศกึ ษา ดำเนินการจดั สภาพ เอกสารข้อมูล และองค์ประกอบ เตรียมบคุ ลากร จดั หลกั สูตรสถานศกึ ษา/หนว่ ย กรรมการสถานศกึ ษา การเรยี นรู้/แนวการจัดการเรียนรู้ เตรยี มนักเรยี น เตรยี มผ้ปู กครอง ชมุ ชน เตรยี มกจิ กรรมนกั เรียน กำหนดธรรมนูญสถานศึกษา จัดสภาพกายภาพสถานศกึ ษา จัดแผนปฏบิ ตั ิการ จัดบรรยากาศปฏสิ มั พันธ์ ฯลฯ ฯลฯ ประเมินผล และ เผยแพร่ ดำเนนิ การพัฒนาตามระบบไตรสกิ ขา นกั เรียน ผลการดำเนินงาน บคุ ลากรและผ้เู กีย่ วข้อง ปรบั ปรุงและพฒั นาต่อเนอ่ื ง ดูแลสนบั สนุนใกลช้ ิด (อทิ ธิบาท ๔ อปุ ญั ญาตธรรม) (กัลยาณมติ ร) นเิ ทศ ตดิ ตาม สนับสนุน รวบรวมขอ้ มลู และประเมินผล ระหวา่ งดำเนนิ งาน ภาพ แสดงการบริหารจัดการโรงเรียนวิถพี ทุ ธ (มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . ๒๕๔๘ หน้า ๘๘) ๑.๙ แนวการดำเนินงานในแตล่ ะขั้นตอนการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ ๑.การเตรยี มการ เปน็ ขนั้ ตอนความพยายามท่จี ะเตรยี มสิง่ ท่จี ะทำใหก้ ารดำเนนิ การพัฒนาเปน็ ไป ได้โดยสะดวก ซงึ่ มีประเด็นสำคญั ท่ตี ้องคำนึงถงึ ในการเตรียมการ เชน่ การหาทป่ี รึกษา แหลง่ ศกึ ษา และเอกสารขอ้ มูลต่าง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งทปี่ รกึ ษาท่ีเป็น กลั ยาณมิตรในการพัฒนาวิถพี ุทธน้ี ซึ่งอาจจะเปน็ พระภกิ ษุหรือฆราวาส ทีเ่ ปน็ ผู้ทรงคุณวุฒิ เปน็ ผ้ปู ฏิบัติดี ปฏบิ ตั ิชอบ มีศรทั ธาและความรูช้ ดั ในพุทธธรรม ถา้ เปน็ ฆราวาสควรเป็นแบบอยา่ งในสังคมได้ เชน่ เปน็ ผู้
ห น้ า | ๑๔ ไม่ข้องแวะในอบายมุข เป็นผู้ทรงศลี ปฏิบัติธรรม เปน็ ต้น ที่ปรกึ ษาจะมีความจำเปน็ มากโดยเฉพาะใน ระยะเรม่ิ ของการพัฒนา การเตรยี มบุคลากร คณะกรรมการสถานศกึ ษา นกั เรียน ผปู้ กครอง และชมุ ชน ใหม้ ีความ ตระหนักในคณุ ประโยชน์ท่จี ะเกิดขึน้ ให้เกิดศรทั ธา และฉนั ทะในการรว่ มกันพฒั นาโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ ดว้ ย ปญั ญาร้เู ข้าใจทิศทาง จากศรทั ธาและฉันทะการพฒั นาร่วมกนั ความสำเร็จในการพฒั นาคาดหมายไดว้ า่ จะเกิดข้ึนได้ไม่ยาก สำหรบั วธิ กี ารเตรียมผเู้ กีย่ วข้องนส้ี ามารถดำเนนิ การได้หลากหลายตงั้ แตว่ ธิ ีทว่ั ไป เชน่ การประชมุ ชี้แจง การสัมมนา จนถงึ การประชาสัมพันธท์ ่ีหลากหลาย การร่วมกนั ศึกษาดูงาน เปน็ ต้น การกำหนดเปา้ หมาย จุดเนน้ หรอื วิสยั ทศั น์ และแผนงาน ที่ชดั เจนท้งั ระยะยาวในธรรมนูญ สถานศกึ ษาและแผนปฏบิ ตั กิ ารรายปีก็ตามท่ีผู้เกยี่ วข้องเห็นพอ้ งกัน จะเปน็ หลักประกันความชัดเจนในการ ดำเนินการพฒั นาโรงเรียนวถิ ีพุทธได้อยา่ งดี อนั เป็นส่วนสำคัญของการเตรียมการทด่ี ี ๒.การดำเนินการจดั สภาพและองค์ประกอบ เป็นการดำเนนิ การจัดปจั จัยตา่ ง ๆ ของการพัฒนา ผูเ้ รียน ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยสภาพทงั้ กายภาพและองค์ประกอบตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวข้องอนั จะนำสู่การเป็นปัจจัย ในการพฒั นาผู้เรยี นตามหลักปัญญาวฒุ ิธรรม ๔ ประการคอื - การอยูใ่ กล้คนดี ใกลผ้ ู้รู้ มีข้อมูล มสี ื่อทดี่ ี (สัปปรุ ิสสงั เสวะ) - การใส่ใจศกึ ษาเลา่ เรยี น โดยมฐี านของหลักสตู ร การเรยี นการสอนทด่ี ี (สทั ธัมมัสสวนะ) - การมกี ระบวนการคิดทด่ี ี คิดถูกวธิ ี โดยมีสภาพและบรรยากาศทสี่ ่งเสริม (โยนโิ สมนสิการ) - ปฏิบตั ิธรรมสมควรแก่ธรรม หรอื นำความรูไ้ ปใชใ้ นชีวิตได้เหมาะสม (ธัมมานธุ มั มปฏปิ ัตต)ิ สภาพ และองคป์ ระกอบทสี่ ำคัญท่ีจำเปน็ ต้องจัดส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ วถิ ีพุทธ มีตวั อย่างเชน่ หลกั สตู รสถานศกึ ษา หนว่ ยการเรียน และแผนการจัดการเรยี นรู้ ซง่ึ เป็นองคป์ ระกอบสำคัญของ การเรยี นการสอนทโ่ี รงเรียนวิถีพทุ ธควรคำนึงถึงอยา่ งย่ิง แนวคิดหนงึ่ ของการจัดคอื การบรู ณาการ หลกั ธรรมทง้ั ท่เี ป็นความรู้ (K) ศรทั ธา คา่ นยิ ม คณุ ธรรม (A) และการฝึกปฏิบตั หิ ลักธรรม (P) ในการ เรยี นการสอนโดยอาจกำหนดในระดับจุดเน้นหลกั สตู รสถานศกึ ษาที่แทรกในทุกองคป์ ระกอบหลักสตู ร สถานศกึ ษา หรือกำหนดในระดับหน่วยการเรียนรู้ หรือแผนการจดั การเรียนรู้ ทีค่ รูจะนำสกู่ ารจดั การ เรียนรตู้ อ่ ไป การเตรียมกิจกรรมนักเรียน ท่โี รงเรยี นต้องคิดและกำหนดให้เหมาะสมกับผ้เู รียนของตนมากทสี่ ดุ ซึง่ ลกั ษณะกจิ กรรมทก่ี ำหนดมหี ลากหลายทั้งท่ีเป็นกจิ กรรมประจำวัน ประจำสปั ดาห์หรอื ประจำโอกาสต่าง ๆ และกิจกรรมวิถชี ีวติ ซ่ึงถ้าโรงเรียนเลือกกำหนดและเตรียมการไว้ล่วงหน้า จะชว่ ยสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ของผู้เรียน อีกสะท้อนให้เห็นถงึ คำกลา่ วทวี่ ่า “การศึกษาเรม่ิ ต้นเมือ่ คนกิน อยู่ ดู ฟังเป็น” (ป.อ.ปยุตฺโต) การจัดสภาพกายภาพสถานศึกษา ท่ีหมายครอบคลมุ ถึงอาคารสถานที่ หอ้ งเรียน แหลง่ เรียนรู้ สภาพแวดลอ้ ม อาณาบริเวณของสถานศึกษาซ่งึ สถานศกึ ษาจำเป็นต้องคำนึงถึงการจดั ให้เหมาะสม และมุง่ เน้นทีจ่ ะส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การพัฒนาไตรสิกขาใหม้ ากที่สุด ท้ังที่ผ่านระบบการเรยี นรู้ตามหลักสตู ร สถานศึกษาและผา่ นการเรียนรู้วิถีชีวิตจริงจาก “การกิน อยู่ ดู ฟงั ” ในชวี ิตประจำวนั การจัดบรรยากาศปฏิสัมพนั ธ์ โดยผ่านการเตรียมการ การมอบหมายการรับผิดชอบของ บุคลากรในการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ หรือดูแลใหบ้ รรยากาศปฏสิ มั พันธท์ ี่ดีเป็นกัลยาณมิตรเกดิ ขนึ้ อยา่ ง จรงิ จงั ตอ่ เน่ือง โดยจดั ผา่ นกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย อาทิ การกระต้นุ ทกุ คนทำตนเปน็ ตัวอย่างทดี่ ี การยก ยอ่ งผ้ทู ำดี การปลูกศรัทธาค่านิยมปฏิบตั ิดีปฏิบัติชอบต่อผอู้ นื่ เป็นต้น รายละเอียดแนวคิดหลักการและตวั อยา่ งการจดั ดำเนินการของการจดั สภาพและองค์ประกอบต่าง ๆ จะไดน้ ำเสนอในลำดบั ต่อไป
ห น้ า | ๑๕ ๓.การดำเนนิ การพัฒนาตามระบบไตรสิกขา จดุ เน้นการดำเนนิ การพัฒนา คือ นักเรยี นของ สถานศึกษา โดยเป็นการพัฒนาตามระบบไตรสกิ ขาท่เี ป็นลักษณะบูรณาการ ทั้งในกิจกรรมการเรยี นการ สอนตามหลักสูตร และกิจกรรมวิถชี ีวิตต่าง ๆ ทสี่ ง่ เสริม “การกนิ อยู่ ดู ฟงั ให้เป็น” เปา้ หมายการ พัฒนาจดั ให้มีความชัดเจนที่พัฒนาท้งั องค์รวมของชีวติ ท่ีจะนำสกู่ ารพฒั นาชีวิตทสี่ มบรู ณ์ในทีส่ ดุ นอกจากการพฒั นาผู้เรยี นอนั เป็นภาระหลกั แลว้ สถานศึกษาจำเป็นตอ้ งไมล่ ะเลยการพัฒนา บุคลากรของตนเองท้ังหมดดว้ ย เพราะบคุ ลากรโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ คือ ครแู ละผูบ้ ริหารจะเป็นปัจจัยสำคญั ในการพฒั นาผูเ้ รียน ดังนนั้ ยิง่ บคุ ลากรได้รับการพัฒนาตามระบบไตรสกิ ขามากเท่าไร จะส่งผลดีต่อการ ชว่ ยใหน้ ักเรยี นไดร้ ับการพฒั นามากข้นึ เทา่ นัน้ แนวทางการพัฒนาบุคลากรและลักษณะบุคลากรที่ เหมาะสมใน โรงเรยี นวิถีพุทธจะได้นำเสนอในลำดบั ต่อไป การดำเนินการพัฒนาผูเ้ รียนและบคุ ลากรตามระบบไตรสิกขาน้จี ะดำเนินการไดด้ หี ากในข้นั เตรยี มการ ข้นั ดำเนินการจัดสภาพและองคป์ ระกอบ และขั้นดแู ลสนบั สนุนใกล้ชดิ ดำเนินการได้อยา่ งดี เพราะต่างเป็นเหตปุ จั จยั ที่สำคัญในการดำเนนิ การพัฒนาผู้เรยี น ๔.การดแู ลสนบั สนนุ ใกล้ชดิ เปน็ ข้ันตอนสำคัญในการเป็นปัจจัยสง่ เสริมให้การดำเนนิ การพัฒนา เป็นไปอย่างราบรน่ื มปี ระสิทธิภาพ ทง้ั น้ลี ักษณะของการดูแลสนบั สนุนท่ีเหมาะสมควรมีลักษณะของความ เป็นกัลยาณมติ ร ท่ปี รารถนาดตี ่อกนั ปรารถนาดีต่อการพัฒนาผูเ้ รยี นหรือต่องาน กจิ กรรมทีส่ ำคญั ของ ขน้ั นี้ คือการนเิ ทศตดิ ตาม ทจ่ี ะดแู ลการดำเนนิ งานให้เปน็ ไปตามแผนที่กำหนดไว้ การให้คำปรกึ ษาและ ชี้แนะผปู้ ฏิบตั ิ การให้ความช่วยเหลือทางวชิ าการ ฯลฯ การสนบั สนุน ทงั้ ทรัพยากรข้อมูลและเครื่องมือ ตา่ ง ๆ ในการชว่ ยดำเนนิ การให้เป็นไปไดอ้ ย่างราบร่นื การรวบรวมข้อมูลและการประเมนิ ผลระหว่าง ดำเนนิ การ อนั จะเปน็ ฐานของการปรบั ปรุงตอ่ เนื่องต่อไป หรอื แมเ้ ปน็ ข้อมลู ในการพิจารณาจดั การดูแล สนบั สนนุ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๕.การปรบั ปรงุ และพฒั นาตอ่ เน่ือง เป็นขนั้ ตอนของระบบบรหิ ารจัดการท่ีกำหนดเพื่อเนน้ ยำ้ การ พฒั นาทตี่ ้องดำเนินการอย่างตอ่ เนื่อง โดยนำข้อมูลในข้นั ตอนต้นๆ มาพิจารณาแลว้ กำหนดปรับปรงุ หรอื พฒั นางานท่ีกำลงั ดำเนินการอยู่ให้ดยี ง่ิ ขึน้ ทง้ั นี้องคธ์ รรมท่ีสนบั สนุนการปรบั ปรงุ และพัฒนางานเปน็ ไป อยา่ งชัดเจนต่อเนื่อง คือ การมีอิทธิบาท ๔ (ฉนั ทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) และอปุ ญั ญาตธรรม ๒ (ความไม่สันโดษในกุศลธรรม และ ความไมร่ ะย่อในการพากเพยี ร) เปน็ ตน้ ๖.การประเมนิ ผลและเผยแพรผ่ ลการดำเนนิ งาน เป็นข้นั ตอนท่ีจะสะท้อนให้ทราบถึงผลการ ดำเนินงานในชว่ งเวลาหนงึ่ ๆ อาจเป็น ๑ ปี หรอื ๓ ปี หรอื เม่ือเสร็จสิ้นกิจกรรมเป็นต้น และในการ ประเมินจะเนน้ ข้อมลู ทเี่ ปน็ เชิงประจักษ์ เชือ่ ถอื ได้ ให้ข้อมลู ทชี่ ัดเจน ที่สามารถนำสูก่ ารเผยแพรห่ รือ รายงานผู้เกี่ยวขอ้ งให้ทราบผลการดำเนนิ งานน้ัน ๆ และนำเป็นขอ้ มูลในการวางแผนดำเนนิ การอนื่ ๆ ตอ่ ไป และในระบบประกันคุณภาพ ขัน้ ตอนนม้ี ีความสำคัญไมน่ ้อยต่อการเสนอให้ผู้เกย่ี วข้องยอมรับในการ ดำเนนิ การและบรหิ ารจัดการ สรุปท้ายบท วิธกี ารปลกู ฝังคุณธรรม และจริยธรรมของนักเรยี นในโรงเรยี นวิถีพุทธกับโรงเรยี นทัว่ ไปไม่ตา่ งกนั มากเทา่ ไร แต่สง่ิ ทเี่ นน้ น้ันอาจจะไมเ่ หมอื นกนั และไมว่ ่าจะเป็นโรงเรยี นโรงเรียนวิถีพุทธ หรอื โรงเรียนทัว่ ไป กต็ อ้ งมีการปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมอยู่แลว้ ซงึ่ ในโรงเรียนวถิ ีพทุ ธจะมกี ารเนน้ มากกวา่ โรงเรียนปกตทิ ั่วไป
ห น้ า | ๑๖ เช่น จะมกี จิ กรรมทีเ่ สริมข้นึ มา ในส่วนของกจิ กรรมต่างๆ ท่ีจะมีกจิ กรรมท่เี ปน็ เอกลกั ษณ์โดดเดน่ ที่ เก่ียวกบั วถิ พี ุทธ ความเป็นพุทธ ทีจ่ ะปลูกฝงั โดยเนน้ ให้เด็กนักเรยี นได้ปฏิบัติ และนำคณุ ธรรม จรยิ ธรรมท่ี เรียนรอู้ อกมาใช้ ในดา้ นการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนจะบูรณาการหลักพุทธธรรมเข้าไป ไม่ไปจำกัดอยู่ ท่ีวิชาใดวิชาหนึ่งเพยี งวิชาเดียว แตจ่ ะสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมเข้าไปในการเรยี นการสอนทกุ วชิ า โดย เน้นให้นกั เรียนได้เรียนรู้ วธิ คี ิดแบบ โยนิโสมนสิกา และหลักไตรสิกขา ( ศลี สมาธิ ปัญญา) เพราะฉะน้นั เด็ก นกั เรียนจะได้รบั การซึมซับเอากระบวนการตรงนีเ้ ข้าไปด้วย การปลกู ฝังคุณธรรม จรยิ ธรรมของนักเรยี นโรงเรยี นนน้ั จำเป็นท่ีจะต้องปลกู ฝังในทุกๆเรื่องที่อยู่ใน หลกั คำสอนของศาสนา ไม่ควรทจ่ี ะไปเจาะจงทห่ี ลักคำสอนใดคำสอนหน่ึง เพราะทกุ หลักคำสอน ล้วนแต่ เป็นส่งิ ท่ดี ี คณุ ธรรม จริยธรรมต่างๆ กจ็ ะเหมือนกับวติ ามิน ท่ีจะคอยมาบำรุงจิตใจ ให้เดก็ นักเรียนเป็นคนดี และสามารถทจี่ ะอยใู่ นสังคมได้
บทท่ี ๒ หลักการคดิ ทฤษฎีตามแนวไตรสิกขา วัตถปุ ระสงคป์ ระจำบท เมื่อศกึ ษาเนอ้ื หาในบท ๒ แล้ว นสิ ิตสามารถ ๑.อธิบายแนวคดิ ตามหลกั ของไตรสกิ ขาได้ ๒.อธิบายการนำรูปแบบไตรสกิ ขาไปใชใ้ นการบริหารการศกึ ษาได้ ๓.อธิบายแนวคิดตามหลักของทฤษฎเี ชิงระบบได้ ๔.อธิบายการเปรียบเทยี บการใชห้ ลกั ไตรสกิ ขาและทฤษฎีเชิงระบบได้ เนื้อหาประจำบท ๑.แนวคิดตามหลกั ของไตรสกิ ขา ๒.การนำรูปแบบไตรสิกขาไปใชใ้ นการบริหารการศกึ ษา ๓.แนวคิดตามหลักของทฤษฎเี ชงิ ระบบ ๔.การเปรียบเทียบการใช้หลกั ไตรสกิ ขาและทฤษฎเี ชิงระบบ
ห น้ า | ๑๘ ๒.๑ ความนำ ความมงุ่ หมายของการศึกษาทางฝ่ายโลก เพ่ือใหม้ คี วามรูน้ ำไปประกอบอาชีพ หรอื เพ่ือเลอื่ น สถานะภาพทางสงั คมใหส้ ูงข้ึน ส่วนการศึกษาตามวถิ ีพุทธนน้ั มุ่งเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพ ให้ร้จู ักปฏบิ ตั ติ ่อ ธรรมชาติ ปฏบิ ัติตอ่ โลกและชวี ิตไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เนื่องจากมนษุ ย์อยู่ท่ามกลางส่ิงแวดล้อม ธรรมชาตแิ ละ สงั คมมนุษย์ นอกจากต้องเผชญิ กับสิง่ แวดล้อมภายนอกท่บี ีบคนั้ ดว้ ยการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และการดำรงอยู่ของร่างกาย จึงตอ้ งเรียนรู้การปฏิบัติต่อโลกและชวี ิตอยา่ งถกู ต้อง การศึกษาตามแนววิถี พทุ ธถือวา่ การเรยี นรจู้ รงิ ไดผ้ ลจรงิ ตอ้ งปฏบิ ตั จิ ริง ภาคปฏิบัติเป็นเรอื่ งของการฝึกฝนอบรมกาย จิตใจ และปญั ญา เรียกวา่ สกิ ขา สิกขาเปน็ หลกั ธรรมใหญ่ในพุทธศาสตร์ ประกอบดว้ ย ศลี สิกขา จติ ตสกิ ขา ปัญญาสิกขา รวมเรยี กว่า ไตรสิกขา ศีลสิกขา เปน็ การศกึ ษาตนเองให้มีความประพฤตดิ ี ไม่ใหม้ กี ารกระทำความผิดทางกาย วาจา การกระทำท่ีถูกต้องจะต้องเป็นพฤติกรรมที่ไมท่ ำใหต้ นเองหรือผู้อ่นื เดือดรอ้ น ศลี และวินยั มีความหมาย อย่างเดยี วกนั เปน็ ระเบียบแบบแผนของหมคู่ ณะในการอยู่ร่วมกัน พระพทุ ธศาสนามีหลกั คำสอนเกยี่ วกับการศกึ ษาอยจู่ ำนวนมาก หลักคำสอนเหลา่ น้หี ากได้นำมา ศึกษาวิเคราะห์ อธิบาย ตีความ จัดทำเปน็ หลกั วิชาการ บรู ณาการให้เขา้ กบั ยคุ สมยั แล้ว กน็ า่ จะสามารถ นำมาใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการบรหิ ารการศกึ ษาและพัฒนามนุษย์ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพอกี ทางหนึง่ ด้วย จากที่ผเู้ ขียนเองเป็นไดศ้ ึกษาวิชาการทางด้านพระพทุ ธศาสนามาเปน็ เวลานานประกอบกับได้มี ประสบการณ์และมสี ว่ นร่วมในการบริหารการศกึ ษาในโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนามาระยะ หน่งึ ในโรงเรยี นการกุศลของวัดในพระพทุ ธศาสนาน้ไี ด้มีการบริหารการศึกษาโดยนำหลกั ของไตรสกิ ขามา เป็นเครือ่ งมือในการบริหารการศึกษาและในชว่ งนี้ผูเ้ ขยี นเองก็ได้มโี อกาสติดตามศกึ ษาค้นควา้ เกี่ยวกับ ทฤษฎใี นด้านการบรหิ ารการศึกษาพบว่า ปจั จุบนั ในวทิ ยาการสมยั ใหม่ไดม้ ีทฤษฎดี ้านการบรหิ ารการศกึ ษา อยู่หลายทฤษฎี ในบรรดาทฤษฎีเหล่านั้นมอี ยู่ทฤษฎีหนง่ึ ทม่ี หี ลักการคดิ คลา้ ยคลงึ กันกับหลักของไตรสกิ ขา ในทางพระพุทธศาสนา คือ ทฤษฎีเชิงระบบ (System Theory) ของ ลูดวกิ วอน เบอร์ทาแลฟฟี (Ludwig Von Bertalaffy) ซง่ึ ผ้เู ขียนเห็นว่านา่ จะได้มีการศึกษาเปรยี บเทยี บกันระหว่างทฤษฎที ง้ั ๒ น้ี เมอ่ื ได้เหน็ ผล ของการเปรยี บเทยี บกันท่ชี ัดเจนแลว้ ก็นำทฤษฎีท้ัง ๒ มาบูรณาการและสร้างเปน็ รปู แบบ (Model) ของการ บรหิ ารการศึกษาขึน้ มา โดยอาจตั้งเช่ือรูปแบบการบรหิ ารการศกึ ษาแบบน้วี า่ “รปู แบบการบริหาร การศกึ ษาโดยใชห้ ลักของไตรสกิ ขาบูรณาการ” ผู้เขียนมวี ัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอในประเด็นดงั กลา่ วจึงได้ เขยี นบทความนี้ สำหรบั เน้ือหาที่ผ้เู ขียนจะนำเสนอในบทความน้มี อี ยู่ ๓ ประเดน็ หลัก คือ ๑) หลักไตรสิกขา ในพระพุทธศาสนา ๒) หลักทฤษฎีเชงิ ระบบ (System Theory) และ ๓) การเปรียบเทียบการใช้หลกั ไตรสิกขาและทฤษฎีเชิงระบบในการบรหิ ารการศกึ ษา รายละเอียดของแต่ละประเดน็ จะได้นำเสนอ ตามลำดบั ดงั ต่อไปนี้
ห น้ า | ๑๙ ๒.๒ หลักไตรสกิ ขาในพระพทุ ธศาสนา (The threefold training) ในบรรดากระบวนการพฒั นาชีวิตมนุษย์ถือว่าการศกึ ษาเป็นส่งิ สำคญั เพราะการศกึ ษาเป็นการ พัฒนาคนใหเ้ ปน็ มนุษย์ท่สี มบูรณ์ ทงั้ ทางด้านกาย ทางดา้ นสังคม ทางด้านจิตใจ และทางด้านปญั ญาดังทไ่ี ด้ กล่าวมาแลว้ หลกั คำสอนในทางพระพทุ ธศาสนา ได้ให้ความสำคญั กบั คำวา่ “สกิ ขา” หรือ ทเี่ รามักเรยี กใน ภาษาไทยวา่ “ศกึ ษา” เป็นอย่างมาก หลักของสิกขานเ้ี ปน็ หลักธรรมทีม่ ีความหมายครอบคลุมการปฏิบัติ ทั้งหมดในพระพุทธศาสนา จนกลา่ วไดว้ า่ เรือ่ งของการศกึ ษาเปน็ เรื่องพระพุทธศาสนาท้ังสนิ้ สำหรับ ความหมายของไตรสิกขาคืออะไร แนวคดิ ตามหลักของไตรสกิ ขาเป็นอยา่ งไร รูปแบบของวิธีไตรสกิ ขาเป็น อยา่ งไร การนำรูปแบบไตรสิกขาไปใชใ้ นการบริหารการศึกษาทำได้อยา่ งไร ผู้เขยี นจะได้นำเสนอตามลำดับ ดังนี้ ๒.๒.๑ ความหมายของไตรสิกขาคอื อะไร คำวา่ ไตรสิกขา ในหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา หมายถึง ขอ้ ทจี่ ะต้องศึกษาสาม อยา่ ง หรอื ขอ้ ปฏิบัติท่ีเป็นหลกั สำหรับศึกษา คอื ฝึกหัดอบรม กาย วาจา จิตใจ และปัญญา ให้ยิ่งขึ้นไปจนบรรลุ จดุ หมายสงู สดุ คอื พระนิพพาน คำว่า “การศึกษา” ท่ใี ชใ้ นภาษาไทยนัน้ เปน็ คำทนี่ ำมาจากภาษาสนั สกฤต ถา้ เป็นบาลีก็คอื สิกขา เรียกได้วา่ เปน็ คำเดียวกนั สกิ ขา คอื การศึกษาในหลักพระพุทธศาสนา และสิกขาใน พระพทุ ธศาสนานนั้ มี ๓ อย่าง ไดแ้ ก่ ศลี สมาธิ และปญั ญา นัน้ เอง ๒.๒.๒ แนวคิดตามหลักของไตรสกิ ขาเป็นอย่างไร หลกั สิกขานค้ี รอบคลมุ การปฏบิ ัตทิ ั้งหมดในพุทธศาสนา สิกขาเปน็ หลักธรรมภาคปฏบิ ัติ เมื่อ หลกั ปฏิบัตธิ รรมทงั้ หมดอยู่ในหลักสิกขา ก็กล่าวไดว้ ่าพระพุทธศาสนานน้ั เปน็ หลักธรรมแหง่ การศึกษา เรื่อง ของการศึกษาเป็นเรื่องของพระพุทธศาสนาท้ังส้ิน การพัฒนาตนใหเ้ ปน็ มนุษย์ท่สี มบูรณน์ ัน่ แหละเป็นเนื้อ เปน็ ตวั เปน็ ความหมายท่ีแทข้ องการศกึ ษา การศกึ ษานนั้ เปน็ ทัง้ ตวั การพฒั นาและเปน็ เคร่อื งมอื สำหรบั พฒั นา คอื เป็นการพฒั นาคนข้นึ ไป โดยพัฒนาตวั คนท้ังคนหรือชวี ติ ทัง้ ชวี ติ ตัวการพัฒนานน้ั คือการศึกษา เมอ่ื ผู้เรยี นมีการศึกษาอย่างนี้แลว้ กจ็ ะเอาคุณสมบตั ทิ ต่ี วั มี ซึ่งเกิดจากการศกึ ษานไ้ี ปเป็นเคร่อื งมอื ในการ ดำเนนิ ชีวติ และสรา้ งสรรค์สิ่งตา่ งๆ การศกึ ษาก็เลยกลายเป็นเครื่องมอื การพัฒนา๑ แนวคิดการพฒั นามนุษย์ ตามหลักของไตรสิกขานี้เป็นการพัฒนาแบบองค์รวมมีหลักการทสี่ ำคญั ดังนี้ ๑) สร้างปจั จยั แห่งสมั มาทิฏฐิให้เกิดข้ึนก่อนได้แก่ (๑) ปัจจัยภายนอกท่ดี ี (ปรโตโฆสะ) คือ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและ สภาพแวดล้อมทางสังคมท่ีดมี ีความเปน็ กัลยาณมิตร (๒) ฝึกการคดิ อยา่ งถูกวธิ ี (โยนโิ สมนสิการ) เปน็ การให้ถกู วิธี ถูกต้องและเปน็ ระบบอันจะเปน็ ปจั จยั ที่สง่ เสริมสนบั สนนุ ใหค้ วามเหน็ ถูกต้องคอื สัมมาทิฏฐเิ กดิ ข้ึน เมือ่ สัมมาทฏิ ฐิเกดิ ข้นึ ๑ พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยุตฺโต), การศึกษาที่สากลบนพน้ื ฐานแหง่ ภูมิปัญญาไทย, (กรงุ เทพมหานคร: โครงการตำราและเอกสารทางวชิ าการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, ๒๕๓๒), หน้า ๗๐–๗๑.
ห น้ า | ๒๐ แลว้ กจ็ ะทำใหเ้ ห็นแนวทางดำเนนิ การทช่ี ดั เจนแจม่ แจ้งก็เข้าสกู่ ระบวนการฝึกตามหลักไตรสิกขา ๒) การฝึกตามหลักของไตรสิกขา ซงึ่ มหี ลักสำคัญ ๓ ประการ ได้แก่ (๑) ศีล เป็นเรอ่ื งของการฝึกศึกษาด้านความสมั พนั ธ์กับสงิ่ แวดล้อมทางวตั ถแุ ละ ทางสังคม บางทีทา่ นแยกย่อยไปอีก คือ การพัฒนาความสมั พันธก์ บั วตั ถุ เรียกว่า “กายภาวนา” และการ พฒั นาความสัมพันธก์ ับเพอ่ื นมนุษยเ์ รียกว่าสีลภาวนา (๒) สมาธิ เปน็ การพัฒนาด้านจติ ใจ เช่น เรอื่ งของคณุ ธรรม ความดี เร่ืองของ สมรรถภาพจิตใจ ความเข้มแขง็ หมั่นเพียร อดทน ความมีสติ สมาธิ ความสุข ความสดช่นื เบิกบาน เรยี กว่า จติ ภาวนา (๓) ปญั ญา เปน็ การพัฒนาดา้ นความรู้ ความเข้าใจ เนน้ ความรู้ตามความเปน็ จรงิ หรือรตู้ ามท่ีมนั เป็นเรียกวา่ ปัญญาภาวนา ๓) วัดและประเมินผล การพฒั นาทร่ี อบดา้ นครอบคลมุ น้ันนกั การศึกษาปัจจบุ นั วา่ มี ๔ อยา่ ง ซึง่ ตรงพอดกี บั ในพระพุทธศาสนา เรียกวา่ การพฒั นา ๔ ดา้ น คอื ๑) พัฒนากาย แยกไดเ้ ปน็ หลายอยา่ ง อย่างง่ายท่สี ดุ คือ พฒั นาร่างกายให้ แขง็ แรงมสี ุขภาพดี หายโรคหายภยั แตพ่ ุทธศาสนายงั พูดตอ่ ไปอีกถงึ การพัฒนากายในความหมายวา่ เปน็ การพัฒนาความสัมพันธก์ ับส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพอย่างถูกตอ้ งดงี าม ตวั การพัฒนากาย เรยี กว่ากาย ภาวนา ถา้ เปน็ คนก็เรียกวา่ ภาวิตกาย แปลวา่ คนที่พัฒนากายแล้ว ๒) พัฒนาศลี คือการพัฒนาการอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมด้วยดีมีระเบยี บวินยั อย่ใู น กฎเกณฑก์ ติกา มีชีวิตท่ีเก้ือกลู เปน็ ประโยชน์ และมีอาชีพท่ถี กู ต้องโดยประกอบสัมมาชีพ พฒั นาศลี น้ี ปจั จบุ นั เรยี กว่า การพฒั นาทางสงั คม ทางพระเรยี กเป็นทางศัพทว์ ่า ศีลภาวนา ถ้าเปน็ คนได้พฒั นาศีลแล้วก็ เรียกว่าภาวติ ศลี ๓) พฒั นาจิต เป็นการฝกึ อบรมเสรมิ สรา้ งจติ ใจ ใหพ้ ร่ังพรอ้ ม สมบรู ณ์ด้วย คณุ สมบัตทิ ้ัง ๓ คอื (๑) คณุ ภาพจติ ได้แก่ พวกคุณธรรมตา่ งๆ คือ เสรมิ สร้างจิตใจใหด้ งี าม (๒) สมรรถภาพจติ หรือความสามารถของจิต คือความมีสติดี มีวิริยะ ความเพยี รพยายามสูง้ าน มขี ันติ ความอดทนและทนทาน (๓) สุขภาพจิต คือมีจิตที่มีสขุ ภาพดี มีจิตใจเปน็ สุข สดชื่น เบิกบาน รา่ เรงิ ปลอดโปรง่ สงบ ผ่องใส การพัฒนาจติ นีถ้ า้ เรียกสน้ั ๆกเ็ รยี กว่า จติ ตภาวนา ถ้าเป็นคนท่ีฝึกอบรมจิต แล้ว พัฒนาจติ แลว้ ก็เรยี กวา่ เปน็ ภาวติ จติ ๔) พฒั นาปัญญาแบง่ ได้ดังน้ี ปญั ญาขนั้ แรก คือปัญญาท่ีเป็นความรู้ความเข้าใจใน ศิลปวิทยาการ ต่อจากนัน้ ลกึ ซึ้งลงไปอีกคือการรบั รู้ เรียนรูอ้ ย่างถูกตอ้ ง ตามความเป็นจรงิ ไม่เบยี ดเบยี น หรือเอนเอยี งด้วยอคติ เหนือจากการรับรู้น้ัน ยงั มขี น้ั ต่อไปอกี คอื การคิดการวินจิ ฉัย ซึ่งหมายถึงการคิด วนิ จิ ฉยั ดว้ ยการใช้ปัญญาโดยบรสิ ุทธ์ิใจ ปัญญาอกี ขน้ั หนึ่ง คอื ปัญญาที่ร้เู ข้าใจถึงสาระแห่งความเป็นไปของ โลกและชวี ิต รทู้ างเส่อื ม ทางเจริญและเหตุปจั จัยท่ีเกยี่ วข้อง รู้วิธแี ก้ไขปัญหา และสร้างสรรค์ความสำเร็จที่ ทำให้พัฒนาตน พัฒนาชีวติ และสังคมใหเ้ จริญดีงามย่ิงๆขน้ึ ไป ขน้ั สุดทา้ ยไดแ้ ก่ ปญั ญาทีร่ เู้ ท่าทันธรรมดา ของสังขาร คือโลกและชีวิต เขา้ ถงึ ความเจริญแท้ของการทส่ี ่ิงทง้ั หลายเปน็ ไปตามเหตปุ ัจจัยของมัน ทำให้ คลายความยึดติดถือมัน่ โดยวางใจได้ถูกต้องต่อส่ิงทงั้ หลาย แยกจติ ใจออกมาเป็นอสิ ระได้ เลกิ เอาความ อยากของตนเป็นตวั กำหนดเปลยี่ นมาเปน็ อย่แู ละทำการด้วยปัญญาเปน็ ข้ันทีจ่ ติ ใจเขา้ ถึงอิสระภาพ หลดุ พ้น
ห น้ า | ๒๑ จากความทุกข์โดยสมบรู ณ์ การพฒั นาทางปัญญา เรยี กวา่ ปัญญาภาวนา ถา้ เป็นคนก็เรยี กวา่ ภาวติ ปญั ญา คือเปน็ คนที่ไดฝ้ ึกอบรมพัฒนาปญั ญาแลว้ ก็จบการพฒั นา ๔ ดา้ น ซึง่ ถอื วา่ ครบถว้ นสำหรับชวี ติ ๒ ดงั นั้นการ ดำเนนิ ชวี ิตทด่ี จี งึ ต้องมกี ารศึกษา และพฒั นาตนเองอยู่ตลอดเวลา ๒.๒.๓ รปู แบบของไตรสิกขาเปน็ อยา่ งไร (The threefold training Model) จากแนวคดิ ตามหลักของไตรสกิ ขาดังที่ได้กลา่ วมาแลว้ นนั้ จะเห็นได้ว่า รปู แบบของ ไตรสิกขา ประกอบดว้ ยส่วนประกอบท่สี ำคัญดังต่อไปนี้ ๑) ปจั จัยแห่งสมั มาทิฏฐิ หมายถงึ มปี รโตโฆสะ และโยนโิ สมนสกิ ารท่ดี ี ซ่งึ ก็ คอื ทรัพยากรทางการบรหิ ารทุกๆ ด้าน ไดแ้ ก่ ระบบบรหิ าร อาคารและ สถานท่ี หลกั สูตร ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ อปุ กรณ์การศึกษา สาธารณปู โภคพื้นฐานและสวัสดกิ าร บคุ ลากร และผ้เู กี่ยวข้อง งบประมาณ เปน็ ต้น ปัจจยั แหง่ สัมมาทฏิ ฐิดงั ทีก่ ล่าวมาน้ีเรยี กว่า “บุพภาคของการศกึ ษา” คอื สง่ิ ท่ตี ้องจัดให้มขี น้ึ ก่อนการจัดการเรยี นการสอนโดยใชห้ ลกั ไตรสิกขา ๒) กระบวนการฝึกตามหลกั ของ ไตรสกิ ขา คือ การเรยี นการสอนโดยใช้ไตรสิกขา การสรา้ งบรรยากาศและปฏิสมั พันธ์ท่ีเปน็ กัลยาณมิตร มี กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๓) วดั และประเมินผลการใช้ไตรสิกขาในการบรหิ ารจัดการศึกษา คอื (๑) ผลที่เกดิ กับตัวผู้เรยี น เชน่ ผเู้ รยี นไดม้ ีการพัฒนาทางด้านกาย ทางด้านศีล ทางดา้ นจิตใจ ทางด้านปญั ญามากน้อย เพยี งใด (๒) ผลท่เี กิดขนึ้ กับชุมชน เช่น โรงเรยี นได้รับความไว้วางใจ เชอ่ื มั่น ศรัทธา และไดร้ ับความร่วมมือ จากชมุ ชน วัดในชมุ ชน ได้ศาสนทายาทเป็นกำลังส่งเสริมพระพทุ ธศาสนาเพิ่มมากข้ึน ครอบครวั ในชุม มี สมาชิกท่เี ปน็ คนดีไมย่ ุ่งเกย่ี วกับอบายมุขไวช้ ว่ ยเหลือครอบครัวและชว่ ยในการพัฒนาชมุ ชนเพ่มิ มากข้นึ ๒.๒.๔ การนำรปู แบบไตรสิกขาไปใชใ้ นการบริหารการศึกษาทำได้อย่างไร การศกึ ษาเป็นเคร่ืองมอื ในการพัฒนาคน นกั วิชาการได้ให้ทรรศนะเก่ียวกับเรื่องน้ีไว้วา่ เรา จะต้องเห็นตรงกนั กอ่ นวา่ คนเปน็ ศูนยก์ ลางของการพัฒนา น้นั คอื คนเปน็ ตวั ตงั้ ของการพัฒนาท้ังหลาย คนทไี่ ด้รบั การพฒั นาดีแล้วจะบรรลถุ ึงสภาวะทเี่ รยี กวา่ มนุษยท์ สี่ มบูรณ์ เม่ือคนชนดิ นนั้ ไปอย่จู ุดใดของสังคม เขาจะมีส่วนให้จดุ นนั้ พฒั นาไปดว้ ย กลา่ วคอื มนุษย์ทีส่ มบรู ณจ์ ะช่วยพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมต่อไป๓ ทีผ่ ่านมากระทรวงศึกษาธิการไดม้ แี นวคดิ ในการนำเอาหลักไตรสิกขาในหลัก คำสอนของพระพุทธศาสนาไปใชด้ ำเนนิ การจัดการศกึ ษาในรูปแบบโครงการโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ ซ่งึ หมายถึง โรงเรียนระบบปกติท่วั ไปแตเ่ นน้ การนำหลักธรรมของพระพุทธศาสนา มาประยุกต์ใชใ้ นการบิรหิ ารและ พฒั นาผู้เรียนโดยรวมของสถานศกึ ษา เนน้ กรอบพฒั นาตามหลักไตรสิกขาอย่างบรู ณาการ เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนได้ เรยี นรู้และพัฒนาชีวติ โดยผา่ นกระบวนการทางวฒั นธรรม แสวงหาปัญญาและมีเมตตาเป็นฐานในการ ดำเนนิ ชีวติ โรงเรียนวิถพี ทุ ธจงึ เป็นโรงเรียนทน่ี ำวถิ วี ฒั นธรรมของชาวไทยสว่ นใหญแ่ ตเ่ ดิมมาใช้ โดยมงุ่ เน้น ให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจชีวติ อย่างแทจ้ ริงและสามารถดำเนินชวี ิตได้อย่างถูกต้องเหมาะสม โดยอาศัยระบบการศึกษา ตามหลักไตรสิกขามาใชใ้ นการฝกึ อบรมให้ครอบคลมุ การดำเนนิ ชวี ิตทกุ ดา้ น หลกั การนำรูปแบบไตรสกิ ขา ไปใชใ้ นการบรหิ ารการศึกษาหลกั การจัดดงั ต่อไปน้ี ๒ พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยุตโฺ ต), การศกึ ษา: เครอื่ งมือพัฒนาท่ียังตอ้ งพฒั นา, พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๔, (กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี, ๒๕๓๖), หน้า ๙๕- ๑๐๕. ๓ พระเทพโสภณ (ประยรู ธมฺมจติ โต), ทศิ ทางการศึกษาไทย,พิมพค์ รง้ั ที่ ๓, (กรงุ เทพมหานคร: มหาจฬุ าลงกรณ ราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๖), หน้า ๑๘.
ห น้ า | ๒๒ ๑) สร้างปจั จัยแห่งสมั มาทิฏฐิ คือ ทรพั ยากรทางการบรหิ ารทุกๆ ด้าน เช่น ระบบบรหิ าร อาคารและสถานที่ หลักสตู ร ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้ อปุ กรณ์การศึกษา สาธารณูปโภคพืน้ ฐานและ สวัสดิการ บคุ ลากรและผู้เก่ยี วข้อง งบประมาณ เป็นต้น ให้มคี วามพร้อมทจี ะใช้การได้อย่างเต็มศักยภาพใน ทุกดา้ น พร้อมทงั้ ทำความเข้าในกระบวนการดำเนนิ งานในทกุ ขั้นตอนอยา่ งถูกต้องจนเกิดเปน็ สัมมาทฏิ ฐิ คือ เป็นความเหน็ ท่ีถูกต้อง ๒) กระบวนการฝกึ ตามหลักของไตรสิกขา คือ การเรยี นการสอนโดยใช้ไตรสิกขา การ สร้างบรรยากาศและปฏิสมั พันธท์ ี่เปน็ กลั ยาณมิตรมีกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๓) วัดและประเมินผลการใช้ไตรสิกขาในการบรหิ ารจดั การศกึ ษา คือ (๑) ผลท่ีเกดิ กับตวั ผ้เู รยี น เช่น ผเู้ รยี นไดม้ กี ารพฒั นาทางด้านกาย ทางด้านศลี ทางด้านจติ ใจ ทางด้านปญั ญามากน้อยเพยี งใด (๒) ผลทเี่ กิดขึน้ กบั ชุมชน เช่น โรงเรยี นได้รบั ความไว้วางใจ เช่อื มั่น ศรทั ธา และ ไดร้ ับความร่วมมือจากชมุ ชน วดั ในชมุ ชนได้ศาสนทายาทเป็นกำลงั ส่งเสริมพระพทุ ธศาสนาเพ่ิมมากข้นึ ครอบครัวในชุม มสี มาชกิ ท่เี ปน็ คนดีไมย่ ุ่งเก่ียวกบั อบายมุขไว้ช่วยเหลือครอบครวั และช่วยในการพัฒนา ชุมชนเพ่มิ มากข้นึ สรปุ แนวคิดการบริหารการศึกษาตามหลักไตรสกิ ขา วิธีคิดแบบนี้มสี ่วนประกอบทส่ี ำคญั ๓ ประการ ได้แก่ ๑) สร้างปจั จัยแห่งสมั มาทฏิ ฐิ คอื ทรพั ยากรทางการบริหารทกุ ๆ ดา้ นและสร้างสมั มาทฏิ ฐิ ให้เกิดข้นึ ก่อน ๒) กระบวนการฝึกตามหลกั ของไตรสิกขา คือ การเรียนการสอนโดยใช้ไตรสิกขา การ สร้างบรรยากาศและปฏสิ มั พันธ์ทเ่ี ป็นกลั ยาณมติ ร มีกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๓) วัดและประเมินผลการใชห้ ลักไตรสิกขาในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา เพ่ือศึกษาผลท่ีเกิด ขึ้นกบั ตวั ผ้เู รยี นและศึกษาผลทเ่ี กิดขน้ึ กับชมุ ชนไปด้วยพรอ้ มกัน ๒.๓ หลกั ทฤษฎเี ชงิ ระบบ (System Theory) ทฤษฎีเชิงระบบเป็นอีกแนวคิดหนึ่งทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ การบริหารจดั การในปจั จุบนั กล่าวคอื มหี ลายภาค ส่วนท่ไี ด้นำเอาทฤษฎีนไี้ ปใช้เปน็ กรอบในการบริหารองค์กร ท้ังสถานประกอบการ ภาคธุรกจิ ของเอกชน และในองค์การของรฐั โดยเฉพาะในมหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั กไ็ ดน้ ำเอาทฤษฎีเชิงระบบน้ี เข้ามาใช้ในระบบประกนั คุณภาพทางการศกึ ษาของมหาวิทยาลัยแห่งน้ดี ว้ ย สำหรบั ความหมายของระบบ คืออะไร แนวคดิ ตามหลกั ของทฤษฎเี ชิงระบบเปน็ อยา่ งไร รปู แบบของวิธีระบบเปน็ อย่างไรและการนำ รูปแบบทฤษฎีเชงิ ระบบไปใชใ้ นการบริหารการศึกษาทำไดอ้ ย่างไรผเู้ ขยี นจะไดน้ ำเสนอตามลำดับดงั นี้ ๒.๓.๑ ความหมายของระบบคืออะไร คำวา่ ระบบเปน็ กลุ่มขององค์ประกอบต่างๆ ทีม่ ีความสัมพันธ์ระหวา่ งกัน และมีความ เก่ยี วขอ้ งกนั ในลักษณะท่ีทำใหเ้ กดิ ความเปน็ อันหน่งึ อนั เดียวกัน เพ่อื กระทำกจิ กรรมใหไ้ ดผ้ ลสำเรจ็ ตาม
ห น้ า | ๒๓ ความต้องการ ปจั จุบนั คำว่า “ระบบ” เปน็ คำกลา่ วที่ใชก้ นั แพรห่ ลายโดยทวั่ ไป เวลาทก่ี ล่าวถึงระบบ เรา มกั จะต้องคำนงึ ถึงคำ ๓ คำ คือ ๑)การคิดอยา่ งมีระบบ (System Thinking) หมายถึงการคิดอย่างมเี หตุผล โดยคดิ อย่าง รอบคอบถงึ ผลไดผ้ ลเสยี ทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ ทั้งในภาพรวม และทกุ ๆ สว่ นขององค์ประกอบยอ่ ยของระบบวา่ ตา่ งกม็ ี ส่วนสมั พนั ธ์กัน และสัมพันธ์กับสง่ิ แวดล้อม ๒)วิธปี ฏิบัตงิ านอยา่ งเปน็ ระบบ (System Approach) หมายถึงวธิ ปี ฏบิ ตั ิงานทเี่ ป็นระบบ โดยมกี ารนำเอาปจั จยั ทจ่ี ำเป็นตอ่ การบรหิ ารมาใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ าน เพื่อใหเ้ กดิ ผลรับตรงตามเป้าหมายที่ กำหนด ท้งั ปจั จัย กระบวนการทำงาน และผลลัพธ์ท่เี กิดข้ึนจะมสี ่วนสัมพนั ธก์ นั และเป็นผลซึ่งกนั และกัน ๓)ทฤษฎเี ชงิ ระบบ (System Theory) เปน็ ทฤษฎีท่รี ะบวุ ่าองคก์ ารประกอบด้วย สว่ นประกอบทเี่ ปน็ อิสระ และเปน็ วธิ กี ารบริหารงานท่จี ะเพิม่ ความเขา้ ใจ รู้จุดเด่นจุดด้อยในองค์การ เพอื่ การพฒั นาและแกป้ ญั หาได้มากยิ่งข้ึน ๒.๓.๒ แนวคิดตามหลกั ของทฤษฎเี ชงิ ระบบเปน็ อย่างไร หลักการและแนวคดิ ของทฤษฎีเชงิ ระบบที่สำคัญมดี ังน้ี ๑)ทฤษฎีเชงิ ระบบมีความเช่อื ว่า ระบบจะต้องเปน็ ระบบเปิด (Open System) กลา่ วคือ จะต้องมปี ฏิสมั พันธ์กบั ส่ิงแวดล้อมโดยได้รบั อิทธิพลหรือผลกระทบตลอดเวลาจากสะภาพแวดลอ้ ม ๒)มรี ปู แบบของการจดั ลำดบั (The Hierarchical Model) ในลกั ษณะของระบบ ใหญแ่ ละระบบย่อยทส่ี มั พนั ธ์กัน ๓)มีรูปแบบของปจั จัยป้อนเข้าและผลผลิต (Input Output Model) ซ่ึงแสดงให้ เห็นถงึ ผลของการปฏสิ ัมพันธ์ท่ีมกี ับสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มต้นจากปจั จยั กระบวนการ และผลผลติ ตามลำดับ เปน็ องคป์ ระกอบของระบบ ๔)แต่ละองคป์ ระกอบของระบบจะต้องมสี ว่ นสมั พนั ธ์กัน หรือมผี ลกระทบต่อกัน และกัน (The Entities Model) หมายความวา่ ถา้ องคป์ ระกอบของระบบตวั ใดตวั หน่งึ เปลี่ยนไป กจ็ ะมผี ล ต่อการปรับเปลี่ยนขององค์ประกอบตัวอืน่ ด้วย ๕)ทฤษฎเี ชิงระบบเชื่อในหลักการของความมเี หตุผลของส่งิ ต่างๆ (Cause and Effect) ซ่งึ เป็นหลักการทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถพิสจู น์ได้ ทฤษฎีเชงิ ระบบไมเ่ ชือ่ ว่าผลของสถานการณ์ใด สถานการณห์ นง่ึ เกิดจากเหตุเพียงสาเหตุเดียว แต่ทฤษฎีเชงิ ระบบเชอื่ วา่ ปญั หาทางการบรหิ ารท่ีเกิดข้นึ มกั จะมาจากสาเหตุทมี่ ากกว่าหนึ่งสาเหตุ ๖)ทฤษฎีเชิงระบบจะมองทุกๆ อยา่ งในภาพรวมของทุกองค์ประกอบมากกว่าที่ จะมองเพียงส่วนใดส่วนหน่งึ ของระบบ ๗)ทฤษฎีเชิงระบบคำนงึ ถึงผลของการปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ “Output” หรอื “Product” มากกวา่ “Process” ซึ่งผลสุดท้ายของงานที่ไดร้ ับอาจมีมากมายหลายสงิ่ ซึ่งกค็ ือผลกระทบ (Outcome or Impact) ท่เี กิดขึ้นตามมาในภายหลงั น่ันเอง ๘)ทฤษฎเี ชิงระบบจะมกี ระบวนการในการปรบั เปล่ียน และป้อนข้อมลู ยอ้ นกลับ (Feedback) เพื่อบอกใหร้ วู้ ่าระบบมีการเบีย่ งเบนอยา่ งไร ควรจะแก้ไขท่ีองค์ประกอบใดของระบบ ซึ่งก็คือ การวิเคราะหร์ ะบบ (System Analysis) นนั่ เอง
ห น้ า | ๒๔ ๒.๓.๓ รปู แบบของวิธีระบบเปน็ อยา่ งไร (System Approach Model) จากหลักการและแนวคิดทฤษฎีเชงิ ระบบดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแล้วนนั้ จะเห็นไดว้ ่า ระบบ ประกอบด้วยส่วนประกอบท่สี ำคญั ดงั ต่อไปน้ี ๑)ปัจจัยนำเขา้ (Input) หมายถึง ทรัพยากรทางการบริหารทกุ ๆ ดา้ น ไดแ้ กบ่ ุคลากร (Man) งบประมาณ (Money) วัสดอุ ุปกรณ์ (Materials) การบรหิ ารจัดการ (Management) และแรงจูงใจ (Motivations) ที่เป็นส่วนเริม่ ต้นและเป็นตัวจกั รสำคัญในการปฏบิ ตั งิ านขององคก์ าร ๒)กระบวนการ (Process) คือ การนำเอาปจั จยั หรอื ทรพั ยากรทางการบรหิ ารทุกประเภท มาใช้ในการดำเนนิ งานรว่ มกนั อย่างเป็นระบบ เนื่องจากในกระบวนการจะมรี ะบบย่อยๆ รวมกันอย่หู ลาย ระบบครบวงจร ตัง้ แตก่ ารบริหาร การจดั การ การนิเทศ การวัดและการประเมนิ ผล การตดิ ตามตรวจสอบ เป็นตน้ เพื่อใหป้ ัจจัยท้งั หลายเขา้ ไปสูก่ ระบวนการได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ๓)ผลลพั ธ์ (Product or Output) เปน็ ผลทเ่ี กดิ จากกระบวนการของการนำเอาปจั จยั มา ปฏิบตั ิ เพือ่ ใหเ้ กิดประสทิ ธิผลตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้ ๔)ผลกระทบ (Outcome or Impact) เปน็ ผลทีเ่ กิดข้นึ ภายหลังจากผลลพั ธ์ทไ่ี ด้ ซง่ึ อาจ เปน็ สิ่งทค่ี าดไว้หรอื ไมเ่ คยคาดคิดมาก่อนว่าจะเกดิ ขนึ้ ก็ได้ ๒.๓.๔ การนำรูปแบบทฤษฎเี ชิงระบบไปใช้ในการบริหารการศกึ ษาทำไดอ้ ย่างไร การนนำเอาทฤษฎีระบบหรือวธิ รี ะบบมาใช้ในการบรหิ ารองค์การ หากนำมาใชใ้ ห้ดี ถูกต้อง และเหมาะสม ระบบกจ็ ะช่วยให้องค์การมีประสทิ ธภิ าพ ในทางตรงกันข้ามหากนำมาใชไ้ ม่ถกู ต้องหรอื องค์ประกอบแต่ละส่วนของระบบไม่สัมพนั ธ์กัน ก็อาจก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายต่อองค์การได้ ดังนน้ั การ นำเอาทฤษฎีเชงิ ระบบหรือวิธีการระบบมาใช้ จงึ จำเป็นตอ้ งมีการวิเคราะหร์ ะบบทีเ่ รียกวา่ System Analysis ควบคกู่ นั ไปด้วยการวิเคราะหร์ ะบบจะช่วยใหผ้ ู้บริหารทราบว่า หากผลผลติ หรือผลลัพธ์ทเี่ กิดขึน้ ไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้ ปญั หาน้ันจะเกิดจากองคป์ ระกอบใดของระบบ มีความสัมพนั ธเ์ กี่ยวข้อง กนั หรอื ไม่ อย่างไร ข้อมูลยอ้ นกลับ (Feedback) จะชว่ ยให้ทราบถึงประเภทของปญั หาจุดที่ต้องไดร้ บั การ พัฒนาแก้ไขหรือปรับปรุงไดม้ ากขนึ้ การแกไ้ ขปรบั ปรุงก็จะตอ้ งกระทำอยา่ งเป็นระบบ มิใชแ่ กไ้ ขเฉพาะด้าน ใดด้านหนึ่งเทา่ นัน้ การวเิ คราะห์ระบบ (System Analysis) เปน็ ส่วนหนงึ่ ของวิธรี ะบบ (System Approach) ท่ี มุ่งเนน้ กระบวนการ ( Process) มากกวา่ ผลผลติ หรือผลงาน (Output or Product) โดยมงุ่ วิเคราะห์ปัญหา (Identify the Problem) และเป็นกระบวนการประเมนิ วิธีระบบ การวิเคราะหร์ ะบบ เป็นขน้ั แรกของการ พฒั นาท่จี ะนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายเพ่ือให้มีระบบการดำเนินงานที่มปี ระสิทธิภาพ เพราะการ พฒั นาคือการปรับปรุง เพื่อให้สภาพปญั หาที่มีอยหู่ มดไป หรือเหลือนอ้ ยลงตามศกั ยภาพของทรัพยากรและ ข้อจำกัดทมี่ ีอยู่ใหเ้ กิดความสมดลุ ของโครงสรา้ งและองคป์ ระกอบตา่ งๆ ในระบบ จงึ จำเป็นตอ้ งมีการ วเิ คราะหร์ ะบบ๔ ตวั อยา่ งของสถาบันการศึกษาทีน่ ำเอาทฤษฎรี ะบบไปประยกุ ต์ใชใ้ นการพัฒนาองคก์ ร คือ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ซึ่งไดน้ ำทฤษฎีนไี้ ปใช้ในระบบประกันคณุ ภาพทางการศกึ ษา โดยใชอ้ กั ษรย่อว่า “IPOI” ซง่ึ มปี ระเด็นและรายละเอยี ด ดงั นี้ ๔ Ludwig Von Bertalaffy,อา้ งใน จนั ทรานี สงวนนาม,ทฤษฎแี ละแนวปฏบิ ตั ใิ นการบรหิ ารสถานศึกษา, (กรงุ เทพมหาคร: บริษทั บ๊คุ พอยท์ จำกดั , ๒๕๔๕), หน้า ๘๕-๘๘.
ห น้ า | ๒๕ ๑) ปจั จยั นำเขา้ (Input) ได้แก่ (๑) ปรัชญา ปณธิ าน และวตั ถปุ ระสงค์ (๒) หลักสูตร (๓) คณาจารย์ (๔) นิสติ (๕) แหลง่ ทรพั ยากรการเรยี นรู้ (๖) อาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อม (๗) ระบบบรหิ าร จัดการ (๘) งบประมาณ ๒) ปัจจยั กระบวนการ (Process) ไดแ้ ก่ (๑) การเรียนการสอน (๒) การบรกิ ารวิชาการดา้ นพระพทุ ธศาสนาแกส่ งั คม (๓) การทำนุบำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรม (๔) การวิจยั (๕) ระบบประกนั คณุ ภาพ ๓) ปจั จยั ผลผลติ (Output) ไดแ้ ก่ ผลผลิต ๔) ปจั จัยผลกระทบ (Impact) ไดแ้ ก่ ผลกระทบตอ่ มหาวทิ ยาลยั คณะสงฆแ์ ละสังคม สรุปแนวคิดการบรหิ ารการศึกษาตามทฤษฎีระบบ วธิ ีคดิ แบบนมี้ ีสว่ นประกอบทส่ี ำคัญ ๔ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) ปจั จยั นำเข้า (Input) หมายถงึ ทรัพยากรทางการบริหารทกุ ๆ ดา้ น ไดแ้ ก่ บคุ ลากร งบประมาณ วัสดอุ ุปกรณ์ การบริหารจัดการ และแรงจงู ใจ ทเี่ ป็นสว่ นเริม่ ตน้ และเปน็ ตวั จกั รสำคัญในการ ปฏบิ ตั ิงานขององค์การ ๒) ปัจจัยกระบวนการ (Process) คอื การนำเอาปจั จยั หรือทรพั ยากรทางการบรหิ ารทุก ประเภทมาใชใ้ นการดำเนนิ งานร่วมกนั อย่างเป็นระบบ เนื่องจากในกระบวนการจะมีระบบยอ่ ย ๆ รวมกัน อยหู่ ลายระบบครบวงจร ตงั้ แตก่ ารบริหาร การจดั การ การนเิ ทศ การวดั และการประเมนิ ผล การติดตาม ตรวจสอบ เป็นต้น เพื่อใหป้ ัจจยั ทงั้ หลายเข้าไปส่กู ระบวนการได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๓) ผลลพั ธ์ (Product or Output) เปน็ ผลท่เี กดิ จากกระบวนการของการนำเอาปจั จยั มา ปฏิบตั ิ เพ่ือใหเ้ กดิ ประสทิ ธิผลตามเปา้ หมายท่กี ำหนดไว้ ๔) ผลกระทบ (Outcome or Impact) เปน็ ผลทเ่ี กดิ ขึน้ ภายหลงั จากผลลัพธท์ ี่ได้ ซึง่ อาจ เป็นสิ่งท่คี าดไว้หรอื ไม่เคยคาดคดิ มากอ่ นว่าจะเกดิ ข้นึ ก็ได้ ๒.๔ การเปรยี บเทียบการใช้หลักไตรสกิ ขาและทฤษฎเี ชงิ ระบบ แนวคดิ การบริหารการศึกษาตามหลักไตรสิกขากับแนวคิดตามทฤษฎเี ชงิ ระบบดเู หมอื นกบั ว่าเปน็ ความสอดคล้องกันที่ลงตวั อยู่หลายอยา่ งทั้งทีแ่ นวคิดท้งั ๒ นีไ้ ด้เกิดข้ึนในยคุ สมัยทแี่ ตกต่างกนั มาก อย่างไรก็
ห น้ า | ๒๖ ตามจากการศึกษาวเิ คราะหแ์ นวคดิ ท้ัง ๒ ยังมปี ระเด็นที่ทำใหเ้ ห็นไดว้ า่ มิใชว่ ่าหลกั ไตรสกิ ขาและทฤษฎเี ชิง ระบบจะมคี วามสอดคลอ้ งลงตัวกนั ท้งั หมดในทกุ ประเด็น หากได้นำแนวคิดท้ัง ๒ มาสร้างเป็นตาราง เปรยี บเทยี บก็จะทำให้เรามองเห็นผลการเปรยี บเทียบไดช้ ัดเจนย่งิ ขน้ึ ดังน้ี ตารางที่ ๑ แสดงการเปรยี บเทียบการใชห้ ลกั ไตรสิกขาและทฤษฎีเชงิ ระบบในการบรหิ ารการศึกษา สรุปผลการเปรยี บเทยี บการใชห้ ลักไตรสกิ ขาและทฤษฎีเชิงระบบในการบริหารการศึกษา ผลของ การเปรยี บเทียบสรุปได้ดงั น้ี ๑)ด้านทรพั ยากรทางการบรหิ าร ผลการเปรยี บเทียบ พบว่า มคี วามคลา้ ยกัน กล่าว คือ หลัก ไตรสกิ ขา เรียกวา่ ปัจจยั แห่งสัมมาทฏิ ฐิ หรอื บพุ ภาคของการศึกษา เช่น พระพุทธศาสนามีหลักธรรมท่ีชอื่ วา่ สปั ปายะ หมายถึง สง่ิ ท่ีอำนวยความสะดวกสบายเก้ือหนนุ ในการพัฒนาชีวิตให้มีความเจริญงอกงาม มี ๗ ประการ ได้แก่ (๑) อวาสสปั ปายะ มีท่ีอยู่ อาคาร สถานท่ี สภาพแวดลอ้ มอันเหมาะดี (๒) โคจรสับปายะ การคมนาคมสะดวกดี มีสาธารนูปโภคพื้นฐานท่ดี ี สาพทางเศรษกิจ ของชมุ ชนดี มีอาหารบรบิ ูรณ์ดี อยู่ไม่ไกล้และไม่ไกลชมุ ชนจนเกินไป (๓) ภสั สสัปปายะ มีการพดู คุยท่เี หมาะกนั มีขา่ วสารและสอื่ สารที่เออ้ื ปัญญา (๔) ปคุ ลสัปปายะ มีบคุ คลท่ถี ูกกนั เหมาะกันดี มผี ้ทู รงภูมคิ วามรู้ และมีคณุ ธรรมเปน็ ที่ ปรกึ ษาที่ดี (๕) โภชนสัปปายะ มีอาหารที่ถกู สุขอนามัย เหมาะกบั ร่างการ เก้ือกลู ต่อสุขภาพ
ห น้ า | ๒๗ (๖) อุตสุ ปั ปายะ มีดินฟา้ อากาศที่เหมาะสมไมห่ นาวเกนิ ไปและไมร่ ้อนเกินไป (๗) อิริยาปถสปั ปายะ มกี ารออกกำลงั ทเี่ หมาะสม มีสถานท่ีออกกำลงั กาย จดั พละศกึ ษา เปน็ ต้น สำหรบั ทฤษฎีเชงิ ระบบ เรยี กว่า ปัจจัยนำเขา้ หมายถงึ ทรัพยากรทางการบริหารทกุ ๆ ด้าน ไดแ้ ก่ บคุ ลากร งบประมาณ วสั ดุอปุ กรณ์ การบรหิ ารจดั การ และแรงจงู ใจ ทเ่ี ป็นส่วนเร่ิมตน้ และเปน็ ตวั จักร สำคญั ในการปฏบิ ัติงานขององค์การ จะเหน็ ไดว้ า่ เกย่ี วกับแนวคดิ ดา้ นทรพั ยากรทางการบริหาร ทงั้ ๒ แนวคิด มีความคล้ายกนั เปน็ อยา่ งมาก ๒)ด้านการนำทรัพยากรทางการบริหารมาใช้ในการดำเนนิ งานรว่ มกันอยา่ งเป็นระบบ ผลการ เปรยี บเทียบ มีความคล้ายกัน กล่าว คอื หลักไตรสกิ ขา เรยี กว่า กระบวนการฝกึ ตามหลกั ของไตรสิกขา ได้แก่ (๑) การเรียนการสอนโดยใช้ไตรสกิ ขา เช่น กระบวนการจัดการเรยี นรู้ การใช้ส่ือและ แหลง่ เรียนรู้ การวัดประเมนิ ผล เปน็ ตน้ (๒) บรรยากาศและปฏสิ ัมพันธ์ท่ีเป็นกลั ยาณมติ ร เช่น สง่ เสริมความสัมพนั ธแ์ บบ กัลยาณมติ ร ทงั้ ครูต่อนักเรียน ครตู อ่ ครู นักเรียนต่อนกั เรียน และครตู ่อผปู้ กครอง สง่ เสรมิ บรรยากาศ ใฝร่ ู้ ใฝเ่ รยี น ใฝ่สร้างสรรค์ ส่งเสริมบุคลากรและนกั เรยี นให้ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ตัวอย่างท่ีดีตอ่ ผู้อ่ืน ส่งเสริม ยกยอ่ ง เชดิ ชู ผทู้ ำความดีเปน็ ประจำ เปน็ ต้น (๓) กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น เช่น กจิ กรรมเสรมิ เนื้อหาตามหลักสูตร กจิ กรรมประจำวันและ สปั ดาห์ กิจกรรมวันสำคัญ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ กจิ กรรมพิเศษอืน่ ๆ เปน็ ต้น สำหรบั ทฤษฎเี ชงิ ระบบ เรยี กว่า ปัจจัยกระบวนการ (Process) คอื การนำเอาปัจจยั หรอื ทรัพยากรทางการบริหารทกุ ประเภทมาใช้ในการดำเนินงานร่วมกันอย่างเปน็ ระบบ เน่ืองจากในกระบวนการจะมีระบบยอ่ ย ๆ รวมกนั อยหู่ ลายระบบครบวงจร ตั้งแต่การบริหาร การจดั การ การนเิ ทศ การวดั และการประเมนิ ผล การติดตาม ตรวจสอบ เป็นตน้ เพอื่ ให้ปัจจัยท้งั หลายเข้าไปสกู่ ระบวนการได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ จะเห็นไดว้ ่าเก่ยี วกับ แนวคิด ดา้ นการนำทรพั ยากรทางการบริหารมาใชใ้ นการดำเนนิ งานรว่ มกันอยา่ งเปน็ ระบบ ท้ัง ๒ แนวคดิ มคี วามคลา้ ยกัน กเ็ ปน็ อย่างมาก ๓) ด้านผลท่เี กิดจากกระบวนการนำเอาปจั จยั มาปฏิบตั ิ เพื่อให้เกิดประสิทธิผลตามเป้าหมายที่ กำหนด ผลการเปรยี บเทียบ พบว่า มคี วามคลา้ ยกนั กลา่ ว คอื หลักไตรสกิ ขา เรียกว่า การวัดและ ประเมนิ ผลการใชห้ ลกั ไตรสิกขา เชน่ (๑) ผลทเี่ กดิ กบั ตัวผ้เู รียน เชน่ ผเู้ รยี นไดม้ ีการพฒั นา ทางดา้ นกาย คือ มีการบริโภคใช้ สอยปจั จัย ๔ ไดป้ ริมาณและคุณค่าทแ่ี ทจ้ รงิ ดูแลรา่ งกายให้แข็งแรง สะอาด แต่งกายเรียบร้อย ถูกระเบียบ ดำรงชวี ติ อย่างเกื้อกลู ส่ิงแวดล้อม มากน้อยเพยี งใด ทางดา้ นศลี คือ มศี ลี ๕ เป็นพืน้ ฐานในการดำรงชีวติ มี วินยั ซื่อสัตย์ มคี วามรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถพึ่งตนเองไดห้ รอื ทำงานเลยี้ งชีพอย่างสจุ รติ มากนอ้ ย เพยี งใด ทางดา้ นจิตใจ คือ มีความกตัญญรู ู้คณุ ตอบแทนคุณ มีจิตใจ เมตตา กรุณา (แบ่งปัน เอื้อเฟื้อ เผ่อื แผ่) ต่อกัน ทำงานและเรยี นรู้อย่างต้งั ใจ อดทน ขยันหมัน่ เพยี ร มสี ุขภาพจติ ดี แจม่ ใส รา่ เริง เบิกบาน มาก น้อยเพยี งใด ทางด้านปญั ญา คือ มีศรทั ธาและความเข้าใจถูกต้องในพระรัตนตรัย รบู้ าป-บุญ คุณ-โทษ
ห น้ า | ๒๘ ประโยชน์-มใิ ชป่ ระโยชน์ ใฝ่รู้ ใฝ่ศกึ ษา ใฝส่ รา้ งสรรค์ แสวงหาความจรงิ พัฒนาตนเอง รู้เท่าทนั แกไ้ ข ปญั หาไดด้ ้วยสติปญั ญามากน้อยเพยี งใด (๒) ผลที่เกดิ ข้ึนกบั ชมุ ชน เชน่ โรงเรยี นได้รบั ความไว้วางใจ เชื่อม่ัน ศรทั ธา และได้รับ ความร่วมมอื จากชุมชน วัดในชุมชนไดศ้ าสนทายาทเปน็ กำลังส่งเสริมพระพุทธศาสนาเพิ่มมากขน้ึ ครอบครวั ในชมุ ชน มสี มาชกิ ท่เี ปน็ คนดไี ม่ยงุ่ เกยี่ วกับอบายมุขไว้ชว่ ยเหลือครอบครวั และชว่ ยในการพฒั นาชมุ ชนเพม่ิ มากข้ึน มากน้อยเพียงใดเป็นต้น สำหรับทฤษฎีเชงิ ระบบ เรียกวา่ ปัจจยั ผลผลิต เปน็ ผลท่ีเกดิ จาก กระบวนการของการนำเอาปัจจัยมาปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดประสทิ ธิผลตามเปา้ หมายทกี่ ำหนดไว้ จะเห็นไดว้ า่ เก่ยี วกับแนวคดิ ดา้ นผลท่ีเกดิ จากกระบวนการนำเอาปัจจยั มาปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดประสทิ ธิผลตามเป้าหมายที่ กำหนดท้งั ๒ แนวคดิ มีความคลา้ ยกัน เป็นอย่างมาก ๔) ด้านผลท่ีเกดิ ข้นึ ภายหลังจากผลลพั ธ์ ผลการเปรียบเทียบ พบวา่ มคี วามตา่ งกัน กลา่ ว คอื หลกั ไตรสิกขา มิได้แยกเอาสว่ นนีม้ ากลา่ วไวต้ า่ งหากแต่ได้รวมกล่าวไว้ในเรื่องท่ีเกีย่ วกับ ด้านผลทเี่ กิดจาก กระบวนการนำเอาปจั จัยมาปฏบิ ตั ิ เพ่ือใหเ้ กดิ ประสทิ ธิผลตามเปา้ หมายที่กำหนด เรียบรอ้ ยแลว้ แต่ สำหรบั ทฤษฎเี ชิงระบบ เรียกว่า ปจั จัยผลกระทบ เปน็ ผลท่ีเกิดขึ้นภายหลังจากผลลัพธท์ ่ีได้ ซึ่งอาจเปน็ สิ่งที่ คาดไว้หรอื ไม่เคยคาดคดิ มาก่อนว่าจะเกิดข้ึนก็ได้ สรุปท้ายบท เนอ้ื หาทีผ่ เู้ ขียนได้นำเสนอมาท้ังหมดในบทความนี้มอี ยู่ ๓ ประเดน็ หลัก คือ หลักไตรสิกขาใน พระพุทธศาสนา หลักทฤษฎเี ชงิ ระบบ การเปรียบเทยี บการใชห้ ลกั ไตรสิกขาและทฤษฎีเชงิ ระบบในการ บริหารการศกึ ษา ซึ่งประเดน็ ทไ่ี ดน้ ำเสนอมาทั้งหมดสรปุ ได้ดงั นี้ หลักสกิ ขาน้คี รอบคลุมการปฏบิ ตั ทิ ั้งหมดในพุทธศาสนา สกิ ขาเปน็ หลกั ธรรมภาคปฏบิ ัติ เม่ือหลัก ปฏิบัตธิ รรมทั้งหมดอยู่ในหลักสิกขา ก็กลา่ วไดว้ ่าพระพุทธศาสนานัน้ เปน็ หลักธรรมแหง่ การศกึ ษา เรอื่ งของ การศกึ ษาเป็นเร่ืองของพระพุทธศาสนาท้งั สน้ิ การพัฒนาตนใหเ้ ปน็ มนษุ ย์ท่สี มบรู ณ์เป็นเนือ้ หรอื เปน็ ตัวเปน็ ความหมายท่ีแทข้ องการศึกษา การศึกษานน้ั เปน็ ทงั้ ตัวการพัฒนาและเป็นเคร่ืองมือสำหรบั พฒั นา คือเป็น การพัฒนาคนขน้ึ ไป โดยพัฒนาตวั คนทงั้ คนหรือชีวติ ทั้งชีวิต ตัวการพฒั นานั้นคือการศึกษา เมื่อผู้เรยี นมี การศึกษาอย่างนแ้ี ล้วก็จะเอาคุณสมบตั ิที่ตวั มซี ึง่ เกิดจากการศึกษานี้ไปเป็นเครอ่ื งมอื ในการดำเนินชีวิต และ สร้างสรรค์สิง่ ต่าง ๆ การศึกษาก็เลยกลายเปน็ เคร่ืองมือการพฒั นา รปู แบบของไตรสิกขา ประกอบด้วย ส่วนประกอบทสี่ ำคญั ดังนี้คอื ๑)ปัจจัยแหง่ สัมมาทฏิ ฐหิ รอื บุพภาคของการศึกษา ๒)กระบวนการฝึกตามหลักของไตรสิกขา ๓) วดั และประเมินผลการใชไ้ ตรสกิ ขาในการบรหิ ารจดั การศึกษา จากหลักการและแนวคิดทฤษฎเี ชิงระบบประกอบด้วยส่วนประกอบที่สำคญั คือ ๑) ปจั จัยนำเข้า (Input) หมายถึง ทรัพยากรทางการบริหารทกุ ๆ ด้าน ได้แกบ่ ุคลากร (Man) งบประมาณ (Money) วสั ดุอปุ กรณ์ (Materials) การบริหารจดั การ (Management) และแรงจงู ใจ (Motivations) ทเี่ ปน็ สว่ นเรมิ่ ตน้ และเป็นตวั จักรสำคัญในการปฏิบตั งิ านขององค์การ
ห น้ า | ๒๙ ๒) กระบวนการ (Process) คือ การนำเอาปจั จยั หรือทรพั ยากรทางการบรหิ ารทุก ประเภทมาใช้ในการดำเนนิ งานรว่ มกันอย่างเปน็ ระบบ เน่ืองจากในกระบวนการจะมีระบบย่อยๆ รวมกนั อยู่ หลายระบบครบวงจร ต้ังแต่การบริหาร การจัดการ การนเิ ทศ การวดั และการประเมนิ ผล การติดตาม ตรวจสอบ เป็นต้น เพ่อื ใหป้ จั จยั ทง้ั หลายเขา้ ไปสกู่ ระบวนการไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ๓) ผลลพั ธ์ (Product or Output) เปน็ ผลทีเ่ กดิ จากกระบวนการของการนำเอาปจั จัยมา ปฏบิ ตั ิ เพื่อให้เกิดประสทิ ธผิ ลตามเปา้ หมายที่กำหนดไว้ ๔) ผลกระทบ (Outcome or Impact) เปน็ ผลท่เี กิดขึ้นภายหลงั จากผลลัพธ์ทไ่ี ด้ ซ่ึงอาจ เป็นส่งิ ท่ีคาดไวห้ รอื ไม่เคยคาดคดิ มากอ่ นว่าจะเกิดขน้ึ ก็ได้ เขียนเปน็ รูปแบบ (Model) ของวธิ รี ะบบได้ดงั น้ี ผลการเปรียบเทียบการใช้หลกั ไตรสกิ ขาและทฤษฎเี ชิงระบบในการบรหิ ารการศึกษา พบว่า มคี วาม คล้ายกัน ๓ ด้าน คอื ด้านทรพั ยากรทางการบรหิ าร ดา้ นการนำทรัพยากรทางการบรหิ ารมาใชใ้ นการ ดำเนินงานร่วมกันอยา่ งเปน็ ระบบ และ ดา้ นผลทเี่ กิดจากกระบวนการนำเอาปจั จยั มาปฏบิ ัติ เพ่อื ให้เกิด ประสิทธิผลตามเป้าหมายท่กี ำหนด ส่วนดา้ นผลทเ่ี กิดข้ึนภายหลังจากผลลัพธ์ มคี วามตา่ งกัน จะเหน็ ได้ว่า แนวคิดการบรหิ ารการศึกษาตามหลกั ไตรสิกขากับแนวคิดตามทฤษฎีเชงิ ระบบ ถงึ แมว้ ่าจะเกดิ ขึ้นในยคุ สมยั ทตี่ า่ งกันแตก่ เ็ ปน็ ความสอดคลอ้ งกนั ท่ลี งตัว หากไดน้ ำหลักไตรสกิ ขาในหลกั คำสอนของพระพทุ ธมาบูรณา การกับแนวคิดในทฤษฎีเชิงระบบซึ่งเปน็ วทิ ยาการสมัยใหม่ ให้เปน็ รปู แบบการบริหารการศึกษาโดยใชห้ ลกั ของไตรสกิ ขาบรู ณาการ แล้วน่าจะเปน็ รปู แบบท่ีมคี วามสมบูรณ์ และเปน็ เคร่ืองมอื ที่ทรงคณุ ค่าเพ่ือใช้ใน การบรหิ ารการศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงข้ึน
ห น้ า | ๓๐ เอกสารอา้ งองิ ท้ายบท พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยตุ โฺ ต), การศกึ ษาที่สากลบนพื้นฐานแหง่ ภมู ปิ ัญญาไทย, (กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราและเอกสารทางวชิ าการ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, ๒๕๓๒), หน้า ๗๐–๗๑. พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต), การศึกษา: เครอื่ งมือพัฒนาท่ยี งั ต้องพัฒนา, พมิ พ์ครั้งท่ี ๔, (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี, ๒๕๓๖), หน้า ๙๕- ๑๐๕. พระเทพโสภณ (ประยรู ธมมฺ จิตโต), ทศิ ทางการศึกษาไทย,พิมพ์ครั้งท่ี ๓, (กรงุ เทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๖), หน้า ๑๘. Ludwig Von Bertalaffy,อา้ งใน จันทรานี สงวนนาม,ทฤษฎแี ละแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศกึ ษา, (กรุงเทพมหาคร: บริษัทบ๊คุ พอยท์ จำกดั , ๒๕๔๕), หนา้ ๘๕-๘๘. มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั , ค่มู ือระบบประกันคุณภาพ, (กรงุ เทพมหานคร: ไทยรายวนั การพิมพ์, ๒๕๔๗), หน้า ๒๗-๒๘.
ห น้ า | ๓๑ บทท่ี ๓ การบรหิ ารการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนวถิ ีพุทธ วตั ถปุ ระสงคป์ ระจำบท เม่ือศึกษาเน้ือหาในบท ๓ แล้ว นสิ ติ สามารถ ๑.อธบิ ายการบริหารจัดการโรงเรียนวถิ ีพุทธได้ ๒.อธบิ ายการพัฒนาบุคลากรและคณุ ลกั ษณะบุคลากรโรงเรยี นวถิ ีพุทธได้ ๓.อธบิ ายโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธในตา่ งประเทศได้ เนื้อหาประจำบท ๑.การบริหารจดั การโรงเรียนวถิ ีพุทธ ๒.การพัฒนาบุคลากรและคุณลกั ษณะบุคลากรโรงเรียนวิถีพุทธ ๓.โรงเรียนวิถีพทุ ธในต่างประเทศ
๓๒ ๓.๑ ความนำ โรงเรียนยดึ หลักการบรหิ ารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน (School-Based Management)การบรหิ าร เชิงกลยทุ ธแ์ ละระบบการบริหารของวงจรเดมมิ่ง (Demming Circle) ประกอบการบริหารงานทเ่ี กดิ จาก การมสี ว่ นร่วมของทกุ ฝ่ายเริ่มตั้งแต่ การวเิ คราะหส์ ิง่ แวดล้อม การกำหนดนโยบายและการวางแผน การ กำหนดโครงสรา้ งของโรงเรยี น การจดั กำลังคนหรือการพฒั นาบคุ ลากรในการทำงานการสงั่ การใหเ้ ป็นไป ตามวัตถุประสงค์ รวมทัง้ การติดตามงานและการประเมนิ ผล ซ่งึ เกดิ จากการมีส่วนร่วมของผูเ้ ก่ียวข้องกบั โรงเรียนทุกฝา่ ย นอกจากนย้ี ังไดร้ ว่ มกนั กำหนดนโยบายให้ท้งั ๔ กล่มุ งานหลกั ของโรงเรียน ไดแ้ ก่ งาน วิชาการ งบประมาณ บคุ คล และบริหารทว่ั ไป นำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการดำเนินงาน และจดั ทำแผนงานโครงการต่าง ๆ โดยมงุ่ เนน้ พฒั นาระบบหลกั ๓ ระบบคอื ระบบการเรยี นรู้ ระบบดแู ล ช่วยเหลอื นกั เรยี น และระบบกจิ กรรมนักเรียนตามกระบวนการพฒั นา PDCAระบบการเรยี นรู้ เปน็ ระบบ หลักทม่ี คี วามสำคัญจะต้องได้รบั การพฒั นาอยา่ งต่อเน่ือง เพ่ือพัฒนาผูเ้ รยี นให้เกิดคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาและเป้าประสงคท์ ่ีกำหนดไว้ โดยโรงเรยี นไดส้ มัครเขา้ ร่วมโครงการโรงเรยี นวถิ ีพุทธ ใชห้ ลกั ไตรสิกขาบรู ณาการในระบบการเรยี นรทู้ ุกกล่มุ สาระ ทุกรายวชิ าและทุกกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนเป็น มนษุ ยท์ ่ีสมบูรณ์ ผูเ้ รียนได้เรยี นรู้ผ่านการพัฒนา “การกิน อยู่ ดู ฟัง เปน็ ” แสวงหาปัญญาและมวี ัฒนธรรม เมตตาเปน็ รากฐานการดำเนินชีวติ โดยมผี ู้บรหิ ารและคณะครูเป็นกัลยาณมติ ร ในการพัฒนาระบบดูแล ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น เป็นภารกจิ ทีส่ ำคญั งานหนึ่งของโรงเรียนท่เี ป็นส่วนหน่งึ ของการบริหารจัดการศึกษา ซง่ึ โรงเรียนไดด้ ำเนนิ การเช่น แต่งตง้ั คณะกรรมการเครือขา่ ยผปู้ กครองนักเรยี นการรจู้ กั นักเรียนเปน็ รายบุคคล การจำแนกคดั กรองนักเรียน การสง่ เสรมิ พัฒนานักเรยี นทห่ี ลากหลาย (โฮมรูม การประชุมผปู้ กครอง ชั้นเรยี นและการเย่ยี มบ้านนกั เรยี น) การป้องกนั ชว่ ยเหลอื และแก้ไขการสง่ ต่อนักเรยี นท่ีสอดคล้องกับ สภาพปญั หาอย่างเปน็ ระบบและมีเครือขา่ ยสหวชิ าชีพ ๓.๒ การบริหารจดั การโรงเรียนวิถีพุทธ การบริหารจดั การโรงเรยี นวถิ ีพุทธมีขน้ั ตอนสำคัญ เชน่ การเตรยี มการ เตรยี มทัง้ บคุ ลากร ผู้เกย่ี วขอ้ ง แผนงาน ทรัพยากร ทมี่ ่งุ เนน้ สร้างศรทั ธาและฉนั ทะในการพฒั นา การพดำเนนิ การจดั สภาพ และองค์ประกอบตา่ งๆ ที่จดั เพอื่ สง่ เสริมใหเ้ กดิ ความเจริญงอกงามหรือปัญญาวุฒิธรรม ในการพัฒนา ผ้เู รียน การดำเนินการพัฒนาทงั้ ผ้เู รียนและบุคลากร ตามระบบไตรสิกขาอยา่ งต่อเนื่อง โดยใชส้ ภาพและ องคป์ ระกอบท่ีจัดไวข้ า้ งต้น ข้นั ต่อมาคือการ ดแู ลสนบั สนุนใกล้ชิดด้วยทา่ ทขี องความเปน็ กัลยาณมติ รต่อ กนั ทจ่ี ะทำให้การพัฒนาผู้เรียนและงานดำเนินไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพต่อจากนน้ั มีการปรบั ปรุงและ พัฒนาอย่างตอ่ เน่ืองดว้ ยอทิ ธิบาท ๔ และหลกั ปัญญาธรรมคอื ความสันโดษในกุศลธรรมและความไมย่ ่อท้อ ในการพากเพียร เปน็ ต้น ขนั้ สดุ ทา้ ยของกระบวนการบรหิ ารแตเ่ ปน็ ฐานสู่การพัฒนาในลำดับตอ่ ไป คอื ข้นั ประเมินผลและ เผยแพร่ผลการดำเนินงาน จงั หวะกา้ วการพฒั นาสู่โรงเรียนวิถพี ทุ ธทช่ี ัดเจนมีประสทิ ธิภาพจำเป็นตอ้ งพจิ ารณาองค์ประกอบ และลำดบั ข้ันตอนท่ีเป็นระบบ และลำดบั ขั้นตอนขององคป์ ระกอบ ตอ่ ไปน้ี เปน็ ขอ้ เสนอเชิงตัวอยา่ งหนง่ึ ทีส่ ถานศึกษาสามารถนำไปพิจารณาปรับใช้ไดต้ ามความเหมาะสม ซ่ึงประกอบด้วยข้ันตอนดังนี้
๓๓ ขน้ั เตรียมการจัดสภาพและองคป์ ระกอบ : ท่ีจะเปน็ ปจั จยั เป็นกิจกรรม เปน็ เคร่ืองมือสกู่ าร พฒั นาผูเ้ รียนได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกัลปล์ ักษณะแหง่ ปญั ญาวฒุ ิธรรม ขน้ั ดำเนนิ การพฒั นาผ้เู รยี นและบุคลากรตามระบบไตรสิกขา : ซ่ึงเปน็ ขัน้ ตอนที่เป็นหวั ใจของการ ดำเนนิ การโรงเรียนวิถีพุทธ ซ่ึงต้องดำเนนิ การอยา่ งต่อเนอื่ ง ขั้นดูแลสนบั สนนุ ใกล้ชิด : ทีจ่ ะชว่ ยใหก้ ารดำเนนิ ทุกส่วนเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพด้วยท่าที ความเป็นกลั ยาณมติ ร ขั้นปรบั ปรุง พฒั นาต่อเน่อื ง : ทจี่ ะเนน้ ยำ้ การพัฒนาว่าต้องมมี ากขึน้ ๆ ด้วยหลกั อทิ ธิบาท 4 และอุปัญญาตธรรม ขั้นประเมินผล และเผยแพร่ผลการดำเนินการ : ทจ่ี ะนำข้อมลู ผลการดำเนินงานสกู่ ารเตรยี มการ ทจี่ ะดำเนินการในรอบต่อๆ ไป เชน่ ในปตี อ่ ๆ ไป หรือใชก้ บั โครงการต่อเนอื่ งอน่ื และนำผลสรปุ จดั ทำ รายงานผลการดำเนนิ งานแจง้ แก่ผู้ทีเ่ กย่ี วข้องให้ทราบ โรงเรียนวถิ พี ทุ ธ คอื โรงเรียนระบบปกติท่ัวไปท่ีนำหลักธรรมพระพทุ ธศาสนามาใช้ หรอื ประยกุ ต์ใชใ้ นการบรหิ าร และการพัฒนาผ้เู รยี นโดยรวมของสถานศกึ ษา เน้นกรอบการพฒั นาตามหลัก ไตรสิกขาอยา่ งบรู ณาการ ผู้เรียนได้เรียนรไู้ ด้พัฒนาการกิน อยู่ ดู ฟงั ใหเ้ ปน็ โดยผ่านกระบวนการทาง วัฒนธรรมแสวงปัญญา และมีวฒั นธรรมเมตตา เปน็ ฐานการดำเนนิ ชีวิต ๓.๒.๑ สภาพของสถานศึกษา สถานศกึ ษาจัดสภาพในทุก ๆ ด้าน เพ่อื สนับสนนุ ใหผ้ เู้ รยี นพัฒนาตามหลกั พุทธธรรมอย่าง บูรณาการ และสง่ เสริมให้ผ้เู รยี นพัฒนาชวี ิตใหส้ ามารถกิน อยู่ ดู ฟังเปน็ มีวัฒนธรรมแสวงปัญญา ทั้งน้ีการ จัดสภาพจะสง่ เสรมิ ให้เกดิ ลกั ษณะของปญั ญาวุฒิธรรม ๔ ประการ คือ ๑.สัปปุริสสงั เสวะ หมายถึงการอยู่ใกล้คนดี ใกลผ้ รู้ ู้ อยู่ใน ส่ิงแวดล้อมท่ีดี ครู อาจารย์ดี มขี อ้ มูล มสี ือ่ ท่ดี ี ๒.สัทธมั มัสสวนะ หมายถึง เอาใจใสศ่ ึกษาโดยมีหลกั สตู ร การเรียนการสอนทด่ี ี ๓.โยนิโสมนสกิ าร หมายถงึ มีกระบวนการคิดวิเคราะหพ์ ิจารณาหาเหตุผลทด่ี แี ละถูกวธิ ี ๔. ธัมมานธุ ัมมปฏิปัตติ หมายถงึ ความสามารถท่ีจะนำความรู้ไปใช้ในชวี ิตได้ และ ดำเนินชีวติ ได้ถกู ตอ้ งตามธรรมปัญญาวุฒิธรรม ๔ ประการนี้จะส่งเสริมให้ผเู้ รยี นพฒั นาตามหลกั ไตรสิกขาได้ อย่างชัดเจน สำหรบั แนวคิดเบอื้ งตน้ ของการจดั สภาพในสถานศกึ ษาท่เี หมาะสมในด้านต่าง ๆ มีลกั ษณะ ดังตอ่ ไปนี้ ๓.๒.๒ ด้านกายภาพ สถานศึกษาจะจดั อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อม ห้องเรยี น และแหลง่ เรียนรู้ที่สง่ เสรมิ การพฒั นาศีล สมาธิ และปญั ญา เชน่ มศี าลาพระพทุ ธรปู เดน่ เหมาะสมที่จะชวนใหร้ ะลกึ ถึงพระรตั นตรัย อยูเ่ สมอ มีมมุ หรือห้องใหศ้ ึกษาพุทธธรรม บริหารจิต เจริญภาวนาเหมาะสม หรอื มากพอท่ีจะบริการ ผู้เรียน หรือการตกแต่งบริเวณให้เปน็ ธรรมชาตหิ รือใกลช้ ิดธรรมชาติ ชวนมีใจสงบ และสง่ เสริมปัญญา เชน่ ร่มรืน่ มีป้ายนิเทศ ปา้ ยคุณธรรม ดูแลเสียงตา่ ง ๆ มใิ หอ้ ึกทึก ถ้าเปดิ เพลงกระจายเสียงกพ็ ิถีพิถัน เลือกเพลงทส่ี ่งเสรมิ สมาธิ ประเทืองปญั ญา เป็นต้น
๓๔ ๓.๒.๓ ด้านกจิ กรรมพน้ื ฐานวถิ ีชีวิต สถานศึกษาจดั กจิ กรรมวถิ ชี วี ติ ประจำวัน ประจำสปั ดาห์ หรอื ในโอกาสต่าง ๆ เป็นภาพ รวมท้งั สถานศึกษา ที่เป็นการปฏิบตั ิบรู ณาการทั้ง ศลี สมาธิ และปัญญา โดยเน้นการมวี ถิ ีชีวิตหรือวัฒนธรรม ของ การกิน อยู่ ดู ฟงั ดว้ ยสติสมั ปชญั ญะ เพื่อเป็นไปตามคุณค่าแท้ของการดำเนนิ ชวี ิต ๓.๒.๔ ด้านการเรยี นการสอน สถานศึกษามีการจดั หลกั สูตรสถานศกึ ษา หรือจดั การเรยี นการสอนทบ่ี รู ณาการพทุ ธธรรม เพอื่ พฒั นาผู้เรียนผา่ นกิจกรรรมการเรียนการสอนอย่างชัดเจน เพือ่ เป็นการพฒั นาผ้เู รียนด้วยหลักพุทธธรรม อย่างต่อเนอื่ งสมำ่ เสมอ เชน่ หลักสูตรสถานศึกษามีการกำหนดคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคแ์ ละผลการเรยี น รทู้ คี่ าดหวัง ทส่ี ะท้อนการพัฒนาไตรสกิ ขาไปพรอ้ ม ๆ กนั ซึ่งกระบวนการจัดการเรียนรู้ควรมลี ักษณะ “สอนใหร้ ู้ ทำใหด้ ู อยู่ให้เห็น” โดยนกั เรียนมี กระบวนการเรียนรู้การพัฒนาทั้งด้านกาย(กายภาวนา) ดา้ นความประพฤติ(สลี ภาวนา) ด้านจิตใจ (จติ ตภาวนา) และด้านปญั ญา(ปญั ญาภาวนา) โดยมุ่งใหน้ ักเรยี น มีคณุ ลกั ษณะ “กนิ อยู่ ดู ฟงั เป็น” เพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์ในการพฒั นาตนและสังคมโดยไม่เบียดเบียนผู้ใด และเกื้อกลู ในการพฒั นาวัฒนธรรมแสวงปัญญา และวฒั นธรรมเมตตา เช่น “การกิน อยู่ เป็น” เพื่อยงั ประโยชนใ์ นดำรงชวี ิตทอี่ ยู่ไดเ้ หมาะสมเปน็ ไปตามคณุ ค่าแท้ หรอื “การดู ฟังเป็น” เพื่อเน้นประโยชน์ในการ เรียนรูเ้ พ่ิมพูนปญั ญา ๓.๒.๕ ดา้ นบรรยากาศและปฏสิ ัมพันธ์ สถานศึกษาส่งเสริมบรรยากาศของการใฝเ่ รียนรู้ และพัฒนาไตรสกิ ขา หรอื ส่งเสริมการมีวัฒนธรรมแสวงปญั ญา และมปี ฏสิ ัมพันธ์ที่เปน็ กลั ยาณมิตรต่อกัน มีบรรยากาศของการเคารพ อ่อนน้อม ยิ้มแยม้ แจ่มใส การมคี วามเมตตา กรณุ าต่อกัน ทง้ั ครูตอ่ นักเรียน นกั เรียนตอ่ ครู นักเรียนตอ่ นักเรียน และครูตอ่ ครดู ้วยกนั และสถานศึกษาสง่ เสรมิ ให้บุคลากรและนักเรยี นปฏบิ ัตติ นเป็นตวั อย่างท่ีดแี ก่ ผอู้ ่ืน เช่น การลด ละ เลกิ อบายมขุ การเสยี สละ เปน็ ตน้ ๓.๒.๖ ดา้ นการบรหิ ารจดั การ สถานศึกษาโดยบุคลากรในสถานศึกษา ร่วมกบั ผูป้ กครอง และชุมชน สร้าง ความตระหนักและศรัทธา รวมทั้งเสริมสรา้ งปัญญาเขา้ ใจในหลักการและวิธีดำเนนิ การโรงเรยี นวิถีพุทธร่วมกนั ทัง้ นผ้ี เู้ กยี่ วข้องทุกฝา่ ยโดยเฉพาะอย่างยิ่งครแู ละผบู้ ริหารเพียรพยายามสนับสนุนโดยลกั ษณะต่าง ๆ และการ ปฏบิ ตั ติ นเอง ทจ่ี ะสนบั สนุนและเปน็ ตัวอยา่ งในการพฒั นาผู้เรียนตามวถิ ีชาวพุทธ
๓๕ ลักษณะรปู แบบโรงเรยี นวิถีพุทธตามรายละเอียดข้างต้นสรุปประเด็นสำคัญเปน็ แผนภาพได้ ดังต่อไปนี้ ภาพ ๒ แสดงรปู แบบโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ ๓.๓ กิจกรรมเสนอแนะการพัฒนา กจิ กรรมนักเรียน ๔ ลกั ษณะ คือ กิจกรรมเสรมิ เนื้อหาสาระตามหลักสตู ร กจิ กรรมประจำวนั / ประจำสัปดาห์ กิจกรรมเนื่องในโอกาสวนั สำคัญทางพระพุทธศาสนา และกจิ กรรมพิเศษอืน่ ๆ ตวั อย่าง กิจกรรมเสนอแนะ เช่น พิธแี สดงตนเปน็ พุทธมามกะ ประกวดมารยาทชาวพุทธ บรรพชาสามเณรภาค ฤดูรอ้ น กจิ กรรมพทุ ธศาสนสภุ าษติ วนั ละบท กจิ กรรมไหว้พระสวดมนต์ แผเ่ มตตาและสงบนง่ิ (สมาธ)ิ กจิ กรรมในวันสำคัญทางพระพทุ ธศาสนา กจิ กรรมตน้ ไม้พดู ได้(เน้นคติธรรม) กจิ กรรมอบรมธรรมะ ๕ นาทีเป็นต้น การจดั ลักษณะทางกายภาพโรงเรยี นวิถีพุทธ มีลกั ษณะกายภาพท่เี ป็นธรรมชาติรม่ รน่ื สวยงาม สะอาด เปน็ ระเบียบ ปลอดภัย ใหค้ วามรูส้ ึกผอ่ นคลาย สบายกาย สบายใจ มีศูนยร์ วมศรัทธาของครู นักเรียน และบคุ คลในชมุ ชน คอื มีพระพุทธรูปท่ีเดน่ ชวนใหร้ ะลึกถึงพระรัตนตรยั มีสวนพทุ ธธรรม ประกอบด้วยต้นไม้สำคัญในพระพุทธศาสนา มีป้ายนเิ ทศ ปา้ ยคุณธรรม มอี าคารสถานที่ทสี่ ะอาดเป็น
๓๖ ระเบยี บและเพยี งพอตอ่ การใชส้ อย มแี ปลงเกษตร โรงฝึกงานท่ีเหมาะสมต่อการฝึกฝนคณุ ธรรมเพื่อ ประกอบสมั มาอาชีวะ มหี ้องจรยิ ธรรม หอ้ งสมุดพระพทุ ธศาสนา ทุกห้องเรยี นมีพระพุทธรปู เพ่อื ให้ นกั เรียน ได้ระลกึ ถึงพระรตั นตรยั อยูเ่ สมอ บรรยายกาศในห้องเรยี นมคี วามสงบ สะอาด ครูและนักเรยี น มีความสำรวมตนอย่เู สมอ ส่ือและอุปกรณก์ ารเรยี นการสอนทนั สมยั ครบครนั ๓.๔ การพัฒนาบคุ ลากรและคุณลักษณะบุคลากรโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ หลักการ : ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลาการมคี วามสำคัญต่อการพัฒนาผเู้ รียนในระบบ ไตรสกิ ขา ท้งั ในฐานะเป็นผู้อบรวมสงั่ สอน ผูจ้ ัดการเรียนรู้ และการเปน็ แบบอย่างที่ดใี นการปฏบิ ตั ติ น บคุ ลา การทุกคนพัฒนาตามหลกั ไตรสกิ ขา มคี ณุ ลักษณะเปน็ ผู้มีความร้พู ทุ ธธรรมเปน็ อยา่ งดี ปฏิบัตดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ สามารถจัดการเรยี นร้ตู ามวิถีพทุ ธ เปน็ กลั ยาณมติ ร มลี ักษณะของการเป็นผู้ท่ีสอนให้ความรู้ ทำใหด้ ู อยู่ให้ เห็น พรอ้ มจะช่วยให้ผู้เรยี นพัฒนาได้เป็นอย่างดี หลักคิด : การพฒั นาบุคลากรของสถานศึกษาควรดำเนินการอย่างตอ่ เน่ือง มีรูปแบบวธิ ีการ หลากหลายเหมาะสมกับลักษณะและเงื่อนไขของตนเอง แนวทางสำคญั หน่ึงในการพัฒนาบุคลากร คือการ ปฏิบัตธิ รรมในวถิ ีชวี ติ ประจำวัน ท้งั นีผ้ ูบ้ ริหารควรเปน็ ผู้นำในการพัฒนาตนเองและการปฏิบัติเปน็ ตัวอยา่ ง หลักทำ : จัดใหม้ แี นวทางการพัฒนา เชน่ วเิ คราะหส์ ภาวธรรมหรอื ภมู ิธรรม ธรรมวุฒิ และ ลักษณะของบคุ ลากร ค้นหาบคุ ลากรแนวรว่ ม วางแผนพัฒนาบุคลากร ให้การยกย่อง ชมเชยแกบุคลากร ที่พฒั นาจนเป็นแบบอยา่ งได้ จัดการพัฒนาจติ เจริญปัญญายอ่ ยรายสปั ดาห์ หรือรายเดือน จัดฟงั เทศน์ ปฏิบตั ิธรรมในสำนักตา่ งๆ ส่งเสริมการศึกษา ปฏบิ ัตธิ รรมดว้ ยตนเอง สง่ เสริมการถอื ศลี ๕ เป็นวิถชี ีวิต ๓.๕ คุณลักษณะสำคัญของบุคลากรโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ ทง้ั ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ และบคุ ลากร : ศรทั ธาในพระพุทธศาสนา ละ เลิก จาก อบายมุข ถือศลี ๕ เปน็ นจิ มีอุดมการณ์ทจ่ี ะพฒั นาตนเองและดำเนนิ ชีวติ ทดี่ ีงาม เปน็ ผูน้ ำและปฏิบัตติ น เป็นแบบอย่างในการทำความดีมีความเปน็ กัลยาณมิตรต่อศิษย์ การเก้ือกูลสมั พันธ์สัมพันธโ์ รงเรยี นวถิ พี ุทธ และชุมชน หลักการ : โรงเรียนวถิ พี ุทธกับชมุ ชนซ่ึงประกอบดว้ ย บ้าน วดั แบะสถาบนั อืน่ ๆ ในชุมชน มี ความเป็นกลั ยาณมิตรต่อกัน เกอ้ื กูลรว่ มมือกันและกนั ในการพฒั นานกั เรียน และพฒั นาชมุ ชนสังคมในวิถี พุทธธรรมเพื่อประโยชน์สุขรว่ มกนั หลักคดิ : โรงเรยี นวถิ ีพุทธเพยี รพัฒนาตน มีผลการพัฒนานักเรยี นเปน็ ท่ียอมรับและศรทั ธาของ ชุมชน เปิดโอกาสให้ชุมชนมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาสถานศึกษา จัดระดมสรรพกำลังลักษณะตา่ งๆ อย่าง หลากหลาย ในการพัฒนางานทุกดา้ นของสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่งิ การพัฒนานักเรยี น นอกจากน้ี โรงเรยี นวถิ พี ทุ ธจะต้องบริการวชิ าการ อาคารสถานที่ ร่วมมือสนับสนนุ กบั ชุมชน ในการพฒั นาภูมิธรรม
๓๗ ภูมิปญั ญา คุณธรรมจริยธรรม และกจิ กรรมสมั มาอาชพี วะตา่ งๆแกช่ ุมชน สังคม ด้วยเมตตาธรรมและ ดว้ ยความเป็นกัลยาณมิตร เพือ่ ใหเ้ กิดความเจรญิ งอกงามและสนั ติสขุ หลกั ทำ : สถานศกึ ษาอาจพิจารณากำหนดและดำเนนิ งานตามวสิ ัยทัศน์ และแผนปฏบิ ตั ิการของ สถานศกึ ษา ซึ่งบง่ ช้ีถึงความเปน็ พุทธอยา่ งเขม้ แข็งและต่อเน่อื ง จนบงั เกิดผลทีช่ ดั เจนท้งั ในดา้ นการบริหาร จัดการ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านบคุ ลิกภาพและคุณธรรมจรยิ ธรรมของครู อาจารย์ นกั เรยี นและ บุคลากรของโรงเรียนจนเปน็ ภาพทเ่ี ห็นได้ชัดเจน มีกิจกรรมเสนอเกื้อกูลสมั พันธ์ดังนี้ ๑. สถานศึกษา บ้าน วัด ชมุ ชน ดำเนินกิจกรรมร่วมกันในวันสำคัญทางพระพทุ ธศาสนาและวัน ตามประเพณี ๒. สถานศกึ ษานำสถานศกึ ษารว่ มกิจกรรมของวดั และชมุ ชน ๓. สถานศึกษาต้องเปน็ ของชุมชนโดยเปดิ ต้อนรับผู้ปกครองและชุมชนตลอดเวลา (open house) ๔. เปิดหอ้ งสมุดเพื่อใหช้ ุมชนใช้บริการไดใ้ นเวลาวันหยุด รวมทง้ั สนามกีฬา หอประชุม ๕. เป็นศูนยก์ ลางของชมุ ชนในด้านวิชาการ และวชิ าชพี ๖. ร่วมกับวดั ในชุมชนจัดการเรียนธรรมศึกษา กจิ กรรมทางดา้ นศาสนาต่างๆ ๗. จัดกิจกรรมเชอ่ื มความสัมพันธร์ ะหว่างสถานศกึ ษา บา้ น วดั ชมุ ชน ๘. เสริมสร้างความเขม้ แข็งของระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น ๙. ประชาสมั พนั ธ์ผลงานของโรงเรียนในรูปแบบตา่ งๆ ๑๐. ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติของผู้กระทำความดที ั้งครู นักเรียน บุคลากรของสถานศึกษา และ บคุ ลากรในชมุ ชนเพื่อเปน็ ตวั อยา่ งแกบ่ ุคคลท่วั ไปเพื่อให้วิถีพุทธ เป็นวถิ ชี วี ติ ของคนท้งั ชมุ ชน ๓.๖ โรงเรยี นวิถพี ุทธในต่างประเทศ ๓.๖.๑ โรงเรยี นวถิ พี ทุ ธในประเทศอินเดีย โรงเรียนวิถีพทุ ธ ชอ่ื นีเ้ ช่ือว่าหลายคนคงเคยไดย้ นิ กนั มาแล้ว เพราะเปน็ สถานศึกษาใน สังกดั กระทรวงศึกษาธิการ อีกรูปแบบหน่งึ ท่ีมีการนำหลักธรรมคำสอนกับหลกั สูตรการจัดการเรยี นการสอน และการบริหารสถานศกึ ษา เพื่อมุ่งหวังท่ีจะสรา้ งเด็กไทยรุ่นใหมใ่ ห้มีท้ังความรู้เชงิ วชิ าการควบคู่ไปกับการ ไดร้ บั การพัฒนาด้านคณุ ธรรม จริยธรรม เรียกได้ว่าต้องการพฒั นาผ้เู รียนให้มคี วามเป็นคนทีส่ มบูรณ์ นนั้ เอง ความจริงแล้วการนำหลักธรรมคำสอนทางพระพทุ ธศาสนามาบรู ณาการเข้ากับการเรียนการสอนก็ มีการปฏบิ ตั ิอยู่แล้วในสถานศึกษาทุกแห่งไมว่ ่าจะเป็นการส่งเสรมิ การปฏิบัตธิ รรมในชวี ิตประจำวัน การถอื ศีล ๕ ลด ละ เลกิ อบายมุข ฯลฯ เพียงแตโ่ รงเรยี นวถิ พี ุทธจะเน้นการเอาจริงเอาจังกับทั้งผเู้ รียน ครู อาจารย์และผบู้ ริหารสถานศกึ ษา โดยไดเ้ ริม่ นำร่องดำเนินการในโรงเรยี นประมาณ ๘๐ แห่ง ท่วั ประเทศ ตงั้ แต่ต้นปีการศกึ ษา ๒๕๔๖ เปน็ ตน้ มา ๑ ปเี ศษทผี่ ่านมาผลการดำเนนิ งานของโรงเรียนวถิ ีพทุ ธเป็น อยา่ งไร เปน็ ส่งิ ทีน่ า่ จับตามองและเอาใจช่วยกนั ต่อไปแตส่ ำหรบั วันนี้เราลองไปดโู รงเรียนวถิ ีพทุ ธสไตล์
๓๘ อินเดยี ดนั บา้ ง ซง่ึ แม้วา่ ในอินเดียจะมีผู้นับถือศาสนาพุทธเพยี ง ๑% ของจำนวนประชากรทงั้ ประเทศ แต่ ชาวพทุ ธในอินเดยี กม็ วี ัตรปฏบิ ัตทิ ่ีนา่ สนใจเชน่ กนั โดยเฉพาะการนำหลกั พระพุทธธรรมมาบูรณาการเข้ากับ วถิ ชี ีวติ ประจำวันซ่งึ เปน็ วิธกี ารทีไ่ มแ่ ตกต่างจากพทุ ธศาสนิกชนชนชาวไทย Panchasila Public School เมอื งคยา รัฐพิหาร เป็นโรงเรยี นเลก็ ๆของชาวพุทธ ต้งั อยหู่ ่าง จากพระเจดีย์พุทธคยา สถานท่ตี รัสรขู้ องพระพทุ ธเจ้าประมาณ ๓ กิโลเมตร โดยปจั จุบนั โรงเรียนเปิดสอน ต้ังแต่ชัน้ อนบุ าล ๑-๒ และประถม ๑-๕ มีครู ๕ คน และนักเรยี นทัง้ หมด ๒๔๐ คน และทกุ คนนับถอื ศาสนาพทุ ธ ซ่ึงมาจากครอบครัวท่ีอย่ใู นพื้นทบ่ี ริเวณใกล้โรงเรียน ส่วนการเข้าเรยี นจะไม่มีการสอบ คัดเลอื กแต่อย่างใด แม้จะเป็นโรงเรียนขนาดเล็กบนเน้ือท่ีไม่ถงึ ๒ ไร่ ท่ีอยู่ไดด้ ว้ ยเงินบรจิ าคและเกบ็ คา่ ธรรมเนียมจากผ้เู รียน เพียงน้อยนิด แต่บรรยากาศเรียนในหอ้ งเรียนท่ีตอ้ งเรียนรวมกนั ถงึ ๔ ชั้นเรียน ในหอ้ งเดยี วกัน หรือในห้องเรียนทีม่ ีสภาพคล้ายเรือนเพาะชำกลับเต็มไปด้วยบรรยากาศของความสขุ สนกุ สนาน แม่อุณหภมู ิกวา่ ๓๙ องศาเซลเซียสจะร้อนแบบนน้ั ถอื วา่ ปกติแบบไมน่ า่ เช่ือกต็ อ้ งเช่ือ Ramsewak Yadav ครใู หญ่ เลา่ ว่าทโ่ี รงเรยี นจะเปิดสอนวันจันทรถ์ ึงเสาร์ โดยวันจนั ทรถ์ งึ ศุกร์ เปิดสอนตั้งแต่ ๐๘.๐๐ – ๑๒.๓๐ น. สว่ นวันเสาร์เปิด ๐๘.๐๐-๑๑.๐๐ น. โดยการจดั การเรยี นการสอน ด้านวิชาการก็เป็นไปตาม หลักสากลเหมือนโรงเรียนสำหรบั เดก็ ท่วั ไป แต่ทนี่ ี่จะเนน้ การสอนใหเ้ ด็กรจู้ ักนำ หลักธรรมเข้ามาประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เป็นสำคัญ ดงั นน้ั กิจวตั รที่ต้องปฏบิ ตั ิเป็นประจำทกุ เช้าคอื การ สวดมนต์ โดยเด็กทุกคนจะเข้ามานั่งรวมกันในห้องประชุมเพ่อื สวดมนต์ และนั่งสมาธิ หลงั จากนั้นจึงแยก ย้ายกนั ไปเรยี นในชน้ั เรยี นของตนซงึ่ อยู่ในห้องประชุมน่นั เองเพยี งแต่แยกกันไปคนละฝ่งั ซ้ายขวาและกลาง หอ้ งประชมุ ในการจัดการเรยี นการสอน Ramsewak ย้ำวา่ ไมใ่ ช่พร่ำสอนกนั แต่ทฤษฏี แตจ่ ะต้องกระตุ้นให้ เด็กได้ปฏบิ ตั ดิ ้วย ดงั นน้ั หลักพุทธธรรมท่ีสอนใหท้ ำความดี ละเวน้ ความชวั่ ทำจติ ใจให้บรสิ ทุ ธ์ิ จงึ ถกู ปลูกฝงั ใหแ้ กเ่ ด็กๆอยา่ งสมำ่ เสมอผา่ นการปฏิบัตจิ ริง โดยเฉพาะการทำความดีสามารถทำได้มากมาย ไม่ วา่ จะเป็นการช่วยเหลือผอู้ ื่น การปดั กวาดห้องเรียนนำขยะไปทิง้ มคี วามสามคั คี ตง้ั ใจเรยี น เคารพเช่อื ฟัง ผ้ใู หญ่ รู้จักการให้ เอื้อเฟ้อื เผอ่ื แผ่ หรอื ช่วยเหลอื ตัวเองไม่สรา้ งภาระให้แกผ่ ู้อืน่ โดยเด็กๆจะต้องนำความ ดีทีไ่ ดป้ ฏิบตั ิมาเล่าใหเ้ พ่ือนๆฟังในชัน้ เรียนดว้ ยสำหรบั ครูอาจารย์ก็แนน่ อนจะต้องประพฤติปฏิบัตดิ ้วยเป็น แบบอย่างท่ดี ีใหแ้ กน่ ักเรียนด้วยเชน่ กนั ดแู ล้วก็เปน็ หลกั ปฏิบัตงิ า่ ยๆน่ีเองแต่ในสงั คมของมนุษย์โลกบางครงั้ เร่ืองง่ายๆแบบนีก้ ลบั ถูกละเลย ไมใ่ สใ่ จไปอยา่ งน่าเสียดาย ดังนั้นคงเป็นการดีถา้ จะเริม่ ปลูกฝงั เร่ืองดีๆแบบนี้ต้งั แต่วัยเยาว์ ควรนึกคดิ ดีๆ จะได้หย่งั รากลกึ ลงไปในจติ ใจอยา่ งแท้จริง ซึง่ ก็ต้องยอมรบั วา่ Panchasila Public School จะเปน็ เพียง โรงเรียนขนาดเล็กทต่ี ัง้ อยู่กลางทุง่ นาห่างไกล แต่กลบั มีวิธกี ารจัดการเรียนการสอนตามแนววถิ พี ทุ ธได้อยา่ ง น่าประทบั ใจ สงั เกตได้จากเด็กนักเรียนตัวน้อยๆหนา้ ตายิ้มแยม้ แจ่มใสมคี วามสุขกบั การเรียนทกุ คน จากตัวอย่างนีจ้ ะเห็นว่าการนำหลกั พุทธธรรมมาบรู ณาการเขากบั การเรียนการสอน รวมถงึ การ นำมาประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั ไม่ไดเ้ ปน็ เร่ืองยากเกินกว่าจะปฏิบัติกนั ไดเ้ ลยขึน้ อย่กู บั ว่าเราได้ละเลย
เราอย่ามองวา่ ธรรมะเป็นเร่ืองไกลตัว ๓๙ ทรงคณุ ค่าเหลอื เกิน ลองเขยบิ เข้าไปใกล้อกิ นดิ แล้วจะรวู้ า่ ธรรมะเป็นของใกล้ตวั ที่ ๓.๖.๒ โรงเรียนวถิ พี ุทธในประเทศองั กฤษ โรงเรียนธรรมะน้ีถอื เป็นโรงเรียนพุทธ แหง่ แรกในเมอื งไบรท์ตนั ประเทศอังกฤษ มีการ เปดิ การเรียนการสอนมาเป็นเวลาเจด็ ปแี ล้ว โดยเร่มิ ตน้ ที่มีนกั เรยี นเพียงสองคน เข้าเรียนกนั ในหอ้ งนั่งเลน่ ของโรงเรยี นกระท่ังปจั จบุ ันมีนักเรียนสนใจเข้าเรยี นกวา่ ๗๐ คน นายเควนิ ฟอสซี ซง่ึ เป็นอาจารยใ์ หญ่ของโรงเรยี นธรรมะเล่าว่า เมื่อครัง้ ที่พระทิเบต (เพมา คอร์จี) มาเยย่ี มโรงเรียนแหง่ นี้ ทา่ นไดบ้ อกใหเ้ ดก็ นักเรียน ท่มี อี ายตุ ง้ั แต่ ๔ ขวบ เดินเข้าไปในสวน ภายในโรงเรยี นมีจดุ ประสงคเ์ พ่ือต้องการใหเ้ ด็กนักเรียนหา สง่ิ ทอ่ี ยู่ในสงั คมได้อย่างถาวรและตลอดไป “ทันใดคำพดู ของพระทเบตจบลง เหล่านักเรียนทงั้ หมด ได้พากนั วงิ่ กรูเข้าไปในสวนทันที แลว้ ก็ ได้ถือเอาก้อนหินกลับมากันคนละกอ้ นสองกอ้ น พร้อมกนั รอยยม้ิ ทใ่ี สๆ ไรเ้ ดียงสา สวนพวกเด็กโตไม่ไดว้ ง่ิ ออกไปเลยเพราะพวกเขารู้ว่าไมม่ ีอะไรจะคงอยตู่ ลอดไปนนั่ เอง” ครูใหญเ่ ลา่ ถงึ ส่งิ ที่เด็กนกั เรียนได้จาก ธรรมะ ครใู หญ่ฟอสซี ยังกล่าวด้วยความรู้สกึ ภูมใิ จและพอใจในสิง่ ท่เี ด็กนักเรยี นได้กระทำออกมาเช่นนี้ เพราะนน้ั หมายความวา่ เด็กนักเรยี นเหลา่ น้ไี ดเ้ ข้าใจ หลังจากการเรียนรูใ้ นคำสอนอนั มีค่ายางใน พระพทุ ธศาสนาในข้อท่ีวา่ “ ไมม่ อี ะไรคงทนถาวร” และยนื ยนั การเรียนธรรมะไมไ่ ด้ชักจูงให้ใครงมงาย เพียงแต่อยากจะบอกว่ามวี ิถชี ีวติ บางรูปแบบทส่ี ามารถชว่ ยดูดคุณในการดำรงชวี ติ ได้ เมือ่ ปี ๒๕๔๔ องคด์ าไลลามะ ทรงเปน็ องค์อุปถัมภ์ พระลขิ ติ ตอนหนึง่ ทท่ี รงประทานแกโ่ รงเรยี น แห่งนี้วา่ มใี จความวา่ พึง่ ระลึกวา่ มนษุ ยเ์ ราทุกคนเหมือนกัน ทส่ี ำคญั คือ คนแตล่ ะคนสามารถพัฒนา จิตใจให้มคี วามเมตตากรณุ า และเคารพรักผู้อน่ื ได้ดว้ ยการฝึกจติ ใจและปรบั เปลยี่ นวิธคี ิดซงึ่ สง่ิ เหล่านีห้ าก ได้ฝึกตั้งแต่ในวัยเดก็ กจ็ ะงา่ ยข้ึนเพราะจติ ใจยงั ออ่ นโยน นอกจากน้ีมีผูป้ กครองของเดก็ นักเรียนท่ีนับถือ ศาสนาพทุ ธประมาณ ๔๐% แตไ่ มว่ ่าจะนบั ถือศาสนาอะไร ทุกคนอยากให้ลกู หลานไดร้ บั สิ่งที่ต่างไป โรงเรยี นธรรมะแหง่ น้ีเปน็ สถานที่ซ่ึงเดก็ ๆ จะเติบโตขึน้ มาพร้อมด้วยความมนี ำ้ ใจรจู้ ักรกั และสงสารผูอ้ ่ืน สว่ นความเห็นของผ้ปู กครองคนหนง่ึ มารล์ นี ร็อธเวล-บราวน์ ได้นำลูกออกจากโรงเรยี นเดมิ มาแลว้ ให้มาเรยี นอยูท่ โ่ี รงเรยี นแห่งน้ี เนอ่ื งจากทนไมไ่ ด้ท่ีเห็นครูโรงเรียนพูดจาตะคอกใส่ลูกชาย ส่งผล ให้ลกู ชายของตนตอ้ งรอ้ งไห้อยู่ประจำ แตเ่ ม่ือไดย้ ้ายลูกมาเรยี นทโี่ รงเรียนธรรมะแลว้ พฤตกิ รรมของลกู ชาย กเ็ ริ่มเปลย่ี นแปลงนสิ ัยจากเดิมไปเปน็ คนละคน และซซู ี นกี ัส ผู้ปกครองของนักเรยี นอีกคนหนงึ่ ไดก้ ล่าว เสรมิ วา่ ตนเองไดส้ ่งลกู สาว (ลอรา่ ) มาเขา้ โรงเรยี นนตี้ ั้งแตช่ ว่ งก่อตงั้ โรงเรยี นใหมๆ่ ชว่ งน้นั ได้ทำงานใน ตำแหนง่ ฝา่ ยธรุ การของโรงเรียนแห่งน้ี หลกั จากลูกสาวต้องไปเรียนตอ่ ในโรงเรียนมธั ยมท่ีมีนักเรียนร่วม ๑,๗๐๐ คนก็ไมร่ ้สู กึ เป็นห่วงอะไรเพราะทน่ี ไี่ ดห้ ล่อหลอมให้ลูกสาวมีความเชอ่ื มนั่ ในตัวเองมากสอนให้เป็น ตวั ของตวั เอง “ใครก็ตามท่ีได้มาเย่ยี มโรงเรียนแห่งนี้ จะรูส้ ึกทันทีถงึ ความสงบและความเป็นมิตร เด็กนกั เรยี น
๔๐ ท่ีนม่ี ีใบหน้าย้ิมแย้มแจ่มใส พร้อมทจ่ี ะชว่ ยเหลอื ทุกเมื่อ รู้จกั ใช้ถ้อยคำไมม่ กี ารตะโกนหรอื ตะคอกใส่กนั ท้งั ครูและนกั เรียนพูดจากัน ดว้ ยความสภุ าพ และใหเ้ กียรติซ์ ึง่ กนั และกัน โรงเรียนสอนตาหลกั สูตรของ ประเทศ และเพิ่มวิชาภาษาฝรงั่ เศส ศิลปะ ดนตรี และไอที แต่ก็ไม่ลืมที่จะปลกู ฝงั ความมนี ้ำใจ และ การคำนงึ ถึงจิตใจผู้อนื่ ” คำบอกเล่าจากผู้ปกครองนักเรียน ๓.๗ ตัวชวี้ ัดการดำเนนิ งานโรงเรียนวิถพี ทุ ธ เพือ่ ใหก้ ารพัฒนาโรงเรยี นวิถีพุทธในเชิงเป้าหมายมีความชัดเจน และสามารถเป็นเครื่องมือให้ สถานศึกษาและผู้เก่ียวข้องทุกระดับ ในการนิเทศตดิ ตามตลอดจนการทบทวนและการประเมินผลการ ดำเนินงานการพัฒนาโรงเรียนวถิ พี ุทธได้ กระทรวงศึกษาธิการจึงไดจ้ ัดทำ “ ตัวชี้วดั การดำเนินงานโรงเรยี น วถิ ีพทุ ธ” ข้นึ โดยวิเคราะห์จากเอกสาร “ แนวทางการดำเนนิ งานโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ” เปน็ หลัก และได้รบั การตรวจพิจารณาจากผู้ทรงคุณวฒุ ิหลายคณะ ซงึ่ คาดหวงั ว่า “ตวั ชว้ี ดั การดำเนินงานโรงเรียนวถิ ีพุทธ” จะช่วยให้การดำเนนิ งานและการพฒั นาโรงเรยี นวถิ ีพุทธ ในทกุ ระดบั เปน็ ไปตามหลักการท่เี หมาะสมและ เป็นแนวทางเดียวกนั ตัวชวี้ ัดการดำเนินงานโรงเรยี นวถิ พี ุทธประกอบดว้ ย ๔ ดา้ นใหญ่ คือ ด้านปจั จยั (input) ดน้ กระบวนการ(process) ดา้ นผลผลติ (output) และด้านผลกระทบ (outcomes/impact) ในแต่ละด้านมี รายละเอยี ดดังนี้ ๓.๗.๑ ตัวชวี้ ัดด้านปจั จยั (input) ตวั ช้วี ดั ดา้ นปัจจัย กำหนดเฉพาะปัจจัยสำคัญท่ีเป็นเง่ือนไขหลกั และสง่ ผลอยา่ งชดั เจน ตอ่ การพฒั นานกั เรยี นและงานโรงเรยี นวิถพี ุทธตามระบบไตรสิกขา เพื่อให้ทกุ ฝา่ ยตระหนกั ถึงความสำคญั เชิงเหตแุ ละผลของการดำเนนิ งานการพฒั นา ซ่ึงมีจดุ เนน้ ในการพฒั นาโรงเรียนท้ังระบบมาตรฐานด้าน ปจั จัยท่ีตอ้ งการ คือ “ โรงเรยี นมบี ุคลากรที่มคี ุณลกั ษณะท่ีดใี นวิถพี ุทธ มกี ารบรหิ ารจัดการ มหี ลกั สูตร มี แหลง่ เรียนรู้และสภาพแวดล้อมท่สี ง่ เสริมการพฒั นาตามหลกั ไตรสิกขา”ดงั นี้ ๑.บุคลากรมค่ี ุณลักษณะที่ดดี ังนี้ ๑.๑ ผบู้ ริหารทมี่ คี่ ุณลักษณะท่ีดดี หมายถงึ บคุ คลท่มี ีวถิ ีชวี ิตทสี่ อดคลอ้ งกบั หลกั พทุ ธธรรม (ลด ละ เลกิ อบายมขุ ) มศี ลี ธรรม และปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งที่ดี มพี รหมวิหารธรรม ประดบั ใจ มคี วามซอื่ สัตย์ จรงิ ใจในการทำงาน มีความเข้าใจทถี่ ูกต้องในพระรตั นตรยั นับถอื และศรัทธาใน พระพุทธศาสนา ๑.๒ ครูมคี ุณลกั ษณะที่ดี หมายถึง บุคคลที่มวี ิถชี ีวิตที่สอดคล้องกับหลักพุทธ ธรรม (ลด ละ เลกิ อบายมขุ ) มีศลี ธรรม และปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดี มพี รหมวหิ ารธรรม มีความเป็น กลั ยาณมติ ร มงุ่ พัฒนาใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความเจรญิ งอกงามตามหลักไตรสิกขา รู้ เข้าใจหลักการพฒั นาผู้เรียน ตามหลกั ไตรสิกขา ๒.การบรหิ ารจัดการดำเนินการอย่างเป็นระบบ ๒.๑ ระบบบริการ หมายถงึ มีการกำหนดวสิ ยั ทัศน์หรอื ปรชั ญา พันธกิจ
๔๑ เป้าหมาย ธรรมนูญ หรอื แผนกลยทุ ธท์ ่ีมีจดุ เนน้ ในการพัฒนาโรงเรยี นวิถพี ุทธ แตต่ งั้ คณะกรรมการที่ ปรกึ ษาหรือคณะกรรมการการดำเนินงานโรงเรยี นวิถพี ทุ ธและบริหารการดำเนนิ งานอย่างตอ่ เน่ือง โดย ผู้เกี่ยวขอ้ งทกุ ฝา่ ย คือ บ้าน วดั โรงเรียน มสี ว่ นรว่ มปลูกฝนั ศรัทธาสรา้ งเสรมิ ปญั ญาในพระพุทธศาสนา ใหเ้ กิดขึ้นกบั บคุ ลากร และผเู้ ก่ยี วขอ้ ง รว่ มมือกับผ้ปู กครอง วดั และชมุ ชน เพ่ือพัฒนาผ้เู รยี นและชุมชน มกี ารนิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนนิ งานโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธอย่างตอ่ เน่ือง มรี ะบบตรวจสอบประเมนิ ผล และเปดิ โอกาสใหม้ ีการเสนอแนะอย่างเป็นกัลยาณมิตรเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๒.๒ ระบบหลักสูตรสถานศกึ ษา หมายถึง หลกั สูตรสถานศกึ ษา หน่วยการ เรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้บรู ณาการพทุ ธธรรมทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๓. กายภาพและสิ่งแวดลอ้ ม หมายถงึ จัดประดษิ ฐานพระพุทธรปู ประจำโรงเรียน และ ประจำห้องเรียนอย่างเหมาะสม มปี ้ายนิเทศ ผ้ายคตธิ รรม คำขวัญคณุ ธรรมจริยธรรมโดยท่ัวไปในบรเิ วณ โรงเรยี น สภาพโรงเรียนสะอาด ปลอดภัย สงบ ร่มร่ืน เรียบงา่ ย ใกล้ชดิ ธรรมชาติ บรเิ วณโรงเรียน ปราศจากสงิ เสพติดอบายมขุ สงิ มอมเมาทุกชนิด ๓.๗.๒ ตวั ชวี้ ดั ดา้ นกระบวนการ(process) กระทรวงศึกษาธิการกำหนดปจั จยั ดา้ นนเ้ี พื่อส่งเสรมิ ใหก้ ระบวนการพัฒนาเปน็ ไปอย่าง ชดั เจน รอบคอบ มปี ระสทิ ธิภาพ มาตรฐานดา้ นกระบวนการท่ีต้องการเกิด คือ “โรงเรียนจดั บรรยากาศ และกจิ กรรมการเรยี นการสอนเพ่อื พัฒนาผเู้ รียน ใหเ้ ป็นไปตามหลกั ไตรสิกขาและบูรณาการในวิถีชีวิต” ดงั น้ี ๑.การเรียนการสอนที่บูรณาการไตรสกิ ขา ๑.๑ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ หมายถึง มีการจัดการเรียนรโู้ ดยบรู ณาการ พุทธธรรมหรอื หลักไตรสิกขา ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และเชือ่ มโยงกบั ชีวิตประจำวัน ส่งเสริมใหม้ ีการ นำหลกั ธรรมมาเป็นฐานในการคิดวเิ คราะหแ์ ละแก้ปญั หา จดั การเรยี นร้ทู ี่ส่งเสริมการใฝร่ ู้และแสวงหา ความรู้ดว้ ยตนเองอย่เู สมอ จัดกิจกรรมบรหิ ารจติ เจรญิ ปัญญาทั้งในการเรียนการสอนและในกิจกรรมการ ดำรงชวี ิตประจำวนั ๑.๒ การใชส้ อ่ื และแหล่งเรยี นรู้ หมายถึง ใชส้ อื่ การเรยี นรู้และแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองอยู่เสมอ นมิ นต์พระสงฆ์หรอื เชิญภูมิปญั ญาทางพุทธศาสนามาสอนนักเรยี นสม่ำเสมอ จัดให้ นกั เรยี นไปเรียนรทู้ ่วี ัดหรือศาสนสถานท่ใี ช้เป็นแหล่งเรียนรู้ประจำของโรงเรียนอย่างตอ่ เนอื่ ง ๑.๓ การวดั และประเมนิ ผล หมายถึง มีการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง ดว้ ยวิธกี ารหลากหลาย ครอบคลุมตามหลักภาวนา ๔ ( กาย ศีล สมาธิ ปญั ญา ) โดยจดุ เนน้ เพ่ือการพฒั นา นักเรียนตอ่ เนือง ๒.บรรยากาศและปฏิสัมพันธท์ ี่เปน็ กัลยาณมติ ร ๒.๑ บรรยากาศปฏิสัมพนั ธ์ท่ีสง่ เสรมิ “ การสอนใหร้ ู้ ทำใหด้ ู อยูใ่ ห้เห็น ” หมายถึง สง่ เสริมความสัมพันธแ์ บบกัลยาณมิตร อ่อนน้อมถ่อมตน เคารพให้เกยี รติซง่ึ กันและกัน ยิ้ม
๔๒ แยม้ มีเมตตาต่อกนั ท้ังครูต่อนกั เรียน ครูต่อครู นกั เรยี นตอ่ นกั เรียน และครตู ่อผู้ปกครอง ส่งเสริม บรรยากาศ ใฝ่รู้ ใฝ่เรยี น ใฝ่สร้างสรรค์ สง่ เสริมบุคลากรและนักเรยี นให้ปฏบิ ัตติ นเป็นตัวอยา่ งทดี ตี ่อผู้อื่น ส่งเสริมยกย่องเชิดชูผู้ทำดีเป็นประจำ ๓.กิจกรรมพื้นฐานวิถีชวี ติ ๓.๑ กิจกรรมพน้ื ฐานชวี ติ ประจำวนั หมายถึง ฝกึ ฝนอบรมใหเ้ กิดการกนิ อยู่ ดู ฟงั เปน็ (รเู้ ข้าเหตผุ ล และได้ประโยชนต์ ามคุณค่าแท้ ตามหลกั ไตรสกิ ขา) ส่งเสริมกจิ กรรมทางรบั ผดิ ชอบ ดูแลรกั ษาพฒั นาอาคารสถานทีแ่ ละสงิ่ แวดล้อมอย่างสม่ำเสมอจนเป็นนสิ ยั ๓.๒ กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา หมายถงึ มีการส่งเสริมปฏิบตั กิ จิ กรรม พระพุทธศาสนาอย่างเหน็ คุณค่ารเู้ ข้าใจเหตุผล จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การรำลึกและศรัทธาในพระรัตนตรยั เป็นประจำและในโอกาสสำคัญอยา่ งต่อเน่ือง เปน็ วิถชี วี ิต สง่ เสริมใหท้ กุ คนมสี ่วนร่วมและเห็นคุณคา่ ใน การรักษาและสบื ต่อพระพุทธศาสนา ๓.๗.๓ ตวั ชว้ี ัดด้านผลผลิต(output) ตวั ชว้ี ัดดา้ นผลผลติ กำหนดเฉพาะผลท่ีเกิดกับผเู้ รยี นกำหนดโดยวิเคราะหจ์ ากหลักภาวนา ๔ คอื มอี งค์ประกอบดา้ นกาย ศลี สมาธิ และปัญญา ซึง่ เป็นผลทีผ่ เู้ รยี นควรไดร้ บั จากการพฒั นาตาม ระบบไตสิกขา การกำหนดปัจจัยด้านน้เี พื่อสง่ เสริมให้สถานศึกษามีเป้าหมายการพฒั นาโรงเรียนวถิ ีพุทธ เพื่อพฒั นาผู้เรยี นอย่างชัดเจน มาตรฐานด้านผลผลิตทีต่ ้องการใหเ้ กดิ คือ “ ผูเ้ รียนได้รบั การพฒั นาเป็นผู้มี คณุ ลกั ษณะ กนิ อยู่ ดู ฟงั เป็น (ภาวนา ๔) ดำเนินชีวิตอยา่ งมีคุณคา่ และมคี วามสุข”ดังนี้ ๑.พฒั นากาย ศลี จติ และปญั ญาอยา่ งบูรณาการ (ภาวนา ๔) ๑.๑ กาย (กายภาพ) หมายถึง มีการบรโิ ภคใช้สอยปจั จัย ๔ ในปริมาณและ คุณภาพท่ีเหมาะสม ได้คุณค่า การดูแลร่างกายและการแต่งกายสะอาด เรยี บรอ้ ย ดำรงชีวิตอย่างเก้ือกลู สิ่งแวดลอ้ ม ๑.๒ ศลี หมายถึง มศี ลี ๕ เปน็ พ้นื ฐานในการดำรงชีวิต มีวินัย ซื่อสัตย์ มี ความรบั ผดิ ชอบตรงต่อเวลาสามารถพึ่งตนเองได้หรือทำงานเลยี้ งชพี ด้วยความสจุ รติ ๑.๓ จิต หมายถงึ มคี วามกตัญญูร้คู ุณ ตอบแทนคณุ มีจติ ใจ เมตตา กรณุ า (เอื้อเฟื้อ เผอื่ แผ่ แบ่งปนั ) ต่อกัน ทำงานและเรียนรู้ อย่างตั้งใจ อดทน ขยันหมน่ั เพียร มีสขุ ภาพจติ ดี แจ่มใส ร่าเริงเบิกบาน ๑๔ ปญั ญา หมายถงึ มีศรัทธาและความเข้าใจท่ีถูกต้องในพระรตั นตรยั ร้บู าป บุญ คณุ โทษ ประโยชน์ มใิ ชร่ ะโยชน์ ใฝร่ ูใ้ ฝ่ศึกษา แสวงหาความจริง และใฝส่ รา้ งสรรค์ พัฒนางาน อยู่เสมอ รเู้ ท่าทนั แก้ไขปญั หาชวี ิตและการทำงานไดด้ ้วยสติปัญญา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122