Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

Description: ทฤษฏี รูปแบบ และกระบวนการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย สถิติเบื้องต้นเพื่อการวิจัย การนำเสนอผลการวิจัย จรรยาบรรณนักวิจัย

Keywords: การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

ก า ร วิ จั ย เพื่ อพั ฒนาการเรียนรู้ Research for Learning Development ผ ศ . ด ร . ทิ พ ย์ ขั น แ ก้ ว

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การวจิ ัยเพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้ (Research for Learning Development) ทพิ ย์ ขนั แกว้ วิทยาลัยสงฆบ์ รุ รี มั ย์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๕๘

คำปรารภ การสอนแบบโยนิโสมนสิการ ถือเป็นมรดกทางธรรมที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรง ประทานให้เป็นแนวทางในการส่ังสอนเพ่ือให้มนุษย์เกิดการพัฒนารอบด้าน มีความรู้ คู่คุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม ซ่ึงสอดคล้องกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีโครงการจัดทำและ พัฒนาหลักสูตร เพ่ือการเรียนรู้พระพุทธศาสนาของมหาวิทยาลัย ซ่ึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาเน้ือหา รายวิชาให้เป็นท่ียอมรับและใช้ร่วมกันได้ พัฒนารูปแบบของหนังสือ และตำราให้มีเอกลักษณ์ร่วมกัน สวยงาม คงทน น่าสนใจต่อการศึกษาค้นคว้า มีเน้ือหาสาระไปพัฒนาส่ือการศึกษาและเผยแพร่ใน รูปแบบต่างๆ ทั้งส่ือสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบคลังข้อสอบ พัฒนาบุคลากรและผลงานด้าน วิชาการของมหาวิทยาลัยให้แพร่หลาย และเป็นเวทีเสนอผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ของ มหาวิทยาลยั หนังสือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้เล่มนี้ มีเน้ือหาสาระ ๘ บท มุ่งหมายให้ศึกษาทฤษฏี รูปแบบ และกระบวนการวิจัย เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย สถิติเบ้ืองต้นเพื่อการวิจัย การนำเสนอ ผลการวิจัย จรรยาบรรณนักวิจยั ฝึกปฏิบัตกิ ารทำวจิ ยั เพือ่ พฒั นาและแกไ้ ขปญั หาการเรียนรู้ ขออนุโมทนาขอบคุณอาจารย์ทิพย์ ขันแก้ว อาจารย์ประจำรายวิชา ที่ได้เสียสละเวลาพัฒนา เนือ้ หารายวิชาเล่มน้ีให้เกิดขึ้น อันจะเป็นประโยชน์สมบัติของวิทยาลัยสงฆ์บุรรี ัมย์สบื ไป หวังเป็นอย่าง ย่ิงว่า หนังสือเล่มนี้คงอำนวยประโยชน์เชิงวิชาการด้านพุทธศาสตร์และครุศาสตร์แก่คณาจารย์ นิสิต นักศกึ ษา และประชาชนผู้สนใจท่ัวไป (พระศรปี รยิ ตั ิธาดา) ผอู้ ำนวยการวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ ๑๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘

คำนำ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การวจิ ัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Research for Learning Development) ในหลักสูตรพุทธศาสตร์ สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนาและจิตวิทยาแนะแนว คณะครุศาสตร์ ไดร้ วบรวมข้ึน เพื่อใหน้ ิสิต นักศึกษาและผ้ทู ่ีสนใจ ไดศ้ ึกษาประกอบการเรียนการสอน ในรายวิชาทเี่ รียน โดยได้นำแนวสังเขปรายวิชา ทฤษฏี รปู แบบ และกระบวนการวิจัย เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ น การวิจยั สถิติเบ้ืองต้นเพื่อการวิจัย การนำเสนอผลการวิจยั จรรยาบรรณนักวิจยั ฝึกปฏิบัติการทำวิจัย เพ่ือพัฒนาและแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ เป็นแนวทางในการดำเนินการจัดทำเอกสารประกอบการสอน เล่มนี้ กราบขอบพระคุณพระเดชพระคุณพระศรีปริยัติธาดา ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ ที่ให้ โอกาสในการจัดทำเอกสารประกอบการสอนวิชาน้ี เพื่อเป็นประโยชน์แก่นิสิตนักศึกษาและผู้ท่ีสนใจ ไดศ้ ึกษาค้นคว้าใช้เป็นเอกสารประกอบการเรียน เอกสารประกอบการสอนเล่มน้ี ได้จัดทำและรวบรวมข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆที่เผยแพร่ทาง อินเตอรเ์ นต็ โดยไมไ่ ด้ขออนญุ าตจากเจ้าของบทความ ตอ้ งขออภยั ไว้ ณ ทนี่ ี้ หวังเป็นอย่างยิ่ง จะ อำนวยประโยชน์แก่นิสิต นักศึกษา ผู้ท่ีสนใจ และคณาจารย์ ที่สนใจ หากพบข้อบกพร่องหรือมีคำ ชี้แนะเพ่ือการปรับปรุงให้สมบูรณ์มากย่ิงขึ้น ยินดีรับฟังความคิดเห็น และจะนำไปปรับปรุงแก้พัฒนา ใหเ้ อกสารมคี วามสมบรู ณแ์ ละมคี ุณค่าทางการศึกษาต่อไป (ทพิ ย์ ขนั แกว้ ) อาจารยป์ ระจำวทิ ยาลัยสงฆ์บุรีรมั ย์ ๑๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘

สารบัญ หนา้ …………………..…………….  ๑ บทที่ รายการ ๒ ๒ ๑ ความรูเ้ บื้องต้นเก่ียวกับการวจิ ัย ๕ ๖ ๑.๑ ความนำ ๗ ๑.๒ วธิ กี ารเสาะแสวงหาความรู้ ๘ ๑.๓ ความหมายของการวจิ ัย ๑๐ ๑.๔ ลักษณะทสี่ ำคญั ของการวิจัย ๑๑ ๑.๕ ระเบยี บวิจยั เป็นเกณฑ์ในการแบง่ ๑๒ ๑.๖ จรรยาบรรณนกั วจิ ยั สรปุ ท้ายบท ๑๓ คำถามท้ายบท ๑๔ เอกสารอ้างอิงประจำบท ๑๔ ๑๖ ๒ ทฤษฎี รปู แบบและกระบวนการวิจัย ๑๙ ๒๑ ๒.๑ ความนำ ๒๓ ๒.๒ ทฤษฎีการวจิ ยั ๒๕ ๒.๓ รูปแบบการวิจยั ๒๘ ๒.๔ กระบวนการวิจัย ๓๓ ๒.๕ การกำหนดปัญหาวิจยั ๓๔ ๒.๖ วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย ๓๕ ๒.๗ สมมตฐิ านการวจิ ยั ๒.๘ ตัวแปร ประเภทและระดบั การวัดตวั แปร ๓๖ สรุปทา้ ยบท ๓๗ คำถามท้ายบท ๓๗ เอกสารอา้ งองิ ประจำบท ๔๓ ๔๔ ๓ ขน้ั ตอนในการทำวจิ ยั ๔๕ ๓.๑ ความนำ ๓.๒ ขั้นตอนในการทำวจิ ัย ๔๖ ๓.๓ ข้อพึงระวังในการทำวจิ ัย ๔๗ สรปุ ท้ายบท คำถามทา้ ยบท หน้า ๔ การใชส้ ถิตเิ พ่อื การวิเคราะห์ขอ้ มูล ๔.๑ ความนำ บทท่ี รายการ

๔.๒ ความหมายของสถติ ิ 2 ๔.๓ ประเภทของสถติ ิ ๔.๔ แนวความคิดพ้ืนฐานทางสถติ ิอา้ งอิง ๔๗ ๔.๕ ส่ิงทต่ี อ้ งพิจารณาในการเลอื กใช้ชนดิ ทางสถิติ ๔๗ ๔.๖ การทดสอบสมมตฐิ าน ๔๘ ๔.๗ การประมวลผลข้อมลู ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ๔๙ ๔.๘ การสรา้ งรหสั สำหรบั ตัวแปร ๕๐ คำถามทา้ ยบท ๕๘ ๕๙ ๕ การใช้โปรแกรม SPSS for Windows ๖๒ ๕.๑ ความนำ ๕.๒ การเปดิ File ๖๓ ๕.๓ การกำหนดช่ือและคา่ ตวั แปร (Name) ๖๔ ๕.๔ การวิเคราะหข์ ้อมลู (สถิตพิ รรณนา) ๖๕ ๕.๕ การหาคา่ เฉลีย่ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๖๗ ๕.๖ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ๗๐ ๕.๗ ขน้ั ตอนการวิเคราะห์ ๗๒ คำถามทา้ ยบท ๗๔ ๘๑ ๖ การวเิ คราะห์ดว้ ย Paired T Test ๙๐ ๖.๑ เปิดโปรแกรม Spss ๖.๒ ทำการกำหนดชือ่ ตัวแปรและลงรหสั ข้อมลู ๙๑ ๖.๓ วเิ คราะหข์ อ้ มูล ๙๒ ๖.๔ ผลการวเิ คราะห์ ๙๒ ๖.๕ การนำเสนอผลการวิเคราะห์ ๙๓ ๙๔ ๗ การวิเคราะห์ One - way ANOVA ๙๕ ๗.๑ ความนำ ๗.๒ ขน้ั ตอนการทดสอบ ANOVA ๙๖ ๗.๓ ผลที่ได้จากการใชค้ ำส่งั One way ANOVA ๙๗ ๗.๔ ขั้นตอนการวิเคราะห์ ๙๘ ๗.๕ การนำเสนอผลการวเิ คราะห์ ๑๐๐ ๑๐๓ ๘ การวเิ คราะหค์ ่าสหสมั พันธ์เพียรส์ ัน ๑๐๗ ๘.๑ การวเิ คราะหค์ ่าสหสมั พันธ์เพยี ร์สนั ๘.๒ ขนั้ ตอนการทดสอบคา่ สหสัมพนั ธ์ ๑๐๘ ๘.๓ ขนั้ ตอนการวิเคราะห์ ๑๐๙ ๑๑๑ บทที่ รายการ ๑๑๕ ๘.๔ การนำเสนอผลการทดสอบนัยสำคัญ หน้า ๑๑๗

๙ การวเิ คราะห์ ไคสแควร์ 3 ๙.๑ การวเิ คราะห์ ไคสแควร์ (Chi - Square) ๙.๒ ข้นั ตอนการวิเคราะห์ ๑๑๘ ๙.๓ ขั้นตอนการทดสอบ ๑๑๙ ๙.๔ ผลการวิเคราะห์ ๑๑๙ ๑๒๒ บรรณานกุ รม ๑๒๕ มอค.๓ ๑๒๖ ๑๒๗

บทที่ ๑ ความรเู้ บ้ืองต้นเกีย่ วกบั การวิจยั วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นร้ปู ระจำบท เมื่อได้ศึกษาเนื้อหาในบทนแี้ ลว้ ผู้เรียนสามารถ ๑. อธิบายวิธกี ารเสาะแสวงหาความรู้ได้ ๒. บอกความหมายและลักษณะของการวจิ ัยได้ ๓. จำแนกประโยชน์และประเภทการวิจยั ได้ ๔. อธิบายจรรยาบรรณนกั วจิ ยั ได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา • วิธกี ารเสาะแสวงหาความรู้ • ความหมายและลกั ษณะของการวิจยั • ประโยชนแ์ ละประเภทการวิจัย • จรรยาบรรณนกั วิจัย

การวจิ ัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ ๒ ๑.๑ ความนำ การวิจัย (research) หมายถึงการกระทำของมนุษย์เพ่ือค้นหาความจริงในสิ่งใดส่ิงหนึ่งที่กระทำด้วย พ้ืนฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทำวิจัยได้แก่การค้นพบ (discovering), การแปลความหมาย และการพัฒนากรรมวิธแี ละระบบ สู่ความก้าวหน้าในความรดู้ ้านต่างๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ท่ีหลากหลายในโลก และจกั รวาล การวจิ ัยอาจตอ้ งใชห้ รือไม่ตอ้ งใช้วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ก็ได้ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ อาศัยการประยุกต์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ท่ีได้แรงผลักดันจากความ อยากรู้อยากเห็น การวจิ ัยเป็นตัวสร้างขอ้ มูลข่าวสารเชงิ วทิ ยาศาสตร์และทฤษฎีท่ีมนษุ ย์นำมาใช้ในการอธิบาย ธรรมชาติและคณุ สมบัติของสรรพสิ่งต่างๆ รอบตัวเรา การวิจัยช่วยให้การประยุกต์ทฤษฎีต่างๆ มีความเป็นไป ได้ในเชิงปฏิบัติ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ได้รับเงินสนับสนุนจากหน่วยงานของรัฐ องค์การการกุศล กลุ่ม เอกชนซึ่งรวมถึงบริษัทต่างๆ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์จำแนกได้เป็นประเภทตามสาขาวิทยาการและวิชา เฉพาะทาง คำวา่ การวจิ ัยยังใชห้ มายถงึ การเก็บรวบรวมข้อมลู ข่าวสารท่ีเกี่ยวกบั วชิ าการบางสาขาอีกดว้ ย วัตถุประสงค์หลักของการวิจัยข้ันพ้ืนฐานคือการสร้างความก้าวหน้าในความรู้และความเข้ าใจเชิง ทฤษฎีของสิ่งที่เชื่อมโยงระหว่างตัวแปรต่าง ด้วยการบุกเบิกที่เกิดจากการผลักดันของความอยากรู้อยากเห็น ความสนใจ และการรู้เองของตัวผู้วิจัยเอง เป็นการดำเนินการที่ยังไม่มีการคำนึงถึงการนำไปใช้ประโยชน์ไว้ ล่วงหนา้ แมว้ ่าในระหวา่ งการวจิ ัยจะมีการส่อว่าอาจนำผลไปประยุกต์เชงิ ปฏิบตั ไิ ด้กต็ าม คำวา่ “พื้นฐาน” เป็นการบ่งชว้ี า่ การวจิ ยั ขั้นพ้ืนฐานเป็นการวางรากฐานให้เกิดการกา้ วไปข้างหน้าดว้ ย การสร้างทฤษฎีท่ีบางครั้งอาจนำไปประยุกต์ในเชิงปฏิบัติได้ เนื่องจากการที่ไม่อาจประกันได้ว่าการวิจัย จะมีประโยชน์เชิงปฏิบัติได้ในระยะส้ันได้น้ีเองที่ทำให้นักวิจัยขั้นพ้ืนฐานหาแหล่งเงินทุนสนับสนุนได้ยากกว่า การวจิ ัยแบบอนื่ ๑.๒ วธิ ีการเสาะแสวงหาความรู้ (Methods of acquiring knowledge) การท่ีมนุษย์ต้องด้ินรนเพื่อให้มีชีวิตอยู่รอดอยู่ในสังคม และสามารถเอาชนะอุปสรรคต่างๆ จึงเป็นสิ่ง สำคัญ มนุษย์ส่วนมาก หรือเกือบทั้งหมดใช้สมองในการแก้ไขปัญหาต่างๆ มาตลอดเวลา นับตั้งแต่มนุษย์ มีวิวัฒนาการ มนุษย์มีความอยากรู้อยากเห็น และพยายามแสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ทำให้มนุษย์ได้รับ ความรู้ใหม่ๆ และสามารถประดิษฐ์คิดค้นส่ิงต่างๆ ให้เกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลา ความรู้ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านั้น เกดิ ข้นึ จากการ เสาะแสวงหาท้ังสนิ้ โดยเรม่ิ ตน้ จากวิธีการที่ไม่มีแบบแผน และระบบ ใชอ้ ารมณ์ และความรสู้ ึก และไม่มีเหตุผล พัฒนาข้ึนมาอย่างช้าๆ เรื่อยๆ จนเป็นวิธีการท่ีมีระบบแบบแผนท่ีสมบูรณ์ มีการใช้ความคิด และการใช้เหตุผล และเป็นวิธกี ารท่ีได้รบั การพัฒนามาใช้ในงานวิจัยในปัจจุบัน เน่ืองจากเป็นวิธีการที่สามารถ ทำให้มนุษย์ร่วม สังคมยอมรับในการทำให้เกิดความรู้ หรือคำตอบท่ีเชื่อถือได้ ซึ่งวิวัฒนาการของมนุษย์ ในการหาความรู้ ความจริงมีววิ ฒั นาการ มนุษย์มีความสนใจในสิง่ ตา่ งๆ ที่อยู่รอบตวั มานานนบั ตั้งแต่ยุคเริ่มแรกมาแล้ว โดยเฉพาะความรตู้ ่างๆ เพื่อที่จะนำมาแก้ไขปัญหาต่างๆที่อยู่รอบตัว ความรู้ต่างๆ ของมนุษย์ ในปัจจุบันนี้ประกอบด้วย ข้อเท็จจริง และ ทฤษฎีต่างๆ ซ่ึงนับวันจะมีข้อค้นพบมากย่ิงขึ้นไปตามระยะเวลา ซึ่งความรู้เหล่านี้ช่วยให้มนุษย์มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถที่จะอธิบาย ควบคุมหรือพยากรณ์เหตุการณ์ตา่ งๆ ในสถานการณ์ทก่ี ำหนดให้ได้ การเสาะ

การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ ๓ แสวงหาความร้ขู องมนุษย์มใิ ช่กระบวนการท่เี กดิ ขนึ้ เองโดยอัตโนมัติ แต่เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยสติปัญญา และการฝึกฝนต่างๆ ซง่ึ มวี ธิ กี ารเสาะแสวงหาความรู้ของมนษุ ยจ์ ำแนกได้ดังนี้ ๑. วิธโี บราณ (Older methods) ในสมัยโบราณมนุษยไ์ ด้ความรู้มาโดย ๑.๑ การสอบถามผู้รหู้ รือผู้มีอำนาจ (Authority) เป็นการได้ความรู้จากการสอบถามผู้รู้ หรือ ผู้มีอำนาจ เช่น ในสมัยโบราณเกิดโรคระบาด ผู้คนก็จะถามจากผู้ที่มีอำนาจว่าควรทำ อย่างไร ซ่ึงในสมัยน้ัน ผู้มีอำนาจก็จะแนะนำให้ทำพิธีสวดมนต์อ้อนวอนต่อส่ิงศักดิ์สิทธ์ิต่างๆ ให้ช่วยคล่ีคลายเหตุการณ์ต่างๆ คนจึง เชื่อถือโดยไม่มกี ารพสิ ูจน์ ๑.๒ ความบังเอิญ (Chance) เป็นการได้ความรู้มาโดยไม่ตั้งใจ ซ่ึงไม่ได้เจตนาที่จะศึกษาเร่ือง นน้ั โดยตรง แตบ่ งั เอญิ เกิดเหตกุ ารณห์ รือปรากฏการณบ์ างอยา่ งทำให้มนุษย์ไดร้ บั ความรูน้ ั้น ๑.๓ ขนบธรรมเนียมประเพณี (Tradition) เป็นการไดค้ วามรมู้ าจากส่ิงท่ีคนในสังคมประพฤติ ปฏิบัติสืบทอดกันมาจนเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ผู้ท่ีใช้วิธีการนี้ ควรตระหนักด้วยว่าส่ิง ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในอดีตจนเปน็ ขนบธรรมเนียมประเพณนี ั้น ไม่ใชจ่ ะเป็นส่งิ ท่ีถกู ตอ้ งและเทีย่ งตรงเสมอไป ดังนั้น ผทู้ ่ีใชว้ ิธีการนี้ควรจะไดน้ ำมาประเมนิ อย่างรอบคอบเสยี ก่อนทีจ่ ะยอมรบั ว่าเป็นข้อเทจ็ จริง ๑.๔ ผู้เช่ียวชาญ (Expert) เป็นการได้ความรู้จากผู้เช่ียวชาญเฉพาะเรื่อง เม่ือมีปัญหาหรือ ต้องการคำตอบเก่ียวกับเรื่องใดก็ไปถามผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะเรื่องนั้น เช่น เร่ืองดวงดาวต่างๆ ในท้องฟ้าจาก นักดาราศาสตร์ เรอ่ื งความเจบ็ ป่วยจากนายแพทย์ ๑.๕ ประสบการณ์ส่วนตัว (Personal experience) เป็นการได้ความรู้จากประสบการณ์ ที่ตนเคยผ่านมา ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลช่วยเพ่ิมความรู้ให้บุคคลนั้น เม่ือประสบปัญหาก็พยายามระลึก ถึงเหตกุ ารณ์หรือวธิ กี ารแกป้ ัญหาในอดีตเพอ่ื เปน็ แนวทางในการแกป้ ญั หาทีป่ ระสบอยู่ ๑.๖ การลองผิดลองถูก (Trial and error) เปน็ การไดค้ วามรู้มาโดยการลอง แกป้ ญั หาเฉพาะ หน้า หรือปัญหาที่ไม่เคยทราบมาก่อน เม่ือแก้ปัญหานั้นได้ถูกต้องเป็นที่พึงพอใจ ก็จะกลายเป็นความรู้ใหม่ ที่จดจำไวใ้ ช้ตอ่ ไป ถ้าแก้ปัญหาผดิ กจ็ ะไม่ใช้วิธีการน้อี กี ๒. วิธีการอนุมาน (Deductive method) คดิ ขึ้นโดยอริสโตเตลิ (Aristotle) เป็นวธิ กี ารคดิ เชิงเหตุผล ซึง่ เป็นกระบวนการคดิ คน้ จากเรอ่ื งทวั่ ๆ ไปสู่เร่ืองเฉพาะเจาะจง หรือคิดจากสว่ นใหญ่ไปสสู่ ่วนยอ่ ยจากสิง่ ทรี่ ู้ ไปสู่ สง่ิ ที่ไม่รู้ วิธีการอนมุ านน้ีจะประกอบด้วย ๒.๑ ข้อเท็จจริงใหญ่ ซ่ึงเป็นเหตุการณ์ที่เป็นจริงอยู่ในตัวมันเอง หรือเป็นข้อตกลงท่ีกำหนด ขึ้นเป็นกฎเกณฑ์ ๒.๒ ข้อเท็จจริงย่อย ซ่ึงมีความสัมพันธ์กับข้อเท็จจริงใหญ่ หรือเป็นเหตุผลเฉพาะกรณีที่ ตอ้ งการทราบความจริง ๒.๓ ผลสรุป เปน็ ข้อสรุปท่ีได้จากการพิจารณาความสัมพันธ์ของเหตุใหญ่และเหตยุ อ่ ย ตวั อยา่ งการหาความจรงิ แบบนี้ เช่น ตวั อย่างที่ ๑ ขอ้ เท็จจรงิ ใหญ่ : สตั วท์ กุ ชนดิ ต้องตาย ขอ้ เท็จจรงิ ย่อย : แมวเป็นสัตวช์ นดิ หน่งึ ผลสรุป : แมวตอ้ งตาย ตวั อยา่ งท่ี ๒ ขอ้ เทจ็ จรงิ ใหญ่ : ถ้าโรงเรยี นถูกไฟไหม้ ครจู ะเปน็ อันตราย ขอ้ เทจ็ จรงิ ย่อย : โรงเรยี นถกู ไฟไหม้ ผลสรุป : ครเู ป็นอันตราย

การวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ ๔ ถึงแม้ว่าการแสวงหาความรู้โดยวิธีการอนุมาน จะเป็นวิธีการที่มีประโยชน์อย่างย่ิง แต่ก็มีข้อจำกัด ดงั นี้ ๑. ผลสรุปจะถูกต้องหรือไม่ ข้ึนอยู่กับข้อเท็จจริงใหญ่กับข้อเท็จจริงย่อย หรือท้ังคู่ ไม่ถูกต้องก็จะทำ ให้ข้อสรุปพลาด ไปด้วย ดังเช่นตวั อย่างท่ี ๒ นั้น การที่โรงเรยี นถูกไฟไหม้ ครูในโรงเรียนอาจจะไม่เปน็ อันตราย เลยก็ได้ ๒. ผลสรุปท่ีได้เป็นวิธีการสรุปจากส่ิงท่ีรู้ไปสู่สิ่งที่ไม่รู้ แต่วิธีการนี้ไม่ได้เป็นการยืนยันเสมอไปว่า ผลสรุปท่ีได้จะเช่ือถือได้เสมอไป เน่ืองจากถ้าสิ่งท่ีรู้แต่แรกเป็นข้อมูลท่ีคลาดเคล่ือนก็จะส่งผลให้ข้อสรุปนั้น คลาดเคลือ่ นไปด้วย ๓. วิธีการอุปมาน (Inductive Method) เกิดข้ึนโดยฟรานซิส เบคอน (Francis Bacon) เนื่อง จากข้อจำกัดของวิธีการอุมานในแง่ที่ว่าข้อสรุปน้ัน จะเป็นจริงได้ต่อเม่ือข้อเท็จจริงจะต้องถูกเสียก่อน จึงได้ เสนอแนะวิธีการเสาะแสวงหาความรู้ โดยรวบรวมข้อเท็จจริงย่อยๆ เสียก่อนแล้วจึงสรุปรวบไปหาส่วนใหญ่ หลักในการอุปมานนั้นมีอยู่ ๒ แบบด้วยกันคือ ๓.๑ วิธีการอุปมานแบบสมบูรณ์ (Perfect inductive method) เป็นวิธีการแสวงหาความรู้ โดยรวบรวม ข้อเท็จจริงย่อยๆ จากทุกหน่วยของกลุ่มประชากร แล้วจึงสรุปรวมไปสู่ ส่วนใหญ่ วิธีน้ีปฏิบัติได้ ยากเพราะบางอย่างไม่สามารถนำมาศึกษาได้ครบทุกหน่ วย นอกจากนี้ยังสิ้นเปลืองเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายมาก ๓.๒ วิธีการอุปมานแบบไม่สมบูรณ์ (Imperfect inductive method) เป็นวิธีการเสาะ แสวงหาความรู้ โดยรวบรวมข้อเท็จจริงย่อยๆ จากบางส่วนของกลุ่มประชากร แล้วสรุปรวมไปสู่ส่วนใหญ่ โดยที่ข้อมูลท่ีศึกษาน้ันถือว่าเป็นตัวแทนของส่ิงท่ีจะศึกษาท้ังหมด ผลสรุปหรือ ความรู้ที่ได้รับสามารถอ้างอิง ไปสู่กลุ่มที่ศึกษาท้ังหมดได้ วิธีการน้ีเป็นที่นิยมมากกว่าวิธีอุปมานแบบสมบูรณ์ เน่ืองจากสะดวกในการปฏิบัติ และประหยดั เวลา แรงงานและค่าใชจ้ า่ ย ๔. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) เป็นการเสาะแสวงหาความรู้โดยใช้หลักการ ของ วิธีการอนุมานแล ะวิธีการอุปมานมาผสมผสานกัน Charles Darwin เป็นผู้ริเริ่มนำวิธีการน้ีมาใช้ ซึ่งเมื่อ ตอ้ งการค้นคว้าหาความรู้ หรือแกป้ ัญหาในเรอ่ื งใดก็ต้องรวบรวมข้อมูลเกยี่ วกับเรอ่ื งนัน้ ก่อน แล้วนำขอ้ มูลมาใช้ ในการสร้างสมมติฐาน ซ่ึงเป็นการคาดคะเนคำตอบล่วงหน้า ต่อจากน้ันเป็นการตรวจสอบปรับปรุงสมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล และการทดสอบสมมติฐาน และJohn Dewey ปรับปรุงให้ดีข้ึนแล้วให้ช่ือวิธีนี้ว่า การคดิ แบบใคร่ครวญรอบคอบ (reflective thinking) ซ่งึ ต่อมาเป็นทีร่ ูจ้ ักกนั ในช่ือของวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการเสาะแสวงหาความรู้ท่ีดีในการแก้ปัญหาต่างๆ ไม่เพียงแต่ ปัญหาท่ีเกิดขึ้น ในหอ้ งปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์เทา่ น้นั แตย่ งั สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปญั หาทางการศึกษาด้วย ๑.ขน้ั ปญั หา (Problem) ๒.ขน้ั ต้ังสมมติฐาน (Hypothesis) ๓.ขั้นรวบรวมขอ้ มลู (Gathering Data) ๔.ข้นั วิเคราะห์ข้อมลู (Analysis) ๕.ขัน้ สรปุ (Conclusion)

การวิจัยเพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ ๕ ๑.๓ ความหมายของการวิจัย การวิจัย ซ่งึ ตรงกับภาษาองั กฤษวา่ “Research” ถา้ จะแปลตามตัวหมายถึง การค้นหาซ้ำแลว้ ซ้ำอกี ซงึ่ ความหมายของคำวา่ วจิ ัย ทางดา้ นวชิ าการได้มผี ู้ใหค้ วามหมายไวต้ ่างๆ กนั เชน่ เบสท์ (Best, 1981 อ้างถึงใน บุญเรียง ขจรศิลป์ )๑ ได้ให้ความหมายของการวิจัยไว้ว่าเป็นวิธีการท่ี เป็นระบบระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ และคิดบันทึกการสังเกตท่ีมีการควบคุมเพื่อนำไปสู่ ขอ้ สรุปอ้างอิง หลักการหรอื ทฤษฎซี งึ่ จะเป็นประโยชนใ์ นการทำงานและการควบคมุ เหตุการณต์ า่ งๆ ได้ รัตนะ บัวสนธ๒์ ได้ให้ความหมายของการวิจัยไว้ว่า เปน็ การหาความจริงเชงิ สาธารณะดว้ ยวธิ ีการที่ เรยี กว่ากระบวนการวิจยั ซงึ่ มีลักษณะเปน็ ระบบมขี ้ันตอน ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล๓ สรุปความหมายของการวิจัยไว้ว่า การวิจัยคือการศึกษาค้นคว้าอย่างมี ระบบระเบียบเพ่ือทำความเข้าใจปัญหาและแสวงหาคำตอบ เป็นกระบวนการท่ีอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นหลัก บุญเรยี ง ขจรศิลป์๔ ได้ให้ความหมายของคำว่า การวิจัยทางด้านวิชาการ หมายถึง กระบวนการเสาะ แสวงหาความรู้ใหม่ๆหรือกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อตอบปัญหาที่มีอยู่อย่างมีระบบ และมี วตั ถุประสงค์ทแ่ี น่นอน โดยอาศัยวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ พจน์ สะเพียรชัย๕ กล่าวว่า \"การวิจยั \" คือ วิธีแกป้ ญั หาที่มรี ะบบแบบแผนเชอื่ ถอื ได้ เพือ่ ให้เกิดความรู้ ทเี่ ช่ือถอื ได้ อนันต์ ศรโี สภา๖ กล่าวว่า \"การวิจัย\" เปน็ กระบวนการเสาะแสวงหาความรจู้ ากปัญหาที่ชัดเจนอย่าง มีระบบ โดยมีการทดสอบสมมติฐานท่ีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล ซึ่งสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ในเรอ่ื งน้นั ๆ เพื่อนำไปพยากรณห์ รอื สงั เกตการเปลี่ยนแปลง เพื่อควบคุมส่ิงหนึง่ สงิ่ ใดใหค้ งท่ี \"การวิจัย\" เป็นการใช้ข้อมูลในการตรวจสอบสมมติฐานเก่ียวกับความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ ธรรมชาติ โดยมีการควบคุมอย่างเป็นระบบสม่ำเสมอ ดังน้ัน การวิจัยจึงหมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหา ความรู้ใหม่ๆ ที่เป็นความจริงเชิงตรรกะ (Logical) หรือความจริงเชิงประจักษ์ (Empirical) เพ่ือตอบปัญหา ทางการศกึ ษาอย่างมีระบบ และมวี ัตถุประสงค์ที่แนน่ อน โดยอาศยั วิธีการทางวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ หลกั ทฤษฏี (Theory) หมายถึง สิ่งท่ีแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรอย่างมีเหตุและผลท่ีจะสามารถนำไป อธิบายปรากฏการณไ์ ด้อย่างเป็นระบบ หรอื จำแนกทฤษฏอี อกเป็น ๓ ลักษณะ ดังนี้ ๑.ทฤษฏีเปน็ ขอ้ เสนอทีป่ ระกอบด้วยความสัมพันธข์ องแนวคิดตา่ งๆ ๒.ทฤษฏแี สดงใหเ้ ห็นความสัมพนั ธ์ระหว่างแนวคดิ ทจี่ ะนำไปอธบิ ายปรากฏการณ์ ๓.ทฤษฏีทำหน้าท่ีอธิบายปรากฏการณ์ ๑ บุญเรยี ง ขจรศลิ ป์, สถติ ิวจิ ยั II, กรงุ เทพมหานคร : ฟิสกิ สเ์ ซน็ เตอร์, ๒๕๓๓ หนา้ ๕. ๒ รัตนะ บัวสนธ,์ การประเมนิ ผลโครงการการวิจยั ประเมนิ ผล, กรงุ เทพมหานคร : คอมแพคทพ์ รนิ้ จำกัด, ๒๕๔๓ หน้า ๓. ๓ ผ่องพรรณ ตรยั มงคลกูล, การออกแบบการวจิ ัย(ฉบบั ปรับปรุง) , กรงุ เทพมหานคร. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ , ๒๕๔๓ หน้า ๒๑. ๔ อ้างแลว้ เรือ่ งเดยี วกัน. หน้า ๕. ๕ พจน์ สะเพยี รชยั , ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษากับการวจิ ยั เพ่ือสรา้ งองคก์ รแห่งการเรียนรู้, กรุงเทพมหานคร : สำนกั นโยบายและแผนแหง่ การศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ, ๒๕๔๖. ๖ อนนั ศรีโสภา, การวัดผลการศกึ ษา, พิมพค์ ร้งั ที่ ๓, กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ , ๒๕๒๕.

การวิจยั เพอื่ พฒั นาการเรยี นรู้ ๖ ทฤษฏี หมายถึง ข้อความ หรือข้อสรุป ท่ีปรากฏอยู่ในรูปของประโยคเชิงเหตุผล เพ่ือใช้บรรยาย อธิบาย และทานายปรากฏการณ์ หรือเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของประเด็นต่างๆที่เก่ียวข้องกับปรากฏการณ์ ภายใต้สภาวะแวดลอ้ มใดหนง่ึ หรอื หลากหลายสภาวะแวดลอ้ ม๗ สรุปได้ว่าทฤษฏี เป็นข้อความท่ีแสดงความคิดรวบยอด ความเป็นเหตุและผลของความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต่างๆ เพื่อท่ีจะได้นำไปใช้ในการอธิบายและพยากรณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมีระบบ ระเบยี บ ๑.๔ ลกั ษณะทสี่ ำคัญของการวจิ ยั เบสท์ (Best , ๑๙๘๑ อ้างถึงใน บุญเรยี ง ขจรศลิ ป์)๘ ไดส้ รุปลักษณะที่สำคัญของการวิจัยไว้ดงั นี้ ๑. เป้าหมายของการวจิ ยั มุ่งท่จี ะหาคำตอบต่างๆ เพอ่ื จะนำมาใช้แก้ปัญหาทีม่ ีอยู่โดยพยายาม ท่จี ะศกึ ษาถึงความสัมพนั ธ์ ระหว่าง ตัวแปรในลกั ษณะความเป็นเหตุเปน็ ผลซ่ึงกันและกัน ๒. การวิจัยเน้นถึงการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์หรือทฤษฎีต่างๆ เพื่อที่จะเป็นประโยชน์ ในการทำนายเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีจะเกิดขนึ้ ในอนาคต เปา้ หมายของการวจิ ัยนนั้ มิได้ หยุดอยูเ่ ฉพาะกลุม่ ตัวอย่าง ที่นำมาศึกษาเทา่ น้นั แตข่ ้อสรปุ ทไ่ี ดม้ ุ่งท่ีจะอ้างอิงไปสู่กล่มุ ประชากร เป้าหมาย ๓. การวิจัยจะอาศัยข้อมูล หรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่สามารถสังเกตได้รวบรวมได้ คำถามท่ี นา่ สนใจบางคำถามไมส่ ามารถทำการวิจยั ได้ เพราะไม่สามารถรวบรวมข้อมูลมาศึกษาได้ ๔. การวจิ ยั ตอ้ งการเคร่ืองมือและการรวบรวมข้อมลู ที่แม่นยำ เทยี่ งตรง ๕. การวิจัยจะเกย่ี วข้องกับการรวบรวมข้อมูลใหม่ๆ จากแหลง่ ปฐมภมู หิ รอื ใชข้ ้อมลู ทีม่ ีอยู่เดิม เพอ่ื หาคำตอบของวตั ถปุ ระสงค์ใหม่ ๖. กจิ กรรมท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย เปน็ กจิ กรรมท่ีกำหนดไวอ้ ยา่ งมีระบบแบบแผน ๗. การวิจัยตอ้ งการผรู้ ู้จรงิ ในเน้ือหาท่ีจะทำการวิจยั ๘. การวจิ ยั เปน็ กระบวนการท่มี เี หตุผล และมีความเป็นปรนยั สามารถทีจ่ ะทำการตรวจสอบ ความตรงของวิธกี ารท่ีใชข้ อ้ มูลทีร่ วบรวมมาและข้อสรุปท่ีได้ ๙. การวิจัยน้ันสามารถท่ีจะทำซ้ำได้ โดยใช้วิธีเดียวกัน หรือวิธีการที่คล้ายคลึงกัน ถ้ามีการ เปล่ียนแปลงกลุ่มประชากร สถานการณ์ หรอื ระยะเวลา ๑๐. การทำวิจัยน้ันจะต้องมีความอดทนและรีบร้อนไม่ได้ นักวิจัยควรจะเตรียมใจไว้ด้วยว่า อาจจะตอ้ งมคี วามลำบากในบางเร่อื ง ในบางกรณที ี่จะแสวงหาคำตอบของคำถามท่ียากๆ ๑๑. การเขียนรายงานการวิจัยควรจะทำอย่างละเอียดรอบคอบ ศัพท์เทคนิคท่ีใช้ควร จะบัญญัติความหมายไว้ วิธีการท่ีใช้ในการวิจัยอธิบายอย่างละเอียด รายงายผลการวิจัยอย่างตรงไป ตรงมา โดยไมใ่ ช้ความคดิ เหน็ สว่ นตัว ไมบ่ ิดเบือนผลการวจิ ยั ๑๒. การวิจัยนั้นต้องการความซ่ือสัตย์และกล้าหาญในการรายงานผลการวิจัยในบางครั้ง ซง่ึ อาจจะไปขัดกบั ความรูส้ ึกหรอื ผลการวจิ ัยของคนอืน่ กต็ าม ๗ ปาริชาติ สถาปติ านนท์, ระเบียบวธิ วี ิจยั การสื่อสาร, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , ๒๕๔๖ หนา้ ๘๘. ๘ บญุ เรยี ง ขจรศลิ ป์, สถติ ิวิจยั II, กรงุ เทพมหานคร : ฟสิ ิกส์เซน็ เตอร์, ๒๕๓๓ หน้า ๕.

การวิจยั เพ่อื พฒั นาการเรียนรู้ ๗ ๑.๕ ระเบียบวิจัยเปน็ เกณฑใ์ นการแบง่ การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical research) เป็นการวิจัยที่เน้นถึงการศึกษาค้นคว้า รวบรวม ข้อมูลหรือเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนมาแล้วในอดีต (what was ) ประโยชน์ของการวิจัย ชนิดนี้ก็คือ สามารถ นำมาใช้เป็นแนวทางในการศึกษาเหตุการณ์ต่างๆ ในปัจจุบัน หรือสามารถนำมาใช้ประกอบการตัดสินใจ เพ่อื แกไ้ ขปัญหาต่างๆ ที่เกิดข้ึนในปจั จบุ ันไดด้ ้วย การวิจัยเชิงบรรยาย หรือการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) เป็นการวิจัยท่ีเน้นถึง การศึกษารวบรวมข้อมูลตา่ งๆ ท่ีเกดิ ข้ึนในปัจจุบนั (what is ) ในการดำเนนิ การวจิ ัย นักวจิ ัยไมส่ ามารถท่ีจะไป จัดสร้างสถานการณ์หรือควบคุมตัวแปรตา่ งๆ ได้ตามใจชอบ การวิจัยแบบนี้เป็นการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนอยู่แล้ว เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ และความสนใจต่อการเมือง มีการวจิ ยั หลายชนดิ ทจี่ ดั ไว้วา่ เปน็ การวิจัยเชิงบรรยายได้แก่ ๑.การวจิ ัยเชงิ สำรวจ (Survey research) ๒.การวิจยั เชิงสังเกต (Observational research) ๓.การวจิ ยั เชิงเปรยี บเทยี บสาเหตุ (Causal Comparative) ๔.การวิจัยเชงิ สหสมั พันธ์ (Correlational research) ๕.การศึกษาเฉพาะกรณี (Case study) การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) เป็นการวิจัยเพ่ือพิสูจน์ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของ ปรากฏการณ์ต่างๆ (what will be ) โดยมีการจัดกระทำกับตัวแปรอิสระเพ่ือศึกษาผลที่มีต่อตัวแปรตาม และมีการควบคุมตัวแปรอื่นมิให้มีผลกระทบต่อตัวแปรตาม ซง่ึ นิยมมากทางด้านวิทยาศาสตร์ สำหรับทางด้าน การศึกษา ค่อนข้างลำบาก ในแง่ของการควบคุมตัวแปรเกนิ ลกั ษณะทีส่ ำคญั ของการวิจัยเชิงทดลอง คือ ๑.ควบคุมตวั แปรเกินได้ (Control) ๒.จดั การเปลย่ี นแปลงค่าของตวั แปรอิสระได้ (Manipulation) ๓.สงั เกตได้ (Observation) ๓.ทำซำ้ ได้ (Replication) ๑.๕.๑ ใช้จุดมงุ่ หมายของการวิจยั เป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ๑.การวิจัยบริสุทธ์ิ (Pure research) หมายถึง การวิจัยที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการตอบสนอง ความอยากรู้หรือมุ่งท่ีจะหาความรู้เท่าน้ัน โดยไม่ได้คำนึงว่าจะนำผลการวิจัยท่ีได้ไปใช้ได้หรือไม่ การวิจัย ประเภทนี้กอ่ ให้เกิดทฤษฎีใหมๆ่ ตามมา ๒.การวจิ ัยประยุกต์ (Applied research)หมายถึง การวิจัยท่ีมจี ุดมุ่งหมายเพื่อนำผลการวจิ ัย ที่ได้ไปใช้ใน การแก้ปัญหาหรือปรับปรุงความเป็นอยู่และสังคมของมนุษย์ให้ดีขึ้นได้แก่ การวิจัยทางด้าน เศรษฐกจิ การเมอื ง การศกึ ษาเป็นตน้ ๓.การวจิ ัยเชิงปฏิบัติการหรอื วิจัยเฉพาะกิจ (Action research) เป็นการวิจัยเพื่อนำผลมาใช้ แก้ปัญหาอย่างรีบด่วนหรือปัจจุบันทันที ซ่ึงมีจุดมุ่งหมายเฉพาะเพ่ือจะนำผลที่ได้มาใช้แก้ปัญหาเฉพาะเรื่อง ในวงจำกดั โดยไมไ่ ด้สนใจวา่ จะใชป้ ระโยชนห์ รอื แก้ปัญหาอ่ืนไดห้ รอื ไม่ ๔.การวิจัยสถาบัน (Institutional research) เป็นการวิจัยท่ีมุ่งนำผลการวิจัยมาใช้ เพื่อปรับปรุงงานด้านการบริหารของหน่วยงานหรือ สถาบันน้ันๆ โดยไม่มีจุดมุ่งหมายในการนำผลการวิจัย ไปใชก้ ับหนว่ ยงานหรอื สถาบันอ่นื

การวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ ๘ ๑.๕.๒ ใชล้ กั ษณะและวิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลเปน็ เกณฑใ์ นการแบ่ง การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เป็นการวิจัยที่มุ่งค้นคว้าหาข้อเท็จจริงต่างๆ ท่ีเกิดขึ้น ในสถานการณ์ต่างๆ ตามธรรมชาติ โดยพยายามที่จะศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ มาบรรยายถึงความสัมพันธ์ของ เง่ือนไขต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนกับสภาพแวดล้อมที่เป็นอยู่ การวิจัยเชิงคุณภาพน้ันเป็นการศึกษาค้นคว้าในแนวลึก มากกว่าแนวกว้าง การรวบรวมข้อมูล จะให้ความสำคัญกับข้อมูลที่เก่ียวกับประวัติส่วนตัว แนวคิด ความรู้สึก ต่างๆ ของแต่ละบุคคล วิธีการรวบรวมข้อมูล ได้แก่การสังเกตอย่างมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบไม่เป็น ทางการ จะเป็นวิธีการหลักของการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล จะใช้วิธีการสรุปบรรยายทฤษฎี และแนวคิดต่างๆ ในการอธบิ ายและวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) เป็นงานวิจัยที่มุ่งค้นคว้าข้อเท็จจริงต่างๆ เพื่อหา ข้อสรุปในเชิงปริมาณ เป็นการศึกษาในแนวกว้างมากกว่าแนวลึก เพื่อท่ีจะนำข้อสรุปต่างๆ ท่ีได้จากกลุ่ม ตวั อย่างอ้างอิงไปใช้กับกลุ่มประชากร โดยอาศัยวิธีการทางสถิติ การรวบรวมข้อมลู เน้นหนักไปในทางปรมิ าณ หรือค่าต่างๆ ท่ีสามารถวัดได้ในเชิงปริมาณ วิธีการรวบรวม ข้อมูล มีหลายรูปแบบ เช่น การส่งแบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต การสร้างสถานการณ์สมมติการทดลองและการทดสอบ เป็นต้น การวเิ คราะห์ข้อมูล จะใช้วิธีการทางสถิติเข้ามาใช้ใน การวเิ คราะห์ข้อมูล ๑.๕.๓ ใช้ลักษณะศาสตรแ์ ละสาขาวชิ าทเี่ กี่ยวกบั การวจิ ยั เปน็ เกณฑ์ในการแบง่ ๑.การวิจัยทางสังคมศาสตร์ ได้แก่ การวิจัยเก่ียวกับสังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา เศรษฐกจิ เป็นตน้ ๒.การวิจัยทางมนุษยศาสตร์ ได้แก่ การวิจัยเก่ียวกับคุณค่าของมนุษย์ เช่น ภาษาศาสตร์ ดนตรี ศาสนา โบราณคดี ปรัชญา เป็นตน้ ๓. การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การวิจัยทางชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ วิศวกรรม แพทย์ พยาบาล เทคนคิ การแพทย์ เภสชั ศาสตร์ เป็นต้น ๑.๕.๔ ใชว้ ิธกี ารควบคุมตวั แปรเปน็ เกณฑใ์ นการแบ่ง ๑.การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) เป็นการวิจัยเพื่อพิสูจน์ความสัมพันธ์เชิง สาเหตุ โดยมีการจัดสถานการณ์ทดลอง ด้วยการควบคุมระดับของตัวแปรต้น และกำจัดอิทธิพลของตัวแปร ภายนอกตา่ งๆ ท่ีไม่เก่ียวขอ้ งแล้ววัดผลตัวแปรตามออกมา ๒. การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (Quasi Experimental research) เป็นการวิจัยท่ีสามารถควบคุม ตัวแปรภายนอกท่ไี มต่ ้องการไดเ้ พียง บางตัว เนื่องจากไมส่ ามารถสุม่ ตัวอย่างใหเ้ ท่ากนั ได้ ๓. การวิจัยเชิงธรรมชาติ (Naturalistic research) เป็นการวิจัยที่ค้นหาความจริงของ สภาพการณ์ ในสังคม ใช้การสังเกตการณ์เป็นสำคัญ และสรุปผลโดยใช้การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าอนุมาน และอุปมาน ๑.๖ จรรยาบรรณนกั วิจัย๙ \"นักวิจัย\" หมายถึง ผู้ท่ีดำเนินการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบ เพ่ือตอบประเด็นที่สงสัย โดย มรี ะเบียบวิธีอันเป็นท่ียอมรับในแต่ละศาสตร์ท่ีเก่ียวขอ้ ง ระเบียบวิธดี ังกล่าวจึงครอบคลุมท้ังแนวคิด มโนทัศน์ และวิธกี ารทีใ่ ชใ้ นการรวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมูล ๙สำนกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ.จรรยาบรรณนกั วิจยั สภาวจิ ยั แห่งชาต.ิ

การวิจยั เพอื่ พัฒนาการเรยี นรู้ ๙ \"จรรยาบรรณ\" หมายถึง หลักความประพฤติอันเหมาะสม แสดงถึงคุณธรรมและจริยธรรมในการ ประกอบอาชีพ ที่กลุ่มบุคคลแต่ละสาขาวิชาชีพ ประมวลข้ึนไว้เป็นหลักเพ่ือให้สมาชิกในสาขาวิชาชีพน้ันๆ ยึดถอื ปฏบิ ัติเพือ่ รกั ษาช่ือเสยี ง และส่งเสรมิ เกียรตคิ ณุ ของสาขาวิชาชีพของตน จรรยาบรรณในการวิจัย จัดเป็นองค์ประกอบท่ีสำคัญของระเบียบวิธีวิจัย เน่ืองด้วยในกระบวนการ ค้นคว้าวิจัย นักวิจัยจะต้องเข้าไปเก่ียวข้องใกล้ชิดกับสิ่งที่ศึกษา ไม่ว่าจะเป็นส่ิงมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต การวิจัย จึงอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อสิ่งที่ศึกษาได้ หากผู้วิจัยขาดความรอบคอบระมัดระวัง การวิจัยเป็นกิจกรรม ท่ีมีความสำคัญอย่างย่ิงต่อการวางแผนและกำหนดนโยบายในการพัฒนาประเทศทุกด้าน โดยเฉพาะในการ พฒั นาคุณภาพชวี ติ ของคนในประเทศ ผลงานวิจัยท่ีมคี ณุ ภาพขน้ึ อยู่กบั ความรูค้ วามสามารถของนักวจิ ยั ในเร่อื ง ท่ีจะศึกษาและข้ึนอยู่กับคุณธรรมจริยธรรมของนักวิจัยในการทำงานวิจัยด้วยผลงานวิจัยที่ด้อยคุณภาพด้วย สาเหตใุ ดกต็ าม หากเผยแพร่ออกไป อาจเปน็ ผลเสียตอ่ วงวิชาการและประเทศชาตไิ ด้ สภาวิจัยแห่งชาติจงึ กำหนด \"จรรยาบรรณนักวิจยั \" ไว้เป็นแนวทางสำหรับนักวจิ ัยยึดถือปฏิบตั ิ เพ่ือให้ การดำเนินงานวิจัยต้ังอยู่บนพื้นฐาน ของจริยธรรมและหลักวิชาการท่ีเหมาะสม ตลอดจนประกันมาตรฐาน ของการศกึ ษาคน้ ควา้ ให้เป็นไปอยา่ งสมศักด์ศิ รี และเกียติภูมิของนกั วจิ ยั ไว้ ๙ ประการ ดงั น้ี ๑.นักวิจัยต้องซ่ือสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ นักวิจัยต้องมีความซ้ือสัตย์ต่อ ตนเองไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อ่ืน ต้องให้เกียรติ และอ้างถึงบุคคลหรือ แหล่งท่ีมาของข้อมูลที่นำมาใช้ในงานวิจัย ต้องซื้อตรงต่อการแสดงหาทุนวิจัย และมีความเป็นธรรมเกี่ยวกับ ผลประโยชน์ทีไ่ ด้จากการวจิ ัย ๒.นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย ตามข้อตกลงท่ีทำไว้กับหน่วยงานที่สนับสนุน การวิจัย และต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด นักวิจัยต้องปฏิบัติตามพันธกรณีและข้อตกลงการวิจัยที่ผู้เกี่ยวข้องทุก ฝ่ายยอมรับร่วมกัน อุทิศเวลาทำงานวิจัยให้ได้ผลดีที่สุด และเป็นไปตามกำหนดเวลา มีความรับผิดชอบไม่ละ ท้งิ งานระหว่างดำเนินการ ๓.นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการท่ีทำวิจัย นักวิจัยต้องมีพ้ืนฐานความรู้ในสาขาวิชาการ ทที่ ำวิจัยอย่างเพียงพอ และมคี วามรู้ความชำนาญ หรอื มีประสบการณ์เก่ยี วเน่ืองกับเรื่องทท่ี ำวิจัย เพ่ือนำไปสู่ งานวิจัยท่ีมีคุณภาพ และเพ่ือป้องกันปัญหาการวิเคราะห์ การตีความ หรือการสรุปท่ีผิดพลาด อันอาจก่อให้ เกดิ ความเสียหายตอ่ งานวิจัย ๔.นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งท่ีศึกษาวิจัย ไม่ว่าจะเป็นส่ิงที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต นักวิจัยต้อง ดำเนินการด้วยความรอบคอบระมัดระวังและเที่ยงตรงในการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคน สัตว์ พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม มีจิตสำนึกและมีปณิธานท่ีจะอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสงิ่ แวดล้อม ๕.นักวิจัยต้องเคารพศักด์ิศรี และสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัยนักวิจัย ต้องไม่คำนึงถึง ผลประโยชน์ทางวิชาการจนละเลยและขาดความเคารพในศักดิ์ศรีของเพ่ือนมนุษย์ ต้องถือเป็นภาระหน้าที่ ที่จะอธิบายจุดมุ่งหมายของการวิจัยแก่บุคคลที่เป็นกลุ่มตัวอย่างโดยไม่หลอกลวงหรือบีบบังคับและไม่ละเมิด สทิ ธสิ ่วนบคุ คล ๖.นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกข้ันตอนของการทำวิจัย นักวิจัยต้อง มีอิสระทางความคิด ต้องตระหนักว่า อคติส่วนตน หรือความลำเอียงทางวิชาการ อาจส่งผลให้มีการบิดเบือน ขอ้ มลู และข้อบงั คบั พบทางวิชาการ อนั เป็นเหตใุ หเ้ กิดผลเสยี หายต่องานวิจัย ๗.นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ นักวิจัยพึงเผยแพร่ผลงานวิจัยเพ่ือประโยชน์ ทางวิชาการและสงั คม ไมข่ ยายผลข้อค้นพบจนเกนิ ความเปน็ จริง และไม่ใช้ผลงานวิจัยไปทางมิชอบ

การวิจยั เพอื่ พฒั นาการเรยี นรู้ ๑๐ ๘.นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น นักวิจัยพึงมีใจกว้าง พร้อมที่จะเปิดเผยข้อมูล และขั้นตอนการวิจัย ยอมรับฟัง ความคิดเห็นและเหตุผลทางวิชาการของผู้อื่น และพร้อมท่ีจะปรับปรุงแก้ไข งานวจิ ยั ของตนให้ถกู ตอ้ ง ๙.นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ นักวิจัยพึงมีจิตสำนึกท่ีจะอุทิศกำลังสติปัญญา ในการทำวจิ ัย เพือ่ ความก้าวหนา้ ทางวชิ าการ เพอื่ ความเจริญและประโยชน์สขุ ของสงั คมและมวลมนุษยชาติ สรปุ ทา้ ยบท ทฤษฏี เป็นข้อความท่ีแสดงความคิดรวบยอด ความเป็นเหตุและผลของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ต่างๆ เพ่ือท่ีจะได้นาไปใช้ในการอธิบายและพยากรณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมีระบบระเบียบ โดยมี ประโยชน์ต่อการวิจัย คือ ๑) กำหนดกรอบการวิจัย ๒) จำแนกและลาดับข้อเท็จจริงของตัวแปร ๓) กำหนด กรอบแนวคิดการวิจัย ๔) กำหนดสมมุติฐาน ๕) กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ๖) การสรุปข้อเท็จจริง ๗) การพยากรณ์ การวจิ ัย เป็นกระบวนการแสวงหาความรูท้ ี่มีระบบ มีข้ันตอนท่ีชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว สามารถ ตรวจสอบได้ ท่ผี ู้วิจัยนามาใช้ศึกษา ค้นคว้าขอ้ เท็จจริง เพ่ือนาไปใชอ้ ธิบายปรากฏการณ์ทางสังคม หรอื พัฒนา เป็นกฎ ทฤษฏี หรือนำไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และเช่ือถือได้ โดยมีจุดมุ่งหมาย ของการวจิ ัย คอื ๑) เพ่อื สำรวจ ๒)เพ่ือบรรยาย-พรรณนา ๓) เพอื่ อธบิ าย-ทำนาย และ ๔) เพ่ือควบคมุ กระบวนการแสวงหาความรู้ จำแนกเป็น ๑) ยุคโบราณ เป็นยุคที่มนุษย์มกี ระบวนการแสวงหาความรู้ ท่ียังไม่เป็นระบบท่ีชัดเจน ได้แก่ โดยการบังเอิญ โดยจารีต ขนบธรรมเนียมประเพณี โดยการลองผิดลองถูก โดยความเชื่อที่มีต่อผู้นา/ผู้เช่ียวชาญ และโดยประสบการณ์ส่วนตัว เป็นต้น ๒) ยุคกลาง เป็นยุคที่มนุษย์ มีกระบวนการแสวงหาความรู้ที่เป็นระบบท่ีชัดเจนมากข้ึน ได้แก่ วิธีการ แบบอนุมาน วิธีการแบบอุปมาน และ ๓) ยุคปัจจุบัน เป็นยุคท่ีมนุษย์ได้มีกระบวนการแสวงหาความรู้ ที่เป็นระบบท่ีชัดเจนโดยการนาวิธีการ แบบอนุมานและอุปมานมารวมกันเป็นวิธีการแสวงหาความรู้ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Methods)

การวจิ ัยเพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ ๑๑ คำถามท้ายบท ๑.การวจิ ัย คือ อะไร นักวจิ ัยได้ใชป้ ระโยชนอ์ ะไรจาก “ธรรมชาตขิ องการวิจยั ”ฯ ๒. เพราะเหตใุ ดมนุษย์จึงต้องมี “การแสวงหาความรู้” ฯ ๓. มนษุ ย์มวี ิวฒั นาการในการแสวงหาความรู้อย่างไรฯ ๔. ทา่ นใชห้ ลักการพืน้ ฐานทางวทิ ยาศาสตร์ในการดาเนินการวจิ ยั อย่างไรฯ ๕. การวจิ ัยก่อให้เกดิ ประโยชนต์ ่อมนุษยชาติและประเทศชาติ อย่างไรฯ ๖. ลักษณะของรายงานท่เี รียกว่า “งานวิจยั ”มลี ักษณะสำคัญทแ่ี ตกตา่ งจากรายงานทั่ว ๆ ไปอย่างไรฯ ๗. ถา้ ใหท้ ่านจำแนกประเภทของการวจิ ยั ทา่ นจะจำแนกการวจิ ยั เปน็ ก่ีประเภท เพราะเหตุใดฯ ๘. ในปจั จบุ นั มกี ารดาเนินการการวจิ ยั เพ่ือตอบสนองต่อเป้าหมายใดมากท่ีสดุ เพราะเหตุใดฯ ๙. ปญั หาที่ต้องดำเนินการวิจัยกับปญั หาท่ีไม่ต้องดำเนนิ การวจิ ัยมคี วามแตกต่างหรอื ไม่ อยา่ งไรฯ ๑๐. ในปัจจบุ นั นน้ี กั วจิ ัยได้มีการละเมดิ จรรยาบรรณการวิจัย ตามหลักจรรยาบรรณของนักวจิ ัยฯ

การวิจัยเพื่อพฒั นาการเรยี นรู้ ๑๒ เอกสารอา้ งองิ ประจำบท บุญเรยี ง ขจรศลิ ป์, (๒๕๓๓), สถิติวิจยั II, กรุงเทพมหานคร : ฟิสิกส์เซน็ เตอร์. ปารชิ าติ สถาปิตานนท์, (๒๕๔๖), ระเบียบวิธีวจิ ัยการสือ่ สาร, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ผอ่ งพรรณ ตรยั มงคลกูล, (๒๕๔๓), การออกแบบการวิจัย(ฉบบั ปรับปรุง) , กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. พจน์ สะเพยี รชัย, (๒๕๔๖), ผ้บู ริหารสถานศึกษากับการวจิ ัยเพ่ือสร้างองค์กรแหง่ การเรียนรู้, กรุงเทพมหานคร: สำนักนโยบายและแผนแหง่ การศกึ ษาสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ. รัตนะ บวั สนธ์, (๒๕๔๓), การประเมนิ ผลโครงการการวจิ ยั ประเมินผล, กรุงเทพมหานคร : คอมแพคท์พร้ิน จำกดั . สำนักงานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ (วช.) (๒๕๔๙).เร่ืองการวจิ ัยและพัฒนาจติ มิตใิ หม่ด้วยนวตั กรรมนิทาน ทเ่ี พม่ิ ทนุ มนุษยแ์ กส่ งั คมไทย, กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. อนนั ศรีโสภา, (๒๕๒๕), การวัดผลการศกึ ษา, พิมพ์คร้งั ท่ี ๓, กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ .

บทที่ ๒ ทฤษฎี รูปแบบและกระบวนการวิจยั วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ประจำบท เมอื่ ไดศ้ กึ ษาเนือ้ หาในบทนีแ้ ล้ว ผเู้ รียนสามารถ ๑. อธบิ ายทฤษฎกี ารวจิ ยั ได้ ๒. อธบิ ายรปู แบบการวิจัยได้ ๓. อธิบายกระบวนการวิจยั ได้ ขอบข่ายเน้อื หา • ทฤษฎกี ารวิจยั • รูปแบบการวิจยั • กระบวนการวจิ ยั

การวิจยั เพ่อื พัฒนาการเรียนรู้ ๑๔ ๒.๑ ความนำ หน่วยงานหรือองค์การท่ีต้องการงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาการทำงาน เพ่ือพัฒนาองค์การ หรือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน แต่ยังขาดบุคลากรท่ีมีประสบการณ์และความชำนาญ ในกระบวนการวิจัย จึงมีความจำเป็นต้องมีท่ีปรึกษาด้านงานวิจัย ให้คำปรึกษาเพ่ือลดความเสี่ยง ในการดำเนินโครงการวิจัย ท่ีปรึกษางานวิจัยจึงมีความสำคัญต่อหน่วยงานการมีที่ปรึกษาทำให้ องค์การบรรลุเป้าหมายของการวิจยั รวมทั้งสามารถควบคุมงบประมาณในการดำเนินการวิจัยได้อยา่ ง มีประสิทธิภาพ การคัดเลือกท่ีปรึกษางานวิจัยท่ีเหมาะสมกับงานวิจัยจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เน่ืองจากที่ปรึกษาที่มีประสบการณ์จากสถานการณ์ท่ีเคยเกิดข้ึนมาแล้ว มีกรอบการทำงานท่ีแสดงถึง ผลลัพธ์ สามารถที่จะให้คำตัดสินที่เป็นอิสระ ความคิดเห็นที่เป็นกลาง ปราศจากการครอบงำ ในวฒั นธรรมขององค์การและที่ปรึกษาให้ความน่าเช่ือถือ ในปัญหาและการตอบสนองขององค์การ ที่ปรึกษาสามารถแยกแยะสาเหตุท่ีแท้จริง ของปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง ประเมินสิ่งท่ีเห็นชัดของสถานการณ์ที่ซับซ้อนและช่วยให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในองค์การ ส่ิงที่องค์การต้องการจากท่ีปรึกษาคือคำแนะนำท่ีเป็นระบบ นำมาซึ่ง การแก้ไขปัญหา และแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจน และสามารถดำเนินงานได้ประสบความสำเร็จ การเลือกที่ปรึกษาท่ีดีน้ัน ทำให้โครงการท่ีทำสามารถเสร็จได้ตามแผนงานท่ีกำหนดภายใต้ งบประมาณท่ีประมาณการไว้ และหากได้ที่ปรึกษาท่ีมีความคิดสร้างสรรค์และมีความเข้าใจงานที่ดี แล้วองคก์ ารจะไดป้ ระโยชน์สงู สดุ มคี ณุ คา่ ทด่ี ีตอ่ องค์การ ๒.๒ ทฤษฏีการวจิ ยั ทฤษฎี หมายถงึ ขอ้ ความทีร่ ะบุความสมั พันธ์ระหว่างข้อความคดิ หรือตัวแปรหลายๆ ตวั แปร ซ่ึงข้อความเหล่านี้สามารถทดสอบได้ ทฤษฎีมีความสำคัญมากต่อการสร้างกรอบแนวความคิด เพราะการศึกษาทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง จะช่วยในการจัดระเบียบความรู้ในเรื่องนั้นๆ ให้เป็นระบบ ทำให้ ผู้วิจัยทราบว่ามีตัวแปรใดบ้างท่ีสำคัญ และมีความหมายต่อการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่าง เหตกุ ารณต์ ่างๆ ทีเ่ กดิ ขนึ้ และ ยังชว่ ยในการต้งั สมมติฐานและคาดคะเนปรากฏการณท์ ีจ่ ะเกิดข้ึนได้ ทฤษฎี หมายถึงข้อกำหนดท่ีแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของโครงสร้าง ความคิดรวบยอด และตัว แปรต่างๆ เพ่ือให้สามารถอธิบาย และคาดการณ์ปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้น การเกิดทฤษฎีต่างๆ น้ัน เกิดขึ้นจากการศึกษาค้นคว้าทดลองกับข้อมูลเป็นเวลานาน จนได้ความรู้จริง ที่เชื่อถือได้ ทฤษฎี สามารถเปล่ียนแปลงได้ตามสถานการณ์ สภาพ และตามกาลเวลา หรือบางคร้ังในกรณีที่มีผู้สามารถ นำหลักฐานมาพสิ จู นล์ บลา้ งได้ ตัวอย่างเช่น ผู้วิจัยมีความต้องการที่จะทำ งานวิจัย ด้านการบริหารรัฐกิจ หรือ การบริหาร กิจการงานของหน่วยงานภาครัฐ ดังนนั้ แนวคิด หรือทฤษฎีทคี่ วรจะนำมาอ้างอิงกค็ วรจะเก่ยี วข้องกับ การบริหารรฐั กจิ เป็นสำคัญ

การวิจัยเพื่อพฒั นาการเรียนรู้ ๑๕ แนวคดิ ระบบการบริหารราชการของแม็ค เวเบอร์ (Maxx Weber) แม็ค เวเบอร์ เป็นนักสังคมวิทยาชาวเยอรมันแต่สำเร็จการศึกษาด้านกฎหมาย เป็นบุคคล แรกท่ีเสนอแนวคิดเก่ียวกับโครงสร้างขององค์การในรูปแบบอุดมคติ (Ideal Type) ซึ่งสาระสำคัญ ขององค์การแบบราชการในทศั นะของ แม็ค เวเบอร์ น้นั มีลักษณะเด่น ดงั นี้ ๑) หลกั การแบง่ กันทำงานตามความถนดั (Division of Work) ๒) การจดั โครงสรา้ งองค์การลดหลัน่ ไปตามลำดบั ช้ัน (Hierarchy) ๓) การมกี ฎ ระเบยี บ ขอ้ บังคับ และวธิ ีปฏบิ ัติ (Rules Regulation and Procedures) ๔) ความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลเปน็ แบบทางการ หรือไม่ยดึ ถอื ตัวบคุ คล (Impersonal Relationship) ๕) คณุ สมบตั ิทางดา้ นวชิ าชพี (Professional Qualities) ๖) ความกา้ วหน้าในตำแหนง่ หนา้ ทกี่ ารงาน (Career Aspects) ๗) อำนาจหนา้ ที่ (Legal Authority) โดยในแต่ละข้อก็ควรจะมีการอธิบายรายละเอียดประกอบเอาไว้ด้วยพอสังเขปมีความหมาย อย่างไรบ้าง และควรสรุปในตอนท้ายของทฤษฎี ด้วยแนวความคดิ ของผู้วิจัยเองว่า สาเหตทุ ี่อ้างอิงถึง ทฤษฎีดังกล่าวมาใช้ประกอบงานวิจัยนั้น มีความสอดคลอ้ งหรือขัดแย้งกบั งานวิจัยชิ้นนั้นๆ ของผวู้ ิจัย เอง สอดคล้อง สอดคล้องอย่างไร หากขัดแย้ง จะขัดแย้งอย่างไร เพื่อเป็นการสรุปโดยสังเขปถึง ขอบเขตงานวิจยั ของผูว้ ิจัยเอง นอกจากน้ี ทฤษฎี หรือแนวคิดที่จะนำมาใช้ในงานวิจัยน้ัน ผู้วิจัยควรคำนึงถึงองค์ประกอบ เหล่าน้ีดว้ ย กลา่ วคอื ๑.ทฤษฎีที่อ้างถึงจะต้องช่วยกำหนดแนวความคิดและการแยกประเภทของปรากฏการณ์ที่ เกิดขึน้ ในงานวิจัย ๒.ทฤษฎีท่ีอา้ งถึงจะตอ้ งช่วยกำหนดจุดมุ่งหมายและวัตถปุ ระสงค์ของศาสตร์แต่ละสาขา เช่น การบริหาร ก็จะต้องมีจุดมุ่งหมายเพื่อแสวงหาปัญหาที่เกิดจากการบริหาร ปัญหาท่ีเกิดจากนโยบาย ในการบริหาร หรือปัญหาท่ีเกิดจากการนำนโยบายดังกล่าวไปปฏิบัติ หรือด้านการตลาด ก็จะต้อง มจี ุดมุ่งหมายเพ่ือแสวงหาบุคลิกภาพของตราสินค้าประเภทต่างๆ สำหรับนำไปกำหนดแผนการตลาด ได้ในอนาคต เป็นต้น ๓.ทฤษฎีที่อ้างถึงจะต้องช่วยสรุปข้อเท็จจริงของศาสตร์แต่ละสาขา ซ่ึงทฤษฎีและแนวคิด ท่ีนำมาอ้างอิงจะมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในตอนสรุปและอภิปรายผลในตอนท้าย ว่ามีความ สอดคลอ้ งหรอื ขัดแย้งกับแนวทฤษฎีทีน่ ำมาอา้ งองิ อย่างไร ๔.ทฤษฎีที่อ้างถึงมีบทบาทในการทำนายหรือพยากรณ์อย่างไรทฤษฎีสามเหลี่ย ม อาชญากรรมได้พยากรณ์โดยสรุปเอาไว้ว่า เมื่อมีผทู้ ่ีตั้งใจกระทำผิด เหยื่อ และเวลาโอกาสทเ่ี หมาะสม มาอยู่ร่วมกัน ย่อมมีการเกิดอาชญากรรมขึ้นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เป็นเช่นน้ีทุกคร้ังไป แต่เมื่อผู้วิจัย ดำเนนิ งานวิจยั เสร็จสนิ้ แล้ว งานวิจัยช้ินนั้นอาจพบวา่ การเกิดอาชญากรรมต้องมมี ูลเหตจุ ูงใจอย่างอ่ืน ควบคกู่ นั ไปดว้ ย ไมเ่ ฉพาะแตต่ ามทฤษฎสี ามเหลี่ยมอาชญากรรมเท่านนั้ เปน็ ตน้ ทฤษฎีที่นำมาอ้างอิงในงานวิจัย ยังเป็นตัวกำหนดหรือเป็นแนวทางในการจัดทำ กรอบ แนวคดิ ทีใ่ ช้ในการวจิ ัยด้วย

การวิจยั เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้ ๑๖ ๒.๓ รูปแบบการวจิ ยั ๒.๓.๑ ประเภทและรูปแบบของงานวิจยั การจำแนกประเภทการวิจัยสามารถจำแนกออกเป็นประเภทต่างๆ ได้หลายประเภทท้ังนี้ ข้ึนอยู่กับเกณฑ์ในการพิจารณาว่าจะยึดสิ่งใดเป็นเกณฑ์ในการแบ่งประเภท การวิจัยอาจแบ่งได้เป็น ประเภทใหญ่ๆ ไดด้ ังน้คี อื ๑. การวิจัยตามศาสตร์ ๒. การวิจยั ตามวัตถุประสงค์ ๓. การวจิ ยั ตามการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๔. การวิจยั ตามระเบียบวธิ ีวจิ ัย ๑. ประเภทการวิจัยตามศาสตร์ ๑.๑ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science) เป็นการวิจัยตาม ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติซึ่งมีท้ังส่ิงที่มองเห็นและสิ่งที่มองไม่เห็น สิ่งที่มีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา อาจเรียกว่าการวิจัยทางวิทยาศาสตร์หรือ Pure science research การวิจัย ประเภทนจ้ี ะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์มากมาย เช่น รถยนต์ ยารกั ษาโรค ๑ .๒ ก ารวิจั ย ท างสั งค ม ศ าส ต ร์ (Social Science)เป็ น ก ารวิจั ย เกี่ ย ว กั บ สภาพแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และพฤติกรรมของมนุษย์ เช่น เร่ืองจิตวิทยา พฤติกรรมทางสังคม ของมนุษยป์ รากฏการณท์ างสงั คม การอยรู่ ว่ มกันในสงั คม วฒั นธรรม อารยธรรม ๒. ประเภทการวจิ ัยตามวัตถุประสงค์ ๒.๑ การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธ์ิ (Basic or Pure Research) หมายถึง การวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความอยากรู้ของมนุษย์ หรือเพื่อเพ่ิมความรู้ของมนุษย์ มิได้มี วตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อใชป้ ระโยชน์จากผลการวิจยั นัน้ ๆ ๒.๒ การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หมายถึงการวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพ่ือนำผลท่ีได้ไปทำประโยชน์ให้แกมนุษย์ เพ่ือทำให้ชีวิตมนุษย์มีความสุข และสะดวกสบายยิ่งข้ึน ซ่งึ ได้แก่ - การวจิ ัยปรับใช้ (Adaptive Research) - การพัฒนาโดยการทดลอง (Experimental Development) - การวจิ ยั เชิงตรวจสอบ (Exploratory Research) - การวิจยั เพือ่ การพยากรณ์ (Prediction Research) - การวิจัยเพอ่ื การวางแผน (Planning Research) - การวจิ ัยเพื่อการพฒั นา (Development Research) ๒.๓ การวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action Research) หมายถึง การวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพ่อื นำผลที่ได้ไปปรับปรงุ งานเฉพาะหนา้ ที่หรืองานในหนา้ ทีข่ องตน เช่น การวิจัยในช้ันเรยี น

การวจิ ัยเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ ๑๗ ๓. ประเภทการวจิ ัยตามวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๓.๑ การวิจัยเอกสาร (Documentary research) เป็นการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิ การวิจัยประเภทน้ีผู้วิจัยจะทำการค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากการอ่านเอกสารต่างๆ ซ่ึงเป็นบันทึก เรอ่ื งราวหรือเหตุการณต์ ่างๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั งานวจิ ัย ๓.๒ การวิจัยจากสนาม (Field research) การวิจัยประเภทน้ีผู้วิจัยจะต้องเก็บ รวบรวมข้อมูลใน “สนาม” ซง่ึ หมายถงึ สถานที่ทีม่ ีข้อมูลการวจิ ัยอยูแ่ ลว้ โดยธรรมชาติ ไดแ้ ก่ - การวจิ ยั โดยการสังเกตการณ์ (Observation Research) - การวิจยั แบบสำมะโน (Census Research) - การวจิ ยั แบบสำรวจ (Survey Research) - การวจิ ัยกรณี (Case Study หรอื Intensive Investigation) - การวจิ ยั เชงิ การทดลอง (Experimental Research) ๔. ประเภทการวิจยั ตามระเบียบวธิ ีวจิ ยั ๔.๑ การวิจัยเชิงพรรณนาหรือแบบบรรยาย (Descriptive research) หมายถึง การวิจัยที่ผู้วิจัยมุ่งหาคำตอบเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสภาพปัจจุบัน บรรยายสภาพคุณลักษณะ คณุ สมบัติ รายละเอยี ดของเหตุการณ์ แต่ไม่แสวงหาคำอธิบายวา่ ปรากฏการณน์ นั้ เกดิ ขนึ้ ได้อย่างไร ๔.๑.๑ วัตถุประสงค์ของการวจิ ัยเชิงพรรณา - รวบรวมขอ้ มูลปัจจุบันวา่ มีข้อเท็จจรงิ อยา่ งไร - นำขอ้ มลู ปจั จบุ นั ไปอธิบายประเมินผลหรือเปรียบเทียบ - ศึกษาความสมั พนั ธ์และแนวโน้มของเหตุการณป์ จั จบุ ัน ๔.๑.๒ ลักษณะข้อมูลวิจยั เชิงพรรณนาหรอื บรรยาย - ขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ (Quantitive data) เช่น เน้อื ที่ น้ำหนัก อายุ - ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ (Qualitive data) ไดจ้ ากการสมั ภาษณ์ เช่น ทศั นคติ ความเหน็ ดชั นี (Index) มาตราวัด (Scale) ๔.๑.๓ ชนดิ ของการวจิ ัยเชิงพรรณา - การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) หมายถึงการวิจัยที่มุ่ง ศึกษาเพ่ือให้ได้ข้อสรุปทั่วๆ ไปของสิ่งที่จะศึกษาน้ันๆ ไม่ได้เจาะลึกหรือเพ่ือให้ได้ข้อมูลอย่างละเอียด สามารถนำผลท่ีได้จากการศกึ ษาไปวางแผนตลอดจนชว่ ยแก้ปญั หา หรือปรบั ปรงุ สภาพให้ดีขน้ึ ได้ - การวิจัยเชิงความสัมพันธ์ (Correlational Research) หมายถึง การวจิ ัยทมี่ ุ่งศกึ ษาสภาพความสัมพนั ธข์ องตัวแปรตั้งแต่ ๒ ตัวขึ้นไป - การวิจัยเชิงศึกษาพัฒนาการ (Developmemtal Research) เป็นการวจิ ยั เพือ่ หาขอ้ เท็จจริงเก่ยี วกบั วิวฒั นาการของบคุ คล หนว่ ยงาน สตั ว์ พืช - การวิจัยแนวโน้ม (Trend Research) เป็นการวิจัยที่ศึกษา ความเปลีย่ นแปลงหรอื พฒั นาการตัง้ แต่อดตี จนถึงปจั จุบัน เพอื่ หาขอ้ สรปุ หรอื แนวโนม้ ในอนาคต ๔.๒ การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เป็นการวิจัยที่จัดให้มี การกระทำตา่ งไปจากสภาพธรรมชาติ การจัดกระทำดังกลา่ วเรียกว่า “การทดลอง” ดังนน้ั การวิจยั เชิง

การวจิ ัยเพือ่ พฒั นาการเรยี นรู้ ๑๘ ทดลองจึงเป็นการวิจัยท่ีผู้วิจัยทำการทดลองและรวบรวมข้อมูลเพ่ือหาข้อสรุปเกี่ยวกับข้อมูลที่ถูก จัดทำขึน้ ๔.๒.๑ ชนดิ ของการวิจัยเชิงทดลอง - การวิชัยเชิ งกึ่งท ดล อง (Quasi-Experimental Research) เปน็ การวิจัยท่ีผูว้ ิจัยไม่สามารถควบคุมการทดลองหรอื กำหนดรูปแบบการวิจัย ควบคุมตัวแปรไดอ้ ย่าง เข้มงวดตามท่ตี ้องการ - ก ารวิจั ย เชิ งท ด ล อ งแ ท้ (True-Experimental Research) เป็นการวจิ ัยที่ผู้วจิ ยั สามารถกำหนดรูปแบบการวจิ ัยและควบคมุ ตวั แปรต่างๆ ได้ตามทีต่ ้องการ ๔.๓ การวิจัยเชิงอธิบาย (Explainatory research) เป็นการวิจัยที่มุ่งตอบปัญหาว่า อย่างไรและทำไม เช่น อัตราของการติดยาเสพติดในกลุ่มอาชีพ โดยเป็นการวิจัยท่ีหาเหตุผลว่าทำไม คนบางกลุ่มติดยา ๔.๔ การวิจัยเชงิ ปริมาณ (Quantitative research) เป็นการวิจัยท่ีเน้นการใช้ขอ้ มูล ทเี่ ป็นตวั เลขยนื ยนั ความถกู ต้องของข้อคน้ พบและข้อสรปุ ตา่ งๆ เป็นการวจิ ยั ทมี่ คี ุณภาพ ๔.๕ การวิจัยเชิงคณุ ภาพ (Qualitative research)เป็นการวจิ ัยทเ่ี นน้ หารายละเอียด ต่างๆ อย่างลึกซึ้ง ไม่มุ่งเก็บตัวเลขมาวิเคราะห์ให้ได้คำตอบที่ใช้ได้อย่างกว้างขวาง อาจเรียกว่า\"การ วจิ ัยทางมานุษยวทิ ยา\" หรือ \"การวจิ ัยแบบเจาะลึก\" ๔.๖ การวิจัยแบบตดั ขวาง (Cross - sectional research) เปน็ การวจิ ัยทใี่ ช้ ระยะเวลาในการวจิ ยั สั้นในการเกบ็ ข้อมลู หรอื เปน็ การเกบ็ ขอ้ มลู เพยี งครั้งเดยี วแลว้ วเิ คราะห์หาความ แตกต่างหรือความสัมพันธร์ ะหว่างตัวแปรต่าง ๆ หรืออาจจะเก็บขอ้ มลู หลายๆ คร้ังแต่ระยะเวลาใน การเก็บไมห่ ่างกันมากนกั ๔.๗ การวิจัยระยะยาว (Longitudinal study) เป็นการวิจัยที่มีการเก็บข้อมูล มากกว่า ๑ ครั้ง แล้วนำข้อมูลมาเปรียบเทียบ มีหลายแบบ เช่น เก็บตัวอย่างจากกลุ่มเดียวหลายคร้ัง (Panel studies) หรอื เปลี่ยนกลุม่ ตวั อย่างทกุ ครง้ั (Successive sample) ๔.๘ การวิจัยกรณีศึกษา (Case Study Research) เป็นการวิจัยที่ศึกษาในวงแคบ คอื การศกึ ษาเป็นรายกรณี แต่มุ่งศึกษาให้รายละเอียดลึกซึ้งจนหาข้อสรุปไดช้ ัดเจน เช่น เลือกหมู่บ้าน อำเภอ แล้วศกึ ษาอย่างละเอียด ขอ้ จำกัดของผลการวิจยั คือ ไมอ่ าจใช้ได้อยา่ งกวา้ งขวาง ๕. การใชเ้ กณฑอ์ นื่ ๆ เพื่อจำแนกประเภทการวจิ ัยอาจจำแนกโดย ๕.๑ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการวิจยั เช่น การวจิ ยั พืน้ ฐาน ประยกุ ต์ เชิงปฏิบัติ ๕.๒ คณุ ลกั ษณะข้อมูล เช่น การวจิ ยั เชิงปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ ๕.๓ ระดับการศกึ ษาของตวั แปร เชน่ การวิจัยเพอ่ื สำรวจเพอ่ื ตรวจสอบสมมตฐิ าน ๕.๔ ชนดิ ของข้อมูล เช่น ข้อมูลปฐมภมู ิ และ ขอ้ มูลทุตภิ ูมิ ๕.๕ ลักษณะการศกึ ษาตวั แปร เชน่ เชิงสำรวจ ศกึ ษาย้อนหลงั เชงิ ทดลอง ๕.๖ ระเบียบวธิ กี ารวิจัย เชน่ เชิงประวตั ศิ าสตร์ เชิงพรรณนา เชงิ ทดลอง

การวจิ ัยเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ ๑๙ ๒.๔ กระบวนการวจิ ัย ความสำคัญของการสร้างแนวคิดในการวิจัยการสร้างแนวคิดในการวิจัย เป็นกระบวนการ วิเคราะห์ความหมายของแนวคิดหรือความสัมพันธ์ของแนวคิดจากระดับท่ีเป็นนามธรรม (abstract) ลงมาสู่ระดับที่เป็น รูปธรรม (concrete) ในลักษณะที่สัมพันธ์ สอดคล้องซึ่งกันและกัน กล่าวอีกนัย หน่ึงเป็นกระบวนการวิเคราะห์เช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหวา่ งแนวคิด (concept) ที่เป็นนามธรรมกับ ระดับปฏบิ ัติ (operation) ทเี่ ปน็ รปู ธรรม การวิจัยเป็นกระบวนการอย่างมีระบบ(systematic process) ซึ่งประกอบด้วย ข้ันตอน สำคัญ ๑๐ ข้ันตอน ไดแ้ ก่ ๑.การกำหนดประเดน็ ปัญหาวิจัย ๒.การทบทวนทฤษฎี แนวคดิ และผลงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ๓.การกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ ๔.การตั้งสมมติฐานและกำหนดตัวแปรท่เี กยี่ วข้อง ๕.การออกแบบการวจิ ัย ๖.การสร้างเคร่ืองมือและตรวจสอบคุณภาพของเครอ่ื งมอื ๗.การรวบรวมขอ้ มลู ๘.การวิเคราะห์ข้อมลู ๙.การแปลความหมายขอ้ มูล ๑๐.การรายงานผลวจิ ยั ๑ กระบวนการวจิ ยั ทงั้ ๑๐ ขน้ั ตอนดังกล่าว อาจจำแนกไดเ้ ป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนท่ี ๑ เป็นขั้นตอนวางแผนการวิจัย เร่ิมต้ังแต่การกำหนดประเดน็ ปญั หาวจิ ัย การทบทวน ทฤษฎี แนวคิดและผลงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง การกำหนดวัตถุประสงค์ การต้ังสมมติฐานและกำหนดตัว แปรที่เกยี่ วขอ้ ง และการออกแบบการวจิ ัย (ขน้ั ตอนท่ี ๑-๕) ในขัน้ ตอนน้ี จำตอ้ งอาศัยแนวคิด ทฤษฎี ความรู้ และประสบการณ์ต่าง ๆ อย่างมาก จึงนิยมเรียกส่วนน้ีว่าเป็น “กระบวนการสร้างแนวคิด” (conceptualization) ส่วนที่ ๒ เป็นขั้นตอนสืบเน่ืองจากส่วนท่ี ๑ เป็นการดำเนินการเก่ียวกับการเก็บรวบรวม ข้อมูลภาคสนามแล้วนำมาวิเคราะห์ โดยอาศัยวิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบสมมติฐานท่ีต้ังไว้ (ขั้นตอน ท่ี ๖-๑๐) ในขนั้ นี้ ส่วนใหญเ่ ปน็ งานปฏบิ ัติ จึงนยิ มเรียกว่า ข้ัน “ปฏบิ ัตกิ าร” (operation) กระบวนการวิจัยแตล่ ะขั้นตอนนน้ั มคี วามสำคญั และมีความสมั พนั ธ์ เชอ่ื มโยงเป็นลูกโซ่ นักวจิ ัยทีป่ ระสบความสำเรจ็ จะตอ้ งสามารถวางแผนและดำเนินการวจิ ัยไดส้ มบรู ณ์ครบถ้วนทกุ ขน้ั ตอนแบบครบวงจร การสร้างแนวคดิ นัน้ มีความสำคัญมากสำหรับการวิจยั ก่อนที่จะลงมือไป รวบรวมและวเิ คราะหข์ ้อมลู นกั วิจัยทข่ี า้ มขั้นตอนไปเก็บรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมลู เลย โดยไมไ่ ด้ ๑ สวุ มิ ล ตริ กานันท์, ระเบียบวิธกี ารวจิ ัยทางสงั คมศาสตร์: แนวทางสกู่ ารปฏิบัติ, พิมพค์ รัง้ ท่ี ๒, กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๓.

การวิจยั เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ ๒๐ มกี ารสรา้ งแนวคิด ทฤษฎีกอ่ นนน้ั จะไม่กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์หรือสร้างความก้าวหนา้ แก่องคค์ วามรู้ ในสาขาวิชาน้นั แตป่ ระการใด๒ ๒.๔.๑ การสร้างแนวคิดเพื่อเช่อื มโยงระหว่างปัญหาวตั ถปุ ระสงค์ และ สมมตฐิ าน ในการวิจัยน้ัน การกำหนดปัญหาการวิจัยมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงใกล้ชิดกันมากกับการ กำหนดวัตถุประสงค์และสมมติฐาน โดยอาศัยวิธีการทบทวนทฤษฎี แนวคิดและผลงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกระบวนการดังกล่าวเป็นการสร้างแนวคิดตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนั่นเอง โดยอาจจำแนก ไดเ้ ปน็ ลำดับขน้ั ตอนดงั นี้ ๒.๔.๑.๑ ปัญหา นักวิจัยจะเผชิญกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ แล้วเกิดความอยากรู้อยากเห็นว่าทำไม จึงเกิดเหตุการณ์เช่นนั้น ในขั้นเริ่มต้นนักวิจัยมักจะประสบกับอุปสรรค ในการทำความเข้าใจกับ ปรากฏการณ์ดงั กล่าว ซ่ึงนักวจิ ัยอาจจะสังเกตไดห้ รือไม่สามารถสงั เกตได้ บางครั้งอาจเข้าใจลางเลอื น หรือคลาดเคลื่อน ดังนั้น ขั้นตอนสำคัญ ก็คือ นักวิจัยจะพยายามสร้าง “ความคิด” (idea) ให้เกิดข้ึน ว่า ปญั หาเกีย่ วข้องคืออะไร ในขน้ั นี้ ปัญหาทไี่ ด้คงเป็นแคภ่ าพลางเลือน และกว้าง จึงเป็นการยากมาก ทจ่ี ะได้ปัญหาท่ีชัดเจน นักวจิ ยั จะต้องใชค้ วามเพยี ร พยายาม คิดทบทวนเกีย่ วกับสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน โดยอาศัยความรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่ช่วย นักวิจัยอาจอาศัยการค้นคว้าจากเอกสารและรายงาน วิจัยที่เก่ียวข้องด้วย หลังจากนั้น ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาจะเร่ิมชัดเจนมากข้ึนเป็นลำดับ ในท่ีสุด นักวจิ ัยจะสามารถกำหนดขอ้ ความ ปัญหาท่ีชดั เจนได้ ๒.๔.๑.๒ การกำหนดวัตถุประสงค์และสมมติฐานการวจิ ยั ภายหลังจากสามารถกำหนดปัญหาการวิจัยได้โดยผา่ นการคิดวิเคราะห์แลว้ นักวิจัย มักจะคิดทบทวนเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาโดยอาศัยความรู้ ทฤษฎี และประสบการณ์ที่ผ่านมา รวมทั้งการสังเกตปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนหรือปรากฏการณ์ใกล้เคียงเปรียบเทียบด้วยเพ่ือให้เกิด ความแน่ใจในท่ีสุด นักวิจัยจะสามารถเปล่ียนจากประเด็นปัญหาไปเป็น”วัตถุประสงค์”ได้ โดยที่ การกำหนดวัตถุประสงค์เป็นการบอกเจตจำนงของผู้วิจัยว่าต้องการดำเนินการอย่างไร ต่อจากน้ัน จึงกำหนด “สมมติฐาน” ซ่ึงก็คอื ข้อความเชิงคาดคะเน ทแี่ สดงถงึ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างปรากฏการณ์ หรือตัวแปรตัง้ แตส่ องตัวขน้ึ ไป ๒.๔.๑.๓ การสงั เกตการณ์-การทดสอบ-การทดลอง ขั้ น ต อ น ก า ร สั งเก ต ก า ร ณ์ -ก า ร ท ด ส อ บ -ก า ร ท ด ล อ งน้ี เป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ของกระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ หากนักวิจัยได้กำหนดปัญหาการวิจัยชัดเจน วัตถุประสงค์ และกำหนดสมมติฐานถูกต้องสมบูรณ์ดีแล้ว ข้ันตอนของการสังเกตการณ์-การทดสอบ-การทดลองนี้ กจ็ ะเกิดขึ้นตามมา ๒ บญุ เลศิ ศุภลิดก, กระบวนการสรา้ งแนวคดิ , (ออนไลน์) เข้าถงึ จาก www.stou.ac.th /Thai/schools/sca/information (2004,March3), สืบค้นเม่อื ๗ มถิ ุนายน ๒๕๖๐.

การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ ๒๑ โดยสรุป ข้ันตอนทั้งหมดท่ีกล่าวมาแล้ว ตั้งแต่กระบวนการสร้างแนวคิด เพื่อเช่ือมโยง การกำหนดปัญหา วัตถุประสงค์และสมมติฐาน ตลอดจนการกำหนด ตัวแปรนั้นเป็นกระบวนการ ค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ที่จะต้องอาศยั การสร้างความคิด ความรู้ และทฤษฎขี องนักวจิ ยั ๒.๕ การกำหนดปญั หาการวจิ ัย ปัญหาการวิจัย คือ ประเด็นที่นักวิจัยสงสัยและต้องการดำเนินการเพ่ือหาคำตอบท่ีถูกต้อง ตรงกับความเป็นจริง ทำให้มีลักษณะข้อสงสัยของผู้วิจัยต่อสถานการณ์ทั้งท่ีเป็นความแตกต่าง และไม่แตกต่างระหว่างส่ิงท่ีเป็นจริงกับสิ่งท่ีคาดหวัง และท่ีสำคัญปัญหานั้นไม่สามารถหาคำตอบ ดว้ ยสามัญสำนึก จากความหมายของปัญหาการวิจัยดังกล่าวมีความแตกต่างจากปัญหาท่ัวไป คือปัญหาทั่วไป หมายถึง สภาพที่เป็นความขัดแย้งระหว่างสิ่งท่ีเป็นจริงกับสิ่งที่คาดหวัง แต่ปัญหาการวิจัย อาจเป็นเรื่องที่ใช่ความแตกต่างหรือไม่แตกต่างระหว่างสิ่งที่เป็นจริงกับสิ่งท่ีคาดหวังก็ได้ และต้องไม่ สามารถแก้ไขได้ด้วยสามัญสำนึก ถ้าปัญหาใดที่สามารถแก้ไขได้ด้วยสามัญสำนึกก็ไม่จำเป็นต้องทำ การวิจยั ดังน้ัน การกำหนดปัญหาการวิจัย จึงเป็นเร่ืองท่ีไม่ง่ายนักสำหรับนักวิจัยที่จะกำหนดปัญหา การวิจัยที่ง่าย ชัดเจน และครบถ้วนสมบูรณ์ นักวิจัยส่วนมากอาจมีแนวความคิดท่ีสลับซับซ้อน บางคนอาจใช้ระยะเวลายาวนานในการสร้างแนวคิด และวิเคราะห์ ก่อนท่ีจะสามารถตัดสินใจได้ว่า ปัญหาการวิจัยท่ีเขาต้องการจะหาคำตอบทีแ่ ทจ้ รงิ คืออะไร เพ่ือให้เห็นภาพความแตกต่างระหวา่ งปัญหาการวิจยั และปัญหาท่ัวไปยกตวั อยา่ งปญั หาท่ี น่าสนใจ ๑. ผเู้ รียนทีไ่ ม่ตอบข้อสอบอัตนัยมีพฤติกรรมอย่างไร ๒. นักวจิ ัยท่มี ีจรรยาบรรณวัดจากตวั บ่งชใี้ ดได้บ้าง ๓. เพราะเหตใุ ดที่ทำให้การจราจรในกรงุ เทพมหานครตดิ ขัด จากปัญหาเบื้องต้นท่านคิดว่าปัญหาข้อใดเป็นปัญหาการวิจัย การท่ีจะตอบคำถามได้ต้องมี ความเขา้ ใจความแตกต่างของปัญหาการวิจยั กบั ปัญหาทัว่ ไปก่อน ดงั ทกี่ ล่าวไป ปัญหาข้อ ๑ ผู้เรียนท่ีไมต่ อบข้อสอบอัตนัยทุกข้อเลยเปน็ บุคคลที่มีพฤติกรรมอย่างไร เป็นข้อ สงสัยของผู้วิจัยต่อสถานการณ์ท่ีเป็นความแตกต่างระหว่ างส่ิงท่ีเป็นจริงกับส่ิงที่คาดหวัง และไม่สามารถคิดคำตอบโดยใช้สามัญสำนึก (สิ่งที่คาดหวัง คือผู้เรียนทุกคนควรตอบข้อสอบอัตนัย เพอ่ื ใหส้ ามารถวัดความคดิ วเิ คราะหข์ องผเู้ รยี นได้) จงึ เปน็ ปัญหาการวจิ ัย ปัญหาข้อ ๒ นักวิจัยทีมีจรรยาบรรณวัดจากตัวบ่งชี้ใดได้บ้าง เป็นข้อสงสัยของผู้วิจัยต่อ สถานการณ์ท่ีไม่ได้เป็นความแตกต่างระหว่างสิ่งท่ีเป็นจริงกับสิ่งที่คาดหวัง แต่ไม่สามารถคิดคำตอบ โดยใช้สามัญสำนกึ จงึ เปน็ ปญั หาการวจิ ยั ปัญหาข้อ ๓ เพราะเหตุใดท่ีทำให้การจราจรในกรุงเทพมหานครติดขัด เป็นปัญหาท่ีมีต่อ สถานการณ์ที่เป็นความแตกต่างระหว่างสิ่งท่ีเป็นจริงกับสิ่งท่ีคาดหวัง และสามารถหาคำตอบด้วย สามัญสำนกึ จงึ ไมเ่ ป็นปัญหาการวจิ ัย

การวิจัยเพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ ๒๒ ท้ังนต้ี อ้ งคำนึงถึงลกั ษณะปญั หาทีด่ ี เพื่อเปน็ แนวทางในการตัดสนิ ใจเลอื กตวั ปญั หามาทำวจิ ยั ลักษณะของปัญหาทดี่ นี ั้นมีดงั น้ี ๑.เปน็ ปญั หาที่สำคญั มปี ระโยชน์ ทำใหเ้ กิดความรู้ใหมห่ รือใชป้ รับปรงุ แกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ ได้ ๒. เปน็ ปัญหาท่สี ามารถหาคำตอบได้ด้วยวิธกี ารวจิ ยั ๓. เปน็ ปัญหาที่สามารถหาข้อมูลมาตรวจสอบสมมตุ ิฐาน เพ่ือหาข้อสรุป ๔. เปน็ ปญั หาท่ีสามารถให้ค่านิยามปัญหาได้ ๕. เปน็ ปัญหาทสี่ ามารถวางแผนการดำเนินงานตามขั้นตอนไว้ลว่ งหนา้ ได้ ๖. เป็นปัญหาท่ีสามารถใช้วชิ าการ และขน้ั ตอน หรือเครื่องมอื ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพในการเก็บ ขอ้ มูลได้ ดังน้ันจะเห็นว่าการกำหนดปัญหาการวิจัยมีความสำคัญอย่างมาก นอกจากจะช่วยให้เรื่อง ที่จะทำการวิจัยแคบลง มีเป้าหมายแน่นอนแล้ว ยังช่วยชี้แนะแนวทางในการกำหนดวัตถุประสงค์ และสมมติฐาน การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผลวิจัยอีกด้วย อีกนัยหน่ึง ปัญหา การวิจัยเป็นเครื่องบ่งช้ีแนวทางการวิจัย ซ่ึงจะนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ หากกำหนดปัญหาการวิจัยถูกต้องชัดเจน การวจิ ัยย่อมจะประสบผลสำเร็จในการแก้ไขปญั หา แต่หาก ปญั หาการวจิ ยั ผิดพลาด การวจิ ัยยอมจะลม้ เหลวตามไปดว้ ย ๒.๕.๑ แหล่งทีม่ าของปัญหาการวจิ ยั ปญั หาการวิจัย ได้จากการค้นพบหรอื ค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลตา่ งๆ ไดด้ งั นี้ ๑. จากการอ่านตำรา บทความต่างๆ ที่ผู้วิจัยสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การอ้างอิง ทฤษฎีที่เก่ียวข้องในเรื่องท่ีตนเองสนใจทำวิจัย เพราะทฤษฎีจะช่วยช้ีนำว่ามีสิ่งใดท่ีควรทำวิจัย หรือบางครั้งทฤษฎีทำให้ผูท้ ำวิจัยจะตอ้ งทำการพจิ ารณาและวเิ คราะหก์ ่อนนำไปใช้ดว้ ย ๒. จากการวิจัยท่ีมีผู้อ่ืนได้ทำไว้แล้ว เช่นวารสารวิจัย หรือปริญญานิพนธ์ ซึ่งทำให้ ได้แนวความคิดที่จะเลือกหัวข้อปัญหาของงานวิจัยได้ และยังทราบได้ว่ามีผู้เคยทำวิจัยแล้ว หรอื ไม่ ขาดและจะตอ้ งเพมิ่ เตมิ อย่างไร และเพือ่ มใิ หเ้ กดิ ความซำ้ ซ้อนในงานวิจัยอีกด้วย ๓. จากประสบการณ์ และข้อคิดของผ้อู นื่ ๆ ท่ีเคยคลุกคลีกับงานวจิ ยั ๔. จากการจัดสัมมนา และมีการอภปิ รายในหัวข้อตา่ งๆ ถ้าผวู้ ิจยั สนใจ ๕. จากขอ้ โตแ้ ย้ง หรอื ขอ้ วิพากษว์ ิจารณ์ของบุคคลท่ีอยู่ในวงการวชิ าชพี นั้นๆ ซึง่ ตรง กบั เร่อื งทีผ่ วู้ ิจยั สนใจ ๖. จากสถาบนั หรือหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง ซึง่ อาจจะทำให้ได้แนวคดิ ในหวั ข้อของ การวิจยั ๒.๕.๒ หลักเกณฑ์ของการกำหนดปัญหาวิจยั ปัญหาการวิจัยท่ีดีควรจะเป็นอย่างไร แม้ว่าการเขียนปัญหาการวิจัยจะไม่มีหลักเกณฑ์ ตายตัวทีแ่ นน่ อน แต่การตง้ั ปญั หาการวิจัยควรมีหลกั เกณฑ์ทน่ี ำพจิ ารณา ๓ ประการ คือ ๑. ปัญหาควรปรากฏในรูปของ “ความสัมพันธ์” ระหว่างตัวแปรสองตัว หรือเกิน กว่าสองตัว เช่น A เก่ียวข้องกับ B ไหม A และ B เกี่ยวข้องกับ C อย่างไร A เก่ียวข้อง B โดย มเี งือ่ นไข C และ D หรอื ไม่

การวจิ ัยเพ่อื พัฒนาการเรียนรู้ ๒๓ ๒. ปัญหาต้องกำหนดให้ชัดเจน ไม่กำกวม โดยกำหนดในรูป “คำถาม” การต้ัง คำถามมีขอ้ ดที ำให้สามารถส่ือให้เหน็ ปญั หาได้โดยตรง ๓. การกำหนดปัญหาควรเขยี นในรปู ที่สามารถทดสอบเชิงประจกั ษ์ หรือ จากสภาพ ความเป็นจริงได้ ปัญหาการวิจัยนอกจากแสดง “ความสัมพันธ์” แล้ว ตัวแปรท่ีสัมพันธ์กันต้อง สามารถนำไป “วัดได้” (measured) ปญั หาในการกำหนดปญั หาวิจัย การกำหนดปัญหาการวิจัยเป็นเร่ืองยาก โดยเฉพาะสำหรับนักวิจัยท่ีเพิ่งเริ่มต้น ปัญหาท่ีพบ บอ่ ยท่สี ุดคือ ๑. ปัญหานักวิจัยทำการรวบรวมข้อมูลมาก่อน แล้วมาตั้งปัญหาภายหลัง ผลคือ ข้อมูลท่ีได้มานั้นไม่ครบถ้วนหรือไม่เพียงพอท่ีจะตอบปัญหาท่ีตั้งไว้ได้ วิธีแก้ก็คือควรกำหนดปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัยให้แน่นอน เสรจ็ แล้วจึงลงมือเกบ็ ข้อมูล ควรจำไว้ว่า ปัญหาการวิจัย เป็นตัว ช้ีแนะในการเก็บขอ้ มูล ไม่ใช้ขอ้ มูลเป็นตัวชีน้ ำการตั้งปญั หา ๒. การต้ังปัญหากำกวม ไม่เอ้ืออำนวยให้เก็บข้อมูลได้ ปัญหาที่ดีจะต้องอยู่ในรูป ของคำถามซึ่งประกอบไปด้วยตวั แปรอย่างน้อยสองตัว โดยท่ีตวั แปรเหล่าน้ันแสดงความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกนั ดว้ ย ตัวอย่างเช่น ก) X มีความสัมพนั ธ์กบั Y ใช่หรือไม?่ ข) X และ Y มีความสัมพันธก์ ับ Z อยา่ งไร? ค) X สัมพันธก์ บั Y ภายใต้เงอ่ื น A และ B อย่างไร? ๓. ปญั หากว้าง ความยากลำบากอย่างหน่ึงที่นักวิจัยเผชิญคือปัญหามีลักษณะ กว้างเกินไป ถ้าปัญหามีลักษณะกว้างมักจะครุมเครือ ไม่อาจทดสอบได้ จึงไม่มีประโยชน์ถึงแม้ จะน่าสนใจก็ตาม ปัญหาท่ีกว้างและครุมเครือเกินไป จะพบเห็นได้ในสังคมศาสตร์ เช่น “การศึกษา ประชาธิปไตยส่งเสริมการเรียนรู้ทางสังคมและการเป็นพลเมืองดี” “ลัทธิการใช้อำนาจในห้องเรียน ขัดขวางความคิดเชิงสร้างสรรค์ของเด็ก” ปัญหาเหล่าน้ีน่าสนใจแต่กว้างเกินไปจนไม่อาจนำไป ทดสอบได้ ๔.ปัญหาท่ีไม่ได้มาจากผลการวิจัย การตั้งปัญหาไม่ได้อาศัยพ้ืนฐานจากผลการวิจัย แบบจำลองและทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องแต่ประการใด วิธีแก้ก็คือ จะต้องสร้างปัญหาโดยอาศัยพื้นฐาน แนวคดิ จากผลการวจิ ยั แบบจำลองและทฤษฎีทีเ่ กี่ยวขอ้ งเสมอ ๒.๖ วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย ๒.๖.๑ การกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ วัตถุประสงค์ในการวิจัย เป็นส่ิงท่ีชี้นำให้รู้ว่า ท่ีทำการวิจัยในเรื่องนี้เพ่ือต้องการรู้อะไร เป็นข้ันตอนท่ีต่อจากการกำหนดปัญหาในการวิจัย การเขียนวัตถุประสงค์ท่ีดีจึงเป็นประตูเพื่อให้ สามารถคน้ หาความจริงที่ต้องการได้ เป็นทิศทางท่ีสามารถทำให้หาคำตอบได้ คือทำให้เกิดสมมติฐาน การเขยี นวัตถุประสงคก์ ารวจิ ัยมหี ลักเกณฑก์ ารเขยี น ดงั นี้

การวจิ ัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ๒๔ ๑. ต้องมีความสอดคล้องกับหัวข้อการวิจัยและปัญหาการวิจัย ๒. มีความเป็นไปไดท้ จ่ี ะทดสอบเพ่ือให้ได้คำตอบจากการวิจยั น้ี ๓. ใชป้ ระโยคบอกเลา่ ๔. ใช้ภาษาท่ีชดั เจน เข้าใจง่าย ๒.๖.๒ คำสำคัญท่ีใช้เขยี นวตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ศึกษา / เพ่อื สำรวจ / เพอื่ บรรยาย / เพอื่ อธบิ าย / เพื่อเปรยี บเทยี บ / เพอ่ื วิเคราะห์ เพอื่ สังเคราะห์ / เพือ่ ศกึ ษาความสัมพนั ธ์ / เพอ่ื ประเมิน / เพอ่ื พฒั นา ๒.๖.๓ วิธีการเขียนและตัวอยา่ งในการเขียนวัตถปุ ระสงค์ ๒.๖.๓.๑ เขยี นเป็นหัวขอ้ ใหญ่ๆ ๑. เพอ่ื ศกึ ษาสภาพสังคมของผ้ตู ิดเชือ้ เอดสท์ ี่มอี ายุอยู่ระหว่าง ๑๘-๒๔ ปี ๒. เพ่ือเปรียบเทียบความแตกต่างของระดับความรุนแรงของการติดเชื้อ เอดส์ตามระดบั การศกึ ษาเพศและอาชีพ ๒.๖.๓.๒ เขยี นเปน็ หวั ขอ้ ใหญ่และระบุรายละเอียดในหัวข้อยอ่ ย เช่น ๑.เพ่ือกำหนดองคป์ ระกอบ ความสัมพันธ์ และแนวทางดำเนินการในแต่ละ องค์ประกอบของระบบการพัฒนาให้องค์กรเกิดการประเมินแบบร่วมมือรวมพลัง และระบบการ ประเมินการเรียนรู้ตามแนวคดิ การประเมนิ แบบร่วมมอื รวมพลัง ๑.๑ เพ่ือศึกษาองค์ประกอบ ความสัมพันธ์ และแนวทาง ดำเนินการในแตล่ ะองคป์ ระกอบของระบบการพฒั นาให้องค์กรเกิดการประเมินแบบร่วมมือรวมพลงั ๑.๒ เพ่ือศึกษาองค์ประกอบ ความสัมพันธ์ และแนวทาง ดำเนินการในแต่ละองค์ประกอบของระบบการประเมินการเรียนรู้ตามแนวคิดการประเมินแบบ ร่วมมือรวมพลงั ๒.เพื่อทดลองใช้ระบบการพัฒนาให้องค์กรเกิดการประเมินแบบร่วมมือรวม พลงั และระบบการประเมนิ การเรยี นรตู้ ามแนวคิดการประเมนิ แบบรว่ มมือรวมพลัง โดย ๒.๑ เพ่ือนำระบบการพัฒนาให้องค์กรเกิดการประเมินแบบ รว่ มมอื รวมพลงั ทีพ่ ฒั นาขนึ้ ไปทดลองใช้ในภาควชิ าต่างๆ ๒.๒ เพ่ือนำระบบการประเมินการเรียนรู้ตามแนวคดิ การประเมิน แบบร่วมมอื รวมพลังที่พัฒนาข้นึ ไปทดลองใชใ้ นภาควิชาต่างๆทั้งรายวิชาภาคทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ ๒.๓ เพื่อศึกษาผลท่ีเกิดขึ้นจากการนำระบบในข้อ ๒.๑ และ ๒.๒ ไปใชไ้ ดแ้ ก่ ผลที่เกิดจากการทำงานรว่ มกนั ผลท่เี กดิ จากผู้สอน และผลทีเ่ กิดจากผเู้ รยี น ๒.๖.๓.๓ เขยี นแยกเป็นวัตถุประสงค์ทัว่ ไปกบั วตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ เชน่ ๒.๖.๓.๓.๑ วัตถปุ ระสงค์ท่ัวไปของการวจิ ยั ๑.ศึกษาคุณภาพของแบบสอบที่ใช้ในการคัดเลือก และ ความ เหมาะสมของรูปแบบในการสอบคัดเลือก ๒.๖.๓.๓.๒ วัตถุประสงคเ์ ฉพาะของการวจิ ัย ๑.ศึกษาคุณภาพของแบบสอบที่ใช้ในการสอบคัดเลือก โดย พจิ ารณาความเทย่ี งและความตรงของแบบสอบ

การวจิ ัยเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้ ๒๕ ๑.๒ ความเหมาะสมของรปู แบบในการสอบคดั เลือก โดยพิจารณา จากความคิดเห็นของผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียของการสอบคดั เลือก ๒.๗ สมมตฐิ านการวิจยั ๒.๗.๑ ความหมายและความสำคัญของสมมตุ ฐิ าน มีผูใ้ หค้ ำนยิ ามสมมตุ ฐิ าน มากมายแตกต่างกนั ขอยกตัวอย่างคำนยิ ามที่ใชก้ ันแพร่หลาย คือ เคอรล์ ินเจอร์ (Kerlinger)๓ ให้ความหมายของสมมตุ ิฐานว่าเป็น “คำกล่าวในเชงิ คาดคะเน เก่ยี วกบั ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตวั หรอื เกนิ กวา่ สองตัว” สมหวงั พิธยิ านวุ ัฒน์๔ ใหค้ วามหมายของการวิจัยวา่ เปน็ ความคาดหวังเกย่ี วกับเหตกุ ารณ์ ท่ไี ดจ้ ากการสรุปท่ัวไป ทีห่ วงั ว่าตวั แปร ๒ตวั หรอื หลายตัวจะมคี วามสัมพันธ์กนั อย่างใดอยา่ งหนงึ่ ดังนั้น จึงสามารถสรุปความหมายของสมมติฐานในการวิจัย คือ ข้อความที่คาดคะเนคำตอบ ของงานวิจัยไว้ล่วงหน้า เป็นการคาดเดาว่าผลการวิจัยของปัญหานั้นๆจะออกมาในลักษณะใด อาจเป็นการคาดคะเนข้อสรุปท่ียังไม่คงท่ีแต่อาจมีความจริง หรือคาดคะเนสถานการณ์บางอย่าง ท่ีมีความสัมพันธ์กัน การที่จะคาดเดาคำตอบได้ดีนั้นจะต้องมีเหตุผล และใช้สติปัญญาอย่างรอบคอบ เพือ่ จะเปน็ แนวทางในการดำเนินการตามกระบวนการวจิ ยั ขนั้ ต่อไป หลกั เกณฑ์ที่จะใช้พจิ ารณาวา่ สมมุตฐิ านใดเป็นสมมุติฐานที่ดีหรือไม่ ประกอบด้วยปัจจยั สาม ประการ คือ ๑) สมมตุ ิฐานเป็นคำกลา่ วเก่ยี วกับความสมั พันธ์ระหว่างตวั แปรตั้งแตส่ องตวั ขนึ้ ไป ๒) สมมตฐิ านสรา้ งขน้ึ จาก ความรู้ ทฤษฎี และผลการวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง ๓) สมมุตฐิ านสามารถทดสอบได้ อย่างไรก็ตามมกี ารวิจัยในเร่ืองตา่ งๆอีกมากมายทไี่ ม่สามารถทำการกำหนดสมมตุ ิฐานไว้ก่อน ล่วงหน้าได้ ทำได้แค่เพียง รวบรวมข้อมูลกว้างๆ เพ่ือเป็นแนวคิดสำหรับในเร่ืองน้ันต่อไป ท้ังนี้เพราะ ยังขาดประสบการณ์ ความรู้ ทฤษฎี และผลการวจิ ัยที่เก่ียวข้อง การวิจยั ทีม่ ีวตั ถุประสงค์กว้างๆ ไม่ได้ กำหนดปัญหาไวแ้ นน่ อนล่วงหนา้ เชน่ การวิจยั เชิงสำรวจ (Exploratory Research) สมมตุ ิฐานมคี วามสำคญั อย่างมากต่อการวจิ ยั ดงั น้ี ๑) ช่วยช้ีแนะแนวทางในการศกึ ษาคน้ ควา้ โดยจะชี้ให้ทราบวา่ จะค้นคว้าข้อมลู อะไร ๓ Kerlinger,F.N, Foundations of Behavioral Research, New York : Holt, Rinehart and Winston, 1973 p.18. ๔ สมหวงั พธิ ยิ านวุ ฒั น์. การกำหนดตวั แปรในการวจิ ัย. ในรวมบทความทางวิธวี ทิ ยาการวิจยั เลม่ ๒, โดยมี สมหวัง พธิ ยิ านวุ ฒั น์ เปน็ บรรณาธิการ, พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑ กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒๕๔๑.

การวจิ ัยเพื่อพฒั นาการเรียนรู้ ๒๖ ๒) ช่วยในการวางแผนรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล ทำให้การวิจัยมีจุด มุ่งหมายแน่นอนโดยเน้นในจดุ ใดจุดหน่งึ แทนท่จี ะรวบรวมขอ้ มลู โดยปราศจากจุดมงุ่ หมาย ๓) เป็นเครื่องเช่ือมโยงกับทฤษฎี สมมุติฐานบางประเภทได้มาจากทฤษฎีโดยการ อนุมานสมมตุ ฐิ านที่ทดสอบว่าถูกต้องแลว้ จะกลายเปน็ ทฤษฎีต่อไป ๔) เป็นเครือ่ งมือก่อให้เกิดความเจริญกา้ วหน้าทางวชิ าการ หน้าท่ีของสมมุติฐาน คือ ขยายขอบเขตของความรู้ท่ีพิสจู นแ์ ลว้ ใหก้ วา้ งขวางออกไป ๒.๗.๒ ประเภทของสมมตุ ฐิ าน สมมตฐิ านสามารถแบ่งตามลักษณะท่ีมาได้ ๓ ประเภทใหญๆ่ คือ ๑. สมมติฐานท่ีกล่าวว่า ความจริงในเร่ืองนั้น คืออะไร เป็นการพรรณนาถึง ข้อเท็จจรงิ ทป่ี รากฏ เช่น ประชาชนในกรงุ เทพมหานครในปัจจุบันมคี วามสนใจในประเพณสี งกรานต์มากข้ึน ผ้ปู กครองของนกั เรียนในประเทศไทยมกั ไมน่ ยิ มส่งบุตรหลานไปศกึ ษาต่อต่างประเทศ ๒. สมมติฐานท่ีกล่าวว่ามีปรากฏการณ์เหตุการณ์หรือพฤติกรรมอย่างใดอย่างหน่ึง เกิดขน้ึ อยา่ งสม่ำเสมอ หรือเป็นแบบแผนพฤตกิ รรมของกลมุ่ ใดกล่มุ หน่ึง เชน่ คนทอ่ี ยู่ในเมืองมักมีครอบครวั ท่เี ลก็ กว่าคนท่อี ยู่ในชนบท นกั เรียนทีเ่ รยี นตา่ งจังหวดั มักสอบเข้ามหาวทิ ยาลัยไม่ได้ ๓. สมมติฐานที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือองค์ประกอบ หรือ ความสัมพันธเ์ ชงิ สาเหตุระหว่างตัวแปร เชน่ การเล้ยี งดูของมารดานา่ จะมคี วามสัมพนั ธก์ ับความฉลาดทางอารมณ์ของเดก็ การหลบหนีเข้าเมืองของคนในประเทศเพื่อนบ้านน่าจะเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหา อาชญากรรมในเมือง ๒.๗.๓ แหล่งที่มาของสมมุติฐาน ๑. สมมุติฐานได้มาจากวัฒนธรรมที่ศาสตร์นั้นพัฒนาข้ึนมาวัฒนธรรมไทยก็เป็น แหล่งท่ีมาของสมมตุ ิฐานในการศึกษาสังคมไทย เช่น การเน้นในวงศาคณาญาติ พวกพ้องและการเน้น ในกำเนิดมากกวา่ ความสำเร็จ ใช้เปน็ สมมุติฐานในการศึกษาความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คล พฤติกรรมใน การบรหิ ารงานขององคก์ ารเอกชนและรัฐบาลและพฤตกิ รรมทางการเมือง เปน็ ต้น ๒. สมมุตฐิ านได้มาจากศาสตร์ตา่ งๆ ประกอบด้วยทฤษฎีซึ่งจะใหแ้ นวทางในการวิจัย ข้อเสนอต่างๆ ในทฤษฎี เราสามารถอนุมานสร้างเป็นสมมุติฐานได้ นอกจากน้ันความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ จะให้แนวทางในการต้ังสมมุติฐานได้เช่นกัน เช่น นักวิจยั อาจอนมุ านโดยต้ังเป็นสมมุติฐานว่า “เด็ก ท่ไี ม่ได้รับความรกั จากพ่อแม่ ทำให้เป็นเดก็ เกเร” และนำไปทดสอบจากความเป็นจรงิ ได้ ๓. สมมุติฐานได้จากการเปรียบเทียบ (analogy) จากศาสตร์อ่ืนๆ ซ่ึงให้สมมุติฐาน ที่เป็นประโยชน์ได้ เช่น วิชาศึกษาศาสตร์ได้สมมุติฐานจากวิชาจิตวิทยาสังคมซ่ึงพบว่า “การแสดง ปฏิกริ ิยาโต้ตอบระหว่างบุคคลทำให้บุคคลน้ันมีความเห็นสอดคล้องกัน” การวิจัยทางศึกษาศาสตร์ใช้ สมมุตฐิ านนค้ี ้นคว้าเกย่ี วกับกจิ กรรมกล่มุ ของผเู้ รียนในการพัฒนาความคดิ ๔. สมมุติฐานได้มาจากประสบการณ์ส่วนบุคคล นอกจากวัฒนธรรม ศาสตร์ และการเปรียบเทียบ จะให้สมมุติฐานแล้ว ประสบการณ์ของบุคคลก็ทำให้ได้สมมุติฐาน

การวิจยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ ๒๗ ท่ีเป็นประโยชน์ได้ ประสบการณ์อาจได้จากอาชีพการงาน ชีวิตประจำวัน และการศึกษาค้นคว้า ของแตล่ ะบุคคล ๕. สมมุติฐานได้มาจากผลของการวิจัยท่ีผู้อ่ืนได้ค้นพบไว้ เรานำสมมุติฐานน้ันๆ มาทดสอบกับการวิจัยของเราได้ ถ้าสมมุติฐานที่ทดสอบได้รับการยืนยัน ก็เท่ากับได้เพ่ิมน้ำหนัก สมมุติฐานนน้ั ๆ ใหม้ ากข้ึน ๖. สมมตุ ฐิ านอาจได้มาจากข้อสงสัยของนกั วจิ ัยเอง ขอ้ สงสยั นี้เม่อื ตัง้ เปน็ สมมุตฐิ าน อาจมีสว่ นสำคญั ในการเสริมสร้างศาสตร์ได้ สมมุติฐานที่ได้จากข้อสงสยั เมื่อนำไปทดสอบในการศกึ ษา หนึ่งยังมีข้อจำกดั ๒ ประการคอื ๖.๑ ไม่มีหลักประกันว่าความสมั พันธร์ ะหว่างสองตัวแปรทีพ่ บในการศึกษา ดังกล่าว จะพบในการศึกษาอ่ืน ๆ ด้วย ๖.๒ สมมุติฐานท่ีได้รับจากข้อสงสัยมักจะไม่เกี่ยวข้องกับความรู้อื่นๆ หรือ ทฤษฎี ดังน้ัน ผลจากการค้นพบท่ีได้จากสมมุติฐานชนิดนี้จึงเกี่ยวข้องกับความรู้ทางสังคมศาสตร์ไม่ ชัดเจนนกั ๒.๗.๔ เกณฑ์การต้งั สมมตฐิ านในการวจิ ัย ในการต้ังสมมติฐานการวิจัยอาจจะเป็นเรื่องยุ่งยากสำหรับผู้ที่เริ่มทำวิจัย เพราะไม่รู้ว่า สมมติฐานที่ต้งั เหมาะสมกับปัญหาการวิจยั และมีความชัดเจนหรือไม่ จงึ มีข้อเสนอท่ีเป็นเกณฑ์ในการ พิจารณาการต้ังสมมตฐิ านการวิจัย ดงั น้ี ๑. การทดสอบ สมมตฐิ านท่ีตั้งขึ้นต้องสามารถทดสอบไดภ้ ายในเวลาท่เี หมาะสม ๒. ความเกี่ยวข้องกับปัญหา สมมติฐานที่ต้ังขึ้นจะต้องมีความเกี่ยวข้องและมีความ เปน็ ไปได้กับปญั หาและวตั ถุประสงคท์ ีท่ ำวจิ ัย ๓. ความสมั พันธร์ ะหวา่ งตวั แปรหรือการเปรียบเทียบระหว่างกล่มุ ในการศกึ ษาตัว แปรหลายๆตวั สมมติฐานทีต่ ้ังขึ้นควรแสดงความสมั พันธ์ หรือความสัมพันธ์เชิงสาเหตรุ ะหว่างตวั แปร หรือมกี ารเปรียบเทียบระหวา่ งกลมุ่ จะทำใหไ้ ดผ้ ลการวิจัยทีใ่ หส้ ารสนเทศที่เป็นประโยชนม์ ากข้ึน ๔. ทฤษฎีและงานวิจัยสนับสนุน สมมติฐานที่ตั้งขึ้นควรมีเหตุผลเพียงพอและเป็นไป ตามหลกั เหตผุ ล ทฤษฎีและงานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ๒.๗.๕ หลักการเขยี นสมมติฐานการวิจยั ๑.ควรเขียนสมมติฐานหลังจากทไ่ี ด้อ่านตำรา เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้องสมบรู ณ์แล้ว เพ่ือ นำมาเป็นข้อมูลสนบั สนุนการตงั้ สมมติฐาน และเป็นแนวทางสำหรับการต้งั สมมติฐานการวิจยั ๒. ควรเขียนในรปู ของประโยคบอกเลา่ ดีกว่าประโยคคำถาม ๓. ควรมคี ำทแ่ี สดงความคาดหวงั ในประโยคบอกเล่า เช่น น่าจะ เพราะสมมติฐานยัง ไม่เปน็ ความจรงิ ยังต้องรอการพสิ ูจนจ์ ากงานวิจัยเสียก่อน ๔.สมมตฐิ านที่เขยี นขึ้นอาจมีทศิ ทางหรือไมม่ ีทิศทางก็ไดข้ ึ้นอยกู่ ับการทบทวน เอกสาร เช่น ตวั อยา่ งสมมติฐานแบบมีทิศทาง - ความนิยมในการเรยี นกวดวิชาของนักเรียนชายมมี ากกว่านกั เรียนหญิง

การวิจยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ ๒๘ - นักเรียนทมี่ บี ิดามารดามีความคาดหวังในตวั บุตรสูงน่าจะมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น สูงกวา่ นกั เรียนท่ีมีบิดามารดามคี วามคาดหวงั ในตัวบุตรสูง ตวั อยา่ งสมมติฐานแบบไม่มที ิศทาง - ความนิยมในการเรียนกวดวิชาของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงน่าจะมี ความแตกต่างกัน - ความคาดหวังของบดิ ามารดามคี วามสัมพนั ธ์กับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของบุตร ๕. ควรเขยี นสมมติฐานไว้หลายๆสมมตฐิ าน โดยพจิ ารณากลุ่มย่อยตามรายละเอยี ด ของตัวแปร เพราะจะทำใหไ้ ด้คำตอบที่ชัดเจนขน้ึ ๒.๘ ตัวแปร ประเภทและระดับการวดั ตวั แปร การกำหนดหรือคัดเลือกตัวแปรที่เกี่ยวข้องในการวิจัย เป็นข้ันตอนท่ีต่อเน่ืองจากการ ตั้งสมมติฐาน การตั้งสมมติฐานที่ดี ทำให้ทราบตัวแปรท่ีเก่ียวข้องกับการวิจัยน้ัน ซึ่งต้องอาศัยการ ทบทวนทฤษฎี แนวคดิ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง โดยความหมาย ประเภทและระดับการวดั ของตัวแปร ดงั นี้ ๒.๘.๑ ความหมาย เคอร์ลินเจอร์ ได้ให้ความหมายของตัวแปรอย่างง่าย ๆ ว่า “ตัวแปรคืออะไรก็ได้ที่มีค่า เปลี่ยน” (A variable is something that varies.) ประเด็นสำคัญอยู่ที่ “ค่าที่เปลย่ี นแปลง” ตัวแปร จะต้องมีค่าที่เปล่ียนแปลงเสมอ ในทางตรงข้าม อะไรก็ตาม หากมีค่าคงท่ี เรียกว่า “ตัวคงที่” (constant) ตวั แปรจึงตรงข้ามกับตวั คงที่ ตวั แปร คือ คณุ ลักษณะหรือสภาวะการณต์ า่ งๆ ซ่ึงแบ่งออกเป็นพวกหรือเป็นระดับหรือมีคา่ ได้หลายคา่ ๕ ตัวแปร คือ สิง่ ทีโ่ ดยสภาพทว่ั ไปแล้วสามารถแปรค่าได้คา่ ท่ีแปรออกมาของตัวแปรย่อมมี คณุ สมบตั ิแตกต่างกนั ออกไป๖ ดังนั้น ตัวแปร(Variable) หมายถึง คุณลักษณะ หรือเง่ือนไขที่แปรเปล่ียนค่าไปตามบุคคล หรือเวลา ทผี่ ูว้ จิ ัยจัดกระทำ(Manipulate)ควบคมุ (Control ) หรือสังเกต (Observe ) ซ่งึ แปรเปล่ยี น ค่าได้ต้ังแต่ ๒ ค่าข้ึนไป เช่น เพศ มี ๒ ลักษณะ คือ ชาย และหญิง ฐานะเศรษฐกิจของครอบครัว อาจแบ่งเป็น ๓ ลักษณะ ฐานะร่ำรวย ฐานะปานกลางและฐานะยากจน คะแนนผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน เป็นคา่ ของตวั เลขชดุ หน่งึ ที่มีหลายๆคา่ เป็นต้น ตัวแปร แนวคิด หรือส่ิงที่สร้างที่อธิบายไปแล้วในตอนต้น จะไม่มีความหมายอย่างไรเลย ในทางวิจัยหากไมม่ ีการให้ความหมายหรอื คำนิยาม (definition) ไวด้ ้วย ๕ บุญชม ศรสี ะอาด, การวจิ ัยเบือ้ งต้น, พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๒. กรุงเทพมหานคร : สวุ ีรยิ าสาสน์ , ๒๕๓๕ หน้า ๒๘. ๖ สมหวงั พธิ ิยานุวฒั น์, การกำหนดตัวแปรในการวิจยั .ในรวมบทความทางวธิ วี ทิ ยาการวจิ ยั เล่ม ๒, พิมพ์คร้ังท1่ี กรุงเทพมหานคร : สำนักพมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๔๑ : ๖๓

การวิจัยเพ่ือพฒั นาการเรยี นรู้ ๒๙ ในทางวจิ ยั ตัวแปร หรอื แนวคดิ แตล่ ะตัวจะประกอบด้วยนิยามสองประเภท ซง่ึ มีความหมาย และหน้าทแี่ ตกต่างกนั คือ ๑.นิยามเชิงทฤษฎี ซ่ึงตรงกับภาษาอังกฤษว่า theoretical, conceptual, or constitutive definition ๒.นิยามเชิงปฏิบตั ิ ซึง่ ภาษาองั กฤษ เรยี กว่า operational definition นิ ย า ม เชิ ง ทฤษฎี เป็นการอธิบาย “ความหมาย” (meaning) ของตัวแปรหรือแนวคิดโดยบรรยายเป็นข้อความ ซง่ึ ประกอบด้วยคำหรือแนวคิดอ่ืน หากจะเปรยี บคล้ายกบั การให้นิยามแบบพจนานุกรมคือเป็นการให้ ความหมายของแนวคิดด้วยแนวคิดอ่ืน สว่ นนิยามเชิงปฏบิ ตั กิ ารน้ัน เป็นการกำหนดกิจกรรม หรือแนวทางปฏบิ ตั ิการทจ่ี ำเป็นเพอ่ื ใช้ “วัด” ตัวแปรหรอื แนวคดิ นั้น ๆ ๒.๘.๒ ประเภทของตัวแปร เกณฑ์ในการจำแนกประเภทของตวั แปรมี ๔ ลกั ษณะคือ๗ ๑. พจิ ารณาคุณสมบัตขิ องคา่ ทแ่ี ปรออกมาแบ่งเป็น ๒ ชนดิ คอื ๑.๑ ตัวแปรเชิงปริมาณ(Quantitative Variables) เป็นตัวแปรที่แตกต่างกันใน ระหว่างพวกเดียวกันหรือค่าท่ีแปรออกมาแตกต่างกันออกไปตามความถี่จำนวนปรมิ าณมากน้อยหรือ ลำดับที่ เช่น ค่าใช้จ่ายของนักศึกษาต่อคน ต่อวัน (๑๐,๑๕,๒๐,...(บาท)) บุตรคนท่ี (๑, ๒, ๓,...) คะแนนของนักเรยี น (๑๗, ๑๘, ๑๙,....) จำนวนบตุ รในครอบครัว (๐, ๑, ๒,....) ๑.๒ ตัวแปรเชิงคุณภาพ(Qualitative Variables) เป็นตัวแปร ท่ีมีคุณสมบัติ แตกต่างกนั ในแง่ของชนิดหรือประเภทโดยใชช้ ื่อเปน็ ภาษาท่ีแสดงถงึ คณุ ลักษณะของสง่ิ ตา่ ง ๆ ในพวก นั้น เช่น อาชีพ (ข้าราชการ ค้าขาย เกษตรกร รับจ้าง) เพศ (ชาย หญิง) ภูมิลำเนา (ในเมือง ชนบท) ๒. พจิ ารณาความตอ่ เน่ืองตามธรรมชาติของตัวแปรแบ่งเป็น ๒ ชนิด คือ ๒.๑ ตัวแปรค่าต่อเน่ือง (Continuous Variables) เป็นตัวแปรที่มีค่าต่อเน่ืองกัน ตลอด เช่น ส่วนสูงน้ำหนัก คะแนนสอบ เป็นต้น ค่าของตัวแปรเหล่าน้ีไม่จำเปน็ ตอ้ งเปน็ เลขเต็มหนว่ ย พอดอี าจเปน็ ทศนิยมหรือเปน็ เศษสว่ นได้ ๒.๒ ตัวแปรค่าไม่ต่อเนื่อง(Discrete Variables) ตัวแปรประเภทน้ีมีค่าเฉพาะตัว ของมัน แยกออกจากกันเด็ดขาดวัดค่าเป็นจำนวนเต็ม เช่น จำนวนหนังสือ เพศ (ชายแทนด้วย ๐, หญงิ แทนด้วย ๑)เป็นตน้ ๓. พิจารณาความเป็นไปได้ของผู้วิจัยท่ีจะจัดกระทำกับตัวแปรแบ่งเป็น ๒ ชนิดคือ ๓.๑ ตัวแปรที่กำหนดได้(Active Variables) เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยสามารถกำหนด ให้กับผู้รับการทดลองได้เช่น วิธีสอน การจัดสอนซ่อมเสริม การจัดสภาพห้องเรียนและอ่ืนๆ เป็นต้น ๓.๒ ตัวแปรท่ีจัดกระทำขึ้นไม่ได้(Attribute of Organismic Variables) เป็นตัว ๗ ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ, เทคนิคการวจิ ยั ทางการศกึ ษา, พมิ พ์ครัง้ ท่ี ๕. กรงุ เทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น, ๒๕๓๘ หน้า ๕๕.

การวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ ๓๐ แปรท่ียากจะกำหนดให้ผู้รับการทดลองได้ตัวแปรเหล่าน้ีเป็นลักษณะของผู้รับการทดลอง เช่น เพศ สภาพเศรษฐกจิ ความถนัดเป็นตน้ ๔. พิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในเชงิ เหตผุ ลเป็นการแบง่ ตามลักษณะการใช้เป็น วธิ แี บ่งตัวแปรท่นี ิยมกนั มากทีส่ ุด แบง่ เป็น ๔.๑ ตัวแปรต้น (Independent Variable) หมายถึงคุณลักษณะที่เกิดก่อน หรือ เป็นสาเหตุของตัวแปรตาม หรืออาจจะเรียกว่า ตัวแปรอิสระ สามารถจำแนกได้เป็น ๒ แบบ คือ ตัว แปรอิสระท่ีสามารถจัดกระทำได้ (Active Variable) และตัวแปรอิสระท่ีไม่สามารถจัดกระทำ ได้(Attribute Variable) โดย ตวั แปรอิสระท้งั ๒ ชนิดเป็น ตัวแปรสาเหตเุ ช่นเดียวกนั แต่แตกต่างกัน คือตัวแปรอิสระที่ไม่สามารถจัดกระทำได้ ผู้วิจัยเป็นเพียงผู้เลือกว่ากลุ่มใดมีลักษณะอย่างไร แต่ไม่ สามารถสร้างลักษณะนั้นข้ึนมา ในขณะท่ีตัวแปรอิสระที่สามารถจัดกระทำได้ ผู้วิจัยสามารถสร้าง ลักษณะน้ันขึ้นมาได้ ตัวอย่างเช่น การวิจัยท่ีศึกษาอายุของผู้สอนและสภาพของห้องเรียนว่ามีผลต่อ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นหรือไม่ อายุของผสู้ อนที่แบ่งเป็นชว่ งๆ และสภาพของหอ้ งเรียนทแ่ี บง่ เป็นหอ้ ง ท่ีมีเคร่ืองปรับอากาศ กับไม่มีเครื่องปรับอากาศ ต่างก็เป็นตัวแปรอิสระ แต่อายุเป็นตัวแปรอิสระที่ไม่ สามารถสร้างลักษณะนั้นข้ึนมาได้ เรียกว่า Attribute Variable ในขณะที่สภาพของห้องเรียนเป็นตัว แปรอิสระทสี่ ามารถสร้างลกั ษณะนน้ั ข้นึ มาได้ เรียกวา่ Active Variable ๔.๒ ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถึง คุณลักษณะที่คาดว่าจะได้รับ หรือเป็นผลที่ได้รับจากตัวแปรอิสระ ตัวอย่างเช่น การวิจัยที่ศึกษาอายุของผู้สอนและสภาพของ ห้องเรียนว่ามีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือไม่ ท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น ตัวแปรตามได้แก่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ๔.๓ ตัวแปรท่ีมีผลกระทบต่อข้อสรุปของการวิจัย (Confounding Variable) หมายถึง ตัวแปรที่มีผลกระทบต่อการสรุปความเป็นสาเหตุของตัวแปรต้นที่มีต่อตัวแปรตาม จำแนก เป็น ๒ ชนดิ ใหญๆ่ คือ ๑) ตวั แปรแทรกซ้อน (Extraneous Variable) เปน็ ตัวแปรทมี่ ีผลตอ่ ตวั แปรตาม เชน่ เดยี วกับตัวแปรอิสระ แต่เป็นส่ิงทผ่ี วู้ ิจัยไม่ได้สนใจทจี่ ะศึกษา ดงั นน้ั จึงต้องมกี ารควบคุม ไม่เชน่ น้ัน ตัวแปรแทรกซ้อนอาจทำให้ผลที่ศึกษาไม่ได้ข้อสรุปอย่างที่สรุปไว้ก็ได้ ทำให้ผลที่ได้คาดเคลื่อนไปจาก ความเปน็ จรงิ ๒) ตวั แปรสอดแทรก (Intervening Variable) เปน็ ตวั แปรทส่ี อดแทรกอยู่ระหว่าง ตัวแปรต้นและตัวแปรตาม มองได้ ๒ ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเป็นแบบที่เป็นตัวแปรท่ีได้รับผลมา จากตัวแปรต้นแล้วจึงส่งผลต่อไปท่ีตัวแปรตาม เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพเศรษฐกิจ สงั คมของครอบครวั กับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน พบวา่ มีความสัมพนั ธ์กนั สูง ซ่ึงอาจเปน็ ไป ได้วา่ สภาพเศรษฐกิจสังคมของครอบครัวสูงมผี ลให้ความคาดหวังของครอบครวั ต่อผลสัมฤทธท์ิ างการ เรยี นของนักเรียนสูง แล้วการมคี วามคาดหวงั ของครอบครวั ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นสูง ทำให้นักเรียนต้ังใจเรียนทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูง ดังน้ัน ความคาดหวังของ ครอบครัวต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน จึงเป็นตัวแปรสอดแทรก(Intervening Variable) ส่วนลักษณะทส่ี อง เป็นตัวแปรสอดแทรกท่ีทำให้ผลที่ตัวแปรตน้ มีต่อตัวแปรตามต่างไปจากสภาพจริง

การวจิ ัยเพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ ๓๑ ท่ีควรจะเป็น แต่เป็นตัวแปรท่ีไม่สามารถมองเห็นหรือจัดกระทำได้ เป็นนามธรรม เช่น ความวิตก กังวล ความเมือ่ ยลา้ หรอื ความต่นื เตน้ ของผสู้ อบท่มี ีตอ่ คะแนนสอบนี้ ในบางครงั้ ผู้วิจยั ไม่สามารถแยกหรือตดั สนิ ใจไดว้ ่า ตวั แปรใดเปน็ ตัวแปรเหตตุ ัวแปรใดเป็นตัว แปรผล เช่น ระดับการศึกษากับรายได้ กล่าวคือ ระดับการศึกษาสูงทำให้มีรายได้สูง หรือเพราะมี รายได้สูงจึงทำให้มีระดับการศึกษาสูง หรืออีกตัวอย่างหน่ึงคือเรื่องค่านิยมของสังคม กับวัตถุนิยม กล่าวคือ ค่านิยมของสังคมเป็นตวั กำหนดวัตถนุ ิยม หรือเพราะมวี ัตถุนิยมแล้ว จงึ เกิดค่านยิ มของสงั คม ในเรื่องนนั้ ตามมา โดยท่ัวไปแลว้ การแยกตัวแปรอสิ ระออกจากตัวแปรตาม มีหลักง่ายๆ ดงั นี้ ๑. ถ้าตวั แปรใดเกดิ ก่อน ใหถ้ ือวา่ ตัวแปรนั้นเป็นตัวแปรอิสระ ส่วนตวั แปรท่ีเกิด ภายหลงั เรยี กตัวแปรตาม เชน่ เพศ กบั ระดับการศกึ ษาจะต้องถือว่า เพศ เปน็ ตวั แปรอิสระ (เพราะ เกดิ ก่อน) ระดับการศึกษาเป็นตัวแปรตาม ๒. ถ้าตวั แปรใดเปน็ สาเหตุของอีกตวั แปรหนึ่ง ตวั แปรน้นั ถือวา่ เป็นตัวแปรอิสระ สว่ นตัวแปรท่ีเปน็ ผลน้นั ถอื ว่าเป็นตวั แปรตาม การทราบตัวแปรอสิ ระและตวั แปรตาม นอกจากจะมีประโยชน์ในด้านการวิจัยโดยตรงแล้ว ระดับการวดั ของตัวแปรกเ็ ป็นเรอ่ื งสำคัญท่จี ะมีผลตอ่ การออกแบบการวจิ ยั และการวิเคราะห์อีกด้วย ตัวอยา่ ง ๑) สถานการณ์: ครคู นหนึ่งมีความสนใจจะเปรียบเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิชา ภาษาไทย ของนักเรยี นชนั้ ม.๑ ที่เรียนโดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รปู และแบบธรรมดามผี ลแตกตา่ งกัน หรอื ไม่ ตัวแปรตน้ คือ วิธสี อน ตวั แปรตาม คอื ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าภาษาไทย ตวั แปรแทรกซ้อน ทน่ี า่ จะตอ้ งควบคุม คือการเรยี นพิเศษการศกึ ษาเพ่มิ เตมิ พืน้ ฐาน ของนักเรยี น ๒) จดุ มุง่ หมายการวจิ ัย: เพ่อื เปรียบเทยี บความถนัดดา้ นเคร่ืองจักรกลระหว่างนักเรียนชาย และนักเรยี นหญิง ตวั แปรตน้ คือ เพศของนักเรียน ตัวแปรตาม คอื ความถนัดด้านเคร่ืองจักรกล ตัวแปรแทรกซ้อน ความต้ังใจเรียน พนื้ ฐานนกั เรยี น ๓) สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั : นกั เรียนทม่ี ผี ้ปู กครองรับราชการ และนักเรียนท่ีมีผปู้ กครองประกอบ อาชพี เกษตรกรรมมีพฤติกรรมความเปน็ ผนู้ ำแตกตา่ งกนั ตัวแปรต้น คือ อาชีพของผ้ปู กครอง ตวั แปรตาม คอื พฤติกรรมความเปน็ ผู้นำ ระดบั การวัดของตวั แปร ๒.๘.๓ ระดบั การวัดของตวั แปรแบ่งเป็น ๑. มาตรการวัดแบบนามบัญญัติ (Nominal data ) เป็นการจำแนกลักษณะ ของข้อมูลที่ได้ ออกเป็นประเภทต่างๆหรือเป็นพวกๆ โดยจัดลักษณะท่ีเหมือนกันไว้ด้วยกัน เช่น

การวิจยั เพอื่ พัฒนาการเรียนรู้ ๓๒ ตัวแปร เพศ เช้ือชาติ สถานภาพสมรส เป็นต้น การจำแนกลักษณะของข้อมูลเช่น เพศ แบ่งเป็น ๒ ลักษณะ คือ ชาย และ หญิง ซึ่งอาจจะกำหนดค่าให้กับลักษณะของตัวแปรเป็น ๑ และ ๒ การกำหนดค่าให้กับตัวแปรมีคุณสมบัติเพียงจำแนกความแตกต่างและสะดวกต่อการบันทึกลง ในคอมพวิ เตอรเ์ ทา่ นัน้ ไม่มีความหมายในเชงิ ปรมิ าณ ที่จะนำมา บวก ลบ คณู หารกันได้ ๒. มาตรการวัดแบบอันดับ(Ordinal data ) เป็นการกำหนดลักษณะของข้อมูล ที่ได้ ออกเป็นอันดับที่บอกความมากน้อยระหวา่ งกนั ได้ เชน่ ลำดบั ทข่ี องนักเรียนมารยาทดี คา่ ลำดบั ที่ ๑ , ๒ , ๓ สามารถบอกได้ว่าใครมารยาทดีกว่าใคร แต่ไม่สามารถบอกได้ว่าคนที่ได้มารยาทดีลำดับท่ี ๑ ดีกว่าลำดับที่ ๒ อยู่เท่าไร และไม่สามารถบอกได้ว่าความแตกต่างระหว่างคนท่ีได้มารยาทดีลำดับ ท่ี ๑และ ๒ จะเท่ากับความแตกต่างระหว่างคนที่ได้มารยาทดีลำดับท่ี ๒ และ ๓ หรือช่วงความห่าง ของค่าตวั แปรแตล่ ะคา่ ไมเ่ ทา่ กัน ๓. มาตรการวัดแบบอันตรภาค(Interval data ) เป็นการกำหนดตัวเลขให้กับ ลักษณะของข้อมูลตามความมากน้อย โดยตัวเลขที่กำหนดสามารถบอกความมากน้อยระหว่างกนั แล้ว ยงั มีช่วงหา่ งระหวา่ งค่าทเี่ ทา่ กันด้วย แตค่ ่าศูนยท์ ่ีกำหนดตามมาตรการวัดน้ไี มใ่ ช่ศนู ย์แท้ ตัวอย่าง เช่น คะแนน อุณหภูมิ เป็นต้น ค่าของอณุ หภูมิ ๘๐C สูงกว่าอุณหภูมิ ๕๐ C อยู่ ๓๐C แต่อุณหภูมิ ๐ C มิได้แปลวา่ ไม่มีความร้อน ความจรงิ มีความร้อนระดับหน่งึ แต่ถกู สมมตุ ใิ หเ้ ป็น ๐ C ๔. มาตรการวัดแบบอัตราส่วน(Ratio data) เป็นการกำหนดตัวเลขให้กับลักษณะ ของข้อมูลเช่นเดียวกับมาตรการวัดแบบอันตรภาค แต่มาตรการวัดระดับนี้จะมีค่า ๐ ที่แท้จริงด้วย เชน่ อายุ รายได้ น้ำหนกั ส่วนสงู เปน็ ตน้ ส่วนสูง ๐ เซนตเิ มตรก็แปลว่าไม่มคี วามสงู เลย ๒.๘.๔ การกำหนดขอบขา่ ยข้อมลู การวิจัยเชิงคุณภาพมีความแตกต่างจากการวิจัยเชิงปริมาณหลายๆเร่ือง โดยมีจุดแข็ง ทีช่ ่วยให้ผู้วิจัยมองเหน็ แนวทางทีจ่ ะหาคำตอบ หรือค้นหาความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พฤติกรรมมนุษย์ ท่ีมีระบบความหมายท่ีหลากหลาย มีความเปลี่ยนแปลงและไม่อยู่น่ิง ช่วยก่อรูปความรู้ให้เป็นรูปร่าง ขึ้นมาจากความคลุมเครอื ข้อมูลของการวิจัยเชิงคุณภาพ ให้ความสำคัญกับความรู้สึก นึกคิด ค่านิยม ดังนั้นจึงมีความ แตกต่างจากการวิจัยเชิงปริมาณที่ไม่สามารถกำหนดตัวแปรหรือนิยามตัวแปรที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม ดังนั้นการกำหนดขอบข่ายข้อมูลจึงให้ความสำคัญแก่องค์ประกอบส่วนที่เป็นนามธรรมของมนุษย์ อันไดแ้ ก่ ความร้สู ึกนึกคิด ประวตั ิ พฤตกิ รรม ความสัมพันธ์ของส่งิ เหลา่ นี้กับสภาพแวดล้อม กรอบในการจำแนกเหตุการณ์ไว้ ๖ ชนิด ได้แก่ พฤติกรรม แบบแผนพฤติกรรม ความหมาย การมีส่วนร่วม ความสัมพันธ์ และฉากท่ีสามารถนำมาใช้ในการเขียนขอบข่ายข้อมูล โดยเฉพาะสำหรับนักวิจัยใหม่ที่ไม่รู้ว่าจะใช้อะไรมาจำแนกข้อมูล เพราะกรอบท่ีสร้างขึ้นจำแนก ประเภทของข้อมูลออกเป็นส่วนต่างๆของโครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม ตัวอย่างการเขียน ขอบข่ายขอ้ มูล ทศั นะเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงบทบาทครู การปรับตัวของผสู้ อน: วิธีการ ปญั หา และ ผลท่ีเกิดขึ้นทั้งผลดีและผลเสีย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนในด้านความร่วมมือ การแข่งขันพฤติกรรม การเรยี นความสนใจ ความตั้งใจ ความคดิ ริเรมิ่

การวจิ ัยเพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ ๓๓ สรุปท้ายบท ในการวจิ ัยท่ีอาศัยกระบวนการวิจัยอย่างเป็นระบบจะตอ้ งให้ความสำคัญกับการสร้างแนวคิด ในการวิจัย เพ่ือเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์และสมมติฐานตลอดจนตัวแปร ต่างๆในการวิจัย ซึ่งแต่ละหัวข้อก็มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่ากัน และมีหลักเกณฑ์ในกำหนดและการ สร้างทต่ี ้องศึกษาให้ถ่องแท้ เพ่ือให้งานวิจัยที่ทำมีคณุ ภาพ สร้างองค์ความรูใ้ นศาสตร์ที่ศึกษาตลอดจน สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เกิดการเรียนรู้โดยใช้ความรู้เป็นฐานในการพัฒนางาน พัฒนาชุมชน สังคมและประเทศชาตติ ่อไป

การวิจยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ ๓๔ คำถามทา้ ยบท จงระบตุ วั แปรอสิ ระและตัวแปรตามจากหัวขอ้ หรอื วัตถุประสงค์ของการวจิ ัยต่อไปนี้ ๑. การศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความรู้เดมิ กับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักศึกษา ตวั แปร……………………………………………………………………………………. ๒.การเปรยี บเทยี บความความคิดเห็นของประชาชนในเมอื งและชนบทท่ีมีตอ่ การแปรรูป รฐั วิสาหกจิ ตัวแปร……………………………………………………………………………………. ๓. การศกึ ษาปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อการทำกจิ กรรมของนักศึกษา ตัวแปร……………………………………………………………………………………. ๔. เพอื่ ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยภูมหิ ลงั ของพนกั งานทมี่ ีต่อความผูกพันองค์การ ตัวแปร……………………………………………………………………………………. ๕. เพื่อเปรยี บเทยี บเจตคติของผเู้ รยี นและผูส้ อนที่มีตอ่ การปฏริ ปู การศึกษา ตัวแปร……………………………………………………………………………………. จงบอกระดับการวัดของตวั แปรต่อไปน้ี ๖. สีของกระเป๋ามี 3 สี คอื แดง เทา นำ้ เงนิ ………………………………………… ๗. ความพงึ พอใจต่อการทำงานของรฐั บาล มี 5 ระดับ คอื ชอบมากทส่ี ดุ - ชอบน้อยท่ีสุด ………………………………………… ๘. อายุ นบั เปน็ ปี ………………………………………… ๙. เงินเดือน ทไ่ี ด้รบั ใน 1 ปี ………………………………………… ๑๐.จดั ลำดับประเทศตามประชากร …………………………………………

การวจิ ัยเพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้ ๓๕ เอกสารอา้ งองิ ประจำบท ทววี ฒั น์ ปิตยานนท์. (๒๕๔๑). การต้ังปญั หาในการวิจัย.ในรวมบทความทางวธิ ีวทิ ยาการวิจยั เลม่ ๒. พิมพ์คร้ังที่ ๑, กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . บุญชม ศรีสะอาด.(๒๕๓๕). การวิจัยเบอื้ งตน้ . พิมพค์ รงั้ ท่ี ๒. กรุงเทพมหานคร : สุวีรยิ าสาส์น. บุญธรรม กิจปรดี าบรสิ ทุ ธิ์. (๒๕๔๐). ระเบียบวิธกี ารวจิ ัยทางสงั คมศาสตร์. พิมพ์ครงั้ ที่ ๗. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพแ์ ละปกเจรญิ ผล. บุญเลศิ ศภุ ลิดก. กระบวนการสร้างแนวคดิ . (On line) Available from:www.stou.ac.th /Thai/schools/sca/information (2004,March3). ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. (๒๕๓๘). เทคนคิ การวจิ ยั ทางการศึกษา. พิมพ์ครัง้ ท่ี ๕. กรุงเทพมหานคร : สุวรี ยิ าสาสน์ . ศริ ิชัย กาญจนวาสี. (๒๕๔๑). ตัวแปรสำหรับการวจิ ัย: การคดั เลือกการวัดและการควบคมุ . ในรวม บทความทางวิธวี ทิ ยาการวิจัยเล่ม ๒. พิมพ์คร้งั ที่ ๑, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมหวงั พธิ ิยานวุ ัฒน์. (๒๕๔๑). การกำหนดตัวแปรในการวิจยั .ในรวมบทความทางวธิ ีวิทยาการวิจัย เลม่ ๒. พิมพค์ ร้ังท่ี ๑ กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. Cohen ,L.,and Manion,L. (1989). Research Method in ucation.3rd.Ed.London:Routledge. Kerlinger,F.N. (1973).Foundations of Behavioral Research. New York : Holt, Rinehart and Winston.

บทที่ ๓ ขน้ั ตอนในการทำวิจัย วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นร้ปู ระจำบท เมอื่ ไดศ้ ึกษาเนื้อหาในบทนีแ้ ล้ว ผู้เรยี นสามารถ ๑. อธิบายขัน้ ตอนการวิจัยได้ ๒. บอกขอ้ พงึ ระวงั ในการวจิ ัยได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา • ขนั้ ตอนการวิจัย • ข้อพงึ ระวังในการวจิ ัย

การวิจยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ ๓๗ ๓.๑ ความนำ ในการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์หรือสัตว์ เป็นประเด็นที่มีความยุ่งยากและความซับซ้อน ในการแสวงหาข้อค้นพบเพ่ือท่ีนามาใช้ในการบรรยาย อธิบายคาดคะเน หรือควบคุมมนุษย์หรือสัตว์ ให้เกิดพฤติกรรมตามที่ต้องการ ดังน้ันมนุษย์จาเป็นจะต้องมี “วิธีการ” ท่ีจะนามาใช้แสวงหาข้อมูลท่ี นามาพิจารณาวิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินค่าเพ่ือหาขอ้ สรปุ /องค์ความรู้ร่วมกัน โดยท่ี “วธิ ีการ” ในการแสวงหาความรู้ความจริงของมนุษย์ได้มีวิวัฒนาการต่อเน่ืองกันมาอย่างยาวนานโดยเร่ิมต้นจาก วธิ ีการที่ไม่มีระบบชัดเจน อาทิ เช่ือไสยศาสตร์,เช่ือผู้มีอำนาจ/หมอผี หรือการลองผิดลองถูก เป็นต้น จนกระท่ังได้ก้าวเข้าสู่ในปัจจุบันที่มนุษย์ได้พัฒนา “วิธีการ” ที่ค่อนข้างจะเป็นระบบท่ีชัดเจนโดยได้ นากระบวนการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Method)มาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการท่ีสามารถ ตรวจสอบความถูกตอ้ งได้ทกุ ขั้นตอน โดยท่เี รียก “วธิ กี าร” นีว้ า่ “การวิจัย(Research)” ในปัจจุบัน“การวิจัย” เป็นศาสตร์ท่ีได้รับการยอมรับจากนักวิชาการและบุคคลท่ัวไป ในนานาอารยประเทศว่าเป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการนำมาใช้ดำเนินการแสวงหาข้อมูลหรือ องค์ความรู้ตามจุดมุ่งหมายได้อย่างถูกต้อง แม่นยำและมีความน่าเชื่อถือ และสามารถท่ีจะนำ ผลการวิจัยที่ได้รับไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาได้อย่างสอดคล้องความต้องการอย่างแท้จริง โดยเฉพาะในวงการศึกษาท่ีมีความเชื่อว่า “การวิจัย” เป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้หรือ แนวทางแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพโดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยได้กำหนดให้บัณฑิตในการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาท่ีจะสำเร็จการศกึ ษาจะต้องปฏบิ ัตกิ ารวิจัย(งานวิทยานพิ นธ์)ทเ่ี ป็นส่วนหนึ่งของการได้รับ ปริญญาในการศึกษาระดับมหาบัณฑิตหรือดุษฎีบัณฑิต และในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๓๐ ได้กำหนดว่าการปฏิบัติงานในวิชาชีพครูให้ครูผู้สอนได้ใช้การวิจัยเป็น เคร่ืองมอื ในการพฒั นาการเรยี นรู้ของผู้เรยี น ๓.๒ ขัน้ ตอนในการทำวจิ ยั (Steps in Research) เนื่องจากการศึกษาวิจัยเป็นกระบวนการอยา่ งหน่ึงที่จะค้นคว้าหาความรใู้ หม่ๆ เป็น การศกึ ษา ท่ีเป็นหลักฐานมีระเบียบ เพื่อค้นหาคำตอบหรือหลักฐานท่ีเหมาะสม ดังนั้นการทำวิจัยจะต้องมี ขนั้ ตอนในการดำเนินการ ท้ังน้ีเพื่อท่ีจะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการทำวิจยั ท่ีดนี ั้นก็คือ การจัดลำดบั ขัน้ ตอนของการวจิ ัย สามารถแบ่งออกเป็นขน้ั ตอนตา่ งๆ ได้ ๘ ขน้ั ตอน ดงั นี้ ๑. การกำหนดปญั หาของการวิจัย ๒. การวางแผนออกแบบการวิจัย ๓. การกำหนดกลมุ่ ๔. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ๕. การวเิ คราะหข์ ้อมลู ๖. การสรปุ และรายงานผล ๗. การตคี วามหมาย

การวิจยั เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ ๓๘ ๘. การเขียนรายงานวจิ ัย ขน้ั ท่ี ๑ การกำหนดปัญหาของการวจิ ัย (Definition The Problem) เป็นการพิจารณาถึงปัญหาหรือหัวข้อว่าผู้วิจัยมีความต้องการที่จะศึกษาเกี่ยวกับเร่ือง อะไร ต้องการทดสอบหรือหาคำตอบเร่ืองใด ปัญหาในการวิจัยอาจเกิดมาจากความสงสัย จากข้อสังเกต จากความรู้สึกหรือเกิดจากความสนใจ อยากรู้ข้อเท็จจริง ปกติแล้วการกำหนดหรือ การพิจารณา ปัญหาจะเกิดจากตัวผู้วิจัยเอง การกำหนดปัญหาการวิจัยถือได้ว่าเป็นข้ันตอนที่มี ความสำคัญที่สุด ในกระบวนการวิจัย เพราะเป็นการกำหนดให้เห็นว่าการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัย ต้องการหาคำตอบอะไร มีอะไรเป็นปัญหา ในการกำหนดปญั หาควรมีการศกึ ษาสง่ิ ต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ศึกษาลักษณะและความเป็นมา ผู้วิจัยจะต้องศึกษาเน้ือหาลักษณะของความ เปน็ มาของเรอ่ื งทเี่ ป็นปญั หาในการวจิ ัย (๒) ศึกษาโครงสร้างขององคก์ ารทีก่ ำหนดเป็นเรือ่ งการทำวจิ ัยบางครั้งจำเปน็ ตอ้ ง ศึกษาโครงสร้างขององค์การท่ีใช้กำหนดเป็นหัวเร่ืองของการวิจัย ตัวอย่าง เช่น การดำเนินงาน การบรหิ าร การเงนิ เปน็ ต้น (๓) ศึกษาเอกสารและกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับหัวเรื่องที่วิจัย ทั้งน้ีเพ่ือให้ทราบว่า หัวข้อวิจัยนั้นเป็นปญั หาทผ่ี อู้ ่ืนไดศ้ ึกษาไวก้ อ่ นหนา้ น้ี รวมทง้ั ปญั หาอ่ืนๆ ทม่ี ีอยู่ (๔) ศึกษาและปรกึ ษากับผู้ท่ีมคี วามรู้ โดยเฉพาะผู้เช่ียวชาญ หรอื ผมู้ ีประสบการณ์ ใน เร่ืองทีจ่ ะศึกษาวิจยั (๕) ศึกษากรอบและทฤษฎี ซึ่งจะทำให้ผู้วิจัยสามารถเห็นความสัมพันธ์ระหว่างหัว เรอ่ื ง ปัญหาข้อมลู ลักษณะของปญั หา โดยทวั่ ไปแลว้ ปัญหาของการวิจยั ควรมีคณุ สมบัติดังนี้ ๑. จะต้องเปน็ ปญั หาทชี่ ัดเจนไม่คลุมเครือ ๒. ตอ้ งไม่กวา้ งหรือแคบจนเกินไป ๓. ควรเปน็ คำถามทช่ี ดั เจนอยูใ่ นตัวเอง ทำความเข้าใจง่าย ๔. ควรเปน็ ปญั หาทมี่ ีความหมาย งา่ ยต่อการศึกษาวจิ ยั ๕. จะต้องเหมาะสมกับเวลา ค่าใชจ้ า่ ย และความร้คู วามสมารถของผวู้ จิ ัย ข้ันที่ ๒ การออกแบบการวจิ ัย (Research Design) หมายถึง การวางแผนกลยุทธ์เพ่ือให้ได้มาซึ่งคำตอบของปัญหาการวิจัย เป็นการประมวล แนวความคิด หลักการและจากทฤษฏีต่างๆ ที่มีผู้อื่นศึกษาไว้ก่อนหน้านี้แล้ว ผู้วิจัยจะนำมา ประกอบการสร้างแนวความคิดสำหรับงานวิจัยของตน ซึ่งจะต้องมีการพิจารณาและกล่ันกรอง เป็นอย่างดี เป็นการกำหนดรูปแบบและรายละเอียดต่างๆ ของการวิจัยท่ีใช้เป็นหลักในการ กำหนด วธิ ีการ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ต้นทุนการวิจัย ความสามารถในการ เข้าถึงข้อมูล เป็นต้น พึงระลึกไว้เสมอว่าการวิจัยจะได้ผลดีจำเป็นต้องมีการออกแบบวิจัยให้ เหมาะสมกับปัญหา และสมมตฐิ านของการวจิ ยั

การวิจัยเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรู้ ๓๙ ขั้นท่ี ๓ การกำหนดกลุม่ ตัวอยา่ ง กลุ่มตัวอย่างนี้หมายถึงส่วนหน่ึงของประชากรท่ีจะนำมาศึกษาว่ากลุ่มตัวอย่างนั้นคือใคร มีคุณลักษณะอย่างไร อยู่ที่ไหน มีขนาดหรือมีจำนวนเท่าไร และที่สำคัญในการพิจารณากำหนด กลุ่มตัวอย่างก็คือ จะเลือกกลุ่มตัวอย่างนี้ได้อย่างไร เพราะกลุ่มตัวอย่างจะต้องมีคุณสมบัติ ท่ีเปน็ ตวั แทนของประชากรท้ังหมดไดโ้ ดยปราศจากอคติ การกำหนดกลุม่ ตวั อยา่ งอาจทำได้ ๒ วธิ ี คอื ๑. กลุ่มตัวอย่างที่ได้มาโดยใช้ทฤษฏีความน่าจะเป็น (Probability Sample) หมายถึงกลุ่มตัวอย่างที่สมาชิกทุกหน่วยมีโอกาสได้รับเลือกเท่าๆ กัน เช่น การสุ่มตัวอย่างแบบ ง่าย การสมุ่ ตวั อย่างแบบกลุม่ เปน็ ตน้ ๒. กลุ่มตัวอย่างท่ีได้มาโดยไม่ใช้ทฤษฏีความน่าจะเป็น (Non-probability Sample) หมายถึงกลุ่มตัวอย่างท่ีสมาชิกทุกหน่วยมีโอกาสได้เลือกไม่เท่ ากัน เช่น การเลือก โดยสะดวก การเลอื กโดยเจาะจง หรอื การเลอื กโดยบงั เอิญ เป็นต้น ข้นั ที่ ๔ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล (Data Collection) ในการเก็บรวบรวมข้อมูลควรพิจารณาถึง การศึกษาวิจัยน้ันว่ามีข้อมูลข่าวสารที่เก่ียวข้อง กับเรื่องที่ทำการวิจัยอย่างไร เช่น มีทฤษฎี ข้อเขียน หรือการวิจัยในลักษณะเดียวกันกับ งานวิจัย ท่ีผ้อู ่ืนไดท้ ำไว้ก่อนหนา้ น้ี โดยมีรายละเอยี ดในการพิจารณา ดังน้ี ๑. ศึกษาแนวความคิดเกย่ี วกับเรอื่ งที่ทำการวจิ ยั ๒. ป้องกนั การทำงานซ้ำกบั เร่ืองทผี่ ู้อน่ื ได้ทำไว้ ๓. ศึกษาถงึ ข้อมูลท่ตี ้องการว่ามีอะไรบา้ ง ๔. ศกึ ษาถึงแนวทางการไดม้ าซง่ึ ข้อมลู ๕. ศกึ ษาวา่ ขอ้ มูลท่ตี ้องการน้นั เพยี งพอหรือไม่ การได้มาซึ่งข้อมูล หมายถึง วธิ ีพิจารณาการได้มาของข้อมูลว่าต้องการศึกษาถงึ ข้อมูล อะไร เป็นข้อมูลประเภทไหน มีวิธีการได้มาอย่างไร แหล่งข้อมูลดังกล่าวอยู่ที่ไหนและข้อมูล ได้มาด้วย ลกั ษณะหรือวธิ ีการใด การไดม้ าของขอ้ มลู แบง่ ออกได้ ดังนี้ ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลแบบภาคสนามที่ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวม ข้ึนเป็น ครั้งแรกและยังไม่มีผู้ใดเก็บรวบรวมมาก่อน ทั้งนี้เพื่อให้ตรงประเด็นกับเรื่องท่ีกำลัง ศึกษาอยู่ เพราะข้อมูลที่มีอยู่แล้วอาจไม่ตรงกันกับข้อมูลที่เราต้องการนำมาวิเคราะห์ ข้อมูล ปฐมภูมิเป็นการ รวบรวมข้อมูลเองด้วยวิธีการสังเกตหรือด้วยการทดลอง ส่วนใหญ่ได้มาจาก การสัมภาษณ์หรือการ ออกแบบสอบถาม เปน็ ข้อมลู ทเี่ ก็บรวบรวมจากแหล่งข้อมูลเบ้ืองต้นซ่ึงอาจจะเปน็ ข้อมลู ที่เกดิ จากคำถามในการ วจิ ยั (Churchill. 1996 : 55)๑ วิธีการในการวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจะเกี่ยวข้องกับคำถามต่อไปนี้ ๑. ควรรวบรวมโดยการสงั เกตหรอื การออกแบบแบบสอบถาม ๒. ควรจะมวี ิธกี ารสงั เกตอย่างไร ๓. การสำรวจด้วยตวั เองหรอื ใชเ้ คร่อื ง อเิ ล็กทรอนิกส์ ๔. คำถามควรจะมกี ารบรหิ ารโดยบคุ คล โทรศัพท์ หรือใชจ้ ดหมาย ๑ (Churchill. 1996 : 55)

การวจิ ัยเพอื่ พฒั นาการเรยี นรู้ ๔๐ ขอ้ มูลทตุ ิยภูมิ (Secondary Data) เป็นข้อมูลท่มี ีผู้อ่ืนเกบ็ ไดร้ วบรวมมากอ่ น และ นักวิจยั นำมาประกอบการวจิ ยั เพื่อชว่ ยอธิบายประเดน็ ปญั หาการวิจยั ให้มคี วามชดั เจนยง่ิ ขึ้น ข้อมูลทุติยภูมิเป็นข้อมูลที่ได้มาจากเอกสาร ที่ผู้วจิ ัยจะหามาจากห้องสมุด หรือสถานที่ต่างๆ โดยการคน้ คว้าจากเอกสารสงิ่ พิมพต์ า่ งๆ หรอื จาก คอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ ขน้ั ที่ ๕ การวิเคราะหข์ ้อมูล (Data Analysis) หลังจากการเกบ็ รวบรวมข้อมูลไดค้ รบตามต้องการแล้ว จะต้องนำเอาขอ้ มลู ทีไ่ ด้มาตรวจสอบ ความสมบูรณ์เสียก่อน แล้วนำไปบันทึกโดยจัดให้เป็นหมวดหมู่ ตามวิธีการทางสถิติ แยกประเภท ของข้อมูลตามตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตาม ส่วนใหญ่แล้วจะจัดแยกประเภทตาม ตัวแปรอิสระ เช่น เพศ อายุ การศึกษา เป็นต้น จากน้ันก็แจกแจงค่าความถ่ีออกมาเป็นตาราง เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล โดยพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม การ วิเคราะห์ข้อมูลควรยึดหลัก ความเรียบ ง่าย ชัดเจน ไม่ซับซ้อน การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนใหญ่จะ จัดทำเป็นตารางแสดงความถี่ และค่าร้อยละหรือค่าเฉล่ีย มีการพิสูจน์สมมติฐาน(ถ้ามี) ใช้สถิติ ประเภท t-test z-test หรือ ANOVA แล้วแต่กรณีการวิเคราะห์ข้อมูลอาจทำด้วยมือหรือด้วย อุปกรณ์ต่างๆ ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับความ ละเอียดของผลวจิ ัยที่ตอ้ งการหรอื งบประมาณท่ใี ช้ในการวจิ ัย การเกบ็ ขอ้ มูลแล้วงานนำแบบสอบถาม ทร่ี วบรวมไดม้ าดำเนนิ การดังนี้ คอื ๑. การบรรณาธิกรข้อมูล เป็นการตรวจสอบข้อมูลท่ีอยู่ในแบบสอบถามให้มีความ ถูกต้อง สมบูรณม์ ากท่ีสุด ก่อนลงรหสั ขอ้ มลู ผู้วิจยั ตอ้ งตรวจสอบความถูกต้อง ครบถว้ นของ คำตอบ ๒. การลงรหัส เป็นเกณฑ์ท่ีใช้แปลงคำตอบจากแบบสอบถาม หรือการสัมภาษณ์ให้ ออกมา ในรปู ของ ตวั เลขหรอื รหสั ข้อมูล ๓. การประมวลผล เป็นการนำขอ้ มูลท่อี ยู่ในแฟ้มข้อมลู มาวเิ คราะห์ ๔. สถติ ทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล สถติ ิที่ใชใ้ นการวิจยั อาจแบ่งออกได้ ๒ ประเภท คือ ๑. สถติ เิ ชงิ พรรณนา ( Descriptive Statistics ) ๒. สถติ เิ ชิงอนมุ าน ( Inferential Statistics ) วธิ กี ารในการจัดกระทำข้อมูล มอี ยู่ ๒ วิธี คอื ๑) การจดั กระทำขอ้ มลู ด้วยมือ ตัวอยา่ ง เพศ จำนวน รวม ชาย //// //// //// ๑๕ หญงิ //// //// //// ๑๕ รวม ๓๐ ๒) การจัดกระทำข้อมูลด้วยเครอ่ื งจกั ร อาจแบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท คือ - การจัดกระทำข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล ใช้ในการแยกประเภท การ รวบรวม จำนวน สำหรบั การวเิ คราะหห์ รือการคำนวณ ใชบ้ ุคคลเปน็ ผู้จัดกระทำ - การจัดกระทำด้วยเคร่ืองจักรคำนวณ ใช้เครื่องสมองกลในการจัดกระทำ ข้อมูลทกุ อย่าง ซึ่งรวมทง้ั การวิเคราะห์และการคำนวณดว้ ย การวเิ คราะห์ข้อมูล คอื การหาความหมาย

การวจิ ยั เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ๔๑ จากขอ้ มลู เพื่อจะได้ทราบวา่ ข้อมูลเหล่านัน้ ให้คำตอบอะไรสำหรับ การวจิ ัย สามารถแยกการวิเคราะห์ ข้อมูลได้ ๒ วิธี คือ (๑) การวิเคราะห์โดยใช้ตาราง โดยการนำเอาข้อมูลท่ีได้มาทำตารางโดยพิจารณาถึง วัตถุประสงค์ของการวิจัยว่าต้องการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งใดกับส่ิงใด แล้วจัดลำดับ ตาราง ตามความจำเปน็ แบง่ ออกเปน็ - ตารางแจกแจงเดี่ยว เปน็ การแจกแจงข้อมลู ตามลักษณะเพยี งอย่างเดยี ว - ตารางแจกแจงผสม เป็นการแจกแจงข้อมูลในลักษณะที่มีความสัมพันธ์หลายๆ ช่อง ตามลักษณะความสัมพันธ์ของข้อมูล การแจกแจงตารางในรูปของเปอร์เซ็นต์นิยมทำกันมาก เพราะสะดวกในการพจิ ารณา (๒) การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ คือนำข้อมูลท่ีเก็บได้และนำมาแปรสภาพให้อยู่ใน ลักษณะ ท่จี ะได้ความรู้จากข้อมลู มากกวา่ เดิม การแปลข้อมลู โดยวธิ ีการทางสถติ ิทำได้หลายวิธี เช่น - การวิเคราะหข์ ้อมลู โดยการวิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ต่างๆ ของขอ้ มูล - การวิเคราะห์โดยใช้หลักสถิติ - การวิเคราะหโ์ ดยใชว้ ิธกี ารของ Chi-Square Analysis - การวิเคราะห์โดยอาศัยหลกั ทางคณิตศาสตร์ เมอ่ื วิเคราะห์ขอ้ มูลแล้ว ตอ้ งตคี วามหรือแปลความหมายของข้อมูลดว้ ยวิธีการ ต่าง ๆ โดยทำ ความเข้าใจกับข้อมูล แล้วแปลความหมายออกมาว่าข้อมูลท่ีได้มาและวิเคราะห์ เรียบร้อยแล้วนั้น มี ลกั ษณะอย่างไร หมายความว่าอยา่ งไร โดยแปลความหมายออกมาเปน็ ลาย ลกั ษณอ์ ักษร ขน้ั ที่ ๖ การตีความหมายข้อมลู (Interpretation Data) หมายถึง การนำความหมายหรือการอธิบายผลของการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการอธิบาย รายละเอียดเพิ่มเติมจากการจากอ่านผลการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลที่ได้ทำการวิเคราะห์ทางสถิติเสร็จ เรียบร้อยแล้วจะอยู่ในลักษณะของตัวเลขตาราง เป็นสูตรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ ท่ีบุคคล ท่ัวไปอาจไม่ เข้าใจ ดังน้ันผู้วิจัยจะต้องแปลความหมายของข้อมูลท่ีได้มาให้เป็นภาษาที่บุคคลท่ัวๆ ไปสามารถทำ ความเข้าใจได้ การแปลความหมายของข้อมูลจะมีความสัมพันธ์กับการ วิเคราะห์ข้อมูล เพราะการ วิเคราะห์ข้อมูลก็เป็นการแปลความหมายของข้อมูลไว้บางส่วนแล้ว การแปลความหมายจะช่วยให้ ทราบว่าข้อมูลท่ีได้เก็บรวบรวมเอาไว้นั้นได้บอกหรือช้ีให้เห็นอะไร และมีความหมายอย่างไร โดยหลักการแล้วการตีความหมายจะยึดเอาข้อมูลท่ีมีอยู่ในการวิจัย มาใช้โดยไม่เอาความคิดเห็น สว่ นตวั หรอื ประสบการณข์ องผวู้ จิ ยั เข้ามารว่ มในการตคี วามด้วย ข้ันที่ ๗ การสรุปผลและรายงานผล (Conclusions and Report) ในข้ันนี้ผู้วิจัยจะต้องสรุปผลของการวิจัย จากข้อเท็จจริงท้ังหมดที่มีอยู่ตามหลักการ โดย อาศัยข้อมูลพ้ืนฐาน เพ่ือให้ทราบถึงผลที่เกิดมาในอดีตหรือเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบันจะช่วย ทำให้เกิดความเข้าใจได้เร็วขึ้น และเม่ือสรุปผลเสร็จเรียบร้อยแล้วจะต้องมีคำแนะนำหรือ มี ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาด้วย ที่ผู้วิจัยต้องเขียนรายงานตามข้อมูลวิจัยท่ีมีอยู่จริง โดย ปราศจากอคติ วิธกี ารเสนอ ผลการวจิ ัยอาจกระทำได้ ๓ รปู แบบ คอื ๑. นำเสนอด้วยปากเปล่า (Oral Report) ผู้วิจัยจะมีการรวบรวมข้อมูลและนำเสนอ ด้วยวาจาหรือปากเปล่าต่อที่ประชุมของผู้บริหารอาจมีการอภิปรายในสาระสำคัญของ ผลการวิจัย

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ๔๒ จะต้องมีเอกสารหรือหลักฐานมาแสดงให้ที่ประชุมได้เข้าใจ เป็นการสรุปเฉพาะ สาระสำคัญหรือผล ของการวิจัยว่าออกมาในลักษณะใด ตามความเหมาะสม เช่น สรุปผล รายงานการวิจัย แผ่นภาพ แผนภูมิ เป็นตน้ ๒. นำเสนอดว้ ยแผนภมู ิหรือแผ่นภาพ (Chart or Diagram Report) เป็นการ นำเสนอข้อมูล หรอื ผลการวิเคราะห์ท่ีนิยมใช้กนั เพราะบางคร้ังขอ้ มูลก็ยากตอ่ การอธิบายเป็น ลายลกั ษณอ์ ักษร หรือ อาจจะยาวเกินความจำเปน็ และอาจกอ่ ใหเ้ กิดความผิดพลาดได้ง่าย จึงมี การนำเสนอด้วยแผนภูมิหรือ ภาพซ่ึงได้รับความนิยมสูงเพราะมีลักษณะท่ีสวยงาม ส่ือ ความหมายได้โดยตรงถึงเร่ืองท่ีจะนำเสนอ โดยกำหนดให้รูปภาพของข้อมูลน้ันแทนความหมายของข้อมูล แผนภูมิท่ีสร้างข้ึนจะต้องชัดเจนและ งา่ ยต่อการเข้าใจ เช่น ขอ้ มูลเก่ยี วกบั จำนวน นักท่องเทีย่ วกอ็ าจใช้ รูปคนทแี่ ต่งกายในชุดนกั ท่องเท่ยี ว หรอื ขอ้ มูลเกีย่ วกับการใชเ้ งินในการ ทอ่ งเท่ียวกอ็ าจใช้รปู เงินสกลุ ต่างๆ เชน่ เงินบาท เงินเยน เปน็ ตน้ ๓. นำเสนอด้วยลายลักษณ์อักษร (Written Report) เป็นการนำเอาผลงานทั้งหมด ของการ วิจัยมาเขียนออกมาในรูปรายงาน ด้วยภาษาท่ีถูกต้องสามารถทำความเข้าใจได้ง่ายชัดเจนมีเอกสาร อ้างอิง เช่น รูปภาพ แผนภูมิ เป็นต้นโดยทั่วไปแล้วการนำเสนอรายงานมักจะใช้ท้ัง ๓ วิธีพร้อมๆ กัน เพื่อทำให้การนำเสนอ รายงาน ถูกต้อง รวดเรว็ เขา้ ใจง่าย ขน้ั ท่ี ๘ การเขียนรายงานวิจัย (Research Report) เป็นการให้ผู้อ่านรู้ถึงปัญหาแลรายละเอียดของการวิจัย ท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรอธิบาย ถึงจุดมุ่งหมายของหัวข้อที่จะศึกษา วัตถุประสงค์ของการทำวิจัย หรือปัญหาท่ีต้องการศึกษาหา คำตอบ ความสำคัญของปัญหา เพ่ือให้ทราบว่าการวิจัยที่ทำน้ีมีความสำคัญอย่างไรบ้าง เช่น ความสำคัญของปัญหา การวิเคราะห์ปัญหา แนวความคิดหรือทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง ดัง รายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี ๑. เสนอสภาพท่เี ปน็ ความเป็นจริง ๒. ส่ิงที่เปน็ ปัญหาทเ่ี กิดจากการวจิ ยั ๓. แสดงให้เห็นว่าปญั หาทเี่ กิดขึ้น ทำใหเ้ กิดผลอย่างไร เพราะเหตุใด การเขียนรายงานวิจัยทางการท่องเท่ียว มีลักษณะเหมือนกันกับรายงานวิจัยทาง สังคมศาสตร์ ซ่งึ แบง่ ออกได้ เป็น ๓ สว่ น คอื ส่วนนำ สว่ นเนอื้ หา และส่วนทา้ ย ดงั น้ี ๑. สว่ นนำ แบง่ ออกเป็น - ปก ประกอบด้วย ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย สถานที่ทำงาน แหล่ง เงินทุน สนับสนุน (ถ้ามี) เดอื นและปที พี่ มิ พ์ - ปกใน มรี ายละเอียดเหมือนปก - บทคัดย่อ สรุปถึงการวิจัยโดยกล่าวถงึ ปญั หาของการวจิ ัย ระเบียบวิธีวิจัย ผล ของ การวิจัย ข้อสรุป ขอ้ เสนอแนะ - คำนำ เป็นความคิดเห็นถึงเบ้ืองหลัง แรงจูงใจ ปัญหาและอุปสรรค การทำวิจัย ฯลฯ กติ ตกิ รรมประกาศ - สารบญั เป็นการบอกการแบง่ บท หัวข้อ เลขทห่ี น้า - สารบัญตาราง สารบาญแผนภูมิ สารบาญภาพ ที่มีอยู่ในรายงานวิจัยพร้อม เลขท่ี หน้า

การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ ๔๓ ๒. สว่ นเนือ้ หา แบ่งออกเปน็ ๕ บท คอื บทท่ี ๑ บทนำ - ความเปน็ มาของปญั หาการวจิ ยั - ปัญหาการวิจยั - สมมตฐิ านการวิจัย (ถ้ามี) - วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั - ขอบเขตหรือข้อจำกดั ของการวิจยั - คำจำกัดความ - ประโยชนข์ องการวิจยั บทท่ี ๒ ทบทวนวรรณกรรม - ทฤษฏี (เอกสาร บทความ ตำรา) - งานวจิ ยั ที่เกีย่ วขอ้ ง บทท่ี ๓ วธิ วี จิ ยั - ประเภทของข้อมลู - ประชากรหรือกลุ่มตวั อย่าง - เครอื่ งมือท่ีใชเ้ ก็บข้อมลู - การเกบ็ ข้อมลู - การวิเคราะห์ข้อมลู บทท่ี ๔ การวเิ คราะห์ข้อมลู - นำผลการวเิ คราะห์และการตีความมาแสดง บทท่ี ๕ สรุปและข้อเสนอแนะ - สรุปผลการวจิ ัย - ข้อเสนอแนะ ๓. ส่วนทา้ ย - บรรณานุกรม - ภาคผนวก ๓.๓ ขอ้ พงึ ระวงั ในการวจิ ยั การวิจัยบางคร้ังก็ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างสมบูรณ์ เพราะเกิดจากปัญหา บางประการ ปัญหาหรอื ขอ้ ท่คี วรระวังในการทำวิจยั สามารถแบ่งออกได้ ดงั น้ี ๑. ความเท่ียงตรงของข้อมูล ผู้วิจัยต้องพิจารณาว่าข้อมูลหรือเอกสาร หลักฐานต่างๆ นั้น มคี วามถูกต้องสมบูรณ์ ทนั กับเหตุการณ์ ซึ่งจำเปน็ ตอ้ งมกี ารตรวจสอบอยา่ งรอบ คอบ ๒. การกำหนดสมมติฐาน น้ันกำหนดข้ึนจากทฤษฏี แนวความคิด ประสบการณ์ ข้อมูลหรือ จากการสงั เกต วา่ มีความเปน็ ไปไดห้ รือไม่