-ก- แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การป้องกนั การทุจริต” ระดบั มธั ยมศกึ ษาชั้นปที ่ี 6 ชุดหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศึกษา (Anti - Corruption Education) สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ ร่วมกบั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2561
-ข- ก คานา ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ได้กาหนดยุทธศาสตรท์ ่ี 1 สร้างสงั คมที่ไม่ทนต่อการทุจริต อันมีกลยุทธ์ว่าด้วยเร่ืองของการปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ส่งเสริมให้มีระบบและ กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพ่ือต้านทุจริต ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเคร่ืองมือต้านทุจริต เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต คณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จึงได้มีคาสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจัดทา หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ขึ้น เพ่ือศึกษา วิเคราะห์ และ รวบรวมข้อมูล กาหนดแนวทางและขอบเขตในการจัดทาหลักสูตร ยกร่างและจัดทาเน้ือหาหลักสูตรหรือชุดการ เรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ พิจารณาให้ความเห็นเพ่ิมเติม กาหนดแผนหรือแนวทางการนาหลักสูตรไปใช้ ในหน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ ง และดาเนนิ การอ่นื ๆ ตามทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย คณะอนุกรรมการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการ ทุจริตได้ร่วมกันสร้างหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ประกอบด้วย ๕ หลักสูตร ดังน้ี ๑. หลักสูตรการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (รายวิชาเพิม่ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ) ๒. หลกั สตู รอุดมศึกษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with good heart”) ๓. หลักสูตรตามแนวทางรับราชการ กลุ่มทหารและตารวจ ๔. หลักสูตรสร้าง วิทยากรผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต และ ๕. หลักสูตรโค้ชเพ่ือการรู้คิดต้านทุจริต หลักสูตร ดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการนาไปทดลองใช้ เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ สาหรับการใช้ในกลุ่มเป้าหมายต่อไป นอกจากน้ี คณะอนุกรรมการจัดทาหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการ ทุจริตยังได้คัดเลือกสื่อการเรียนรู้ จากแหล่งต่างๆ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ เพื่อประกอบการเรียนการสอน ต่อไป สานักงาน ป.ป.ช. หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education จะสร้าง ความรู้ความเขา้ ใจและทักษะให้แกผ่ เู้ รยี นหรอื ผู้ผ่านการอบรมในเรื่องการคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม ความอายและความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG : จิตพอเพียงต้านทุจริต และพลเมือง กับความรับผิดชอบต่อสังคม เพ่ือร่วมกันป้องกันหรือต่อต้านการทุจริต มิให้มีการทุจริตเกิดขึ้นในสังคมไทย รว่ มสร้างสงั คมไทยท่ไี มท่ นตอ่ การทจุ ริตตอ่ ไป พลตารวจเอก (วชั รพล ประสารราชกิจ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. 14 มนี าคม ๒๕๖๑
-ค- สารบัญ หนา้ โครงสร้างรายวชิ า 1 หน่วยท่ี 1 การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม 2 หน่วยท่ี 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ 31 หนว่ ยที่ 3 STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทจุ รติ 72 หนว่ ยท่ี 4 พลเมืองกับความรับผิดชอบตอ่ สังคม 96 ภาคผนวก 144 คาส่ังแต่งตัง้ คณะอนกุ รรมการจดั ทาหลกั สตู รหรอื ชุดการเรียนรแู้ ละ 145 สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ ด้านการป้องกันการทจุ รติ สานกั งาน ป.ป.ช. รายชอื่ คณะทางานจัดทาหลักสูตรหรอื ชดุ การเรยี นรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ 148 ดา้ นการป้องกนั การทจุ รติ กลุ่มการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รายชอื่ คณะบรรณาธิการกจิ หลกั สูตรหรือชดุ การเรียนร้แู ละสอ่ื ประกอบการเรียนรู้ 151 ดา้ นการป้องกันการทจุ ริต กลุ่มการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน รายชือ่ คณะผู้ประสานงานการจัดทาหลักสูตรหรือชดุ การเรียนรูแ้ ละสอ่ื ประกอบการเรียนรู้ 153 ด้านการปอ้ งกนั การทุจริต กลุ่มการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานกั งาน ป.ป.ช.
-๑- โครงสรา้ งรายวชิ า ระดบั มธั ยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ลาดับ หนว่ ยการเรยี นรู้ เร่ือง รวมช่ัวโมง 1. การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ - ความแตกต่างระหว่างจรยิ ธรรมและการ 10 สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ทจุ ริต (โลก) 7 - ประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์ 8 สว่ นรวม (โลก) 15 - การขัดกนั ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชน์ส่วนรวม (โลก) - ผลประโยชนท์ บั ซ้อน (โลก) - รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อน (โลก) - การสอบ 2. ความละอายและความไม่ทนตอ่ การ - การเลือกต้ัง ทุจริต - กจิ กรรมนักเรยี น 3. STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการ - ความพอเพยี งประสานเสียงต้านทุจริต ทจุ รติ - ความโปร่งใสใจสะอาดต้านทุจริต - ต่นื รตู้ า้ นทจุ ริต - เรยี นรู้เทา่ ทนั ป้องกนั การทุจริต 4. พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบต่อสงั คม - การเคารพสทิ ธิหน้าท่ีต่อตนเองและผู้อืน่ - ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย - ความรับผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อืน่ - พลเมืองที่มีความรับผดิ ชอบต่อการ ป้องกนั การทุจริต - พลโลกท่ีมคี วามรับผิดชอบต่อการ ป้องกันการทจุ ริต * สมั มนา แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เผยแพร่ความรู้ รวม 40
-๒- หนว่ ยที่ ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวม
-๓- แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ช่ือหน่วย การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๖ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ความแตกตา่ งระหว่างจริยธรรมและการทุจริต (โลก) เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. ผลการเรียนรู้ มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๒.๑ นักเรียนสามารถบอกหลักการแยกแยะระหวา่ งจริยธรรมและการทุจริตได้ ๒.๒ นกั เรยี นสามารถแยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทุจริตได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ หลกั การการแยกแยะระหว่างจรยิ ธรรมและการทุจรติ - ผลจากการกระทาไม่ทาให้ตนเองและผู้อ่ืนเดือดร้อน - การกระทาสอดคลอ้ งกบั คุณธรรม ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด) 1) ความสามารถในการส่ือสาร 2) ความสามารถในการคดิ ๓.๓ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ / ค่านิยม มุง่ ม่ันในการทางาน ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรยี นรู้ / ขั้นตอนการจัดประสบการณ์ ชั่วโมงท่ี ๑ ๑. ใหน้ กั เรยี นดูคลิปวีดีโอ “ความหมายและความสาคัญของคณุ ธรรม จรยิ ธรรม (หน้าท่ี พลเมอื งฯ)”( https://www.youtube.com/watch?v=u1kIHk7VGhg) ครูต้งั คาถามดงั น้ี ๑.๑ เนื้อหาของคลิปวดี ีโอเกี่ยวกบั เร่ืองอะไร ๑.๒ คุณธรรม/จรยิ ธรรม หมายถึงอะไร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ๑.๓ คณุ ธรรม/จรยิ ธรรม มคี วามสาคญั อยา่ งไร ในระดับตนเอง โรงเรยี น ชุมชน ประเทศ และระดบั โลก ครแู ละนักเรียนชว่ ยกันสรปุ คุณธรรมคือ หลักของความดีความงาม ความถูกตอ้ ง จรยิ ธรรมคือ การปฏบิ ัตติ นเพ่ือใหเ้ กดิ คุณธรรม ความสาคัญของคณุ ธรรม จริยธรรมคือ เปน็ ส่ิงถูกต้อง ดีงาม ทีท่ ุกคนควรปฏบิ ตั ิท้งั ในระดับสงั คม ประเทศชาติ โลก
-๔- ๒. ใหน้ ักเรียนดูวดี โี อ “หนงั สนั้ เรอื่ งการทจุ ริต – YouTube (https://www.youtube.com/watch?v=8ZGdHVb1RYw) ครตู ัง้ คาถามดงั น้ี ๒.๑ จากคลปิ วีดโี อมกี ารกระทาผิดทางจริยธรรมมากนอ้ ยแคไ่ หน อยา่ งไร ๒.๒ การทุจริต มคี วามสาคัญอย่างไร ก่อใหเ้ กดิ ปัญหาต่อสังคม ประเทศชาติและ โลก อย่างไร ๒.๓ การทุจรติ มีความสาคัญอย่างไร ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุป ได้วา่ การทจุ รติ คือ การปฏบิ ตั ิหรอื ละเวน้ การปฏบิ ตั ิอย่างใดอยา่ งหน่ึง เพอื่ ประโยชน์ที่ มคิ วรไดโ้ ดยชอบสาหรบั ตนเองหรือผูอ้ นื่ ความสาคัญของการทจุ ริต คือ พฤติกรรมทีก่ ่อใหเ้ กดิ ความเดอื ดรอ้ น แกต่ นเอง และหรอื ผู้อน่ื ชัว่ โมงที่ ๒ ๓. แบ่งนกั เรยี นเปน็ ๔ กลมุ่ กลมุ่ ละเท่าๆกัน กล่มุ ที่ ๑ และ ๒ ใหร้ ะบุถึงการกระทาท่ีสือ่ ถงึ เรือ่ ง จริยธรรม เชน่ ประเทศไทยสง่ อาหารให้ผูป้ ระสบภยั นา้ ทว่ มในอเมรกิ า กลุ่มท่ี ๓ และ ๔ ให้ระบุถงึ การกระทาทส่ี อ่ื ถงึ เร่ือง การทุจริต เชน่ บรษิ ทั เลห์แมน บราเธอรส์ ต้องลม้ ละลาย เนื่องจากใชเ้ ทคโนโลยที าง บญั ชเี พอื่ บดิ เบอื นข้อมูลทางการเงนิ โดยเขียนข้อความท่รี ะบลุ งในกระดาษ flipchart เป็นการแยกแยะระหวา่ ง จริยธรรมกับการทุจรติ ๔. ใหน้ กั เรยี นกลุม่ ๑,๒ และ ๓,๔ ร่วมกนั เลือกกระทาที่ซา้ /คลา้ ยกนั มานาเสนอ ๕. ครูและนกั เรียนช่วยกันชว่ ยกันสรุปหลักการแยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ ริต ว่า จรยิ ธรรมเปน็ - ผลจากการกระทาไมท่ าให้ตนเองและผอู้ ื่นเดือดรอ้ น ซึ่งเป็นการกระทาสอดคลอ้ ง กบั หลกั คุณธรรมสว่ นการทจุ ริตเปน็ การกระทาให้ตนเองและส่วนรวมเดือดร้อน ๔.๒ สอื่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) คลิปวดี โี อ “ความหมายและความสาคัญของคุณธรรม จรยิ ธรรม (หนา้ ท่ีพลเมืองฯ)” ( https://www.youtube.com/watch?v=u1kIHk7VGhg) ๒) คลิปวดี ีโอ “หนงั สน้ั เร่ืองการทุจริต – YouTube (https://www.youtube.com/watch?v=8ZGdHVb1RYw) ๓) กระดาษ flipchart ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วิธีการประเมิน -ตรวจผลงานการแยกแยะระหวา่ งจริยธรรมและการทจุ ริต -สังเกตพฤติกรรมมงุ่ มัน่ ในการทางาน
-๕- ๕.๒ เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการประเมนิ -แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานการแยกแยะระหว่างจริยธรรมและการทุจริต -แบบสังเกตพฤติกรรมมุ่งมั่นในการทางาน ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สิน -ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ การให้คะแนนระดับดีข้นึ ไป -ผ่านเกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรมระดับดีข้นึ ไป ๖. บันทึกหลังสอน ............................................................................................................................. ................................ ............................................................................................................................. ....................................... ............................................................................................ ........................................................................ ............................................................................................................................. ....................................... ............................................................................................................................................... ..................... ลงช่อื ................................................ ครผู ู้สอน (.................................................)
-๖- ๗. ภาคผนวก แบบให้คะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหว่างจรยิ ธรรมและการทุจรติ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ /...... กลุม่ ที่....................... รายการประเมิน ท่ี กลุม่ ที่ รวม ความถูกตอ้ ง การส่ือสารชดั เจน มคี วามพร้อม มีการใช้ ตรงตามประเด็น เขา้ ใจง่าย ในการนาเสนอ กระบวนการกล่มุ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากบั พอใช้ 1 คะแนน เท่ากับ ปรับปรุง 13 - 16 ดมี าก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรบั ปรงุ
-๗- แบบสังเกตพฤติกรรม “มุ่งมั่นในการทางาน” คาช้ีแจง ทาเคร่ืองหมาย ในช่องทตี่ รงกับความเป็นจริงตามเกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ (ใชข้ ้อมูลจากการสงั เกตตามสภาพจริงของครผู สู้ อน) ทางานดว้ ยความเพียร ต้ังใจและรับผิดชอบ พยายาม และอดทนเพื่อให้ รวม เลขท่ี ชื่อ - สกลุ ในการปฏิบัติหน้าท่ีการงาน งานสาเร็จตามเปา้ หมาย 4 3 21 4 321 1 2 3 4 ๕ เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กบั ดมี าก 3 คะแนน เท่ากบั ดี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กบั พอใช้ 1 คะแนน เท่ากับ ปรับปรงุ 7 - 8 ดมี าก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรบั ปรงุ (ลงชอ่ื )...................................ครูผปู้ ระเมิน (…………………………………………………) ............../................./...............
-๘- แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยท่ี ๑ ชอ่ื หน่วย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ช้ันมัธยมศึกษาปี ท๖่ี แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรื่อง ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม (โลก) เวลา ๒ ช่ัวโมง ๑. ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั สว่ นรวมได้ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.๑ นกั เรยี นสามารถบอกหลกั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กับผลประโยชนส์ ่วนรวม ได้ ๒.๒ นกั เรยี นสามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กับผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ หลกั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม แยกได้โดยดูท่ี ลกั ษณะของผลประโยชนท์ ่ีเกิดขึ้นวา่ เกดิ กับใคร ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) 1) ความสามารถในการฟัง พูด และเขยี น 2) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ / ค่านิยม มุ่งมั่นในการทางาน ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขั้นตอนการเรยี นรู้ / ขั้นตอนการจดั ประสบการณ์ ชัว่ โมงท่ี ๑ ๑. ใหน้ ักเรยี นดคู ลิปวดี ีโอ \"กาฝาก\" ส่ือการเรียนรู้การแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนและ สว่ นรวม( https://www.youtube.com/watch?v=EHF9lTpTYkg) และ คลปิ วีดโี อ \"คุณวา่ ใคร ชนะ\" สื่อการเรียนรู้การแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนและส่วนรวม (https://www.youtube.com/watch? v=u6L749nfVWk) ครูต้ังคาถามดังน้ี ๑.๑ เนอื้ หาของคลปิ วีดโี อเกย่ี วกบั เรอ่ื งอะไร และสะท้อนความคิดของนักเรียน อยา่ งไร ๑.๒ ผลประโยชนส์ ่วนตนและส่วนรวม หมายถงึ อะไร ๑.๓ การแยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนและส่วนรวม หลักการแยกแยะอยา่ งไร และ มีความสาคญั ต่อสังคม ประเทศชาตแิ ละโลกอย่างไร ครูและนักเรียนช่วยกันสรปุ ได้วา่ ผลประโยชนส์ ว่ นตนคอื การกระทาทส่ี ่งผลกับตนเองเทา่ นั้น ผลประโยชนส์ ว่ นรวมคือ การกระทาท่ีสง่ ผลกบั ผู้อื่นโดยท่วั ไป
-๙- ความสาคัญของการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและส่วนรวม คือ ได้ เรยี นรกู้ ารกระทาใดมผี ลกับใครและทาให้ใครเสียประโยชน์หรอื ไม่ ๒. แบ่งนกั เรียนเป็น ๒ กลุ่มกลุ่มละเทา่ ๆกัน คดิ บทบาทสมมุตใิ นหัวข้อคือ “ผลประโยชน์ ส่วนตนหรอื ส่วนรวม คณุ เลือกอะไร” โดยใชเ้ วลา 10 นาที ชวั่ โมงท่ี ๒ ๓. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุม่ แสดงบทบาทสมมุติ ๔. ครูสังเกตพฤติกรรมการแสดงบทบาทสมมตขิ องนักเรียน ๕. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปหลักการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน และ ผลประโยชน์สว่ นรวม ดังน้ี - หลักการคือดูที่ลักษณะของผลประโยชน์ท่เี กดิ ขนึ้ วา่ เกิดกับใคร ๔.๒ ส่อื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) คลปิ วีดโี อ \"กาฝาก\" สอื่ การเรียนร้กู ารแยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนและสว่ นรวม ( https://www.youtube.com/watch?v=EHF9lTpTYkg) ๒) คลปิ วดี โี อ \"คุณว่าใครชนะ\" ส่อื การเรยี นรู้การแยกแยะผลประโยชนส์ ่วนตนและส่วนรวม (https://www.youtube.com/watch? v=u6L749nfVWk) ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วิธกี ารประเมิน -สงั เกตการแสดงบทบาทสมมุติผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชนส์ ว่ นรวม -สงั เกตพฤติกรรมมงุ่ มน่ั ในการทางาน ๕.๒ เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการประเมนิ -แบบให้คะแนนการแสดงบทบาทสมมุติประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม -แบบสังเกตพฤติกรรมมุง่ มนั่ ในการทางาน ๕.๓ เกณฑ์การตัดสิน -ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ได้คะแนนระดับดีข้นึ ไป -ผา่ นเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมระดับดีขึ้นไป ๖. บนั ทกึ หลังสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................................................................. ......................................... ลงชอ่ื ................................................ ครผู ูส้ อน (.................................................)
- ๑๐ - ๗. ภาคผนวก แบบใหค้ ะแนนการแสดงบทบาทสมมตุ ิประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ /...... กลุ่มที่....................... รายการประเมิน ที่ กลมุ่ ท่ี รวม ความถกู ตอ้ ง การส่ือสารชดั เจน มีความพร้อม มีการใช้ ตรงตามประเดน็ เขา้ ใจง่าย ในการนาเสนอ กระบวนการกลุม่ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กบั ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เท่ากับ ปรบั ปรงุ 13 - 16 ดมี าก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรับปรงุ
- ๑๑ - แบบสังเกตพฤติกรรม “มุ่งม่ันในการทางาน” คาชแ้ี จง ทาเคร่ืองหมาย ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริงตามเกณฑ์การประเมิน ตัง้ ใจและรับผิดชอบ ทางานดว้ ยความเพียร รวม ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่การงาน เลขที่ ชื่อ - สกุล พยายาม และอดทนเพ่ือให้ งานสาเร็จตามเป้าหมาย 4 3 21 4 321 1 2 3 4 ๕ เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากับ พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรบั ปรุง 7 - 8 ดมี าก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรบั ปรงุ (ลงชื่อ)...................................ครูผปู้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./...............
- ๑๒ - แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ ๑ ชื่อหนว่ ย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ช้นั ม.๖ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ เร่ือง การขดั กนั ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและ เวลา ๒ ชวั่ โมง ผลประโยชนส์ ่วนรวม (โลก) ๑. ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรียนสามารถบอกลักษณะการขดั กันระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ลักษณะการขัดกนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวมเกดิ ขน้ึ จากอะไรมี ผลกระทบอย่างไร ๓.๒ ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร ๒) ความสามารถในการวเิ คราะห์ ๓.๓ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ / ค่านิยม ม่งุ มน่ั ในการทางาน ๔. กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ข้ันตอนการเรยี นรู้ / ข้ันตอนการจดั ประสบการณ์ ชวั่ โมงที่ ๑ ๑. ให้นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ เร่ือง การขัดกันระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม ครูตั้งคาถามดังน้ี ๑.๑ ลกั ษณะการขัดกนั ระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวมมี ขัน้ ตอนอย่างไร ๑.๒ การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมมผี ลกระทบ อยา่ งไร ๒. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุป ไดว้ า่ การท่ีเจา้ หนา้ ที่ของรฐั กระทาการใดๆ ตามอานาจหน้าทีเ่ พื่อประโยชนส์ ว่ นรวม แต่ กลบั เข้าไปมสี ่วนได้สว่ นเสียกับกิจกรรมที่เอื้อประโยชน์ให้แกต่ นเองและพวกพ้อง ทาใหก้ ารใช้อานาจไปทาง ทจุ ริต ชวั่ โมงท่ี ๒ ๓. แบ่งนกั เรียนออกเปน็ ๔ กลมุ่ กล่มุ ละเท่าๆกัน ให้ชว่ ยกันจดั ทาแผนภูมิความคิด เรื่อง ลกั ษณะการขัดกันระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม และ แนวทางแก้ไขปญั หา ลงในกระดาษ flipchart
- ๑๓ - ๔. แต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี นและนาผลงานไปติดทป่ี ้ายนเิ ทศในช้นั เรียน ๕. ครแู ละนักเรียนชว่ ยกันช่วยกนั สรปุ ลกั ษณะการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม ดงั น้ี ลักษณะการขัดกนั ระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวมคือ เมื่อ ผลประโยชน์ส่วนตนต้องไปทาให้เกิดผลกับสว่ นรวม แนวทางแก้ไขปัญหา คือปลูกฝังใหค้ นเห็น ประโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ สว่ นตวั ๔.๒ ส่ือการเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้ ๑) ใบความรเู้ ร่อื ง การขัดกนั ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ๒) กระดาษ flipchart 3) แผนภมู ิความคิด ๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วิธกี ารประเมนิ -ตรวจผลงานแผนภมู ิความคดิ การขดั กันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม -สังเกตพฤตกิ รรมมงุ่ ม่ันในการทางาน ๕.๒ เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการประเมนิ -แบบให้คะแนนการตรวจผลงานแผนความคิดการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม -แบบสังเกตพฤติกรรมมุ่งมนั่ ในการทางาน ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ -ผา่ นเกณฑ์การประเมินด้คะแนนระดบั ดีขนึ้ ไป -ผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมระดบั ดขี ้นึ ไป ๖. บันทกึ หลังสอน ...................................................................................................................... ................................... ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ลงชอื่ ................................................ ครผู สู้ อน (.................................................)
- ๑๔ - ๗. ภาคผนวก แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทุจริต ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ /...... กลุ่มที่....................... รายการประเมิน ท่ี กลุ่มที่ รวม ความถกู ตอ้ ง การสือ่ สารชดั เจน มคี วามพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเด็น เข้าใจงา่ ย ในการนาเสนอ กระบวนการกลุม่ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กับ ดมี าก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กบั พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรับปรงุ 13 - 16 ดีมาก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรับปรุง
- ๑๕ - แบบสังเกตพฤติกรรม “มงุ่ ม่นั ในการทางาน” คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย ในชอ่ งท่ตี รงกบั ความเป็นจริงตามเกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ (ใชข้ ้อมูลจากการสงั เกตตามสภาพจริงของครูผสู้ อน) ทางานด้วยความเพียร ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบ พยายาม และอดทนเพ่ือให้ รวม เลขท่ี ชือ่ - สกลุ ในการปฏิบัติหน้าท่ีการงาน งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย 4 3 21 4 321 1 2 3 4 ๕ เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากับ พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กบั ปรบั ปรงุ 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรับปรุง (ลงช่ือ)...................................ครูผูป้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๑๖ - ใบความรู้ เร่อื งการขดั กันระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวม ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง “การขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม” “จริยธรรม” และ “การทุจรติ การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม หมายถึง การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐ กระทาการใด ๆ ตามอานาจหน้าท่ีเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม แต่กลับเข้าไปมีส่วนได้เสียกับกิจกรรม หรือการ ดาเนินการท่ีเอ้ือผลประโยชน์ให้กับตนเองหรือพวกพ้อง ทาให้การใช้อานาจหน้าที่เป็นไปโดยไม่สุจริต ก่อให้เกดิ ผลเสียตอ่ ภาครัฐ จริยธรรมเป็นกรอบใหญ่ทางสังคมที่เป็นพื้นฐานของแนวคิดเก่ียวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ สว่ นตนกับประโยชน์สว่ นรวม ประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชน์ส่วนรวมและการทุจริต เช่น ใช้ตาแหน่งหน้าที่ในการแสวงหาผลประโยชน์แก่ ตนเองและพวกพอ้ ง เป็นตน้ รปู แบบของการขดั กันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมมีได้หลายรูปแบบไม่จากัดอยู่เฉพาะใน รูปแบบของตัวเงิน หรือทรัพย์สินเท่านั้น แต่รวมถึงผลประโยชน์อ่ืนๆ ที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบของตัวเงินหรือ ทรัพย์สินด้วย ท้ังนี้ John Langford และ Kenneth Kernaghan ได้จาแนกรูปแบบของการขัดกันระหว่าง ประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม ออกเป็น 7 รปู แบบ คอื ๑) การรับผลประโยชน์ต่าง ๆ (Accepting benefits) เช่น การรับของขวัญจากบริษัท ธุรกิจ บริษัทขายยาหรืออุปกรณ์การแพทย์สนับสนุนค่าเดินทางให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีไปประชุมเร่ือง อาหารและยาที่ต่างประเทศ หรือหน่วยงานราชการรับเงินบริจาคสร้างสานักงานจากธุรกิจที่เป็นลูกค้าของ หน่วยงาน หรือแม้กระทั่งในการใช้งบประมาณของรัฐเพื่อจัดซื้อจัดจ้างแล้วเจ้าหน้าที่ได้รับของแถม หรือ ประโยชนอ์ ื่นตอบแทน เปน็ ตน้ ๒) การทาธุรกิจกับตนเอง (Self - dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) หมายถึง สถานการณท์ ีผ่ ดู้ ารงตาแหน่งสาธารณะ มสี ่วนไดเ้ สยี ในสัญญาที่ทากับหน่วยงานที่ตนสังกัด ตัวอย่างเช่น การ ใช้ตาแหน่งหน้าที่ทาให้หน่วยงานทาสัญญา ซ้ือสินค้าจากบริษัทของตนเอง หรือจ้างบริษัทของตนเป็นท่ี ปรึกษา หรอื ซ้อื ท่ีดนิ ของตนเองในการจัดสร้างสานักงาน สถานการณ์เช่นน้ีเกิดบทบาทท่ีขัดแย้ง เช่น เป็นท้ัง ผซู้ ้ือและผ้ขู ายในเวลาเดียวกัน ๓) การทางานหลังจากออกจากตาแหน่งหน้าท่ีสาธารณะหรือหลังเกษียณ (Post - employment) หมายถึงการที่บุคคลลาออกจากหน่วยงานของรัฐ และไปทางานในบริษัทเอกชนที่ดาเนิน ธุรกจิ ประเภทเดียวกนั เช่น ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าทข่ี ององค์การอาหารและยา ลาออกจากงานราชการและไป ทางานในบริษัทผลิตหรือขายยา หรือผู้บริหารกระทรวงคมนาคมหลังเกษียณออกไปทางานเป็นผู้บริหารของ บริษทั ธุรกจิ ส่อื สาร ๔) การทางานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ในรูปแบบนี้มีได้ หลายลักษณะ เช่น ผู้ดารงตาแหน่งสาธารณะตั้งบริษัทดาเนินธุรกิจ ท่ีเป็นการแข่งขันกับหน่วยงานหรือ องคก์ ารสาธารณะทตี่ นสงั กดั หรอื การรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการ โดยอาศัยตาแหน่งในราชการสร้างความ นา่ เช่อื ถือวา่ โครงการของผู้ว่าจ้างจะไม่มีปัญหาติดขัดในการพิจารณาจากหน่วยงานท่ีที่ปรึกษาสังกัดอยู่ หรือ
- ๑๗ - ในกรณีทเ่ี ป็นผตู้ รวจสอบบญั ชขี องกรมสรรพากร ก็รบั งานพเิ ศษเปน็ ทปี่ รึกษาหรอื เปน็ ผูท้ าบัญชีให้กับบริษัทที่ ต้องถกู ตรวจสอบ ๕) การรู้ข้อมูลภายใน (Inside information) หมายถึง สถานการณ์ท่ีผู้ดารงตาแหน่ง สาธารณะใช้ประโยชน์จากการรขู้ ้อมลู ภายในเพอื่ ประโยชน์ของตนเอง เช่น ทราบว่ามีการตัดถนนผ่านบริเวณ ใด ก็จะเข้าไปซือ้ ท่ีดินนน้ั ในนามของภรรยา หรือทราบว่าจะมีการซื้อขายท่ีดินเพื่อทาโครงการของรัฐก็จะเข้า ไปซอ้ื ทด่ี นิ นัน้ เพ่อื เก็งกาไรและขายให้กบั รัฐในราคาท่สี ูงข้ึน ๖) การใช้ทรัพย์สินของราชการเพ่ือประโยชน์ธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s property for private advantage)เช่น การนาเครื่องใช้สานักงานต่างๆ กลับไปใช้ที่บ้าน การนารถยนต์ ราชการไปใช้ในงานส่วนตัว ๗) การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้งเพ่ือประโยชน์ทางการเมือง (Pork - barreling)เช่น การท่ีรัฐมนตรีอนุมัติโครงการไปลงพ้ืนที่หรือบ้านเกิดของตนเอง หรือการใช้งบประมาณ สาธารณะเพื่อหาเสยี ง เม่ือพิจารณา “ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ สว่ นตนกับประโยชน์สว่ นรวม พ.ศ. ....” ทาใหม้ ีรูปแบบเพมิ่ เตมิ จาก ท่กี ล่าวมาแลว้ ข้างตน้ อีก 2 กรณี คอื ๘) การใช้ตาแหน่งหน้าที่แสวงหาประโยชน์แก่เครือญาติหรือพวกพ้อง (Nepotism) หรืออาจจะเรียกว่าระบบอุปถัมภ์พิเศษ เช่น การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ใช้อิทธิพลหรือใช้อานาจหน้าท่ีทาให้ หนว่ ยงานของตนเขา้ ทาสญั ญากบั บริษัทของพ่นี ้องของตน ๙) การใช้อิทธิพลเข้าไปมีผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าท่ีรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐอื่น (influence) เพ่ือให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง เช่น เจ้าหน้าท่ีของรัฐใช้ตาแหน่งหน้าที่ข่มขู่ผู้ใต้บังคับ บญั ชาใหห้ ยดุ ทาการตรวจสอบบรษิ ัทของเครอื ญาตขิ องตน ดงั นั้น จึงสามารถสรุปรูปแบบของการกระทาท่ีเข้าข่ายเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับ ประโยชนส์ ่วนรวม (Conflict of Interest) เป็น 9 รปู แบบ ดังน้ี
- ๑๘ - การรับผลประโยชน์ตา่ งๆ (Accepting benefits) การทาธรุ กจิ กบั ตนเอง (Self – dealing) หรือเปน็ คู่สญั ญา (Contracts) การทางานหลงั จากออกจากตาแหนง่ หนา้ ท่ีสาธารณะ หรอื หลังเกษียณ (Post – employment) การทางานพเิ ศษ (Outside employment or moonlighting) การรขู้ ้อมลู ภายใน (Inside information) การใช้ทรพั ยส์ ินของราชการเพอื่ ประโยชน์ธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s property for private advantage) การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตัง้ เพื่อประโยชน์ทางการเมือง (Pork - barreling) การใช้ตาแหนง่ หนา้ ทแ่ี สวงหาประโยชน์แก่เครอื ญาติหรอื พวกพอ้ ง (Nepotism) การใชอ้ ทิ ธพิ ลเขา้ ไปมผี ลต่อการตดั สนิ ใจของเจา้ หน้าทรี่ ัฐหรอื หน่วยงาน ของรฐั อื่น (influence)
- ๑๙ - แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทุจริต ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ /...... กลุ่มท่.ี ...................... รายการประเมนิ ที่ กล่มุ ท่ี รวม ความถูกตอ้ ง การสื่อสารชัดเจน มีความพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเด็น เข้าใจงา่ ย ในการนาเสนอ กระบวนการกลุ่ม 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กับ พอใช้ 1 คะแนน เท่ากับ ปรบั ปรงุ 13 - 16 ดีมาก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรับปรงุ
- ๒๐ - แบบสังเกตพฤติกรรม “มงุ่ ม่นั ในการทางาน” คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย ในชอ่ งท่ตี รงกบั ความเป็นจริงตามเกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ (ใชข้ ้อมูลจากการสงั เกตตามสภาพจริงของครูผสู้ อน) ทางานด้วยความเพียร ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบ พยายาม และอดทนเพ่ือให้ รวม เลขท่ี ชือ่ - สกลุ ในการปฏิบัติหน้าท่ีการงาน งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย 4 3 21 4 321 1 2 3 4 ๕ เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากับ พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กบั ปรบั ปรงุ 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรับปรุง (ลงช่ือ)...................................ครูผูป้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๒๑ - แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ชอ่ื หน่วย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๖ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๔ เร่อื ง ผลประโยชนท์ ับซอ้ น (โลก) เวลา ๒ ชั่วโมง ๑. ผลการเรียนรู้ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน กับผลประโยชนส์ ่วนรวม ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒.๑ นกั เรียนสามารถบอกลกั ษณะของผลประโยชน์ทบั ซ้อน ได้ ๒.๒ นกั เรยี นสามารถเสนอแนวทางแกป้ ญั หาผลประโยชนท์ ับซอ้ น ได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ร้ลู ักษณะของผลประโยชนท์ บั ซ้อน ทเี่ กิดจากแนวคดิ ทผ่ี ิดๆ และรว่ มกันหาแนวทาง แกป้ ัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน ๓.๒ ทกั ษะ / กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด) ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ ๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ / ค่านยิ ม มุ่งมน่ั ในการทางาน ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้ / ข้ันตอนการจดั ประสบการณ์ ช่วั โมงท่ี ๑ ๑. แบ่งนักเรียนออกเปน็ ๔ กลมุ่ กลุ่มละเทา่ ๆกัน ให้นักเรยี นคน้ หาขา่ วท่เี ก่ยี วกบั “ผลประโยชน์ทับซ้อน” มหี วั ข้อย่อยคือ ลักษณะการเกดิ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น ความคิดของคนทีม่ ี สว่ นเกี่ยวกบั ผลประโยชนท์ บั ซ้อน ผลกระทบจากผลประโยชนท์ ับซ้อน และแนวทางการแกไ้ ขปัญหา แล้วสรุปข้อมูลท่ีไดล้ งสมดุ บันทกึ ชวั่ โมงที่ ๒ ๒. วเิ คราะหข์ ้อมูลจากการคน้ หาขา่ วในช่ัวโมงท่ี ๑ แล้วเขียนผงั ความคิดจากข้อมูลท่ีได้ลง ในกระดาษ flipchart ๓. นาเสนอผลงาน เรอ่ื ง ผลประโยชน์ทบั ซ้อน จากกระดาษ flipchart ๔. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปลกั ษณะของผลประโยชนท์ ับซอ้ น และแนวทางการแก้ไข - ลักษณะของผลประโยชนท์ ับซอ้ นคือ ตา่ งฝ่ายตา่ งได้ผลประโยชน์เออื้ กันแต่มีบาง ฝา่ ยเสียประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั ความเดอื ดร้อน - แนวทางการแก้ไขคอื ต้องปรับความคดิ จากคิดฐาน ๑๐ เป็นฐาน ๒ โดยครู ทบทวนความรเู้ ดิมการคิดฐาน 10 และ ฐาน 2 ให้นักเรยี นเพิม่ เติม - นักเรียนยกตวั อยา่ งแนวทางการแก้ปัญหาผลประโยชนท์ บั ซ้อนทีเ่ กิดขน้ึ ใน ชวี ิตประจาวนั หรอื เหตุการณ์ที่นกั เรยี นเคยพบเห็นมา
- ๒๒ - ๔.๒ สอื่ การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) ข่าวทเี่ กย่ี วกับ “ผลประโยชน์ทับซอ้ น” ๒) กระดาษ flipchart ๓) สมดุ บนั ทึก ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ -ตรวจผลงานการเขยี นผงั ความคิด -สังเกตพฤตกิ รรมมุง่ มน่ั ในการทางาน ๕.๒ เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการประเมิน -แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานแผนผังความคดิ -แบบสังเกตพฤติกรรมมุ่งมนั่ ในการทางาน ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สิน -ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ให้คะแนนระดบั ดีขึ้นไป -ผ่านเกณฑ์การประเมนิ พฤติกรรมระดบั ดีขึน้ ไป ๖. บนั ทกึ หลังสอน ..................................................................................................................................................... .... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ................................................................................................................................................................... ........ .......................................................................................................................... ................................................. ลงชอื่ ................................................ ครผู ้สู อน (.................................................)
- ๒๓ - ๗. ภาคผนวก แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทุจริต ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ /...... กลุ่มที่....................... รายการประเมิน ที่ กลุ่มที่ รวม ความถกู ตอ้ ง การสือ่ สารชดั เจน มคี วามพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเด็น เข้าใจงา่ ย ในการนาเสนอ กระบวนการกลุม่ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กับ ดมี าก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กบั พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรับปรงุ 13 - 16 ดีมาก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรับปรุง
- ๒๔ - แบบสังเกตพฤติกรรม “มงุ่ ม่นั ในการทางาน” คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย ในชอ่ งท่ตี รงกบั ความเป็นจริงตามเกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ (ใชข้ ้อมูลจากการสงั เกตตามสภาพจริงของครูผสู้ อน) ทางานด้วยความเพียร ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบ พยายาม และอดทนเพ่ือให้ รวม เลขท่ี ชือ่ - สกลุ ในการปฏิบัติหน้าท่ีการงาน งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย 4 3 21 4 321 1 2 3 4 ๕ เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากับ พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กบั ปรบั ปรงุ 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรับปรุง (ลงช่ือ)...................................ครูผูป้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๒๕ - แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ชั้นมัธยมศึกษาปี ท่ี ๖ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๕ เรอ่ื ง รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน (โลก) เวลา ๒ ชวั่ โมง ๑. ผลการเรียนรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ นกั เรียนสามารถบอกรูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน ได้ ๒.๒ นักเรียนสามารถวิเคราะห์รปู แบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น ได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อนมีแบบใดบ้าง และวิเคราะหร์ ูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน เพ่ือจาแนกรูปแบบต่างๆ เพื่อหาทางป้องกันได้ ๓.๒ ทักษะ / กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ ) 1) ความสามารถในการแกป้ ัญหา 2) ความสามารถในการคดิ ๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ / ค่านิยม มุง่ ม่นั ในการทางาน ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขัน้ ตอนการเรียนรู้ / ขั้นตอนการจัดประสบการณ์ ชั่วโมงที่ ๑ ๑. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เร่อื ง รปู แบบของผลประโยชน์ทับซอ้ นมาคะละ 3 แบบ ครตู ั้งคาถามดังนี้ ๑.๑ จงยกตัวอยา่ ง รูปแบบของผลประโยชนท์ บั ซ้อน ๑.๒ รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ นที่มผี ลเสยี มากทสี่ ุดคือรปู แบบใดและเพราะ เหตุใดจึงเป็นเชน่ นั้น ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ไดว้ ่า รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน คอื ชอ่ งทางการเกิดผลประโยชน์ทบั ซ้อน มี ๗ รปู แบบ ๒. แบง่ นักเรียนออกเปน็ ๒ กลุ่มกลุ่มละเทา่ ๆกนั คดิ บทบาทสมมตุ ใิ ช้เวลาแสดง ๑๐ นาที ในหัวข้อคือ “การป้องกันผลประโยชน์ทบั ซอ้ นในรปู แบบต่างๆ”(กลมุ่ ละ ๒ – ๓ รูปแบบ) ชั่วโมงที่ ๒ ๓. ให้นกั เรียนแสดงบทบาทสมมตุ ิทลี ะกลมุ่ แลว้ ให้กลมุ่ ท่ีไม่ได้แสดงวิเคราะหก์ ลุม่ ทแ่ี สดง ตามแบบประเมินการแสดงบทบาทสมมติ ๔. ครูและนักเรยี นชว่ ยกันสรุปวเิ คราะห์รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อนและแนวทางการ แก้ไขปัญหา - รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น คือ ชอ่ งทางการเกิดผลประโยชนท์ ับซอ้ น มี ๗ รปู แบบ
- ๒๖ - - แนวทางการแก้ไขปญั หา คือ การกาหนดคุณสมบตั ิที่พงึ ประสงค์หรอื คณุ สมบตั ติ อ้ งห้าม, การเปดิ เผยข้อมูลเกีย่ วกับทรัพยส์ ิน หนส้ี นิ และธุรกจิ ของครอบครัวให้สาธารณะทราบ,การกาหนด ข้อพงึ ปฏบิ ัติทางจรยิ ธรรม,ข้อกาหนดเก่ียวกบั การทางานหลังพน้ ตาแหน่งในหน้าที่ทางราชการ ๔.๒ สื่อการเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) ใบความรเู้ รือ่ ง รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ กี ารประเมิน -สังเกตการแสดงบทบาทสมมุติรูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน -สังเกตพฤติกรรมมุ่งม่ันในการทางาน ๕.๒ เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการประเมนิ -แบบให้คะแนนการแสดงบทบาทสมมตุ ิรูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน -แบบสังเกตพฤติกรรมมุ่งม่ันในการทางาน ๕.๓ เกณฑ์การตัดสิน -ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ได้คะแนนระดับดีขนึ้ ไป -ผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมระดับดขี ้ึนไป ๖. บันทกึ หลังสอน ............................................................................................................................. ............................ ............................................................................................................................................. .............................. .................................................................................................... ....................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ......................................................................................................................................... .................................. ลงชื่อ ................................................ ครผู ูส้ อน (.................................................)
- ๒๗ - ๗. ภาคผนวก แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทุจริต ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๖ /...... กลุ่มที่....................... รายการประเมิน ท่ี กลุ่มที่ รวม ความถกู ตอ้ ง การสือ่ สารชดั เจน มคี วามพร้อม มกี ารใช้ ตรงตามประเด็น เข้าใจงา่ ย ในการนาเสนอ กระบวนการกลุม่ 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 16 คะแนน เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ 4 คะแนน เทา่ กับ ดมี าก 3 คะแนน เทา่ กับ ดี ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เทา่ กบั พอใช้ 1 คะแนน เท่ากบั ปรับปรงุ 13 - 16 ดีมาก 9 - 12 ดี 5 - 8 พอใช้ 0 - 4 ปรับปรุง
- ๒๘ - แบบสังเกตพฤติกรรม “มงุ่ ม่นั ในการทางาน” คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย ในชอ่ งท่ตี รงกบั ความเป็นจริงตามเกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ (ใชข้ ้อมูลจากการสงั เกตตามสภาพจริงของครูผสู้ อน) ทางานด้วยความเพียร ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบ พยายาม และอดทนเพ่ือให้ รวม เลขท่ี ชือ่ - สกลุ ในการปฏิบัติหน้าท่ีการงาน งานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย 4 3 21 4 321 1 2 3 4 ๕ เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดีมาก 3 คะแนน เทา่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 คะแนน เท่ากับ พอใช้ 1 คะแนน เทา่ กบั ปรบั ปรงุ 7 - 8 ดีมาก 5 - 6 ดี 3 - 4 พอใช้ 1 - 2 ปรับปรุง (ลงช่ือ)...................................ครูผูป้ ระเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............
- ๒๙ - ใบความรู้ เรอ่ื ง รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น แบ่งออกเป็น 7 รปู แบบ ได้แก่ 1. การรับผลประโยชน์ต่างๆ (Accepting benefits) คือการรับสินบน หรือรับของขวัญหรือผลประโยชน์ ในรูปแบบอืน่ ๆ ที่ไม่เหมาะสมและมีผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี เช่น หน่วยงานราชการรับเงินบริจาคสร้าง สานักงานจากนักธุรกิจหรือบริษัทธุรกิจที่เป็นคู่สัญญากับหน่วยงาน การใช้งบประมาณ ของรัฐเพ่ือจัดซ้ือจัดจ้างแล้ว เจา้ หนา้ ทไ่ี ด้รับของแถมหรือผลประโยชนอ์ น่ื ตอบแทน 2. การทาธุรกิจกับตัวเอง (Self-dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) หมายถึง สถานการณ์ที่ เจ้าหน้าทข่ี องรฐั มีส่วนไดเ้ สยี ในสญั ญาท่ีทากบั หนว่ ยงานทตี่ นสงั กัด เช่น การใช้ตาแหน่งหน้าที่ที่ทาให้หน่วยงานทา สัญญาซื้อสินค้าจากบริษัทของตนเองหรือจ้างบริษัทของตนเองเป็นท่ีปรึกษา หรือซื้อท่ีดิน ของตนเองในการ จดั สรา้ งสานักงาน 3. การทางานหลังจากออกจากตาแหน่งสาธารณะหรือหลังเกษียณ (Post-employment) หมายถึง การ ที่บุคลากรออกจากหน่วยงานของรัฐ และไปทางานในบริษัทเอกชนท่ีดาเนินธุรกิจประเภทเดียวกับ ท่ีตนเองเคยมี อานาจควบคุม กากบั ดแู ล 4. การทางานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) เช่น เจ้าหน้าท่ีของรัฐต้ังบริษัทดาเนิน ธุรกิจท่ีเป็นการแข่งขันกับหน่วยงานหรือองค์กรสาธารณะที่ตนสังกัด หรือการรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการโดย อาศัยตาแหน่งในราชการสร้างความน่าเชื่อถือว่าโครงการของผู้ว่าจ้างจะไม่มีปัญหาติดขัด ในการพิจารณาจาก หนว่ ยงานท่ีตนสังกัดอยู่ 5. การรับรู้ข้อมูลภายใน (Inside information) หมายถึง สถานการณ์ท่ีผู้ดารงตาแหน่งสาธารณะ ใช้ประโยชน์จากการรู้ข้อมูลภายในเพ่ือประโยชน์ของตนเอง เช่น ทราบว่าจะมีการตัดถนนไปตรงไหนก็รีบไปซื้อ ที่ดินโดยใส่ช่ือภรรยา หรือทราบว่าจะมีการซื้อที่ดินเพื่อทาโครงการของรัฐก็รีบไปซื้อท่ีดินเพื่อเก็งกาไรและขาย ให้กับรัฐ ในราคาที่สงู ข้ึน 6. การใช้ทรัพย์สินของหน่วยงานเพื่อประโยชน์ของธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s property for private advantage) เช่น การนาเคร่ืองใช้สานักงานต่างๆกลับไปใช้ท่ีบ้าน การนารถยนต์ในราชการ ไปใชเ้ พือ่ งานสว่ นตวั 7. การนาโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ังเพ่ือประโยชน์ในทางการเมือง (Pork-belling) เช่น การที่ รฐั มนตรีอนุมัติโครงการของกระทรวงไปลงในพ้ืนที่หรือบ้านเกิดของตนเอง หรือการใช้งบประมาณสาธารณะ เพ่ือ การหาเสยี งเลือกต้ัง จากรูปแบบประเภทต่างๆของปัญหาความขัดแย้งกันในประโยชน์สว่ นตวั และประโยชน์สว่ นรวม จะเหน็ วา่ โอกาสความเปน็ ไปได้ทีจ่ ะเกดิ ปญั หามสี ูงมากเพราะปัญหาดงั กล่าวมีขอบเขตครอบคลุมพฤติกรรมที่เขา้ ข่ายความขัดแยง้ อยา่ งกวา้ งขวาง ดงั น้ันกลไกหรือเคร่ืองมือสว่ นใหญท่ ่ีใช้ในการจัดการกบั ปญั หา ความขัดแยง้ ของผลประโยชนส์ ว่ นตัวกับผลประโยชน์สว่ นรวม คอื การมหี ลกั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ในการทางานของบคุ คล สาธารณะรวมถงึ การมีกฎหมายทสี่ ามารถครอบคลมุ ถึงการกระทาผดิ เกีย่ วกบั ผลประโยชน์ทบั ซ้อนทกุ รูปแบบ
- ๓๐ - แผนภาพรูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อน การรบั ประโยชน์ตา่ งๆ รับของขวัญ /เงนิ สนบั สนุน/ (Accepting benefits) เงนิ บรจิ าคจากลูกคา้ ของหนว่ ยงาน การทาธรุ กิจกับตัวเอง (Self-dealing) มีสว่ นได้เสยี ในสญั ญาท่ีทากับ หรอื เป็นคู่สัญญา (Contracts) หน่วยงานตน้ สงั กดั การทางานหลังจากออกจากตาแหนง่ ลาออกจากหนว่ ยงานเพอื่ ไปทางานใน สาธารณะหรอื หลังเกษยี ณ หนว่ ยงานท่ดี าเนนิ ธุรกิจประเภท (Post-employment) เดียวกัน การทางานพเิ ศษ (Outside ต้ังบรษิ ัทดาเนินธุรกจิ ที่แข่งขันหรอื employment or moonlighting) รบั งานจากหนว่ ยงานตน้ สังกัด การรับรขู้ ้อมลู ภายใน ใช้ประโยชนจ์ ากข้อมูลภายในเพอ่ื (Inside information) ประโยชนข์ องตนเอง การใช้สมบัติของหน่วยงานเพ่ือ นาทรพั ย์สนิ ของหนว่ ยงานไปใช้ ประโยชน์ของธุรกิจสว่ นตวั ในงานสว่ นตวั (Using your employer’s รัฐมนตรอี นมุ ัติโครงการไปลงในพื้นที่ property for private advantage) ตนเอง หรอื การใชง้ บสาธารณะ เพื่อหาเสยี ง การนาโครงการสาธารณะลงในเขต เลือกตั้งเพ่ือประโยชนใ์ นทางการเมือง (Pork-belling)
- ๓๑ - หนว่ ยท่ี ๒ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ
- ๓๒ - แผนการจัดการเรียนรู้ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ หน่วยที่ ๒ ชอ่ื หน่วย ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ เวลา ๒ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เรื่อง การสอบ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ๑.๒ ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผูล้ ะอายและไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ทุกรูปแบบ ๑.๓ ตระหนกั และเห็นความสาคัญของการต่อต้านและป้องกันการทจุ รติ ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๒.๑ นักเรียนสามารถอธิบายความหมาย รปู แบบ และสาเหตุของ “การทจุ ริต” การสอบได้ ๒.๒ นักเรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของ “ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต” ได้ ๒.๓ นักเรียนสามารถยกตัวอย่างการปฏบิ ัตติ นเป็นผลู้ ะอายและไม่ทนต่อการทจุ รติ ในการสอบได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ความหมาย รปู แบบและสาเหตุของ “การทจุ ริต” ๒) ความหมายของ “ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ ” ๓) ตัวอยา่ งของ “ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต” ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิดขน้ึ ) ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 3.3 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ / ค่านิยม ๑) มงุ่ มั่นในการทางาน ๔. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรียนรู้ ชัว่ โมงที่ ๑ ๑) นกั เรียนดคู ลปิ วดิ โี อ เร่ือง Say no corruption Say, no to compromise ซงึ่ เปน็ การ วาดภาพเพื่อส่ือถึงการทจุ ริตในรปู แบบตา่ ง ๆ ๒) นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายสาเหตทุ ท่ี าให้คนเราต้องทจุ รติ ๓) นกั เรียนและครูร่วมกันสรุปสาเหตุที่แทจ้ รงิ ของการทุจริตว่า “สาเหตขุ องการทจุ ริต เกดิ จากการที่คนขาดความละอายต่อการทุจรติ ” และ “ตัวเรายงั ทนต่อการทุจรติ ของผู้อื่นได้” 4) นักเรยี นแบง่ กลุ่มออกเป็น ๕ กลุ่ม ศกึ ษาใบความรู้ ๕ ฐาน (ฐานละ ๓ นาที รวม ๑๕ นาที แตล่ ะกลมุ่ วนไปแตล่ ะฐาน) ดังน้ี ใบความรู้ ฐานที่ ๑ ความหมายของการทจุ รติ ใบความรู้ ฐานที่ ๒ รูปแบบของการทจุ ริต ใบความรู้ ฐานท่ี ๓ สาเหตขุ องการทุจรติ ใบความรู้ ฐานท่ี ๔ ความหมายของความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ
- ๓๓ - ใบความรู้ ฐานท่ี ๕ ตัวอยา่ งความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ หมายเหตุ จานวนกลุ่มนกั เรยี น ข้นึ อย่กู บั ดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน 5) นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ความรเู้ ปน็ แผนผังความคิดลงในกระดาษฟลิตปชาร์ต โดยขณะทา แผนผังความคดิ ครสู ังเกตพฤติกรรมการทางาน ตรวจสอบ และใหค้ าแนะนาขณะท่นี ักเรียนทาแผนผงั ความคิด 6) ตัวแทนกล่มุ นาเสนอแผนผังความคิดของตนเองหนา้ ชั้นเรยี น แล้วครูใหค้ าช่นื ชมหรือ แนะนาเพม่ิ เติม 7) ตวั แทนกล่มุ นาแผนผังความคิดติดไว้รอบห้องเรียน ช่วั โมงท่ี ๒ 8) ครเู ช่ือมโยงตวั อยา่ งการทุจรติ ท่เี ปน็ เรอื่ งใกลต้ ัวของนักเรียนคอื การทุจริตในการ สอบ โดยนกั เรยี นดคู ลปิ วิดโี อจากเวบ็ ไซตย์ ูทูป เร่อื ง 16 วธิ โี กงข้อสอบสดุ เทพ ทีเ่ หล่านักเรยี นจะต้อง คิดได้ ยังไงเน่ีย!! (เวลา ๕ นาท)ี 9) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มระดมพลงั ความคดิ ประเดน็ “การละอายและแสดงออกถึงการเปน็ ผู้ ไมท่ นต่อการทุจรติ ในการสอบ” ซง่ึ แตล่ ะกลมุ่ จะมปี ระเดน็ ยอ่ ยทแ่ี ตกตา่ งกนั ดงั น้ี กลมุ่ ท่ี ๑ นักเรียนจะทาอย่างไร เมอ่ื รู้มาว่าเพ่ือนในห้องสว่ นใหญ่วางแผนจะทุจรติ ในการสอบ และได้ชวนใหน้ กั เรยี นเข้ารว่ มกระบวนการทุจรติ ด้วย กลุ่มท่ี ๒ นักเรยี นจะทาอยา่ งไร เม่อื เพื่อนคนหน่ึงไม่ระมัดระวงั ในการวางกระดาษคาตอบ ทาให้นกั เรยี นมองเหน็ คาตอบของเพื่อน นอกจากนีน้ กั เรียนยงั เห็นเพือ่ นคนอน่ื แอบชาเลืองมองคาตอบของ เพอ่ื นคนนน้ั ด้วย กลมุ่ ที่ ๓ นักเรยี นจะทาอย่างไร เมื่อขณะทาข้อสอบ เพ่อื นสนทิ แอบสะกิดนักเรียนเพื่อถาม คาตอบ กลุ่มท่ี ๔ นกั เรียนจะทาอย่างไร เมอ่ื นักเรยี นเรยี นไมเ่ ขา้ ใจ และไมไ่ ด้เตรยี มตัวสาหรับการ สอบ เม่ือถงึ เวลาสอบ คุณครูคมุ สอบต้องเข้าห้องน้ากะทนั หัน คุณครคู ุมสอบสารองยงั เดินทางมาไม่ถึง เพื่อน สนิทของนักเรียนกลวั ว่านักเรียนจะสอบตก จงึ ยนื่ กระดาษคาตอบของตนมาให้ลอก กลุ่มที่ ๕ นกั เรยี นจะทาอย่างไร เมือ่ หมดเวลาสอบ นกั เรยี น และเพ่ือน ๆ ส่วนใหญย่ งั ทา ข้อสอบไมเ่ สรจ็ หวั หน้าหอ้ งจึงขอต่อเวลากับครคู มุ สอบ ประกอบกับครูคมุ สอบมีทา่ ทีอนุโลมใหท้ าตอ่ ได้ แต่ละกล่มุ บนั ทึกผลการระดมพลังความคดิ ลงในใบกิจกรรม 10) ตวั แทนกลุ่มนาเสนอผลการระดมพลังความคิดหน้าช้ันเรยี น กลุ่มละ ๓ นาที เมื่อจบ ๑ กลุ่ม ใหน้ กั เรียนกลุ่มอ่ืน ๆ เสนอความคิดเห็นเพ่ิมเติมอกี ๓ นาที (3๐ นาที) 11) นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ความคิดประเด็น ความหมาย รปู แบบ สาเหตขุ อง “การทุจรติ ” ความหมายและตวั อยา่ งของ “ความไม่ทนและละอายต่อการทุจรติ ” ๔.๒ ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้ ๑) คลปิ วดิ ีโอ เรือ่ ง Say no corruption Say, no to compromise ซึ่งเป็นการวาดภาพ เพื่อส่ือถึงการทจุ รติ ในรปู แบบตา่ ง ๆ (๓.๒๑ นาท)ี
- ๓๔ - ๒) คลิปวดิ ีโอ หัวข้อ 16 วธิ โี กงข้อสอบสุดเทพ ทเ่ี หลา่ นักเรียนจะตอ้ งกราบ คิดไดย้ งั ไงเนย่ี !! (เวลา 3.19 นาท)ี “16 วิธีโกงข้อสอบสดุ เทพ ที่เหล่านักเรียนจะต้องกราบ คดิ ไดย้ ังไงเน่ยี !!”. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: https://www.youtube.com/watch?v=H14RYeFx3_E (วนั ทค่ี น้ ข้อมลู : ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) ๒) ใบความรู้ ฐานท่ี ๑ ความหมายของการทจุ ริต ๓) ใบความรู้ ฐานท่ี ๒ รปู แบบของการทจุ รติ ๔) ใบความรู้ ฐานท่ี ๓ สาเหตุของการทุจรติ ๕) ใบความรู้ ฐานที่ ๔ ความหมายของความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ ๖) ใบความรู้ ฐานท่ี ๕ ตวั อย่างความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต ๗) ใบกิจกรรมระดมพลังความคดิ ประเด็น “การละอายและแสดงออกถึงการเปน็ ผู้ ไม่ทนต่อการทุจรติ ในการสอบ” ๘) กระดาษฟลิปชาร์ต 9) สเี มจกิ ๕.การประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน ๑. ตรวจสอบผลงานการทาแผนผังความคิด ๒. ตรวจสอบผลการระดมพลังความคิด “การละอายและแสดงออกถงึ การเปน็ ผู้ ไม่ทนต่อการทจุ ริตในการสอบ” ๓. สงั เกตพฤติกรรม “มงุ่ ม่นั ในการทางาน” ๕.๒ เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการประเมนิ ๑. แบบประเมินผลงานแผนผังความคดิ ๒. แบบประเมนิ ผลการระดมพลังความคดิ “การละอายและแสดงออกถงึ การเป็นผู้ไมท่ น ตอ่ การทจุ ริตในการสอบ” ๓. แบบสังเกตพฤติกรรม “มงุ่ ม่นั ในการทางาน” ๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ -นักเรยี นผ่านการประเมนิ ทุกกิจกรรมร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะถือวา่ ผ่านเกณฑ์การประเมิน -นักเรยี นผา่ นการประเมินพฤติกรรม ระดบั ดีขึ้นไปถือว่าผา่ น ๖. บันทกึ หลงั สอน ............................................................................................................................. ......................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ลงช่อื ................................................ ครูผสู้ อน (.................................................)
- ๓๕ - ๗. ภาคผนวก ใบความรู้ ฐานที่ ๑ ความหมายของการทจุ รติ 1.1 การทจุ ริต ปัญหาการทุจริต เป็นปัญหาท่ีสาคัญทั้งของประเทศไทยและประเทศอ่ืนๆ ทั่วโลก ปัญหาการทุจริต จะทาให้เกิดความเส่ือมในด้านต่างๆ เกิดขึ้น ท้ังสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และนับวันปัญหาดังกล่าวก็จะ รุนแรงมากขึ้น และมีรูปแบบการทุจริตที่ซับซ้อน ยากแก่การตรวจสอบมากข้ึน จากเดิมที่กระทาเพียงสองฝ่าย ปัจจุบันการทุจริตจะกระทากันหลายฝ่าย ท้ังผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าท่ีของรัฐ และเอกชน โดย ประกอบด้วยสองส่วนใหญ่ๆ คือ ผู้ให้ผลประโยชน์กับผู้รับผลประโยชน์ ซึ่งท้ังสองฝ่ายน้ีจะมีผลประโยชน์ ร่วมกัน ตราบใดที่ผลประโยชนส์ มเหตสุ มผลต่อกัน กจ็ ะนาไปสู่ปัญหาการทุจริตได้ บางครั้งผู้ที่รับผลประโยชน์ก็ เปน็ ผู้ให้ประโยชน์ไดเ้ ชน่ กัน โดยผู้รบั ผลประโยชน์และผู้ใหผ้ ลประโยชน์ คือ 1. ผ้รู ับผลประโยชน์ จะเปน็ เจา้ หน้าที่ของรฐั ซง่ึ มีอานาจ หน้าท่ใี นการกระทา การดาเนินการต่างๆ และรับประโยชน์จะเป็นไปในรปู แบบตา่ งๆ เช่น การจัดซอื้ จดั จ้าง การเรียกรับประโยชน์โดยตรง การกาหนด ระเบียบหรือคณุ สมบตั ิทเ่ี อื้อตอ่ ตนเองและพวกพอ้ ง 2. ผู้ให้ผลประโยชน์ เช่น ภาคเอกชน โดยการเสนอผลตอบแทนในรูปแบบต่างๆ เช่น เงิน สิทธิ พิเศษอื่นๆ เพ่ือจูงใจให้นักการเมือง เจ้าหน้าท่ีของรัฐ กระทาการหรือไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งใน ตาแหนง่ หน้าที่ ซ่งึ การกระทาดงั กลา่ วเปน็ การกระทาที่ฝ่าฝนื ต่อระเบยี บหรือผดิ กฎหมาย เปน็ ต้น ๑.๑.1 ทจุ รติ คอื อะไร คาวา่ ทุจริต มกี ารให้ความหมายไดม้ ากมาย หลากหลาย ข้ึนอยู่กับว่าจะมีการให้ความหมายดังกล่าว ไว้ว่าอย่างไร โดยท่ีคาว่าทุจริตนั้น จะมีการให้ความหมายโดยหน่วยงานของรัฐ หรือการให้ความหมายโดย กฎหมายซ่ึงไม่ว่าจะเป็นการให้ความหมายจากแหล่งใด เนื้อหาสาคัญของคาว่าทุจริตก็ยังคงมีความหมายท่ี สอดคล้องกันอยู่ น่ันคือ การทุจริตเป็นส่ิงท่ีไม่ดี มีการแสวหาหรือเอาผลประโยชน์ของส่วนรวม มาเป็นของ ส่วนตัว ทั้งๆ ที่ตนเองไม่ได้มีสิทธิในส่ิงๆ น้ัน การยึดถือ เอามาดังกล่าวจึงถือเป็นสิ่งที่ผิด ทั้งในแง่ของ กฎหมายและศลี ธรรม ในแงข่ องกฎหมายนัน้ ประเทศไทยไดม้ ีการกาหนดถงึ ความหมายของการทจุ ริตไวห้ ลกั ๆ ใน กฎหมาย 2 ฉบับ คอื ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 1(1) “โดยทุจรติ ” หมายถึง “เพื่อแสวงหาประโยชน์ท่ีมิควรได้โดย ชอบดว้ ยกฎหมายสาหรบั ตนเองหรือผูอ้ น่ื ” พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 มาตรา 4 คาว่า “ทุจริตต่อหน้าที่” หมายถึง “ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในตาแหน่งหรือหน้าที่หรือ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ ที่อาจทาให้ผู้อื่นเช่ือว่ามีตาแหน่งหรือหน้าท่ีท้ังท่ีตนมิได้มี ตาแหน่งหรือหน้าท่ีนั้น หรือใช้อานาจในตาแหน่งหรือหน้าท่ี ท้ังนี้ เพื่อแสวงหาประโยชน์ท่ีมิควรได้โดยชอบ สาหรบั ตนเองหรอื ผู้อืน่ ”
- ๓๖ - นอกจากน้ี คาว่าทุจรติ ยังได้มกี ารบญั ญัตใิ หค้ วามหมายเอาไว้ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542โดยระบไุ ว้ว่าทจุ รติ หมายถึง “ความประพฤติชว่ั คดโกง ฉ้อโกง” ในคาภาษาอังกฤษ คาว่าทุจริตจะตรงกับคาว่า Corruption (คอร์รัปชัน) โดยในประเทศไทยมักมี การกล่าวถึงคาว่าคอร์รัปชันมากกว่าการใช้คาว่าทุจริต โดยการทุจริตน้ีสามารถใช้ได้กับทุกท่ีไม่ว่าจะเป็น หน่วยงานราชการ หน่วยงานของเอกชน หากเกิดกรณีการยึดเอา ถือเอาซ่ึงประโยชน์ส่วนตนมากกว่า ส่วนรวม ไม่คานึง ถึงว่าส่ิงๆ น้ันเป็นของของตนเอง หรือเป็นสิทธิท่ีตนเองควรจะได้มาหรือไม่แล้วน้ัน ก็จะ เรยี กได้ว่าเปน็ การทุจรติ เชน่ การทจุ รติ ในการเบิกจ่ายเงนิ ไมว่ า่ จะเกิดขน้ึ ในหนว่ ยงานของรัฐหรือของเอกชน การกระทาเชน่ นี้ก็ถือเป็นการทุจรติ อย่างไรก็ตาม เน่ืองจากคอร์รัปชันมิได้เกิดเฉพาะในวงราชการเท่านั้น ดังนั้น ในอีกมุมหนึ่ง คอร์รัปชัน จึงต้องหมายรวมถึงการแสวงหาผลประโยชน์ของภาคธุรกิจเอกชน ในรูปของการให้สินบนหรือส่ิงตอบแทนแก่ นักการเมืองหรือข้าราชการเพ่ือให้ได้มาซ่ึงผลประโยชน์ที่ตนเองอยากได้ในรูปแบบของการประมูล การสัมปทาน เปน็ ตน้ รูปแบบเหล่านี้จะสามารถสร้างกาไรให้แก่ภาคเอกชนเป็นจานวนมากหากภาคเอกชนสามารถเข้ามา ดาเนินงานได้ รวมถึงการที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐมีความต้องการทรัพย์สิน ประโยชน์อื่นนอกเหนือจากส่ิงที่ได้รับ ตามปกติ เมอื่ เหตผุ ลของท้งั สองฝ่ายสามารถบรรจบหากันได้ การทจุ ริตก็เกิดข้ึนได้ จากนิยามของการทุจริตคอร์รัปชันไม่เพียงแต่จะกินความถึงการทุจริตคอร์รัปชันในระบบราชการ เทา่ น้ัน แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่องกิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมในภาคเอกชนอีกด้วย ซ่ึงอาจกล่าว ได้วา่ การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั คอื การทจุ ริต และ การประพฤตมิ ิชอบของขา้ ราชการ ดังนั้น การทุจริตคือ การคดโกง ไม่ซื่อสัตย์สุจริต การกระทาท่ีผิดกฎหมาย เพ่ือให้เกิดความ ได้เปรียบในการแข่งขัน การใช้อานาจหน้าท่ีในทางที่ผิดเพ่ือแสวงหาประโยชน์หรือให้ได้รับสิ่งตอบแทน การ ให้หรอื การรบั สนิ บน การกาหนดนโยบายที่เอือ้ ประโยชน์แกต่ นหรอื พวกพ้องรวมถึงการทจุ รติ เชงิ นโยบาย
- ๓๗ - ใบความรู้ ฐานท่ี ๒ รูปแบบของการทุจรติ ๑.๑.๒ รูปแบบการทุจรติ รปู แบบการทุจริตท่เี กดิ ขน้ึ สามารถแบง่ ได้ 3 ลกั ษณะ คอื แบ่งตามผู้ท่ีเกี่ยวข้อง แบ่งตามกระบวนการ ทใี่ ช้ และแบ่งตามลกั ษณะรูปธรรม ดังน้คี อื 1) แบ่งตามผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นรูปแบบการทุจริตในเรื่องของอานาจและความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ ระหว่างผู้ท่ีใหก้ ารอปุ ถัมภ์ (ผู้ให้การช่วยเหลือ) กับผู้ถูกอุปถัมภ์ (ผู้ที่ได้รับการช่วยเหลือ) โดยในกระบวนการ การทจุ รติ จะมี 2 ประเภทคือ (1) การทุจริตโดยข้าราชการ หมายถึงการกระทาท่ีมีการใช้หน่วยงานราชการเพ่ือมุ่งแสวงหา ผลประโยชน์จากการปฏิบัติงานของหน่วยงานน้ันๆ มากกว่าประโยชน์ส่วนรวมของสังคมหรือประเทศ โดย ลักษณะของการทจุ ริตโดยข้าราชการสามารถแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทยอ่ ย ดังนี้ ก) การคอร์รัปชันตามน้า (corruption without theft) จะปรากฏข้ึนเม่ือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ต้องการสินบนโดยให้มีการจ่ายตามช่องทางปกติของทางราชการ แต่ให้เพ่ิมสินบนรวมเข้าไว้กับการจ่าย ค่าบริการของหน่วยงานนนั้ ๆ โดยทเ่ี งนิ ค่าบริการปกตทิ ่หี นว่ ยงานน้ันจะต้องได้รับก็ยังคงได้รับต่อไป เช่น การ จ่ายเงินพิเศษให้แก่เจ้าหน้าท่ีในการออกเอกสารต่างๆ นอกเหนือจากค่าธรรมเนียมปกติที่ต้องจ่ายอยู่แล้ว เป็นต้น ข) การคอร์รัปชันทวนน้า (corruption with theft) เป็นการคอร์รัปชันในลักษณะท่ีเจ้าหน้าที่ ของรัฐจะเรียกร้องเงินจากผู้ขอรับบริการโดยตรง โดยที่หน่วยงานน้ันไม่ได้มีการเรียกเก็บเงินค่าบริการแต่อย่าง ใดเชน่ ในการออกเอกสารของหน่วยงานราชการไม่ได้มีการกาหนดให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ แต่ กรณีน้ีมกี ารเรยี กเกบ็ คา่ ใช้จ่ายจากผูท้ ่ีมาใช้บรกิ ารของหนว่ ยงานของรฐั (2) การทุจริตโดยนักการเมือง (political corruption) เป็นการใช้หน่วยงานของทาง ราชการโดยบรรดานักการเมืองเพื่อมุ่งแสวงหาผลประโยชน์ในทางการเงินมากกว่าประโยชน์ส่วนรวมของ สังคมหรือประเทศเช่นเดียวกัน โดยรูปแบบหรือวิธีการทั่วไปจะมีลักษณะเช่นเดียวกับการทุจริตโดย ข้าราชการ แต่จะเป็นในระดับที่สูงกว่า เช่น การทุจริตในการประมูลโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ และมีการ เรยี กรบั หรอื ยอมจะรบั ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์ตา่ งๆ จากภาคเอกชน เป็นต้น 2) แบ่งตามกระบวนการท่ีใช้มี 2 ประเภทคือ (1) เกิดจากการใช้อานาจในการกาหนด กฎ กติกา พืน้ ฐาน เช่น การออกกฎหมาย และกฎระเบียบตา่ งๆ เพือ่ อานวยประโยชนต์ ่อกล่มุ ธรุ กจิ ของตนหรือพวกพ้อง และ (2) เกดิ จากการใชอ้ านาจหนา้ ท่ีเพื่อแสวงหาผลประโยชน์จากกฎ และระเบียบที่ดารงอยู่ ซึ่งมักเกิดจาก ความไม่ชัดเจนของกฎและระเบียบเหล่านั้นท่ีทาให้เจ้าหน้าท่ีสามารถใช้ความคิดเห็นของตนได้ และการใช้ ความคิดเห็นนั้นอาจไมถ่ ูกตอ้ งหากมีการใชไ้ ปในทางทผ่ี ิดหรอื ไมย่ ุติธรรมได้ 3) แบ่งตามลักษณะรูปธรรม มที ั้งหมด 4 รูปแบบคือ (1) คอรร์ ัปชันจากการจัดซ้ือจัดหา (Procurement Corruption) เช่น การจัดซ้ือส่ิงของใน หนว่ ยงาน โดยมีการคิดราคาเพ่มิ หรือลดคุณสมบตั แิ ตก่ าหนดราคาซือ้ ไว้เทา่ เดิม
- ๓๘ - (2) คอรร์ ปั ชันจากการใหส้ มั ปทานและสทิ ธิพิเศษ (Concessionaire Corruption) เชน่ การให้เอกชนรายใดรายหนึง่ เขา้ มามีสิทธใิ นการจัดทาสมั ปทานเป็นกรณีพิเศษตา่ งกับเอกชนรายอนื่ (3) คอรร์ ัปชนั จากการขายสาธารณสมบัติ (Privatization Corruption) เช่น การขาย กจิ การของรฐั วสิ าหกิจ หรือการยกเอาทีด่ ิน ทรัพยส์ นิ ไปเป็นสทิ ธกิ ารครอบครองของต่างชาติ เปน็ ตน้ (4) คอรร์ ัปชนั จากการกากับดูแล (Regulatory Corruption) เช่น การกากับดูแลในหน่วยงาน แล้วทาการทจุ ริตตา่ ง เป็นตน้ นักวิชาการท่ีได้ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการทุจริต ได้มีการกาหนดหรือแบ่งประเภทของการทุจริตเป็น รูปแบบต่างๆ ไว้ เช่น การวิจัยของรองศาสตราจารย์ ดร.นวลน้อย ตรีรัตน์ และคณะ ได้แบ่งการทุจริตคอร์รัป ชันออกเปน็ 3 รปู แบบ ได้แก่ 1) การใช้อานาจในการอนุญาตให้ละเว้นจากการปฏิบัติตามกฎระเบียบของรัฐ เพอ่ื ลดตน้ ทุนการทาธุรกิจ 2) การใชอ้ านาจในการจดั สรรผลประโยชนใ์ นรปู ของสิง่ ของ และบริการ หรือสิทธิ ให้แก่เอกชน และ 3) การใช้อานาจในการสร้างอุปสรรคในการให้บริการแก่ภาคประชาชนและภาคธุรกิจ เน่อื งจากเงินเดอื นและผลตอบแทนในระบบราชการต่าเกนิ ไปจนขาดแรงจูงใจในการทางาน นอกจากน้ี จากผลการสอบสวนและศึกษาเร่ืองการทุจริต ของคณะกรรมการวิสามัญพิจารณาสอบสวน และศกึ ษาเรอื่ งเก่ยี วกับการทุจริตของวุฒิสภา (วชิ า มหาคุณ) มีการแบ่งรูปแบบการทุจริตคอร์รัปช่ันออกเป็น 5 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) การทจุ รติ เชงิ นโยบาย เป็นรูปแบบใหม่ของการทุจริตท่ีแยบยล โดยอาศัยรูปแบบของกฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือมติของคณะกรรมการเปน็ เครอื่ งมือในการแสวงหาผลประโยชน์ ทาใหป้ ระชาชนส่วนใหญ่เขา้ ใจผิดว่าเป็น การกระทาท่ีถูกตอ้ งชอบธรรม 2) การทจุ ริตต่อตาแหน่งหน้าท่รี าชการ เป็นการใช้อานาจและหน้าท่ีในความรับผิดชอบของตนในฐานะของเจ้าหน้าที่ของรัฐเอื้อประโยชน์ ให้แก่ตนเองหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ปัจจุบันมักเกิดจากความร่วมมือกันระหว่าง นักการเมือง พ่อค้าและข้าราชการประจา ๓) การทุจริตในการจัดซื้อจดั จา้ ง การทุจริตประเภทน้ีจะพบได้ท้ังรูปแบบของการสมยอมราคา ต้ังแต่ขั้นตอนการออกแบบ กาหนด รายละเอยี ดหรอื สเป็กงาน กาหนดเง่ือนไข คานวณราคากลางออกประกาศประกวดราคา การขายแบบ การ รับและเปดิ ซอง การประกาศผล การอนุมัติ การทาสญั ญาทุกขัน้ ตอนของกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างล้วนมีช่อง โหว่ใหม้ ีการทุจรติ กันได้อย่างง่ายๆ นอกจากนี้ ยังมีการทุจริตที่มาเหนือเมฆคือการอาศัยความเป็นหน่วยงาน ราชการดว้ ยกนั จึงไดร้ ับการยกเวน้ และการไมถ่ ูกเพ่งเล็ง แต่ความจริง ผลประโยชน์จากการรับงานและเงินที่ ได้จากการรบั งานไมไ่ ดน้ าสง่ กระทรวงการคลงั 4) การทจุ ริตในการใหส้ ัมปทาน เป็นการแสวงหาหรือเอื้อประโยชน์โดยมิชอบจากโครงการหรือกิจการของรัฐ ซึ่งรัฐได้อนุญาตหรือ มอบให้เอกชนดาเนินการแทนให้ลักษณะสัมปทานผูกขาดในกิจการใดกิจการหนึ่ง เช่น การทาสัญญา สัมปทานโรงงานสรุ า การทาสญั ญาสมั ปทานโทรคมนาคม เป็นต้น 5) การทจุ ริตโดยการทาลายระบบตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ เป็นการพยายามดาเนินการให้ได้บุคคลซ่ึงมีสายสัมพันธ์กับผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองในอันที่จะ เข้าไปดารงตาแหนง่ ในองค์กรอสิ ระตามรัฐธรรมนญู ซึง่ มีอานาจหนา้ ที่ในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
- ๓๙ - ใบความรู้ ฐานท่ี ๓ สาเหตุของการทุจริต ๑.1.๓ สาเหตุทท่ี าใหเ้ กดิ การทจุ ริต จากการศกึ ษาวิจัยโครงการประเมนิ สถานการณ์ดา้ นการทจุ ริตในประเทศไทยของเสาวนีย์ ไทยรุ่งโรจน์ ได้ ระบุ เงอ่ื นไข/สาเหตทุ ท่ี าใหเ้ กดิ การทจุ ริตคอร์รัปช่นั อาจมาจากสาเหตภุ ายในหรือสาเหตุภายนอก ดังน้ี (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ พฤตกิ รรมส่วนตวั ของข้าราชการบางคนที่เป็นคนโลภมาก เห็นแก่ได้ไม่ รู้จักพอ ความเคยชินของข้าราชการท่ีคุ้นเคยกับการที่จะได้ “ค่าน้าร้อนน้าชา” หรือ “เงินใต้โต๊ะ” จากผู้มา ติดต่อราชการ ขาดจิตสานกึ เพอ่ื ส่วนรวม (๒) ปจั จัยภายนอก ประกอบดว้ ย 1) ด้านเศรษฐกจิ ได้แก่ รายได้ของขา้ ราชการนอ้ ยหรือต่ามากไมไ่ ดส้ ดั ส่วนกับการครองชีพ ทสี่ งู ข้ึน การเติบโตของระบบทุนนยิ มทเ่ี น้นการบรโิ ภค สรา้ งนิสัยการอยากได้ อยากมี เมื่อรายได้ไม่เพียงพอก็ ตอ้ งหาทางใชอ้ านาจไปทุจรติ ๒) ด้านสังคม ได้แก่ ค่านิยมของสังคมที่ยกย่องคนมีเงิน คนร่ารวย และไม่สนใจว่าเงินน้ัน ไดม้ าอย่างไร เกดิ ลัทธิเอาอย่าง อยากได้สง่ิ ท่ีคนรวยมี เมือ่ เงนิ เดือนของตนไม่เพียงพอ ก็หาโดยวธิ ีมิชอบ ๓) ด้านวัฒนธรรม ได้แก่ การนิยมจ่ายเงินของนักธุรกิจให้กับข้าราชการที่ต้องการความ สะดวกรวดเร็ว หรือการบริการทีด่ ีกว่าด้วยการลดต้นทนุ ทจ่ี ะต้องปฏิบัตติ ามระเบียบ 4) ด้านการเมือง ได้แก่ การทุจริตของข้าราชการแยกไม่ออกจากนักการเมือง การร่วมมือ ของคนสองกล่มุ น้ีเกดิ ขนึ้ ได้ในประเด็นการใช้จา่ ยเงนิ การหารายไดแ้ ละการตัดสินพจิ ารณาโครงการของรฐั 5) ดา้ นระบบราชการ ได้แก่ - ความบกพร่องในการบรหิ ารงานเปิดโอกาสให้เกดิ การทจุ ริต - การใช้ดุลพินิจมากและการผูกขาดอานาจจะทาให้อัตราการทุจริตในหน่วยงานสูง - การท่ีข้ันตอนของระเบียบราชการมีมากเกินไป ทาให้ผู้ท่ีไปติดต่อต้องเสียเวลามาก จึงเกิดการสมยอมกัน ระหว่างผใู้ หก้ บั ผรู้ ับ - การตกอยู่ใต้ภาวะแวดล้อมและอิทธิพลของผู้ทุจริตมีทางเป็นไปได้ที่ผู้นั้นจะทา การทจุ รติ ด้วย - การรวมอานาจ ระบบราชการมีลักษณะท่ีรวมศูนย์ ทาให้ไม่มีระบบตรวจสอบที่ เป็นจรงิ และมีประสทิ ธิภาพ - ตาแหน่งหน้าที่ในลักษณะอานวยต่อการกระทาผิด เช่น อานาจในการอนุญาต การอนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง ผู้ประกอบการเอกชนมักจะยอมเสียเงินติดสินบนเจ้าหน้าที่เพ่ือให้เกิดความสะดวก และรวดเร็ว - การท่ีข้าราชการผู้ใหญ่ทุจริตให้เห็นเป็นตัวอย่างแล้วไม่ถูกลงโทษข้าราชการชั้น ผ้นู อ้ ยจงึ เลียนแบบกลายเป็นความเคยชิน และมองไม่เห็นว่าการกระทาเหล่านั้นจะเป็นการคอร์รัปช่ัน หรือมี ความสบั สนระหว่างสนิ นา้ ใจกับคอร์รปั ชน่ั แยกออกจากกนั
- ๔๐ - 6) กฎหมายและระเบยี บ ได้แก่ - กฎหมายหลายฉบับที่ใชอ้ ย่ยู งั มี “ชอ่ งโหว่” ท่ที าใหเ้ กิดการทุจริตทีด่ ารงอย่ไู ด้ - การทุจริตไม่ได้เป็นอาชญากรรมให้คู่กรณีทั้งสองฝ่าย หาพยานหลักฐานได้ยาก ยงิ่ กวา่ นนั้ คูก่ รณีท้ังสองฝ่ายมักไม่ค่อยมีฝ่ายใดยอมเปิดเผยออกมา และถ้าหากมีฝ่ายใดต้องการท่ีจะเปิดเผย ความจริงในเร่ืองน้ี กฎหมายหม่ินประมาทก็ยับย้ังเอาไว้ อีกทั้งกฎหมายของทุกประเทศเอาผิดกับบุคคลผู้ให้ สินบนเทา่ ๆ กบั ผรู้ ับสนิ บน จึงไมค่ ่อยมผี ใู้ ห้สินบนรายใดกลา้ ดาเนนิ คดกี บั ผรู้ ับสนิ บน - ราษฎรที่รู้เห็นการทุจริตก็เป็นโจทย์ฟ้องร้องมิได้เนื่องจากไม่ใช่ผู้เสียหาย ยิ่งกว่านั้น กระบวนการพิจารณาพพิ ากษายงั ยงุ่ ยากซับซ้อนจนกลายเปน็ ผลดแี กผ่ ทู้ จุ ริต - ขัน้ ตอนทางกฎหมายหรอื ระเบียบปฏบิ ัตยิ งุ่ ยาก ซับซอ้ น มขี ้นั ตอนมาก ทาให้เกิด ชอ่ งทางให้ข้าราชการหาประโยชนไ์ ด้ 7) การตรวจสอบ ไดแ้ ก่ - ภาคประชาชนขาดความเข้มแข็ง ทาให้กระบวนการต่อต้านการทุจริตจากฝ่าย ประชาชนไม่เข้มแข็งเท่าทคี่ วร - การขาดการควบคุมตรวจสอบ ของหน่วยงานที่มีหน้าท่ีตรวจสอบหรือกากับดูแล อย่างจรงิ จัง 8) สาเหตุอ่ืนๆ - อิทธิพลของภรรยาหรือผู้หญิง เนื่องจากเป็นผู้ใกล้ชิดสามีอันเป็นตัวการสาคัญที่ สนบั สนนุ และสง่ เสริมให้สามีของตนทาการทจุ ริตเพ่ือความเป็นอยขู่ องครอบครัว - การพนัน ทาให้ขา้ ราชการท่ีเสยี พนันมีแนวโนม้ จะทจุ ริตมากขึน้
- ๔๑ - ใบความรู้ ฐานท่ี ๔ ความหมายของความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต 1.2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต การสร้างสังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต เป็นการปรับเปล่ียนสภาพสังคมให้เกิดภาวะ “ท่ีไม่ทนต่อการ ทุจริต” โดยเร่ิมต้ังแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกช่วงวัย เพื่อสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต และปลกู ฝงั ความพอเพียง มวี นิ ัย ซื่อสัตย์สจุ รติ ความเป็นพลเมืองดี มีจติ สาธารณะ ผ่านทางสถาบันหรือกลุ่ม ตัวแทนท่ีทาหน้าท่ีในการกล่อมเกลาทางสังคม เพื่อให้เด็ก เยาวชน ผู้ใหญ่ เกิดพฤติกรรมท่ีละอายต่อการ กระทาความผดิ การไม่ยอมรบั และตอ่ ตา้ นการทจุ ริตทกุ รูปแบบ 1.2.1 ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ คืออะไร คาวา่ “ความละอาย” และ “ความไม่ทน” ได้มีการใหค้ วามหมายไว้ ดังน้ี พจนานุกรมราชบัณฑติ ยสถาน ใหค้ วามหมายของคาว่าละอาย หมายถึง การรู้สึกอายท่ีจะทาในส่ิงท่ี ไม่ถกู ไม่ควร เช่น ละอายที่จะทาผิด ละอายใจ ความละอาย เป็นความละอายและความเกรงกลัวต่อส่ิงท่ีไม่ดี ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม เพราะเห็นถึง โทษหรือผลกระทบท่ีจะได้รับจากการกระทาน้ัน จึงไม่กล้าที่จะกระทา ทาให้ตนเองไม่หลงทาในสิ่งท่ีผิด น่ัน คือ มคี วามละอายใจ ละอายตอ่ การทาผดิ พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของคาว่า ทน หมายถึง การอดกลั้นได้ ทนอยู่ได้ เช่น ทนดา่ ทนทกุ ข์ ทนหนาว ไม่แตกหักหรือบุบสลายงา่ ย ความอดทน คือ การรู้จักรอคอยและคาดหวัง เป็นการแสดงให้เห็นถึงความม่ันคง แน่วแน่ต่อสิ่งที่รอ คอย หรือส่ิงทจี่ งู ใจใหก้ ระทาในสง่ิ ท่ีไม่ดี ไม่ทน หมายถงึ ไมอ่ ดกลัน้ ไม่อดทน ไม่ยอม ดังนั้น ความไม่ทน หมายถึง การแสดงออกต่อการกระทาท่ีเกิดขึ้นกับตนเอง บุคคลท่ีเกี่ยวข้องหรือ สังคม ในลกั ษณะทไี่ ม่ยนิ ยอม ไม่ยอมรับในส่ิงท่ีเกิดขึ้น ความไม่ทนสามารถแสดงออกได้หลายลักษณะ ทั้งใน รปู แบบของกรยิ าทา่ ทางหรือคาพูด ความไม่ทนต่อการทุจริตหรือการกระทาที่ไม่ถูกต้อง ต้องมีการแสดงออกอย่างใดอย่างหน่ึงเกิดข้ึน เช่น การแซงคิวเพ่อื ซ้ือของ การแซงคิวเป็นการกระทาที่ไม่ถูกต้อง ผู้ถูกแซงคิวจึงต้องแสดงออกให้ผู้ที่แซงคิว รับรู้ว่าตนเองไม่พอใจ โดยแสดงกิริยาหรือบอกกล่าวให้ทราบ เพ่ือให้ผู้ที่แซงคิวยอมท่ีจะต่อท้ายแถว กรณีนี้ แสดงให้เห็นว่าผู้ท่ีถูกแซงคิว ไม่ทนต่อการกระทาท่ีไม่ถูกต้อง และหากผู้ท่ีแซงคิวไปต่อแถวก็จะแสดงให้เห็น วา่ บุคคลน้นั มคี วามละอายต่อการกระทาท่ีไม่ถูกต้อง เป็นต้น ความไม่ทนต่อการทุจริต บคุ คลจะมีความไมท่ นตอ่ การทุจริตมาก – น้อย เพียงใด ขึ้นอยู่กับจิตสานึก ของแต่ละบุคคลและผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการกระทาน้ันๆ แล้วมีพฤติกรรมท่ีแสดงออกมา ซึ่งการแสดง กริยาหรือการกระทาจะมีหลายระดับ เช่น การว่ากล่าวตักเตือน การประกาศให้สาธารณชนรับรู้ การแจ้ง เบาะแส การร้องทุกขก์ ล่าวโทษ การชมุ นมุ ประทว้ งซ่ึงเป็นข้ันตอนสดุ ทา้ ยท่ีรนุ แรงที่สดุ เนอื่ งจากมีการรวมตัว ของคนจานวนมาก และสรา้ งความเสียหายอย่างมากเชน่ กัน ความไมท่ นของบุคคลตอ่ สงิ่ ต่างๆ รอบตัวทส่ี ง่ ผลในทางไม่ดตี อ่ ตนเองโดยตรง สามารถพบเห็นได้ง่าย ซึ่งปกติแล้วทุกคนมักจะไม่ทนต่อสภาวะ สภาพแวดล้อมท่ีไม่ดีและส่งผลกระทบต่อตนเองแล้ว มักจะแสดง
- ๔๒ - ปฏิกิริยาออกมา แต่การท่ีบุคคลจะไม่ทนต่อการทุจริตและแสดงปฏิกิริยาออกมาน้ันอาจเป็นเรื่องยาก เนื่องจากปัจจุบันสังคมไทยมีแนวโน้มยอมรับการทุจริต เพ่ือให้ตนเองได้รับประโยชน์หรือให้งานสามารถ ดาเนินต่อไปสู่ความสาเร็จ ซ่ึงการยอมรับการทุจริตในสังคมไม่เว้นแม่แต่เด็กและเยาวชน และมองว่าการ ทจุ ริตเป็นเรอ่ื งไกลตัวและไม่มีผลกระทบกับตนเองโดยตรง 1.2.2 ลกั ษณะของความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต ลกั ษณะของความละอายสามารถแบง่ ได้ 2 ระดับ คือ ความละอายระดับต้น หมายถึง ความละอาย ไม่กล้าท่ีจะทาในส่ิงท่ีผิด เนื่องจากกลัวว่าเมื่อตนเองได้ทาลงไปแล้วจะมีคนรับรู้ หากถูกจับได้จะได้รับการ ลงโทษ หรือได้รับความเดือดร้อนจากส่ิงท่ีตนเองได้ทาลงไป จึงไม่กล้าท่ีจะกระทาผิด และในระดับที่สองเป็น ระดับที่สูง คือ แม้ว่าจะไม่มีใครรับรู้หรือเห็นในส่ิงที่ตนเองได้ทาลงไป ก็ไม่กล้าท่ีจะทาผิด เพราะนอกจาก ตนเองจะได้รับผลกระทบแล้ว ครอบครัว สังคมก็จะได้รับผลกระทบตามไปด้วย ทั้งช่ือเสียงของตนเองและ ครอบครัวก็จะเสื่อมเสีย บางครั้งการทุจริตบางเร่ืองเป็นส่ิงเล็กๆ น้อยๆ เช่น การลอกข้อสอบ อาจจะไม่มีใครใส่ใจ หรือสังเกตเหน็ แตห่ ากเป็นความละอายขั้นสูงแลว้ บคุ คลน้นั ก็จะไม่กลา้ ทา สาหรับความไม่ทนต่อการทุจริต จากความหมายที่ได้กล่าวมาแล้ว คือ เป็นการแสดงออกอย่างใด อย่างหนึ่งเกิดขึ้น เพื่อให้รับรู้ว่าจะไม่ทนต่อบุคคลหรือการกระทาใดๆ ท่ีทาให้เกิดการทุจริต ความไม่ทนต่อ การทุจริตสามารถแบ่งระดับต่างๆ ได้มากกว่าความละอาย ใช้เกณฑ์ความรุนแรงในการแบ่งแยก เช่น หาก เพ่ือนลอกข้อสอบเรา และเราเห็นซึ่งเราจะไม่ยินยอมให้เพื่อนทุจริตในการลอกข้อสอบ เราก็ใช้มือหรือ กระดาษมาบังส่วนที่เป็นคาตอบไว้ เช่นน้ีก็เป็นการแสดงออกถึงการไม่ทนต่อการทุจริต นอกจากการ แสดงออกด้วยวิธีดังกล่าวที่ถือเป็นการแสดงออกทางกายแล้ว การว่ากล่าวตักเตือนต่อบุคคลที่ทุจริต การ ประณาม การประจาน การชุมนุมประท้วง ถือว่าเป็นการแสดงออกซึ่งการไม่ทนต่อการทุจริตทั้งส้ิน แต่จะ แตกต่างกันไปตามระดับของการทุจริต ความตื่นตัวของประชาชน และผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการทุจริต โดย ท้ายบทน้ไี ดย้ กตัวอย่างกรณีศึกษาที่มีสาเหตุมาจากการทุจรติ ทาให้ประชาชนไม่พอใจและรวมตวั ตอ่ ตา้ น ความจาเป็นของการท่ีไม่ทนต่อการทุจริตถือเป็นส่ิงสาคัญ เพราะการทุจริตไม่ว่าระดับเล็กหรือใหญ่ ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายต่อสังคม ประเทศชาติ ดังเช่นตัวอย่างคดีรถและเรือดับเพลิงของ กรุงเทพมหานครผลของการทจุ รติ สร้างความเสียหายไว้อย่างมาก รถและเรือดับเพลิงก็ไม่สามารถนามาใช้ได้ รัฐต้องสูญเสียงบประมาณไปโดยเปล่าประโยชน์ และประชาชนเองก็ไม่ได้ใช้ประโยชน์ด้วยเช่นกัน หากเกิด เพลิงไหมพ้ รอ้ มกันหลายแห่ง รถ เรือและอปุ กรณด์ ับเพลงิ จะไม่มีไมเ่ พียงพอท่ีจะดับไฟได้ทันเวลา เพียงแค่คิด จากมูลค่าความเสียหายท่ีรัฐสูญเสียงบประมาณไปยังไม่ได้คิดถึงความเสีย หายที่เกิดจากความเดือดร้อนหาก เกิดเพลงไม้แล้ว ถือเป็นความเสียหายที่สูงมาก ดังน้ัน หากยังมีการปล่อยให้มีการทุจริต ยินยอมให้มีการ ทุจรติ โยเห็นว่าเปน็ เรอ่ื งของคนอื่น เปน็ เรอื่ งของเจา้ หน้าทรี่ ัฐ ไม่เกย่ี วข้องกับตนเองแล้ว สุดท้ายความสูญเสีย ที่จะไดร้ ับตนเองกย็ ังคงทจี่ ะได้รับผลน้นั อย่แู ม้ไม่ใชท่ างตรงก็เปน็ ทางอ้อม ดังนนั้ การท่บี คุ คลจะเกดิ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตได้ จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องสร้าง ให้เกิดความตระหนักและรับรู้ถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการทุจริตในทุกรูปแบบ ทุกระดับ ซึ่งหากสังคมเป็น สังคมที่มีความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริตแล้ว จะทาให้เกิดสังคมที่น่าอยู่ และมีการพัฒนาในทุกๆ ดา้ น
- ๔๓ - ใบความรู้ ฐานที่ ๕ ตวั อยา่ งความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ 1.2.4 ตัวอย่างความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต การทจุ ริตมีผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ ทาให้เกิดความเสียหายอย่างมากในด้านต่างๆ หากนาเอา เงินท่ีทุจริตไปมาพัฒนาในส่วนอ่ืน ความเจริญหรือการได้รับโอกาสของผู้ท่ีด้อยโอกาสก็จะมีมากขึ้น ความ เหลื่อมล้าทางด้านโอกาส ทางด้านสังคม ทางด้านการศึกษา ฯลฯ ของประชาชนในประเทศก็จะลดน้อยลง ดังท่ีเห็นในปัจจุบันว่าความเจริญต่างๆ มักอยู่กับคนในเมืองมากกว่าชนบท ทั้งๆ ที่คนชนบทก็คือประชาชน ส่วนหนึ่งของประเทศ แต่เพราะอะไรทาไมประชาชนเหล่านั้นถึงไม่ได้รับโอกาสให้ทัดเทียมหรือใกล้เคียงกับ คนในเมือง ปัจจัยหน่ึงคือการทุจริต สาเหตุการเกิดทุจริตมีหลายประการตามท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น แต่ทา อย่างไรถงึ ทาใหม้ ีการทจุ รติ ได้มาก อย่างหนึ่งคือการลงทุน เมอ่ื มีการลงทนุ กย็ อ่ มมงี บประมาณ เมอื่ มงี บประมาณก็ เปน็ สาเหตใุ ห้บคุ คลท่ีคิดจะทจุ รติ สามารถหาช่องทางดงั กล่าวในทางทุจริตได้ แม้ว่าประเทศไทยจะมีกฎหมาย หลายฉบบั เพ่ือป้องกนั การทุจริต ปราบปรามการทจุ รติ แตน่ ่นั กค็ อื ตัวหนังสือที่ได้เขียนเอาไว้ แต่การบังคับใช้ ยังไม่จริงจังเท่าท่ีควร และย่ิงไปกว่านั้น หากประชาชนเห็นว่าเรื่องดังกล่าวไม่เกี่ยวข้องกับตนเองก็มักจะไป อยากเข้าไปเก่ียวข้อง เน่ืองจากตนเองก็ไม่ได้รับผลกระทบที่เกิดข้ึน แต่การคิดดังกล่าวเป็นสิ่งที่ผิด เน่ืองจากว่า ตนเองอาจจะไม่ได้รับผลกระทบโดยตรงต่อการที่มีคนทุจริต แต่โดยอ้อมแล้วถือว่าใช่ เช่น เมื่อมีการทุจริตมาก งบประมาณของประเทศทจ่ี ะใช้พัฒนาหรอื ลงทุนกน็ ้อย อาจส่งผลให้ประเทศไม่สามารถจ้างแรงงานหรือลงทุน ได้ ความเสียหายท่ีเกิดจากการทุจริต หากเป็นการทุจริตในโครงการใหญ่ๆ แล้ว ปริมาณเงินที่ทุจริตย่อมมี มาก ความเสยี หายกย็ ่อมมีมากตามไปด้วย โดยในบทนีไ้ ดย้ กกรณีตัวอย่างท่ีเกิดข้ึนจากการทุจริตไว้ในท้ายบท ซึ่งจะเห็นได้ว่าความเสียหายท่ีเกิดขึ้นนั้นมีมูลค่ามากมาย และนี้เป็นเพียงโครงการเดียวเท่านั้น หากรวมเอา การทุจริตหลายๆ โครงการ หลายๆ กรณีเข้าด้วยกัน จะพบว่าความเสียหายท่ีเกิดข้ึนมานั้นมากมายมหาศาล ดงั นน้ั เมอ่ื เป็นเชน่ นแี้ ล้ว ประชาชนจะตอ้ งมคี วามตื่นตัวในการที่จะรว่ มมือในการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริต การร่วมมือกันในการเฝ้าระวังเหตุการณ์ สถานการณ์ท่ีอาจเกิดการทุจริตได้ เมื่อประชาชนรวมถึง ภาคเอกชน ภาคธุรกิจมีความต่ืนตัวท่ีจะร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ปัญหาการทุจริตจะถือเป็น ปัญหาเพยี งเล็กน้อยของประเทศไทย เพราะไม่ว่าจะทาอย่างไรก็จะมีการสอดส่อง ติดตาม เฝ้าระวังเร่ืองการ ทุจรติ อย่างต่อเน่ือง ดังนั้นแล้วสิ่งสาคัญสิ่งแรกท่ีจะต้องสร้างให้เกิดข้ึน คือ ความตระหนักรู้ถึงผลเสียที่เกิดขึ้น จากการทุจริต สร้างให้เกิดความต่ืนตัวต่อการปราบปราบการทุจริต การไม่ทนต่อการทุจริต ให้เกิดข้ึนใน สังคมไทย เมื่อประชาชนในประเทศมีความต่ืนตัวที่ว่า “ไม่ทนต่อการทุจริต” แล้ว จะทาให้เกิดกระแสการ ต่อต้านต่อการกระทาทุจริต และคนท่ีทาทุจริตก็จะเกิดความละอายไม่กล้าที่จะทาทุจริตต่อไป เช่น หากพบ เห็นว่ามีการทุจริตเกิดข้ึนอาจมีการบันทึกเหตุการณ์หรือลักษณะการกระทา แล้วแจ้งข้อมูลเหล่าน้ันไปยัง หน่วยงานหรือสอ่ื มวลชนเพอื่ ร่วมกนั ตรวจสอบการกระทาทเ่ี กดิ ขน้ึ และย่งิ ในปัจจุบันเป็นสังคมสมัยใหม่ และ กาลังเดินหน้าประเทศไทยก้าวสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 แต่การจะเป็น 4.0 ให้สมบูรณ์แบบได้น้ัน ปัญหาการทุจริต จะต้องลดน้อยลงไปด้วย เม่ือประชาชนมีความต่ืนตัวต่อการท่ีไม่ทนต่อการทุจริตแล้ว ผลท่ีเกิดขึ้นจะเป็น อย่างไร ตัวอย่างที่จะนามากล่าวถึงต่อไปนี้เป็นกรณีที่เกิดข้ึนในต่างประเทศ แสดงให้เห็นถึงความไม่ทนต่อ
- ๔๔ - การทุจริตที่ประชาชนได้ลุกขึ้นมาต่อสู้ ต่อต้านต่อนักการเมืองท่ีทาทุจริต จนนาในที่สุดนักการเมืองเหล่าน้ัน หมดอานาจทางการเมอื งและไดร้ ับบทลงโทษทั้งทางสังคมและทางกฎหมาย ดังน้ี 1. ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลใี ตถ้ อื เปน็ ประเทศหนึ่งท่ปี ระสบความสาเร็จในดา้ นของการป้องกนั และ ปราบปรามการทุจริต แต่กย็ ังคงมีปัญหาการทจุ รติ เกิดข้ึนอยู่บ้าง เช่น เมื่อปี พ.ศ. 2559 มขี ่าวกรณีของประธานาธบิ ดีถกู ปลดออกจากตาแหนง่ เพราะเขา้ ไปมสี ่วน เกีย่ วข้องในการเอ้ือประโยชนใ์ ห้พวกพอ้ ง โดยการถูกกล่าวหาวา่ ให้เพ่ือนสนิทของครอบครัวเขา้ มาแทรกแซง การบรหิ ารประเทศ รวมถึงใชค้ วามสมั พนั ธ์ท่ีใกลช้ ดิ กับประธานาธิบดีแสวงหาประโยชนส์ ่วนตวั ผลที่เกิดขน้ึ คือ ถกู ดาเนินคดีและต้ังข้อหาว่าพัวพันการทจุ รติ และใชอ้ านาจหน้าทใี่ นทางมชิ อบเพ่อื เอ้ือผล ประโยชนใ์ หแ้ ก่ พวกพ้อง กรณีทเ่ี กดิ ขึ้นนี้ประชาชนเกาหลีใต้ได้มีการรวมตวั กันประท้วงกว่าพันคนเรยี กร้องให้ประธานาธิบดีคน ดงั กล่าวลาออกจากตาแหน่งหลงั มีเหตุอ้ือฉาวทางการเมือง อีกกรณีท่ีจะกล่าวถึงเพ่ือเป็นตัวอย่างการต่อต้านการกระทาท่ีไม่ถูกต้อง คือ การท่ีนักศึกษาคนหนึ่ง ได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยทั้งที่ผลคะแนนท่ีเรียนมานั้นไม่ได้สูง และการท่ีคุณสมบัติของนักศึกษาดังกล่าวมี คุณสมบตั ิไม่ตรงกับการคดั เลอื กโควต้านกั กีฬาทกี่ าหนดไวว้ า่ จะต้องผ่านการแข่งขันประเภทเดี่ยว แต่นักศึกษา คนดังกล่าวผ่านการแข่งขนั ประเภททมี เท่ากบั ว่าคณุ สมบตั ไิ ม่ถกู ต้องแต่ได้รับเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยดังกล่าว การกระทาเช่นนี้จึงเป็นสาเหตุหนึ่งของการนาไปสู่การประท้วง ต่อต้านจากนักศึกษาและอาจารย์ของ มหาวิทยาลัยดังกลา่ ว ซึ่งทางมหาวิทยาลัยก็ไม่สามารถให้คาตอบท่ีชัดเจนแก่กลุ่มผู้ประท้วงได้ จนในท่ีสุด ประธาน ของมหาวิทยาลัยดังกลา่ วจึงลาออกจากตาแหน่ง 2. ประเทศบราซลิ ปลายปี พ.ศ. 2559 ประชาชนในประเทศบราซลิ ได้มีการชมุ นมุ ประท้วงการ ทจุ ริตที่เกดิ ข้นึ เป็นการแสดงออกถึงความไม่พอใจต่อวฒั นธรรม การโกงของระบบราชการของประเทศ โดยมี ประชาชนจานวนหลายหมน่ื คนเข้ารว่ มการชุมนุมในครง้ั น้ี และมกี ารแสดงภาพหนูเพื่อเป็นสญั ลักษณใ์ นการ ประณามต่อนักการเมอื งท่ีทุจริต การประทว้ งดังกลา่ วยังถือว่ามขี นาดเล็กกวา่ คร้งั ก่อน เพราะทผี่ า่ นมาไดม้ ีการ ทุจรติ เกดิ ข้นึ และมีการประท้วง จนในทีส่ ดุ ประธานาธบิ ดีได้ถูกปลดจาตาแหนง่ เนอื่ งจากการกระทาทลี่ ะเมดิ ตอ่ กฎระเบยี บเรื่องงบประมาณ จากตัวอยา่ งขา้ งต้นแสดงให้เห็นถึงความต่ืนตัวของประชาชนที่ออกมาต่อต้านต่อการทุจริต ไม่ว่าจะ เปน็ การทจุ ริตในระดับหน่วยเลก็ ๆ หรือระดับประเทศ เปน็ การแสดงออกซึ่งการไมท่ นตอ่ การทุจริต การไม่ทน ตอ่ การทจุ ริตสามารถแสดงออกมาไดห้ ลายระดบั ต้งั แต่การเห็นคนทีท่ าทุจริตแล้วตนเองรู้สึกไม่พอใจ มีการส่ง เรื่องตรวจสอบ ร้องเรียน และในที่สุดคือการชุมนุม ประท้วง ตามตัวอย่างท่ีได้นามาแสดงให้เห็นข้างต้น ตราบใดท่ีสามารถสร้างให้สังคมไม่ทนต่อการทุจริตได้ เมื่อนั้นปัญหาการทุจริตก็จะลดน้อยลง แต่หากจะให้ เกิดผลดียิ่งขึ้น จะต้องสร้างให้เกิดความละอายต่อการทุจริต ไม่กล้าที่จะทาทุจริต โดยนาเอาหลักธรรมทาง ศาสนามาเป็นเคร่ืองมือในการสั่งสอน อบรม ในขณะเดียวกันหากมีการทุจริตเกิดข้ึนกระบวนการในการ แสดงออกต่อการไม่ทนต่อการทุจริตจะต้องเกิดข้ึน และมีการเปิดเผยชื่อบุคคลที่ทุจริตให้กับสาธารณะชนได้ รับทราบอย่างทั่วถึง เม่ือสังคมมีท้ังกระบวนการในการป้องกันการทุจริต การปราบปรามการทุจริตท่ีดี รวมถึง การสร้างให้สังคมเป็นสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต มีความละอายต่อการทาทุจริตแล้ว ปัญหาการทุจริตจะลด นอ้ ยลง ประเทศชาติจะสามารถพัฒนาได้มากขึน้
- ๔๕ - สาหรับระดับการทุจริตท่ีเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นในระดับใดล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบต่อสังคมและ ประเทศชาติท้ังส้ิน บางครั้งการทุจริตเพียงนิดเดียวอาจนาไปสู่การทุจริตอย่างอื่นที่มากกว่าเดิมได้ การมี วัฒนธรรม ค่านิยม หรือความเชื่อที่ไม่ถูกต้องก็ส่งผลให้เกิดการทุจริตได้เช่นกัน เช่น การมอบเงินอุดหนุนแก่ สถานศึกษาเพื่อให้บุตรของตนได้เข้าศึกษาในสถานท่ีแห่งนั้น หากพิจารณาแล้วอาจพบว่าเป็นการช่วยเหลือ สถานศึกษาเพื่อที่สถานศึกษาแห่งน้ันจะได้นาเงินที่ได้ไปพัฒนาสภาพแวดล้อม การเรียนการสอนของทาง สถานศึกษาตอ่ ไป แต่การกระทาดังกลา่ วนีไ้ มถ่ ูกต้อง เป็นการปลูกฝังส่ิงท่ีไม่ดีให้เกิดขึ้นในสังคม และต่อไปหาก กระทาเช่นน้ีเรื่อยๆ จะมองว่าเป็นเร่ืองปกติท่ีทุกคนทากัน ไม่มีความผิดแต่อย่างใด จนทาให้แบบแผนหรือ พฤติกรรมทางสังคมท่ีดีถูกกลืนหายไปกับการกระทาท่ีไม่เหมาะสมเหล่านี้ ตัวอย่างการมอบเงินอุดหนุนแก่ สถานศึกษายังคงเกิดข้ึนในประเทศไทยอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงซ่ึงหลายคนอยากให้ บุตรของตนเข้าศึกษาในสถานที่แห่งน้ัน แต่ด้วยข้อจากัดที่ไม่สามารถรับนักเรียน นักศึกษาได้ท้ังหมด จึงทาให้ ผูป้ กครองบางคนต้องใหเ้ งนิ กับสถานศึกษา เพือ่ ให้บตุ รของตนเองได้เข้าเรยี น
- ๔๖ - ใบกจิ กรรมระดมพลังความคิดประเด็น “การแสดงออกซึ่งความไม่ทนต่อการทจุ รติ ในการสอบ” ผลการระดมพลังความคิดกลุ่มท่.ี ........... ชนั้ ................. สถานการณ์ที่ ๑ นกั เรียนจะทาอยา่ งไร เมื่อรู้มาว่าเพ่ือนในหอ้ งส่วนใหญ่วางแผนจะทุจรติ ในการสอบ และ ได้ชวนใหน้ กั เรยี นเขา้ รว่ มกระบวนการทจุ ริตดว้ ย ระดมความคดิ กล่นั กรองความคดิ สรปุ ความคิด ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ......................................................
- ๔๗ - ใบกิจกรรมระดมพลังความคิดประเดน็ “การแสดงออกซึง่ การไม่ทนต่อการทุจริตในการสอบ” ผลการระดมพลังความคดิ กลมุ่ ท่.ี ........... ชน้ั ................. สถานการณ์ท่ี ๒ นักเรยี นจะทาอย่างไร เม่ือเพ่ือนคนหน่ึงไม่ระมัดระวังในการวางกระดาษคาตอบ ทาให้นักเรียนมองเห็นคาตอบของเพือ่ น นอกจากนน้ี ักเรียนยังเหน็ เพอื่ นคนอนื่ แอบชาเลืองมองคาตอบของ เพอ่ื นคนนนั้ ดว้ ย ระดมความคดิ กลัน่ กรองความคิด สรุปความคดิ ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... ..................................................... .....................................................
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157