Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อ่างปลา

อ่างปลา

Published by Meng Krub, 2021-03-07 02:57:14

Description: อ่างปลา
FISHBOWL
ดร.ชลัท ประเทืองรัตนา
เครื่องมือของวิทยากรกระบวนการ
(Tools for Facilitator)

Search

Read the Text Version

inside_ cc.indd 1 9/12/2563 21:53:19

2 หนังสือชดุ เครือ่ งมือของวิทยากรกระบวนการ (Tools for Facilitator) เร่อื ง อ่างปลา (Fishbowl) ผูเ้ ขยี น ดร.ชลทั ประเทืองรัตนา ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของส�ำนกั หอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ชลทั ประเทอื งรัตนา. อ่างปลา = Fishbowl.-- กรงุ เทพฯ : สถาบนั พระปกเกลา้ , 2563. 68 หนา้ .-- (เครอื่ งมือของวทิ ยากรกระบวนการ (Tools for facilitator)). 1. การแลกเปลย่ี นทางสงั คม. I. ช่ือเรอ่ื ง. 303 ISBN 978-616-476-163-6 รหสั ส่ิงพิมพ์สถาบัน สสธ.63-85-1000.50 ลขิ สทิ ธสิ์ ถาบันพระปกเกลา รว มกบั มลู นธิ ิฟรดี ริช เนามัน พมิ พ์ครงั้ ท่ี 1 ธนั วาคม 2563 จำ�นวน 1,000 เลม่ พิมพท์ ี่ บริษัท ศูนย์การพมิ พแ์ กน่ จนั ทร์ จ�ำ กดั 88/5 วฒั นานเิ วศน์ ซ.5 ถนนสทุ ธสิ าร แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพั ท์ 02-276-6545, 02-276-5713 โทรสาร 02-277-8137 จดั พมิ พโ์ ดย สำ�นกั สนั ติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า ศนู ยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ช้ัน 5 (โซนทิศใต้) เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจง้ วัฒนะ แขวงท่งุ สองหอ้ ง เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ 10210 http://www.kpi.ac.th โทรศัพท์ 0-2141-9600 โทรสาร 0-2143-8181 ราคา 80 บาท inside_ cc.indd 2 9/12/2563 21:53:19

อา่ งปลา (Fishbowl) 3 คำ�นำ�สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า ในฐานะสถาบันทางวิชาการภายใต้ การก�ำกบั ของประธานรฐั สภา ตระหนกั ถงึ ความส�ำคญั ของการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ โดยยดึ มนั่ ในสันติวิธีและธรรมาภิบาล เครื่องมือส�ำหรับวิทยากรกระบวนการ มเี ปน็ จ�ำนวนมาก แตล่ ะเคร่อื งมอื จะมเี ป้าหมายในการใชท้ ี่แตกตา่ งกนั และสามารถใชผ้ สมผสานเครอ่ื งมอื ไดต้ ามความเหมาะสม เครอ่ื งมอื เลม่ น้ี เขยี นโดย ดร.ชลทั ประเทอื งรตั นา นกั วชิ าการผชู้ �ำนาญการ ส�ำนกั สนั ตวิ ธิ ี และธรรมาภบิ าล ซงึ่ ผอู้ า่ นจะไดท้ ราบถงึ เครอื่ งมอื อา่ งปลา (Fishbowl) ซ่ึงเป็นเครื่องมือท่ีสามารถใช้เป็นทางเลือกในการประชุมที่ไม่เน้นการ น�ำเสนอโดยเพาเวอร์พอยต์หรือการอภิปรายแบบ panel discussion โดยผู้เข้าร่วมยังคงมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันผ่านการก�ำกับเวทีโดยวิทยากร กระบวนการ การเนน้ ความทวั่ ถงึ ในการแลกเปลยี่ นและรบั ฟงั ซงึ่ กนั และกนั จะไม่ใช่การมาบรรยายหรือน�ำเสนอข้อมูลฝ่ายเดียว สิ่งส�ำคัญคือ บทสนทนาเกิดขึ้นเฉพาะในวงอ่างปลาเท่านั้น คนวงนอกจะน�ำเสนอ ความเห็นได้ต่อเม่ือเข้ามาในวงอ่างปลา คนท่ีต้องการน�ำเสนอจึงต้อง รอคอยเวลาทเ่ี หมาะสม เมอื่ ถงึ รอบของตนเองจงึ จะมโี อกาส ค�ำถามทว่ี า่ ท�ำไมคนถึงอยากเข้าไปสนทนาในวงอ่างปลา? สามารถตอบได้ด้วย การต้ังประเด็นเรียนรู้ที่น่าสนใจ ท้าทาย ชวนให้ติดตามแลกเปลี่ยน และการสรา้ งบรรยากาศกระตุ้นใหเ้ กิดการเรียนรแู้ บบมสี ่วนรว่ ม inside_ cc.indd 3 9/12/2563 21:53:19

4 สถาบันพระปกเกล้าขอขอบคุณผู้เขียนท่ีได้ผลิตงานช้ินน้ี และผู้ท่ีมีส่วนร่วมทุกท่านที่ท�ำให้งานส�ำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ที่ได้ก�ำหนดไว้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการ ผสู้ นใจทว่ั ไป และเกดิ กระบวนการแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ นั อยา่ งกวา้ งขวาง ต่อเนอ่ื ง และสร้างสรรค์สังคมตอ่ ไป ศาสตราจารย์ วฒุ สิ าร ตันไชย เลขาธกิ ารสถาบนั พระปกเกล้า inside_ cc.indd 4 9/12/2563 21:53:19

อ่างปลา (Fishbowl) 5 Foreword There is no real democracy without a free and open dialogue. However, simply having freedom of speech is not enough. A public debate can be a bit like an argument in a family. Some members might be too shy to present their point of view, others are rather ignored as they are considered as inexperienced. One person might not have the skills to formulate his interests and emotions, another already gave up due to former insults. In societies, we witness the same. There are groups without any lobby or only little capacity. Some participants in a public discourse might even be informally or formally disadvantaged. The result of such a biased dialogue will not only be favourable to certain people. It will also create distrust of the political system, division and resentment. As liberals, we believe that those obstacles must be overcome - and that they can be overcome. Good facilitation enables the weak to participate and makes the strong aware of inside_ cc.indd 5 9/12/2563 21:53:19

6 their privileges and powers. A proper facilitated and successful discussion ends without a winner, but with the best outcome for the society or the group as the whole. However, good facilitation is a true art - you could fill libraries with all the available techniques and tools. Gen. Ekkachai Srivilas, Dr.Chalat Pratheuangrattana and Dr. Apinya Tissamana, three Almunis of FNF’s International Academy for Leadership in Gummersbach, spared no efforts to find best practice examples. With the advice of FNF’s Programme Manager Dr.Pimrapaat Dusadeeisariyakul, an experienced facilitator, they collected the most promising tools for the Thai context. The result is impressive and a bright example of the fruitful cooperation between KPI and FNF. FNF is determined to continue this great partnership and we truly believe that this book can be a cornerstone of our future cooperation. Mr. Frederic Spohr Head of Office Thailand and Myanmar Friedrich Naumann Foundation inside_ cc.indd 6 9/12/2563 21:53:19

อา่ งปลา (Fishbowl) 7 คำ�นำ�มูลนธิ ิฟรดี รชิ เนามนั ประชาธปิ ไตยทแ่ี ทจ้ รงิ จะเกดิ ขน้ึ ไมไ่ ดห้ ากปราศจากการพดู คยุ ที่เปิดกว้างและเสรี แต่ถึงกระนั้นเสรีภาพในการพูดอย่างเดียวก็อาจจะ ยังไมเ่ พยี งพอทจี่ ะน�ำไปสู่สังคมประชาธปิ ไตย การถกเถียงบนพ้ืนที่สาธารณะก็อาจคล้ายกับการโต้เถียงกัน ในครอบครัว สมาชิกบางคนเขินอายเกินกว่าท่ีจะบอกเล่ามุมมอง ของเขา และความคดิ เหน็ ของสมาชกิ กทถี่ กู มองวา่ ยงั ไมม่ ปี ระสบการณ์ กอ็ าจจะไมไ่ ดถ้ กู รบั ฟงั บางคนอาจจะไมม่ ที กั ษะทจ่ี ะถา่ ยทอดความรสู้ กึ และสง่ิ ทเี่ ขาสนใจ ขณะทบี่ างคนไมอ่ ยากจะรว่ มถกเถยี งอกี ตอ่ ไป เนอื่ งจาก การถูกกดี กันในอดตี เราต่างพบเจอสถานการณ์เช่นน้ีในสังคม มีบางกลุ่มที่ไม่มี เครอื ขา่ ยและมพี ลงั เพยี งเลก็ นอ้ ย ในการแลกเปลย่ี นประเดน็ สาธารณะ คนบางกลมุ่ อาจจะเสยี เปรยี บ ผลลพั ธข์ องการแลกเปลย่ี นทมี่ อี คตอิ าจจะ เออ้ื ประโยชนใ์ หก้ บั คนบางกลมุ่ ซง่ึ อาจน�ำมาซง่ึ ความไมเ่ ชอื่ ใจในระบบ การเมอื ง เกดิ ความไมเ่ ชอื่ มนั่ ในการมสี ว่ นรว่ ม เกดิ การแบง่ แยกเปน็ กลมุ่ และเกิดความไม่พอใจในสงั คม ทมี่ าจากการมีสว่ นรว่ มที่ไมค่ รอบคลุม inside_ cc.indd 7 9/12/2563 21:53:19

8 ในฐานะนกั เสรนี ยิ ม เราเชอื่ วา่ เราตอ้ งกา้ วผา่ นอปุ สรรคเหลา่ นนั้ การใชก้ ระบวนการจะท�ำใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ มอยา่ งครอบคลมุ บนกตกิ า ท่ีเท่าเทียม ในการแลกเปลี่ยนท่ีเหมาะสม และการอภิปรายท่ีประสบ ความส�ำเร็จผ่านการใช้กระบวนการจะไม่มีผู้ชนะหน่ึงเดียวในตอนจบ แต่จะท�ำให้วงอภิปรายได้ผลลัพธ์ที่ใช่ที่สุดส�ำหรับทุกคนในกลุ่มส�ำหรับ สงั คม อยา่ งไรกต็ าม การใชก้ ระบวนการนบั เปน็ ศลิ ปะทแี่ ทจ้ รงิ มหี นงั สอื เกี่ยวกับเครื่องมือและเทคนิคกระบวนการมากมายให้เราศึกษาค้นคว้า หนงั สอื เครอื่ งมอื ของวทิ ยากรกระบวนการ (Tools for Facilitator) เกดิ จาก ความร่วมมือระหว่างสถาบันพระปกเกล้าและมูลนิธิฟรีดริช เนามัน โดย พลเอก เอกชยั ศรวี ลิ าศ ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั สนั ตวิ ธิ แี ละธรรมาภบิ าล ดร. ชลัท ประเทืองรัตนา และ ดร. อภิญญา ดิสสะมาน นักวิชาการ ผู้ช�ำนาญการ ส�ำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า เปน็ ผผู้ า่ นการอบรม ณ ศนู ยฝ์ กึ อบรมนานาชาติ (International Academy for Leadership - IAF) เมืองกุมเมอร์ชบัค ได้เฟ้นหาเครื่องมือ เทคนิค ท่ีเหมาะกับบริบทสังคมไทย พร้อมกับการยกตัวอย่างและกรณีศึกษา ในการใช้กระบวนการ โดยมี ดร. พิมพ์รภัช ดุษฎีอิสริยกุล ผู้จัดการ โครงการ มลู นธิ ฟิ รดี รชิ เนามนั ประเทศไทยรว่ มใหข้ อ้ คดิ เหน็ และค�ำปรกึ ษา จนออกมาเปน็ หนงั สอื ทท่ี า่ นถืออยู่ในมือน้ี inside_ cc.indd 8 9/12/2563 21:53:19

อา่ งปลา (Fishbowl) 9 ท้ายนี้ มูลนิธิฟรีดริช เนามัน หวังเป็นอย่างย่ิงว่าสถาบัน พระปกเกล้าและมูลนิธิฟรีดริช เนามัน จะยังเป็นภาคีขับเคลื่อนสังคม และเราหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นหมุดหมายไปสู่ ความรว่ มมืออ่ืนๆ ในอนาคต เฟรดเดอรกิ ชปอร์ หัวหนา้ ส�ำนักงานประเทศไทย มลู นธิ ิฟรดี รชิ เนามนั inside_ cc.indd 9 9/12/2563 21:53:19

10 สารบัญ ค�ำน�ำสถาบนั พระปกเกล้า หนา้ ค�ำน�ำมูลนิธิฟรดี รชิ เนามนั สารบัญ 3 สารบัญภาพ 5 1. บทน�ำ 10 11 12 2. หลักการส�ำคัญของเคร่ืองมืออา่ งปลา 15 3. เม่อื ใดควรใชแ้ ละท�ำไมถึงใช้เคร่อื งมืออ่างปลา 18 4. วิธีการในการจดั เครอื่ งมืออา่ งปลา 23 5. จดุ แขง็ ขอ้ จ�ำกดั และสง่ิ ทพี่ งึ ระวงั ของเครอ่ื งมอื อา่ งปลา 33 6. ตัวอย่างการจดั เครือ่ งมอื อา่ งปลา 42 7. บทสรุป 63 บรรณานุกรม 67 inside_ cc.indd 10 9/12/2563 21:53:19

อา่ งปลา (Fishbowl) 11 สารบัญภาพ ภาพที่ 1 ตัวอย่างการใช้เคร่อื งมอื อ่างปลา หนา้ ภาพท่ี 2 โดยส�ำนกั สนั ตวิ ธิ แี ละธรรมาภบิ าล สถาบนั พระปกเกลา้ 14 หลักการท�ำใหผ้ ู้เขา้ ร่วมสนใจ 17 ภาพท่ี 3 การมสี ว่ นร่วมในการสนทนา 22 ภาพที่ 4 รูปแบบในการจัดอ่างปลา 25 ภาพท่ี 5 การจัดเวที 28 ภาพท่ี 6 ข้อพงึ ระวังในการจัดเวที 35 ภาพท่ี 7 การจดั กระบวนการกลุ่มโดยใช้เคร่ืองมอื อ่างปลา 44 ภาพท่ี 8 ของเครือขา่ ยพ้ืนทก่ี ลาง สร้างสันติภาพคนในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 48 การจัดกระบวนการกลุ่มโดยใชเ้ คร่ืองมอื อา่ งปลา 54 ของหลักสตู รการเสรมิ สรา้ งสังคมสนั ตสิ ขุ รุ่นที่ 9 56 ภาพที่ 9 การเรยี นการสอนในรูปแบบอา่ งปลา โดยส�ำนกั สนั ตวิ ธิ แี ละธรรมาภบิ าล สถาบนั พระปกเกลา้ ภาพท่ี 10 การถอดบทเรยี นการสอนในรูปแบบอ่างปลา โดยส�ำนกั สนั ตวิ ธิ แี ละธรรมาภบิ าล สถาบนั พระปกเกลา้ inside_ cc.indd 11 9/12/2563 21:53:19

12 อ่างปลา (Fishbowl) 1. บทนำ� เครื่องมือในการประชุมกลุ่มส�ำหรับวิทยากรกระบวนการ มีเป็นจ�ำนวนมากและมีวัตถุประสงค์ในการใช้และช่วงเวลาที่เหมาะสม ในการใชท้ แี่ ตกตา่ งกนั ไป ผทู้ เี่ คยเขา้ รว่ มประชมุ ในรปู แบบของการสมั มนา การเสวนา นา่ จะเคยเหน็ การประชมุ ท่ีเน้นการน�ำเสนอจากผ้เู ช่ยี วชาญ มาใหข้ อ้ มลู อธบิ าย น�ำเสนอตวั เลข สถติ เิ ปน็ จ�ำนวนมาก และวทิ ยากร เปน็ ศนู ยก์ ลางของการประชมุ โดยมผี เู้ ขา้ รว่ มฟงั เปน็ เพยี งผนู้ ง่ั ฟงั เฉยๆ ไม่ได้มีส่วนร่วมในการประชุมแต่อย่างใด ผู้เข้าร่วมน่ังฟังเพ่ือรอเวลา พักรับประทานอาหารว่างหรือรอเวลาให้เลิกประชุม การประชุมหลาย ครง้ั วทิ ยากรจะผกู ขาดและใชเ้ วลาในการน�ำเสนอขอ้ มลู ตวั เลขโดยมเี วลา inside_ cc.indd 12 9/12/2563 21:53:20

อา่ งปลา (Fishbowl) 13 ใหก้ บั ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ ไดร้ ว่ มแลกเปลย่ี นซกั ถามนอ้ ยมาก บรรยากาศของ การแลกเปลย่ี นแทบจะไมเ่ กดิ ขนึ้ เนอ่ื งจากสภาพแวดลอ้ ม การออกแบบ การประชุมท่ีไม่เอ้ืออ�ำนวยให้เกิดการระดมสมองร่วมกัน ถ้าหากผู้จัด กระบวนการมสี ว่ นรว่ มไมอ่ ยากเหน็ บรรยากาศแบบเดมิ ๆ ในการน�ำเสนอ ดังท่ีได้กล่าวมาข้างต้น สามารถหลีกเล่ียงความซ�้ำซากแบบเดิมๆ ด้วย การใชเ้ คร่อื งมอื ท่เี รยี กวา่ “อา่ งปลา” อ่างปลาคืออะไร อ่างปลาคือเคร่ืองมือในการน�ำเสนอและ แลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับการสนทนาวงเล็ก มีความเป็น ธรรมชาติ สนทนากันในวงเล็กภายใต้การสนทนาในกลุ่มใหญ่ ท�ำโดย การจัดห้องเพื่อให้ผู้พูดนั่งตรงกลางของห้องร่วมกับคนอ่ืนท่ีล้อมรอบ ในวงกลม ซึ่งท�ำหน้าท่ีในการเฝ้าดูการสนทนาในรูปแบบของอ่างปลา ใชไ้ ดด้ กี บั การประชมุ การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร และการประชมุ ในรปู แบบ Town hall เครื่องมือน้ีเน้นให้ความสนใจของทั้งหมดไปที่กลางวง ซ่ึงมี การพดู คยุ กนั ระหวา่ ง 3 - 6 คน คนอน่ื ทอ่ี ยลู่ อ้ มรอบเปน็ ผสู้ งั เกตการณ์ โดยเนน้ การฟงั อยา่ งตงั้ ใจ และมกี ารสลบั ทน่ี ง่ั กนั เพอื่ ลดระยะหา่ งระหวา่ ง ผู้พูดกับผู้ฟัง เคร่ืองมือดังกล่าวสามารถใช้เป็นทางเลือกในการประชุม ที่ไม่เน้นการน�ำเสนอโดยเพาเวอร์พอยต์หรือการอภิปรายแบบ panel discussion โดยผู้เข้าร่วมยังคงมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันผ่านการก�ำกับเวที โดยวิทยากรกระบวนการ และผู้เข้าร่วมสามารถมีปฏิสัมพันธ์ได้ด้วย การตั้งค�ำถามและสลับบทบาทเข้าไปแสดงความเหน็ ไดเ้ ชน่ กนั (Unicef, 2015, p. 56) ในขณะทว่ี ากเนอร์ (2552, น. 104) ไดใ้ หค้ วามหมายไวว้ า่ อา่ งปลา เปน็ รปู แบบการเสวนาอกี ทางเลอื กหนงึ่ ทเ่ี รยี บงา่ ยแตเ่ ตม็ ไปดว้ ย พลงั และความคดิ สรา้ งสรรค์ เมอื่ เทยี บกบั รปู แบบการเสวนาตามแบบฉบบั ทว่ั ไป รปู แบบนชี้ ว่ ยสรา้ งสสี นั และความลน่ื ไหลใหก้ บั การประชมุ inside_ cc.indd 13 9/12/2563 21:53:20

14 ภาพที่ 1 : ตวั อยา่ งการใชเ้ คร่ืองมอื อ่างปลา จดั โดยสำ�นกั สันตวิ ธิ ีและธรรมาภบิ าล สถาบันพระปกเกลา้ ทม่ี า : รปู จากหลกั สตู รการเสรมิ สรา้ งสงั คมสนั ตสิ ขุ รนุ่ ที่ 9 ส�ำนกั สนั ตวิ ธิ ี และธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า inside_ cc.indd 14 9/12/2563 21:53:21

อ่างปลา (Fishbowl) 15 2. หลกั การส�ำคญั ของเครือ่ งมืออ่างปลา การประชมุ กลมุ่ ยอ่ ยโดยใชเ้ ครอื่ งมอื ตา่ งๆ ยอ่ มมหี ลกั การส�ำคญั ที่แตกตา่ งกันไป หลกั การของการประชุมแบบอา่ งปลา คือ 1. สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มอยา่ งเทา่ เทยี มกนั โดยทท่ี กุ คนสามารถ แสดงความเห็นได้โดยเข้ามาแสดงความเห็นในวงใน ส่วนคนวงนอก ท�ำหน้าท่ีเป็นผู้สังเกตการณ์ น่ันหมายความว่าทุกคนในวงประชุมกลุ่ม สามารถสลับมาเป็นผู้ให้ข้อมูลและความคิดเห็นได้เมื่ออยู่วงใน และ ผทู้ อี่ ภปิ รายอยใู่ นวงในกส็ ามารถเปลย่ี นมาเปน็ ผสู้ งั เกตการณไ์ ดเ้ ชน่ กนั เม่อื นง่ั อยูว่ งนอก 2. เน้นการฟังกันอย่างตั้งใจและอย่างลึกซ้ึง เน่ืองจากผู้ท่ีจะ สามารถแสดงความเหน็ ไดจ้ ะเปน็ ผทู้ นี่ ง่ั อยใู่ นวงใน สว่ นคนทน่ี ง่ั อยวู่ งนอก จะไมส่ ามารถแสดงความเหน็ ได้ ถา้ คนวงนอกอยากแสดงความเหน็ จะตอ้ ง inside_ cc.indd 15 9/12/2563 21:53:21

16 มเี กา้ อวี้ งในทว่ี า่ งและขยบั เขา้ ไปวงในถงึ จะสามารถแสดงความคดิ เหน็ ได้ เมอื่ เปน็ เชน่ นี้ คนที่น่ังอยวู่ งในจะตัง้ ใจแสดงความเห็นของตนเองอย่าง เต็มท่ี และคนท่ีน่ังอยู่วงนอกก็จะตั้งใจฟังเพ่ือท่ีเมื่อถึงเวลาท่ีสลับวง ตนเองจะไดแ้ สดงความเหน็ ไดอ้ ย่างไหลลืน่ เช่นกัน 3. สรา้ งจดุ สนใจรว่ มกนั ท�ำใหเ้ กดิ สมาธใิ นวงสนทนา จดุ สนใจ ของการสนทนาจะอยู่ตรงกลางวง อยู่ที่การให้ข้อมูลของคนวงในที่ เปรียบได้กับตัวปลา ส่วนคนวงนอกเป็นผู้สังเกตการณ์เปรียบได้กับ ขอบอา่ งปลา ผสู้ งั เกตการณเ์ ฝา้ มองการโตแ้ ยง้ อาจเปรยี บไดอ้ กี แบบคอื อยู่ในโดมแก้วท่ีมองเห็นวิวได้ชัดเจนแบบ 360 องศา ผู้สังเกตการณ์ จะสงั เกตทศั นคตแิ ละคณุ ภาพฃองผลงานทเ่ี กดิ ขนึ้ ในการสนทนา (Heufer, Rainer, 2013, p. 18) อยา่ งไรกต็ าม วทิ ยากรกระบวนการมคี วามส�ำคญั อย่างยิ่งในการท�ำให้การสนทนาด�ำเนินต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เกดิ การเสยี สมาธหิ รือการรบกวนจากผเู้ ข้ารว่ มสนทนา 4. การแลกเปลย่ี นขอ้ มลู และความคดิ เหน็ ทไี่ มเ่ นน้ การน�ำเสนอ แบบบรรยาย การสนทนาด้วยเคร่ืองมือน้ี ไม่เน้นการมาบรรยายหรือ ถ่ายทอดโดยวิทยากร วิทยากรท่ีใช้เพาเวอร์พอยต์ในการน�ำเสนอและ เน้นการถ่ายทอดหรือส่ือสารทางเดียวจะต้องปรับตัว หรือปรับเปลี่ยน วิธีการเม่ือเข้ามาร่วมสนทนาในวงอ่างปลา เน่ืองจากเป็นการสนทนา แบบมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน คนอ่ืนจะมีโอกาสในการให้ข้อมูลเช่นกันเม่ือ ถึงรอบเวลาของตนเอง inside_ cc.indd 16 9/12/2563 21:53:21

อ่างปลา (Fishbowl) 17 ภาพที่ 2 : หลักการทำ�ให้ผเู้ ขา้ รว่ มสนใจ Focused Listener Focused DisGcruosuspion Focused Listener Listener Focused Focused Listener Listener Focused Listener ทม่ี า : https://barkleypd.com/blog/facilitating-discussions-fishbowl- strategy/ inside_ cc.indd 17 9/12/2563 21:53:21

18 3. เมอ่ื ใดควรใชแ้ ละทำ� ไมถึงใช้เครอ่ื งมืออา่ งปลา จากหลักการส�ำคัญของเคร่ืองมืออ่างปลา ที่เน้นการสร้าง การมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน การฟังกันอย่างต้ังใจและอย่างลึกซ้ึง การสร้างจุดสนใจร่วมกันและการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็นท่ี ไมเ่ นน้ การน�ำเสนอแบบบรรยาย หวั ขอ้ นมี้ งุ่ ตอบค�ำถามวา่ เมอื่ ใดควรใช้ และท�ำไมถงึ ใช้ เม่อื ใดควรใช้ ? วากเนอร์ (2552, น. 104) เห็นว่า เคร่ืองมือน้ีสามารถใช้ได้ แมก้ ระทง่ั ในการพดู คยุ เปน็ กลมุ่ ใหญๆ่ วธิ กี ารนม้ี กี ารใชก้ นั อยา่ งกวา้ งขวาง ในการให้การศึกษาทางการเมืองแก่พลเมืองในเยอรมันและประเทศ ยุโรปอ่ืนๆ การจัดอาจมีรูปแบบในรายละเอียดที่อาจแตกต่างกันไปได้ มากมาย แตม่ จี ดุ รว่ มคอื การจดั กลมุ่ คนกลมุ่ เลก็ ๆ นงั่ เปน็ วงกลมพดู คยุ กนั inside_ cc.indd 18 9/12/2563 21:53:22

อ่างปลา (Fishbowl) 19 เปรยี บเหมอื นพวกเขาเปน็ ปลาทลี่ อ้ มรอบไปดว้ ยกลมุ่ ผสู้ งั เกตการณท์ มี่ ี จ�ำนวนมากกวา่ ทนี่ ง่ั ลอ้ มอยใู่ นวงนอกหรอื เปน็ อา่ งนน่ั เอง การแลกเปลย่ี น ข้อมูลและความคิดเห็นที่ไม่เน้นการน�ำเสนอแบบบรรยาย หลีกเล่ียง การน�ำเสนอโดยเพาเวอร์พอยต์ เมื่อมีผู้น�ำเสนอ 3 - 4 คน ถูกเชิญให้ เข้ามาแบ่งปันความรู้ในประเด็นเดียวกัน เคร่ืองมืออ่างปลาสามารถ ให้ความรู้สึกสดใหม่ส�ำหรับผู้ฟัง เน่ืองจากการใช้เพาเวอร์พอยต์ท�ำให้ คนรสู้ กึ ไมส่ นใจ ขณะทเี่ ครอ่ื งมอื อา่ งปลาท�ำใหค้ นสนใจมากขน้ึ (เครอื่ งมอื น้ี เน้นการแลกเปลี่ยนกันมากกว่าการน�ำเสนอด้วยการน�ำเสนอแบบ สื่อสารทางเดียว) เครื่องมืออ่างปลาคล้ายกับการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ กญุ แจส�ำคญั คอื การจดั สถานทใ่ี หบ้ ทสนทนาอยตู่ รงกลางหอ้ ง ลอ้ มรอบ ด้วยผู้ฟังและท�ำให้คนเข้ามาร่วมได้ตลอดเวลา แม้แต่ผู้เช่ียวชาญ ก็ถูกทดแทนได้โดยผู้ฟังท่านอื่น ผลลัพธ์ของการพูดคุยคือการสร้าง ความใกล้ชดิ มากขน้ึ ในวงสนทนา (Unicef, 2015, p. 57) ท�ำไมถึงใช้ ? 1. ท�ำให้เกิดพลวัตและปฏิสัมพันธ์ของกลุ่ม การพูดคุยใน วงใหญแ่ ละวงเลก็ แบบนเี้ ปน็ การทา้ ทายการมสี ว่ นรว่ มของผเู้ ขา้ รว่ ม คนใน วงในจะอภิปรายประเด็นร่วมกัน ขณะที่คนอื่นท่ีเหลือจะสังเกตการณ์ อภิปราย ผู้เข้าร่วมจะเคลื่อนย้ายเข้าออกอ่างปลาเพื่อแบ่งปันสิ่งที่รู้ หรือต้ังค�ำถาม กระบวนการแบบนี้ท�ำให้ผู้เข้าร่วมสนใจอยากรู้ว่าใคร จะขยับเข้ามาพูดคุยเป็นคนต่อไปและจะพูดอะไร และท�ำให้พลังงาน ในการสนทนายงั คงตอ่ เนอื่ ง inside_ cc.indd 19 9/12/2563 21:53:22

20 2. ท�ำให้เข้าใจมุมมองท่ีแตกต่าง จากอภิปรายหรือแนะน�ำ ประเดน็ ทเ่ี หน็ แยง้ กนั เรม่ิ ตน้ อภปิ รายกระบวนการอา่ งปลาจาก 3 - 6 คน (จ�ำนวนคนร่วมแลกเปล่ียน ซึ่งมีมุมมองท่ีแตกกต่าง ท�ำให้เข้าใจทั้ง ด้านบวกและดา้ นลบมากขน้ึ ) 3. สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มทเ่ี ทา่ เทยี มกนั การน�ำเสนออาจเรม่ิ ตน้ ด้วยการอภิปรายระหว่างผู้เชี่ยวชาญหรือผู้เข้าร่วมคนส�ำคัญ เช่น เจ้าหน้าที่ระดับสูงหรือผู้น�ำองค์กร ผู้เข้าร่วมที่เหลือจะฟังอย่างต้ังใจ โดยมเี กา้ อว้ี า่ งส�ำหรบั คนอนื่ ทจ่ี ะเขา้ มารว่ มซกั ถามหรอื แสดงความเหน็ ท�ำให้เป็นการมีส่วนร่วมท่ีมีความหมายมากกว่าการอภิปรายท่ัวไป อยา่ งไรกต็ าม วากเนอร์ (2552, น. 106) เนน้ วา่ แทนทจี่ ะปลอ่ ยใหผ้ อู้ ภปิ ราย น�ำเสนอยืดยาว ก็ให้ผู้อภิปรายน�ำเสนอสักคนละ 5 ถึง 15 นาที แล้ว ผู้อภิปรายก็เข้าร่วมในวงในท่ีมีผู้ฟังผลัดกันเข้าร่วมด้วยอีกสักสามคน วัตถุประสงค์คือปล่อยให้เน้ือหาได้ผุดออกมาจากความคิดเห็นและ ค�ำถามตา่ งๆ จากผเู้ ขา้ รว่ มและลดความตา่ งระหวา่ งผเู้ ชย่ี วชาญและผฟู้ งั รูปแบบน้ยี ังใชไ้ ด้ดสี �ำหรบั การปรึกษาหารือกบั ชุมชนวงกว้าง เครื่องมือ “อา่ งปลา” สามารถใช้เพ่อื สรา้ งความเชอื่ ม่นั ไวว้ างใจภายในชุมชน โดย การสรา้ งส�ำนกึ เรอ่ื งความโปรง่ ใสในการตดั สนิ ใจ พงึ ตระหนกั วา่ รปู แบบนี้ ใช้การได้ดีท่สี ดุ เม่อื การน�ำเสนอเปน็ ไปอยา่ งส้ันกระชบั 4. ความเขา้ ใจทลี่ กึ ซงึ้ มากขนึ้ รปู แบบนที้ �ำใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกลมุ่ ใหญ่ รสู้ กึ วา่ ความคดิ เหน็ และทศั นะของตวั เองไดร้ บั การน�ำเสนอในการเสวนา แม้ว่าจะไม่ได้น�ำเสนอด้วยตัวเองก็ตาม เน่ืองจากพวกเขาได้รับรู้ส่ิงที่ คนอื่นพูด จึงรู้ว่าประเด็นท่ีส�ำคัญส�ำหรับตนเองได้รับการน�ำเสนอและ inside_ cc.indd 20 9/12/2563 21:53:22

อา่ งปลา (Fishbowl) 21 ถกเถียงแล้ว ปกติแล้วเมื่อการเสวนาแบบ “อ่างปลา” จบลง ผู้เข้าร่วม และผสู้ งั เกตการณจ์ ะมคี วามเขา้ ใจทลี่ กึ ซง้ึ มากขน้ึ เกย่ี วกบั ขอ้ คดิ เหน็ และ ความแตกตา่ งทางความคดิ เกยี่ วกบั ประเดน็ ตา่ งๆ ทม่ี อี ยภู่ ายในกลมุ่ ของ ท่ีประชุมน้ัน บางทีอาจค้นพบมุมมอง ความเข้าใจและทางเลือกใหม่ๆ ทอี่ าจไมม่ ใี ครเคยนกึ มากอ่ น ซงึ่ อาจเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ทดี่ สี �ำหรบั กลมุ่ ตา่ งๆ ในอันที่จะพัฒนาต่อไป (วากเนอร์, โยส, 2552, น. 105) 5. ลดทอนประเดน็ สว่ นตวั และลดความตงึ เครยี ดลง ผเู้ ขา้ รว่ ม จะรสู้ กึ เปน็ ปฏปิ กั ษแ์ ละปะทะกนั นอ้ ยลง แตล่ ะฝา่ ยมโี อกาสไดน้ �ำเสนอ ขอ้ มลู และเหตผุ ลสนบั สนนุ ขอ้ คดิ เหน็ ของตนเอง โดยองิ กบั สง่ิ ทน่ี �ำเสนอ จากอีกฝ่ายหน่ึง ซึ่งล้วนเป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง (วากเนอร์, โยส, 2552, น. 107) inside_ cc.indd 21 9/12/2563 21:53:22

22 ภาพท่ี 3 : การมีส่วนรว่ มในการสนทนา ทม่ี า : https://gamestorming.com/fishbowl/ inside_ cc.indd 22 9/12/2563 21:53:22

อ่างปลา (Fishbowl) 23 4. วธิ ีการในการจดั เครอ่ื งมอื อ่างปลา รูปแบบในการจัดอ่างปลาท�ำได้อย่างน้อย 2 รูปแบบ คือ วงแบบปดิ กบั วงแบบเปิด 1. อ่างปลาในรปู แบบปิด ผรู้ ว่ มการอภปิ รายจะนง่ั ในวงดา้ นในและจะไมม่ เี กา้ อวี้ า่ งส�ำหรบั การแลกเปลย่ี น เมอ่ื ครบเวลาทก่ี �ำหนดผอู้ ภปิ รายทงั้ หมดจะลกุ ออกจากวง เพอ่ื ใหก้ ลมุ่ ใหมเ่ ขา้ มารว่ มอภปิ รายแทน วากเนอร์ (2552, น. 107) เหน็ วา่ วิธีน้ีอาจเป็นทางเลือกท่ีดีหากผู้เข้าร่วมทั้งหมดต่างเป็นผู้เชี่ยวชาญ วธิ กี ารเรมิ่ ดว้ ยการใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มนง่ั เกา้ อใ้ี หเ้ ตม็ ทง้ั หมด วทิ ยากรกระบวนการ แบง่ ผเู้ ขา้ รว่ มออกเปน็ สองกลมุ่ (หรอื มากกวา่ ตามความจ�ำเปน็ ) ผเู้ ขา้ รว่ ม ทน่ี ง่ั อยวู่ งในไดพ้ ดู แสดงความคดิ เหน็ กอ่ นในหวั ขอ้ ทก่ี �ำหนด โดยวทิ ยากร กระบวนการตามเวลาอันสมควร เมื่อหมดเวลาหรือเม่ือพูดประเด็น ท่ีน่าสนใจหมดแล้ว ผู้เข้าร่วมท่ีนั่งวงในก็ลุกออกจากเก้าอ้ีแล้วให้ผู้ฟัง inside_ cc.indd 23 9/12/2563 21:53:23

24 จากวงนอกเข้ามานั่งแทน กลุ่มใหม่นี้ก็แสดงความคิดเห็นในประเด็น เดิมต่อไป วิธีการ “อ่างปลาแบบปิด” นี้สามารถใช้ได้ตอนท้ายของ วนั ประชมุ โดยใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มสว่ นหนง่ึ นงั่ อยใู่ นวงทเี่ หลอื นงั่ อยนู่ อกวงตาม ปกติ วิทยากรกระบวนการต้ังประเด็น อย่างเช่น เน้ือหาการประชุมท่ี เปน็ ประโยชน์ทส่ี ุดในวันนีค้ ืออะไร? ท�ำไม? ใชเ้ วลาไม่นาน ผู้ท่ีอย่วู งใน กย็ ้ายไปนงั่ วงนอก ผูอ้ ย่วู งนอกก็ย้ายมาเขา้ วงใน วิทยากรกระบวนการ จะเปลยี่ นประเดน็ ค�ำถามกไ็ ด้ ถา้ เปน็ กลมุ่ ใหญ่ (มากกวา่ สบิ หา้ คนขน้ึ ไป) อาจแบ่งเป็นสามรอบ ผลัดกันเข้าไปนั่งวงใน ให้ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่ได้มี โอกาสแสดงความคดิ เห็นในวงใน 2. อ่างปลาในรปู แบบเปดิ จะมเี กา้ อต้ี วั หนงึ่ ทวี่ า่ อยู่ ผฟู้ งั ทกุ คนจากวงกลมดา้ นนอกสามารถ เข้ามานงั่ ในเก้าอ้ีทีว่ ่างได้เพ่อื รว่ มอภปิ ราย เม่ือมผี ู้รับฟงั จากวงนอกมา เข้าร่วมอภิปราย ผู้ร่วมอภิปรายที่ร่วมในวงต้องอาสาที่จะลุกออกไป จากวงกลมวงในหนึ่งคนเพื่อให้มีเก้าอี้ว่างหนึ่งตัว ถ้ากลุ่มผู้เข้าร่วมมี ขนาดใหญ่ เชน่ 20 – 30 คน อาจแบง่ เปน็ หลายกลมุ่ ด�ำเนนิ พรอ้ มกนั ไป เมื่อเสร็จสิ้นการเสวนา ให้ตัวแทนหน่ึงหรือสองคนจากแต่ละกลุ่มมา แสดงความคดิ เหน็ ในกลมุ่ อา่ งปลากลาง หลงั จากนน้ั กใ็ หผ้ ฟู้ งั ไดส้ ะทอ้ น ความเหน็ ใหต้ วั แทนแตล่ ะกลมุ่ กลบั ไปเสวนากบั กลมุ่ ตวั เองเพม่ิ เตมิ ตอ่ ไป โดยวิทยากรกระบวนการสามารถร่วมอยู่ในวงในเพื่อเป็นวิทยากร กระบวนการหรือจะอยู่ด้านนอกเพื่อดูแลกระบวนการสานเสวนาใน ภาพรวม ซงึ่ สามารถท�ำได้ทั้งสองรูปแบบ inside_ cc.indd 24 9/12/2563 21:53:23

อ่างปลา (Fishbowl) 25 ภาพท่ี 4 : รปู แบบในการจัดอ่างปลา ที่มา : https://www.unicef.org/knowledge-exchange/files/Fishbowl _production.pdf inside_ cc.indd 25 9/12/2563 21:53:23

26 วิธีการในการจัด แบ่งเป็น 2 ช่วงคือ การเตรียมการล่วงหน้า และวนั ท่จี ัดเวที การเตรียมการล่วงหน้า (Unicef, 2015, p. 57) 1. เลือกประเด็นในการมีส่วนร่วม ก่อนท่ีจะเริ่มกระบวนการ หัวข้อที่ดีที่สุดส�ำหรับผู้ฟังจะต้องกว้างพอส�ำหรับการสนทนา ไม่แคบ จนเกินไป 2. ระบผุ เู้ ชยี่ วชาญ 3 - 6 คนหรอื ผเู้ ขา้ รว่ มคนส�ำคญั ซง่ึ สามารถ เรมิ่ ตน้ สนทนาในกระบวนการนไี้ ด้ และสรปุ ใหฟ้ งั ถงึ กระบวนการ กลมุ่ นี้ จะเรม่ิ ตน้ ในวงเลก็ ผเู้ ขา้ รว่ มทง้ั หมดจะนง่ั อยใู่ นวงใหญแ่ ละฟงั อยา่ งตงั้ ใจ โดยวิทยากรกระบวนการจะเลือกท่ีจะสรุปให้ฟังล่วงหน้าหรือสรุปใน กระบวนการนน้ั เลยกไ็ ด้ การจดั เวที (Unicef, 2015, p. 58-59) 1. จัดเก้าอี้เป็นวงกลมส�ำหรับกลุ่มเล็กทั้งวงในและวงนอก เกา้ อวี้ งในใหม้ เี กา้ อ้ี 6 - 7 ตวั ส�ำหรบั คน 5 คน และมเี กา้ อวี้ า่ ง 1 - 2 ตวั โดยมพี น้ื ทท่ี เ่ี พยี งพอส�ำหรบั การเคลอ่ื นยา้ ย เพอื่ ใหไ้ ดผ้ ลดที สี่ ดุ วทิ ยากร กระบวนการควรจะยนื เพอ่ื เหน็ ผเู้ ขา้ รว่ มทง้ั หมดและเคลอื่ นตวั ไปรอบๆ เพื่อกระตุ้นเตือนให้ผู้เข้าร่วมเข้าหรือออกจากวงใน อย่างไรก็ตาม จากประสบการณท์ ผ่ี เู้ ขยี นสงั เกตเหน็ ในการจดั วงสนทนาในประเทศไทย ส่วนมากวทิ ยากรกระบวนการจะสนทนากับผู้เข้ารว่ มในวงใน inside_ cc.indd 26 9/12/2563 21:53:23

อา่ งปลา (Fishbowl) 27 2. จดั ทีน่ ่งั ส�ำหรบั ผูเ้ ขา้ รว่ ม (ทั้งวงในและวงนอก) และแนะน�ำ กระบวนการ อธบิ ายหัวขอ้ ส�ำหรับการแลกเปลยี่ น และใหภ้ าพรวมของ กระบวนการ และเตรยี มผูบ้ นั ทึกข้อมลู 3. แนะน�ำผเู้ ขา้ รว่ มใหเ้ รม่ิ อภปิ ราย วทิ ยากรกระบวนการอาจจะ เรม่ิ การสนทนาดว้ ยการเจาะจงผเู้ ขา้ รว่ มบางคนใหเ้ รม่ิ ตน้ แสดงความเหน็ หรอื เชญิ ใครกไ็ ดใ้ นอา่ งปลาเรมิ่ ตน้ พดู คยุ โดยผเู้ ขา้ รว่ มวงนอกจะตง้ั ใจฟงั 4. หลังจากผ่านไป 10 - 15 นาที เชิญให้ผู้เข้าร่วมวงนอก เข้าร่วมในอ่างปลา โดยสามารถเข้าไปน่ังวงในและถามค�ำถามหรือ ร่วมอภิปราย คนในวงในเท่าน้นั ที่จะสามารถพดู หรืออภิปรายได้ 5. การอภิปรายต่อเน่ืองและหมุนเวียนในกระบวนการ ผเู้ ขา้ รว่ มวงนอกมเี สรใี นการเขา้ รว่ มอภปิ ราย เปดิ ใหค้ นวงนอกเขา้ รว่ มใน วงในโดยใครก็ได้ท่ีประสงค์จะเข้าร่วม วิธีการอาจจะให้คนท่ีประสงค์ เข้าร่วมส่งสัญญาณบอกวิทยากรกระบวนการหรือแตะไหล่คนใดก็ได้ท่ี อยวู่ งในเพอ่ื เปน็ สญั ญาณบอกวา่ ประสงคจ์ ะเขา้ มารว่ มแสดงความเหน็ แต่ถ้ามีหลายคนอยากเข้ามาร่วมแสดงความเห็นหรือถามค�ำถาม อาจ จะตอ้ งจดชอ่ื ไว้เพื่อมาเข้าร่วมไดต้ ามล�ำดบั สิทธใิ นการแสดงความเห็น สอดคล้องกับงานของวากเนอร์ (2552, p. 105) ที่เน้นให้วิทยากร กระบวนการต้องเคร่งครัดในการอนุญาตให้ผู้เข้าร่วมท่ีน่ังอยู่วงในสุด เท่าน้ันเป็นผู้พูด คนวงนอกฟังคนในแต่สามารถเข้ามาวงในและแสดง ความคดิ เหน็ ไดท้ กุ เมอื่ โดยตอ้ งมานง่ั ทเ่ี กา้ อที้ วี่ า่ งอยใู่ นวงใน ถา้ ไมม่ ที ว่ี า่ ง ใหน้ งั่ กส็ ามารถมายนื อยหู่ ลงั เกา้ อ้ี รอจนมคี นวงในพดู เสรจ็ แลว้ ลกุ ออกไป inside_ cc.indd 27 9/12/2563 21:53:23

28 โดยปกตจิ ะตอ้ งใชเ้ วลาสกั พกั กอ่ นทคี่ นจะชนิ กบั การเขา้ – ออกวงระหวา่ ง ที่การสนทนายังด�ำเนินอยู่ รูปแบบน้ีอาจใช้เวลาต้ังแต่ 30 - 90 นาที แตว่ ทิ ยากรกระบวนการและผจู้ ดั การเสวนาควรสงั เกต ความมชี วี ติ ชวี า ของการพูดคุย แล้วตดั สินใจว่าเม่อื ไหร่จงึ ควรค่อยๆ ยตุ ิการเสวนา ภาพที่ 5 : การจัดเวที ทมี่ า : https://www.visualfriends.com/visual-facilitation-fishbowl/ inside_ cc.indd 28 9/12/2563 21:53:23

อ่างปลา (Fishbowl) 29 6. เพื่อท่ีจะให้การอภิปรายเป็นไปอย่างมีชีวิตชีวา วิทยากร กระบวนการควรกระตนุ้ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มลกุ ออกไปจากวงในเมอื่ แสดงความเหน็ เสรจ็ แลว้ เพื่อท�ำให้มเี กา้ อวี้ ่างในการแบ่งปันความเห็นได้ นอกจากข้ันตอนในการอภิปรายตามเอกสารของ Unicef ข้างต้นแล้ว ไรเนอร์ ฮอยเฟอร์ส (Heufer, Rainer, 2013, p. 18) ได้น�ำเสนอวิธีการไว้ค่อนข้างสอดคล้องกันแต่มีรายละเอียดท่ีแตกต่าง กนั ไป คอื ผเู้ ขา้ ประชมุ ถกู แบง่ เปน็ 2 กลมุ่ จ�ำนวนเทา่ ๆ กนั เปน็ วงกลม สองวงดา้ นในและดา้ นนอก ในบางส�ำนกั จะแบง่ วงกลมดา้ นใน แบง่ ตอ่ อกี เปน็ 2 กลมุ่ เผชิญหนา้ กนั และตอ้ งโต้แยง้ ซึ่งกนั และกัน ล�ำดบั กอ่ นหลัง ของหัวข้อการสนทนาจะถูกมอบหมายโดยผู้สนับสนุนการอภิปราย ลว่ งหน้า วงกลมดา้ นนอกเป็นผูส้ งั เกตและให้ค�ำแนะน�ำ ผูส้ ังเกตการณ์ ไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหพ้ ดู แตต่ อ้ งสอ่ื สารโดยการเขยี นบนั ทกึ ใหก้ บั คนทอ่ี ยู่ ในวงกลมดา้ นใน นอกจากน้ี มผี เู้ ขา้ รว่ ม 2 คนไมร่ ว่ มในกลมุ่ ใดๆ ทง้ั สนิ้ แตจ่ ะมหี นา้ ทเ่ี ปน็ ผดู้ แู ลสนบั สนนุ การอภปิ ราย พวกเขาจะเปน็ คนตดั สนิ ใจ วา่ จะเชญิ แตล่ ะฝา่ ยมากลา่ วเปดิ การอภปิ รายหรอื จะเรม่ิ อภปิ รายไดเ้ ลย ทนั ที โดยทวั่ ไปจะรบั ผดิ ชอบท�ำใหเ้ กดิ การอภปิ รายทส่ี รา้ งสรรค์ ยตุ ธิ รรม และเปิดกว้าง การอภิปรายใช้เวลาประมาณ 30 - 40 นาที โดยมีเวลา เตรียมการไม่น้อยกว่า 20 นาที โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี 1) แนะน�ำหัวข้อในการอภปิ ราย อาจเป็นหัวขอ้ ทสี่ นับสนนุ หรือคัดค้านสิ่งใดสิ่งหน่ึง (เช่น ภาษีบางอย่างหรือเงิน ชดเชย) หรืออาจเปน็ หวั ข้ออิสระใดก็ได้ inside_ cc.indd 29 9/12/2563 21:53:23

30 2) เลอื กผเู้ ขา้ ประชมุ 2 คน ให้เป็นผู้สนับสนุนการอภปิ ราย อาจเป็นผู้หญิงหน่ึงคนและผู้ชายหนึ่งคน (อาจเป็น ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้เข้าร่วมซึ่งมีประสบการณ์ในหัวข้อ ดงั กลา่ ว) 3) ผเู้ ข้าประชมุ ท่เี หลือแบง่ เป็นสองกลมุ่ เทา่ ๆ กัน แบง่ เป็น วงกลมรอบในและวงกลมรอบนอก 4) แบง่ คนในวงกลมรอบในเปน็ สองสว่ นเทา่ ๆ กนั ซง่ึ จะถกู มอบหมายให้อยู่คนละฝั่งในการอภิปรายเกี่ยวกับหัวข้อ ใดหัวขอ้ หน่งึ 5) ผู้เข้าประชุมที่อยู่ในวงกลมด้านนอกแต่ละคนเลือกผู้เข้า ประชมุ คนใดคนหน่งึ ในวงกลมดา้ นใน ซึ่งจะเปน็ คนท่ีจะ สังเกตและใหค้ �ำแนะน�ำ 6) ทกุ คนมเี วลาเตรียมตัว 15 - 20 นาที 7) เริม่ การอภิปราย มกั ใชเ้ วลาประมาณ 30 นาที 8) ผู้สนับสนุนการอภิปรายทั้งสองคนอาจจะอนุญาตให้มี การกลา่ วเปดิ งาน หรอื จะเรมิ่ การสนทนาไดเ้ ลยทนั ทกี ไ็ ด้ 9) หลังจากจบการอภิปราย ผู้ดูแลการประชมุ สัมมนาขอให้ ผู้สังเกตการณแ์ สดงความคดิ เหน็ และสรุปการอภปิ ราย 10) ผู้เข้าประชุมที่อยู่ในวงกลมด้านนอกและวงกลมด้านใน สลบั บทบาทกนั และด�ำเนนิ การอภิปรายใหมอ่ ีกครงั้ inside_ cc.indd 30 9/12/2563 21:53:23

อา่ งปลา (Fishbowl) 31 ส�ำหรับบทบาทผู้สนับสนุนการประชุมคือ การเลือกหัวข้อ การจดั หอ้ งประชมุ สรา้ งการอภปิ รายทมี่ พี ลงั ท�ำหนา้ ทแ่ี บง่ ผเู้ ขา้ ประชมุ โดยมอบหมายงานให้กับผู้สนับสนุนการอภิปราย คอยเตือนให้ผู้เข้า ประชุมอภิปรายเป็นทีม และเรียนรู้จากความคิดเห็นท่ีได้รับ รวมท้ัง การประเมนิ ตวั เอง สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารสนทนากนั ตอ่ หลงั จากสลายวงกลม แลว้ (Heufer, Rainer, 2013, p. 18) ส่ิงทจ่ี �ำเป็น สง่ิ ทจ่ี �ำเปน็ ในการจดั กระบวนการนค้ี อื (UNHR, 1996, p. 34) 1. มวี ิทยากรกระบวนการ 2. ผ้เู ขา้ รว่ ม 12 - 30 คน (หรอื มากกว่าน้ัน) 3. มพี น้ื ทเ่ี พยี งพอส�ำหรบั ผเู้ ขา้ รว่ มทส่ี ามารถเคลอ่ื นยา้ ยไดง้ า่ ย 4. เกา้ อี้ 5. ไมโครโฟน (ทางเลอื ก) 6. เวลา 45 - 90 นาที 7. ผู้บนั ทึก (ทางเลือก) (Unicef, 2015, p. 57) 8. ใชเ้ วลาประมาณ 1 ชว่ั โมง 30 นาทโี ดยแนะน�ำวิธีการและ วตั ถปุ ระสงค์ ใหแ้ นวค�ำถามในการอภปิ รายประมาณ 10 นาที อภปิ รายในอา่ งปลาประมาณ 60 นาที สรปุ ประมาณ 20 นาที 9. กระดาษฟลปิ ชาร์ทและปากกาส�ำหรบั ผบู้ ันทกึ inside_ cc.indd 31 9/12/2563 21:53:23

32 บทบาทของวิทยากรกระบวนการ วิทยากรกระบวนการควรเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ วิทยากร กระบวนการมีหน้าท่ีหลายประการด้วยกัน ต้องท�ำความเข้าใจกับ ผู้เชี่ยวชาญท่ีเข้าร่วมการเสวนาก่อนล่วงหน้าถึงวิธีการเสวนาและ บทบาทของพวกเขา เชน่ ผเู้ ชยี่ วชาญตอ้ งเขา้ ใจชดั เจนกอ่ นวา่ ไมม่ เี วลา ส�ำหรับการอภิปรายและน�ำเสนอท่ียืดยาว วิทยากรกระบวนการยังมี หน้าที่ดูแลการพูดคุยให้ไหลลื่นด้วยค�ำถามที่น่าสนใจ (หากจ�ำเป็น) และสรปุ เน้อื หาและดแู ลใหก้ ารพดู คุยจ�ำกดั อย่แู ต่เฉพาะผู้ทน่ี ัง่ อยใู่ นวง เท่านั้น จะเป็นการดีย่ิงหากวิทยากรกระบวนการจะได้เตรียมประเด็น ค�ำถามส�ำหรบั ผเู้ ขา้ รว่ มทกุ คนเวลากลบั ไปเขา้ รว่ มในวงใหญ่ ซงึ่ เปน็ จดุ ที่ มกั ท�ำใหเ้ กดิ การขบคดิ ใครค่ รวญจรงิ ๆ (วากเนอร,์ โยส, 2552, น. 107) inside_ cc.indd 32 9/12/2563 21:53:23

อ่างปลา (Fishbowl) 33 5. จดุ แข็ง ข้อจำ� กดั และสิ่งทพ่ี ึงระวังของ เคร่อื งมืออ่างปลา สงิ่ ท่วี ทิ ยากรกระบวนการพงึ ระวังคือ 1. เวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงหากมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 20 คน เปน็ สงิ่ ส�ำคญั ทจ่ี ะมเี วลาทเ่ี พยี งพอ การอภปิ รายทกุ รอบใชเ้ วลาประมาณ 1 ชั่วโมง รวมเวลาเตรียมตวั และเวลาในการรวบรวมขอ้ มูล 2. ความเป็นทีม เตือนผู้เข้าร่วมประชุมให้เน้นความเป็นทีม เมอ่ื ใดกต็ ามทก่ี ลมุ่ พยายามสนบั สนนุ หรอื คดั คา้ นความคดิ เหน็ ของฝา่ ย ตรงขา้ ม เปน็ สง่ิ ส�ำคญั ทต่ี อ้ งแสดงความเหน็ เปน็ ทมี ท�ำใหแ้ นใ่ จวา่ ทกุ คน ในทีมได้แสดงบทบาทและมีโอกาสได้พูด หากจ�ำเป็นผู้สังเกตการณ์ บางคนในวงกลมดา้ นนอกอาจถกู รอ้ งขอใหส้ งั เกตเรอื่ งความเปน็ ทมี ของ ทงั้ สองกลมุ่ (Heufer, Rainer, 2013, p. 21) inside_ cc.indd 33 9/12/2563 21:53:23

34 3. ระบบเสียง ไม่ควรใช้ไมโครโฟน เน่ืองจากผู้เข้าร่วมทุกคน ที่อยตู่ รงกลางควรมีสทิ ธไิ ดพ้ ดู อย่างเทา่ เทยี มกนั ไมใ่ ช่แคส่ องสามคนท่ี ถือไมโครโฟนมีสิทธิในการแสดงความเห็นเท่านั้น แต่ถ้าจ�ำเป็นต้องใช้ ไมโครโฟน ตอ้ งดแู ลจดั การใหท้ กุ คนไดใ้ ชไ้ มโครโฟนไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี มกนั (วากเนอร์, โยส, 2552, น. 105) 4. หลีกเล่ียงการใช้เครื่องมือนี้ในการหามติหรือตัดสินใจ อยา่ พยายามใชเ้ ครอื่ งมอื นเ้ี พอื่ หามตหิ รอื ตดั สนิ ใจ เนอ่ื งจากจะไมม่ ที างรู้ ได้เลยว่ามีจ�ำนวนผู้เข้าร่วมที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยในการตัดสินใจ ตา่ งๆ มากน้อยเพยี งใด (วากเนอร,์ โยส, 2552, น. 107) 5. การแสดงความประสงคเ์ ขา้ วงในควรใชว้ ธิ กี ารใด การยนื ขน้ึ แสดงตวั นา่ จะเพยี งพอ เนอ่ื งจากการแตะไหลแ่ มว้ า่ จะมปี ระโยชนแ์ ตอ่ าจ เปน็ ขอ้ หา้ มในบางวฒั นธรรม จงึ ควรค�ำนงึ ถงึ วฒั นธรรมของกลมุ่ นนั้ ๆ 6. การกระตนุ้ ใหเ้ ขา้ วงในอาจตอ้ งกระตนุ้ โดยระบวุ ตั ถปุ ระสงค์ ทช่ี ดั เจนและแนะน�ำให้เห็นวา่ มคี วามส�ำคัญอยา่ งไร 7. ถา้ คนวงนอกอยากมสี ว่ นรว่ ม ตอ้ งการแลกเปลย่ี นหลงั จาก กระบวนการจบจะท�ำอยา่ งไร สามารถเปดิ บลอ็ กวกิ หิ รอื พน้ื ทที่ างเวบ็ ไซต์ ต่างๆ เพ่ือวจิ ารณ์และสะท้อนความเห็นกันต่อไป 8. พิจารณาแต่งต้ังผู้บันทึกการประชุม/ผู้สรุป ท�ำหน้าท่ีเขียน ประเด็นส�ำคัญท่ีได้จากวงอ่างปลาลงในกระดาษ และน�ำเสนอสรุปต่อ กลมุ่ หลงั จากทกี่ ารพดู คยุ ในอา่ งปลาเสรจ็ สนิ้ โดยผบู้ นั ทกึ การประชมุ /สรปุ ควรมที กั ษะในการสรปุ ประเดน็ และสรปุ ประเดน็ ตามความเหน็ ของกลมุ่ (UNHR, 1996, p. 33) inside_ cc.indd 34 9/12/2563 21:53:23

อ่างปลา (Fishbowl) 35 ภาพที่ 6 : ข้อพงึ ระวงั ในการจัดเวที ทม่ี า : ดดั แปลงจาก https://brainstormingcasestudiesandfishb.weebly. com/fishbowls.html inside_ cc.indd 35 9/12/2563 21:53:24

36 เคล็ดลับความส�ำเรจ็ ส�ำหรบั เคลด็ ลบั ความส�ำเรจ็ ในการใชเ้ ครอื่ งมอื นปี้ ระกอบดว้ ย (Unicef, 2015, p. 59) 1. สรุปให้ผู้ร่วมแลกเปล่ียนทราบว่าไม่ต้องน�ำเสนอแต่เน้น การสนทนา และสามารถเข้าออกสลับเข้าไปในวงได้ เน่ืองจากเป็น กระบวนการทมี่ พี ลวตั (สามารถเคลอื่ นทไ่ี ดต้ ลอดเวลาถา้ หากมเี กา้ อวี้ า่ ง) อยา่ งไรกต็ าม ในประเดน็ การตอ้ งน�ำเสนอผลการประชมุ ตอ่ กลมุ่ หรอื ไม่ วทิ ยากรกระบวนการควรพิจารณาตามความเหมาะสมตอ่ ไป 2. ให้เวลาแต่ละคนแสดงความเห็นประมาณ 3 - 5 นาที โดยเฉพาะถ้าเปน็ ประเด็นที่ขัดแย้งและมคี วามอ่อนไหว 3. เนน้ ความสนใจ โดยใหก้ ารสนทนาเกดิ ขนึ้ ในอา่ งปลาเทา่ นนั้ ใครอยากแสดงความเหน็ ตอ้ งเข้ามาข้างในวง 4. กระตนุ้ ใหก้ ลมุ่ ยงั คงสนใจการอภปิ ราย อาจจะมผี จู้ ดบนั ทกึ ในกระดาษฟลปิ ชาร์ท 5. ถ้าเครื่องมือน้ีใหม่ส�ำหรับผู้เข้าร่วมหรือผู้เข้าร่วมเน้นการ น�ำเสนอเปน็ หลกั มากกวา่ การสนทนากนั อาจจะตอ้ งคยุ ลว่ งหนา้ กบั คน 1 - 2 คน ใหเ้ ตรยี มประเดน็ มาแลกเปลย่ี นและเมอื่ กระบวนการอา่ งปลา เรมิ่ ตน้ พวกเขาจะเปน็ คนเรมิ่ การสนทนาในวงในเพอ่ื เปน็ ตวั อยา่ งส�ำหรบั คนอ่นื inside_ cc.indd 36 9/12/2563 21:53:24

อา่ งปลา (Fishbowl) 37 ความหลากหลายในการใช้ เครอ่ื งมอื อา่ งปลานส้ี ามารถน�ำไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดห้ ลากหลาย ดงั น้ี 1. จัดให้มีเก้าอี้จ�ำนวนมากในกลุ่มใหญ่ เช่น 30 คน หรือ มากกว่าน้ัน มักจะเร่ิมต้นโดยการสนทนาโดยมีเก้าอี้ว่าง 2 ตัวในวงใน ซงึ่ จะท�ำใหก้ ารเคลอื่ นยา้ ยของผเู้ ขา้ รว่ มรวดเรว็ ขนึ้ ในการเขา้ และออกวง 2. การเคลื่อนย้ายและไม่เคลื่อนย้ายของผู้เข้าร่วม วิทยากร กระบวนการควรก�ำหนดให้ชัดเจนว่าใครจะเริ่มต้นการสนทนา ใครจะ น่ังอยู่ในวงในหรือใครจะน่ังในวงนอก บทบาทของคนวงในกับวงนอก จะแตกต่างกัน โดยคนที่อยู่วงในจะมีสิทธิในการแสดงความเห็น แต่ถ้า มีเก้าอ้วี งในวา่ งอยู่ คนวงนอกจะสามารถเขา้ มาแสดงความเห็นได้ 3. เคร่ืองมือน้ีเหมาะสมกับการอภิปรายกับกลุ่มวงเล็ก เรม่ิ โดยการแบง่ ผเู้ ขา้ ร่วมเป็น 2 กล่มุ ทม่ี ีขนาดเทา่ ๆ กนั กลุม่ แรกอยูใ่ น วงอ่างปลาและคนท่ีเหลืออยู่ในวงนอก ผู้เข้าร่วมวงในได้รับมอบหมาย ให้อภิปรายตามเวลาท่ีก�ำหนด เมื่ออภิปรายเสร็จแล้วสลับบทบาทกัน คนที่อยู่วงในออกมาสังเกตการณ์ข้างนอก ขณะท่ีผู้สังเกตการณ์จาก วงนอก สลบั เขา้ ไปในวงในอา่ งปลาเพอ่ื เรม่ิ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ บา้ ง 4. อ่างปลาแบบความเห็นที่แตกต่าง (heterogeneous) ใหห้ วั ขอ้ ทมี่ มี มุ มองแตกตา่ งหลากหลาย ดว้ ยการเชญิ คนจากแตล่ ะกลมุ่ หรือผู้แทนแตล่ ะกลุม่ น่ังในอ่างปลา ขอให้แนใ่ จว่าผู้เขา้ รว่ มเปน็ ตัวแทน ของความหลากหลายและความเห็นที่แตกกต่าง inside_ cc.indd 37 9/12/2563 21:53:24

38 5. อ่างปลาแบบความเห็นที่เหมือนกัน (homogeneous) ผู้เข้าร่วมซ่ึงมีความเห็นเดียวกัน ประสบการณ์ วัฒนธรรมเดียวกัน ถูกเชิญเข้าไปน่ังในวงอ่างปลาและเร่ิมอภิปรายในประเด็นท่ีเจาะจง ส�ำหรับในรอบต่อไปผู้แทนของความคิดเห็นที่แตกต่างเคล่ือนเข้าไป ในวงใน กลุ่มเดิมเคลื่อนออกมาเพ่ือเป็นผู้สังเกตการณ์ ซ่ึงจะท�ำให้ คนเข้าร่วมได้รับฟังมุมมองท่ีแตกต่างและสามารถน�ำเป็นประเด็นใน การสานเสวนากนั ต่อไปกับผทู้ ีเ่ หน็ ตา่ งหรือผ้ทู ่ีมีวฒั นธรรมที่แตกตา่ ง 6. อ่างปลาแบบ Convening Cases แนวทางน้ดี ที ่ีสดุ ส�ำหรับ การเรยี นรใู้ นกลมุ่ เลก็ ทม่ี สี มาชกิ ทเ่ี ปน็ ผอู้ ภปิ ราย 2 - 3 คนรว่ มกนั และ กลุ่มผู้ฟังกลุ่มเล็ก โดยออกแบบให้สมาชิกที่เป็นผู้อภิปรายเขียนสรุป ประมาณ 1 - 2 หน้า สรุปกรณีความท้าทายท่ีเจอ ปัญหาที่ต้องการ ใส่เพ่ิมเข้าไปและการกระท�ำทั้งที่ท�ำไปแล้วหรืออยู่ในช่วงการวางแผน โดยที่ในวันก่อนจัดเวที สมาชิกท่ีเป็นผู้อภิปรายจะแบ่งงานที่เขียนให้ ผรู้ ว่ มอภปิ รายคนอน่ื ไดอ้ า่ น เมอื่ ถงึ วนั ทจี่ ดั งาน สมาชกิ ทเ่ี ปน็ ผอู้ ภปิ ราย แตล่ ะคนมเี วลา 5 นาที ในการน�ำเสนอกรณศี กึ ษา และเวลา 15 - 20 นาที ส�ำหรับสมาชิกที่เป็นผู้อภิปรายคนอื่นจะให้ความเห็นต่อประเด็นท่ี ผอู้ ภปิ รายไดส้ รปุ และน�ำเสนอ ซง่ึ สมาชกิ ผอู้ ภปิ รายอาจไมต่ อ้ งพดู ระหวา่ ง เวลาน้ี ส่วนสมาชิกวงนอกน่ังในเก้าอี้ว่างและให้ความเห็นสรุป ต่อมา เจา้ ของกรณสี รปุ 5 นาทเี พอ่ื ตอบสนองตอ่ ความเหน็ ของกลมุ่ กระบวนการ ถูกท�ำซ�้ำส�ำหรับสมาชิกผู้อภิปรายท่านอ่ืน คุณค่าของแนวทางนี้คือ มาจากการทสี่ มาชกิ ผอู้ ภปิ รายไดเ้ ปลย่ี นแปลงมมุ มองของตน เนอ่ื งจาก ถูกก�ำหนดให้ไม่พูดในระหว่างท่ีคนอื่นพูดหรือวิจารณ์ และตนได้รับ ความสดใหมข่ องมมุ มองตอ่ ประเดน็ ทตี่ นน�ำเสนอ (Unicef, 2015, p. 60) inside_ cc.indd 38 9/12/2563 21:53:24

อ่างปลา (Fishbowl) 39 7. อ่างปลาแบบ Feedback เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่าง คนวงในกับวงนอก คนท่ีอยู่วงในอภิปรายเป็นเวลา 15 นาที จากน้ัน หมุนเก้าอ้ีไปหาคนวงนอก คนวงนอกจะให้ความเห็นและวิจารณ์ต่อ คนวงในทอี่ ยตู่ รงหนา้ พวกเขา จากนน้ั สมาชกิ หมนุ เกา้ อก้ี ลบั ไปเพอ่ื พดู คยุ กนั ตอ่ ไปตามขอ้ มลู ใหมท่ ไ่ี ดร้ บั การสะทอ้ นจากคนวงนอก (แตค่ นวงนอก ยังคงใช้ความเงียบระหว่างท่ีคนวงในแสดงความเห็น) หลังจากสรุปใน รอบนี้แล้ว 2 กลุ่มสลับท่นี ัง่ กันและท�ำหน้าทเี่ หมือนกับในรอบแรก 8. อา่ งปลาแบบ Multiple เหมาะส�ำหรบั คนทเ่ี ขา้ รว่ มจ�ำนวนมาก หรอื ส�ำหรบั ผเู้ ขา้ รว่ มทม่ี อี ปุ สรรคดา้ นภาษา โดยมอบหมายใหผ้ ดู้ �ำเนนิ การ ของแตล่ ะอา่ งปลามอบหมายค�ำสงั่ ทชี่ ดั เจนและชว่ ยอ�ำนวยความสะดวก หลงั จากอภปิ รายเสรจ็ ใหส้ ง่ ผแู้ ทนจากแตล่ ะอา่ งปลามาเขา้ รว่ มอา่ งปลา ใหมต่ รงกลาง และเรม่ิ ตน้ บทสนทนา ขอใหแ้ นใ่ จวา่ ผดู้ �ำเนนิ การแตล่ ะคน บันทึกการสะท้อนมุมมองเพ่ือสามารถแบ่งปันข้อมูลดังกล่าวส�ำหรับ ทุกคน ในส่วนของการแสดงบทบาทสมมติท�ำได้โดยแบ่งผู้เข้าร่วมเป็น กลุ่มต่างๆ ได้มากตามท่ีได้เตรียมไว้ แต่ละกลุ่มเตรียมบทบาท แม้ว่าแต่ละกลุ่มจะมีคนเล่นบทบาทคนเดียว การแสดงบทบาทสมมติ จดั ในตรงกลางหอ้ งขณะทค่ี นอนื่ สงั เกตอยภู่ ายนอก หลงั จากแสดงบทบาท สมมตเิ สรจ็ ใหป้ ดิ วงดว้ ยการสรปุ ถา้ หากการสรปุ ยาวนานกวา่ การแสดง บทบาทสมมติ แสดงใหเ้ หน็ วา่ กจิ กรรมชว่ ยกระตนุ้ ความคดิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี (UNHR, 1996, p. 33) inside_ cc.indd 39 9/12/2563 21:53:24

40 9. อ่างปลาแบบวงล้อมชนเผ่า (Samoan Circle) (วากเนอร์, 2552, p. 107-109) เป็นอีกรูปแบบหน่ึงของการเสวนาแบบอ่างปลา ที่เหมาะกับสภาพบรรยากาศที่มีการแบ่งขั้ว “วงล้อมชนเผ่า” ให้ความส�ำคัญกับการสร้างพื้นที่ท่ีปลอดภัยและเอ้ือให้ความเห็นท่ี เป็นปฏิปักษ์กันได้รับการน�ำเสนอ ให้ตัวแทนหน่ึงหรือสองคนท่ีเป็น ตวั แทนความคดิ เหน็ แตล่ ะกลมุ่ เปน็ แกนกลางถาวรของ “วงลอ้ มชนเผา่ ” คนกลุ่มน้ีนั่งเป็นคร่ึงวงกลมตลอด การเสวนาโดยมีเก้าอ้ีสองสามตัว ล้อมไว้ วิทยากรกระบวนการจะต้องเป็นผู้ที่ได้รับความเช่ือถือและ คอยดูแลว่า กฎของการประชุมได้รับการปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ควรมีการแจ้งกติกาให้ชัดเจนก่อนเริ่มการเสวนา และย�้ำเตือนตลอด การเสวนา กตกิ าส�ำคญั คอื ผเู้ ขา้ รว่ มทไ่ี มไ่ ดอ้ ยวู่ งในจะไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต ใหพ้ ดู หา้ มตะโกนโห่ หรอื แมแ้ ตป่ รบมอื วทิ ยากรกระบวนการควรตกลง กตกิ ากบั ผเู้ ขา้ รว่ มใหป้ ฏบิ ตั ติ ามกตกิ านอ้ี ยา่ งเครง่ ครดั จะโดยการยกมอื หรือเซน็ ยอมรับกตกิ าในกระดาษท่เี ตรยี มไวล้ ว่ งหน้ากไ็ ด้ ตวั แทนของความคดิ เหน็ ฝา่ ยตา่ งๆ ถกประเดน็ กนั โดยผเู้ ขา้ รว่ ม อน่ื ๆ นงั่ ฟงั ปกตมิ กั เรม่ิ ดว้ ยการแสดงความเหน็ สนั้ ๆ ของตวั แทนแตล่ ะคน ทอี่ ยใู่ นครง่ึ วงกลมแลว้ คอ่ ยเปน็ การอภปิ รายแลกเปลย่ี นในกลมุ่ ตวั แทน โดยคนอนื่ ๆ สามารถรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ไดท้ กุ เมอ่ื ทตี่ อ้ งการโดยการ เขา้ ไปอยใู่ นครงึ่ วงกลม วทิ ยากรกระบวนการตอ้ งพจิ ารณาอยา่ งมดั ระวงั เร่ืองบทบาทของตนในการด�ำเนินการเสวนา ในกรณีที่มีประเด็นเป็น ข้อขัดแย้งกันมาก วิธีการน้ีจะได้ผลก็ต่อเมื่อกลุ่มผู้เข้าร่วมมีความสนใจ รับฟังความเห็นท่ีแตกต่างและให้ความเคารพในข้อคิดเห็นของแต่ละ ฝา่ ยเทา่ นั้น inside_ cc.indd 40 9/12/2563 21:53:24

อา่ งปลา (Fishbowl) 41 กตกิ าส�ำหรบั “วงล้อมชนเผา่ ” 1. ผเู้ ข้าร่วมวงในนง่ั หันหนา้ เข้าหากนั 2. ผู้ทนี่ ัง่ วงในเทา่ นนั้ ที่สามารถแสดงความเหน็ ได้ 3. ผูท้ นี่ ่งั อยวู่ งนอกควรตงั้ ใจฟังและสามารถจดบันทึกได้ 4. ผู้ที่น่ังอยู่วงนอกสามารถร่วมแสดงความคิดเห็นได้โดย “แตะเปล่ียนตัว” กับคนวงในคนท่ีถูกแตะเปลี่ยนตัว จะย้ายไปนงั่ ในวงนอก 5. ผู้ที่นั่งอยู่วงในยังคงมีส่วนร่วมในการเสวนาได้จนกว่า จะถกู “แตะเปล่ียนตัว” 6. ผดู้ �ำเนินต้องคอยดงึ การเสวนากลับมาอยูใ่ นประเด็น inside_ cc.indd 41 9/12/2563 21:53:24

42 6. ตัวอย่างการจดั เคร่ืองมอื อา่ งปลา 6.1 ตวั อย่างจากการจัดในประเทศไทย ตวั อยา่ งที่ 1 การสลับท่ีและต้ังใจฟัง การสัมมนาเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ ความขดั แยง้ โดยรปู แบบอา่ งปลาโดยเครอื ขา่ ยพน้ื ทก่ี ลางสรา้ งสนั ตภิ าพ คนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เครอื ขา่ ยพน้ื ทก่ี ลางสรา้ งสนั ตภิ าพจากคนในจงั หวดั ชายแดน ภาคใต้ มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือวิเคราะห์ความขัดแย้งใน จงั หวดั ชายแดนภาคใต/้ ปาตานี จ�ำนวน 5 ครัง้ ระหวา่ งเดอื นกันยายน 2554 – มถิ นุ ายน 2555 เพอ่ื แสวงหาโอกาสและความเปน็ ไปไดข้ อง กระบวนการสร้างสันติภาพในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ผ่าน การร่วมกันสนทนาและถกเถียงเพ่ือวิเคราะห์ความขัดแย้งด้วย กระบวนการเครอ่ื งมือตา่ งๆ โดยผ้คู นที่มีภูมหิ ลังและความคดิ เห็น ท่ีแตกต่างกัน เครื่องมือท่ีใช้มีหลายเครื่องมือรวมถึง “อ่างปลา” โดยมีวตั ถุประสงค์ในการจดั คอื inside_ cc.indd 42 9/12/2563 21:53:24

อา่ งปลา (Fishbowl) 43 1) กิจกรรมอ่างปลาเป็นตัวเชื่อมกิจกรรมหัวหอมที่ค้นหา ประเด็นความขัดแย้งจากความต้องการ 4 ระดับ โดย แปลงมาเปน็ ประเดน็ ทใี่ ชใ้ นกระบวนการพดู คยุ ความกลวั ในใจของแต่ละฝ่าย ความจ�ำเป็นพ้ืนฐานท่ีขาดไม่ได้ จุดสนใจ และจุดยืน ซ่ึงสามารถจะเป็นจุดเริ่มต้นในการ เตรียมตวั เข้าสู่กระบวนการพูดคยุ เจรจาเพือ่ สันติภาพ 2) กิจกรรมอ่างปลาจะท�ำให้เราเรียนรู้การฟังอย่างตั้งใจ (active listening) ซ่ึงจะเป็นการฟังอย่างใส่ใจและต้ังใจ โดยปกติเวลาท่สี องฝา่ ยที่ขัดแย้งเจอกันก็ยากทีจ่ ะฟังกัน เพราะต่างฝา่ ยตา่ งอยากจะพูดเรอ่ื งของตนเอง อ่างปลา จึงเป็นกิจกรรมท่ีวางเง่ือนไขให้แต่ละฝ่ายได้รับฟังและ พูดในมมุ ของอกี ฝ่าย 3) กจิ กรรมอา่ งปลามงุ่ หวงั ให้มกี ารสลับบทบาทกนั ระหวา่ ง สองกลมุ่ และใหแ้ ต่ละฝ่ายหยิบยกประเด็นการพูดคุยใน มุมของฝ่ายที่ตนเองสวมบทบาท โดยถือว่าก�ำลังเตรียม การไวพ้ ดู คุยกับอกี ฝ่ายหน่ึง ในประเด็นวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายในการใช้เคร่ืองมือ อา่ งปลานใ้ี นวงสนทนา สมชั ชา นลิ ปทั ม์ (2562) ใหข้ อ้ มลู วา่ “เครอื่ งมอื อ่างปลาไม่ได้ใช้บ่อยนัก แต่จะใช้เม่ือแต่ละฝ่ายอยากรู้ อยากฟังข้อมูล จากของแตล่ ะฝา่ ยจรงิ ๆ” inside_ cc.indd 43 9/12/2563 21:53:24

44 ภาพที่ 7 : การจัดกระบวนการกลุม่ โดยใช้เคร่อื งมืออ่างปลาของ เครอื ข่ายพ้นื ทกี่ ลางสร้างสันตภิ าพคนในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ที่มา : เครือข่ายพ้ืนท่กี ลางสรา้ งสนั ตภิ าพคนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ inside_ cc.indd 44 9/12/2563 21:53:24

อา่ งปลา (Fishbowl) 45 กระบวนการท่ีใช้ 1) แบง่ กลมุ่ ผเู้ ขา้ รว่ มออกเปน็ 2 กลมุ่ ตามกลมุ่ อตั ลกั ษณเ์ ดยี วกนั แลว้ จดั ใหน้ ง่ั เปน็ วงกลม 2 วง คอื วงในและวงนอก ทงั้ นี้ ใหเ้ วน้ เกา้ อวี้ า่ ง ไว้ 1 ตวั ในวงใน โดยมีคนชวนคยุ (ด�ำเนินรายการ) นง่ั อยวู่ งละ 1 คน 2) ใหค้ นในวงในพดู ถงึ “ประเดน็ ทต่ี อ้ งการพดู คยุ หรอื เจรจากบั อกี ฝ่าย” โดยสมมตวิ า่ ตนเองพูดในฐานะของอกี ฝ่ายหน่งึ (สวมบทบาท เป็นอีกกลุ่มหน่ึง ซ่ึงจะเป็นใครก็ได้แต่ต้องเป็นบุคคลท่ีมีอิทธิพลทาง ความคิดของฝ่ายน้ันๆ) ในขณะที่ให้คนวงนอกน่ังฟังและจดประเด็น ส�ำคัญวา่ ตนเองมขี อ้ สงั เกตอะไรบ้างจากที่ไดฟ้ งั 3) หากคนวงในตอ้ งการฟงั ความเหน็ จากคนวงนอกหรอื ตอ้ งการ ใหน้ �ำพาวงในใหค้ ยุ ตอ่ ไปได้ ในกรณีท่ีเกิดติดขัดให้คนวงในสามารถเชิญ คนวงนอกมาน่ังเก้าอี้ว่างแล้วพูดได้ ท้ังน้ี รวมไปถึงกรณีท่ีผู้ฟังจาก วงนอกตอ้ งการสะทอ้ นเร่อื งราวในมุมของตวั เอง ก็สามารถขออนุญาต คนวงในเขา้ มาพดู โดยหากผา่ นความเหน็ ชอบ คนวงในกจ็ ะตอ้ งก�ำหนด เวลาของการพูดดว้ ย 4) หลังจากผลัดกันพูดเสร็จสิ้นท้ังสองวงแล้ว ให้ผู้เข้าร่วม ทัง้ หมดประเมินวา่ “อีกฝา่ ยพูดถงึ ประเด็นทีอ่ ย่ใู นใจคุณได้ดเี พยี งใด? inside_ cc.indd 45 9/12/2563 21:53:24

46 ในประเด็นกระบวนการท่ีใช้เน้นไปท่ีการสร้างกฎ กติกา สมัชชา นลิ ปัทม์ (2562) ให้ข้อมูลวา่ “ต้องวางกติกาให้ชัดๆ ว่าใครจะพูดตอนไหน กติกาส�ำคัญมาก ห้ามเลยถ้ายังไม่ถึงเวลาพูดห้ามพูด มนั คอื วงส�ำหรบั การฟงั อย่างลกึ ซ้งึ ทส่ี ุดเลย” ในประเดน็ บทเรยี นของการใชเ้ ครอื่ งมอื น้ี ตอ้ งมกี ารเตรยี มการ ลว่ งหนา้ ทดี่ ี ตอ้ งรวู้ า่ มใี ครบา้ งทจ่ี ะเขา้ มาอยใู่ นวงสนทนา มกี ารประเมนิ ลว่ งหน้าอย่างดี ดังที่สมชั ชา นิลปัทม์ (2562) ให้ขอ้ มลู วา่ “วทิ ยากรกต็ อ้ งประเมนิ คนทจ่ี ะเขา้ มกี ค่ี น จรงิ ๆ เราจะรอู้ ยแู่ ลว้ โดยตวั เครอื่ งมอื มนั Fix อยแู่ ลว้ วา่ วงใน วงนอกกคี่ น สงิ่ ทเ่ี ขาจะเลา่ คดิ วา่ นา่ จะไดป้ ระโยชนห์ รอื ไม่ อันนี้ก็จ�ำเป็น มีการประเมินก่อน ประเมินล่วงหน้า ประเมนิ อยา่ งรอบคอบหนอ่ ย” นอกจากนี้ประเด็นความจริงใจและบรรยากาศมีความส�ำคัญ มากในการสรา้ งความไว้วางใจ คือ “ความจรงิ ใจพรอ้ มทจี่ ะสะทอ้ นและพรอ้ มทจี่ ะ รบั ฟงั สำ� คญั มาก อา่ งปลาจะเปน็ เครอ่ื งมอื ทท่ี ำ� ไดด้ มี าก ไมไ่ ชแ่ คฟ่ งั เฉยๆ และคนจะมอี ารมณค์ วามรสู้ กึ คอ่ นขา้ ง มาก อนั นจ้ี ะเปน็ ความยากของคนคมุ วง วา่ คณุ จะรกั ษา ระดับของอารมณ์อันน้ีไม่ให้มัน Drama มากเกินไป inside_ cc.indd 46 9/12/2563 21:53:24

อ่างปลา (Fishbowl) 47 หรอื มนั ดนู ง่ิ เฉยจนไมม่ อี ารมณค์ วามรสู้ กึ อะไรเลย มนั จะเห็นน�้ำเน้ือของความเป็นคน ความเจ็บปวดข้างใน ถ้าเขาจริงใจ เคร่ืองมืออันนี้ก็จะมีประสิทธิภาพมาก บรรยากาศก็ส�ำคัญมากความไว้เน้ือเชื่อใจระหว่างกัน กส็ ำ� คญั ตอ้ งมคี วามไวเ้ นอื้ เชอ้ื ใจระดบั หนงึ่ ถงึ จะทำ� ได”้ 6.2 ตวั อย่างจากการจัดในประเทศไทย ตัวอย่างที่ 2 • การถอดบทเรียนการเรียนการสอนในหลักสูตร ประกาศนียบัตรช้ันสูงการเสริมสร้างสังคมสันติสุข รนุ่ ที่ 9 โดยรปู แบบอา่ งปลา วนั ศกุ รท์ ี่ 16 พฤศจกิ ายน 2561 ณ สถาบนั พระปกเกลา้ จ�ำนวนนกั ศกึ ษาประมาณ 90 คน โดยมอี งคป์ ระกอบทง้ั ภาครฐั เอกชนและประชาสังคม วัตถุประสงค์ในการจัดคือ 1. ถอดบทเรยี นทน่ี กั ศกึ ษาไดเ้ รยี นในกลมุ่ วชิ าสนั ตสิ ขุ ในจงั หวดั ชายแดนใต้ ในประเด็นแนวทางในการสร้างสังคมสันติสุขในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ 2. เพ่ือเรียนรู้การฟังผู้อื่นอย่างตั้งใจและน�ำไปสู่ความเข้าใจ มมุ มองของนักศึกษาแต่ละฝา่ ย inside_ cc.indd 47 9/12/2563 21:53:24

48 ในชว่ งที่ 1 ระดมความคดิ เหน็ ในกลมุ่ ยอ่ ย ประมาณ 30 นาที ทั้งหมด 9 กลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณ 10 คน โดยใช้ค�ำถามเดียวกัน 2 ค�ำถามคือ 1. สถานการณใ์ นจงั หวดั ชายแดนใตเ้ ปน็ อยา่ งไร/ทา่ นไดเ้ รยี นรู้ อะไรบา้ งจากการศึกษาดงู านและในหอ้ งเรยี น? 2. ควรมีแนวทางอย่างไรในการสร้างสังคมสันติสุขในจังหวัด ชายแดนภาคใต้ ? ผเู้ ขยี นไมไ่ ดต้ ง้ั ค�ำถามถงึ สถานการณใ์ นจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ เนื่องจากนักศึกษาได้แลกเปลี่ยนกันไปก่อนหน้าน้ีแล้วในช่วงเช้า ซ่ึงมี การน�ำพูดคุยโดยพลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักสันติวิธี และธรรมาภิบาล สถาบนั พระปกเกลา้ ภาพที่ 8 : การจัดกระบวนการกลมุ่ โดยใชเ้ ครือ่ งมืออา่ งปลา ของ หลกั สตู รการเสริมสร้างสงั คมสนั ติสขุ รนุ่ ที่ 9 inside_ cc.indd 48 9/12/2563 21:53:24

อา่ งปลา (Fishbowl) 49 ในชว่ งที่ 2 ผแู้ ทนแตล่ ะกลมุ่ น�ำเสนอ/แลกเปลย่ี นในวงสนทนา รปู แบบอา่ งปลา ทม่ี า : รปู จากหลกั สตู รการเสรมิ สรา้ งสงั คมสนั ตสิ ขุ รนุ่ ที่ 9 ส�ำนกั สนั ตวิ ธิ ี และธรรมาภบิ าล สถาบันพระปกเกล้า inside_ cc.indd 49 9/12/2563 21:53:25

50 กระบวนการท่ใี ช้ การถอดบทเรียนด้วยกระบวนการน้ี ผู้เขียนได้ให้นักศึกษา ซง่ึ มี 9 กลมุ่ สง่ ตวั แทนมากลมุ่ ละ 1 คน เพอ่ื มาแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกนั และมีอาจารย์อีก 2 ท่านซ่ึงเป็นอาจารย์ก�ำกับบทเรียนเข้ามาร่วม พูดคุยด้วยกัน และได้จัดเก้าอี้ว่างไว้อีก 2 ตัว ผู้เขียนได้ชวนคุยว่า เป็นการแลกเปล่ียน ไม่เน้นการน�ำเสนอ แต่เน้นการฟัง เพ่ือแตกกอ ต่อยอดความคดิ ประเดน็ ทไี่ ดจ้ ากการพดู คยุ ในวงอา่ งปลามหี ลายประเดน็ อาทิ ยดึ มนั่ และปฏบิ ตั ติ ามหลกั การ เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา แตส่ งิ่ ทเ่ี กดิ ขนึ้ เปน็ การ เข้าใจคนละเรื่อง เข้าถึงคนละท่ี และพัฒนาคนละทาง ส่ือควรน�ำเสนอ ข่าวอย่างสร้างสรรค์ การสร้างความไว้วางใจ การให้อภัยซ่ึงกันและกัน โดยลมื เรอื่ งราวในอดตี ลดอ�ำนาจทหารใชต้ �ำรวจใหม้ ากขนึ้ จดั หลกั สตู ร การศึกษาโดยเน้นบริบทภาคใต้ เช่น เรียนรู้ภาษามลายู การยอมรับใน อัตลักษณ์ท่ีแตกต่าง ทบทวนการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งคัด ไม่ใช้ กฎหมายพเิ ศษ การปกครองในรปู แบบพเิ ศษทไี่ มใ่ ชก่ ารแบง่ แยกดนิ แดน การจดั ครง้ั นถี้ อื ไดว้ า่ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคใ์ น 2 ประการคอื ไดส้ าระส�ำคญั ตอบโจทย์การเรียนรู้ร่วมกันในเร่ือง แนวทางในการสร้างสังคมสันติสุข ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และเรียนร้กู ารฟังผอู้ ่นื อย่างตงั้ ใจและน�ำไปสู่ ความเขา้ ใจมมุ มองของนกั ศกึ ษาแตล่ ะฝา่ ยโดยเฉพาะแนวทางในการสรา้ ง สงั คมสนั ติสขุ ในจงั หวัดชายแดนใตร้ ว่ มกัน บรรยากาศที่ได้จากการพูดคุย แม้ว่าผู้เขียนจะตั้งค�ำถามด้วย ประเดน็ ควรมแี นวทางอยา่ งไรในการสรา้ งสงั คมสนั ตสิ ขุ ในจงั หวดั ชายแดน ภาคใต้ แต่ในการแลกเปล่ียนจะมีทั้งข้อเสนอแนะที่เป็นรูปธรรมและ inside_ cc.indd 50 9/12/2563 21:53:25


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook