รายงานผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน เก่ียวกับ ความพงึ พอใจ ตอ่ การบริการสาธารณะ และการทำงานของหน่วยงานตา่ งๆ พ.ศ. 2555 และสรปุ ผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 อภนิ ันทนาการจาก สถาบนั พระปกเกลา้
รายงานผลการสำรวจความคดิ เหน็ ของประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อ การบรกิ ารสาธารณะ และการทำงานของหนว่ ยงานต่างๆ พ.ศ. 2555 และสรปุ ผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 สงวนลิขสิทธิ์ © 2556 ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของหอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data. สถาบนั พระปกเกล้า. รายงานผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับความพึงพอใจต่อการให้บริการ สาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2555.-- กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2556. 252 หน้า. 1. บริการสาธารณะ--ไทย--การบรหิ าร. 2. การบรหิ ารรัฐกจิ --ไทย. I. ชอื่ เร่อื ง. 351.593 ISBN 978-974-449-706-2 สวพ.56-12-1000.0 พิมพค์ รงั้ ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2556 จำนวน 1,000 เลม่ จดั พิมพ์โดย สำนกั วจิ ัยและพัฒนา สถาบนั พระปกเกล้า ศูนย์ราชการเฉลมิ พระเกยี รติ 80 พรรษา อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ชั้น 5 เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทรศพั ท์ 02-141-9600 โทรสาร 02-143-8181 เว็บไซต์ www.kpi.ac.th คณะผู้จัดทำ ดร.ถวลิ วดี บุรีกุล นางสาวรัชวดี แสงมหะหมัด นายวศิ ษิ ฎ ชชั วาลทพิ ากร ออกแบบปก และ นายสุชาติ วิวฒั นต์ ระกลู จัดประกอบหน้า พิมพ์ที่ บริษัท เอ.พี. กราฟคิ ดไี ซน์และการพมิ พ์ จำกัด 745 ถนนนครไชยศรี แขวงนครไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 02-243-9040-4 โทรสาร 02-243-3225
คำนำ โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับความพึงพอใจ ต่อการให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2555 เป็นโครงการที่ดำเนินการร่วมกันระหว่างสำนักงานสถิติ แห่งชาติกบั สถาบนั พระปกเกลา้ โดยมวี ัตถุประสงคเ์ พอ่ื นำผลทีไ่ ดจ้ าก การสำรวจไปใช้เป็นแนวทางพัฒนาการจัดบริการสาธารณะ ให้มี คณุ ภาพและสนองตอบต่อความตอ้ งการของประชาชน สถาบันพระปกเกลา้ III ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 สารบญั คำนำ III สารบญั IV สารบญั ตาราง VI สารบญั แผนภูมิ VIII สารบญั ตารางสถติ ิ IX บทสรปุ สำหรบั ผูบ้ รหิ าร 1 บทท่ี 1 บทนำ 9 1.1 หลกั การและเหตผุ ล 11 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 11 1.3 คมุ้ รวมของประชากร 12 1.4 วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล 12 1.5 ระยะเวลาการปฏบิ ัตงิ านเก็บรวบรวมข้อมลู 12 1.6 การเสนอผล 12 บทที่ 2 ระเบียบวธิ ีสถิติ 13 2.1 แผนการสุ่มตวั อย่าง 15 2.2 วธิ กี ารประมาณผล 16 บทท่ี 3 สรปุ ผลการสำรวจ 19 3.1 ลักษณะพนื้ ฐานทางสังคม และเศรษฐกจิ 21 3.2 การติดตามข่าวสารทางการเมือง 24 3.3 การติดตามการทำงานของรัฐบาล นางสาวย่ิงลักษณ์ ชนิ วัตร 26 ในรอบ 6 เดือน ท่ผี า่ นมา 3.4 ความพึงพอใจต่อนโยบายของรัฐบาล 27 3.5 ความคิดเหน็ เก่ียวกบั ความสามารถในการแก้ไขปัญหาสงั คมและ 29 เศรษฐกิจของรัฐบาล 3.6 ความเชือ่ มน่ั ต่อการทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ 29 3.7 ความเช่อื ม่ันตอ่ การทำงานขององคก์ รอิสระ 32 3.8 ความพึงพอใจตอ่ บริการสาธารณะทรี่ ัฐและทอ้ งถ่นิ จัดให้ประชาชน 33 IV สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 สารบญั 3.9 การใชบ้ รกิ ารขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินและการมีสว่ นร่วม 34 กับหน่วยงาน 36 3.10 ความคดิ เห็นและประสบการณ์เกย่ี วกบั การคอรัปช่นั 38 3.11 การรอ้ งเรียนเกี่ยวกับการให้บริการของหนว่ ยงานราชการ/ 39 องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ 40 3.12 ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับการอยรู่ ่วมกันในสังคมปจั จุบัน 41 3.13 การเป็นสมาชกิ กลมุ่ ชมรม และสมาคมตา่ งๆ 42 3.14 การรู้จกั สถาบนั พระปกเกล้า 43 3.15 การรจู้ ักสภาพฒั นาการเมอื ง ตารางสรุป บทท่ี 4 แผนท่ีแสดงคา่ เปน็ รายจังหวดั 45 บทท่ี 5 สรุปผลการสำรวจ พ.ศ.2546-2555 141 5.1 ความคิดเหน็ และความเช่ือมัน่ ตอ่ การทำงานของรฐั บาล /คณะบคุ คล/ 143 สถาบนั /หน่วยงานตา่ งๆ และองค์กรอิสระ 5.2 ความพึงพอใจตอ่ การบรกิ ารสาธารณะทร่ี ัฐและทอ้ งถน่ิ จัดใหป้ ระชาชน 158 5.3 การใหบ้ ริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ และการมสี ว่ นร่วม 163 กบั หนว่ ยงาน 5.4 ความคดิ เห็นเก่ยี วกับการคอรัปชั่นและการรอ้ งเรยี นเก่ียวกับการบรกิ าร 168 5.5 การมีสว่ นรว่ มในทางการเมืองในการร้องเรียนเก่ยี วกับการใหบ้ รกิ าร 170 ของหนว่ ยงานราชการ/องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ 5.6 การอยู่ร่วมกันในสังคมปัจจบุ ัน 175 บทที่ 6 ตารางสถิต ิ 175 เอกสารอา้ งอิง 239 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 สารบญั ตาราง ตาราง 1 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามเพศและอาย ุ 21 ตาราง 2 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามระดบั การศึกษา 22 ตาราง 3 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามอาชีพ 22 ตาราง 4 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามสถานภาพสมรส 23 ตาราง 5 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามรายไดข้ องครัวเรอื นเฉลีย่ ต่อเดือน 24 ตาราง 6 ร้อยละของประชาชนทรี่ ับฟัง/ชมหรือทราบขา่ วสารการเมือง 26 จำแนกตามการเปน็ สมาชิกเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ ตาราง 7 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการติดตามการทำงานของรฐั บาล 27 นางสาวยงิ่ ลกั ษณ์ ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน ทผ่ี า่ นมา ตาราง 8 รอ้ ยละของประชาชนทีร่ ู้/ทราบนโยบาย และพึงพอใจนโยบายของรฐั บาล 28 ท่ไี ดด้ ำเนนิ การ จำแนกตามนโยบายของรัฐบาล ตาราง 9 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกีย่ วกับความเชอื่ ม่นั 30 ต่อการทำงานของคณะบคุ คล/สถาบัน/หน่วยงานตา่ งๆ ตาราง 10 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามพึงพอใจต่อบรกิ ารสาธารณะที่รัฐ/ 33 ทอ้ งถิ่นจัดให ้ ตาราง 11 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใช้บริการของ 34 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือมสี ว่ นร่วมกับหนว่ ยงาน ในรอบ 1 ปี ท่ผี ่านมา ตาราง 12 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นท่มี ีตอ่ คำกล่าว 35 “บางครัง้ การคอรัปชัน่ ในรฐั บาลกม็ คี วามจำเปน็ เพื่อให้งานเสร็จลุลว่ งไปได”้ ตาราง 13 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเก่ยี วกับการคอรัปชั่น 36 ในการปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ตาราง 14 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกยี่ วกับการคอรปั ช่ัน 36 ในการปกครองระดบั ประเทศ ตาราง 15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการพบการคอรัปชนั่ /การรับสินบน 37 ของเจ้าหนา้ ที่ของรฐั ตาราง 16 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการรอ้ งเรียนการใหบ้ ริการ 38 ของหน่วยงานราชการ ตาราง 17 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนการให้บรกิ าร 39 ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ตาราง 18 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกับการอยู่รว่ มกัน 40 ในสงั คม VI สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 สารบัญตาราง ตาราง 19 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเป็นสมาชิกกลุ่ม ชมรม 40 และสมาคมตา่ งๆ ตาราง 20 ความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ นโยบายของรัฐบาล 43 นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ท่ีได้ดำเนนิ การ ตาราง 21 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการรบั ทราบและความพงึ พอใจตอ่ 170 นโยบายสำคญั ของรฐั บาล ตาราง 22 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ กบั ความสามารถของ 171 รฐั บาลในการแกไ้ ขปญั หาดา้ นเศรษฐกิจสงั คม และสงั คม ตาราง 23 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความเชื่อม่นั ตอ่ การทำงานของ 172 คณะบุคคล/สถาบัน/องคก์ รอสิ ระ/หนว่ ยงานต่างๆ ตาราง 24 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อการบรกิ ารสาธารณะ 173 ทรี่ ัฐและท้องถ่นิ จัดให้ ตาราง 25 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรอ้ งเรียนเกีย่ วกบั การบริการ 174 ของหนว่ ยงานราชการและองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ตาราง 26 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยตดิ ต่อ/ใช้บรกิ าร/ 174 มสี ว่ นร่วมกบั หนว่ ยงานของรฐั หรือองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ตาราง 27 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกย่ี วกับการคอรปั ช่นั 174 VII ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 สารบญั แผนภมู ิ แผนภมู ิ 5.1 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ นโยบายสำคญั 144 ของรัฐบาลในชว่ งปี 2552-2555 แผนภูมิ 5.2 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อนโยบายสำคญั 145 ของรฐั บาลเก่ยี วกบั การปฏิรปู ระบบราชการและการเมอื ง ปี 2546-2555 แผนภูมิ 5.3 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ นโยบายสำคญั 146 ของรัฐบาลเกย่ี วกับปญั หาสังคม ปี 2547-2555 แผนภมู ิ 5.4 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อนโยบายสำคญั 147 ของรฐั บาลเกี่ยวกบั เศรษฐกิจ ปี 2546-2555 แผนภมู ิ 5.5 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อนโยบายสำคญั 148 ของรัฐบาลเกีย่ วกับสุขภาพและการศึกษา ปี 2546-2555 แผนภมู ิ 5.6 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความสามารถ 149 ในการแกไ้ ขปัญหาสังคมและเศรษฐกจิ ของรัฐบาล แผนภมู ิ 5.7 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชอ่ื มั่น 150 ตอ่ การทำงานของนายกรฐั มนตร/ี รฐั บาล/พรรคการเมือง แผนภูมิ 5.8 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ความเชอ่ื มน่ั 151 ต่อการทำงานของสมาชิกรฐั สภา แผนภูมิ 5.9 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกบั ความเชอ่ื ม่นั 152 ต่อการทำงานของขา้ ราชการ แผนภมู ิ 5.10 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกับความเชอ่ื มนั่ 152 ต่อการทำงานของ ทหาร ตำรวจ แผนภมู ิ 5.11 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ความเชื่อมั่น 153 ต่อการทำงานของข้าราชการส่วนท้องถิ่น แผนภมู ิ 5.12 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกย่ี วกบั ความเชื่อม่ัน 154 ต่อการทำงานของแพทย์ แผนภูมิ 5.13 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ความเชื่อมน่ั 155 ตอ่ การทำงานขององคก์ รชมุ ชน, NGOs และสภาพัฒนาการเมือง แผนภูมิ 5.14 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความเชอ่ื มั่น 156 ตอ่ การทำงานของศาล แผนภูมิ 5.15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกย่ี วกับความเชอ่ื มน่ั 157 ต่อการทำงานของสอื่ แผนภมู ิ 5.16 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกีย่ วกับความเชอ่ื มน่ั 158 ต่อการทำงานขององคก์ รดา้ นการตรวจสอบ VIII สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 สารบญั แผนภูม ิ แผนภมู ิ 5.17 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความเชอ่ื มนั่ 159 ตอ่ การทำงานขององค์กรด้านการตรวจสอบและใหค้ ำปรกึ ษา แผนภมู ิ 5.18 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อการ 160 บรกิ ารสาธารณปู โภคพนื้ ฐาน แผนภมู ิ 5.19 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อการบริการ 161 ดา้ นการศึกษา แผนภูมิ 5.20 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ การบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ 162 แผนภูมิ 5.21 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อการบริการ 163 ด้านคุณภาพสังคม แผนภมู ิ 5.22 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ การบริการ 163 ด้านคณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม แผนภูมิ 5.23 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจในการใช้บริการ 164 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ แผนภูมิ 5.24 รอ้ ยละของประชาชน จำแรกตามความคดิ เห็นเกยี่ วกบั 165 “บางครั้งการคอรปั ชัน่ ในรฐั บาลกม็ ีความจำเปน็ เพอ่ื ใหง้ านลลุ ว่ งไปได”้ แผนภูมิ 5.25 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เก่ยี วกบั การคอรัปชน่ั 166 และการรบั สนิ บนในการปกครองระดับประเทศและการปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน แผนภูมิ 5.26 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยพบเหน็ การคอรัปช่ัน 166 แผนภูมิ 5.27 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการรอ้ งเรียนเกี่ยวกบั การใหบ้ ริการ 167 ของหน่วยงานราชการ แผนภูมิ 5.28 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรยี นเกี่ยวกบั การให้บรกิ าร 168 แผนภูมิ 5.29 ร้อยละของประชาชน จำแนกความไว้วางใจในการตดิ ตอ่ กับผ้อู ืน่ 169 IX ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 สารบญั ตารางสถติ ิ ตาราง 1 ร้อยละของประชาชนที่ตอบสัมภาษณ์ จำแนกตามลกั ษณะทาง 177 ประชากรสงั คม/เศรษฐกิจ เปน็ รายภาค ตาราง 2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบข่าวสารทางการเมือง 180 เปน็ รายภาค ตาราง 3 ร้อยละของประชาชนที่เคยรบั ฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมือง 181 จำแนกตามการตดิ ตามขา่ วสารการเมอื งทางหนงั สอื พิมพ์ เปน็ รายภาค ตาราง 4 รอ้ ยละของประชาชนทีเ่ คยรับฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมือง 182 จำแนกตามการตดิ ตามขา่ วสารการเมอื งทางวิทยทุ ่วั ไป เป็นรายภาค ตาราง 5 รอ้ ยละของประชาชนท่เี คยรบั ฟัง/ชมหรอื ทราบข่าวสารทางการเมือง 183 จำแนกตามการตดิ ตามขา่ วสารการเมืองทางวทิ ยชุ มุ ชน เปน็ รายภาค ตาราง 6 ร้อยละของประชาชนทเี่ คยรบั ฟงั /ชมหรอื ทราบข่าวสารทางการเมอื ง 184 จำแนกตามการตดิ ตามขา่ วสารการเมอื งทางสถานีโทรทัศน์ (ฟรีทวี ี) เป็นรายภาค ตาราง 7 ร้อยละของประชาชนท่ีเคยรับฟัง/ชมหรอื ทราบขา่ วสารทางการเมอื ง 185 จำแนกตามการตดิ ตามข่าวสารการเมืองทางเคเบ้ิลทีวี เปน็ รายภาค ตาราง 8 ร้อยละของประชาชนท่เี คยรบั ฟัง/ชมหรือทราบขา่ วสารทางการเมือง 186 จำแนกตามการติดตามขา่ วสารการเมอื งทางอนิ เทอรเ์ นต็ เป็นรายภาค ตาราง 9 รอ้ ยละของประชาชนทีเ่ คยรับฟงั /ชมหรือทราบขา่ วสารทางการเมอื ง 187 จำแนกตามการเป็นสมาชกิ เครือข่ายสังคมออนไลน์ เปน็ รายภาค ตาราง 10 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการตดิ ตามการทำงานรฐั บาล 187 เปน็ รายภาค ตาราง 11 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการรับรู้/ทราบนโยบายของรฐั บาล 188 ทไ่ี ด้ดำเนนิ การ เป็นรายภาค ตาราง 12 ร้อยละของประชาชนทีร่ ู/้ ทราบนโยบาย จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ 191 นโยบายของรัฐบาลท่ีไดด้ ำเนินการ เปน็ รายภาค ตาราง 13 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ความสามารถ 200 ของรฐั บาลในการแกไ้ ขปญั หาด้านเศรษฐกิจ/สงั คม เปน็ รายภาค ตาราง 14 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความเช่อื ม่ันตอ่ การทำงานของ 201 คณะบุคคล/สถาบนั /หนว่ ยงานตา่ งๆ เปน็ รายภาค ตาราง 15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความเชอ่ื มัน่ ต่อการทำงานของ 211 องคก์ รอสิ ระ เป็นรายภาค สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 สารบัญตารางสถิติ ตาราง 16 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจตอ่ การบริการสาธารณะ 216 ทร่ี ัฐและท้องถ่นิ จัดให้ เปน็ รายภาค ตาราง 17 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใช้บรกิ ารหรือมีสว่ นรว่ ม 224 กบั หน่วยงาน เปน็ รายภาค ตาราง 18 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกีย่ วกับการคอรัปชน่ั 225 เป็นรายภาค ตาราง 19 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั การไว้วางใจ 226 หรอื ตอ้ งระมดั ระวงั ในการตดิ ตอ่ กบั ผอู้ ่ืน เปน็ รายภาค ตาราง 20 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรอ้ งเรียนเกย่ี วกบั การบริการ 227 ของหนว่ ยงานราชการและองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ เปน็ รายภาค ตาราง 21 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการการเปน็ สมาชกิ กลุ่ม ชมรม 230 และสมาคมตา่ งๆ เป็นรายภาค ตาราง 22 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการรู้จักสถาบันพระปกเกล้า 231 เปน็ รายภาค ตาราง 23 ร้อยละของประชาชนรู้จักสถาบนั พระปกเกล้า 232 จำแนกตามรายการโทรทศั นท์ ที่ ำให้รู้จกั เป็นรายภาค ตาราง 24 ร้อยละของประชาชนทีร่ ู้จกั สถาบนั พระปกเกล้า 233 จำแนกตามการทราบบทบาทหน้าท่ขี องสถาบันพระปกเกล้า เป็นรายภาค ตาราง 25 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการรจู้ ักสภาพัฒนาการเมอื ง 235 เป็นรายภาค ตาราง 26 รอ้ ยละของประชาชนท่ีรู้จกั สภาพฒั นาการเมอื ง 236 จำแนกตามการรายการโทรทัศน์ที่ทำใหร้ ู้จกั เป็นรายภาค ตาราง 27 ร้อยละของประชาชนท่รี จู้ ักสภาพัฒนาการเมอื ง 237 จำแนกตามการทราบบทบาทหน้าที่ เป็นรายภาค XI ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร
รายงานผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับความพึงพอใจต่อ การบริการสาธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2555 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
บทสรุปสำหรับผู้บรหิ าร สถาบันพระปกเกล้า ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการตรวจสอบติดตามการบริหารงานของภาครัฐและหน่วยงาน ต่างๆ จึงได้ขอความร่วมมือให้สำนักงานสถิติแห่งชาติทำการสำรวจความ คิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะและ การทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2555 เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับระดับ ความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการสาธารณะและการทำงานของ หน่วยงานต่างๆ และนำผลที่ได้จากการสำรวจไปใช้เป็นแนวทางพัฒนาการจัด บริการสาธารณะให้มีคุณภาพและสนองตอบต่อความต้องการของประชาชน ซึ่งปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันท่ี 2 กรกฎาคม – 12 สิงหาคม พ.ศ. 2555 โดยทำการสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรือนท่ีมีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป กระจายทุกจังหวัดท่ัวประเทศ เป็นจำนวนท้ังส้ิน 35,312 คน แบ่งเป็น ประชาชนในเขตเทศบาล 18,592 คน และนอกเขตเทศบาล 16,720 คน ผลการสำรวจสรุปประเดน็ ที่สำคัญได้ดงั นี้ 1. การทราบขา่ วสารทางการเมอื ง แผนภมู ิ ก รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบข่าวสารทางการเมือง และส่อื ทที่ ราบ ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 ผลการสำรวจเกี่ยวกับการเคยทราบข่าวสารทางการเมือง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ ่ ร้อยละ 81.6 เคยทราบข่าวสารการเมือง มีเพียงร้อยละ 18.4 ไม่เคยทราบ โดยทราบจากส่ือ โทรทัศน์ (ฟรีทีวี) มากท่ีสุดร้อยละ 95.1 รองลงมา ได้แก่ หนังสือพิมพ์ ร้อยละ 30.7 พูดคุยกับ บคุ คลอ่ืนๆ ร้อยละ 29.6 และวิทยุ รอ้ ยละ 17.7 ตามลำดับ 2. ความคดิ เหน็ ต่อรฐั บาล 2.1 การติดตามการทำงานของรฐั บาล (นางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร) ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชน ร้อยละ 67.2 ระบุว่าติดตามการทำงานของรัฐบาล นางสาวย่ิงลักษณ์ ชินวัตร ในรอบ 6 เดือน ท่ีผ่านมาเป็นบางคร้ัง บางคราว และร้อยละ 13.9 ระบวุ า่ ตดิ ตามเปน็ ประจำ อกี ร้อยละ 18.9 ระบวุ า่ ไม่ได้ติดตาม 2.2 นโยบายรัฐบาล (นางสาวย่ิงลักษณ์ ชินวัตร) ท่ีประชาชนทราบ 5 อันดบั แรก แผนภูมิ ข รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการทราบนโยบายของรัฐบาล ท่ีได้ดำเนนิ การ 5 อันดับแรก นโยบายของรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) ท่ีประชาชนรับรู้/ทราบ 5 อันดับแรก คือ โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค ร้อยละ 95.6 การข้ึนเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุแบบมากขึ้น ตามอายุ (ขั้นบันได) ร้อยละ 90.9 การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด ร้อยละ 90.8 การข้ึน ค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท ร้อยละ 90.0 และการข้ึนเงินเดือนปริญญาตรี 15,000 บาท ร้อยละ 85.3 สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 2.3 ความสามารถในการแก้ ไขปัญหาสังคม/เศรษฐกิจของรัฐบาล (นางสาวยง่ิ ลักษณ์ ชินวตั ร) แผนภมู ิ ค ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกยี่ วกับการแกไ้ ขปญั หา สังคมและเศรษฐกจิ จากผลการสำรวจเกี่ยวกับความสามารถแก้ปัญหาด้านสังคมของรัฐบาลชุดนี้ พบว่า ประชาชนร้อยละ 11.4 มีความเห็นว่าแก้ไขปัญหาได้เป็นอย่างมาก ร้อยละ 60.6 แก้ปัญหา ได้บ้าง ร้อยละ 22.7 แก้ได้เพียงเล็กน้อย และร้อยละ 5.3 เห็นว่าไม่สามารถแก้ไขได้เลย ส่วนความสามารถแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจนั้น ร้อยละ 10.4 มีความเห็นเห็นว่าแก้ไขปัญหา ได้เป็นอย่างมาก ร้อยละ 57.2 แก้ปัญหาได้บ้าง ร้อยละ 26.4 แก้ได้เพียงเล็กน้อย และร้อยละ 6.0 เหน็ วา่ ไมส่ ามารถแก้ไขไดเ้ ลย 3. ความเชื่อมั่นที่มีต่อการทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงาน ตา่ งๆ การทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ 5 อันดับแรก ที่ประชาชนให้ความ เช่ือมั่น (ค่อนข้างเช่ือมั่นถึงเช่ือม่ันมาก) ได้แก่ แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ (ร้อยละ 82.3) แพทยใ์ นโรงพยาบาลของเอกชน (ร้อยละ 80.1) ทหาร (รอ้ ยละ 79.4) โทรทัศน์ (ร้อยละ 71.8) และนายกรัฐมนตรี (ร้อยละ 69.9) ส่วน 5 อันดับสุดท้ายที่ประชาชนให้ความเช่ือม่ัน (ค่อนข้าง เชื่อม่ันถึงเช่ือม่ันมาก) อยู่ในสัดส่วนน้อย ได้แก่ พรรคประชาธิปัตย์ (ร้อยละ 39.6) องค์กร พฒั นาเอกชน (NGOs) (รอ้ ยละ 30.1) สถาบนั พระปกเกลา้ (รอ้ ยละ 28.9) สภาพฒั นาการเมอื ง (รอ้ ยละ 27.0) และสภาองค์กรชุมชน (รอ้ ยละ 25.4) ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 4. ความเชือ่ มั่นต่อการทำงานขององค์กรอสิ ระ แผนภูมิ ง ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกีย่ วกับความเชอื่ มั่น ต่อการทำงานขององค์กรอิสระ จากผลการสำรวจ พบว่า องค์กรอิสระท่ีประชาชนเชื่อมั่น (ค่อนข้างเชื่อม่ันถึงเชื่อมั่นมาก) ต่อการทำงานมากท่ีสุด คือ ศาลยุติธรรม รองลงมา ได้แก่ ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกต้ัง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สำหรับสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประชาชนมีความเช่ือม่ันต่อการทำงานอยู่ใน สัดสว่ นนอ้ ยทส่ี ดุ เมื่อเปรยี บเทยี บกบั องค์กรอิสระอนื่ ๆ สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 5. การบริการสาธารณะท่ีรัฐและท้องถิ่นจัดให้ที่ประชาชนพึงพอใจ 5 อนั ดบั แรก แผนภูมิ จ รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพงึ พอใจต่อการบรกิ ารสาธารณะ ท่รี ฐั และทอ้ งถิน่ จัดให้ 5 อนั ดับแรก ที่พงึ พอใจ เมื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนโดยรวมเก่ียวกับความพึงพอใจ (ค่อนข้างพอใจถึง พอใจมาก) ต่อบริการสาธารณะที่รัฐและท้องถ่ินจัดให้มากที่สุด คือ โรงเรียน (ร้อยละ 87.0) รองลงมา ได้แก่ ไฟฟ้า (ร้อยละ 85.5) ศูนย์เด็กเล็ก (ร้อยละ 81.9) สาธารณสุขและ ศนู ย์อนามยั (ร้อยละ 81.8) และถนน (ร้อยละ 75.8) 6. ความคดิ เห็นและประสบการณเ์ กี่ยวกบั การคอรัปช่ัน เม่ือสอบถามความคิดเห็นของประชาชนต่อคำกล่าวที่ว่า “บางคร้ังการคอรัปช่ันใน รัฐบาลก็มีความจำเป็นเพ่ือให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้” น้ัน พบว่า ผู้ท่ีไม่เห็นด้วย ร้อยละ 64.5 (โดยระบุว่าไม่เห็นด้วยเลย ร้อยละ 45.6 และไม่ค่อยเห็นด้วย ร้อยละ 18.9) ส่วนผู้ท่ีเห็นด้วย ร้อยละ 14.0 (โดยระบุว่าค่อนข้างเห็นด้วย ร้อยละ 12.0 และเห็นด้วยมากที่สุด มีเพียงร้อยละ 2.0) อีกรอ้ ยละ 21.5 ไม่มีความเหน็ ในเรอื่ งน ้ี ส่วนความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการคอรัปชั่นและการรับสินบนในการปกครอง ส่วนท้องถ่ิน พบว่า ประชาชนมากกว่าคร่ึงหน่ึง หรือร้อยละ 61.3 ระบุว่ามีการคอรัปชั่นและรับ สินบนในการปกครองส่วนท้องถ่ิน (โดยผู้ที่เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีบางคนคอรัปช่ัน ร้อยละ 45.1 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 เจ้าหน้าที่ส่วนใหญ่คอรัปชั่น ร้อยละ 13.3 และเจ้าหน้าท่ีคอรัปช่ันเกือบทุกคนคอรัปช่ัน ร้อยละ 4.9) และผู้ที่ระบุว่าแทบจะไม่มีใครเก่ียวข้องกับการคอรัปช่ัน ร้อยละ 10.9 และไม่มีความเห็น ร้อยละ 27.8 สำหรับความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับการคอรัปชั่นและการรับสินบนในการปกครอง ระดับประเทศ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 69.8 ระบุว่ามีการคอรัปชั่นและการรับสินบน ในการปกครองระดับประเทศ (โดยผู้ท่ีเห็นว่าเจ้าหน้าที่บางคนคอรัปช่ัน ร้อยละ 44.4 เจ้าหน้าท่ีส่วนใหญ่คอรัปชั่น ร้อยละ 17.9 เจ้าหน้าท่ีคอรัปช่ันเกือบทุกคน ร้อยละ 7.5) ส่วนผู้ท่ี ระบวุ า่ แทบจะไมม่ ใี ครเกยี่ วขอ้ งกบั การคอรปั ชนั่ รอ้ ยละ 4.6 และอกี รอ้ ยละ 25.6 ไมม่ คี วามเหน็ สถาบันพระปกเกล้า
รายงานผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อ การบริการสาธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2555 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล การให้บริการสาธารณะของภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะมี ประสิทธิภาพหรือไม่เพียงใดผู้ที่ให้คำตอบได้ดีท่ีสุด คือ ประชาชนผู้รับบริการ ดังนั้น การวัด ระดับของการให้บริการสาธารณะของหน่วยงานภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกระบวนการการมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit) อย่างเป็นระบบ จึงเป็นเรื่อง สำคัญอย่างยิ่งต่อการยกระดับการให้บริการสาธารณะเพ่ือให้บริการดังกล่าวมีคุณภาพตรงตาม ความต้องการของประชาชนและสามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้อย่างตรงจุดและมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังเป็นการสร้างกระบวนการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการให้บริการสาธารณะ อยา่ งเป็นระบบและเป็นรูปธรรม สถาบันพระปกเกล้า ในฐานะสถาบันวิชาการซึ่งมีพันธกิจค้นคว้าวิจัยปัญหาและ แนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างมีระบบ ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้ขอความ ร่วมมือสำนักงานสถิติแห่งชาติดำเนินการสำรวจความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ และ การทำงานของหน่วยงานต่างๆ สำหรับใช้เป็นข้อมูลทางวิชาการประกอบการจัดทำโครงการ วัดระดับการให้บริการของหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกระบวนการ การมีส่วนร่วมของประชาชน (People’s Audit) อันจะนำไปสู่การนำเสนอแนวทางสำหรับ ผู้กำหนดนโยบายจะได้นำไป ใช้พัฒนาการจัดบริการสาธารณะให้มีคุณภาพ และสนองตอบต่อ ความตอ้ งการของประชาชนทุกกลุม่ ในสังคมไทยยิ่งข้นึ ตอ่ ไป 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อทราบความคิดเห็นและระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการ สาธารณะ และการทำงานของหนว่ ยงานต่างๆ 2. เพื่อได้ข้อมูลผลการสำรวจสำหรับนำไปใช้ประกอบการวัดระดับการให้บริการ ของหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยกระบวนการการมี สว่ นรว่ มของประชาชน (People’s Audit) 3. เพื่อนำเสนอความคิดเหน็ ของประชาชนต่อผเู้ กย่ี วข้องสำหรับนำไปใชพ้ ฒั นาการ จัดบริการสาธารณะให้มีคุณภาพ และสนองตอบต่อความต้องการของ ประชาชน 11 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 1.3 คุม้ รวมของประชากร ประชาชนที่มอี ายตุ ั้งแต่ 18 ปีขนึ้ ไป ท่ัวประเทศ 1.4 วธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมลู การเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้เจ้าหน้าท่ีไปทำการสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรือนตัวอย่าง ท่ีมีอายุต้ังแต่ 18 ปีข้ึนไป ครัวเรือนละ 1 คน โดยให้กระจายตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และสถานภาพการทำงาน 1.5 ระยะเวลาการปฏิบตั ิงานเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ปฏบิ ตั งิ านเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ระหวา่ งวนั ท่ี 2 กรกฎาคม - 12 สงิ หาคม พ.ศ. 2555 1.6 การเสนอผล เสนอผลการสำรวจในระดับ ภาค และทั่วประเทศ ในรูปของค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) เพ่ือวิเคราะห์หาระดับความคิดเห็นและความพึงพอใจของ ประชาชนในแต่ละข้อถามท่ีได้ทำการสัมภาษณ์และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เพ่อื ดูการกระจายของข้อมลู ในการกำหนดคะแนนของการวดั และเกณฑ์ระดบั ความคิดเหน็ และความพึงพอใจของ ประชาชนน้นั ไดใ้ ช้ตามแนวทางของลิเคิร์ท (Likert) โดยกำหนด ดงั น ้ี 1. เกณฑ์ระดับความพงึ พอใจของประชาชน (คะแนนเต็ม 4 คะแนน) คะแนนเฉล่ีย ระดับความพึงพอใจของประชาชน 3.50 – 4.00 พอใจมาก 2.50 – 3.49 ค่อนข้างพอใจ 1.50 – 2.49 ไมค่ ่อยพอใจ 1.00 – 1.49 ไม่พอใจเลย 2. เกณฑร์ ะดบั ความเชอ่ื ม่นั ของประชาชน (คะแนนเตม็ 4 คะแนน) คะแนนเฉลีย่ ระดับความเช่อื มน่ั ของประชาชน 3.50 – 4.00 เชอื่ ม่นั มาก 2.50 – 3.49 1.50 – 2.49 ค่อนข้างเชอ่ื มนั่ 1.00 – 1.49 ไม่คอ่ ยเช่อื มัน่ ไมเ่ ช่ือม่ัน 12 สถาบันพระปกเกล้า
รายงานผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อ การบริการสาธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2555 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 2 ระเบียบวิธีสถิติ
บทท่ี 2 ระเบยี บวธิ สี ถิต ิ 2.1 แผนการสุ่มตัวอย่าง แผนการสุ่มตัวอย่างท่ีใช้เป็นแบบ Stratified Three - Stage Sampling โดย ได้ทำการแบ่งจังหวัดออกเป็น 2 สตราตัม ตามลักษณะเขตการปกครอง คือ ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล โดยมีชุมรุมอาคาร (ในเขตเทศบาล) และหมู่บ้าน (นอกเขตเทศบาล) เป็นหน่วยตัวอย่างข้ันท่ีหน่ึง ครัวเรือนส่วนบุคคลเป็นหน่วยตัวอย่างข้ันท่ีสอง และสมาชิก ทีม่ อี ายุ 18 ปขี นึ้ ไป เป็นหนว่ ยตัวอย่างขน้ั ทีส่ าม การเลือกหนว่ ยตัวอย่างขน้ั ทห่ี น่งึ จากแต่ละจังหวัดในแต่ละเขตการปกครอง ทำการเลือกชุมรุมอาคาร/หมู่บ้าน ตัวอยา่ งอย่างอสิ ระต่อกนั โดยใชค้ วามนา่ จะเปน็ ในการเลอื กเป็นปฏิภาคกับจำนวนครัวเรือนของ ชุมรุมอาคาร/หมู่บ้านนั้นๆ ได้จำนวนตัวอย่างท้ังสิ้น 1,776 ชุมรุมอาคาร/หมู่บ้าน จากทั้งส้ิน 109,966 ชุมรุมอาคาร/หมู่บา้ น กระจายไปตามภาค และเขตการปกครอง ดงั นี้ ภาค รวม ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล กรุงเทพมหานคร 104 104 - 275 275 กลาง (ยกเว้น กทม.) 550 187 187 220 220 เหนอื 374 154 154 940 836 ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 440 ใต ้ 308 รวม 1,776 การเลือกหน่วยตวั อย่างขัน้ ทส่ี อง ในขั้นน้ีเป็นการเลือกครัวเรือนตัวอย่างที่มีสมาชิกอายุ 18 ปีขึ้นไป ด้วยวิธีการสุ่ม โดยกำหนดขนาดตวั อยา่ งเป็นดังนี้ คือ ทกุ จังหวัด : กำหนด 20 ครัวเรอื นตวั อย่าง ตอ่ ชุมรมุ อาคาร/หมบู่ ้าน ยกเวน้ กรงุ เทพมหานคร กำหนด 18 ครวั เรือนตัวอย่างตอ่ ชุมรมุ อาคาร จำนวนครัวเรือนส่วนบุคคลตัวอย่างท้ังสิ้นท่ีต้องทำการแจงนับ จำแนกตามภาค และ เขตการปกครอง ดังน้ี 15 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 ภาค รวม ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล 1,872 - กรงุ เทพมหานคร 1,872 5,500 3,740 5,500 กลาง (ยกเว้น กทม.) 11,000 4,400 3,740 3,080 4,400 เหนือ 7,480 18,592 3,080 16,720 ตะวันออกเฉียงเหนือ 8,800 ใต ้ 6,160 รวม 35,312 การเลือกหนว่ ยตัวอยา่ งขน้ั ทีส่ าม ในแต่ละครัวเรือนตัวอย่าง ได้ทำการเลือกสมาชิกในครัวเรือนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป ครวั เรือนละ 1 คน เพอื่ ทำการสัมภาษณ์ ไดจ้ ำนวนตัวอย่างท้งั สิ้น 35,312 คน 2.2 วิธกี ารประมาณผล การเสนอผลของการสำรวจ ได้เสนอผลการสำรวจในระดบั ภาค คอื กรงุ เทพมหานคร ภาคกลาง (ยกเว้น กทม.) ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และภาคใต้ ในการประมาณคา่ กำหนดให ้ ( ครวั เรอื นตัวอย่าง ) k = 1 , 2 , 3 , ... , nhij ( เขตการปกครอง ) j = 1 , 2 i = 1 , 2 , 3 , ... , Ah ( จงั หวัด ) h = 1 , 2 , 3 , 4 ,5 ( ภาค ) การประมาณค่าอัตรารอ้ ยละ 1. สูตรการประมาณค่าอัตราร้อยละ5ขอ5งประชากรที่มีลักษณะที่ต้องการศึกษา X 1 . ส1 ตู. ร สกตู ารรสกปำารหระปรมับราะจณมงั หาคณวา ดัอคตั าiรอาภัตรารอ คายรลอ hะยขลอคะงอื ขป อรงะปชราะกชราทกี่มรลีทกัี่มษีลณักษะณทีต่ ะอทงตี่ กอางรกศาึกรษศาึกษXา Xสําหสรําบั หจรงับั หจวังดั หวi ดั i ภาคภาhค คhือ คือ ˆPhi ˆPh i ˆNX hhiiNˆX hhii ................................(..1....).. .........................(..1..) (1) โ ด ยโทด ่ียท ่ี ˆX hiˆX hคi อื คสคอื ำ่าคหปอืสครรําาบัะหปมจสครรังาาํ ับะหณปมจวรรยางััดบะอหณมจดวาังiยัดรหณอววดภมยiัดราขอวคอดภiมงราขวปhคอภมรงาขะซhปคอช่งึรงา ะซhปกชง่ึราะทซกช่ีมงึ่ราทีลก่ีมักรีลษทกัณีม่ ษลี ะณักทษ่ีตะณท้อีต่งะกอทาง่ตี รกอศางึกรกศษากึ ารษศXากึ ษ า X X xhijxkhijkคือ คลือัˆกXษลhiณัˆกXษhะiณท่ีตะอทjง่ีต2กอ1าjงNn2รกhศh1iาijึกNjnรษhkศhniihjาึกjij1ษknxXhาhiji1jขxkXhอijงขkปอรงะปชราะกชราใกนรคใรนัวคเรรัวือเนรตือัวนอตยัวาองยาkง k 16 สถาบันพระปกเกล้า
231... สป132121313324322สโภสh123ด...............ตู231กตู าตู ... สสสสสสยปปปปป...สสสสรภโภโภภภโโโครคสสสสสhhhhhสรปสดดดดดภโคกสููตตตููตตูตูปทสกhสกกกกกตููููตตตภโราาาาากสตูููตตตตูู hดตู กตูดยยยยยือาาูต รรรรรรอูตาี่ กตูคคคคครรรรคคคคคhาาูตรรรรรยรคคคคคครกกกกกกรคยทททททรกกกกรง รครครรรรกกกกก คกร ทปกปคกือืือือออืาาาาาา รกทกอออออาาาาป่ี่่ีี่่ีี hhhhhร กาาาาาือาคอาี่รรรรรรรjhือารรรรรางงงงง อา ่ี รรรรรรh32 าระปปปปปปรงะปปปปอืรˆ Xรระปปปปป งปร..ป ม ปคคคคคมปรรรรรรป jjjjjรรรรม ปภhรรรรรครjะะะะะะราคะะะะืออืือออืืราˆˆˆˆˆ XXXXXjร รiะะะะะ าสสสสxNะราะอืˆมมมมมมXnณะมมมมะAณะือˆX มมมมม ณะhภภภภภมคูhhhhhูำำ ตต hมhมมาาาาาามภhาาาาhiiiiiiiม หหาาาาาคNNNxxxxNNภjhาาาาาคiรราjnnnnณณณณณณi ค AAAAาณณณณาxNาjาki ณณณณณhhhhhาnคคคคคNx ณhารรhhhhhาAกกณาhhhhhnณณAhณาhhhhhคiiiiihiiiiiณคคคคคคhhบัับอjjjjjคคคคคhอiiiiihjjjjjาาhiiคคคคคอคhjjjjjjkkkkkiคคiijคัตhhhhhาาาาาาjคภเครรตัiาาาาคjj kคคคัตาาาาาคคขjhาkˆˆ อืPPาออออออhารปปออออาาราือออออออือืารอตือืhhอคคคคคอˆาPัตตััตัตััตตอคคคคาอตััตตััตคอคคคคครรคาjiคคคคคคคคัตััตัตตัตอคคคคคคคคคคัตกˆˆˆˆˆˆˆˆˆˆคhรัตออืืออืือืPPPPPPPPPPครตัือือรรรรรรือือคคตัคคตัรรรรคะะรือือออืือืˆˆจลiจจสเคคคือPPัตือือืือืืออือออือรรรรรคคืืืืือืือือือือhhhhhhhhhhอออออรอˆˆาˆˆˆˆˆาาาาาาือPPรPPPPPอืขาาาาอร ออืืรือืรhhมมอาาาาาอืjjjjjiiiiihําาาํํˆัาําาˆกอืือPXยรรือืhhภาอhhhhhรรรรรรยˆารรรรPาตjiายรรรรรนนนาhหรจคจลจจลเiเลลสเจจจคจiสลสจสiเคจจเจคiคสiจjiปาาปออออออรษลออออลจจจภจเhารลhรรขขขขขอออออจจiจคสเลลกอขรอณณววาําาาํํํําาําํํําาาาาํํําํจiสลเจคจํัํัําาํัาํััาาวาาาาˆˆˆˆˆกกกกกรXXXXXยยยยยยอรขiคภภภภภคอะกงัำยยยยอักำำะาณตตตตตขยยยยยําํําาอาัําˆกXยะนตานนนนนนนนนนนภบันนหหหหหะนยปปปปปาาําํํํัาาˆกหXยษษษษษนลลลลลลขตภนยนาาาาาคือคยลลลลขhhhhhคคนนนหตปยลลลลลกกกกกขรˆNNˆh ษXXลคนนกมนˆNปววววววววววหาXปลววจจรรรรรhะรรรรiiiiiคคคคคอษละะะะะะววลากอ รละะะะวณณณณณhว่่ปววาาวอรลกะะะะะนนนนนราาาาานนนนนiคับับบัับบัะระะะะะนนาววhhhhาวงัังระทรณhรขขขขขขhัดงiคนะอขขขขะงนนานะนณบัออะนhijขขขขขijัวงรรรรรˆˆNNˆˆˆˆˆNNNNˆNNNˆˆNhhhhhะXXXXXXXXXXกนระขคคคคคานมมมมมับหหNˆNˆNˆNˆˆNปปปปปณXXXXXะนขจจจจจจจจจจปะะะะะออออออขปี่ตขงออออรNNˆˆจhขXXคมปNˆปปปปปปเัXัคตตอออออ จจปปชขะรˆˆNNhอXXครรรรรมคˆNปhhhhhhhhhhXอhhhhhhhhhhาาาาาววงังงัังังังัังงงััังรรรรรจจทททททรhhhhhะhhhhhงงงงงอรปองงงงอรอังiยรปhhiiiiijjjjjhhาiiiiijjjjjวัวัววััวังงงงงังงัรอรทราhรรกกกกกะะะะะhงอืหหหหหหหหหหกณณณณณรดััดระhhปปปปปปรงhhาjงังัรทhะhปปปปี่่่ี่ีี่ีหงตตตตตijijัวงjงกะงะปปปปปหหเเเเเณอกัวปijชชชชชijาาัวงอนกะป่ีะ2คคคคคตหหคชณทววววววววววปภรรรรรชปรรรรรเปี่ตก้อชรรรรออออวชยยยยยคปเเดรรรววรรรรราาาาาชงรือือืือออืชัดัดดัดััดัดดดดัััดัตคาะะะะะะiรรรรร1รรjjjjjอววราั้งระะะะยารดัราทงรอาางงงงะะะะะือ้้ยดัดอออออออกกกกกะรjรราอออออนนนนนะ22222กอือชชชชชชNัดดัสทททททะาัวกรืjชชชชอคงnะภะกอกกกกก5กรชชชชชทอนjjง2วีม่ะชjดดดดดรรรรอกiiยยชงงงงงอนอ2ตตตตตรกาาาาาาชกiiiiiง511111ท้นิhชAAราาาาชง้ังัังง้้้งั้ั22นศภดราhากททททท5ราาาาาาาาามชงตงั้าiด1รอีรรรรรทาhiลลยงกกกกกกhทhNNNNNตสสสสสาวััััวววัวiกกกกท1iราาnnnnnารงั้ทคj11ึกกกกกตกรรรรรตส1จาท1าาjjjjjjjjjjjวววววก่ีมีม่ีี่ี่มม่มรNขjjjjjัวiiiiiiiiiiการnNˆ ่ีอออออXะะกามรรรรรรNกjสทรนิ้น้นน้ิ้้ิิินhhhhh่มีศวั่กAAAAAAAAAAรรรรใjjnวN่ีม2222222222ศศศศˆอXjภภภภภhhhhhiiคมี่ากรรรรรรมมมมมังษ้ินัjjวkอวี่มอยรjอออออีีีีhiiAAททททททรniiiiiงยยยยย22นศhhhhhยททททhhhhhภอขขhรiiiiiรีลนิ้hhมAAhรกึกลีทททททjjjjj11111่ี22ศ11111มหึึึึภอีกกกกhท1จจจ1จ1จ11าาาาาihhร11111มยjjjjjhลีอททขขขขขhงจุาาาาาอiีงjทjiˆˆNNNNˆˆNˆทj1ีี่ีี่่ี่่่ียXXXXXhาาาาามมมมมม1ทhึภกาีีม่่ม่ม่ีมีออจ1าใใใใใi1iiกัj1NNNNNˆˆˆˆˆษขทXXXXXกัj1i1คคคคค่ีมีม่่มมีีม่ี่าึีกhวปงงััังังังอษษษษษ1จาjjา1Nˆkkkkk่ีjรXามอออออยยยยยักยขjงั่มีัง้าใnnnnnงงงงงN1นนนนนˆNˆX่ีXามค่มีนีลลีลีลลีลี8ี่มhhhhhงัษhhhhhใางงลีีลลีลkษNอยˆหหหหหษXบัดคมี่nางhhhhhhhhhhหสงัลีีลีีลลลนษทททททxkาhhhhhงงงงงอยรุุุุุษ่าลีhjjjjjาาาาาhXjjjjjnงลีผนหภภภภภปปคhhีลiiiiiiiiiihกัักักักัักก11111ลีhรทลีhักักกกัังiiiiiุหคhhhhhjะาวววววปปปปปณjhjjjjjjjjjjhhยณปลีิ้ัััััทนกกกกกงjjjjjวhภงัง้งัังั้้้ั้งงุiiกัjิ1าซล11111jักณiกภh88888วปjjาาาาาiiกั1ษษษษษษiักรรjษษษษกัiััดดดัดดััั้งชihอืวทสสสสสป1Xjjxxxxxุัดัรรรรรษษษษษjกjกข8้ังXXXXXาาึ่งษ1ขษดัคคคคคะkh8สะาx1ะะษรษษรดัะะะะะXณณณณณณาhhhhhณณณณสปปปปปะา ้ิิิ้ิ้้้ิxนนนนนร้ัษคงึ้นซซซซซXเณณณณณอทระณทคhสณปiiiii้ินชช8กชชชชชขiiiiiะซณทhณณสปิ้iiนjjjjjภขขขขข ไึ่่่ึง่ึงึงงึ่งสซiiขขขขขณาAAชะะะะะะikkkkkhhhhhงะะะะต่ี่ตีijตขาาชราาาาาiปงึ่ธะะะะะข้ิ่ตีนjำึึึน้ึ้นึ้นน้น้ะkhขะhhาเเเเเงึ่อปขออออปhททททททแาททททะkhะะทรอกกากกกกกอึน้1กขขขขข1าทททททเะทiiiiiiiiiiอทภภภภภอทนึ้คไไไไไรเงลกAAAAAAAAAAวอขภทงงงงNีททต่่ี่ี่ตี่ตต่ีตตีีˆขXี่ตต่ตี่ีตี่รiiงตตตตภี่มงการรรรรรรขปปปปปไท่ีต่ีต่ีี่ต่ตตีณiiAAภง้ังงปhhhhh่ีตhhhhhาาาาาไจ่ีตตปปปปแแแแแAAระปกงะต่ีทททททกา้ึออออออรี่ตีต่แนออออ11111กกกกกททตhh11111รปาีลสกทททททคปแเ่ีตอออออคคคคคhhทhาะอรปลลลลลอ1กปแ1iiคNNNNNˆˆˆˆˆชขXXXXXาททรรรรรางงงงงงอลมีม่ี่่ีีมีม่ม่งงงงออาาาาา1กค1วไ่ีี่ัก้นิมมาทล้้ัััง้้ังังง้งงงงงงNอคˆXะแรงี่มงลาะะะะะhรกกกกกกะะะะกNรˆกกกกXปรรรรรตารงาhhhhhhhhhhะมี่้งังงาลีลีีลลีลลสสสสสรกกกกก5ษะีีลกล้ังะงhhhhhกชมศรศปปปปปhhiiiiiiiiiiแะคีลชชชชชกะาาาาาาสกกกาาาารศ1ะhกhhhทีลกกกััักัักสกิ้นน้ิิ้นน้ิิ้นาาาาาลปiiเคกชััาhกกณาา ึปกhhhhhึiiรรรรรรกกกกกกรรรรรชขกัาิ้นาาาาาาาAิรึก ะารรรรรดาัก55555ษษษษษิ้นา้ังhร..กกรสศศศศศศาอศศศศษษhษรคคคคคhรกตรษ..รกกกกกใ5ษาศศศศศ11111รเษะศรสศ..5ษเเเเเรคหรณณณณณกทศงศึึึึึึ1ศกกกกกกึึึึน..กกกกครรรรรขขขขขกณณกเปุศาAAAAA1รรรรรึกกึกึกึกึาท็ปณ..ึ้ิกนนึเใำการขอออออณ..AึรกhhhhhึกษษษษษษึกตตตตตษษษษรขใใใใใางคผAนร..กึษษษษษ...ะะะะะXjขกอี่ต7hษตะะษX..ใงงงงง...อXานนนนนhษรษะตษกกกกกใอ..ลาาาาาาาาาา...ททททท6รษนะคงคอจนาาาาา..ททกป...งาาทเนกง..าาาาากคคคคคัวขา...าา...............ทXXXXXXjjjjjสต่ต่ีตี่ต่ีตีี่77777ขร..ังงารXXXX...าค...............ปXXXXX่ี่ีากตตรรรรร..อXjตี่7าคเ..................66666XรรรรรสหวัรXj..กาํตี่X7อออออจจจจจอตร...รปปปปปXส...............ร..Xสงค6รร้้ออ...ัััััสอวววววจ.................เ6หปรสสสสสาํวะางงังัังังัอจงงงงงื...หอง...............กป..าํรัวชกกกกาํรสำ...เเเเเ...............งงั..งัวงหสสสสสหหหหหัดสกกกกกาาาาํํํํํารรนกร...งัง.................าอืหสสสสนอรรรรรเาหคคคคคกสหกก...กํา.................ช่เศับหหหหหวสหสวําําําาาํํวววววรรกําาาาาา.....คืืืืื...............อออออjสนาํํําาํารงรรคนรรรร..หตร...าํว...............าาจiยบัืหหหหหอดดัดัดััดัึกหาําํ..รรรรรวเรรรรร...า...............บัรืหหหหอปนนนนนอออออับาํเตห...ดัขรj...............งรรรรัวกศศศศศบับับับับัหหัดจภนอรรรรรษร((...ร...............พหงงงงงนภจอารรรรี่ศับ...กเตตตตตวั32ต...............ศศรยอiiiiiบบััับบับัศบันึึกกึกึึกกัง...งเเเเเรร................ขาับบับบััตาังiงรับจา...อวศ...............))ขขขขขกึตjjjjjคกเึึัััััวววววกกตiบัยับห...ภภภภภึกษษษษษค...............เต หบัขjัคกภภภภภจจจจ.ว...่ัง...............ยตตตตตขภาษjอออออัาวรษษา...............ภภจัษวาาาาางกบตาาาาาหวอ(((งังัังังภจ2าาาาาจจจจจ...............า่ตรกกกกกออายยยยยาๆ...............ง321ัคคคคคังดคาาจาาหหหหาัด5hากคคคคคว...............งังยงงังงังัััจาคกาาาาาหยงว)))าาาาาค...ค...4รังหXหหหหหพัดวววว(((((((((((((((คาk...ังาXXรรรรราาk6iหงงงงง122221312331313วา(((ดดัดััดั.hhhhhมรหjวiววววว(((ง231รศดั)))))))))))))))hง321วพXXXXXดััดััดััดดดh-วkkkkk.)))Xึiiii ดั))) งkXดั k 22i พi55อ55ใ จ 5 5 4. ส44444....ตู4.สสสส.รสกสูตตูตตูู ูตาตูรรรรรรกกกกรกปกาาาาารรรรราระปปปปรปมปรรรรระะะะาระมมมมณะมมาาาาคาณณณณาณา ณคคคคอคคตัาาาาาออออารอาัตัตััตตอัตรตัรรรรอราาาารายรรรรารออออลรอ ยยยยอะยยลลลลขลอละะะะะขขขขงะขปออออของงงงอรงะปปปปงปชปรรรรราะะะะระกชชชชะชราาาาชาทกกกกากี่กมรรรรรททททรลี ทที่ี่ี่ี่มมมมัก่ีมี่มีลีลลลีษีลลีักักกักั ณักกัษษษษษะษณณณณทณณะะะะ่ตี ะททททะอ ททตตตี่่ี่ีตี่งีต่ ก่ตีอออออ างงงงองรกกกกงกศกาาาาาึกรรรรารศศศศษรศศึึึึกกกกาึกึกษษษษXษษาาาาาสาXXXXาํXXหสสสสสสาําํํําารําบัหหหหําหหเรรรรขรบัับบับัรับตับเเเเขขขขกเเขตตตตขาตตรกกกกกกาาาาารรรรารร 17 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 4. สูตรการประมาณค่าอัตราร้อยละของประช6ากรที่มีลักษณะที่ต้องการศึกษา X สำหปรกับคเขรตอกงาjรปกสคําหรอรับงภjาพสรำวหมรับคภอื าพรวม 6คอื ปกครอง j สาํ หรบั ภาพรวม คอื Pˆ j Xˆ j 5 Xˆ hj .................... (4) .................... (4) XNˆ jj Xˆ hj .................... (4) Pˆ j Nj h51 5 h1 N h51 hj Nhj h 1 5. ส5ูต.รสกตู ารรกปารระปมราะณมาคณ่ารค้อายรลอะยขลอะขงปองรปะรชะาชการกทรี่มทีลม่ี ักลี ษกั ณษณะทะี่ตท้อ่ีตงอกงากราศรศึกึกษษาาXXสสำําหหรรับบั ภาพรวม คือ ภ5า.พสรตู วรมกาครปอื ร ะมาณคารอยละของประชากรท่มี ีลักษณะที่ตอ งการศึกษาX สําหรบั ภาพรวม คือ Pˆ Xˆ hhh5555 111 XXNˆˆ hhh 2 Xˆ j ..……………(5) Pˆ N Xˆ jj Xˆ j221 N ..……………(5). .……………(5) N j1 h 1 Nh j 21 N j 1 j 18 สถาบันพระปกเกล้า
รายงานผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อ การบริการสาธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่างๆ พ.ศ. 2555 และสรุปผลการสำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 3 สรุปผลการสำรวจ
บทที่ 3 สรปุ ผลการสำรวจ 3.1 ลักษณะพน้ื ฐานทางสงั คม และเศรษฐกิจ เพศและอาย ุ ผู้ตอบสัมภาษณ์เป็นชาย ร้อยละ 48.4 และหญิง ร้อยละ 51.6 เมื่อพิจารณาอายุ พบว่า เป็นผู้ท่ีมีอายุระหว่าง 18 - 29 ปี ร้อยละ 14.7 เป็นผู้ท่ีมีอายุระหว่าง 30 - 39 ปี ร้อยละ 20.6 เป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 40 - 49 ปี ร้อยละ 25.8 และเป็นผู้ที่มีอายุระหว่าง 50 - 59 ปี ร้อยละ 22.6 สว่ นผู้ท่มี อี ายุ 60 ปีข้ึนไป รอ้ ยละ 16.3 ตาราง 1 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามเพศและอาย ุ เพศและอาย ุ ร้อยละ เพศ 100.0 ชาย 48.5 หญิง 51.5 อาย ุ 100.0 18 – 29 ป ี 14.7 30 – 39 ป ี 20.6 40 – 49 ป ี 25.8 50 – 59 ปี 22.6 60 ปี-ข้ึนไป 16.3 ระดับการศึกษา ส่วนระดับการศึกษานั้น ปรากฎว่าส่วนใหญ่ ร้อยละ 49.1 เป็นผู้มีการศึกษาระดับ ประถมศึกษา ร้อยละ 30.8 เป็นผู้มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 11.2 เป็นผู้มีการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรขี น้ึ ไป รอ้ ยละ 5.6 เปน็ ผมู้ กี ารศกึ ษาระดบั อนปุ รญิ ญา/ปวส./ปวท.หรอื เทยี บเทา่ สว่ นผ้ทู ่ีไม่เคยไดร้ ับการศกึ ษามีประมาณ รอ้ ยละ 3.2 21 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 ตาราง 2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามระดบั การศึกษา ระดับการศกึ ษา ร้อยละ รวม 100.0 ไมเ่ คยได้รบั การศึกษา 3.2 ประถมศึกษา 49.1 มธั ยมศกึ ษา 30.8 อนุปริญญา/ปวส./ปวท.หรอื เทยี บเท่า 5.6 ปริญญาตรีและสงู กว่า 11.2 อน่ื ๆ 0.1 อาชีพ อาชีพของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า ร้อยละ 31.3 เป็นผู้มีอาชีพเกษตรกร ร้อยละ 13.4 พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน ส่วนร้อยละ 11.2 ค้าขายเล็กๆ น้อยๆ ร้อยละ 9.2 ผู้ที่รับจ้าง ทวั่ ไป/คนงาน รอ้ ยละ 7.2 แมบ่ า้ น รอ้ ยละ 6.3 รบั ราชการ/รฐั วสิ าหกจิ /องคก์ รของรฐั รอ้ ยละ 5.0 เจ้าของกิจการร้านค้า/ธุรกิจขนาดกลาง ร้อยละ 4.9 นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา ร้อยละ 1.5 ข้าราชการบำนาญ อีกร้อยละ 1.3 เป็นผู้ที่รับจ้างเอางานมาทำที่บ้าน ผู้ที่ทำงานองค์กรเอกชน (NGOs) ประกอบธุรกิจขนาดใหญ่และอาชีพอื่นๆ มีร้อยละ 0.8 นอกจากน้ันเป็นผู้ท่ีไม่ได้ ทำงาน/วา่ งงาน ประมาณรอ้ ยละ 7.9 ตาราง 3 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามอาชพี อาชพี รอ้ ยละ รวม 100.0 13.4 พนกั งาน/ลกู จา้ งบรษิ ัทเอกชน 11.2 คา้ ขายเลก็ ๆนอ้ ย ๆ รบั จา้ งท่วั ไป/คนงาน 9.2 ไมไ่ ดท้ ำงาน/วา่ งงาน 7.9 แมบ่ ้าน 7.2 รบั ราชการ/รัฐวิสาหกิจ/องคก์ รของรฐั 6.3 เจา้ ของกิจการร้านค้า/ธุรกิจขนาดกลาง 5.0 นกั เรยี น/นสิ ติ /นกั ศึกษา 4.9 22 สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 อาชพี รอ้ ยละ ขา้ ราชการบำนาญ 1.5 รับจ้างเอางานมาทำทบี่ ้าน 1.3 ทำงานองคก์ รเอกชน (NGOS) 0.1 ประกอบธุรกจิ ขนาดใหญ ่ 0.1 อ่ืนๆ 0.6 สถานภาพสมรส สำหรับสถานภาพสมรสของผู้ตอบสัมภาษณ์ พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 65.5 เป็นผู้ท่ี แต่งงานแล้วและอยู่ด้วยกัน ร้อยละ 17.5 เป็นโสด ร้อยละ 9.2 หม้าย ร้อยละ 3.4 เป็นผู้ท่ีเคย แต่งงานแต่ปัจจุบันแยกกันอยู่ ร้อยละ 2.6 เป็นผู้ที่อยู่ด้วยกันโดยไม่แต่งงาน และร้อยละ 1.8 เป็นผทู้ ี่หย่า ตาราง 4 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามสถานภาพสมรส สถานภาพสมรส รอ้ ยละ รวม 100.0 โสด 17.5 แต่งงานแล้วและอยู่ด้วยกัน 65.5 เคยแตง่ งานแต่ปจั จุบันแยกกนั อย ู่ 3.4 หย่า 1.8 หม้าย 9.2 อยู่ด้วยกนั โดยไมแ่ ตง่ งาน 2.6 รายไดข้ องครวั เรือนเฉลีย่ ตอ่ เดอื น รายได้ของครัวเรือนเฉลี่ยต่อเดือนของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ พบว่า มีการกระจายดังน้ี ไมม่ รี ายได้ รอ้ ยละ 7.8 รายไดน้ อ้ ยกวา่ 3,001 บาท รอ้ ยละ 8.9 3,001 - 5,000 บาท รอ้ ยละ 20.0 5,001 - 7,000 บาท ร้อยละ 19.3 7,001 -10,000 บาท ร้อยละ 20.2 10,001 - 15,000 บาท ร้อยละ 12.2 15,001 - 20,000 บาท ร้อยละ 5.3 20,001 - 25,000 บาท ร้อยละ 2.4 และ มากกว่า 25,000 บาท ร้อยละ 3.9 23 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 ตาราง 5 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามรายไดข้ องครัวเรือนเฉลีย่ ต่อเดอื น รายไดข้ องครวั เรอื นเฉล่ยี ตอ่ เดอื น รอ้ ยละ รวม 100.0 ไมม่ ีรายได้ 7.8 นอ้ ยกวา่ 3,001 บาท 8.9 3,001 - 5,000 บาท 20.0 5,001 - 7,000 บาท 19.3 7,001 - 10,000 บาท 20.2 10,001 - 15,000 บาท 12.2 15,001 - 20,000 บาท 5.3 20,001 - 25,000 บาท 2.4 มากกว่า 25,000 บาท 3.9 3.2 การทราบข่าวสารทางการเมือง 3.2.1 การทราบข่าวสารทางการเมือง แ ผ นภ มู ิ 3 .1 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยทราบข่าวสารทางการเมอื ง และสอื่ ที่ทราบ 24 สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 ผลการสำรวจเกี่ยวกับการเคยทราบข่าวสารทางการเมือง พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 81.6 ระบุว่าเคยทราบข่าวสาร มีร้อยละ 18.4 ระบุว่าไม่เคยทราบข่าวสาร โดยผู้ท่ีเคย ทราบข่าวสารระบุว่าทราบจากสื่อโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) มากท่ีสุด (ร้อยละ 95.1) รองลงมา หนังสือพิมพ์ (ร้อยละ 30.7) พูดคุยกับบุคคลอื่นๆ (ร้อยละ 29.6) วิทยุ (ร้อยละ 17.7) หอกระจายข่าว (ร้อยละ 5.8) อินเตอร์เน็ต (ร้อยละ 4.7) เคเบ้ิลทีวี (ร้อยละ 2.2) และอ่ืนๆ เช่น นติ ยสาร/วารสาร เป็นต้น (รอ้ ยละ 0.4) เมื่อสอบถามประชาชนเก่ียวกับความถี่ในการติดตามข่าวสารทางการเมืองจากส่ือ หนังสือพิมพ์ พบว่า มีผู้ติดตามสัปดาห์ละ 2 - 3 วัน มีร้อยละ 14.6 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 8.3 สัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 9.7 และแทบจะไม่ได้ติดตาม มีร้อยละ 22.8 และไม่ได้ติดตามเลย ร้อยละ 44.6 สำหรับหนังสือพิมพ์ที่ประชาชนติดตามข่าวสารทางการเมืองมากที่สุด คือ ไทยรัฐ (รอ้ ยละ 68.0) และเดลินวิ ส์ (ร้อยละ 22.0) การติดตามข่าวสารการเมืองทางวิทยุทั่วไปมีผู้ระบุว่าติดตามข่าวสาร โดยมีความถี่ สัปดาห์ละ 2 - 3 วัน ร้อยละ 9.0 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 4.9 สัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 5.7 และ แทบจะไม่ได้ติดตาม มีร้อยละ 30.9 และไม่ได้ติดตามเลย ร้อยละ 49.5 สำหรับสถานีวิทยุที่ม ี ผู้ติดตามข่าวสารทางการเมืองมากท่ีสุด คือ สถานีวิทยุแห่งประเทศไทย (ร้อยละ 40.9) และ สถานีวทิ ยขุ อง อสมท. (ร้อยละ 21.3) ส่วนการติดตามข่าวสารการเมืองทางวิทยุชุมชน พบว่า ผู้ติดตามข่าวสารสัปดาห์ละ 2 - 3 วัน มีร้อยละ 3.2 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 2.3 และสัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 2.1 ส่วนแทบจะ ไม่ไดต้ ิดตาม มรี ้อยละ 33.1 และไม่ไดต้ ดิ ตามเลย ร้อยละ 59.3 สำหรับการติดตามข่าวสารการเมืองทางโทรทัศน์ (ฟรีทีวี) นั้น พบว่า มีผู้ระบุว่า ได้ติดตามข่าวสารการเมืองทุกวัน ร้อยละ 53.6 สัปดาห์ละ 2 - 3 วัน ร้อยละ 32.0 สัปดาห ์ ละคร้ัง ร้อยละ 8.0 และแทบจะไม่ได้ติดตาม ร้อยละ 4.2 และไม่ได้ติดตามเลย มีเพียงร้อยละ 2.2 สำหรับสถานีโทรทัศน์ท่ีมีผู้ติดตามข่าวสารการเมืองมากท่ีสุด คือ สถานีโทรทัศน์ช่อง 3 (ร้อยละ 48.9) และสถานโี ทรทศั นช์ ่อง 7 (ร้อยละ 31.1) การติดตามข่าวสารการเมืองทางเคเบิ้ลทีวี มีผู้ระบุว่าติดตามข่าวสาร โดยมีความถ่ี สัปดาห์ละ 2 - 3 วัน ร้อยละ 2.2 ติดตามทุกวัน ร้อยละ 3.1 สัปดาห์ละครั้ง ร้อยละ 1.3 และ แทบจะไมไ่ ดต้ ดิ ตาม มรี อ้ ยละ 12.0 และไมไ่ ดต้ ดิ ตามเลย มถี งึ รอ้ ยละ 81.4 สำหรบั สถานเี คเบล้ิ ทวี ี ทีม่ ผี ูต้ ิดตามข่าวสารทางการเมอื งมากที่สดุ คอื เอ เอส ทวี ี (ร้อยละ 26.3) การติดตามข่าวสารการเมืองทางอินเทอร์เน็ต พบว่า มีผู้ระบุว่าได้ติดตามข่าวสาร การเมืองทุกวัน ร้อยละ 2.5 สัปดาห์ละ 2 - 3 วัน ร้อยละ 3.3 สัปดาห์ละคร้ัง ร้อยละ 2.3 และ แทบจะไม่ได้ติดตาม ร้อยละ 9.0 และไม่ได้ติดตามเลย มีถึงร้อยละ 82.9 สำหรับเว็บไซต์ที่ม ี ผตู้ ดิ ตามขา่ วสารการเมืองมากทีส่ ุด คือ www.google.com (ร้อยละ 52.4) 25 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 3.2.2 การเปน็ สมาชกิ เครอื ขา่ ยสังคมออนไลน ์ สำหรับการเป็นสมาชิกเครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่า ประชาชนที่เคย รับฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารทางการเมืองส่วนใหญ่ ร้อยละ 86.9 ระบุว่าไม่เป็น มีเพียงร้อยละ 13.1 ระบุว่าเป็น โดยใช้วิธีการติดต่อส่ือสารผ่านทาง Facebook มากท่ีสุด ถึงร้อยละ 98.8 รองลงมา คอื Hi5 รอ้ ยละ 13.8 twitter รอ้ ยละ 13.4 และร้อยละ 1.3 เป็นประเภทอน่ื ๆ ตาราง 6 รอ้ ยละของประชาชนที่เคยรับฟัง/ชมหรือทราบข่าวสารการเมอื ง จำแนกตามการเปน็ สมาชกิ เครือข่ายสังคมออนไลน์ การเป็นสมาชิกเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน ์ ร้อยละ รวม 100.0 ø ไม่เปน็ 86.9 ø เปน็ 13.1 โดยใชว้ ิธีการตดิ ตอ่ 1/ ø Facebook 98.8 ø Hi5 13.8 ø twitter 13.4 ø อ่ืนๆ 1.3 หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกวา่ 1 คำตอบ 3.3 การตดิ ตามการทำงานของรฐั บาล นางสาวยงิ่ ลกั ษณ์ ชนิ วตั ร ในรอบ 6 เดือน ท่ีผ่านมา ผลการสำรวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 67.2 ระบุว่าติดตามการทำงานของรัฐบาล เป็นบางคร้ังบางคราว และร้อยละ 13.9 ระบุว่าติดตามเป็นประจำ อีกร้อยละ 18.9 ระบุว่าไม่ได้ ตดิ ตาม 26 สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 ตาราง 7 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามการตดิ ตามการทำงานของรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชนิ วัตร ในรอบ 6 เดอื น ที่ผา่ นมา การตดิ ตาม ร้อยละ การปฏิบตั งิ านของรฐั บาล 100.0 ตดิ ตามเป็นประจำ 13.9 ติดตามเป็นบางครั้งบางคราว 67.2 ไมไ่ ดต้ ดิ ตาม 18.9 3.4 ความพงึ พอใจตอ่ นโยบายของรฐั บาล เมื่อสอบถามประชาชนเกี่ยวกับการรู้/ทราบในนโยบายของรัฐบาล (นางสาว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) พบว่า นโยบายของรัฐบาลท่ีดำเนินการที่ประชาชนรู้/ทราบมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค (ร้อยละ 95.6) การขึ้นเบี้ยยังชีพให้กับ ผู้สูงอายุแบบมากขึ้นตามอายุ (ขั้นบันได) (ร้อยละ 90.9) การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด (ร้อยละ 90.8) การขึ้นค่าจ้างข้ันต่ำ 300 บาท (ร้อยละ 90.0) และการข้ึนเงินเดือนปริญญาตรี 15,000 บาท (ร้อยละ 85.3) ส่วน 5 อันดับสุดท้ายของนโยบายของรัฐบาลที่ดำเนินการ ที่ประชาชนรู้/ทราบน้อยที่สุด คือ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี (ร้อยละ 56.2) การบริหารจัดการ น้ำและระบบชลประทาน (ร้อยละ 55.1) การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤต ิ มิชอบในภาครัฐ (ร้อยละ 50.9) การปฏิรูปการเมือง (ร้อยละ 50.8) และฟ้ืนฟูความสัมพันธ์และ ความรว่ มมือกับตา่ งประเทศ (ร้อยละ 44.9) สำหรับประชาชนท่ีรู้/ทราบนโยบายของรัฐบาลระบุว่านโยบายของรัฐบาลท่ีพึงพอใจ ในระดับมากถึงมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ การขึ้นเบ้ียยังชีพให้กับผู้สูงอายุแบบมากขึ้นตามอายุ (ข้ันบันได) (ร้อยละ 91.2) โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค (ร้อยละ 87.8) การพักหนี้เกษตรกร (ร้อยละ 84.7) การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติด (ร้อยละ 81.0) และการส่งเสริมกองทุน หมู่บ้าน กองทุน SML (ร้อยละ 80.6) ในขณะที่ประชาชนท่ีรู้/ทราบนโยบายของรัฐบาลพึงพอใจ ต่อนโยบายรัฐบาล 5 อันดับสุดท้าย คือ การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วม (ร้อยละ 63.9) การสร้างสันติสุขและความปลอดภัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ร้อยละ 58.9) การปฏิรูป การเมือง (ร้อยละ 57.0) การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ของคนในชาติ (ร้อยละ 54.7) และแก้ไขปญั หาสินค้าราคาแพง (รอ้ ยละ 51.9) 27 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 ตาราง 8 ร้อยละของประชาชนที่รู้/ทราบนโยบาย และพึงพอใจนโยบายของรัฐบาลท่ีได ้ ดำเนนิ การ จำแนกตามนโยบายของรฐั บาล รู/้ ทราบ ความ คะแนนเฉล่ยี นโยบายของรฐั บาล นโยบาย พงึ พอใจ 1/ ความพงึ พอใจ รัฐบาล (ร้อยละ) (คะแนนเต็ม 4) โครงการ 30 บาท รกั ษาทุกโรค 95.6 87.8 3.24 การข้นึ เบี้ยยังชีพใหก้ บั ผู้สงู อายแุ บบมากขนึ้ 90.9 91.2 3.35 ตามอายุ (ขนั้ บันได) การแกไ้ ขและปอ้ งกนั ปัญหายาเสพตดิ 90.8 81.0 3.09 การขน้ึ คา่ จา้ งขน้ั ตำ่ 300 บาท 90.0 78.3 3.09 การขน้ึ เงนิ เดือนปริญญาตรี 15,000 บาท 85.3 77.8 3.10 การแกไ้ ขปัญหาน้ำทว่ ม 82.5 66.9 2.81 การเยียวยาผ้ไู ดร้ ับผลกระทบจากนำ้ ท่วม 82.0 63.9 2.77 แกไ้ ขปญั หาสนิ คา้ ราคาแพง 78.0 51.9 2.52 การพกั หนเี้ กษตรกร 75.1 84.7 3.24 โครงการใหค้ อมพิวเตอรแ์ ท็บเลต็ แก ่ 72.2 66.0 2.85 นกั เรียน ป.1 โครงการรับจำนำขา้ ว 71.9 77.2 3.07 การคนื ภาษีบ้านหลงั แรก รถคันแรก 70.3 71.9 3.00 โครงการหน่ึงตำบลหนึ่งผลิตภณั ฑ์ OTOP 69.5 79.2 3.05 การสรา้ งความปรองดองสมานฉนั ทข์ องคน 69.0 54.7 2.59 ในชาต ิ 65.3 58.9 2.65 การสรา้ งสันตสิ ุขและความปลอดภัย ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ การส่งเสรมิ กองทนุ หมู่บา้ น กองทนุ SML 63.1 80.6 3.09 กองทุนพัฒนาบทบาทสตร ี 56.2 77.7 3.11 การบรหิ ารจดั การน้ำและระบบชลประทาน 55.1 74.7 2.96 การป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตและ 50.9 65.1 2.79 ประพฤตมิ ชิ อบในภาครฐั การปฏริ ปู การเมอื ง 50.8 57.0 2.66 ฟื้นฟคู วามสมั พันธแ์ ละความร่วมมือกับ 44.9 75.1 2.98 ต่างประเทศ 28 หมายเหตุ : 1/ ค่อนข้างพอใจถงึ พอใจมาก สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 3.5 ความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถในการแก้ไขปัญหาสังคมและ เศรษฐกิจของรัฐบาล แผนภ ูม ิ 3 . 2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกีย่ วกบั ความสามารถ ในการแกไ้ ขปญั หาสังคม และเศรษฐกิจของรัฐบาล จากการสอบถามเก่ียวกับการแก้ไขปัญหาด้านสังคมของรัฐบาลได้ในระดับใดน้ัน พบว่า ประชาชน ร้อยละ 60.6 ระบุว่าแก้ไขได้บ้าง ส่วนผู้ที่ระบุว่าแก้ไขได้อย่างมาก มีเพียง ร้อยละ 11.4 และแก้ไขได้เพียงเล็กน้อย มีร้อยละ 22.7 อีกร้อยละ 5.3 ไม่สามารถแก้ไขได้เลย ส่วนการแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดนี้ พบว่า ประชาชนร้อยละ 57.2 ระบุว่าแก้ไข ได้บ้าง และร้อยละ 10.4 ระบุว่าแก้ไขได้เป็นอย่างมาก ส่วนแก้ไขได้เพียงเล็กน้อย มีร้อยละ 26.4 และไม่สามารถแกไ้ ขได้เลย ร้อยละ 6.0 3.6 ความเช่ือม่ันต่อการทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงาน ต่างๆ การทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีประชาชนค่อนข้างเช่ือม่ันถึง เช่ือมั่นมาก สูงกว่า ร้อยละ 70 คือ แพทย์ในโรงพยาบาลของรัฐ แพทย์ในโรงพยาบาลของ เอกชน และทหาร และโทรทัศน์ สำหรับการทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ที่ประชาชนค่อนข้าง เช่ือมั่นถึงเชื่อมั่นมาก อยู่ระหว่าง ร้อยละ 50 ขึ้นไปถึงร้อยละ 70 ได้แก่ นายกรัฐมนตรี (น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) ข้าราชการพลเรือน ผู้ว่าราชการจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อบจ./เทศบาล/อบต.) สมาชิกสภาท้องถิ่น (ส.อบจ./สท./ส.อบต.) ตำรวจ รัฐบาล/ คณะรัฐมนตรี เจ้าหน้าท่ีท่ีดิน หนังสือพิมพ์ สมาชิกวุฒิสภา พรรคเพ่ือไทยสมาชิกสภา ผแู้ ทนราษฎร เจ้าหนา้ ท่ีศุลกากร และวิทยุกระจายเสยี งทั่วไป 29 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 ส่วนการทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ท่ีประชาชนค่อนข้างเชื่อม่ัน ถึงเช่ือม่ันมาก ร้อยละ 40 ขึ้นไปถึงร้อยละ 50 ได้แก่ สถาบันพรรคการเมือง (ไม่เจาะจงพรรคใด พรรคหนงึ่ ) และวทิ ยชุ มุ ชน นอกจากนี้ การทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ ซ่ึงประชาชน ค่อนข้างเชื่อม่ันถึงเช่ือมั่นมากน้อยกว่า ร้อยละ 40 ได้แก่ พรรคประชาธิปัตย์ องค์กรพัฒนา เอกชน (NGOs) สถาบนั พระปกเกล้า และสภาพัฒนาการเมือง และสภาองคก์ รชุมชน ตาราง 9 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเช่ือมั่นต่อการ ทำงานของคณะบุคคล/สถาบัน/หนว่ ยงานตา่ งๆ ระดบั ความเชอ่ื ม่นั คณะบุคคล/สถาบัน/หนว่ ยงานตา่ งๆ รวม เชอื่ ม่นั คอ่ นข้าง ไมค่ อ่ ย ไม่ ไมม่ ี ไมร่ ู้จกั มาก เช่อื ม่ัน เชอ่ื มนั่ เชอ่ื มน่ั ความ แพทยใ์ นโรงพยาบาลของรฐั เหน็ 0.2 แพทยใ์ นโรงพยาบาลของเอกชน 0.8 ทหาร 100.0 21.7 60.6 9.8 2.1 5.6 0.4 โทรทัศน ์ 0.4 นายกรัฐมนตรี 100.0 20.4 59.7 9.2 1.7 8.2 0.1 (น.ส. ยิ่งลักษณ์ ชนิ วตั ร) ข้าราชการพลเรอื น 100.0 16.7 62.7 9.9 2.4 7.9 2.2 ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั 5.3 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ 100.0 9.9 61.9 15.0 2.5 10.3 0.6 (อบจ./เทศบาล /อบต.) สมาชิกสภาท้องถิ่น 100.0 17.3 52.6 16.8 5.8 7.4 0.8 (ส.อบจ./สท./ส.อบต.) ตำรวจ 100.0 8.9 60.7 13.6 2.7 11.9 0.3 รัฐบาล/คณะรฐั มนตรี 100.0 12.9 54.2 11.4 2.9 13.3 0.3 เจ้าหนา้ ทท่ี ีด่ ิน 100.0 7.3 56.5 19.8 5.2 10.6 2.0 หนังสอื พมิ พ์ 0.9 สมาชกิ วุฒิสภา 100.0 7.4 55.3 20.3 4.8 11.4 1.8 พรรคเพ่อื ไทย 0.4 100.0 8.5 53.4 21.4 8.0 8.4 100.0 9.4 51.6 22.6 7.8 8.3 100.0 7.3 52.8 16.1 4.4 17.4 100.0 6.3 52.0 19.6 3.3 17.9 100.0 16.4 41.5 20.9 6.0 13.4 100.0 11.2 45.6 19.8 8.5 14.5 30 สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 ระดับความเชือ่ มน่ั คณะบุคคล/สถาบัน/หนว่ ยงานตา่ งๆ รวม เช่ือมั่น ค่อนขา้ ง ไมค่ อ่ ย ไม่ ไม่มี ไมร่ ้จู กั มาก เชื่อมน่ั เชอื่ ม่นั เช่ือมัน่ ความ เห็น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 100.0 7.4 49.2 25.6 7.1 10.0 0.7 เจา้ หน้าท่ศี ุลกากร 100.0 7.0 46.2 13.8 3.8 22.0 7.2 วิทยกุ ระจายเสียงทั่วไป 100.0 5.3 45.9 16.8 3.5 26.7 1.8 สถาบันพรรคการเมือง 100.0 5.4 44.0 26.7 7.7 15.2 1.0 (ไมเ่ จาะจงพรรคใดพรรคหนงึ่ ) วทิ ยชุ มุ ชน 100.0 4.6 40.4 19.4 5.3 28.5 1.8 พรรคประชาธปิ ตั ย์ 100.0 5.5 34.1 27.3 14.7 17.7 0.7 องคก์ รพฒั นาเอกชน (NGOs) 100.0 3.6 26.5 11.2 3.2 17.8 37.7 สถาบันพระปกเกล้า 100.0 5.5 23.4 6.0 1.5 16.2 47.4 สภาพัฒนาการเมอื ง 100.0 3.4 23.6 9.2 2.5 18.5 42.8 สภาองคก์ รชมุ ชน 100.0 2.5 22.9 10.1 2.7 19.1 42.7 3.7 ความเช่อื มน่ั ต่อการทำงานขององค์กรอสิ ระ แผนภูมิ 3.3 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ความเชือ่ มั่น ต่อการทำงานขององค์กรอสิ ระ 31 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 จากผลการสำรวจ พบว่า องค์กรอิสระที่ประชาชนเชื่อมั่น (ค่อนข้างเชื่อม่ันถึงเช่ือม่ัน มาก) ต่อการทำงานมากที่สุด คือ ศาลยุติธรรม รองลงมา ได้แก่ ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการการเลือกต้ัง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สำหรับสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อการทำงานอยู่ใน สัดส่วนนอ้ ยที่สดุ เมอ่ื เปรียบเทียบกับองค์กรอสิ ระอน่ื ๆ 3.8 ความพึงพอใจตอ่ บรกิ ารสาธารณะทร่ี ฐั และทอ้ งถ่ินจัดให้ประชาชน แผนภูมิ 3.4 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจตอ่ การบริการสาธารณะ ทรี่ ัฐและท้องถิ่นจดั ให้ 5 อนั ดับแรก ทีพ่ งึ พอใจ เมื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนโดยรวมเกี่ยวกับความพึงพอใจ (ค่อนข้าง พอใจถงึ พอใจมาก) ตอ่ บรกิ ารสาธารณะทรี่ ฐั และทอ้ งถนิ่ จดั ให้ พบวา่ สว่ นใหญพ่ งึ พอใจตอ่ โรงเรยี น (ร้อยละ 87.0) มากท่ีสุด รองลงมา ได้แก่ ไฟฟ้า (ร้อยละ 85.5) ศูนย์เด็กเล็ก (ร้อยละ 81.9) สาธารณสุขและศูนย์อนามัย (ร้อยละ 81.8) ถนน (ร้อยละ 75.8) น้ำประปา (ร้อยละ 74.5) โทรศัพท์ (ร้อยละ 70.8) การดูแลคนชรา (ร้อยละ 69.8) การดูแลคนพิการ (ร้อยละ 66.5) การรักษาความปลอดภัยแก่ประชาชน (ร้อยละ 65.4) การศึกษาผู้ใหญ่ (ร้อยละ 62.9) และการ จัดเก็บขยะมูลฝอย (ร้อยละ 61.6) ส่วนการจัดการจราจรมีความพึงพอใจ (ร้อยละ 56.5) สิ่งแวดล้อมในชุมชน (ป่า/น้ำ) (รอ้ ยละ 54.6) ระบบขนส่งมวลชน (รถประจำทาง) (รอ้ ยละ 54.1) การจดั การนำ้ เสยี /ส่งิ โสโครก 32 สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 (ร้อยละ 51.5) การฝึกอาชีพ (ร้อยละ 47.4) ในขณะท่ีความพึงพอใจต่ออินเทอร์เน็ตชุมชนอยู่ใน สัดสว่ นน้อยสดุ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับการใหบ้ ริการสาธารณะประเภทอ่นื ๆ (ร้อยละ 28.8) ตาราง 10 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความพึงพอใจต่อบริการสาธารณะท่ีรัฐ/ ทอ้ งถิน่ จัดให้ ระดับความพึงพอใจ บรกิ ารสาธารณะทรี่ ัฐ/ทอ้ งถ่นิ จัดให้ รวม พมอาใกจ คพอ่ นอขใจา้ ง ไพมอ่คใอ่ จย พเไลอมยใ ่จ คไเวหมาน็ม่ ม ี บยังรนไิกม้ี า่มรี โรงเรียน 100.0 21.7 65.3 6.4 1.1 3.5 2.0 ไฟฟ้า 100.0 19.9 65.6 10.5 2.4 1.4 0.2 ศนู ยเ์ ดก็ เล็ก 100.0 18.5 63.4 6.9 1.1 5.5 4.6 สาธารณสขุ และศนู ย์อนามัย 100.0 17.1 64.7 10.0 1.8 4.4 2.0 ถนน 100.0 17.1 58.7 16.9 5.7 1.5 0.1 นำ้ ประปา 100.0 14.2 60.3 16.6 4.5 1.7 2.7 โทรศัพท ์ 100.0 13.2 57.6 13.8 4.4 5.4 5.6 ดูแลคนชรา 100.0 12.7 57.1 13.0 3.2 6.3 7.7 การดูแลคนพิการ 100.0 11.9 54.6 14.4 3.5 7.3 8.3 การศกึ ษาผใู้ หญ ่ 100.0 10.2 52.7 11.4 2.7 12.3 10.7 การรักษาความปลอดภยั แก ่ 100.0 8.7 56.7 16.9 5.0 6.7 6.0 ประชาชน การจดั เกบ็ ขยะมูลฝอย 100.0 8.2 53.4 17.9 5.1 5.0 10.4 การฝกึ อาชพี 100.0 7.2 40.2 12.9 3.3 13.8 22.6 จัดการจราจร 100.0 7.1 49.4 16.4 5.0 9.3 12.8 ระบบขนส่งมวลชน (รถประจำทาง) 100.0 7.1 47.0 18.3 5.7 8.9 13.0 สิ่งแวดลอ้ มในชมุ ชน (ปา่ /น้ำ) 100.0 6.9 47.7 17.8 5.6 8.3 13.7 การจดั การน้ำเสีย/สิ่งโสโครก 100.0 6.1 45.4 17.9 5.5 7.6 17.5 อนิ เทอรเ์ น็ตชมุ ชน 100.0 4.8 24.0 8.8 3.6 17.0 41.8 33 ข้อมูลระดับภาค และทั่วราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 3.9 การใช้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการมีส่วนร่วมกับ หน่วยงาน เมอ่ื สอบถามประชาชนเกย่ี วกบั การเคยตดิ ตอ่ /ใชบ้ รกิ ารกบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พบว่า ประชาชนประมาณ รอ้ ยละ 45.2 เปน็ ผทู้ ีเ่ คยตดิ ตอ่ /ใช้บริการองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และร้อยละ 54.8 เป็นผู้ท่ีไม่เคยติดต่อ/ใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำหรับความ พึงพอใจของผู้เคยติดต่อ/ใช้บริการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีผู้ตอบว่ามีความพึงพอใจ (ค่อนข้างพอใจถึงพอใจมาก) จากบริการท่ีได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร้อยละ 89.6 และไม่พอใจ (ไม่ค่อยพอใจถึงไม่พอใจเลย) จากบริการท่ีได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ร้อยละ 9.0 และไม่มคี วามเหน็ ร้อยละ 1.4 นอกจากน้ีในการสอบถามประชาชนเก่ียวกับการเคยเข้าไปมีส่วนร่วมกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า ประชาชนประมาณ ร้อยละ 69.1 ระบุว่าไม่เคย ส่วนผู้ที่ระบุว่าเคย มีร้อยละ 30.9 โดยผู้ที่เคยระบุว่าได้เข้าร่วมทำกิจกรรมด้านประชุมหมู่บ้าน ร้อยละ 95.0 วางแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น ร้อยละ 17.6 อกี ร้อยละ 0.6 เคยร่วมกจิ กรรมอ่นื ตาราง 11 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการเคยใช้บริการขององค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ หรือมีสว่ นร่วมกบั หนว่ ยงาน ในรอบ 1 ปี ทผ่ี ่านมา การเคยใช้บริการหรอื มสี ่วนรว่ มกับหนว่ ยงาน รอ้ ยละ การเคยใช้บริการขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ 100.0 C ไมเ่ คย 54.8 C เคย 45.2 ระดับความพึงพอใจ 100.0 C พอใจมาก 17.0 C ค่อนข้างพอใจ 72.6 C ไม่คอ่ ยพอใจ 7.5 C ไมพ่ อใจเลย 1.5 C ไมม่ คี วามเห็น 1.4 100.0 การเข้าร่วมกบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน 69.1 C ไมเ่ คย 31.9 C เคย 34 สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 การเคยใช้บริการหรอื มีส่วนรว่ มกับหน่วยงาน ร้อยละ กจิ กรรมทีเ่ ข้าร่วม1/ C วางแผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ 17.6 C การประชมุ หมบู่ า้ น 95.0 C อืน่ ๆ 0.6 หมายเหตุ : 1/ ตอบไดม้ ากกว่า 1 คำตอบ 3.10 ความคดิ เหน็ และประสบการณ์เก่ยี วกบั การคอรปั ชัน่ เมื่อสอบถามความคิดเห็นของประชาชนต่อคำกล่าวท่ีว่า “บางคร้ังการคอรัปชั่น ในรฐั บาลกม็ คี วามจำเปน็ เพอ่ื ใหง้ านสำเรจ็ ลลุ ว่ งไปได”้ นนั้ พบวา่ ผทู้ ไี่ มเ่ หน็ ดว้ ย รอ้ ยละ 64.5 (โดยระบุว่าไม่เห็นด้วยเลย ร้อยละ 45.6 และไม่ค่อยเห็นด้วย ร้อยละ 18.9) ส่วนผู้ท่ีเห็นด้วย ร้อยละ 14.0 (โดยระบุว่าค่อนข้างเห็นด้วย ร้อยละ 12.0 และเห็นด้วยมากท่ีสุด มีเพียงร้อยละ 2.0) อกี ร้อยละ 21.5 ไมม่ คี วามเห็นในเรื่องน้ี ตาราง 12 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นทีม่ ีต่อคำกล่าว “บางครัง้ การคอรัปชนั่ ในรัฐบาลก็มีความจำเปน็ เพ่อื ให้งานเสรจ็ ลลุ ่วงไปได”้ ความคิดเหน็ เก่ยี วกับการคอรัปชั่นในรัฐบาล ร้อยละ บางคร้ังการคอรัปชัน่ ในรฐั บาลกม็ ีความจำเปน็ เพือ่ ให้งานสำเร็จลุล่วงไปได ้ 100.0 Ö เห็นด้วยมากทส่ี ุด 2.0 Ö คอ่ นข้างเหน็ ด้วย 12.0 Ö ไมค่ ่อยเห็นดว้ ย 18.9 Ö ไมเ่ หน็ ดว้ ยเลย 45.6 Ö ไม่มีความเห็น 21.5 ส่วนความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกับการคอรัปชั่นและการรับสินบนในการ ปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า ประชาชนมากกว่าครึ่งหนึ่ง หรือร้อยละ 61.3 ระบุว่ามีการ คอรัปช่ันและรับสินบนในการปกครองส่วนท้องถ่ิน (โดยผู้ที่เห็นว่าเจ้าหน้าท่ีบางคนคอรัปช่ัน ร้อยละ 45.1 เจ้าหน้าท่ีส่วนใหญ่คอรัปช่ัน ร้อยละ 11.3 และเจ้าหน้าท่ีคอรัปช่ันเกือบทุกคน คอรัปชั่น ร้อยละ 4.9) และผู้ท่ีระบุว่าแทบจะไม่มีใครเกี่ยวข้องกับการคอรัปชั่น ร้อยละ 10.9 และไมม่ ีความเห็น ร้อยละ 27.8 35 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 ตาราง 13 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกับการคอรปั ช่นั ในการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั การคอรปั ช่นั ในการปกครองส่วนท้องถนิ่ ร้อยละ การคอรปั ช่ันและการรับสินบนในการปกครองสว่ นท้องถน่ิ 100.0 Ö แทบจะไม่มีใครเกยี่ วขอ้ ง 10.9 Ö เจ้าหนา้ ท่บี างคนคอรปั ชน่ั 45.1 Ö เจ้าหน้าทสี่ ว่ นใหญค่ อรปั ช่ัน 11.3 Ö คอรัปช่ันเกอื บทกุ คน/ทุกคน 4.9 Ö ไมม่ ีความเหน็ 27.8 สำหรับความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการคอรัปชั่นและการรับสินบนในการ ปกครองระดับประเทศ พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 69.8 ระบุว่ามีการคอรัปชั่นและ การรับสินบนในการปกครองระดับประเทศ (โดยผู้ท่ีเห็นว่าเจ้าหน้าที่บางคนคอรัปชั่น ร้อยละ 44.4 เจ้าหน้าท่ีส่วนใหญ่คอรัปช่ัน ร้อยละ 17.9 เจ้าหน้าที่คอรัปชั่นเกือบทุกคน ร้อยละ 7.5) ส่วนผู้ท่ีระบุว่าแทบจะไม่มีใครเกี่ยวข้องกับการคอรัปชั่น ร้อยละ 4.6 และอีกร้อยละ 25.6 ไม่มี ความเหน็ ตาราง 14 รอ้ ยละของประชาชน จำแนกตามความคดิ เห็นเกย่ี วกบั การคอรัปชัน่ ในการปกครองระดับประเทศ ความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั การคอรัปชั่นในการปกครองระดับประเทศ ร้อยละ การคอรปั ช่ันและการรับสนิ บนในการปกครองระดบั ประเทศ 100.0 Ö แทบจะไมม่ ใี ครเกี่ยวข้อง 4.6 Ö เจา้ หน้าทบ่ี างคนคอรปั ช่ัน 44.4 Ö เจา้ หน้าที่สว่ นใหญ่คอรัปชน่ั 17.9 Ö คอรัปชั่นเกอื บทุกคน/ทกุ คน 7.5 Ö ไมม่ คี วามเหน็ 25.6 เมื่อสอบถามประชาชนถึงการเคยพบเห็นการคอรัปช่ัน/การรับสินบนของเจ้าหน้าท่ี ของรัฐ พบว่า ประชาชนโดยรวมประมาณ ร้อยละ 37.4 ระบุว่าเคย โดยทราบเร่ืองดังกล่าวนี้ จากโทรทัศน์มากท่ีสุด (ร้อยละ 72.1) รองลงมา คือ รับฟังจากคนอื่น (ร้อยละ 51.0) สมาชิกใน 36 สถาบันพระปกเกล้า
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่ อ ก า ร บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ต่ าง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ล ะ ส รุ ป ผ ล ก า ร ส ำ ร ว จ พ . ศ . 2 5 4 6 - 2 5 5 5 ครอบครัวหรือเพื่อนเคยพบเห็นเล่าให้ฟัง (ร้อยละ 22.7) หนังสือพิมพ์ (ร้อยละ 16.9) พบเห็น ด้วยตนเอง (ร้อยละ 14.3) และวิทยุ (ร้อยละ 3.7) และทราบจากนิตยสาร/วารสารอยู่ในสัดส่วน ที่นอ้ ยสุด (ร้อยละ 0.7) สว่ นผ้ทู ร่ี ะบวุ า่ ไม่เคยพบเหน็ เก่ยี วกับการคอรปั ช่นั รอ้ ยละ 62.6 ตาราง 15 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการพบการคอรัปชั่น/การรับสินบนของ เจ้าหน้าทข่ี องรฐั การพบเห็นเก่ยี วกับการคอรัปชั่น รอ้ ยละ การเคยพบเห็นเกย่ี วกับการคอรปั ชัน่ 100.0 Ö ไม่เคย 62.6 Ö เคย 37.4 จากแหล่ง 1/ æ โทรทศั น ์ ó เคยได้ฟงั จากคนอืน่ 72.1 H สมาชิกในครอบครัวหรอื เพอื่ นทเ่ี คยพบเห็นเลา่ ใหฟ้ ัง 51.0 ™ หนังสอื พิมพ์ 22.7 † พบเหน็ ด้วยตัวเอง 16.9 ∫ วทิ ยุ 14.3 ® นิตยสาร/วารสาร 3.7 ˛ อ่นื ๆ 0.7 0.2 หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ 3.11 การร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการของหน่วยงานราชการ /องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น จากการสอบถามประชาชนเก่ียวกับการเคยร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการของ หนว่ ยราชการในรอบปที ผี่ ่านมา พบว่า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 97.5 ระบวุ า่ ไม่เคย สว่ นอกี ร้อยละ 2.5 ระบุว่าเคย ซ่ึงผู้ท่ีเคยร้องเรียนระบุว่าร้องเรียนด้วยวิธีบอกเล่าด้วยวาจามากท่ีสุด ร้อยละ 46.5 โดยผู้ท่ีเคยร้องเรียน ร้อยละ 91.8 ได้ร้องเรียนไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง สำหรับผู้เคย ร้องเรียนการให้บริการได้รับการตอบรบั รอ้ ยละ 60.7 และไม่ไดร้ บั การตอบรับ รอ้ ยละ 39.3 37 ข้อมูลระดับภาค และท่ัวราชอาณาจักร
รายง านผล การส ำรวจความคิดเห็นของประชาชนเก่ียวกั บ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ต่อการบริการส าธารณะ และการทำงานของหน่วยงานต่ า ง ๆ พ . ศ . 2 5 5 5 แ ละสรุปผล การส ำรวจ พ.ศ. 2546 - 2555 ตาราง 16 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามการร้องเรียนการให้บริการของหน่วยงาน ราชการ การรอ้ งเรียนเก่ียวกบั การบรกิ ารของหนว่ ยงานราชการ ร้อยละ รอ้ งเรียนการใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงานราชการ 100.0 Ö ไมเ่ คย 97.5 Ö เคย 2.5 รอ้ งเรียนด้วยวธิ ี 100.0 ñ บอกเลา่ ดว้ ยวาจา 46.5 ≈ โทรศพั ท ์ 20.9 õ จดหมาย 16.1 æ โทรทศั น์ 6.5 ™ หนงั สือพมิ พ ์ 5.9 ∫ วทิ ยุ 2.1 ˛ อนื่ ๆ 2.0 ร้องเรียนไปยงั Ö หน่วยงานนัน้ ๆ โดยตรง Ö สมาชิกรัฐสภา (ส.ส./ ส.ว.) 91.8 Ö นายกรฐั มนตร ี 8.4 Ö อ่นื ๆ 3.9 3.0 การได้รับการตอบรับการร้องเรียน 100.0 Ö ได้รับ 60.7 Ö ไมไ่ ด้รบั 39.3 หมายเหตุ : 1/ ตอบไดม้ ากกว่า 1 คำตอบ ส่วนการร้องเรียนการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในรอบปีท่ีผ่านมา พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 97.9 ระบุว่าไม่เคยร้องเรียน มีเพียงร้อยละ 2.1 ท่ีระบุว่าเคย โดยร้องเรียนด้วยวิธีบอกเล่าด้วยวาจามากท่ีสุด ร้อยละ 55.0 และร้องเรียนไปยังหน่วยงานน้ัน โดยตรง ถึงร้อยละ 90.4 สำหรับผู้เคยร้องเรียนการให้บริการได้รับการตอบรับ ร้อยละ 60.4 และไม่ไดร้ ับการตอบรับ รอ้ ยละ 39.6 38 สถาบันพระปกเกล้า
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252