1
2
3
สารบัญ หน้า คานิยม คานา สารบญั ส่วนท่ี 1 5 – 31 ความเป็นมา หลกั การ และสถานการณ์ทเี่ ก่ียวข้องของการจดั ทายทุ ธศาสตร์ การดาเนนิ งานกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิต ส่วนที่ 2 32 – 49 การวเิ คราะห์การดาเนินงานกลมุ่ ออมทรพั ย์เพือ่ การผลติ ส่วนที่ 3 50 – 53 การจดั ทาแผนยุทธศาสตรก์ ลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลิต ส่วนท่ี 4 54 – 78 แผนงาน/โครงการการดาเนินงานกลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ส่วนท่ี 5 79 - 84 ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ บรรณานุกรม 85 - 86 ภาคผนวก 87 - ระเบียบกรมการพฒั นาชุมชนว่าด้วยการส่งเสรมิ การดาเนนิ งาน 88 - 93 กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ พ.ศ. 2555 - สาเนาหนังสือกรมการพฒั นาชุมชน ท่ี มท 0407.4/ ว 1896 ลงวนั ที่ 21 ธนั วาคม 2552 94 เรอ่ ื ง กรมสอบสวนคดีพเิ ศษขอความเห็นขอ้ กฎหมาย กรณีกลุ่มออมเงนิ สัจจะสะสมทรพั ย์ - สาเนาหนังสือธนาคารแห่งประเทศไทย ท่ี ธปท.ฝตฉ.(๗๑)2439/2552 ลงวนั ที่ 2 ธนั วาคม 2552 95 - 96 เรอ่ ื ง การขอความเห็นขอ้ กฎหมาย กรณีกลมุ่ ออมเงนิ สัจจะสะสมทรพั ย์ - สาเนาบันทกึ ชว่ ยจา กรมการพัฒนาชุมชนและธนาคารแห่งประเทศไทย 97 - 100 ลงวันท่ี 19 ธนั วาคม 2531 - คาส่ังแต่งต้ังคณะทางานเพอ่ื จดั ทายทุ ธศาสตรก์ ารดาเนินงาน 101 – 102 กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิต
33 ส่วนท่ี 1 ความเป็นมา หลักการ และสถานการณ์ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ของการจดั ทายุทธศาสตรก์ ารดาเนินงาน กลุม่ ออมทรพั ย์เพอื่ การผลิต 5
7 ส่วนที่ 1 ความเปน็ มา หลกั การ และสถานการณ์ทเี่ ก่ียวข้อง ของการจดั ทายุทธศาสตรก์ ารดาเนินงานกลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่อื การผลติ 1. ความเปน็ มา และสถานการณ์ทเี่ ก่ียวขอ้ ง 1.1 การส่งเสรมิ และสนับสนนุ ของกรมการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เร่มิ ต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2517 โดยการนาของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ยุวัฒน์ วุฒิเมธี อดีตอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน โดยเป็น การผสมผสานระหว่างแนวคิดของสหกรณ์การเกษตรเครดิตยูเนี่ยน และสินเชอื่ เพื่อการเกษตร ดาเนินการ ภายใต้หลักการ “ใช้เงนิ เป็นเครอ่ ื งมือในการพัฒนาคน” โดยได้เรม่ ิ ทดลองดาเนินการครง้ั แรก เมื่อวันท่ี 6 มนี าคม 2517 จานวน 2 แห่ง ได้แก่ บา้ นในเมือง หมทู่ ี่ 3 ตาบลละงู อาเภอละงู จงั หวัดสตูล และบา้ นขวั มงุ หมู่ท่ี 6 ตาบลขัวมุง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ และในโอกาสต่อมา กรมการพัฒนาชุมชน จึงกาหนด ให้วันที่ 6 มนี าคม ของทุกปี เป็นวันคลา้ ยวนั ก่อตั้งกลุม่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลติ นับต้ังแต่ปี 2517 เป็นต้นมา ท่ีมกี ารดาเนินงานกลมุ่ ออมทรพั ย์เพือ่ การผลติ โดยกรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมารวมตัวกันออมเงนิ ตามศักยภาพของตนเอง เป็นการสร้างหลักประกัน สรา้ งภูมคิ ้มุ กันให้แก่สมาชกิ ในครวั เรอื นและชว่ ยเหลอื คนในชุมชน ซงึ่ สอดคลอ้ งกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน และการมีความรู้ควบคู่คุณธรรม โดยยึดหลักคุณธรรม 5 ประการ ได้แก่ ความซอื่ สัตย์ ความเสียสละ ความรบั ผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจกัน และความไว้วางใจ ซึ่งเป็นการใช้เงนิ เป็นเครอ่ ื งมือในการพัฒนาคน ให้มีการเรยี นรูก้ ารทางานรว่ มกัน ในรูปแบบของ “กระบวนการกลุม่ ” และใช้ “เงนิ สัจจะ” เปน็ เครอ่ ื งมอื ในการสรา้ งวนิ ัยการออมของคนในชุมชน ในปี พ.ศ. 2555 กรมการพัฒนาชุมชนได้กาหนดระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการส่งเสรมิ การดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต พ.ศ.2555 เพ่ือให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนและกลุ่มออมทรพั ย์ เพ่ือการผลิตใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อเป็นการส่งเสรมิ และพัฒนากลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต กรมการพัฒนาชุมชนมีแนวทางให้เจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชนทั้งระดับจังหวัดและอาเภอ ได้ดาเนินการประเมินศักยภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ตามหลักธรรมาภิบาล โดยใชเ้ ครอ่ ื งมือในการประเมิน คือแบบประเมินศักยภาพกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ตามหลักธรรมาภิบาล ซึง่ เป็นการประเมินเพ่ือจดั ระดับการพัฒนาของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต เม่ือได้ผล การจัดระดับการพัฒนาของกลุ่มแล้ว จึงติดตาม ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้กลุ่มจัดทาแผนการพัฒนา และดาเนินงานตามแผนการพฒั นา เพือ่ ให้กลุ่มเกิดผลการพัฒนา และมคี วามเข้มแขง็ ย่งิ ขึ้น จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ส่งผลกระทบ ต่อประเทศไทยอย่างกว้างขวางและรุนแรง ท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนคนไทยต้องปรบั รูปแบบ การดาเนินชีวติ ให้สอดคล้องกับรูปแบบวถิ ีชีวติ ใหม่ และวถิ ีต่อไป (New Normal and Next Normal) ดังนั้น เพ่ือให้สอดคล้องสถานการณ์ที่อาจส่งผลต่อการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชน และ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย ตามวสิ ัยทัศน์กรมการพัฒนาชุมชน “เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี 2565” โ ด ย ไ ด้ มุ่ ง ขั บ เ ค ลื่ อ น ไ ป สู่ ก า ร ป ฏิ บั ติ ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ป ร ะ ช า ช น ซ่ึง ส า ม า ร ถ ใ ช้เ ป็ น ทิ ศ ท า ง การปฏิบัติงาน และเป็นไปได้ในการปฏิบัติ สอดคล้องกับทิศทางของยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 13 โดยให้การดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์ 6
8 เพื่อการผลิตเป็นกลไกสาคัญในการบรหิ ารจัดการชุมชน และการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก ตามภารกิจ ของกรมการพัฒนาชุมชน และเป็นการน้อมนาศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน ที่มีแนวปฏิบัติ ที่คานึงถึงบรบิ ททางภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และสังคมของแต่ละพื้นที่ เป็นการพัฒนาแบบองค์รวม และ ให้ความสาคัญกับความรสู้ ึกเป็นเจา้ ของของคนในชุมชน มาเป็นแนวทางในการดาเนนิ งานของกลุ่มออมทรพั ย์ เพื่อการผลิต ท่ีเป็นการส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูข้ องประชาชน และสรา้ งการมีส่วนรว่ มของประชาชน ด้วยการให้ประชาชนได้บรหิ ารจัดการชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งทาให้ประชาชนได้ประโยชน์จากการพัฒนา อย่างแทจ้ รงิ ก่อให้เกิดความอยดู่ ี กินดี และชุมชนมคี วามเข้มแข็งท้ังด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านวัฒนธรรม และด้านทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมอยา่ งย่งั ยนื 1.2 สถานการณ์ความยากจนของคนในชุมชน สาเหตุของปญั หาความยากจนท่พี บเห็นโดยท่วั ไปในสังคมไทย จะมี 4 สาเหตุหลักที่มคี วามเชอื่ มโยงกัน เรยี กว่า “วงจรแห่งความยากจน” ได้แก่ ผลผลิตต่า รายได้นอ้ ย การออมน้อย และเงนิ ทนุ นอ้ ย กล่าวคือเม่ือมี ผลผลิตต่า จะส่งผลให้ครอบครวั มีรายได้น้อย และความเป็นอยกู่ ็จะเป็นไปด้วยความยากลาบากขดั สน จงึ ทา ให้เกิดการออมน้อยตามมา การประกอบอาชพี ก็จะขาดแคลนเงนิ ลงทุน หรอื มีเงนิ ทุนน้อย เมื่อไม่มีเงนิ ลงทุน ก็ทาให้ผลผลิตที่ได้ก็ไม่เต็มที่ไปด้วย การท่ีจะทาให้ประชาชนหลุดพ้นจากวงจรแห่งความยากจน อยู่ท่ีการทาให้สาเหตุใดสาเหตุหน่ึง เพิ่มข้ึน การแก้ไขมูลเหตุด้านทุนด้วยการเพ่ิมเงนิ ออม จะทาให้มีเงนิ ทุนเพ่ิมขึ้น จึงเป็นวธิ ีท่ีดีท่ีสุด เพราะจะทาให้แก้ไขมูลเหตุด้านอื่น ๆ ตามไปด้วย และประชาชนสามารถแก้ไขสาเหตุน้ีได้ด้วยตนเอง เพราะถ้ามที ุนในการประกอบอาชพี เพม่ิ ข้นึ ยอ่ มส่งผลให้ผลผลิตเพ่มิ ข้ึน รายได้ยอ่ มเพิ่มตามมา การดารงชวี ติ ดีขน้ึ ก็จะทาให้มีเงนิ เก็บออมเพมิ่ ขึ้นนั่นเอง การดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต นอกจากเป็นการส่งเสรมิ ให้คนในชุมชนได้ออมเงนิ ตามศักยภาพของตนเองและครอบครวั ของตนแล้ว ยังเป็นการสรา้ งโอกาสและสรา้ งการมีส่วนรว่ มให้ชุมชน ได้ดูแลกลุม่ เปราะบางด้านแหล่งเงนิ ทุน ท้ังกลุ่มแรงงานนอกระบบ ผู้มีรายได้ไม่แน่นอน รวมท้ังผ้ดู ้อยโอกาส หรอื คนทั่วไป เป็นการช่วยเหลือกันและกันของสมาชิก มุ่งไปสู่การจัดสวัสดิการชุมชนให้แก่สมาชิกและ คนในชุมชน เป็นการเรยี นรูใ้ นการบรหิ ารจดั การชุมชนของตนเอง และส่งเสรมิ การพ่ึงตนเองของชุมชน ด้วยการดูแลกัน ของชุมชน ลดการพ่งึ พาภายนอก และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชุมชน แก้ไขปญั หาความยากจน ลดความเหล่ือมล้า ด้วยการดาเนินกิจกรรมพ้ืนฐานของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ได้แก่ การออม และการกู้เงนิ รวมท้ัง การดาเนินงานกิจกรรมเครอื ข่ายของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ ศูนย์สาธติ การตลาด ยุ้งฉาง ธนาคารขา้ ว ลานตากผลผลติ โรงน้าดื่มชุมชน เป็นต้น ซง่ึ มกี ลุม่ ออมทรพั ย์เพ่อื การผลิตท่มี กี ารบรหิ าร จดั การทเ่ี ขม้ แข็ง และมปี ระสิทธภิ าพ สามารถเปน็ แหล่งเรยี นรไู้ ด้ เชน่ กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลติ บา้ นดอนคา หมู่ท่ี 2 ตาบลทอนหงส์ อาเภอพรหมคีร ี จังหวัดนครศรธี รรมราช, กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตบ้านสระยายชี หมู่ที่ 5,6 ตาบลเนินปอ อาเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร, กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านป่าแดง หมู่ที่ 1 ตาบลห้างสูง อาเภอหนองใหญ่ จงั หวัดชลบุร,ี กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตบ้านชากไทย หมู่ที่ 4 ตาบลชากไทย อาเภอเขาคิชฌกูฏ จงั หวดั จนั ทบุร ีเป็นต้น 1.3 สถานการณ์ของทุนชุมชน ทุนชุมชน หมายถึง สินทรัพย์หรอื ทรัพยากร ทั้งท่ีเกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ท่ีก่อให้เกิดผลผลิตในการดารงชวี ติ ของคนและชุมชน สอดคล้องกับงานวจิ ยั ของพรง้ ิ ขจร ธรี ะเสนา (2559 : 6-7) ได้ให้ความหมายของทุนชุมชนว่า หมายถึง ทุกส่ิงท่ีมีอยู่ในชุมชน เป็นสิ่งท่ีมีมูลค่า หรอื มีคุณค่าท่ีไม่ใช่ เงนิ เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ซ่ึงมีความสาคัญและเก่ียวเนื่องกับคนในชุมชน เช่น ทรพั ยากรท่ีอยู่ในชุมชน 7
9 ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน วถิ ีชีวติ วัฒนธรรม ประเพณี เป็นต้ น โดยจาแนกทุนชุมชนได้ 5 ประเภท ประกอบด้วย ๑ ทุนมนุษย์ (Human Capital) หมายถึง ความรูค้ วามชานาญด้านต่าง ๆ ของคนทุกเพศทุกวัยในชุมชน ได้แก่ ความรู้ ด้านสุขภาพอนามัย ด้านการศึกษา ด้านภูมิปัญญา เชน่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นาชุมชน ท้ังที่เป็นทางการและ ไม่เปน็ ทางการ ครู พระสงฆ์ กลุ่มองค์กรต่าง ๆ เด็ก สตร ีเยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส คนพกิ าร เด็กกาพรา้ เปน็ ต้น รวมถึงผูม้ ีฐานะทางเศรษฐกิจทง้ั ยากจนและรา่ รวย ๒ ทนุ ทางสังคม (Social Capital) หมายถึง ทรพั ยากรทางสังคมท่ีประชาชนใชเ้ พ่ือการดารงชพี รวมท้ังความไว้เนื้อเชอ่ื ใจ การยอมรับซึ่งกันและกันของคนในชุมชน กลุ่มองค์กร เครอื ข่าย ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม ท่ีมีความสัมพันธต์ ่อกัน ตลอดจนความเชอ่ื ถือศรทั ธาและวัฒนธรรมท่ีสืบทอดมายาวนาน ซงึ่ เป็นทุนท่ีสาคัญ เพราะเป็นกลไกในการขับเคล่อื นการพัฒนาของชุมชน 3 ทนุ กายภาพ (Physical Capital) หมายถึง ส่ิงที่มนุษย์ได้สรา้ งข้ึนเพื่ออานวยความสะดวกต่อการดาเนินชีวติ หรอื เป็น ปัจจยั พื้นฐานในการผลติ ท่ีสนับสนุนการดารงชพี ของประชาชน ได้แก่ การคมนาคมขนส่ง ระบบไฟฟ้า ประปา ระบบพลงั งาน การสื่อสารโทรคมนาคม โบราณวตั ถุ โบราณสถาน หรอื ส่ิงปลูกสรา้ งต่าง ๆ เป็นต้น 4 ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ที่เป็นสิ่งกาหนดศักยภาพในการ ดารงชวี ติ และการประกอบอาชพี ของประชาชนในชุมชน ได้แก่ ป่าไม้ ดิน นา้ ภูเขา ทะเล เกาะ สัตวป์ า่ แรธ่ าตุ พลังงาน นา้ พุ นา้ ตก แหลง่ น้าธรรมชาติ พชื พนั ธธุ์ ญั ญาหาร เป็นต้น ๕ ทุนการเงนิ (Financial Capital) หมายถึง ทรพั ยากรท่ีเป็นเงนิ ทุนต่าง ๆ รวมถึงโอกาสทางการเงนิ ที่ประชาชนใชเ้ พื่อการ ดารงชีพ ได้แก่ ทุนทางการเงนิ ที่มาจากการออม ท่ีเป็นเงนิ สด/เงนิ ฝาก และทุนท่ีมาจากรายได้อ่ืน ได้แก่ เงนิ บานาญ ค่าตอบแทน เงนิ กองทนุ ต่าง ๆ ดังนั้น การส่งเสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ซึ่งเป็นทุนการเงนิ ที่สาคัญในชุมชน ถือได้ว่าเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาคน หรอื ทุนมนุษย์นั่นเอง เพราะหลักการ แนวคิด และวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต มีเป้าหมายอยู่ที่การส่งเสรมิ และพัฒนาคน ใ ห้ มีคุณธรรม 5 ประ ก าร โ ดยใ ช้หลักการออมทรัพย์ หรอื ใช้เงนิ เป็นเคร่อื งมือในการพัฒนาคน ซึ่งเป็นการส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูข้ องประชาชน และสรา้ งการมีส่วนรว่ มของประชาชน โดยการสรา้ ง โอกาสให้ประชาชนได้บรหิ ารจัดการชุมชนด้วยตนเอง นอกจากน้ี ผลกาไรของการดาเนินงานของกลุ่ม ยงั สามารถสนับสนุน ชว่ ยเหลอื การดาเนินการ หรอื พฒั นาทนุ ด้านอ่นื ๆ ของชุมชนได้อกี ด้วย 8
10 1.4 สถานการณ์การออมของครวั เรอื น สานักงานสถิติแห่งชาติ ได้สารวจการติดตามระดับความรูแ้ ละการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการเงนิ ของครวั เรอื น โดยเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม – ธนั วาคม 2563 ซง่ึ สรปุ ผลการสารวจท่สี าคัญ ดังน้ี1 1) การจัดสรรเงนิ ออมของครวั เรอื น เมื่อพิจารณาวธิ ีการจัดสรรเงนิ ออมของครัวเรอื น พบว่ า ครวั เรอื นนาเงนิ ที่ได้รบั ไปจบั จา่ ยใชส้ อยก่อน ถ้ามีเงนิ เหลอื จงึ จะเก็บออมคือรอ้ ยละ 34.0 ในขณะท่ีครวั เรอื น ได้มีการแบ่งส่วนของเงนิ ออมไว้ก่อนท่ีจะนาเงนิ ไปจับจ่ายใช้สอยคือรอ้ ยละ 20.1 กลุ่มที่มีการวางแผน เพ่ือการเก็บออมอย่างจรงิ จงั ค่อนข้างน้อยกว่ากลุ่มอื่น และเป็นที่น่าสังเกตว่าครวั เรอื นที่มีความไม่แน่นอน ในการจัดสรรเงนิ ออมสูงสุดเมื่อเทียบกับครวั เรอื นกลุ่มอ่ืนคือรอ้ ยละ 40.2 อาจเป็นเพราะการหารายได้ ไม่สัมพันธก์ ับค่าใช้จา่ ย เช่น รายได้น้อยแต่การใช้จา่ ยมากกว่า จึงไม่สามารถที่จะคิดนาเงนิ ที่ได้ไปเก็บออม เพอ่ื ใชจ้ า่ ยในอนาคต เผือ่ เวลาฉกุ เฉิน หรอื ใชจ้ า่ ยในยามเกษียณ เป็นต้น 2) วธิ ที ี่ครวั เรอื นเลือกใช้ในการเก็บออม โดยเก็บเป็นเงนิ สดสูงสุดถึงรอ้ ยละ 75.4 รองลงมาคือ เก็บเงนิ ในบัญชที ่ีเปิดไว้เพื่อออมเงนิ โดยเฉพาะรอ้ ยละ 54.5 ฝากเงนิ ในสหกรณ์และกลุ่มออมทรพั ย์ต่าง ๆ รอ้ ยละ 19.3 ให้คนในครอบครวั เก็บแทนรอ้ ยละ 12.0 ลงทุนในผลิตภัณฑ์ทางการเงนิ (เช่น พันธบัตร หุ้น กองทุนรวม) ร้อยละ 3.1 เก็บออมในรูปแบบอ่ืน ๆ (เช่น ซื้อที่ดิน อสังหารมิ ทรพั ย์เพื่อการเก็งกาไร) รอ้ ยละ 2.8 และนาไปลงทุน ในเงนิ ดิจิทัล (เช่น Bitcoin, Ethereum และ Libra) รอ้ ยละ 0.2 และเป็นท่ี นา่ สังเกตว่ายังมคี รวั เรอื นท่ไี มไ่ ด้มกี ารออมอย่างจรงิ จงั อกี รอ้ ยละ 21.0 ซงึ่ ถือเป็นสัดส่วนทีม่ ากพอสมควร จากข้อมูลสถานการณ์การออมในครวั เรอื นและสถานการณ์ของเศรษฐกิจภาคครวั เรอื นข้างต้น ก ร ม ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น ใ น ฐ า น ะ ห น่ ว ย ง า น ห ลั ก ท่ี มี ภ า ร กิ จ ใ น ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ฐ า น ร า ก ข อ ง ป ร ะ ช า ช น จึงได้ส่งเสรมิ และพัฒนากลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ให้เป็นองค์กรการเงนิ ในชุมชนที่สามารถสรา้ งวนิ ัย การออมให้เกิดขึ้นกับคนในชุมชน เพ่ือสรา้ งความอยู่ดี กินดี และมีหลักประกันความมัน่ คงให้ครอบครวั ของสมาชกิ และชุมชนนั่นเอง 1.5 การส่งเสรมิ วนิ ัยในการจดั การทางการเงนิ ของครวั เรอื น ส ถ า น ก า ร ณ์ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ไ ท ย ไ ด้ เ ผ ชิญ ค ว า ม ท้ า ท า ย จ า ก ท้ั ง ปั จ จั ย ภ า ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก ป ร ะ เ ท ศ มาโดยตลอด ซึ่งส่วนหน่ึงของสาเหตุแห่งความท้าทายดังกล่าวเกิดจากความเปราะบางด้านการเศรษฐกิจ ระดับฐานรากของภาคครวั เรอื น สภาพสังคมที่เข้าสู่สังคมสูงวัย และปัญหาความเหลื่อมล้า ปัจจุบันพบว่า ประชาชนยังขาดทักษะทางการเงนิ (Financial Literacy) สะท้อนได้จากหนี้ครัวเรอื นท่ีอยู่ในระดับสูง และพฤติกรรมการเป็นหน้ีของคนไทยท่ีเป็นหน้ีเรว็ ข้ึนต้ังแต่อายุยังน้อย และมีแนวโน้มท่ีจะไม่สามารถชาระ หนี้ได้ตรงเวลา ซ่ึงอาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในระยะยาว ประกอบกับประเทศไทย กาลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ส่งผลให้ภาครฐั และคนไทยในวัยทางานมีภาระในการเล้ียงดู ผู้สูงอายุมากข้ึน ดังนั้น ผู้สูงอายุและผู้ที่กาลังจะก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุจึงจาเป็นต้องวางแผนทางการเงนิ เพื่อรองรบั ชีวติ หลังเกษียณให้สามารถดูแลตนเองได้และไม่ก่อให้เกิดปัญหาในเชิงสังคมระดับประเทศ จากการทร่ี ฐั ต้องรบั ภาระในการดูแล อกี ท้ังความเหล่ือมล้า อันเกิดจากศักยภาพในการรบั มือกับความผันผวน ทางเศรษฐกิจของประชาชนในระดับฐานรากท่ีค่อนข้างต่า อันเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจ ของประเทศมีความเปราะบาง ยากต่อการยกระดับขยายตัวได้อย่างท่วั ถึงและย่งั ยนื 2 หน่วยงานภาครฐั ผู้กากับและดูแลเรอ่ ื งการเงนิ และการคลัง อย่างธนาคารแห่งประเทศไทยและ กระทรวงการคลัง ตระหนักถึงความสาคัญของการส่งเสรมิ ให้ประชาชนมภี ูมิค้มุ กันทางการเงนิ ซง่ึ เป็นพน้ื ฐาน สาคัญในการลดความรนุ แรงของปัญหาดังกล่าวขา้ งต้น จงึ ได้ทาการสารวจระดับทกั ษะทางการเงนิ ของคนไทย 1 สานักงานสถติ ิแห่งชาติ, “การออมของครวั เรอื นไทย ไตรมาสที่ 4 ปี 2563.” 2 ธนาคารแห่งประเทศไทย 9
11 ซ่ึงจากข้อมูลการสารวจของ OECD3 และธนาคารแห่งประเทศไทย เรอ่ ื ง ทักษะทางการเงนิ ในปี 2559 ได้สรุปจุดอ่อนทกั ษะทางการเงนิ ของคนไทยในมิติต่าง ๆ ไว้ ดังน้ี 1. มิติองค์ประกอบของทกั ษะทางการเงนิ ”. ด้านความรูท้ างการเงนิ พบว่า จุดอ่อนของคนไทยท่ียังคงพบต่อเนื่อง คือความเข้าใจ เร่อื งการคานวณเงนิ ต้นและดอกเบี้ยเงนิ ฝาก เช่น มูลค่าเงนิ ตามกาลเวลา ดอกเบี้ยเงนิ ฝากทบต้น และการกระจายความเสี่ยงในการลงทุน เป็นต้น และหัวข้อท่ีเป็นจุดอ่อนท่ีสุดของคนไทย คือ นิยามเงนิ เฟ้อ คนไทยหลายกลุ่มไม่เข้าใจเรอ่ ื งภาวะเงนิ เฟ้อ ซ่ึงอาจเป็นหน่ึงปัจจัยที่ส่งผลให้คนไทยวางแผนการเงนิ เพอ่ื ยามเกษียณไมเ่ หมาะสม เน่ืองจากไม่ได้คานงึ ถึงมลู ค่าของเงนิ ทล่ี ดลงไปตามกาลเวลา ด้านพฤติกรรมทางการเงนิ พบว่า แม้ในภาพรวมจะมีคะแนนเฉล่ียเร่อื งทักษะ ทางการเงนิ สูง แต่มีจุดที่ควรพัฒนาต่อไปในด้านการจดั สรรเงนิ ก่อนใชจ้ า่ ย การบรหิ ารจดั การเงนิ เพ่ือมิให้ ประสบปัญหาเงนิ ไม่พอใช้ การศึกษาและเปรยี บเทียบข้อมูลก่อนซ้ือผลิตภัณฑ์ทางการเงนิ และการเลือก วธิ กี ารออมที่เหมาะสม นอกจากนี้ ยังพบว่า พฤติกรรมการออมควรได้รบั การส่งเสรมิ ให้ดีขน้ึ เน่ืองจากพบวา่ กวา่ 1 ใน 3 ของคนไทยไมม่ ีเงนิ ออม โดยผู้ท่ีมเี งนิ ออมส่วนใหญ่มกั ออมเงนิ เผ่อื ฉุกเฉิน/เจบ็ ปว่ ย และเพ่ือใชจ้ า่ ย ยามชราหรอื เกษียณอายุ อย่างไรก็ตาม พบว่า คนไทยกว่า 1 ใน 3 ยังมีจานวนเงนิ ออมเผ่ือฉุกเฉินต่ากว่า ท่ีควรจะเป็น (เพียงพอสาหรบั ค่าใช้จ่าย 3 เดือน) และมีเพียง 14% ท่ีวางแผนเก็บออมเพื่อยามชราและ สามารถทาได้ตามแผนท่ีวางไว้ ด้านทัศนคติทางการเงนิ พบว่าทัศนคติท่ีคนไทยควรได้รับการพัฒนาที่สุด คือ นิยมความสุขในการใชเ้ งนิ มากกว่าการออมเพอื่ อนาคต ๒. มิติชว่ งวัยของประชากรในแต่ละเจนเนอเรชน่ั (Gen) Gen Z (ผู้ท่ีเกิดปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นไป) : มีความรูท้ างการเงนิ พ้ืนฐานยังไม่ดีนัก ไม่เห็นความสาคัญของการต้ังเป้าหมายทางการเงนิ ระยะยาว เน้นเพียงสามารถใช้เงนิ ที่ได้มาให้เพียงพอ ต่อค่าใช้จ่าย รวมท้ังยังไม่เห็นความสาคัญของการเก็บออมและไม่ได้เก็บออมในวธิ ที ่ีเหมาะสม นอกจากนี้ ยังขาดทักษะในการเปรยี บเทียบข้อมูลก่อนซื้อ และไม่ทราบแหล่งข้อมูลท่ีเหมาะสมในการศึกษาหาข้อมูล สาหรบั ด้านทัศนคติ ควรส่งเสรมิ ให้มีทศั นคติทดี่ ีเกี่ยวกับการออม 3 OECD : The Organization for Economic Co-Operation and Development 10
12 Gen Y (ผู้ที่เกิดปี พ.ศ. 2524 – 2543) : มีความรูก้ ารเงนิ พ้ืนฐานที่ค่อนข้างดีแต่ใน ด้านพฤติกรรม พบว่า ส่วนใหญ่ยังไม่มีเป้าหมายทางการเงนิ ในระยะยาว และขาดการบรหิ ารจดั การเงนิ ท่ีดี เชน่ จดั สรรเงนิ ก่อนใช้ ออมเงนิ ในวธิ ที ่ีเหมาะสม หรอื ไม่กู้เงนิ เมอ่ื เงนิ ไมพ่ อใช้ รวมท้ังขาดการไตรต่ รองอย่าง ถี่ถ้วนก่อนซอ้ื สินค้าและมีการใชจ้ า่ ยเกินตัว สาหรบั ด้านทศั นคติ ควรส่งเสรมิ ทศั นคติด้านการออมเชน่ กัน Gen X (ผู้ท่เี กิดปี พ.ศ. 2509 – 2523) : มีความรทู้ างการเงนิ ค่อนขา้ งดีแต่พบวา่ ส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถบรหิ ารจดั การเงนิ ให้รองรบั กับความรบั ผิดชอบทางการเงนิ ท่ีเพ่ิมมากข้ึน ทาให้เกิดปัญหาเงนิ ไม่พอใช้ นอกจากนี้ยังมีวธิ ีการออมท่ีไม่เหมาะสมมากนัก รวมทั้งไม่ทราบแหล่งข้อมูลท่ีควรศึกษาก่อน ตัดสินใจเลอื กผลิตภัณฑ์ ส่วนในด้านทัศนคติ พบว่า มีทัศนคติที่ดีในทกุ ด้าน Gen Baby Boomer ข้ึนไป (ผู้ท่ีเกิดก่อนปี พ.ศ. 2509) : มีความรูท้ างการเงนิ ไม่ดีนัก โดยในด้านพฤติกรรมพบว่ากลุ่มนี้ไม่เห็นความจาเป็นของการต้ังเป้าหมายทางการเงนิ ในระยะยาว และไม่ได้ เลือกออมเงนิ ในวธิ ที ี่เหมาะสม ทั้งยังขาดการเปรยี บเทียบผลิตภัณฑ์ก่อนตัดสินใจเลือกซ้ือ และไม่ทราบ แหล่งข้อมูลท่ีควรศึกษาก่อนการตัดสินใจ สาหรบั ด้านทัศนคติ อาจด้วยอายุท่ีมากขึ้นคนกลุ่มนี้ จึงมุ่งเน้น การดาเนินชวี ติ เพือ่ วนั น้แี ละไมค่ านงึ ถึงอนาคตมากนัก ซึ่ง สอดคล้อง กั บ ข้อมูลบัญ ชีเงนิ ฝากข อง คนไ ทยของธนาคารแ ห่ งประ เทศไทย ( ธ ป ท . ) (ข้อมูล ณ กุมภาพันธ์ ปี 2564)4 ระบุว่ามี “จานวนเงนิ ออมทรพั ย์” ท้ังหมดกว่า 97.12 ล้านบัญชี ซง่ึ ส่วนใหญ่ ประมาณ 85.63 ล้านบัญชี เป็นบัญชีที่มีเงนิ ฝากไม่เกิน 50,000 บาท คิดเป็นรอ้ ยละ 88.17 ของบัญชี ท้ังหมด ซงึ่ บ่งบอกว่าคนไทยเกือบทงั้ ประเทศ มเี งนิ ฝากในบัญชซี ง่ึ สารองไว้เผื่อเหตุฉกุ เฉินในยามภาวะวกิ ฤต เพยี งนอ้ ยนดิ เท่านัน้ จากสถานการณ์การส่งเสรมิ วนิ ัยในการจัดการทางการเงนิ ของครวั เรอื นดังกล่าว ประกอบกับ นโยบายการพัฒนาทักษะทางการเงนิ (Financial Literacy) ของธนาคารแห่งประเทศไทย จะส่งผลให้ กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตมีบทบาทสาคัญในส่งเสรมิ และพัฒนาทักษะทางการเงนิ ของครวั เรอื นสมาชิก ด้วยการสรา้ งความเขา้ ใจเก่ียวกับการบรหิ ารจดั การเศรษฐกิจครวั เรอื น และระดับชุมชนได้เป็นอย่างดี ๒. แนวคิด/หลกั การทเี่ กี่ยวข้องกับการดาเนินงานกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลิต 2.1 หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) หมายถึง การบรหิ ารที่เป็นธรรมเพื่อการอยู่รว่ มกันในบ้านเมืองและสังคมอย่างมีความสงบสุข สามารถประสานประโยชน์และคล่ีคลายปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวธิ ีและพัฒนาสังคมให้มีความยั่งยืน โดยหลักธรรมาภิบาลทีก่ ลุม่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิตใชใ้ นการบรหิ ารจดั การและพฒั นาศักยภาพกลุ่ม มพี น้ื ฐาน มาจากหลกั ธรรมาภิบาล 6 ประการ ได้แก่ 1) หลักนิติธรรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับและกติกาต่าง ๆ ให้ทันสมัย เหมาะสม กับสภาพสังคมนั้น ๆ มีความเป็นธรรม และเป็นที่ยอมรบั ของสังคมและสมาชิก โดยมีการยินยอมพรอ้ มใจ และถือปฏิบัติรว่ มกันอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม 2) หลักคุณธรรม คือ การยึดถือและเช่ือม่ันในความถูกต้องเป็นธรรม มีค่านิยมที่ดีงามในกลุ่ม องค์กร สังคมและมีสมาชิกของสังคมถือปฏิบัติ ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจรติ ความเสียสละ ความอดทน ขยนั หมัน่ เพียร ความรบั ผิดชอบ การเคารพสิทธขิ ั้นพ้นื ฐาน เป็นต้น 4 ผู้จดั การออนไลน,์ “บญั ชเี งนิ ฝากคนไทย “รวยกระจกุ จนกระจาย” แนะล้วงตังค์ “เศรษฐ”ี กระตุ้น “จดี พี ี.” 1 พฤษภาคม 2564, ภายใต้ “ผูจ้ ดั การสุดสับดาห์” ผจู้ ดั การ, สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2564, https://mgronline.com/daily/detail/9640000041514. 11
13 3) หลักความโปรง่ ใส คือ การทาให้กลุ่มสังคม หรอื กลุ่ม องค์กรสามารถเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร อย่างตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ โดยการปรบั ปรุงระบบและกลไกการทางาน ของกลุ่ม องค์กรให้มีความโปรง่ ใสมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารหรอื เปิดให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้สะดวก ตลอดจนมีระบบหรอื กระบวนการตรวจสอบและประเมินผลที่มีประสิทธภิ าพ ซ่ึงจะเป็น การสรา้ งความไวว้ างใจซงึ่ กันและกัน และชว่ ยให้การดาเนินงานโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ 4) หลักความมีส่วนรว่ ม คือ การทาให้สังคมท่อี ยเู่ ป็นสังคมทปี่ ระชาชนมีส่วนรว่ มรบั รู้ และรว่ มเสนอ ความเห็นในการตัดสินใจสาคัญ ๆ ของสังคม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนมีช่องทางในการเข้ามามีส่วนรว่ ม ได้แก่ การแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์การแสดงประชามติ หรอื อ่ืน ๆ และสรา้ งการรว่ มมอื กันของทุกภาคส่วน 5) ห ลั ก ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ คื อ ทุกภาคส่ วนต้ อง ต้ั ง ใ จปฏิ บัติ ภารกิ จตามหน้าท่ีอย่าง ดี ยิ่ง โดยมุ่งให้บรกิ ารแก่ผู้มารบั บรกิ าร เพื่ออานวยความสะดวกต่าง ๆ มีความรบั ผิดชอบต่อความบกพรอ่ ง ในหน้าท่ีการงานที่ตนรบั ผิดชอบอยู่ พรอ้ มท่ีจะปรบั ปรุงแก้ไขได้ทันท่วงทีหรอื มีการรบั ผิดชอบต่อหน้าที่ ของตนเองในฐานะสมาชกิ ท่ีเคารพขอ้ ตกลง 6) หลักความคุ้มค่า คือ ผู้บรหิ ารหรอื คณะกรรมการ ต้องตระหนักว่ามีทรพั ยากรค่อนข้างจากัด ดังนั้นในการบรหิ ารจัดการจาเป็นจะต้องยึดหลักความประหยัดและ ความคุ้มค่า ซ่ึงจาเป็นจะต้องตั้ง จุดมุ่งหมาย และมีการประเมินความคุ้มค่าของการตัดสินใจต่าง ๆ ทั้งในเรอ่ ื งกฎระเบียบและการดาเนินงาน เพือ่ ใชท้ รพั ยากรต่าง ๆ ทม่ี ีให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด ทาให้เกิดความยงั่ ยืนในการดาเนินงาน กรมการพัฒนาชุมชน ได้นาหลักธรรมาภิบาลมาปรับใช้ในการส่งเสรมิ ให้กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตมีธรรมาภิบาล ด้วยการประเมินศักยภาพกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตตามหลักธรรมาภิบาล โดยแบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้ ๑. หลักนิยมประชาธปิ ไตย 1.1 หลักความรบั ผิดชอบ/สามารถตรวจสอบได้ 1) คณะกรรมการมกี ารประชุมทุกเดือนและมกี ารบันทึกการประชุมทุกครงั้ 2) มีการส่งสัจจะสะสมสมา่ เสมอเป็นประจาทุกเดือน 3) มกี ารชาระคืนเงนิ กู้ตามสัญญา 4) มีการจดั กิจกรรมด้านสาธารณประโยชนข์ องกลุ่ม 1.2 หลักความโปรง่ ใส/เปิดเผย 1) มีการฝากถอนเงนิ ผ่านระบบสถาบนั ทางการเงนิ ทถี่ กู ต้องตามกฎหมาย 2) มีการจัดทาระเบียบข้อมูล/เอกสารหลักฐานการเงนิ /ระบบบัญชีครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นปจั จุบัน และมีการตรวจสอบบัญชแี ละหลกั ฐานทางการเงนิ อยา่ งน้อยปีละ 2 ครง้ั 3) มีการจัดทางบกาไร-ขาดทุน งบดุล และรายงานสถานะทางการเงนิ ให้กรรมการ และสมาชกิ ทราบปลี ะ 2 ครง้ั ข้ึนไป และติดประกาศไว้ ณ ท่ที าการกลมุ่ ฯ 4) มีการจดั ประชุมสามัญประจาปี อย่างน้อยปีละ 1 ครง้ั และมีสมาชิกเข้ารว่ มประชุมใหญ่ สามัญอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 75 ของครวั เรอื นท่ีเปน็ สมาชกิ 5) มีอาคารสถานสาหรบั ใชป้ ระโยชน์ของกลุ่มชดั เจน มีป้ายชอื่ กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต และปา้ ยแสดงขอ้ มูลทชี่ ดั เจน และเปน็ ปัจจุบนั 1.3 หลักนิติธรรม 1) มรี ะเบียบขอ้ บังคับเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร เปน็ ปจั จุบนั 2) มีการเก็บดอกเบีย้ เงนิ กู้ในอตั ราไมเ่ กินท่กี ฎหมายกาหนด (รอ้ ยละ 15 ต่อปี) 12
14 3) มกี ารพจิ ารณาเงนิ กู้เปน็ ไปตามระเบียบ และมหี ลกั ฐานให้ตรวจสอบชดั เจน 1.4 หลักความเสมอภาค ได้แก่ การให้บรกิ ารแก่สมาชกิ ด้วยความรวดเรว็ และไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ 2. หลักประชารฐั 2.1 หลักการมีส่วนรว่ ม 1) มีการส่งเสรมิ การออม โดยการประชาสัมพันธใ์ ห้ประชาชนในพ้ืนท่ีสมัครเข้าเป็นสมาชกิ เพิ่มขน้ึ อยา่ งต่อเน่ือง เพอื่ สามารถเข้าถึงแหล่งเงนิ ทุนชุมชน 2) มีส่วนรว่ มในการคิด วางแผน ตัดสินใจ ดาเนินการตามแผน และรบั ผลประโยชน์รว่ มกัน ในทกุ กิจกรรมในการดาเนินงานของกลมุ่ 2.2 หลักกระจายอานาจ ได้แก่ การมีกรรมการครบ 4 ฝ่าย และมีการแบ่งหน้าที่ความรบั ผิดชอบของคณะกรรมการ เปน็ ลายลกั ษณ์อักษรและปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ 3. หลักความรบั ผิดชอบทางการบรหิ าร 3.1 หลักคุณธรรม โดยการส่งเสรมิ การพัฒนาคนให้มีคุณธรรม 5 ประการ ได้แก่ ความซอ่ื สัตย์ ความเสียสละ ความรบั ผดิ ชอบ ความเห็นอกเห็นใจ และความไวว้ างใจกัน 4. หลักการบรหิ ารจดั การแนวใหม่ 4.1 หลักประสิทธผิ ล 1) มกี ารจดั สรรผลกาไรและจดั ให้มีสวสั ดิการชุมชน รวมทัง้ กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ทกุ ปี 4.2 หลักประสิทธภิ าพ 1) มีการนาเทคโนโลยมี าใชป้ ระโยชน์ 2) มีการจัดทาแผนการดาเนินงาน/แผนบรหิ ารความเส่ียง/ประกันความเสี่ยงของกลุ่ม เปน็ ประจาทกุ ปี และสมาชกิ ปฏิบตั ิตามแผนทกี่ าหนด 4.3 หลักการตอบสนอง 1) สมาชกิ สามารถกู้เงนิ ได้ตามความต้องการภายใต้ขอ้ บังคับของกลุม่ 2) มีกิจกรรมของกลมุ่ ทีต่ อบสนองความต้องการของสมาชกิ 2.2 หลักการบรหิ ารจดั การความเสี่ยง5 “ความเสี่ยง” หมายถึง ความเป็นไปได้ท่ีจะเกิดเหตุการณ์ตามที่คาด หรอื ไม่ได้คาดคิดมาก่อน และส่งผลกระทบในเชงิ ลบต่อการดาเนินงานของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต หรอื เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ที่ทาให้การดาเนินงานกลมุ่ ไม่ประสบความสาเรจ็ ตามวัตถุประสงค์หรอื เปา้ หมายที่กาหนดไว้ “การบรหิ ารความเสี่ยง” หมายถึง กระบวนการบรหิ ารจดั การเหตุการณ์ท่ีอาจเกิดข้ึน และส่งผล กระทบต่อกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต เพ่ือให้กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตสามารถดาเนินงานให้บรรลุ วัตถุประสงค์ และเพ่ิมขีดความสามารถของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต การบรหิ ารความเสี่ยงจงึ เป็นหัวใจ 5 เนอื้ หาหลกั การบรหิ ารจดั การความเสี่ยงมาจาก คู่มือองคก์ รการเงนิ ชุมชน แนวทางการบรหิ ารจดั การองคก์ รการเงนิ ชมุ ชน โดย สฤณี อาชวานันทกุล และปทั มาวดี โพชนุกลู 13
15 สาคัญในการบรหิ ารกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต โดยมีเป้าหมายเพ่ือจัดการป้องกัน และควบคุม ให้ความเส่ียงอยู่ในระดับท่ีเหมาะสม เช่น มี กระบวนการอนุมัติเงนิ กู้แก่สมาชิก หรอื มีการกาหนด อัตราดอกเบี้ยให้เหมาะสมกับคณุ ลักษณะของผู้กู้ และประเภทเงนิ กู้ เปน็ ต้น ประเภทความเสี่ยง แบง่ ได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1 การวเิ คราะห์ความเสี่ยงจากปจั จยั ภายนอก ปจั จยั ภายนอก หมายถึง ปจั จยั ท่กี ลุ่มไม่สามารถควบคมุ ได้ เชน่ หากภาวะเศรษฐกิจซบเซาส่งผล ให้เกิดความไม่เชอ่ื ม่ันในหมู่นักลงทุนท้ังในและต่างประเทศ จนทาให้การตัดสินใจลงทุนอาจจะถูกชะลอและ การดาเนินโครงการของรฐั บาลลา่ ชา้ ออกไป ส่งผลกระทบต่อการจา้ งงานเกิดปัญหาการว่างงาน ราคาผลผลิต ทางการเกษตรตกต่า โดยเหตุการณ์เหล่าน้ี อาจส่งผลต่ อการชาระหน้ีของสมาชิกได้ จึงทาให้เกิด ความเส่ียงในการปล่อยกู้มากขึ้น ดังนั้น ความท้าทาย คือ กลุ่มจะสามารถจัดการความเส่ียงไปพรอ้ ม ๆ กับ รกั ษาอัตราการเติบโตของเงนิ กู้ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าวได้อย่างไร หรอื ตัวอย่างความเสี่ยงอ่ืน ๆ ที่พบ ได้แก่ การเปล่ยี นแปลงนโยบายรฐั และการเปลย่ี นแปลงด้านกฎหมาย เป็นต้น 2 การวเิ คราะห์ความเส่ียงจากปจั จยั ภายใน 1) ความเส่ียงด้านเครดิต (Credit Risk) หมายถึง ความเสียหายหรอื ปัจจัยท่ีอาจก่อให้เกิด ความเสียหายจากการที่ลูกหนี้ไม่สามารถชาระหน้ีเงนิ กู้คืน ได้ ความเส่ียงด้านเครดิตจะเกิดกับเจ้าหน้ี การบรหิ ารความเส่ียงด้านเครติตจะต้องหาวธิ กี ารประเมิน \"ค่าความสูญเสีย\"ท่ีอาจเกิดขึ้น และวางมาตรการ ป้องกัน เช่น การกาหนดหลักเกณฑ์วงเงนิ กู้สูงสุดสาหรบั ปล่อยสินเช่ือแก่สมาชิกแต่ละราย การกาหนด หลักเกณฑ์สาหรบั อนุมัติสินเชอ่ื แก่กลุม่ สมาชกิ การกาหนดอตั ราดอกเบี้ยเงนิ กู้สาหรบั สมาชกิ อย่างเหมาะสม และมหี ลักเกณฑ์ท่ชี ดั เจน เปน็ ต้น 2) ความเส่ียงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) หมายถึง ความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึน จากการปฏิบัติงานของกรรมการ หรอื เจา้ หน้าท่ีของกลุ่ม ซง่ึ อาจเกิดจากความเจตนา ความรูเ้ ท่าไม่ถึงการณ์ ความต้ังใจทุจรติ เพ่อื แสวงหาประโยชน์ส่วนตัว หรอื ปจั จยั อ่ืน ๆ ต่อไปน้ี - ระบบการควบคมุ ภายในไม่มคี วามรดั กุมเพยี งพอ - การไมป่ ฏิบตั ิตามระบบการควบคมุ ภายในของสถาบัน - ความบกพรอ่ งในเทคโนโลยีสารสนเทศ - การไมป่ ฏิบัติตาม ระเบียบข้อบงั คับ หรอื กฎหมาย 3) ความเส่ียงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) เป็นความเส่ียงท่ีเกิดจากความไม่สมดุล ของปรมิ าณเงนิ ที่ไหลเข้า - ออกในระบบธุรกิจ เช่น กลุ่มการเงนิ มีหนี้ท่ีต้ องชาระมากกว่ารายได้ ในชว่ งระยะเวลาเดียวกัน หรอื มีปรมิ าณเงนิ จากการรบั ฝากและรบั ชาระหนจ้ี ากสมาชกิ น้อยกว่าเงนิ ที่ต้องจา่ ย เงนิ กู้และเงนิ สัจจะที่สมาชิกมาถอนออกในช่วงมีปรมิ าณเงนิ สารองไม่เพียงพอต่อความต้องการ ถือเป็น ความเส่ียงท่ีทาให้กลุ่มเสียภาพพจน์ ทาให้การดาเนินงานหยุดชะงัก และอาจทาให้สมาชิกขาดความเชื่อถือ ในการทาธุรกรรมกับกลุ่มได้ อย่างไรก็ดี ความเสี่ยงด้านสภาพคล่องมักไม่ใช่ความเสี่ยงท่ีสาคัญมากนัก เนื่องจากกลุ่มออมทรพั ย์เพือ่ การผลิตส่วนใหญ่ไม่ได้เปิดทาการทุกวัน ➢ การบรหิ ารความเส่ียงด้านสภาพคลอ่ งของกลุ่มออมทรพั ย์เพอื่ การผลิตอาจกระทาได้ ดังน้ี - เปดิ ให้สมาชกิ ก้เู งนิ ฝากเงนิ และถอนเงนิ ได้เฉพาะวนั เวลาทาการตามทีก่ ลมุ่ มกี ารตกลงกนั เชน่ ทุกวนั อาทิตย์ หรอื ทกุ วันสุดท้ายของเดือน เป็นต้น 14
16 - เตรยี มเงนิ สดให้เพียงพอต่อความต้องการ โดยมีหลักคิดง่าย ๆ คือ สารองเงนิ ในมือ ให้เทา่ กับ 1.5 หรอื 2 เทา่ ของรายจา่ ยของกลมุ่ ในแต่ละเดือนโดยดูจากสถิติทผี่ า่ นมา ➢ ขั้นตอนการบรหิ ารความเสี่ยงท่ีดี - ศึกษาและรจู้ ุดเสี่ยง (Identify) - มกี ารติดตามประเมนิ ผลอย่างต่อเนอื่ ง (Monitor) - มกี ารวัดความเส่ียง (Measure) - มีการควบคมุ ความเสี่ยง (Control) 2.3 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรชั ญาชถี้ ึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศให้ดาเนินไป ในทางสายกลาง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกัน ในตัวท่ีดี สามารถรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง ท้ังภายในและภายนอก ท้ังน้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่ง ขณะเดียวกันจะต้องเสรมิ สรา้ งพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ ทุกกลุ่ม ทุกระดับให้มีสานึกในคุณธรรม ความซอ่ื สัตย์สุจรติ และให้มีความรอบรูท้ ี่เหมาะสม ดาเนินชวี ติ ด้วย ความอดทน มีความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับ การเปลี่ยนแปลงที่รวดเรว็ และกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็นอย่างดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จงึ ประกอบด้วย 1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผู้อืน่ เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคท่ีอยูใ่ นระดับพอประมาณ 2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3) ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรยี มตัวให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขน้ึ โดยคานึงถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ทคี่ าดว่าจะเกิดข้นึ ในอนาคต โดยมีเง่อื นไขของการตัดสินใจและดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ให้อยใู่ นระดับพอเพยี ง 2 ประการ ดังน้ี 1) เง่อื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กี่ยวกับวชิ าการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทุกด้าน ทุกมิติ ความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและ ความระมัดระวงั ในการปฏิบตั ิ 2) เง่อื นไขคุณธรรม ที่จะต้องเสรมิ สรา้ ง ประกอบด้วย มคี วามตระหนักในคุณธรรม มคี วามซอื่ สัตย์ สุจรติ และมีความอดทน มีความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนนิ ชวี ติ ดังนั้น การส่งเสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต จงึ เป็นการส่งเสรมิ ให้ประชาชนน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบั ใชก้ ับตนเอง ครอบครวั และชุมชน โดยปลูกฝัง หลักการ แนวคิด และแนวทางการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ซึ่งสอดค ล้องกับแนวทาง ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีสามารถสรา้ งเสรมิ การปฏิบัติตนของสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต ให้คานึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพของตนเอง ด้วยการออมเงนิ ตามกาลังความสามารถ ของตนเองและครอบครวั เปน็ การสรา้ งภมู ิค้มุ กันทดี่ ีในตัวเอง ด้วยความรอบคอบและระมดั ระวัง ควบค่ไู ปกับ การมีคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจรติ ไม่เบียดเบียนกัน แบ่งปัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และรว่ มมือกันในชุมชน 15
17 ก่อเกิดคุณธรรม 5 ประการนั่นเอง ซงึ่ จะช่วยเสรมิ สรา้ งสายใยเชื่อมโยงคนในชุมชนเข้าด้วยกัน สรา้ งสรรค์ พลังทางบวก นาไปสู่ความสามัคคีของคนในชุมชน ย่อมส่งผลต่อการพัฒนาประเทศชาติด้วย 2.4 ปรชั ญาและหลักการพฒั นาชุมชน 1) ปรชั ญาของการพัฒนาชุมชน ปรชั ญาของการพัฒนาชุมชนมาจากหลักการแห่งธรรมชาติและภาวะทางกายภาพของมนุษย์ ท่มี นุษย์แต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบคุ คล ทั้งรปู รา่ ง สมอง สติปัญญาและจติ ใจ ทาให้มนษุ ยไ์ ม่สามารถ ท่ีจะประสบความสาเรจ็ ของชวี ติ ได้เท่าเทียมกัน ถึงแม้ว่ามนุษย์ทุกคนมีสิทธแิ ละความเสมอภาคในโอกาส ที่จะกระทาส่ิงต่าง ๆ ได้อย่างเท่าเทียมกันก็ตาม โดยสุกิจ จุลลนันท์ (2508 : 7) ได้อธิบายเอาไว้ว่า ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น นั้ น ถื อ ว่ า ค น เ ป็ น ท ร ัพ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ ท่ี มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะ มี พ ลั ง ง า น ซ่อ น เ ร ้น แ ฝ ง อ ยู่ ได้แก่ กาลังความคิด แรงงาน ฝีมือ ทักษะ ซ่ึงพลังต่าง ๆ เหล่าน้ี ถ้าได้รบั การขุดค้นและนามาใช้ให้เป็น ประโยชนแ์ ก่ชุมชน ก็จะสามารถบนั ดาลความสาเรจ็ ทง้ั ปวงให้แก่ชุมชนได้ ดังนั้น การพัฒนาชุมชนจะสาเรจ็ ได้นั้น ข้ึนอยู่กับความสาเร็จในการก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงในทัศนคติ ทักษะ ความรู้และความสามารถ ของประชาชนเป็นสาคัญ สอดคล้องกับ พัฒน์ บุญยรตั พันธุ์ (2517 : 1-2) กล่าวถึงหลักปรชั ญามูลฐาน ของงานพฒั นาชุมชน เอาไว้ 5 ประการ ดังน้ี 1. บุคคลแต่ละคนย่อมมีความสาคัญและมีความเป็นเอกลักษณ์ท่ีไม่เหมือนกัน จึงมีสิทธิ อันพึงได้รบั การปฏิบัติด้วยความยตุ ิธรรมและอย่างบคุ คลมเี กียรติในฐานะที่เปน็ มนุษย์ปถุ ุชนคนหน่ึง 2. บุคคลแต่ละคนมีสิทธแิ ละสามารถทจี่ ะกาหนดวถิ ีการดารงชวี ติ ของตนไปในทศิ ทางที่ตนต้องการ 3. บุคคลแต่ละคนถ้าหากมีโอกาสแล้วย่อมมีความสามารถที่จะเรยี นรู้ เปล่ียนแปลง ทัศนะ พฤติกรรมและพัฒนาขดี ความสามารถให้มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคมสูงข้ึนได้ 4. มนุษย์ทุกคนมีพลังในเรอ่ ื งความคิดรเิ รม่ ิ ความเป็นผู้นาและความคิดใหม่ ๆ ที่ซ่อนเรน้ อยู่ พลังความสามารถเหล่านี้ สามารถเจรญิ เติบโตและนาออกมาใชไ้ ด้ ถ้าพลงั ทซ่ี อ่ นเรน้ เหลา่ นไ้ี ด้รบั การพัฒนา 5. การพัฒนาพลังและขีดความสามารถของชุมชนในทุกด้านเป็นส่ิงท่ีพึงปรารถนา และมี ความสาคัญยิง่ ต่อชวี ติ ของบุคคล ชุมชนและรฐั จีรพรรณ กาญจนจิตรา (2530 : 7) ได้ อธิบายเกี่ยวกับปรัชญาของการพัฒนาชุมชนว่า ก า ร ด า เ นิ น ง า น พั ฒ น า ชุ ม ช น นั้ น ถื อ ว่ า พ ลั ง ส า คั ญ ที่ จ ะ บั น ด า ล ใ ห้ ง า น บ ร ร ลุ ผ ล ส า เ ร ็จ ส ม ค ว า ม มุ่ ง ห ม า ย มาจากประชาชน โดยเชอื่ วา่ ประชาชนทกุ คนไม่ว่าจะยากดีมีจน ตา่ ต้อยหรอื ด้อยการศึกษาเพียงใด ก็ยงั มพี ลัง และความปรารถนาท่ีจะปรบั ปรุงวถิ ีชีวติ ของตนให้มีมาตรฐานสูงขึ้น การกระตุ้นเตือนและ การสะกิดพลัง ดังกลา่ ว จะเปน็ ผลให้มกี ารขดุ ค้นและนาทรพั ยากรทม่ี ีอยู่ในชุมชนชนบทไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ เพือ่ การพัฒนา ด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นการสรา้ งสรรค์ความเจรญิ ให้แก่ชุมชนในทุก ๆ ด้านพรอ้ มกัน ปรชั ญาการพฒั นาชุมชนจงึ ยดึ ถือวา่ ถ้าเราย่ิงชว่ ยให้ประชาชนได้บรรลุถึงความปรารถนาหรอื ความสุขในชวี ติ ได้มากเท่าใด ก็ยิ่งเป็นส่ิงที่ดีงามเท่านั้น และการช่วยเหลือในลักษณะน้ีถือว่าเป็นหน้าท่ีของเพ่ือนมนุษย์ ในสังคมด้วยกัน สอดคล้องกับ ยุวัฒน์ วุฒิเมธี (2534 : 5) กล่าวถึงปรัชญาของการพัฒนาชุมชนว่า ตั้งอยูบ่ นพน้ื ฐาน 2 ประการ ดังน้ี 1. การพฒั นาชุมชนนั้นให้ความศรทั ธาในตัวมนษุ ย์ เชอื่ มน่ั ในตัวบุคคลวา่ เปน็ ทรพั ยากร (Human Resources) ที่มีความสาคัญท่ีสุดในความสาเรจ็ ของการดาเนินงานท้ังปวงและเชอ่ื อย่างแน่วแน่ว่ามนุษย์ ทุกคนมีความสามารถท่ีจะพัฒนาตัวเองได้ตามขีดความสามารถทางกายภาพของตน หากโอกาสอา นวย และมผี ้คู อยชแี้ นะท่ถี ูกทาง 2. การพัฒนาชุมชนนั้นให้ความศรัทธาในเร่อื งความยุติธรรมของสังคม มีความต้องการ ความยุติธรรมท่ีจะมีชีวติ อยู่ในสังคม (Social Justice) ต้องการอยู่ในสังคมด้วยความสุขกาย สบายใจ 16
18 (Social Satisfaction) และต้องการอยู่รว่ มในสังคมให้เป็นท่ียอมรบั ของสังคมด้วย (Social Acceptability) การใชก้ าลังบงั คับเป็นอุปสรรคท่สี าคัญยิง่ ต่อความสาเรจ็ ของการพฒั นาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน (2547 : 54) กล่าวสรุปว่า การปฏิบัติงานด้านการพัฒนาชุมชนมีพ้ืนฐาน ความเชอื่ 3 ประการ คือ 1. เชอื่ วา่ มนษุ ย์ทกุ คนมเี กียรติและศักด์ิศรใี นความเป็นคน 2. เชอื่ ว่ามนษุ ยท์ กุ คนมีความสามารถหรอื ศักยภาพ 3. เชอื่ วา่ ความสามารถของมนษุ ย์สามารถพฒั นาได้ถ้ามีโอกาส ฉะนั้น จงึ เห็นได้ว่าปรชั ญาของการพัฒนาชุมชนนั้น ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานอันม่ันคงแห่งความศรทั ธา ในตัวคนว่าเป็นทรพั ยากรท่มี ีความหมายและมคี วามสาคัญท่สี ุด การให้การศึกษาและให้โอกาสจะชว่ ยดึงพลัง ซ่อนเรน้ ในตัวคนออกมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และการพัฒนาจะมีประสิทธิภาพได้ก็จะต้อง ยึดหลักการทางานรวมกลุ่ม เพราะมนุษย์เป็นสัตว์สังคม การอยู่รวมกันเป็นกลุ่มและทางานรว่ มกันเป็นกลุ่ม ดังเชน่ การดาเนินงานของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต จะชว่ ยให้คนเจรญิ เติบโตและเข้มแข็งได้ สรุปได้ว่า ปรชั ญาของการพัฒนาชุมชนต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของความศรทั ธาในศักยภาพ หรอื พลังความสามารถของคน ว่าแต่ละคนมีความสามารถในการพัฒนาตนเองได้ถ้ามีโอกาส การพัฒนาชุมชนจึงต้องพัฒนาบุคคล ให้มีความคิดและความสามารถเพมิ่ ขึน้ ให้บุคคลมีอสิ รภาพ เสรภี าพและความเสมอภาคในการดารงชวี ติ 2) หลักการพัฒนาชุมชน หลกั การพัฒนาชุมชน ที่ใชก้ ันโดยท่วั ไปเปน็ หลักการพฒั นาชุมชนที่องค์การสหประชาชาติกาหนดขึ้น (UN.Department of Economic and Social Affair. 1960 : 8 – 13 อ้างถึงใน สนธยา พลศร ี(๒๕๔๗ : ๖๑ – ๖๒) มี ๑๐ ประการ คือ 1. การพัฒนาชุมชนต้องตอบสนองความต้องการอันแท้จรงิ ของประชาชนในชุมชน ด้วยการรเิ รม่ ิ จากประชาชน และเรม่ ิ ต้นจากโครงการงา่ ยไปสู่โครงการที่ยากขน้ึ ๒. การพัฒนาชุมชนมีลักษณะเป็นโครงการอเนกประสงค์ ต้องอาศัยความรว่ มมือของนักวชิ าการ หลายสาขาวชิ า และผู้เกี่ยวข้องหลายฝา่ ย ๓. การพฒั นาชุมชนต้องเปลย่ี นแปลงเจตคติของประชาชนไปพรอ้ ม ๆ กับกิจกรรมด้านอ่ืน ๆ ๔. การพัฒนาชุมชนต้องให้ประชาชนเข้ามามีส่วนรว่ มในการพัฒนาชุมชน เพ่ือเป็นการสรา้ งพลัง ชุมชนและองค์กรของประชาชนขึน้ ๕. การพัฒนาชุมชนต้องค้นหาและพัฒนาผู้นาชุมชนในด้านต่าง ๆ ตามลักษณะของกิจกรรมและ ความจาเปน็ ของแต่ละชุมชน ๖. การพัฒนาชุมชนต้องยอมรบั ในสถานภาพ บทบาทของสตรแี ละเยาวชน เปิดโอกาสให้ได้ มีส่วนรว่ มในการพัฒนาชุมชนให้มากที่สุด เพราะสตรแี ละเยาวชนมีผลต่อการขยายตัวของงาน และรบั ชว่ ง ของงานพฒั นาชุมชนได้เปน็ อยา่ งดี ๗. การพัฒนาชุมชนของประชาชนจะประสบความสาเรจ็ อย่างเต็มท่ี ถ้าหากรฐั บาลมีความพรอ้ ม และให้การสนับสนุนอย่างจรงิ จงั ๘. การพัฒนาชุมชน ต้องมีนโยบายและการวางแผนต้ังแต่ระดับประเทศ ถึงระดับท้องถิ่น โดยการบรหิ ารงานทกุ ระดับจะต้องมีความคล่องตัวและมปี ระสิทธภิ าพอยา่ งแท้จรงิ ๙. การพัฒนาชุมชนต้องสนับสนุนให้องค์กรภาคเอกชน องค์กรอาสาสมัครต่างๆ ท้ังในระดับ ทอ้ งถิ่น ระดับชาติ และนานาชาติได้เขา้ มามีส่วนรว่ มในการพัฒนาด้วย ๑๐. การพัฒนาชุมชนต้องมีการวางแผนให้เกิดการพัฒนาพรอ้ ม ๆ กัน ทั้งในระดับท้องถ่ิน และระดับชาติ หรอื ระดับประเทศ 17
19 หลักการพัฒนาชุมชนท้ัง ๑๐ ประการน้ี นิรุติ ไชยกูล (ม.ป.ป. : ๓ ) ยุวัฒน์ วุฒิเมธี (๒๕๓๔ : ๑๑ – ๑๒) และสัญญา สัญญาววิ ัฒน์ (๒๕๔๑ : ๑๕–๑๖) อ้างถึงใน สนธยา พลศร ี (๒๕๔๗ : ๖๒ – ๖๕) ได้เสนอและ อธบิ าย ซงึ่ จาแนกได้เป็น ๑๐ ประการ ดังนี้ ๑. หลักการมีส่วนรว่ มของประชาชน เป็นกระบวนการท่ีประชาชนได้เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการพัฒนา ชุมชนในทุกขั้นตอน คือ รว่ มคิด รว่ มตัดสินใจ รว่ มวางแผน รว่ มแก้ไขปัญหา รว่ มประเมินผล รว่ มรบั ผิดชอบ ร่วมรับผลของการพัฒนา ท้ังในรูปของบุคคล กลุ่มและองค์กรอย่างแท้จรงิ และด้วยความสมัครใจ ไม่ใชด่ ้วยความเกรงใจหรอื ถกู บงั คับ การมสี ่วนรว่ มของประชาชนจงึ เป็นหลกั การพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน เพราะเป็นการสร้างความรู้สึกเช่ือม่ันในตนเอง มองเห็นและตระหนักถึงศักยภาพหรอื พ ลังความรู้ ความสามารถของตนเอง เกิดความรูส้ ึกเป็นเจ้าของชุมชนและงานพัฒนาชุมชน (Sense of Belonging) สามารถดาเนินงานพัฒนาชุมชนของตนได้สาเรจ็ และนาไปสู่การพัฒนาด้านอน่ื ๆ ต่อไปอยา่ งไมห่ ยุดยั้ง ๒. หลักการพ่ึงตนเองของชุมชน จุดมุ่งหมายสูงสุดของการพัฒนาชุมชน คือ การพึ่งตนเอง ของประชาชน (Self Reliance) ตามศักยภาพหรอื พลังความสามารถที่มีอยู่ในชุมชน ทั้งศักยภาพของคน ทรพั ยากร และสิ่งต่าง ๆ ให้ประชาชนมีความสามารถในการแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนได้ด้วยตนเอง เพราะเป็นผู้รูส้ ภาพความเป็นจรงิ ของปัญหาในชุมชนมากกว่าผู้อื่น เป็นผู้ที่เก่ียวข้องกับชุมชนมากกว่าผู้อื่น และต้องดารงชีวติ อยู่ในชุมชนนานกว่าผู้อื่น การพ่ึงตนเองได้ของชุมชนเป็นการแบ่งเบาภาระของรฐั บาล และเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาชุมชน เพราะศักยภาพสูงสุดของชุมชน ก็คือ การพึ่งตนเองได้ ในด้านต่าง ๆ โดยไม่ต้องขอความชว่ ยเหลือหรอื พ่ึงพาชุมชนอื่นอีกต่อไปนั่นเอง ดังนั้น รฐั บาลหรอื หน่วยงาน ต่าง ๆ จึงพึงตระหนักในหลักการพัฒนาชุมชนข้อนี้ เนื่องจากปัญหาประการหน่ึงท่ีเกิดข้ึน คือ การเข้าไป ให้ความชว่ ยเหลือชุมชนมากเกินไป จนเกิดความเคยชนิ ไม่สามารถพงึ่ ตนเองได้ ๓ . ห ลั ก ก า ร ท าง า นร่ว มกั น เป็น กลุ่ม ก า ร พั ฒ นา ชุ มชน เป็ น กิ จ กรร มที่ เป็ น ข อง ส่ วนรวม ไม่ใช่ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง การทางานรว่ มกันของประชาชนในรูปของกลุ่มและองค์กร จึงเป็นหลักการ ของการพัฒนาชุมชนท่ีสาคัญประการหน่ึง กลุ่มและองค์กรเป็นศูนย์กลางของการดาเนินงานพัฒนาชุมชน เป็นแหล่งกลางของการรว่ มกันคิด รว่ มกันตัดสินใจ รว่ มวางแผน รว่ มปฏิบัติและรว่ มกันรบั ผิดชอบกลุ่ม และองค์กรยังเป็นแหล่งผนึกกาลังหรอื ความรู้ ความสามารถของชุมชน ทาให้เกิดศักยภาพหรอื พลัง ในการพัฒนาชุมชนอย่างเต็มที่ ท้ังยังส่งเสรมิ หลักการมีส่วนรว่ มของประชาชน และหลักการ พ่ึงตนเอง ของประชาชนท่กี ลา่ วมาแล้ว ให้เกิดขึ้นและดารงอย่ตู ่อไปอีกด้วย นอกจากนี้ กลุ่มและองค์กรยังชว่ ยให้เกิดความมนั่ ใจว่าการพฒั นาชุมชนจะไม่ประสบความลม้ เหลว เพราะถึงแม้บุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนอาจประสบปัญหาและไม่สามารถเข้ารว่ มในกิจกรรม การพัฒนา แต่กลุ่มและองค์กรยงั คงอยู่ สามารถดาเนนิ งานพัฒนาต่อไปได้อกี ๔. หลักการค้นหาและพัฒนาผู้นา ผู้นาในการพัฒนาชุมชน เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ มีบุคลิกภาพเด่นเป็นพิเศษ เป็นท่ียอมรบั นับถือของบุคคลในชุมชน ทั้งท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ทั้งที่ได้รบั การแต่งตั้ง และได้รบั การเลือกตั้งให้เป็นผู้นากลุ่ม หรอื คนอ่ืน ๆ เพื่อรว่ มกันดาเนินงานพัฒนา ชุมชนให้บรรลุเป้าหมาย ส่วนผู้นาท้องถ่ินมีก็บทบาทสาคัญในการพัฒนาชุมชน เพราะเป็นผู้ท่ีประชาชน ในชุมชนเคารพนับถือ สามารถชกั จูงและก่อให้เกิดความศรทั ธาในหมู่ประชาชนได้ จงึ มลี ักษณะเปน็ ผู้ประสาน ประชาชนกับผู้ท่ีเกี่ยวข้องในงานพัฒนาชุมชน และถือว่าเป็นผู้มีบทบาทในการจัดตั้งและพัฒนากลุ่มขึ้น ในชุมชน ผู้นาชุมชนจึงเป็นหลักอันสาคัญในการพัฒนาชุมชน ดังนั้นการค้นหาและการพัฒนาผู้นา จงึ เป็นหลกั การสาคัญประการหน่ึงท่ที าให้การพฒั นาชุมชนมีประสิทธภิ าพมากย่ิงขึน้ ๕. หลักการประสานงาน การพัฒนามีบุคคล กลุ่ม และองค์กรที่เกี่ยวข้องเป็นจานวนมาก การดาเนินงานพัฒนาชุมชนจึงต้องใช้หลักการประสานงานเป็นหลักสาคัญประการหนึ่ง การประสานงาน เป็นเรอ่ ื งเก่ียวกับการประสานคน ประสานทรพั ยากร ประสานแผนและโครงการ ประสานผลประโยชน์ 18
20 ที่เกิดข้ึน อันเป็นการกระทารว่ มกันระหว่างผู้ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาชุมชนต้ังแต่เร่มิ ต้น จนกระท่ัง การพฒั นาส้ินสุดลง การประสานงานมีทั้งลกั ษณะท่แี บ่งภาระหน้าที่รบั ผิดชอบ และรว่ มมือทากิจกรรมรว่ มกัน ทาให้การพัฒนาชุมชนดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ เป็นไปตามลาดับ ไม่ซ้าซ้อน ประหยัดแรงงาน ทรพั ยากร และเวลา ๖. หลักความเข้าใจในวัฒนธรรมของชุมชน วัฒนธรรมเป็นส่ิงท่ีประชาชนยอมรบั และนามาปฏิบัติ ในชีวติ ประจาวันจนกลายเป็นวถิ ีชีวติ ของประชาชนในชุมชน วัฒนธรรมเกิดจากการกระทาหรอื ผลงาน ของมนุษย์ ท้ังท่ีเป็นวัตถุ เชน่ เครอ่ ื งมือ เครอ่ ื งใช้ ส่ิงประดิษฐต์ ่าง ๆ และที่ไม่ใชว่ ัตถุ เชน่ ความเชอื่ ค่านิยม อุดมการณ์ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณีต่าง ๆ เป็นต้น วัฒนธรรมบางอย่างอาจจะเป็นภูมิปัญญา ของชุมชน คือ เกิดจากชาวบ้านในชุมชนเอง วัฒนธรรมในแต่ละชุมชนอาจเหมือนหรอื แตกต่างกันไป จากชุมชนอ่ืนก็ได้ แต่มีลักษณะรว่ มกันประการหน่ึง คือ มีความสาคัญต่อการทากิจกรรมของประชาชน ในชุมชน การดาเนินงานพัฒนาชุมชนจะได้รบั ความรว่ มมือจากประชาชนมากน้อยเพียงใด และจะประสบ ความสาเรจ็ หรอื ไม่นั้น ปัจจัยท่ีสาคัญประการหนึ่ง คือ ความเข้าใจในวัฒนธรรมและวธิ กี ารพัฒนาชุมชน ทส่ี อดคล้องกับวฒั นธรรมของแต่ละชุมชนนั่นเอง ๗. หลักประชาธปิ ไตยในการดาเนินงาน ปรชั ญาและความคิดของระบบประชาธปิ ไตยกับปรชั ญา และแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน มีความคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ ให้ความสาคัญแก่ประชาชน ให้ประชาชนมีสิทธิ เสรภี าพ อิสรภาพ เสมอภาค และภราดรภาพในการดารงชีวติ ตามที่กฎหมายกาหนดไว้ ดังนั้น หลักการพัฒนาชุมชนประการหน่ึง คือ หลักประชาธิปไตยในการดาเนินงาน กล่าวคือ กิจกรรม การพัฒนาชุมชนต้องเป็นของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชนในชุมชน ด้วยความสมัครใจ ไม่ใช่ถูกบังคับ เมื่อมีความคิดเห็นไม่ตรงกันจะใชเ้ สียงข้างมากตัดสิน ยอมรบั ฟังความคิดเห็นซง่ึ กันและกัน มีโอกาสแสดงความคิดเห็นได้เท่าเทียมกัน มีความสาคัญทัดเทียมกัน และได้รบั ประโยชน์จากการพัฒนา เทา่ เทียมกัน เป็นต้น ๘. หลกั การสมทบ การพฒั นาชุมชนมุ่งทจ่ี ะให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา โดยยึดประชาชน แ ล ะ ท รัพ ย า ก ร ใ น ชุ มช น เป็ น ส า คั ญ แ ต่ ขี ด ค ว า ม ส า มา ร ถ ข อง ปร ะ ชา ช น นั้ น มี ขีด จ า กั ด ก ล่ า วคื อ มีขีดความสามารถในระดับหนึ่ง หากไม่สามารถระดมมาใชอ้ ีกต่อไป การสนับสนุนชว่ ยเหลือจากภาครฐั บาล และภาคเอกชนที่อยู่ภายนอกชุมชน จงึ เป็นส่ิงท่ีจาเป็น แต่การสนับสนุนชว่ ยเหลือนั้น ต้องตั้งอยู่บนพ้ืนฐาน ของการสนับสนุนส่งเสรมิ ที่เป็นแนวทางไปสู่การชว่ ยเหลือตนเอง และการพงึ่ ตนเองได้ของชุมชน ไม่ใชพ่ ึง่ พา รฐั บาล และองค์กรเอกชนตลอดไป ดังนั้น หลักการสมทบจึงเป็นการสมทบกันระหว่างขีดความสามารถ ทั้งหมดทช่ี ุมชนมีอยกู่ ับการสนับสนนุ ส่งเสรมิ ของรฐั บาลและองค์กรเอกชนต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม เพ่ือเพมิ่ พนู ศักยภาพในการพัฒนาของชุมชนต่อไป ๙. หลักการขยายผล การพัฒนาชุมชนมีโครงการและกิจกรรมการดาเนินงานหลายโครงการ และหลายกิจกรรม โครงการและกิจกรรมใดท่ีประสบความสาเรจ็ แล้ว ควรเป็นแบบอย่างให้กับโครงการ และกิจกรรมอ่ืน ๆ ที่มีลักษณะเดียวกัน ทั้งโครงการและกิจกรรมท่ีดาเนินการอยู่ในชุมชนเดี ยวกัน และที่ดาเนินการในชุมชนอ่ืน ๆ เพราะตัวอย่างของความสาเร็จในการพัฒนาชุมชน จะกระตุ้นให้เกิด ความเชอ่ื มน่ั ศรทั ธา ไมท่ อ้ ถอยในการเขา้ รว่ มกิจกรรมการพฒั นา และยงั ใชเ้ ป็นแนวทางในการปรบั ปรุงวธิ กี าร พัฒนาท่ียัง ไม่ประ สบผลสาเร็จให้เหมาะสมและนาไปสู่ ความสาเร็จในที่สุด หลักการขยายผลนี้ ควรทาในลักษณะที่เป็นเชิงรุก คือการประชาสัมพันธเ์ ผยแพรค่ วามสาเรจ็ ท่ีเกิดขึ้นจากการพัฒนาให้ชุมชน ได้รบั รูด้ ้วยรูปแบบ และวธิ กี ารต่าง ๆ ซงึ่ นอกจากจะเป็นผลดีต่อชุมชนอื่น ๆ แล้ว ยังสรา้ งความภาคภูมิใจ ให้กับประชาชนในชุมชนที่ประสบความสาเรจ็ ในการพฒั นาและนาไปสู่การพัฒนาอื่น ๆ ต่อไปอีกด้วย 19
21 วธิ ีการขยายผลอีกอย่างหนึ่ง คือ การสรา้ งเครอื ข่ายชุมชน ซ่ึงเป็นการเช่ือมโยงชุมชนต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน เพื่อเรยี นรูก้ ระบวนการพัฒนาชุมชนของกันและกัน และสนับสนุนส่งเสรมิ ซง่ึ กันและกัน จะทาให้ การพฒั นาชุมชนแผข่ ยายออกไปได้อย่างรวดเรว็ และมพี ลงั มากย่ิงขึน้ ๑๐. หลักการจัดการชุมชน คือ คนในชุมชนมีความสามารถในการจัดการตนเองและชุมชนได้ มีความสามารถในการวางแผนงานและโครงการ สามารถจัดกระบวนการหรอื เตรยี มการเพ่ือดาเนินการ ตามแผนงานและโครงการได้ มีทักษะในการดาเนินงานตามแผนงานและโครงการ และสามารถประเมิน ผลงานได้ด้วยตนเอง หลกั การจดั การชุมชนเป็นหลักการสาคัญท่สี นับสนุนส่งเสรมิ หลักการพฒั นาชุมชนอ่ืน ๆ ให้มปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขึน้ อกี ด้วย 3) วธิ กี ารพัฒนาชุมชน เป็นวธิ กี ารพ้นื ฐานของการพฒั นาชุมชน ได้แก่ 1. การรวมกลุ่ม หรอื การจดั ต้ังองค์กรประชาชน เพื่อส่งเสรมิ และสนับสนุนให้ประชาชนมบี ทบาท และมีส่วนรว่ มในกิจกรรมของกลมุ่ และองค์กร ซงึ่ จะส่งผลต่อการพัฒนาชุมชนส่วนรวมด้วย 2. การส่งเสรมิ สร้างสรรค์ผู้นาและอาสาสมัคร เพื่อเปิดโอกาสและสนับสนุนให้ประชาชน มีความพรอ้ มเป็นผู้นา และเป็นผู้เสียสละ ได้อทุ ิศตน ได้แสดงบทบาทมสี ่วนรว่ มในกระบวนการพฒั นาชุมชน ดังนั้น การดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ถือได้ว่าเป็นการนาปรชั ญาและหลักการพัฒนา ชุมชน รวมทั้งวธิ กี ารพัฒนาชุมชนมาใช้เป็นหลักการดาเนินงาน นั่นคือ หลักความมีศักด์ิศรแี ละศักยภาพ ของประชาชน โดยมีความเชื่อมั่นว่า ประชาชนมีขีดความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนากลุ่ม ของตนเองได้ การใชห้ ลักการมีส่วนรว่ ม โดยสมาชกิ และคณะกรรมการกลุ่มออมทรพั ย์เพอื่ การผลิตได้มีส่วน ร่วมกันเรยี นรู้ รว่ มกันคิด รว่ มกันตัดสินใจบรหิ ารจัดการกลุ่ม รว่ มกันใส่ใจในการดาเนินงานของกลุ่ม ร่วมรับผลประโยชน์ และติดตามประเมินผล การดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตรว่ มกัน สอดคล้องกับหลักการพึ่งตนเองด้านการออมเงนิ ของสมาชกิ และครอบครวั มีแหล่งทุนเป็นของชุมชนเอง ลดการพ่ึงพาแหล่งทุนจากภายนอก และ ใช้หลักประชาธิปไตย โดยใช้มติ ของท่ีประชุม เป็นหลัก ในการดาเนินงาน ท้ังการพิจารณาคัดเลือกคณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต การกาหนด กติกา ระเบียบข้อบังคับของกลุ่ม ตามแนวทางท่ีกรมการพัฒนาชุมชนกาหนดและเป็นไปตาม ความตกลง ของกรมการพัฒนาชุมชนกับธนาคารแห่งประเทศไทย ตามบันทึกช่วยจาฯ เมื่อวันที่ 19 ธนั วาคม 2531 เพ่ือม่งุ ไปสู่เปา้ หมายคือ ชุมชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากม่ันคง 3. แนวคิด/หลักการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจในการส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้และการมีส่วนร่วมของคน ในชุมชน ซึ่งการส่งเสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต นับเป็นกิจกรรมกลุ่ม ท่ีสอดคล้องกับภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชน เป็นการส่งเสรมิ การเรยี นรู้และสร้างการมีส่วนร่วม ของคนในชุมชน โดย “ใช้เงนิ เป็นเครอ่ ื งมือในการพัฒนาคน” เพื่อส่งเสรมิ ให้คนมีคุณธรรม 5 ประการ และพัฒนาศักยภาพของผู้นากลุ่มให้มีภาวะผู้นาเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นส่ิงสาคัญที่จะทาให้การบรหิ ารจัดการ กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตมีความเข้มแข็ง ซึ่งคุณธรรม 5 ประการของสมาชิกและคณะกรรมการ กลุ่มออมทรพั ย์เพอ่ื การผลิต ประกอบด้วย ความซอื่ สัตย์ ความเสียสละ ความรบั ผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจ และความไวว้ างใจกัน 20
22 โดยมีพฤติกรรมท่ีบ่งช้ีของการมีคุณธรรม 5 ประการ เป็นแนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการและ สมาชกิ กล่มุ ออมทรพั ย์เพอ่ื การผลติ ให้มคี ณุ ธรรม 5 ประการ ดังน้ี คุณธรรม 5 ประการ พฤติกรรมทบ่ี ่งช้ี ความซอื่ สัตย์ - การส่งเงนิ สัจจะตามกาหนด - การส่งคืนเงนิ กู้ตามสัญญา - คณะกรรมการปฏิบัติหน้าท่ดี ้วยความซอื่ สัตย์ สามารถตรวจสอบได้ ความเสียสละ - การให้เพ่ือนสมาชกิ ทีม่ ีความเดือดรอ้ นมากกว่าก้เู งนิ ก่อน ความรบั ผิดชอบ - การเสียสละเวลาเข้ารว่ มประชุมกลุ่ม และเสียสละเวลา/แรงกายให้ความรว่ มมือ ความเห็นอกเห็นใจ ในกิจกรรมต่าง ๆ ของกล่มุ - การส่งเงนิ สัจจะตามกาหนด ณ ท่ีทาการกลุ่ม ความไว้วางใจกัน - การส่งคืนเงนิ กู้ตามสัญญา - การเขา้ รว่ มประชุมกลมุ่ และรว่ มมอื ในกิจกรรมต่าง ๆ ของกลมุ่ - คณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรบั ผิดชอบ มุ่งให้กลุ่มดาเนินการไปได้ ตามแนวทางและระเบียบของกลุ่ม - เห็นใจเพ่อื นสมาชกิ ทีเ่ ดือดรอ้ น จงึ ให้กู้เงนิ ก่อน - คนมีเงนิ เห็นใจคนจน โดยนาเงนิ มาฝากกับกลุ่ม เพ่ือเพ่ิมทุนให้กลุ่ม และตัวเอง ก็ได้เงนิ ปนั ผลเมอ่ื ส้ินปีเปน็ การตอบแทนความดี - มีความเห็นอกเห็นใจคณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มท่ีเสียสละเวลา แรงกายและ แรงใจทางานให้กล่มุ - คณะกรรมการมีความเห็นใจสมาชกิ ท่ีฝากออมเงนิ กับกลุ่ม จงึ ต้องบรหิ ารจดั การ กลุ่มให้สาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์ และกล่มุ มีความเข้มแข็ง - ไว้วางใจสมาชิกในการกู้ยืมเงนิ เพ่ือไปประกอบอาชีพ หรอื บรรเทาปัญหา ความเดือดรอ้ นของครอบครวั และส่งคืนครบตามกาหนดในสัญญาก้ยู ืมเงนิ - ไวว้ างใจกรรมการที่ทาหน้าทีใ่ นการบรหิ ารจดั การกลุม่ ด้วยความซอ่ื สัตย์ ความเสียสละ และความรบั ผิดชอบ 3.1 แนวคิดกลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต แนวคิดกลุ่มออมทรพั ย์เพ่อื การผลติ เป็นการผสมผสานระหว่างแนวคิดของสหกรณ์การเกษตร เครดิตยูเนี่ยน และสินเชอ่ื เพื่อการเกษตร ประกอบด้วย 4 แนวคิด ดังน้ี แนวคิดท่ี 1 การรวมคนในหมู่บ้านให้ชว่ ยเหลือซง่ึ กันและกัน โดยรวมคนท่ีมีฐานะแตกต่างกัน ให้ชว่ ยเหลือกัน เปน็ การแก้ไขปญั หาความยากจน ลดความเหลือ่ มล้า แนวคิดท่ี 2 การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนเงนิ ทนุ โดยการรวมกลุ่มออมเงนิ แล้วให้สมาชกิ ก้ยู ืม เปน็ ทุนในการประกอบอาชพี แนวคิดที่ 3 การนาเงนิ ทนุ ไปใชป้ ระโยชน์ต่อตนเองและครอบครวั ด้วยความขยัน ประหยัด ถกู ต้อง เพ่อื ให้ได้ทุนคืน และมกี าไร เปน็ การสรา้ งรายได้ให้กับสมาชกิ แนวคิดที่ 4 การลดต้นทุนในการครองชีพ โดยให้มีการจัดตั้งศูนย์สาธิตการตลาด เป็นการ รวมกันซอื้ รวมกันขาย สามารถลดต้นทุนในการซอื้ สินค้าอุปโภคบรโิ ภคและปจั จยั การผลิต 21
23 3.2 วัตถุประสงค์ของกลุ่มออมทรพั ย์เพือ่ การผลิต การส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั ต้ังกลุม่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิต มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาคน โดยส่งเสรมิ การใชก้ ารออมทรพั ย์ หรอื การใชเ้ งนิ เป็นเครอ่ ื งมือในการพัฒนาคน ให้มีคุณธรรม 5 ประการ 2) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยการระดมเงนิ ออมเป็นกองทุนของชุมชน ทาให้ชุมชน มีแหล่งเงนิ ทุนในการกู้ยืมเงนิ ไปประกอบอาชีพ หรอื ใช้จ่ายตามความจาเป็นของครอบครวั และมีการ ดาเนินงานกิจกรรมเครอื ขา่ ย ทสี่ ามารถเพมิ่ รายได้ให้กับครอบครวั สมาชกิ 3) เพ่ือพัฒนาสังคม ก่อให้เกิดการช่วยเหลือเอ้ืออาทรต่อกัน ความรว่ มมือรว่ มใจ ความเป็น อันหน่ึงอันเดียวกัน เกิดความสามัคคี ความยุติธรรม ความเท่าเทียมกันของสมาชกิ เป็นการพัฒนาผู้นาที่ดี และปลกู ฝังวถิ ีประชาธปิ ไตย กล่าวโดยสรุป กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนในชนบทรวมตัวกัน แก้ไขปัญหาการขาดแคลนเงนิ ทุนและปัจจยั ต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต่อการประกอบอาชพี ด้วยตนเอง โดยการฝึกฝน ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น รู้จัก ป ร ะ ห ยั ด อ ด อ อ ม เ ก็ บ ส ะ ส ม เ ง นิ ทุ น ที่ เ ห ลื อ จ า ก ก า ร ใ ช้จ่า ย ม า ฝ า ก ไ ว้ กั บ ก ลุ่ ม เป็นประจาและสม่าเสมอ เพื่อเป็นทุนในการประกอบอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้ดีข้ึนบนพื้นฐาน ของการพึ่งตนเอง การชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกันและหลักคุณธรรม 5 ประการของประชาชน ซง่ึ เป็นแนวปฏิบตั ิ ทส่ี อดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.3 ความหมายกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ จาแนกความหมายได้ ดังน้ี กลุ่ม เปน็ การรวมตัวของคนตั้งแต่ 2 คนขน้ึ ไป โดยมีวัตถปุ ระสงค์ หรอื เปา้ หมายเดียวกัน ออมทรพั ย์ เปน็ การสะสมเงนิ หรอื ทรพั ย์ทีละเล็กละนอ้ ยอยา่ งสม่าเสมอ จากรายได้ของตนเอง หรอื ภายในครอบครวั เพื่อการผลิต เปน็ การดาเนินงานของกิจกรรมเครอื ขา่ ยกลุ่ม ท่กี ่อให้เกิดอาชพี และรายได้ของกลุ่ม เพม่ิ ข้นึ ก ลุ่ มออมท รัพย์เพื่ อก ารผลิ ต (Savings Group for Production) หมายถึง การรวมตั ว ของประชาชน เพ่ือชว่ ยเหลือตนเอง และชว่ ยเหลือซง่ึ กันและกัน โดยการประหยัดทรพั ย์แล้วนามาสะสมทีละเล็ก ทีละน้อย เป็นประจาสม่าเสมอ เพื่อใชเ้ ป็นทุนให้สมาชกิ ท่ีมีความจาเป็นเดือดรอ้ นกู้ยืมไปใชใ้ นการลงทุนประกอบ อาชพี หรอื เพอ่ื สวสั ดิการของตนเอง และครอบครวั 3.4 การบรหิ ารงานกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต เป็นแหล่งเงนิ ทุนของชุมชนท่ีเกิดจากการรวมตัวกันของคนในชุมชน เพื่อระดมเงนิ ออมของคนในชุมชนไว้ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน การบรหิ ารจัดการถือเป็นหัวใจสาคัญ ในการดาเนินงานของกลุม่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต โดยมหี ลกั การดาเนินงาน ดังนี้ 1) การบรหิ ารจัดการกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ยึดหลักการมีส่วนรว่ มของสมาชิก โดยยึด หลักคุณธรรม 5 ประการ คือ ความซ่ือสัตย์ ความเสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจกัน และความไว้วางใจกัน 2) วธิ กี ารบรหิ ารจดั การ 2.1 ทางานในรูปแบบของคณะกรรมการ โดยสมาชิกเป็นผู้คัดเลือกตัวแทนเข้าร่วม เปน็ คณะกรรมการทาหน้าที่บรหิ ารจดั การกลุ่ม เรยี กว่า คณะกรรมการบรหิ ารกลุม่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ 2.2 สมาชกิ รว่ มกันกาหนดระเบียบข้อบงั คับของกลุม่ และสมาชกิ ปฏิบตั ิตามโดยเครง่ ครดั 22
24 2.3 มีการจัดทาบัญชี เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ ของกลุ่มชัดเจนเป็นปัจจุบัน สามาร ถ ตรวจสอบได้ ปัจจุบันมีบางกลุ่มใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ ข้ามาชว่ ยในการลงบัญชี และจดั ระบบฐานข้อมูล ของกลมุ่ 2.4 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างต่อเน่ือง และมีการประชุมใหญ่สามัญประจาปี อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครง้ั 3.5 โครงสรา้ งและบทบาทหน้าทขี่ องคณะกรรมการบรหิ ารกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิต กลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต เป็นการดาเนินกิจกรรม ทางการเงนิ ที่มีการจัดต้ังขึ้นมา โดยความรว่ มมือของสมาชิก บรหิ ารงานโดยคณะกรรมการท่ีมาจากการเลือกตั้งจากตัวแทนของสมาชิก เรยี กว่า “คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลิต” เพือ่ เป็นการฝึกให้รจู้ กั ควบคมุ กันเอง บรหิ ารงาน กันเอง และตัดสินใจกันเองตามวถิ ีประชาธปิ ไตย ซงึ่ การเลือกคณะกรรมการมีความสาคัญย่ิงต่อการบรหิ าร จดั การกลุ่มออมรพั ย์เพ่ือการผลิต สอดคล้องกับงานวจิ ยั ของอิสรนันท์ ทรงเนติเชาวลิต (2557 : บทคัดย่อ) ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อประสิทธภิ าพการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตจงั หวัดนครปฐม พบว่า ภาวะผู้นา ของคณะกรรมการมีผลต่อประสิทธิภาพการดาเนินงานก ลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเพราะภาวะผู้นา เป็นสิ่งจาเป็นและมีความสาคัญในการบรหิ ารจดั การกลุ่มที่มีเงนิ ทุนเป็นของสมาชกิ เอง ซ่ึงสมาชิกคาดหวัง ว่าเงนิ ของตนเองจะงอกเงยและเกิดประโยชน์กับตนเองในอนาคต ดังนั้น บุคคลท่ีจะเข้ามาเป็น คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่ม จึงต้องเป็นผู้ท่ีมีภาวะความเป็นผู้นาสูง สามารถชักจูงให้สมาชิกรว่ มมือกัน ปฏิบัติงานได้ในทุกกิจกรรม เพ่ือให้การดาเนินงานบรรลุผลสาเรจ็ ซ่งึ คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มออมทรพั ย์ เพ่อื การผลิต ต้องมคี ณุ สมบัติ ดังนี้ 1. ต้องเป็นสมาชกิ กล่มุ ออมทรพั ย์เพอ่ื การผลติ และมคี ุณสมบัติตามขอ้ บังคับของกลมุ่ 2. เป็นบุคคลท่ีมีความรบั ผิดชอบ ซอ่ื สัตย์ เสียสละ มีภาวะผ้นู า และมีความเต็มใจในการทางาน เพื่อส่วนรวม 3. มเี วลาเขา้ รว่ มประชุมคณะกรรมการอยา่ งสม่าเสมอ 4. สนใจศึกษาหาความรเู้ กี่ยวกับการออมทรพั ย์ อาชพี หรอื เรอ่ ื งอื่น ๆ ท่เี ปน็ ประโยนต์ ่อสมาชกิ โดยคณะกรรมการบรหิ ารกล่มุ ออมทรพั ย์เพอ่ื การผลิต ประกอบด้วย 4 คณะ ดังนี้ 1) คณะกรรมการอานวยการ 2) คณะกรรมการเงนิ กู้ 3) คณะกรรมการตรวจสอบ 4) คณะกรรมการส่งเสรมิ วาระการดารงตาแหน่ง คณะกรรมการบรหิ ารกลมุ่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ควรมีวาระการดารงตาแหน่ง คราวละไม่เกิน 4 ปี หรอื ตามท่ีระบุไวใ้ นระเบยี บข้อบังคับของกลุ่ม คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ประกอบด้วย 4 คณะ ดังน้ี 1. คณะกรรมการอานวยการ คณะกรรมการอานวยการ เปน็ คณะกรรมการท่ีทาหน้าท่ีดาเนินกิจกรรมของกลมุ่ ออมทรพั ย์ เพอื่ การผลิตทั่ว ๆ ไป ประกอบด้วยตาแหนง่ ต่าง ๆ ดังนี้ - ประธาน 1 คน - รองประธาน 1 คน 23
25 - เลขานุการ 1 คน - เหรญั ญกิ 1 คน - กรรมการ มีหน้าท่ี 1) พิจารณารบั สมัครสมาชกิ 2) พิจารณาเรอ่ ื งการสะสมเงนิ หรอื รบั ฝากเงนิ 3) กาหนดการประชุมใหญ่ การจดั ทางบดุล และผลการดาเนินงานเสนอต่อทปี่ ระชุม 4) พิจารณากาหนดจานวนเงนิ หุ้นสูงสุดทส่ี มาชกิ จะถือได้ 5) กาหนดวงเงนิ กู้ 6) จดั สรรเงนิ ปนั ผลเงนิ เฉลย่ี คืน 2. คณะกรรมการเงนิ กู้ ประกอบด้วยตาแหน่งต่าง ๆ ดังน้ี - ประธาน 1 คน - รองประธาน 1 คน - เลขานกุ าร 1 คน - กรรมการ มีหน้าที่ 1) พจิ ารณาใบคารอ้ งขอก้เู งนิ ของสมาชกิ 2) สอดส่อง ดูแล ติดตาม ความเคลื่อนไหวของสมาชิกผู้กู้ รวมทั้งเย่ียมเยียนช่วยเหลือ สมาชกิ ทม่ี ีปัญหา ไม่สามารถชาระเงนิ กู้คืนไดั 3. คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย ตาแหนง่ ต่าง ๆ ดังนี้ - ประธาน 1 คน - รองประธาน 1 คน - เลขานกุ าร 1 คน - กรรมการ มีหน้าท่ี 1) ตรวจสอบบญั ชแี ละเอกสารทางการเงนิ 2) ตรวจสอบเอกสารประกอบต่าง ๆ 3) ตรวจสอบการดาเนนิ งานของคณะกรรมการต่าง ๆ 4) ดูแล หรอื ติดตามความเห็น ความต้องการของสมาชกิ หรอื บคุ คลภายนอกทม่ี ตี ่อกลุม่ 4. คณะกรรมการส่งเสรมิ ประกอบด้วยตาแหนง่ ต่าง ๆ ดังน้ี - ประธาน 1 คน - รองประธาน 1 คน - เลขานุการ 1 คน - กรรมการ มีหนา้ ท่ี 1) เชญิ ชวนผู้สนใจสมัครเข้าเป็นสมาชกิ กลมุ่ 2) ให้ความรู้แก่สมาชิก เพื่อสร้างความเข้าใจถึงหลักการ แนวคิด และวัตถุประสงค์ ของกลุ่ม รวมท้ังสนับสนุนการฝึกอบรมเก่ียวกับการดาเนินงานของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต และความรู้ อ่นื ๆ ท่ีสมาชกิ ต้องการ 3) ประชาสัมพนั ธผ์ ลงาน และกิจกรรมของกลุ่มให้สมาชกิ และบคุ คลทว่ั ไปได้ทราบ 24
26 4) เสนอความเห็นเรอ่ ื งการรบั สมาชกิ ใหมข่ องกล่มุ ให้คณะกรรมการอานวยการพจิ ารณา ท้ังน้ี จานวนของคณะกรรมการท้ัง 4 คณะ และระยะเวลาการดารงตาแหน่ง ขึ้นอยู่กับมติของ สมาชกิ และระเบียบข้อบังคับของกลุ่มท่ีกาหนดไว้ ซงึ่ ต้องปฏิบัติหน้าท่ีคณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มออมทรพั ย์ เพอ่ื การผลติ เพ่อื ให้การดาเนนิ งานเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ คือ 1. จดั ทางบประมาณ รายรบั รายจา่ ยของกลุ่ม 2. แต่งตั้งท่ีปรกึ ษาของกลมุ่ 3. กาหนดระเบียบต่าง ๆ เพ่อื ใชเ้ ปน็ ข้อบงั คับสาหรบั กลุ่ม 4. จดั ให้มกี ารเลือกตั้งซอ่ มแทนคณะกรรมการทวี่ ่างลง 5. จ้าง หรอื แต่งตั้งพนักงานประจาของกลุ่มตามความจาเป็น และกาหนดข้อบังคับอัตรา เงนิ เดือน หรอื สวัสดิการให้กับพนักงานเหลา่ นัน้ รวมทงั้ มสี ิทธจ์ิ ะปลดหรอื เลิกจา้ ง คุณสมบตั ิของสมาชกิ กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ดาเนินงานอยู่บนพื้นฐานความสัมพันธข์ องคนในชุมชน จึงต้อง มีกฎเกณฑ์และกระบวนการในการพิจารณาบุคคลที่มารวมกันเป็นสมาชกิ กลุ่ม ว่ามีคุณสมบัติที่เหมาะสม อยู่ในชุมชนที่มีความสัมพันธเ์ ดียวกัน สามารถรว่ มมือชว่ ยเหลือเกื้อกูลกัน และรว่ มมือกันบรหิ ารจดั การกลุ่ม ได้เป็นอยา่ งดี ดังนั้น สมาชกิ ของกลุ่มออมทรพั ย์เพอื่ การผลติ จงึ ต้องมีคณุ ลกั ษณะ ดังนี้ 1. เป็นประชาชนทกุ เพศ ทุกวยั และทกุ อาชพี ในหม่บู า้ น ตาบล 2. มีรายได้ และมคี วามสามารถในการส่งเงนิ สัจจะเป็นรายเดือนสมา่ เสมอ 3. อาศัยอยู่ หรอื มที ีท่ ากินอยู่ในหมบู่ ้าน/ตาบล 4. มคี วามสมคั รใจ และศรทั ธาการดาเนินงานของกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ 5. เป็นผู้ทพ่ี รอ้ มจะปฏิบัติตามระเบียบขอ้ บังคับของกลุ่ม 6. เป็นผทู้ คี่ ณะกรรมการอานวยการมมี ติเห็นชอบให้รบั เปน็ สมาชกิ ประเภทของสมาชกิ ประเภทของสมาชกิ แบ่งได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1. สมาชกิ สามัญ ประกอบด้วยประชาชนทุกเพศ ทุกวัย และทุกอาชีพในหมู่บ้าน ท่ีสมัครเป็นสมาชิก กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต โดยมีความสนใจ และเข้าใจในแนวคิด หลักการและวัตถุประสงค์ในการ ดาเนนิ งานกลุ่มออมทรพั ย์เพอ่ื การผลติ 2. สมาชกิ วสิ ามัญ เปน็ กลมุ่ ต่าง ๆ ทม่ี อี ยู่ในชุมชน เชน่ กลุม่ อาชพี กลมุ่ สตร ีกลุ่มเยาวชน เปน็ ต้น ซงึ่ มคี วามประสงค์ จะส่งเงนิ สัจจะ และสมัครเป็นสมาชกิ ของกลุม่ โดยประธานของกลมุ่ เปน็ ผู้สมคั รในนามของกลุ่ม 3. สมาชกิ พิเศษ (กิตติมศักด์ิ) เปน็ บคุ คลภายนอกชุมชนท่มี คี วามศรทั ธาและมีความสนใจ สมคั รเข้าเป็นสมาชกิ กลมุ่ นาเงนิ มาฝากไว้ แต่ไมม่ ีสิทธก์ิ ้ยู ืมเงนิ จากกลุ่ม ได้แก่ บคุ คลจากหมบู่ ้าน/ตาบลอ่ืน ขา้ ราชการท่วั ไป รวมถึงเจา้ หน้าท่ี พฒั นาชุมชนในพ้นื ที่ ท้ังนี้ การกาหนดประเภทของสมาชกิ ให้เป็นไปตามกติกา ระเบยี บ หรอื ข้อบังคับทีก่ ลุ่มกาหนด 25
27 หน้าทข่ี องสมาชกิ กลมุ่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลติ ส ม า ชิก ก ลุ่ ม อ อ ม ท ร ัพ ย์ เ พื่ อ ก า ร ผ ลิ ต มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง ก ลุ่ ม ใ ห้ ป ร ะ ส บ ความสาเรจ็ เป็นอย่างยิ่ง ซงึ่ สอดคล้องกับงานวจิ ยั ของปรชี า เบี้ยมุกดา (2537 : บทคัดย่อ) ปัจจยั ที่มีผลต่อ ความสาเรจ็ ของโครงการพัฒนาชุมชน ศึกษาเปรยี บเทียบเฉพาะกรณีโครงการที่ส่งเสรมิ การออมทรพั ย์เพ่ือ การผลติ อาเภอเมือง จงั หวัดชยั ภมู ิ พบวา่ ปจั จยั ท่มี ีผลต่อความสาเรจ็ ประกอบด้วย ปจั จยั ด้านการมสี ่วนรว่ ม ของสมาชกิ กลุ่ม และสุดใจ กรองทอง (2553 : บทคัดย่อ) ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อความเข้มแข็งในการดาเนินงาน กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตในจังหวัดบุรรี มั ย์ คือ ด้านการมีส่วนรว่ มในการบรหิ ารจดั การกลุ่ม สมาชกิ จงึ มี หนา้ ที่ ดังน้ี 1. ส่งเงนิ สัจจะเปน็ ประจาสมา่ เสมอทุกเดือน 2. ส่งคืนเงนิ กู้ตามกาหนดสัญญา 3. เลอื กตั้งคณะกรรมการบรหิ ารกลมุ่ 4. เข้ารว่ มประชุมสามญั ประจาปี 5. มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมกลุ่ม 6. ให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และความคิดรเิ รม่ ิ สรา้ งสรรคท์ ีด่ ีแก่กลุ่ม 7. กากับ ตรวจสอบ การดาเนินงานของกลุ่ม ให้ข้อมลู ขา่ วสารแก่เพื่อนสมาชกิ 8. ชาระค่าสมคั ร ค่าธรรมเนียม ตามระเบียบขอ้ บงั คับของกลุ่ม วธิ กี ารออมทรพั ย์ของสมาชกิ การเป็นสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต สมาชิก ต้องฝากเงนิ และจ่ายเงนิ ให้กับกลุ่ม ออมทรพั ย์เพอื่ การผลติ โดยให้เปน็ ไปตามกติกา ระเบียบ หรอื ขอ้ บงั คับทก่ี ลมุ่ กาหนด ดังนี้ 1. ค่าสมัคร ค่าธรรมเนยี ม 1.1 ค่าสมคั รแรกเขา้ (ชาระครง้ั เดียว) 1.2 ค่าธรรมเนยี ม (ถ้าม)ี 2. เงนิ สัจจะสะสม 2.1 เป็นเงนิ ออมตามความสมัครใจ และตามศักยภาพในการออมของตนเองและครอบครวั 2.2 ส่ง “เงนิ สัจจะ” สม่าเสมอเป็นประจาทกุ เดือน ตามท่ีกลมุ่ กาหนดไว้ 3. เงนิ สัจจะสะสมพเิ ศษ เป็นการฝากเงนิ ทีไ่ ม่ได้บงั คับ แต่ข้นึ อยู่กับระเบยี บขอ้ บังคับ หรอื กติกา ที่กลุ่มกาหนดไว้ เชน่ เงนิ ฝากพเิ ศษท่ีมรี ายได้ตามฤดูกาล แยกบญั ชเี งนิ ฝากไว้ต่างหาก เปน็ ต้น เงนิ ทนุ ของกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต เงนิ ทนุ ของกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ อาจได้มาจากเงนิ ต่างๆ ดังนี้ 1. เงนิ สัจจะสะสม เป็นเงนิ ที่ได้จากการออมของสมาชิก จานวนเท่า ๆ กันทุกเดือนตามกาลัง ความสามารถ ซึ่งเรยี กเงนิ ออมที่ฝากรายเดือนจานวนเท่า ๆ กันทุกเดือนน้ีว่า “เงนิ สัจจะ” เม่ือฝากรวมกัน เป็นระยะเวลาหลายเดือนหรอื หลายปี จงึ เรยี กยอดเงนิ รวมท่ีสมาชกิ ได้ฝากออมมาทุกเดือนในจานวนเท่า ๆ กันนั้นว่า “เงนิ สัจจะสะสม” ซง่ึ จะจา่ ยคืนเงนิ สัจจะสะสม เมื่อสมาชกิ ส้ินสุดสมาชกิ ภาพแล้ว โดยกลุ่มจะจา่ ย ผลตอบแทนในรปู ของเงนิ ปนั ผล 2. เงนิ สัจจะสะสมพิเศษ เป็นเงนิ รบั ฝากจากสมาชกิ ทม่ี เี งนิ เหลอื และประสงค์จะฝากเงนิ ไวก้ ับกลุ่ม ซงึ่ สามารถถอนเงนิ ออกไปใชจ้ า่ ยเม่ือจาเปน็ และกลมุ่ จะจา่ ยผลตอบแทนเปน็ ดอกเบ้ียตามระเบยี บของกลมุ่ 3. เงนิ รายได้อ่ืน ๆ เชน่ ค่าสมคั ร ค่าธรรมเนียม ค่าปรบั ดอกเบยี้ เงนิ บรจิ าค เป็นต้น 4. เงนิ อุดหนนุ จากส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และองคก์ รอืน่ ๆ 26
28 โดยการเก็บรกั ษาเงนิ ของกลุ่มออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต สามารถดาเนนิ การโดยให้คณะกรรมการ อานวยการนาไปฝากไวก้ ับธนาคารของรฐั บาล เพ่ือความมัน่ คงและได้รบั ประโยชน์สูงสุด อาทิ ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) หรอื ธนาคารกรุงไทย และให้ประธาน เหรญั ญิก และคณะกรรมการอื่นอีก 1 คน รว่ มกันเป็นผู้เปิดบัญชเี งนิ ฝากธนาคารของกลุ่ม และในการถอนเงนิ แต่ละ ครง้ั ให้ผ้มู อี านาจลงลายมอื ชอื่ อยา่ งนอ้ ย 2 ใน 3 คน จงึ จะสามารถถอนเงนิ ของกลุ่มได้ กิจกรรมของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่อื การผลิต กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต เป็นองค์กรทางการเงนิ ที่ดาเนินกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการเงนิ สรา้ งทุนและผลตอบแทนจากเงนิ ออม เป็นการส่งเสรมิ ให้สมาชิกมีความประหยัด และออมทรพั ย์เพื่อ เสรมิ สรา้ งฐานะทางเศรษฐกิจของสมาชกิ และครอบครวั รวมถึงเพอื่ ชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกัน โดยมกี ิจกรรม ดังนี้ 1. การดาเนินกิจกรรมพ้ืนฐาน เป็นการส่งเสรมิ ให้สมาชกิ ประหยัดและอดออม โดยสมาชกิ มีหน้าที่นาเงนิ มาฝากไวก้ ับกลุ่ม เป็นการออมเงนิ สมา่ เสมอเป็นประจาทุกเดือน เรยี กวา่ “เงนิ สัจจะ” เมื่อมีเงนิ สัจจะฝากทกุ เดือน ทาให้สมาชกิ มเี งนิ ออมเพ่มิ จานวนมากขึน้ เรยี กเงนิ จานวนนัน้ วา่ “เงนิ สัจจะสะสม” และเมอื่ มีเงนิ สัจจะสะสมท่ีมีจานวนเงนิ ทเ่ี พยี งพอ ก็สามารถให้สมาชกิ ก้ยู มื ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการประกอบอาชพี และใชจ้ า่ ยในครวั เรอื นได้ 2. การดาเนินกิจกรรมเครอื ข่าย หรอื กิจกรรมเชงิ ธุรกิจชุมชน เป็นกิจกรรมท่ีกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ดาเนินกิจกรรมเพื่อชว่ ยเหลือและแก้ไขปัญหา ความเดือดรอ้ นของสมาชิกและชุมชน เช่น ศูนย์สาธติ การตลาด ยุ้งฉาง ธนาคารข้าว ป๊ ัมน้ามัน ลานตาก ผลผลิต โรงสีข้าวชุมชน โรงน้าดื่มชุมชน เป็นต้น เป็นการฝึกหัดการดาเนินธุรกิจในระบบกลุ่ม เพ่ือให้เกิด รายได้และกาไรของกลมุ่ เพอ่ื นาไปดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ 3. การจดั สวัสดิการชุมชน กลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลติ สามารถนาเงนิ จากการจดั สรรกาไรสุทธปิ ระจาปีมาจดั สวสั ดิการ ให้กับสมาชิกในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือแก้ไขปัญหาความเดือดรอ้ นและสนองความต้องการด้านสวัสดิการ ของสมาชิกและชุมชน เช่น การรกั ษาพยาบาล การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน การช่วยเหลือด้านฌาปนกิ จ สงเคราะห์ ทุนการศึกษา ทนุ สาธารณะประโยชน์ เป็นต้น ข้อห้ามการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต เป็นการระดมเงนิ ออมที่รเิ รม่ ิ โดยประชาชน จึงไม่มีกฎหมาย ท่ีบังคับใช้โดยตรง ดังนั้น เพื่อไม่ให้กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตเป็นองค์กรการเงนิ นอกระบบที่ไม่ถูกต้อง ตามกฎหมายตาม พ.ร.บ. การธนาคารพาณิชย์ พ.ศ. 2505 พ.ร.บ.การประกอบธรุ กิจเงนิ ทนุ ธรุ กิจหลักทรพั ย์ และธุรกิจเครดิตฟองซเิ อร์ พ.ศ. 2522 และ พ.ร.บ.ธุรกิจการเงนิ พ.ศ. 2551 กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้ทา ความตกลงกับธนาคารแห่งประเทศไทย ตามบันทึกช่วยจาฯ เม่ือวันท่ี 19 ธันวาคม 2531 โดยให้ถือว่า กลุ่มออมทรพั ย์เพือ่ การผลิตเป็นองค์กรการเงนิ ชุมชนทีช่ อบด้วยกฎหมาย โดยมขี อ้ ห้าม 3 ประการ ได้แก่ ❖ ห้ามรบั ฝากเงนิ จากบคุ คลภายนอกท่ไี ม่ได้เปน็ สมาชกิ กลมุ่ ❖ ห้ามไมใ่ ห้บคุ คลภายนอกทม่ี ใิ ชส่ มาชกิ กล่มุ กเู้ งนิ ❖ ห้ามเก็บดอกเบีย้ เงนิ กู้สูงกวา่ อตั ราดอกเบยี้ เงนิ กู้ทกี่ ฎหมายกาหนด (ไมเ่ กินรอ้ ยละ 15 บาทต่อป)ี 27
29 4. ผลการดาเนินงานของกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลิต นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา กรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้มีการจัดต้ัง กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ให้เป็นองค์กรการเงนิ ของชุมชน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสรมิ การใช้ การออมทรพั ย์ หรอื ใช้เงนิ เป็นเครอ่ ื งมือในการพัฒนาคน และส่งเสรมิ ให้มีการเรยี นรูก้ ารทางานรว่ มกัน ในรูปแบบของ “กระบวนการกลุ่ม” และใชเ้ งนิ “สัจจะสะสม” เป็นเครอ่ ื งมือในการสรา้ งวนิ ัยการออมของคน ในชุมชน โดยให้ประชาชนรวมตัวกันออมเงนิ ตามศักยภาพของตนเองและครอบครวั เป็นการสรา้ งภูมิคุ้มกัน ให้แก่สมาชิก และเป็นการสรา้ งหลักประกันความมั่นคงให้กับครอบครวั สมาชิก และให้คนในชุมชนได้ ช่วยเหลือ ดูแลกันในชุมชน ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่สอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน และการมีความรูค้ วบคู่คุณธรรม โดยยึดหลักคุณธรรม 5 ประการ ได้แก่ ความซอื่ สัตย์ ความเสียสละ ความรบั ผดิ ชอบ ความเห็นอกเห็นใจกัน และความไวว้ างใจกัน ปัจจุบัน มีข้อมูลการดาเนนิ งานกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิต (ข้อมูล ณ วนั ที่ 5 ตุลาคม 2564) ดังน้ี ◼ จานวนกลุ่ม 19,222 กลุ่ม ◼ จานวนสมาชกิ กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต 5,187,466 คน ◼ เงนิ สัจจะสะสม จานวน 34,941,530,703 บาท ◼ สมาชกิ กู้ยืมเงนิ จานวน 1,178,962 คน ◼ จานวนเงนิ ที่สมาชกิ กู้ยืม จานวน 24,337,966,705 บาท ◼ การจดั ระดับการพัฒนา ระดับ 3 : ผลงานดี 9,200 กลุม่ คิดเป็นรอ้ ยละ 47.86 ระดับ 2 : ผลงานปานกลาง 7,115 กลมุ่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 37.01 ระดับ 1 : ผลงานควรปรบั ปรงุ 2,907 กลมุ่ คิดเป็นรอ้ ยละ 15.12 การประเมินศักยภาพกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตตามหลักธรรมาภิบาล กรมการพัฒนาชุมชน กาหนดให้จังหวัดและอาเภอประเมินผลการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิตเป็นประจาทุกปี เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการกาหนดแผนงานและแนวทางเพื่อสนับสนุน การดาเนินงานของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้แบบประเมินผลการจัดระดับการพัฒนากลุ่มออมทรพั ย์ เพ่ือการผลิต (4 ด้าน 32 ตัวช้ีวัด) และแบบประเมินตรวจสุขภาพทางการเงนิ กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต (4 ด้าน 19 ตัวชี้วัด) ทั้งนี้ เพ่ือให้ง่ายและสะดวกกับการปฏิบัติงานในพื้นที่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กรมการพัฒนาชุมชนได้พิจารณาปรบั แบบประเมินให้เหลือเพียงแบบเดียวคือ แบบประเมินศักยภาพ กลุ่มออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ ตามหลกั ธรรมาภิบาล (4 หลักการสาคัญ 10 หลกั การยอ่ ย 21 ตัวชว้ี ดั ) ซงึ่ ใชห้ ลกั ธรรมาภิบาล 10 ข้อ มาเป็นแนวทางในการจดั ทาแบบประเมินดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือสารวจค้นหา ปัจจัยเส่ียง แนวโน้มของการดาเนินงาน และเพ่ือการวางแผนการพัฒนา รวมท้ังป้องกันความเส่ียงไม่ให้มี ความเสียหายเกิดขึ้น โดยมีพัฒนากรเป็นผู้จัดเก็บข้อมูลและสรุปผลการประเมินพรอ้ มจดั ระดับการพัฒนา เป็นรายกลุ่ม เม่ือได้ผลการจดั ระดับการพัฒนาของกลุ่มแล้วจงึ ติดตาม ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้กลุ่มจดั ทา แผนการพัฒนา และดาเนินงานตามแผนการพัฒนา เพื่อให้กลุ่มเกิดผลการพัฒนาและมีความเข้มแข็ง โดยมแี นวทางการพัฒนากลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่อื การผลิตแต่ละระดับพัฒนา ดังน้ี 28
30 ระดับ ผลงานดี * ส่งเสรมิ และพฒั นาศักยภาพกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ สู่มาตรฐาน SMART Saving Group (SSG) * ส่งเสรมิ การดาเนนิ งานกิจกรรมเครอื ขา่ ยกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลติ เชงิ ธุรกิจชุมชน * ส่งเสรมิ การประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการการจดั ทาบัญชอี เิ ลก็ ทรอนิกส์กล่มุ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ * ส่งเสรมิ การสรา้ งและพัฒนาทักษะทางการเงนิ (Financial Literacy) * ส่งเสรมิ ในการเป็นแกนนาในการดาเนินงานศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชน * ส่งเสรมิ การขับเคลอื่ นการดาเนนิ งานสู่การเปน็ สถาบนั การเงนิ ประชาชน (นติ ิบุคคล) * ส่งเสรมิ ให้มกี ารจดั ทาประกันความเสี่ยงการดาเนนิ งานของกลมุ่ ระดับ ผลงานปานกลาง * ส่งเสรมิ การดาเนนิ งานกิจกรรมเครอื ขา่ ยกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ เชงิ ธุรกิจชุมชน * สง่ เสรมิ การประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการการจดั ทาบญั ชอี ิเลก็ ทรอนิกส์กลุม่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลติ * สง่ เสรมิ การสรา้ งและพัฒนาทักษะทางการเงนิ (Financial Literacy) * เสรมิ สรา้ งศักยภาพคณะกรรมการด้านการบรหิ ารจัดการกลุ่มตามหลักธรรมาภิบาล โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ * รณรงค์และสง่ เสรมิ ให้มเี กดิ การออมและการเพมิ่ ข้ึนของสมาชกิ * ส่งเสรมิ ให้มีการจดั สรรผลกาไรและจดั ให้มีสวสั ดิการชุมชนทุกปี * ส่งเสรมิ ให้กลุม่ ทีม่ ีอย่ใู นชุมชนสมัครเป็นสมาชกิ วสิ ามญั ของกลมุ่ ระดับ ผลงานต้องปรบั ปรุงและพฒั นา * สง่ เสรมิ ความรคู้ วามเข้าใจการดาเนนิ งานกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ คณุ ธรรม 5 ประการ * สง่ เสรมิ ศักยภาพคณะกรรมการด้านการบรหิ ารจดั การกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ * รณรงค์และสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการออมและการเพ่ิมขึ้นของสมาชกิ * ส่งเสรมิ การสรา้ งและพัฒนาทักษะทางการเงนิ (Financial Literacy) การดาเนินงานกิจกรรมเครอื ข่ายกลุม่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิต กิจกรรมเครอื ข่ายกลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลติ หมายถึง กิจกรรมทางธุรกิจชุมชนของกลุม่ ออมทรพั ย์ เพื่อการผลิต หรอื การลงทุนของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต อันประกอบด้วย กิจกรรมการผลิต กิจกรรม การขายผลผลิต กิจกรรมการซื้อ-ขายการบรกิ ารและการบรโิ ภคของชุมชน ซงึ่ กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ท่ีมีความเข้มแข็งจะสามารถขยายกิจกรรมเครอื ข่าย หรอื กิจก รรมเชิงธุรกิจชุมชนได้ตามศักยภาพ ความพร้อม และความต้ องการของสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต โดยอาศัยความร่วมมือ และการมีส่วนรว่ มของสมาชิกเพื่อยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน เป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา ความเดือดรอ้ นของสมาชกิ และชุมชน เชน่ ศูนยส์ าธติ การตลาด ยุ้งฉาง ธนาคารขา้ ว โรงนา้ ดื่มชุมชน ป๊ มั น้ามัน ลานตากผลผลิต โรงสีข้าวชุมชน เป็นต้น ซงึ่ ถือว่าเป็นการฝึกหัดการดาเนินธุรกิจในรูปแบบกลุ่ม โดยมุ่งหวงั 29
31 ให้กลุ่มมีรายได้เพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้สมาชิกมีรายได้ ลดรายจ่าย และนาไปดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ หรอื จัด ส วั ส ดิ ก า รใ ห้ กั บ สมา ชิก ก ลุ่มแ ล ะ ชุ มชน ไ ด้ ซึ่ง กิ จ กร ร มเค ร อื ข่า ย ของกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต ทก่ี รมการพัฒนาชุมชนได้สนับสนนุ ให้กลมุ่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิตดาเนินการ ได้แก่ ศูนยส์ าธติ การตลาด 693 แห่ง ยุง้ ฉาง 91 แห่ง ธนาคารขา้ ว 183 แห่ง โรงสีขา้ วชุมชน 106 แห่ง ป๊ มั น้ามนั 73 แห่ง ลานตากผลผลติ 153 แห่ง กองทนุ ปุ๋ย 149 แห่ง โรงนา้ ด่ืมชุมชน 48 แห่ง อ่ืน ๆ อาทิ โรงงานทาแปง้ ขนมจนี รา้ นค้าชุมชน การพัฒนาสู่โรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลิต กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสรมิ และสนับสนุนกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตที่มีการบรหิ ารจัดการ ที่เข้มแข็ง และมีศักยภาพในการถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์ให้กับคณะกรรมการกลุ่มออมทรพั ย์ เพ่ือการผลิตกลุม่ อ่ืน ๆ ให้เกิดการเชอื่ มโยงเป็นเครอื ขา่ ยการแลกเปลยี่ นเรยี นรูซ้ งึ่ กันและกัน ภายใต้แนวคิด “พ่ีสอนน้อง เพื่อนสอนเพื่อน” จงึ ส่งเสรมิ และสนับสนุนให้กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตท่ีมีการบรหิ ารจดั การ ทเี่ ขม้ แข็งดังกลา่ ว พฒั นาเป็นโรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพือ่ การผลิต โดยมีวตั ถุประสงค์ในการจดั ต้ัง ดังนี้ 1. เพื่อให้มีสถานทีส่ าหรบั การเรยี นรดู้ ้านการบรหิ ารจดั การกล่มุ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต 2. เพื่อเป็นการสรา้ งเครอื ขา่ ยการเรยี นรูก้ ล่มุ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ 3. เพ่ือพฒั นาศักยภาพของคณะกรรมการกลมุ่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลติ ในเขตพืน้ ทีท่ ีต่ ั้งของโรงเรยี น โดยกาหนดดาเนินการระหว่างเดือนมกราคม – มิถุนายนของทุกปี และทุกโรงเรยี นดาเนินการ ฝึกอบรม 3 หลกั สูตร ได้แก่ 1. หลกั สูตรการบรหิ ารจดั การกลุ่มออมทรพั ย์เพอ่ื การผลติ 2. หลกั สูตรการบัญชกี ลมุ่ ออมทรพั ย์เพือ่ การผลิต 3. หลักสูตรกิจกรรมเครอื ข่ายกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลติ ปัจจุบันมีโรงเรยี นกล่มุ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตทว่ั ประเทศ จานวน 8 แห่ง ดังนี้ 1. โรงเรยี นกลุม่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิตบ้านหนองผกั นาก หมู่ 5 ตาบลหนองผกั นาก อาเภอสามชุก จงั หวัดสพุ รรณบุร ี 2. โรงเรยี นกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิตบา้ นทงุ่ สะท้อน หม่ทู ่ี 6 บา้ นทงุ่ สะทอ้ น ตาบลปากแพรก อาเภอบางสะพานนอ้ ย จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธ์ 3. โรงเรยี นกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พือ่ การผลติ บา้ นดอนคา หมู่ 2 ตาบลทอนหงส์ อาเภอพรหมคีร ีจงั หวดั นครศรธี รรมราช 4. โรงเรยี นกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ บา้ นโจด หมู่ 16 ตาบลเจา้ ท่า อาเภอกมลาไสย จงั หวัดกาฬสินธุ์ 5. โรงเรยี นกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลิตบา้ นปญั จะพฒั นา หมู่ 11 ตาบลแม่สาว อาภอแมอ่ าย จงั หวดั เชยี งใหม่ 6. โรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ บา้ นขาม หมู่ 2 ตาบลบา้ นขาม อาเภอจตั ุรสั จงั หวัดชยั ภูมิ 30
32 7. โรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตบ้านสระยายชี หมู่ 6 ตาบลเนินปอ อาเภอสามงา่ ม จงั หวัดพจิ ติ ร 8. โรงเรยี นกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลติ บา้ นขอนขว้าง หมู่ 10 ตาบลดงข้ีเหลก็ อาเภอเมืองปราจนี บุร ีจงั หวดั ปราจนี บรุ ี การพฒั นาสู่ศูนย์จดั การกองทนุ ชุมชน (ศจก.) กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้และการมีส่วนร่วม ของประชาชน และส่งเสรมิ การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มีความม่ันคงและมีเสถียรภาพให้เกิดขึ้น ในหมู่บา้ น/ชุมชน โดยให้ความสาคัญกับการบรหิ ารจดั การเงนิ ทนุ ชุมชนให้มปี ระสิทธภิ าพและเห็นความสาคัญ ของการแก้ปัญหาหนี้ครวั เรอื นที่จะต้องแก้ปัญหาที่ต้นตอ นั่นคือระดับครวั เรอื น กรมการพัฒนาชุมชน จงึ ได้ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้กลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลติ ทเี่ ข้มแข็ง โดยเปน็ กล่มุ ที่ได้รบั การประเมินศักยภาพ ตามหลักธรรมาภิบาล อยู่ในระดับ 2 หรอื ระดับ 3 สามารถเป็นแกนหลักในการบรหิ ารจัดการหน้ีของคนในชุมชน โดยเป็นแกนหลักในการจดั ตั้งศูนย์จัดการกองทุนชุมชน (ศจก.) และขับเคล่ือนโดยคณะกรรมการศูนย์จัดการ กองทุนชุมชนท่ีมาจากตัวแทนของกลุ่ม/องค์กรต่าง ๆ ในหมู่บ้าน/ชุมชน รว่ มกันทาหน้าท่ีเช่ือมโยงการบรหิ าร จัดการเงนิ ทุนชุมชนให้เกิดความคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ สูงสุด เพ่ือแก้ไขปัญหาหน้ีสิน ของคนในชุมชนที่เป็นหนี้กองทุนต่าง ๆ ทั้งกองทุนท่ีเกิดจากการรวมตัวของชาวบ้านเอง และกองทุนที่จัดตั้ง โดยภาครฐั ผ่านกระบวนการบรหิ ารจัดการหนี้ เป้าหมายคือ “การลดหนี้/ปลดหนี้” ของครวั เรอื น โดยการสารวจ และจดั ทาฐานข้อมูลกองทุนชุมชน ฐานข้อมูลหนี้สินครวั เรอื น ลูกหน้ี วเิ คราะห์ข้อมูลและจดั ประเภทลูกหนี้ บรหิ ารจดั การหนี้ ปรบั โครงสรา้ งหนี้ และส่งเสรมิ วนิ ัยทางการเงนิ ให้กับคนในชุมชน โดยการส่งเสรมิ สนับสนุน ให้ครวั เรอื นน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรบั ใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ส่งเสรมิ การออม และวางแผน ชีวติ นาไปสู่ชีวติ ท่ีมีคุณภาพต่อไป ซ่ึงถือเป็นส่ิงสาคัญในการช่วยเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของหมู่บ้าน/ชุมชน และนาพาให้เศรษฐกิจของประเทศเติบโตได้อย่างมั่นคงในที่สุด ปัจจุบัน กรมการพัฒนาชุมชนมีศูนย์จัดการ กองทุนชุมชนที่อยู่ในความรบั ผดิ ชอบ จานวน 1,138 แห่ง (ในพน้ื ที่ 76 จงั หวดั 878 อาเภอ) ประโยชน์ของการดาเนินงานกลุม่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลิต การจัดต้ังกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ก่อให้เกิดส่ิงดี ๆ ทั้งต่อสมาชิกและชุมชนหลายประการ ได้แก่ ▪ ทาให้รจู้ กั ประหยดั สะสมเก็บออมเงนิ ▪ ทาให้รจู้ กั การแจกแจงการเงนิ และรายได้ในครวั เรอื น ▪ ทาให้สมาชกิ รวมน้าใจ รวมทุนชว่ ยเหลอื กัน ▪ ทาให้มีเงนิ ทนุ สนับสนนุ การประกอบอาชพี ▪ ทาให้สมาชิกมีแหล่งเงนิ ทุนเพ่ือนาไปประกอบอาชีพและนาไปใช่ในส่ิงที่จาเป็นสาหรบั ตนเอง และครอบครวั ▪ ทาให้รจู้ กั ผนึกกาลงั ความสามคั คีชว่ ยเหลอื กัน ▪ ทาให้มีกองทุนสวสั ดิการเพ่อื สมาชกิ ▪ ทาให้มีกองทุนการเงนิ ของชาวบ้านเพือ่ การพึง่ ตนเองในชุมชน ▪ ทาให้รจู้ กั รว่ มกันรบั ผดิ ชอบและการทางานเปน็ ทีม ▪ ทาให้เกิดการเรยี นรเู้ สรมิ สรา้ งประสบการณ์เรอ่ ื งเงนิ ทนุ 31
32 32
33 ส่วนท่ี 2 การวเิ คราะห์การดาเนินงาน กล่มุ ออมทรพั ย์เพอ่ื การผลติ 33
34 ส่วนท่ี 2 การวเิ คราะห์การดาเนินงานกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลติ 1. หลักการวเิ คราะห์ด้วย SWOT Analysis SWOT Analysis ส ร้า ง ข้ึ น โ ด ย Albert Humphrey จ า ก Stanford Research Institute ในช่วงปลายปี ค.ศ. 1960 เป็นเคร่อื งมือที่ใช้วเิ คราะห์สภาพและสถานการณ์ของ องค์กรในภาพรวม ในชว่ งระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง รวมทั้งโอกาสในอนาคต ซงึ่ อาจจะเรยี กว่า SWOT Matrix ก็ได้ เพ่ือประโยชน์ ในการใช้วางแผนงาน ตลอดจนการสรา้ งกลยุทธต์ ่าง ๆ ในการดาเนินธุรกิจ หรอื ดาเนินกิจการขององค์กร ให้มีประสิทธภิ าพ และเหมาะสมกับสภาพความเป็นจรงิ ขององค์กรอย่างที่สุด นอกจากน้ี SWOT ไม่ใชเ่ พียง นามาใชว้ เิ คราะห์องค์กรในภาพรวมได้เท่านั้น แต่ยังนามาใชก้ ับแผนงาน/โครงการใหม่ ๆ รวมไปถึงตัวบุคคล ได้ด้วยเชน่ กัน Swot Analysis สามารถพิจารณาองค์ประกอบต่าง ๆ ที่แวดล้อมองค์กร หรอื กิจการ ซึง่ ประกอบ ไปด้วย 4 ปัจจัยสาคัญ และสามารถแบ่งออกเป็น ปัจจัยภายในองค์กร (Internal factors) และปัจจัย ภายนอกองค์กร (External factors) ดังน้ี 1. ปจั จยั ภายในองค์กร (Internal factors) หมายถึง สภาพแวดล้อมภายในองค์กรทีม่ ผี ลกระทบต่อการดาเนินกิจกรรมขององค์กร แยกเป็น 1.1 จุดแขง็ (Strengths) : S จุดแข็ง คือ ข้อได้เปรยี บขององค์กร หมายถึง ลักษณะพิเศษ หรอื ลักษณะเด่นขององค์กร ท่ีเอื้อต่อการประสบความสาเรจ็ สามารถนามาใช้ประโยชน์และใช้แข่งขันกับคู่แข่งได้ ยกตัวอย่างเช่น ความสามารถเฉพาะทางของผู้ประกอบการในการดาเนินธุรกิจ ความสามารถในการนานวัตกรรมมาใช้ ในการดาเนินกิจการ การทางานรว่ มกันเป็นอย่างดีของบุคลากรภายในองค์กร การมีความสัมพันธท์ ่ีดีของคน ในองค์กร เป็นต้น 1.2 จุดอ่อน (Weakness) : W จุดอ่อน คือ ข้อด้อย ข้อเสีย หรอื ปัญหาภายในองค์กร ท่ีส่งผลกระทบต่อการดาเนินงาน ขององค์กร สามารถนาไปสู่ความล้มเหลวขององค์กรได้ ยกตัวอย่างเชน่ ปัญหาด้านการส่ือสารของบุคลากร ภายในองค์กร การใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ีไ่ มม่ ีลิขสิทธ์ิ การมคี ่าใชจ้ า่ ยสูงเกี่ยวกับค่าเชา่ สถานท่ี เปน็ ต้น 2. ปัจจยั ภายนอกองค์กร (External factors) หมายถึง สภาวะภายนอกองค์กร ท่อี าจมผี ลกระทบต่อการดาเนนิ งานขององค์กร แยกเปน็ 2.1 โอกาส (Opportunity) : O โอกาส คือ ปัจจยั ท่ีส่งผลกระทบในแงข่ องการเอ้ือประโยชน์ให้กับการดาเนินงานขององค์กร โอกาสต่างจากจุดแข็ง ตรงท่ีเป็นปัจจัยท่ีเกิดจากภายนอกองค์กร แต่ส่งผลในทางท่ีดีหรอื ในทางได้เปรยี บ ขององค์กร ซึ่งเอื้อต่อความสาเรจ็ ของการดาเนินงานขององค์กร ยกตัวอย่างเช่น รฐั บาลออกนโยบาย 34
35 ท่ีสนับสนุนอุตสาหกรรมท่ีกิจการกาลังดาเนินธุรกิจอยู่ เศรษฐกิจที่อยู่ในช่วงขาข้ึน หรอื การมีเทค โนโลยี หรอื นวัตกรรมใหม่ ๆ ท่ชี ว่ ยให้การดาเนินกิจการเปน็ ไปได้อยา่ งเต็มประสิทธภิ าพมากขนึ้ เปน็ ต้น 2.2 อุปสรรค หรอื ภัยคุกคาม (Threats) : T อุ ป ส ร ร ค คื อ ค ว า ม เ สี ย เ ป ร ยี บ ห ร อื ผ ล เ สี ย จ า ก ปั จ จัย ภ า ย น อ ก ท่ี ส่ ง ผ ล ก ร ะ ท บ ต่อการดาเนนิ งานขององค์กร อาจนามาซง่ึ ปญั หา และความลม้ เหลวขององค์กรได้ ยกตัวอย่างเชน่ เศรษฐกิจ ที่กาลังตกต่า ราคาน้ามันท่ีสูงข้ึนทาให้ต้นทุนในการดาเนินงานเพิ่มข้ึน การเพ่ิมค่าแรงของแรงงาน หรอื นโยบายอตั ราดอกเบย้ี ทถ่ี กู ปรบั ให้สูงขึน้ เปน็ ต้น หลักในการใช้ SWOT Analysis กับองค์กร ก็คือ ผู้บรหิ ารองค์กรสามารถรบั รูส้ ถานะขององค์กร ในสถานการณ์ปัจจุบันได้อย่างทันท่วงที ซ่ึงการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์กร จะทาให้รูจ้ ุดแข็ง และจุดอ่อนขององค์กร ส่วนการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร จะทาให้มองเห็นโอกาส และอุปสรรคต่อการดาเนินงานขององค์กรได้ ทาให้ทราบถึงการ “รูเ้ ขา รูเ้ รา” นัน่ เอง 2. วธิ กี ารวเิ คราะห์ด้วย SWOT Analysis การวเิ คราะห์ SWOT Analysis มวี ธิ กี ารหรอื ขั้นตอนในการวเิ คราะห์ ดังน้ี 2.1 เรม่ ิ จากวตั ถปุ ระสงค์ของ SWOT วัตถุประสงค์ของ SWOT จะบ่งบอกว่าปัจจัยต่าง ๆ ท่ีมีนั้น ปัจจัยใดที่สามารถแก้ปัญหา หรอื ทาตามวัตถุประสงค์ได้ดีท่ีสุด ซง่ึ จะชว่ ยให้เราเลือกปัจจยั ต่าง ๆ มาสรา้ งเป็นแผนกลยุทธไ์ ด้ง่ายมากข้ึน ภายหลงั ยกตัวอย่างเชน่ สามารถใชก้ ารวเิ คราะห์ SWOT เพื่อหาวธิ เี พ่มิ ยอดขาย หาชอ่ งทางตลาดสินค้าใหม่ หรอื หาวธิ เี ปล่ยี นแปลงระบบทางาน เป็นต้น 2.2 ทาความเข้าใจองค์กร ไม่วา่ จะเปน็ ปัจจยั ภายในหรอื ปัจจยั ภายนอก ต้องเรม่ ิ จากการเปรยี บเทยี บกับค่แู ขง่ เพราะฉะนัน้ ก่อนที่จะเรม่ ิ ทา SWOT จึงควรทาความเข้าใจองค์กรในมุมมองที่หลากหลาย โดยอาจพูดคุยแลกเปล่ียนกับ คนที่เกี่ยวขอ้ งให้หลากหลาย เพ่อื จะได้แนวคิดทีห่ ลากหลายเชน่ กัน 2.3 เรม่ ิ จากจุดแขง็ จุดแขง็ เปน็ ข้อดีจากปจั จยั ภายใน จงึ เป็นสิ่งทเ่ี รม่ ิ วเิ คราะห์ได้งา่ ยท่สี ุด เพราะจุดแขง็ เป็นสิ่งท่ีคน ในองค์กรน่าจะเข้าใจองค์กรได้ดีที่สุด ซึ่งตัวอย่างอาจรวมถึงจุดแข็งท่ีเกี่ยวข้องกับพนักงาน ทรพั ยากร ทางการเงนิ ทาเลที่ตั้ง ข้อได้เปรยี บด้านต้นทุนต่าง ๆ และความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งในข้ันตอนน้ี ให้ระดมความคิด และเขยี นข้อดี จุดแข็งต่าง ๆ เป็นรายการออกมาก่อน จงึ ค่อยจดั ลาดับความสาคัญขน้ั ตอน ต่อไป 2.4 วเิ คราะห์จุดอ่อน การวเิ คราะห์จุดอ่อน เป็นการเปลี่ยนมุมมองจากการวเิ คราะห์จุดแข็ง ซงึ่ เป็นส่ิงท่ีทาให้องค์กร เสียเปรยี บ หรอื มีจุดอ่อน ยกตัวอย่างเชน่ การมีสต็อกน้อยไม่พอขาย พนักงานลาบ่อย เป็นต้น ซงึ่ ทั้งจุดแข็ง และจุดอ่อน เป็นปจั จยั ทตี่ ้องเปรยี บเทยี บกับค่แู ขง่ ขององค์กรและองค์กรในอดีต 2.5 เรยี บเรยี งโอกาส เป็นการวเิ คราะห์โอกาสภายนอกท่ีเป็นไปได้สาหรับองค์กร ข้อเน้นย้าก็คือที่ ‘เป็นไปได้’ เพราะโอกาสไม่จาเป็นต้องเกิดขึ้นจรงิ เสมอ เพียงแต่โอกาสต้องมีความเป็นไปได้ที่จะเกิดบ้าง อย่างไรก็ตาม ในบางปจั จยั ก็อาจจะเป็นได้ท้ังโอกาสและอุปสรรค ซง่ึ ขึ้นอย่กู ับมมุ มองของผูว้ เิ คราะห์ก็ได้ ทั้งน้ี ปัจจยั หนึ่งอย่าง ก็ไม่ควรถูกระบุว่าเป็นทั้งโอกาสและอุปสรรคพรอ้ มกัน ซ่ึงโอกาสอาจรวมถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆ คู่ค้าใหม่ ๆ การสนับสนนุ จากรฐั บาลก็ได้ 35
36 2.6 คานึงถึงอุปสรรค เปน็ การเขียนปัจจยั ภายนอกท่ีอาจเป็นอุปสรรค หรอื ก่อให้เกิดปัญหากับองค์กร โดยอาจวเิ คราะห์ ว่าเป็นส่ิงตรงข้ามกับปัจจัยโอกาสก็ได้ ตัวอย่างเช่น คู่แข่งคนใหม่ นโยบายภาครัฐท่ีไม่ได้สนับสนุน หรอื ค่าเงนิ ตราต่างประเทศทเ่ี ปลีย่ นแปลงบอ่ ย เป็นต้น 2.7 จดั ลาดับความสาคัญของปัจจยั ต่าง ๆ เมื่อได้วเิ คราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคแล้ว จึงต้องจัดลาดับความสาคัญของ ปัจจัยต่าง ๆ เพื่อท่ีจะดูว่าปัจจยั ใดสาคัญที่สุด สามารถให้เป็นตัวเลขระหว่าง 1 ถึง 10 จากไม่สาคัญไปถึง สาคัญทสี่ ุดของแต่ละปัจจยั ก็ได้ 2.8 สรา้ งแผนกลยุทธ์ เม่ือวเิ คราะห์จุดแขง็ จุดออ่ น โอกาส อปุ สรรค และจดั ลาดับความสาคัญของปจั จยั ต่าง ๆ แล้ว ซงึ่ ผลการวเิ คราะห์ SWOT ทด่ี ีนั้น สามารถนาไปสู่การจดั ทาแผนปฏิบัติการและข้ันตอนท่สี ามารถเป็นไปได้ ในทางปฏิบัติ ซง่ึ มีประเด็นสาคัญในการพิจารณา ดังนี้ 1) เราจะสามารถใชจ้ ุดแขง็ เพอื่ เปน็ โอกาสเราได้หรอื ไม?่ 2) เราจะสามารถใชจ้ ุดแขง็ เพือ่ แก้อปุ สรรคต่าง ๆ ได้หรอื ไม่? 3) เราจะสามารถลดจุดอ่อนด้วยโอกาสต่าง ๆ ได้หรอื ไม?่ 4) เราจะสามารถลดจุดอ่อนด้วยการก้าวผา่ นอุปสรรคได้หรอื ไม?่ 3. สรุปผลการวเิ คราะห์ด้วย SWOT Analysis ของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต 3.1 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมการดาเนินงานของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ➢ การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในกลมุ่ ออมทรพั ย์เพื่อการผลติ จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) S1 ทรพั ยากรบุคคล (Man) W1 ทรพั ยากรบุคคล (Man) ➢ คณะกรรมการ ➢ คณะกรรมการ 1. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร มี ค ว า ม รู้ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ 1. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร มี อ ง ค์ ค ว า ม รู้น้ อ ย และมีอดุ มการณ์ในการปฏิบัติหน้าท่ี ในการบรหิ ารงานเชงิ ธรุ กิจชุมชน 2. มีการสรรหาคณะกรรมการจากสมาชิกท่ี มี 2. ข า ด ค ว า ม รู้ใ น ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี คุณสมบัติและมีความพรอ้ มในการบรหิ ารกล่มุ ทเี่ ออ้ื อานวยต่อการบรหิ ารจดั การกลุ่ม 3. มีความสาเร็จในการบรหิ ารจัดการของกลุ่ม และระบบบญั ชขี องกลุม่ ทม่ี ีประสิทธภิ าพ 3. ค น รุ่น ใ ห ม่ ไ ม่ รับ รู้ ไ ม่ ส น ใ จ ไ ม่ ใ ห้ 4. มีทีมวทิ ยากรหรอื ผู้ที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ความสาคัญและไม่มารว่ มขับเคลื่อน เก่ียวกับการบรหิ ารจดั การกลุ่มฯ การกลุ่มออมทรพั ยฯ์ 5. คณะกรรมการกลุ่มออมทรพั ย์ฯ ส่วนใหญ่มาจาก 4. คณะกรรมการไม่ปฏิบัติตามบทบาท ผู้นาชุมชนท่ีมีความสามารถในการบรหิ ารจัดการ หนา้ ท่ี กลุม่ หรอื กองทนุ ในชุมชน 5. คณะกรรมการส่วนใหญ่เป็นผสู้ ูงอายุ 6. ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก ลุ่ ม อ อ ม ท รัพ ย์ ฯ ขาดความม่ันใจในการบรหิ ารจดั การกลมุ่ และกลัวความเส่ียงท่ีจะลงทุนหรอื ทา ธรุ กรรมทางการเงนิ 36
37 จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) S1 ➢ สมาชกิ W1 ➢ สมาชกิ ๑. มีความเชอื่ ม่ัน และความศรทั ธาต่อกล่มุ ออมทรพั ย์ฯ 1. สมาชิกกลุ่มออมทรพั ย์ฯ มีจานวนน้อย /คณะกรรมการ เมื่อเทียบจานวนประชากรของหมู่บ้าน ๒. สมาชกิ มีส่วนรว่ มของกลุ่ม ก่อให้เกิดการบรหิ าร เน่ืองจากขาดการประชาสัมพันธ์เชิญ จดั การที่ดี ชวนและสรา้ งการรบั รูใ้ นการสมัครเป็น ๓. สมาชกิ ให้ความสาคัญในการออมเงนิ สัจจะสะสม สมาชกิ กลุม่ ออมทรพั ย์ฯ ๔. สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ฯ ส่วนใหญ่มีความรู้ 2. สมาชิกบางคนสมัครเป็นสมาชิกกลุ่ม ความเข้าใจในแนวคิด หลักการและวัตถุประสงค์ เพื่อจุดประสงค์ในการกู้ยืมเงนิ เป็นหลัก ของการดาเนินการกลมุ่ ออมทรพั ย์ฯ แต่ไม่เห็นความสาคัญของการออม ๕. สมาชิกกลุ่มออมทรพั ย์ฯ ท่ีกู้ยืมเงนิ ส่วนใหญ่ 3. สมาชิกกู้เงนิ แต่ไม่นาไปใช้ประโยชน์ มีความรบั ผิดชอบส่งใชค้ ืนเงนิ กู้ยืมตามกาหนด ในการสรา้ งงาน สรา้ งอาชพี หรอื บรรเทา สัญญา ความเดือดรอ้ นของครอบครวั ๖. สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์ฯ รู้สึกถึงความเป็น เจ้าของกลุ่มร่วมกัน จึงให้ความใส่ใจในการ ดาเนินงานของกลุ่ม ส่งผลต่อการบรหิ ารจดั การ ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ S2 งบประมาณ (Money) W2 งบประมาณ (Money) ๑. เป็นแหล่งเงนิ ทุนท่ีมีในชุมชน ประชาชนสามารถ ๑. ข า ด ก า ร ส นั บ ส นุ น ง บ ป ร ะ ม า ณ เข้าถึงได้ง่าย ท้ังการสมัครเป็นสมาชิก การออม จากหนว่ ยงานของรฐั อยา่ งต่อเน่อื ง ตามกาลงั ความสามารถ และการขอกู้ยืมเงนิ ๒. เป็นแหล่งเงนิ ทุนที่สาคัญในชุมชนท่ีให้สมาชกิ กู้ยืมได้ในอัตราดอกเบ้ียต่าสามารถสรา้ งงาน ส ร้า ง ร า ย ไ ด้ หร อื บ รร เ ทา ค วา มเ ดื อ ดร้อน ของครอบครวั สมาชกิ ได้ ๓. มีการค้าประกันเงนิ กู้โดยสมาชิกด้วยกันเอง ตามระเบียบข้อบงั คับกลุ่ม S3 วธิ กี าร/ การดาเนินการ (Method) W3 วธิ กี าร/ การดาเนินการ (Method) ๑. ภาพลักษณ์ของกลุ่มที่มีความโดดเด่นในการเปน็ ๑. ขาดการบันทึกองค์ความรู้หรอื ถอด ก อ ง ทุ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น บ ร ิห า ร จั ด ก า ร บทเร ยี นการด าเนิ นง าน ที่ ประ สบ โดยประชาชน เป็นการให้ประชาชนพ่ึงตนเอง ความสาเร็จ ท้ังในด้ านกา ร บ ร หิ าร ลดการพึง่ พงิ ภายนอก จัดการของคณะกรรมการและสมาชกิ ๒. เปน็ กองทุนท่ชี ว่ ยสรา้ งวนิ ัยการออมของคน กลุ่มออมทรัพย์ฯ ที่เป็นครัวเรอื น ในชุมชน ต้นแบบ ๓. เป็นกิจกรรมหลกั ที่สามารถเชอ่ื มโยงการพฒั นา ๒. ขาดองค์ความรู้ท่ีเก่ียวกับการเงนิ การ ในทกุ กิจกรรมในชุมชน อาทิ โครงการ กข.คจ. , จดั ทาบญั ชี และข้อกฎหมายท่เี กี่ยวข้อง การพฒั นาหมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง ,OTOP ๓. การเผยแพรข่ ้อมูลข่าวสารให้กับสมาชกิ ๔. เปน็ แกนหลกั ในการบรู ณาการกองทนุ ในชมุ ชน ยังไมค่ รอบคลุมท้ังหมด ๕. กลมุ่ ออมทรพั ย์ฯ เปน็ ศูนย์เรยี นรขู้ องชมุ ชน 37
38 จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) S3 ๖. กิ จกรรมด้ านสวัสดิ การและด้ านสาธารณะ W3 ๔. ก า ร ถ่ า ย ท อ ด อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ไ ม่ ต ร ง ประโยชน์มีความหลากหลาย สามารถตอบสนอง ตามวัตถุประสงค์ ความต้องการและการแก้ไขปัญหาของสมาชิก ๕. มีปัญหาในเร่อื งหนี้ค้างชาระ หรอื หน้ี และชุมชน นอกระบบ ๗. ยดึ กติกา ขอ้ บงั คับ หรอื ระเบยี บกลมุ่ ท่ีชดั เจน และดาเนินการตามทก่ี าหนดไวอ้ ย่างเครง่ ครดั ๘. กระบวนการของกลุ่มออมทรพั ยฯ์ ก่อให้เกิด สังคมแห่งการเกื้อกูลระหวา่ งคณะกรรมการ กลมุ่ ฯ กับสมาชกิ มีการสรา้ งความสัมพันธท์ ี่ดี ถ้อยทถี ้อยอาศัยในการชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกัน S4 เครอ่ ื งมือ (Tool) W4 เครอ่ ื งมือ (Tool) ๑. มรี ะบบโปรแกรมคอมพิวเตอรพ์ นื้ ฐาน ๑. ขาดวัสดุอปุ กรณ์ และเทคโนโลยี ในการจดั การระบบบัญชี และการบรหิ าร ในการบรหิ ารจดั การ จดั การให้กับสมาชกิ ทาให้สามารถทางานได้ ๒. อาคารสถานทขี่ องกลมุ่ บางแห่ง อย่างรวดเรว็ ถูกต้องแมน่ ยา ไม่เหมาะสมในการดาเนินกิจกรรมอื่น ➢ การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกกล่มุ ออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต โอกาส (Opportunity) ภัยคุกคาม (Threat) O1 หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน รวมท้ัง T1 กฎระเบียบของทางราชการและเจ้าหน้าที่ท่ี สถาบันการเงนิ ให้การส่งเสรมิ สนับสนุนการ เก่ียวข้องในการสนับสนนุ และยังมคี วามลา่ ชา้ ดาเนินงาน งบประมาณ และการอบรมให้ ไม่ทันต่ อสถานการณ์ และความต้ องการ ความรูเ้ ก่ียวกับข้อกฎหมาย และเทคโนโลยีท่ี ของประชาชน ทนั สมยั O2 กรมการพัฒนาชุมชนมีการทาข้อตกลงกับ T2 ส ภ า ว ะ ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ธนาคารแห่งประเทศไทยในเรอ่ ื งการส่งเสรมิ ที่ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ร้า ง ผ ล ก ร ะ ท บ กล่มุ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลติ ต่อการดาเนนิ งานของกลุ่มออมทรพั ยฯ์ O3 เครอื ข่ายสถาบันการเงนิ อ่ืน ๆ ที่มีในหมู่บ้าน/ T3 สถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ตาบลมีความเช่ือมั่นและร่วมทากิจกรรมกับ โคโรนา 2019 (COVID - 19) ท าให้ กลุ่ ม กลมุ่ ออมทรพั ยฯ์ ไม่สามารถดาเนินกิจกรรมที่มีการรวมตั ว ของสมาชกิ ได้ O4 มีการจัดทาธุรกรรมและช่องทางแลกเปล่ียน T4 การขยายตัวของรา้ นค้าอื่น ๆ เกิดผลกระทบ ความรูข้ ่าวสารในรูปแบบออนไลน์ที่ทันสมัย ต่อกิจกรรมเครอื ขา่ ยของกลุ่มออมทรพั ยฯ์ สะดวก และรวดเรว็ O5 ได้มีการแลกเปล่ียนเรยี นรูก้ ับกลุ่มออมทรพั ย์ฯ T5 สภาวะเศรษฐกิจตกต่าทาให้สมาชิกท่ีกู้เงนิ หรอื กลุม่ องค์กรอืน่ ๆ ที่เข้ามาศึกษาดูงาน ไ ม่ ส า ม า ร ถ ใ ช้ ห น้ี ใ ห้ กั บ ก ลุ่ ม อ อ ม ท ร ัพ ย์ ฯ เกิดสถานการณ์หนคี้ ้างชาระ 38
39 โอกาส (Opportunity) ภัยคุกคาม (Threat) T6 ภ า ค รัฐ ไ ม่ มี น โ ย บ า ย ห นุ น เ ส ร มิ ใ ห้ ก ลุ่ ม ออมทรพั ย์เพื่อการผลิตเป็นองค์กรแกนหลกั ในการพฒั นาชุมชน T7 มีการจดั ต้ังกองทุนในชุมชนหลายแห่งทาให้ สมาชกิ มีทางเลอื กในการออมเงนิ มากข้ึน ส่งผล กระทบต่อฐานสมาชกิ ทมี่ ีการออมเงนิ กับกลุ่ม ออมทรพั ยฯ์ 3.2 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมการส่งเสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์ เพ่ือการผลิตของกรมการพัฒนาชุมชน ➢ การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในกรมการพัฒนาชุมชน จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) S1 ทรพั ยากรบุคคล (Man) W1 ทรพั ยากรบุคคล (Man) ➢ บุคลากรกรม ➢ บุคลากรกรม 1. บุคลากรของกรมฯ มีทักษะที่หลากหลาย/ 1. สานักพัฒนาทุนและองค์กรการเงนิ ชุมชน ส ห ว ิท ย า ก า ร ( Multi- skill) ใ น ก า ร ข าดผู้ เช่ี ยวชาญด้ านการเง ิน การบั ญชี ปฏิบัติงานตามภารกิจพัฒนาชุมชน การบรหิ ารธรุ กิจ เศรษฐศาสตร์ และด้านกฎหมาย 2. มีเจา้ หน้าที่พัฒนาชุมชนเข้าไปขับเคลอ่ื น 2. ทัศนคติของเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนท่ีคิดว่า งานในระดับหมู่บา้ น ตาบล กลุ่มออมทรพั ย์ฯ เป็นภารกิจปกติและเป็นงาน 3. มี เ จ้า ห น้ า ที่ พั ฒ น า ชุ ม ช น ที่ ผ่ า น ก า ร ที่มคี วามยืดหยนุ่ รวมทง้ั เจา้ หนา้ ท่ีพฒั นาชุมชน ฝึ ก อ บ ร ม ห ลั ก สู ต ร ผู้ เ ช่ีย ว ช า ญ ก ลุ่ ม มีภารกิจท่ีต้องขับเคล่ือนมาก จึงมักเลือกไป ออมทรพั ย์ฯ และหลักสูตรผู้เช่ียวชาญ ป ฏิ บั ติ ภ า ร กิ จ อื่ น ที่ เ ป็ น น โ ย บ า ย ส า คั ญ แ ล ะ งานทุนชุมชน จานวน 332 คน เรง่ ด่วนกว่า 3. เจา้ หน้าที่พัฒนาชุมชนส่วนใหญ่ยังมีความรแู้ ละ 4. ค่านิยมองค์กรของกรมการพัฒนาชุมชน ทักษะในเรอ่ ื งการบรหิ ารจัดการเงนิ ทุนชุมชน ส ร้า ง บุ ค ล า ก ร ใ ห้ มี จิต อ า สา ท า ง า น การจัดการความเส่ียง การจัดทาบัญชี และ ใกล้ชิดประชาชน และได้รบั การยอมรบั ขั้นตอนการดาเนินการกรณีเกิดการรอ้ งเรยี น จากผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ ง (เปน็ ศรทั ธาท่ีเดินได้) ไ ม่ เ พี ย ง พ อ ท า ใ ห้ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ส นั บ ส นุ น ให้คาแนะนา หรอื ตรวจสอบการดาเนินงานของ กลุ่มออมทรพั ยฯ์ ได้ 4. เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนขาดการติดตาม ส่งเสรมิ สนับสนุน และประเมินผลการดาเนินงาน กลุ่มออมทรพั ย์ฯ รวมท้ังขาดหลักจิตวทิ ยาใน การสรา้ งพลงั ทางบวกแก่กลุ่มออมทรพั ย์ฯ 5. การโยกย้ายเจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนบ่อย ทาให้ ขาดความต่อเนื่องในการสนับสนุนการดาเนินงาน กลุ่มออมทรัพย์ฯ และขาดการส่งมอบงาน ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก ลุ่ ม อ อ ม ท รัพ ย์ ฯ ไ ม่ ชัด เ จ น ทาให้เกิดปญั หาในการติดตามและสนบั สนุนการ 39
40 จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) ดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ฯ ของเจ้าหน้าท่ี พัฒนาชุมชนท่ีเข้าไปรบั หนา้ ท่แี ทน 6. เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนท่ีมีอายุงานไม่เกิน 5 ปี หรอื ที่ได้รบั การบรรจุแต่งต้ังใหมย่ งั ไมม่ ีความรู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ต ร ะ ห นั ก ใ น ค ว าม ส าคั ญ ของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตอย่างถ่องแท้ ทาให้ไม่สามารถให้คาปรกึ ษา แนะนาและ สนับสนุนการแก่คณะกรรมการกลมุ่ ฯ ได้ S2 งบประมาณ (Money) W2 งบประมาณ (Money) ๑. เป็นแหลง่ เงนิ ทุนท่สี าคัญในชุมชนท่ีสมาชกิ ๑. ขาดงบประมาณสนับสนุนการดาเนินงาน สามารถก้ยู มื ได้ในอตั ราดอกเบี้ยตา่ กลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พอื่ การผลิต ๒. เป็นกองทุนท่ีสามารถสรา้ งวนิ ัยการออม ของคนในชุมชนได้ ๓. เ ป็ น ก อ ง ทุ น ชุ ม ช น ท่ี มี เ ป้ า ห ม า ย การจดั สวัสดิการให้กับสมาชกิ และชุมชน S3 วธิ กี าร/ การดาเนินการ (Method) W3 วธิ กี าร/ การดาเนินการ (Method) ๑. การบรหิ ารจัดการเป็นไปตามแนวทาง ๑. โครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสรมิ และสนับสนุนการ การดาเนินงานของกรมการพัฒนาชุมชน ดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์ฯ นอกจากขาดความ ๒. เป็นฐานของการพัฒนาทกุ กิจกรรมในชุมชน ต่อเน่ืองแล้ว ยังไม่เหมาะสมกับการส่งเสรมิ และมีรูปแบบความสาเรจ็ (best practice) และพัฒนากลุ่มออมทรัพย์ฯในแต่ ละระดั บ ท่เี ปน็ แบบอย่างได้ การพัฒนา ๓. ใช้ทุ นชุ มชนทั้ ง ๕ ด้ าน ในการพัฒนา ๒. การทางานของบุคลากรกรมการพัฒนาชุ มชน กลุ่มออมทรพั ย์ฯ (ทุนกายภาพ ทุนมนุษย์ ยังขาดการคิดเชิงนวัตกรรม ขาดความเข้าใจ ทนุ สังคม ทนุ สิ่งแวดลอ้ ม และทุนการเงนิ ) ในสถานการณ์ของกองทุนชุมชนและบรบิ ทชุมชน ๔. เป็นองค์กรการเงนิ ชุมชนท่ีสามารถกาหนด ท่ีเปล่ียนไป จึงขาดการเชอื่ มโยงงานทุนชุมชน ระเบี ยบข้ อบั งคั บได้ ด้ วยตนเองเพื่ อให้ สู่ยุคดิจทิ ลั เหมาะสมตามบร บิ ทพ้ื นที่ โดยไม่ ขั ด ๓. ปัญหาท่ีพบในการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์ฯ กับข้อตกลงกับธนาคารแห่งประเทศไทย บางปัญหาเป็นปัญหาท่ีซับซ้อน จึงจาเป็นต้อง ๕. เป็ นองค์ กรการเง นิ ชุ มชนที่ สร้างวนิ ั ย อาศัยผเู้ ชย่ี วชาญด้านการเงนิ การบัญชี และด้าน การออมให้เกิดข้นึ กับคนในชุมชน กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๖. เป็นองค์กรการเงนิ ชุมชนท่ีจัดสวัสดิการ ๔. ข า ด ก า ร ติ ด ต า ม ส่ ง เ ส ร มิ แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ขั้นพ้นื ฐานให้กับคนในชุมชน อย่างต่อเน่ืองจากเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน และ ๗. มีกิจกรรมเครอื ข่ายของกลมุ่ เชน่ ศูนย์สาธติ มั ก เ ลื อ ก ก ลุ่ ม ท่ี มี ศั ก ย ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม พ ร ้อ ม การตลาด โรงสีชุมชน ป๊ ัมน้ามัน เป็นต้น เข้ารว่ มโครงการที่ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณ ซง่ึ เปน็ กิจกรรมทีส่ ามารถชว่ ยเหลอื และแก้ไข จากกรมการพัฒนาชุมชน ทาให้การพัฒนา ปัญหาความเดือดรอ้ นของชุมชน เป็นการฝกึ กลุ่มออมทรพั ย์ฯ ไม่ทวั่ ถึง การดาเนินธุรกิจในระบบกลุ่ม โดยมุ่งหวังให้ ๕. หลักสู ตรการฝึกอบรมบุคลากรกรมฯ และ มีกาไรเพื่อนาไปปันผลเฉลี่ยคืน และจดั เป็น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก ลุ่ ม อ อ ม ท รัพ ย์ ฯ ยั ง ข า ด สวัสดิการให้กับสมาชกิ และชุมชน การฝึกอบรมตามหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เช่น 40
41 จุดแข็ง (Strength) จุดอ่อน (Weakness) ๘. กระบวนการของกลุ่มออมทรพั ย์ฯ ทาให้ หลักสูตรผู้เชยี่ วชาญกลุ่มออมทรพั ย์ฯ หลักสูตร คณะกรรมการกลุ่มฯ และสมาชกิ รว่ มกัน การบรหิ ารจดั การกลุม่ ออมทรพั ยฯ์ เปน็ ต้น ขับเคล่ือนกลุ่มให้ประสบความสาเรจ็ ด้วย ๖. มีการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มออมทรพั ย์ฯ เป็นที่ การเชื่อมโยงประสานงานกับหน่วยงาน รจู้ กั แล้ว แต่ยงั ไม่ทว่ั ถึงประชาชนกลมุ่ เป้าหมาย ภาครัฐและเอกชนให้มีส่วนร่วมในการ ๗. ขาดการทบทวน/ปรบั ปรุงระเบียบกรมการพัฒนา สรา้ งความเขม้ แข็ง ชุมชนว่าด้วยการส่งเสรมิ ดาเนินงานกลุ่มออม ทรพั ย์เพื่อการผลิต พ.ศ.2555 ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงไป S4 เครอ่ ื งมือ (Tool) W4 เครอ่ ื งมือ (Tool) 1. การส่งเสรมิ ให้กลุม่ ออมทรพั ยเ์ พ่อื การผลิต ๑. กรมฯ ได้จัดทาระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ ใช้โปรแกรมพ้ืนฐาน(Excel) ในการจัดทา ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 แต่ยังไม่ได้ บั ญ ชีอิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ที่ เห มา ะ สมกั บกลุ่ม ดาเนินการส่งเสรมิ ให้กลุ่มออมท รัพย์ฯ มีความง่าย และสะดวกในการใชง้ าน เพราะไม่ นาไปใชป้ ระโยชนอ์ ย่างแพรห่ ลาย ต้องใชส้ ัญญาณอนิ เทอรเ์ น็ต ๒. ก ร ม ฯ ไ ม่ ไ ด้ สนั บ สนุ น วัสดุ อุปกรณ์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ ช่ ว ย อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก ในการบรหิ ารจดั การกลุ่มออมทรพั ยฯ์ ๓. ร ะ บ บ ฐ า น ข้ อ มู ล ก ลุ่ ม อ อ ม ท รั พ ย์ ฯ ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย และไม่เสถียร รวมถึงเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนบันทึกข้อมูล ไม่ครบถ้วน ทาให้ไม่สามารถวเิ คราะห์ข้อมูล เพ่ือการส่งเสรมิ และพฒั นากลุ่มออมทรพั ย์ฯ ได้ตรงตามศักยภาพของกลุ่มเป้าหมาย ➢ การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกกรมการพัฒนาชุมชน โอกาส (Opportunity) ภัยคุกคาม (Threat) O1 เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับหลักปรัชญา T1 มี ก า ร จั ด ตั้ ง อ ง ค์ ก ร ก า ร เ ง นิ ชุ ม ช น ท่ี ไ ด้ รับ ของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ ความพอประมาณ ก า ร ส นั บ ส นุ น จ า ก ห ล า ย ห น่ ว ย ง า น ท า ใ ห้ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน และการมี ป ร ะ ช า ช น ใ น ห มู่ บ้ า น มี ท า ง เ ลื อ ก ใ น ก า ร เ ป็ น ความรคู้ วบค่คู ุณธรรม สมาชิกมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อฐานสมาชิก และจานวนกลุม่ ออมทรพั ย์ฯ O2 รฐั บาลให้ความสาคัญกับการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ T2 การประกาศใช้พระราชบัญญัติสถาบันการเงนิ ภายในประเทศ และเศรษฐกิจฐานราก (Local ประชาชน พ.ศ. 2562 มีผลต่อการดาเนินงาน Economy) โดยมีการออกมาตรการส่งเสรมิ กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลติ ภายใต้การส่งเสรมิ และกระจายความมั่งคั่งไปจงั หวัดต่าง ๆ มากข้ึน และสนับสนุนของกรมการพฒั นาชุมชน และเปน็ กลไกในการสรา้ งชุมชนเขม้ แขง็ O3 นโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหา T3 การสนับสนุนให้กลุ่มออมทรพั ย์ฯ ปรบั เปลี่ยนไป ความยากจน ลดความเหล่ือมล้า เพ่ือนาไปสู่ เ ป็ น รู ป แ บ บ ข อ ง นิ ติ บุ ค ค ล ซ่ึ ง ส่ ง ผ ล การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable ให้ต้องนาผลกาไรจากการดาเนินงานไปเสียภาษี 41
42 O4 โอกาส (Opportunity) ภัยคุกคาม (Threat) O5 เป็นจานวนมาก ทาให้กระทบต่อการปันผลให้ O6 Development Goals - SDGs) ส่ ง ผ ล ใ ห้ สมาชกิ หรอื นาไปจดั สวัสดิการชว่ ยเหลอื ชุมชน O7 ผู้บรหิ ารระดับกรมฯ ให้ความสาคัญในการใช้ O8 กลุ่มออมทรพั ย์ฯ เป็นเครอ่ ื งมือในการส่งเสรมิ การสนับสนุนช่วยเหลือของของสถาบันการเงนิ O8 การออมและการเขา้ ถึงแหล่งทนุ ไม่มกี ารบรู ณาการความรว่ มมอื กันท่ีชดั เจน มีการวเิ คราะห์สถานการณ์ทางการเงนิ จาก T4 O10 หลายหน่วยงาน ทั้งในเรอ่ ื งการออมเงนิ หนี้สิน จากปรากฏการณ์ Digital Disruption ทาให้เกิด ภาคครัวเรอื นและการกู้ยืมเงนิ ซ่ึงสามารถ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีทางการเงนิ อย่าง น า ม า ป รับ ใ ช้กั บ ก า ร พั ฒ น า ง า น ข อ ง ก ลุ่ ม รวดเรว็ ส่งผลกระทบต่อการให้บรกิ ารทางการเงนิ ออมทรพั ยฯ์ ได้ ของกล่มุ ออมทรพั ยฯ์ นโยบายการพัฒนาทักษะทางการเงนิ (Financial T5 Literacy) ของธนาคารแห่งประเทศไทย จะทาให้ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) ส่งผล กลุ่มออมทรพั ย์เพอ่ื การผลติ มบี ทบาทในการสรา้ ง ต่อการเพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิต(Productivity) ความรู้ความเข้ าใจเร่อื งการบร หิ ารจัดการ และการวางแผนทางการเงนิ หลงั เกษียณ (Saving เศรษฐกิจครวั เรอื นและระดับชุมชนได้เป็นอยา่ งดี for Retirement) ของสมาชกิ กลมุ่ ออมทรพั ย์ฯ มี องค์ กรท้ั งในและต่ างประเทศท่ี สามารถ T6 สนับสนุนนวัตกรรมทางการเงนิ และยกระดับ การขยายตัวของสังคมเมอื งที่เพิม่ ขึ้น ทาให้เกิดการ ผลักดันภาพลักษณข์ องกล่มุ ออมทรพั ย์ฯ ให้เปน็ ที่ ละทิ้งถิ่นฐานในชนบทเพ่ิมข้ึน ส่งผลกระทบต่อการ รู้จักในระดับสากลได้ อาทิ กระทรวงการคลัง ดาเนนิ งานกลมุ่ ออมทรพั ยฯ์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรพั ย์ และ ส ถ า น ก า ร ณ์ ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ConsultativeGroup to Assistthe Poor (CGAP) ในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศส่งผลให้ชุมชน หลายหน่วยงานให้ความสนใจในการทาการวจิ ยั T7 ขาดความสามคั คี เก่ียวกับการดาเนนิ งานกลมุ่ ออมทรพั ย์ฯ การสรา้ งความรว่ มมือทางเศรษฐกิจในระดับ T8 น า น า ช า ติ แ ล ะ เ อ เชีย ต ะ วั น อ อ ก เฉี ย ง ใต้ ชว่ ยสรา้ งโอกาสการพัฒนาและการเชอ่ื มโยงใน ระดับพ้ืนที่ รวมทั้งช่วยเพิ่มบทบาทของกลุ่ม ออมทรพั ยฯ์ ไปสู่ระดับภูมภิ าคมากขึน้ มีเทคโนโลยีใหม่ ๆ ท่ีเอื้อต่อการขับเคลื่อนและ สนั บสนุ นการดาเนิ นงานกลุ่ มออมทรัพย์ฯ เช่น ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สามารถนามา เป็นเครอ่ ื งมือในการแสดงภาพสถานการณ์และ ทรพั ยากรในพื้นท่ี นอกจากนยี้ ังมีโปรแกรมบญั ชี อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ที่ เ ป็ น เ ค ร่ อื ง มื อ อ า น ว ย ความสะดวกและสนับสนุนความมีธรรมาภิบาล ของกลมุ่ ออมทรพั ยฯ์ กระแสประชาชนรุน่ ใหม่หันมาสนใจการแก้ไข ปญั หาสังคม และลดความเหล่ือมลา้ มากขึน้ 42
43 4. หลักการวเิ คราะห์ด้วย TOWS Metrix TOWS Matrix เปน็ เครอ่ ื งมอื ทใี่ ชผ้ ลที่ได้จากการวเิ คราะห์ SWOT (SWOT Analysis) ด้วยการจบั คู่ เข้าด้วยกัน เพ่ือใช้หาความสัมพันธ์กัน และเพื่อสรา้ งกลยุทธ์ (Strategy) ที่เหมาะกับสถานการณ์นั้น ๆ เพ่ือนามาใช้เป็นทิศทางการดาเนินงานขององค์กร โดย TOWS Matrix ถูกคิดค้นโดยชาวอเมรกิ ัน Heinz Weirich ในปี ค.ศ. 1982 โดย TOWS Matrix ตัวอักษรของคาว่า TOWS มาจากการกลับด้านตัวอักษรของ SWOT จากหลังไปหน้านั่นเอง ซึ่ง TOWS Matrix เป็นการเอา S W O และ T ของ SWOT มาจับคู่กัน เพ่อื นามาใชเ้ ป็นกลยทุ ธข์ ององค์กร จากผลการวเิ คราะห์ SWOT ทาให้รวู้ ่าองค์กรมีข้อดีข้อเสีย ข้อได้เปรยี บเสียเปรยี บอย่างไร แต่ไม่อาจ ทราบทิศทางขององค์กรว่าจะขับเคล่ือนต่อไปอย่างไร แต่ TOWS Matrix เป็นเครอ่ ื งมือท่ีจะชว่ ยให้องค์กร กาหนดกลยุทธท์ ่ีถูกต้องและเหมาะสมสอดคล้องกับทรพั ยากรขององค์กร และเผชญิ ต่อสิ่งแวดล้อมและ สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซงึ่ TOWS Matrix ถือวา่ เป็นแนวปฏิบตั ิในการต่อยอดสู่กลยุทธอ์ น่ื ๆ ได้เปน็ อย่างดี อย่างไรก็ตาม ประเด็นสาคัญในการจบั คู่สรา้ งกลยุทธด์ ้วย TOWS Matrix ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ ต้องเรม่ ิ จากกระบวนการวเิ คราะห์ SWOT ที่ละเอียดและชัดเจนมาก่อนนั่นเอง โดยสามารถจับคู่ S W O และ T ได้หลากหลาย ทาให้ได้กลยุทธท์ ี่หลากหลายและชดั เจนขึ้น Opportunities (โอกาส) Threats (อุปสรรค) O1 T1 O2 T2 Strengths (จุดแข็ง) S-O Strategies S-T Strategies S1 S-O Strategy 1 S-T Strategy 1 S2 S-O Strategy 2 S-T Strategy 2 Weaknesses (จุดออ่ น) W-O Strategies W-T Strategies W1 W-O Strategy 1 W-T Strategy 1 W2 W-O Strategy 2 W-T Strategy 2 43
44 ๕. วธิ กี ารวเิ คราะห์ด้วย TOWS Metrix การวเิ คราะห์ด้วย TOWS Metrix มรี ูปแบบการจบั ค่กู ลยทุ ธข์ อง TOWS ใน 4 รูปแบบ ดังน้ี 1) กลยุทธเ์ ชงิ รุก (SO Strategy) มาจาก จุดแข็ง + โอกาส (Strength + Opportunity) Maxi-Maxi Strategy เป็นการนาจุดแข็งขององค์กรมาใช้ใ ห้เกิดประโยชน์สูงสุดกับโอกาสที่ได้รับ จากภายนอก ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดในตอนนี้ก้บบรษิ ัท Tesla ท่ีมีจุดแข็งอย่างเทคโนโลยีด้านแบตเตอร่ ี ท่ีมาพรอ้ มโอกาสในช่วงที่กระแสรกั ษ์สิ่งแวดล้อม หลายประเทศกาลังเลิกใชร้ ถน้ามัน (ICE Car) หันไปใช้ รถไฟฟ้า(EV car) แทน กลยุทธท์ ่ีเทสล่าใชก้ ็คือกลยุทธเ์ ชิงรุก ขยายกาลังผลิต เปิดโรงงานเพ่ิมในหลาย ๆ ประเทศ นอกจากสหรฐั อเมรกิ าแล้วยังมีประเทศจีน เยอรมัน และในอาเซียนอาจมาเปิดท่ีอินโดนีเซีย หรอื ประเทศไทยในอนาคต 2) กลยุทธเ์ ชงิ รบั (ST Strategy) มาจาก จุดแข็ง + อุปสรรค (Strength + Threats) Maxi-Mini strategy เป็นการนาจุดแข็งขององค์กรมาหลีกเลี่ยง หรอื ลดผลกระทบท่ีเกิดจากอุปสรรค ที่ได้รบั จากภายนอก ตัวอย่างเช่น ในภาวะเศรษฐกิจไม่ดี บรษิ ัทท่ีมีฐานะการเงนิ ท่ีดี ต้นทุนการผลิตที่ต่า ยงั สามารถลดราคาเพ่ือแขง่ ขันในตลาดได้ หรอื พยุงอยู่ได้จนเศรษฐกิจฟ้ ืนตัว 3) กลยุทธเ์ ชงิ แก้ไข (WO Strategy) มาจาก จุดอ่อน + โอกาส (Weakness + Opportunity) Mini-Maxi strategy ในขณะที่องค์กรมีจุดออ่ น หรอื จุดด้อย แต่กลบั มีโอกาส หรอื สภาวะแวดลอ้ มท่ีดีเข้ามา มากมาย กลยุทธเ์ ชงิ แก้ไขจงึ เป็นการหาวธิ กี ารลด หรอื แก้ไขจุดอ่อนท่ีมีได้อย่างไร หรอื ทาให้มีปัญหาน้อย ท่ีสุด เพื่อรบั ผลประโยชน์จากโอกาสที่เข้ามา ตัวอย่างที่ชัดเจนคือถ้าบรษิ ัทมีปัญหาด้านการเงนิ มีฐานะ การเงนิ ที่ยา่ แย่ แต่ตลาดโตอย่างมาก หรอื ได้รบั การส่งเสรมิ จากภาครฐั บาล เป็นโอกาสอนั ดีที่กู้เงนิ เพิ่ม หรอื เพิ่มทุนเพ่ือขยายกาลังผลิต หรอื ขยายสาขา แต่เราก็ไมค่ วรละเลยในการจดั การการบรหิ ารทางการเงนิ ท่ีเปน็ ต้นเหตุให้สถานะทางการเงนิ ของบรษิ ัทยา่ แย่ด้วย 4) กลยุทธเ์ ชงิ ป้องกัน (WT Strategy) มาจาก จุดอ่อน +อุปสรรค (Weakness + Threats) Mini-Mini strategy ในขณะท่ีองค์กรมีจุดอ่อนและมีอุปสรรคจากภายนอกซ้าเติมเข้ามาอีก จุดประสงค์ ของกลยุทธเ์ ชงิ ป้องกัน คือท้ังลด และพิชติ จุดอ่อน พรอ้ มทั้งหลีกเลีย่ งอุปสรรค เพ่ือประคองให้ธุรกิจอยู่รอด ในระหว่างนี้พยายามลดจุดอ่อนและรอโอกาสใหม่ ๆ ท่ีเข้ามา หรอื ควบรวมกับบรษิ ัทอื่นเพื่อเพิ่มจุดแข็ง เช่น เมื่อ 2-3 บรษิ ัทควบรวมกันทาให้ยอดขายมากขึ้น ต้นทุนต่อหน่วยจะลดลง ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด ในชว่ ง COVID - 19 ปัญหาอุปสรรคเกิดจากโรคติดเชือ้ ไวรสั ระบาดทาให้นักท่องเที่ยวไม่สามารถเดินทาง มาประเทศไทยได้ ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรมต่างพบปัญหาและอุปสรรคอย่างใหญ่หลวง ถ้าบรษิ ัท ที่กู้มาสรา้ งโรงแรมยังผ่อนไมห่ มดคงต้องขายกิจการ หรอื อีกตัวอยา่ ง ถ้าสภาวะเศรษฐกิจไม่ดี ธนาคารเล็ก ๆ จะควบรวมกัน มีลกู ค้ารวมกันมากขน้ึ ประหยัดต้นทุนบางอยา่ ง เปน็ ต้น 44
45 6. สรปุ ผลการวเิ คราะห์ด้วย TOWS Metrix ของกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิต 6.1 จุดแขง็ + โอกาส (S+O) กลยุทธเ์ ชงิ รกุ ปัจจยั แวดล้อมภายใน จุดแข็ง (S) ปจั จยั แวดล้อมภายนอก 1. สรา้ งองค์ความรูก้ ลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต โอกาส (O) - จัดการความรูก้ ลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตและกิจกรรมของกลุ่ม (S3กลมุ่ , O5 )กลุ่ม - ประกวดองค์ความรูก้ ลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตและกิจกรรมเครอื ขา่ ย ของกล่มุ (S3.5กลุ่ม, O5กลุม่ ) 2. เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งกลุ่มและเครอื ข่ายกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ตามรูปแบบวถิ ีชวี ติ ใหม่และวถิ ีต่อไป (New Normal and Next Normal) - เสรมิ สมรรถนะทีมคู่หู คู่คิด (Move for Fund Team) ในการขับเคล่ือน งานกลุ่มออมทรพั ย์ฯ (S1คณะกรรมการกล่มุ /S1.2กรม, O3กลมุ่ ) - จัดทาข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) รว่ มกับกระทรวงศึกษาธิการ และสหกรณ์ออมทรพั ย์กรมการพัฒนาชุมชน จากัด เพ่ือพัฒนาหลักสูตร การออม (S1.3สมาชกิ กลมุ่ , O2กลมุ่ ) - การพัฒนาคณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ให้มีทกั ษะทางการเงนิ (Financial Literacy) (S1.3สมาชกิ กลุ่ม, O2กลมุ่ ) 3. พัฒนาโรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตสู่ความเป็นเลิศ - สรา้ งและพัฒนาหลักสูตรของโรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต (S1.4คณะกรรมการกลุม่ , O5กรม) - จดั ทายุทธศาสตรโ์ รงเรยี นกลุม่ ออมทรพั ย์เพอื่ การผลติ (S1ทกุ ข้อกลุ่ม, O3กรม) - ส ร้า ง แ ล ะ พัฒน า ร ะ บ บ มา ต รฐ าน แ ละ ก าร ป ร ะ เมิ น ผลโ รง เรยี น กลุ่มออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลติ (S3.8กรม, O5กรม) - ส่งเสรมิ การจัดต้ังโรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต ให้ครอบคลุม ทกุ เขตตรวจราชการ (S1.3คณะกรรมการกลมุ่ , O5กลมุ่ ) 4. ส่งเสรมิ การลงทุนในกิจกรรมของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต - ส่งเสรมิ องค์ความรูก้ ารก่อเกิดกิจกรรมของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต และธรุ กิจชุมชน (S3.1กล่มุ , O5กลุ่ม) - ส่งเสรมิ การดาเนินกิจกรรมของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตและธุรกิจ ชุมชน (S3.1กล่มุ , O5กลุ่ม) 5. เพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการกิจกรรมของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือ การผลิตและธรุ กิจชุมชน - เพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการกิจกรรมของกลุ่มออมทรัพย์ เพ่ือการผลติ และธรุ กิจชุมชน (S3.1กลุม่ , O5กลมุ่ ) 45
46 ปจั จยั แวดล้อมภายใน จุดแข็ง (S) ปจั จยั แวดล้อมภายนอก 6. ส่งเสรมิ การจดั สวัสดิการกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต โอกาส (O) - สรา้ งความม่ันคงให้กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตด้วยประกันชีวติ กลุ่ม (S3.6กลมุ่ , O2กล่มุ ) 7. ประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้การดาเนินงานและกิจกรรมของกลุ่ม ออมทรพั ย์เพื่อการผลิต - จดั กิจกรรมวันคลา้ ยวันก่อตั้งกลมุ่ ออมทรพั ยเ์ พื่อการผลิต(S3.1กล่มุ , O1กล่มุ ) - จดั มหกรรมรวมพลคนกลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตตามรูปแบบวถิ ีชวี ติ ใหม่ และวถิ ีต่อไป (New Normal and Next Normal) (S3.1กลุม่ , O1กลุ่ม) 8. เพ่ิมสมรรถนะการบรหิ ารจดั การกลุ่มออมทรพั ย์ฯ ตามหลักธรรมาภิบาล - ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต หลักสูตรการบรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภิบาล (S1.3กลุม่ , O5กรม) - เพ่ิมสมรรถนะกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ด้านการบรหิ ารสัญญา และบรหิ ารหนี้ (S3.2, O1กลมุ่ ) 9. เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต - ขยายฐานสมาชกิ ขยายปรมิ าณกลุ่ม ขยายเงนิ ทุนของกลุ่มออมทรพั ย์ เพ่ือการผลิตให้เพมิ่ ขึ้น (S1สมาชกิ กลุ่ม ,O1กลมุ่ ) - สนับสนุนการดาเนินงานศูนย์จัดการกองทุนชุมชน เพ่ือแก้ไขปัญหา หนส้ี ินภาคครวั เรอื นของประชาชน (S3.4กลุม่ , O3/O4กรม) 10. พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต - ส่งเสรมิ การใช้แบบประเมินศักยภาพกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ตามหลกั ธรรมาภิบาล ในรปู แบบออนไลน์ (S3.8กรม, O8กรม) 6.2 จุดแขง็ + อุปสรรค (S+T) กลยุทธเ์ ชงิ ปอ้ งกัน ปัจจยั แวดล้อมภายใน จุดแข็ง (S) ปจั จยั แวดล้อมภายนอก 1. โครงการเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งกลุ่มและเครอื ข่ายกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือ อุปสรรค (T) การผลิต ตามรูปแบบวถิ ีชวี ติ ใหม่และวถิ ีต่อไป (New Normal and Next Normal) - ส่งเสรมิ การสรา้ งเครอื ข่ายกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตให้ครอบคลุม ในทุกระดับ (S1.5คณะกรรมการกลุ่ม, T4กรม) 2. พัฒนาโรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตสู่ความเป็นเลิศ - พัฒนาสมรรถนะของวทิ ยากรโรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต (S1.4คณะกรรมการกลมุ่ , T2กลุ่ม) - พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานโรงเรยี นกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิต (S1. 1/S1.3/S1.4 คณะกรรมการกลมุ่ ,T1กรม) 46
47 ปัจจยั แวดล้อมภายใน จุดแข็ง (S) ปัจจยั แวดล้อมภายนอก 3. พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต อุปสรรค (T) - ติ ดตามการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพ่ือการผลิตให้เป็นไป ตามแนวทางของกรมการพฒั นาชุมชน (S3.1/S3.2กรม, T1/T2กรม) 6.3 จุดอ่อน + โอกาส (W+O) ทางานเชงิ ปรบั ปรงุ ปัจจยั แวดล้อมภายใน จุดอ่อน (W) ปจั จยั แวดล้อมภายนอก 1. สรา้ งความรว่ มมือกับหน่วยงานภาคีในการขับเคล่ือนงานกลมุ่ ออมทรพั ย์ โอกาส (O) เพื่อการผลิต - จดั ทาข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) สนับสนุนความรูท้ างวชิ าการเพ่ือ สรา้ งความรูแ้ ก่กลุม่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตในด้านกฎหมาย ด้านการลงทุน การวจิ ัยธุรกิจชุมชน และการออมเชิงคุณภาพ (w1กลุ่ม/W1กรม, O1กลุ่ม/O5กรม/ O7กรม) - ส่งเสรมิ การออมเชงิ คณุ ภาพเพื่อความมน่ั คงในวัยเกษียณจากการทางาน (Happy Money Happy Retirement) (w1.2สมาชกิ กลุม่ , O3กลมุ่ /O5กรม) - จดั ทาข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) รว่ มกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ท้องท่ี และหน่วยงานภาคีการพัฒนาในการสนับสนุนงบประมาณ บุคลากร ในการส่งเสรมิ สนับสนุนการดาเนินงานของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต และเครอื ขา่ ย (w3.3กรม, O1.1กลุ่ม/O1.3กล่มุ /O6กรม) 2. สรา้ งองค์ความรูก้ ลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต - จัดทาคู่มือการดาเนินงานกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตและกิจกรรม ของกลมุ่ (online/offline) (w1.3กรม/w1.5กรม/W1.6กรม, O8กรม) - สนับสนุนการนาองค์ความรูไ้ ปใช้พัฒนางานและกิจกรรมของกลุ่มฯ (w1.3กรม, O5กรม) 3. เสรมิ สรา้ งความรแู้ ละทักษะของบุคลากรให้มีสมรรถนะในการปฏิบัติงาน - สรรหาบุคลากรที่มีทักษะความเช่ียวชาญด้ านการบัญชี บรหิ าร เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย ให้มาปฏิบัติหน้าท่ีในสานักพัฒนาทุน และองค์กร การเงนิ ชุมชน (w1กรม, O5กรม) - เพ่ิมสมรรถนะเจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชน (กิจกรรมเสรมิ ทักษะด้านบัญชี การเงนิ กฎหมาย การบรหิ ารสัญญา บรหิ ารหนี้ การจัดการข้อรอ้ งเรยี น การออมเชงิ คุณภาพ) (w5กรม, O8กรม) - กิจกรรมศึกษาดูงาน แลกเปล่ียนเรยี นรู้ท้ังภายในประเทศและ ต่างประเทศ (w1.1กรม/w1.3กรม, O6กรม/O8กรม) 47
48 ปัจจยั แวดล้อมภายใน จุดอ่อน (W) ปจั จยั แวดล้อมภายนอก - ส ร้า ง ห ลั ก สู ต ร E-Learning ใ ห้ บุ ค ล า ก ร ก ร ม ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น โอกาส (O) คณะกรรมการกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต (w1.1กลุ่ม/w1.2กลุ่ม/w1.3กรม, O8กรม) - สร้างแรงจูงใจและรางวัลสาหรับการสรา้ งขวัญและกาลังใจในการ ดาเนนิ งาน (w1.2กรม, O3กรม) 4. เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งกลุ่มและเครอื ข่ายกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ตามรูปแบบวถิ ีชวี ติ ใหม่และวถิ ีต่อไป (New Normal and Next Normal) - สรา้ งและพัฒนาสมรรถนะคณะกรรมการกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต รนุ่ ใหม่ (Young Smart Savings Group) (W3กลุ่ม, O10กรม) 5. พัฒนาโรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตสู่ความเป็นเลิศ - สรา้ งและพัฒนาเครอื ข่ายโรงเรยี นกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต (W2.1กล่มุ , O3กรม) 6. ประชาสัมพันธ์ สรา้ งการรบั รกู้ ารดาเนินงานและกิจกรรมของกลุ่มออมทรพั ย์ เพื่อการผลิต - ประชาสัมพันธเ์ ชงิ รุกงานและกิจกรรมของกลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต (W3.3กลมุ่ , O3กรม) 7. พัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบและกิจกรรมของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต - สนับสนุนกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสู่การเป็นต้นแบบ (กิจกรรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ ศึกษาดูงาน พัฒนาฐานเรยี นรู้ ถอดบทเรยี น และสรปุ องค์ความร)ู้ (W3.2กรม, O3กรม) - ประกาศความสาเร็จกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกิจก รรม ของกลุ่มดีเด่น (ประกวด มอบรางวัล จัดนิทรรศการ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ การดาเนินงาน) (W3.2กรม, O3กรม) 8. เชอ่ื มโยงความรว่ มมือกับหน่วยงานภายนอกเพ่ือยกระดับกลุ่มออมทรพั ย์ เพื่อการผลิตสู่สากล - จัดทาข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) รว่ มกับสถาบันทางการเงนิ ใน ประเทศและต่างประเทศ (การบูรณาการองค์ความรู้ งานวจิ ัย วทิ ยากร เทคนิคการถ่ายทอดความรู้ เครอ่ ื งมือและนโยบายการสนับสนุนองค์กร การเงนิ ชุมชน) (W3.3กรม, O8กรม) 9. ปรบั ปรุงแนวทางการดาเนินงานและระเบียบกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต - ปรบั ปรงุ ระเบยี บกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการส่งเสรมิ การดาเนินงาน ก ลุ่ ม อ อ ม ท รัพ ย์ เ พ่ื อ ก า ร ผ ลิ ต ปี พ . ศ . 2 5 5 5 (W3.7กรม, O3กรม) - ทบทวนระเบียบ ข้อบังคับ ของกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิตให้เป็นไป ตามแนวทางของกรมฯ (W3.7กรม ,O3กรม) 48
49 ปจั จยั แวดล้อมภายใน จุดอ่อน (W) ปัจจยั แวดล้อมภายนอก 10. เพิ่มสมรรถนะการบรหิ ารจดั การกลุ่มออมทรพั ย์ฯ ตามหลักธรรมาภิบาล โอกาส (O) - ยกระดับกลมุ่ ออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตระดับ 3 สู่มาตรฐานกล่มุ ออมทรพั ย์ เพอ่ื การผลิตต้นแบบ (SMART Savings Group : SSG) (W1กลมุ่ , O3กรม) - ส่งเสรมิ ให้กลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิตใช้ระบบบัญชีอิเล็กทรอนิกส์ (W1.2กลุ่ม, O1กลุ่ม) 11. พัฒนาระบบติดตามและประเมินผลกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต - จดั ทาค่มู อื ติดตามการสนับสนุนการดาเนนิ งานกลุม่ ออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลิต แบบเสรมิ พลงั (Empowerment) (W1.5กรม, O8กรม) 6.4 จุดอ่อน + อุปสรรค (W+T) กลยุทธเ์ ชงิ ต้ังรบั ปจั จยั แวดล้อมภายใน จุดอ่อน (W) ปัจจยั แวดล้อมภายนอก 1. เชอื่ มโยงความรว่ มมือกับหน่วยงานภายนอกเพ่ือยกระดับกลุ่มออมทรพั ย์ อุปสรรค (T) เพ่ือการผลิตสู่สากล - แสวงหาทุนสนับสนุนการดาเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ตามรูปแบบท่ีเหมาะสม (ตัวอย่าง กองทุนโรงไฟฟ้า, ป่อเต็กตึ๊ง, อปท. ฯลฯ) (W2.1กรม, T4กรม) - จัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนากลุ่มออมทรพั ย์เพ่ือการผลิต (W2.1กรม, T6กล่มุ ) 2. การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารจัดการกลุ่มออม ทรพั ย์เพ่ือการผลิต - ส่ ง เ ส ร มิ ก า ร ใ ช้เ ท ค โ น โ ลยี ส า ร ส น เ ท ศใ น ก า ร บ ร หิ า ร จัด ก าร ด้านการจดั การเอกสาร ระบบบัญชี การเงนิ การตรวจสอบ การสื่อสารและ การประชาสัมพันธข์ องกลมุ่ (W4.1กลุ่ม, T5กรม) - ส ร้า ง ค ว า ม ร่ว ม มื อ กั บ ส ถ า บั น ก า ร เ ง นิ แ ล ะ ศู น ย์ เ ท ค โ น โ ล ยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอรแ์ ห่งชาติ (NECTEC) เพื่อพัฒนาระบบ ฐานขอ้ มูลกลุ่มออมทรพั ยเ์ พอ่ื การผลิต (W4.3กรม, T5กรม) - รว่ มกับสานักงานเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การ ม ห า ช น ) ( GISTDA) พั ฒ น า ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ ท า ง ภู มิ ศ า ส ต ร์( GIS) ในการจัดการฐานข้อมูลกลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต เพ่ือพัฒนาระบบ ติดตามการกู้ยืมเงนิ ของสมาชกิ (W4.3กรม, T5กรม) 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130