รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ดว้ ยเหตนุ บี้ างทเี รากเ็ รยี กคลมุ ๆ ไปวา่ สต ิ คอื ความรตู้ วั แตถ่ า้ พดู อยา่ ง เคร่งครดั ความรตู้ วั ท่ัวพร้อมนนั้ หมายถึงสัมปชญั ญะ ความรตู้ วั นส่ี ำ� คญั มนั เปน็ ฐานของการชว่ ยใหเ้ ราเขา้ ใจตวั เองมากขน้ึ ความรู้ตัวเกิดขึ้นได้จากการท่ีเราเฝ้าดูตัวเราอยู่เสมอ เกิดจากการที่เรา ระลึกได้ สามารถสลัดอารมณ์ต่างๆ ออกไป เพราะว่าอารมณ์ที่เกิดขึ้น มนั มกั จะครอบงำ� จติ เหมอื นกบั เราถกู กะลาครอบกม็ ดื ไปหมด ไมเ่ หน็ แม้ กระทงั่ ตวั เอง แตพ่ อเรามสี ต ิ จติ กห็ ลดุ ออกจากอารมณ ์ เหมอื นกบั กะลา ถูกเปิดออก ก็เห็นตัวเองและสิ่งรอบตัว รู้ว่าอะไรเป็นอะไร พอจิตหลุด จากอารมณค์ วามรตู้ วั กเ็ กดิ ขนึ้ ความรตู้ วั นเ้ี ปน็ สงิ่ ส�ำคญั มากจะเกดิ ข้นึ ไดก้ เ็ พราะหม่นั มองตน พทุ ธศาสนาเน้นมากเร่ืองการมองตน แตใ่ นชวี ติ ประจำ� วนั จติ ของเราจะถกู ดงึ ใหม้ องนอกตวั ตลอด เวลา และไปมปี ฏกิ ริ ยิ ากบั สง่ิ เรา้ ภายนอก ทำ� ใหล้ มื ตวั หรอื ขาดสติ บอ่ ยๆ คนเรานน้ั มแี นวโนม้ ทจ่ี ะมองออกนอกตวั อยแู่ ลว้ กน็ กึ ดสู วิ า่ เรามีอายตนะถึง ๕ อย่างท่ีท�ำหน้าท่ีรับรู้สิ่งนอกตัว ได้แก่ ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ทงั้ ๕ นเี้ ปน็ อายตนะทรี่ บั รเู้ รอื่ งขา้ งนอกทงั้ นนั้ เลย มแี ต่ ใจอย่างเดียวที่สามารถรับรู้เรื่องภายใน แต่ใจก็ยังสามารถไปรับรู้เร่ือง นอกตวั ไดเ้ หมอื นกบั อายตนะทเ่ี หลอื นเ่ี ปน็ สญั ชาตญาณของมนษุ ยท์ ตี่ อ้ ง 5 0 เ ท ่ า ท ั น ค ว า ม คิ ด
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ใส่ใจส่ิงที่อยู่ภายนอกรอบตัวเพื่อความอยู่รอด เพราะสมัยก่อนโน้น ภัย คุกคามมนุษย์ล้วนเป็นภัยจากภายนอก เช่น สัตว์ป่า ภูเขาไฟ แผ่นดิน ไหว ความแห้งแล้ง ความจ�ำเป็นท�ำให้เรามีอายตนะส่วนใหญ่ที่รับรู้เร่ือง นอกตัวเป็นหลักเพื่อความอยู่รอด แต่ปัจจุบันปัญหาที่สร้างความทุกข์ให้ กับเรามากที่สุดไม่ใช่สิ่งนอกตัว แต่เป็นส่ิงในตัว ได้แก่ อารมณ์ ความ รู้สึกของเราเอง ซ่ึงสามารถท�ำให้เราเป็นบ้าเป็นหลังหรือ ฆ่าตัวตายได้ ความที่คนเราชอบมองออกนอกตัวก็เลย ลืมตัวได้บ่อยๆ ลืมแล้วก็หลง จนบางทีเป็นอันตรายแก่ ตัวเองหรือท�ำให้เราพลั้งพลาดขึ้นมาได้ อาจไม่ถึงกับ อนั ตราย แต่กท็ �ำให้หนา้ แตกได้เหมือนกนั มเี รอื่ งเลา่ จากญปี่ นุ่ วา่ พระ ๔ รปู มานง่ั สมาธริ ว่ มกนั ในญป่ี นุ่ เขา ชอบนง่ั สมาธริ วมกนั ในหอ้ งโถงหรอื ศาลา ทงั้ ๔ รปู ตกลงกนั วา่ จะปฏบิ ตั ิ ขั้นอุกฤษฏ์ ๗ วันโดยไม่พูดคุยกันเลย วันแรกยังไม่ทันข้ามคืน ตอนค�่ำ ปรากฏวา่ มเี สยี งกกุ กกั ทศ่ี าลาขา้ งนอก พระรปู หนงึ่ โพลง่ ขน้ึ มาวา่ “มใี คร ลอ็ คประตศู าลาหรอื เปลา่ ” พระรปู ท ี่ ๒ กเ็ ลยพดู ขน้ึ มาวา่ “เอะ๊ เราตกลง กันแล้วมิใช่หรือว่าห้ามพูดคุยกัน” พระรูปที่ ๓ ก็พูดขึ้นว่า “อ้าว แล้ว ท่านทั้ง ๒ พูดคุยกันท�ำไมล่ะ” รูปที่ ๔ ได้ยินอย่างนี้ก็พูดข้ึนว่า “พวก ท่านน่ีแย่จงั พูดคยุ กนั หมด ดูผมส ิ ผมยังไมไ่ ดพ้ ดู เลย” พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 51
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ทั้ง ๔ รูปเสียท่า เพราะเอาแต่มองนอกตัวจนลืมมองตัวเอง พอ ไปจดจอ่ กับเรื่องข้างนอกแล้วมนั กเ็ กดิ อารมณไ์ ดง้ า่ ย เช่น ไม่พอใจ โดย เฉพาะพระรูปท่ี ๔ น่ีไม่พอใจพระอีก ๓ รูปที่พูดคุยกัน ความไม่พอใจ ผสมกบั ความกระหยม่ิ ยม้ิ ยอ่ งวา่ มแี ตฉ่ นั คนเดยี วทไี่ มพ่ ดู ท�ำใหห้ ลดุ ปาก ออกมาต่อว่าพระ ๓ รูป ขณะเดียวก็คุยอวดตัวด้วยว่า ฉันคนเดียวที่ ไม่เผลอ ความไม่พอใจพระท่ีเหลือและความกระหย่ิมยิ้มย่องพอเกิดข้ึน แล้วมันท�ำให้พระรูปท่ี ๔ ลืมตัว เมื่อลืมตัวแล้วก็หลง เลยเผลอพูดออก ไปอย่างไม่เข้าท่า เป็นการฟ้องตัวเองว่าแย่เหมือนกัน นี่เป็นเพราะอะไร เพราะเราไปเพ่งภายนอกมากเกนิ ไปจงึ ท�ำให้ลมื มองตวั เอง มอี กี ตวั อยา่ งหนง่ึ อนั นเี้ ปน็ เรอ่ื งสมยั ใหมห่ นอ่ ย มเี จา้ ของบา้ นคนหนง่ึ ก�ำแพงบ้านของเขาชอบมีคนมาขีดเขียนอยู่เร่ือย เชน่ ประกาศศกั ดาวา่ วทิ ยาลยั นเ้ี ปน็ พอ่ ทกุ สถาบนั บ้าง ด่าคนโน้นคนน้ีบ้าง เจ้าของบ้านก็พยายาม ขอร้องเพื่อนบ้านในซอยว่าอย่าขีดอย่าเขียน กไ็ มไ่ ดผ้ ล อุตส่าห์ปักป้ายหน้าก�ำแพงว่าห้ามเขียนก�ำแพง ก็ไม่มี คนสนใจ ห้ามเท่าไหร่ก็ไม่ฟัง สุดท้ายความโมโห แก ก็เลยคว้ากระป๋องสีไปที่ก�ำแพง แล้วเขียนข้อความ ตวั โตๆ บนกำ� แพงวา่ “ใครเขยี นเปน็ หมา” 5 2 เ ท ่ า ท ั น ค ว า ม คิ ด
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ชายคนนัน้ ตอ้ งการดา่ คนทเ่ี ขยี นก�ำแพง แต่ความทตี่ ้องการดา่ มาก ก็เลยลืมไปว่าตัวเองก�ำลังด่าตัวเอง คนอื่นยังไม่ทันเป็นหมาเลย ตัวเอง กลับกลายเป็นหมาไปเสียก่อนแล้ว นี่เพราะอะไร เพราะไปคิดเล่นงาน คนอื่นมากจนลืมมองตัว คนเรามักเป็นอย่างน้ี พอเห็นคนอื่นเป็นปัญหา แล้ว ตัวเองนั่นแหละกลับเป็นตัวสร้างปัญหาเสียเอง คนบางคนร�ำคาญ คนทช่ี อบโทรศพั ทใ์ นโรงหนงั กำ� ลงั ดหู นงั กม็ าเสยี อารมณเ์ พราะคนพวกน้ี นั่งดูไปก็นึกด่าคนน้ันไป พยายามกระแอมก็ไม่ได้ผล หนักเข้าก็เลย ตะโกนดา่ วา่ “ทำ� ไมพดู เสยี งดงั วะ ไมม่ มี ารยาทเสยี เลย ไมร่ หู้ รอื ไงวะ วา่ รบกวนคนอื่น” แต่ปรากฏว่าเสียงตะโกนด่าของเขา กลับมา รบกวนคนในโรงหนังมากกว่าคนใช้โทรศัพท์ที่ตัวเองก�ำลังด่า เสียอีก เห็นไหมว่าเวลาเราเพ่งโทษคนอื่น เราเองอาจจะท�ำ ยง่ิ กวา่ เขาเสยี อกี เวลานกึ อยากดา่ ใคร จงึ ตอ้ งหนั มาดตู วั เองให้ มากๆ เพราะเราอาจก�ำลังจะเป็นอย่างเขาก็ได้ ความโกรธมัน ไมเ่ ขา้ ใครออกใคร เพราะฉะนนั้ สตจิ งึ เปน็ สง่ิ สำ� คญั มาก เราจะตอ้ ง กลับมาดูตัวเราเองเสมอ รู้เท่าทันอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ ท่ี เกดิ ขนึ้ เวลาไมช่ อบใครเมอื่ ไหร ่ ใหเ้ ตรยี มใจไวเ้ ลยวา่ เรา อาจก�ำลังเป็นอย่างเขา หรือยิ่งกว่าเขาก็ได้ เข้าท�ำนองว่า “ว่าแตเ่ ขาอเิ หนาเปน็ เอง” พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 53
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต การมสี ตชิ ว่ ยใหเ้ ราเกดิ ความสมดลุ กค็ อื วา่ มองผอู้ นื่ ดว้ ยและมองตน ดว้ ย ไมใ่ ชม่ องแตผ่ อู้ นื่ จนลมื มองตน ทนี ก้ี ารมองตนกต็ อ้ งระวงั เหมอื นกนั นะ อยา่ ไปมองขา้ งในหรอื เหน็ แตเ่ รอื่ งขา้ งใน อาตมาเรยี กวา่ เปน็ การเพง่ เข้าในหรือมองเข้าใน ไม่มองข้างนอกเลย เอาแต่มองมาท่ีข้างใน เพ่ง ขา้ งใน หลวงพอ่ คำ� เขยี นทา่ นเคยเลา่ วา่ สมยั ทที่ า่ นปฏบิ ตั ใิ หมๆ่ กบั หลวงพอ่ เทยี นทว่ี ดั ปา่ พทุ ธยาน จงั หวดั เลย หลวงพอ่ คำ� เขยี น กอ่ นทท่ี า่ นจะบวช ทา่ นชอบปฏบิ ตั ใิ นทางสมถะ ทา่ นเคยเลา่ วา่ เวลา ไปท�ำนา ใจนึกถึงบ้าน อยากจะกลับมานั่งสมาธิ ทีน้ีพอท่านมาปฏิบัติ กับหลวงพ่อเทียน ก็มีบางคร้ังที่เผลอไปท�ำสมาธิเพ่งเข้าใน มีอยู่วันหนึ่ง หลวงพอ่ เทยี น ทา่ นไปสอบอารมณห์ ลวงพอ่ คำ� เขยี นทก่ี ฏุ ิ หลวงพอ่ เทยี น ยืนอยู่ขา้ งลา่ ง สว่ นหลวงพอ่ ค�ำเขยี นอยู่ในหอ้ งปดิ ประต ู หลวงพอ่ เทยี นถามหลวงพ่อค�ำเขียนวา่ “เหน็ ผมไหม” หลวงพอ่ ค�ำเขยี นกต็ อบวา่ “ไม่เหน็ ครับ” หลวงพอ่ เทียนก็เลยถามวา่ “ทำ� อย่างไรถงึ จะเหน็ ” หลวงพอ่ ค�ำเขียนเลยเปิดประตอู อก เสรจ็ แลว้ หลวงพอ่ เทยี นก็ถาม ว่า “เปดิ ประตูออกมาแลว้ เห็นไหม” หลวงพ่อค�ำเขียนตอบ “เหน็ ” “เห็นข้างในไหม” หลวงพ่อเทยี นถาม 5 4 เ ท ่ า ท ั น ค ว า ม คิ ด
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต “เหน็ ” หลวงพอ่ คำ� เขียนตอบ “เห็นขา้ งนอกไหม” “เหน็ ” แลว้ หลวงพ่อเทียนกบ็ อกวา่ “เออ ให้มันอย่างนี้ อยา่ ไปเขา้ ขา้ งใน เกนิ ไป อย่าออกไปนอกเกินไป ใหอ้ ยู่ตรงกลาง” หลวงพ่อเทยี นสมยั แรกๆ ทา่ นไม่เคยสอนเปน็ ค�ำพดู ไมค่ ่อยเทศน์ แต่จะใช้วธิ แี สดงอุปมาอุปไมย หรือชี้ใหค้ นนนั้ เหน็ ดว้ ยตวั เอง บางทีท่าน ก็เดินไปท่ีกุฏิพระโดยมีผ้าคลุมหัว พอผ่านกุฏิ ก็ดึงผ้าออกจากหัว เพื่อ เตือนศิษย์ไม่ให้จมอยู่กับสมาธิแบบมืดต้ือไม่รู้อะไร อันน้ีเขาเรียกว่าเป็น การสอนแบบมีส่ือการสอนหรือผ่านประสบการณ์ตรง ท่านจะสอนว่าการ ปฏิบัติอย่าไปเพ่งเข้าข้างในมากเกินไป ให้รู้ท้ังข้างในและข้างนอก ก็เลย ใช้วิธีดงั กลา่ ว พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 55
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ธรรมะทกุ หย่อมหญ้า บรรยายวนั ที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๔๕ อาจารยข์ องอาตมาเดนิ ทางมาเยย่ี มอาตมาได ้ ๒-๓ วนั แลว้ มาทกุ ป ี ปลี ะ ๓-๔ เดอื น แล้วกจ็ ากไป อาจารย์ของอาตมาทว่ี า่ กค็ ือ กระเต็นน้อย ท่ี เรียกว่าเป็นอาจารย์ก็เพราะว่าเขามีคุณสมบัติที่น่านับถือ บินมาก็เกาะ อยู่บนก้านบัวบ้าง กิ่งไม้กลางสระบ้าง เขาอยู่น่ิงๆ สงบอยู่ล�ำพังตัวเดียว ไม่รู้สึกเหงาเลย กระเต็นน้อยน่ีมีความสุขอยู่กับการอยู่เอกา มันไม่รู้สึก เหงา อาตมาบางทอี ยคู่ นเดยี วยงั เหงาเลย แตก่ ระเตน็ นอ้ ยไมเ่ หงา แถมยงั มีสมาธิดีมาก เกาะอยู่บนก้านบัวอย่างสงบน่ิง แม้แดดจะร้อนก็ไม่มี อาการทุกข์ นิ่ง น่ิงจนบางทีนึกว่าเขาหลับ แต่จริงๆ ไม่ได้หลับหรอก ถ้ามีปลาว่ายผ่านมา เขาก็จะบินโฉบลงไปคว้ามาเลย สมาธิดีมาก ไม่ใช่ สมาธแิ บบเหงาๆ หงอยๆ หรอื ไมร่ ไู้ มช่ อ้ี ะไร เปน็ สมาธทิ ตี่ นื่ แลว้ เรยี กวา่ มีสติพร้อม ถ้าเป็นคนเราขืนนั่งน่ิงๆ แบบนี้เดี๋ยวก็หลับ แต่กระเต็นน้อย นง่ิ แบบมีสตติ น่ื ตัวเตม็ ท่ ี ปลาผ่านมาก็โฉบทนั ที พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 57
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต พอได้ปลามากระเตน็ นอ้ ยก็พอใจ แมจ้ ะตวั เลก็ กพ็ อใจ รอ้ งจิ๊บๆๆๆ ด้วยความยินดี กระเต็นน้อยมีความสันโดษมาก ได้แค่ไหนก็พอใจ แถม ไมส่ ะสมสมบตั ไิ วด้ ว้ ย กระเตน็ นอ้ ยไมม่ สี มบตั พิ สั ถานอะไร ไมม่ รี งั ดว้ ยซำ้� ผิดกบั นกบางชนิดท่ียังสะสมอาหารในรัง แต่กระเตน็ นอ้ ยน่ีไมม่ เี หยา้ ไม่มี เรอื น ไมม่ รี งั ไมม่ กี ารสะสม เหน็ แลว้ บางทยี งั ละอายใจวา่ เรานเ่ี ปน็ พระ แตก่ ม็ ที รพั ยส์ มบตั เิ ยอะ เรามกี ฏุ ิ เรามที พี่ กั หลบแดดกนั ฝน แตก่ ระเตน็ - น้อยน่ีอยู่กลางสระ แดดจะร้อน อากาศจะหนาว เขาก็อยู่น่ิงท�ำหน้าที่ ของตวั ไม่ทกุ ขร์ ้อน คนเรานถ่ี า้ เปน็ อยา่ งกระเตน็ จะมคี วามสขุ มาก อยเู่ อกากม็ คี วามสขุ ไม่มีทรัพย์สมบัติให้สะสม ร้องเพลงได้ทั้งวัน ร้องจ๊ิบๆๆๆๆ แล้วก็ไป เด๋ียวก็ไปเกาะตรงน้ันที ตรงนี้ที แล้วก็นิ่ง แต่ก็ไม่ได้หลับ พระเรานี่ นงั่ สมาธยิ งั หลบั เลย แตก่ ระเตน็ นอ้ ยนตี่ น่ื ตวั อยตู่ ลอดเวลา คลา้ ยๆ กบั กบ เห็นเขาอยู่นิ่งๆ อย่าไปคิดว่าเขาหลับ ถ้ามีแมลงผ่านหน้าเมื่อไหร่ เขา จะตระหวัดล้ินจับใส่ปากทันที เป็นความนิ่งที่ตื่นตัวเต็มที่ ไม่ใช่น่ิงแบบ ไมร่ ไู้ ม่ชี้ คนทม่ี สี ตจิ ะตน่ื ตวั แบบนแี้ หละ ภายนอกนน่ี ง่ิ แตข่ า้ งในตนื่ ตวั เตม็ ที่ บางคนไปเข้าใจว่าอยู่น่ิงๆ มันต้องซึมๆ หงอยๆ นักปฏิบัติเป็นอันมาก 5 8 ธ ร ร ม ะ ท ุ ก ห ย่ อ ม ห ญ้ า
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต น่ังสมาธิจนเกิดความเงื่องหงอย เลยท�ำให้เกิดภาพว่าสมาธิภาวนาท�ำให้ เฉื่อยชา ที่จริงนั่นเป็นความเข้าใจผิด สมาธิภาวนาแบบพุทธน้ีต้องท�ำให้ เกิดความต่ืนตัว เกิดความพร้อมท่ีจะท�ำงาน ที่เรียกกันว่า กัมณียา เหมือนสมาธิแบบกระเต็นน้อยและกบซ่ึงมีความรู้ตัวทั่วพร้อมตลอดเวลา นกั ปฏิบัติธรรมต้องท�ำใหไ้ ด้แบบน้ี สัตว์บางพวกนี่น่ิงไม่เป็น ต้องเคลื่อนไหวตลอดเวลา เช่น ลิง กระโดดไปกระโดดมา มนั อยสู่ ขุ ไมเ่ ปน็ บางทกี อ็ วดฉลาด แตน่ กกระเตน็ - น้อยนี่น่ิง ถึงเวลาก็ไปนะ ไปก็ไปเปล่าๆ ไม่มีอะไรติดไม้ติดมือไป ไป อย่างอิสระเสร ี ไม่หวนหาอาลยั ในสถานท ่ี ไม่มีอดีต ไมม่ ีอนาคต อยู่กับ ปัจจุบัน ถึงไหนก็นอนน่ัน พักเหนื่อยแล้วก็เดินทางต่อไป มาเพ่ือจะไป ไม่ติดท่ ี ถอื เอาทกุ หนทุกแหง่ เปน็ บา้ น ใครบา้ งทจ่ี ะท�ำไดอ้ ยา่ งน้ ี อาตมา ก็เลยบอกว่ากระเต็นน้อยนี่แหละคืออาจารย์ของอาตมา เห็นแล้วก็อดคิด ไมไ่ ด้ว่าถา้ เราเป็นอย่างกระเตน็ นอ้ ยชวี ติ คงมคี วามสขุ ไม่น้อย ในป่านี้มีครูบาอาจารย์เยอะแยะ บางทีก็เป็นแบบแม่ไก่ แม่ไก่น่ี มีความกล้ามาก พร้อมจะปกป้องลูกน้อยจากภัยอันตรายทุกชนิด มีคน เล่าว่าวันก่อนนั่งรถจากท่ามะไฟจะมาวัด กลางถนนมีแม่ไก่กำ� ลังคุ้ยเขี่ย หากนิ กบั ลกู ฝูงหนง่ึ พอรถวงิ่ ตรงมาเข้า ลูกเจีย๊ บหนีไมท่ นั แมไ่ กแ่ ทนท่ี พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 59
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต จะหนีเอาตัวรอด กลับกางปีกปกป้องลูกน้อย มันกล้าเผชิญหน้ากับรถ ยอมให้รถทับเลย กล้าหาญมาก นับว่าน่านับถือ ถ้าเราได้อย่างนี้บ้าง จะดีไม่น้อย ครบู าอาจารยท์ จ่ี ะสอนธรรมใหเ้ รานนั้ มอี ยทู่ กุ หนทกุ แหง่ ไมว่ า่ ในปา่ กลางสระ ต้นไม ้ หรือแมแ้ ต่กอ้ นอิฐกเ็ ป็นครสู อนเราได้ ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาสชอบแนะใหล้ กู ศษิ ยท์ สี่ วนโมกขฟ์ งั เสยี งตน้ ไม้ พดู ฟังเสียงก้อนหินสอนธรรมะ ก้อนหนิ ก็สอนธรรมะได ้ ต้นไมก้ ็สอนได้ ดอกบวั นยี่ งิ่ ดใี หญ ่ ทงั้ ดอกบวั ใบบวั ตน้ บวั นสี่ อนธรรมะไดท้ ง้ั นน้ั ตน้ บวั น่ี เติบโตจากโคลนตม แต่ก็พาตัวข้ึนพ้นน�้ำได้ สะอาดบริสุทธ์ิ ไม่มี ร้ิวรอยของโคลนตม ส่วนใบบัวน้ันฝนก็ท�ำให้เปียกไม่ได้ ฉาบทา ไม่ได้ ฝนตกลงมาถูกใบบัวก็หล่นลงน�้ำ บางคร้ังหยดน้�ำก็ไปสะสมอยู่ ตรงร่องกลางใบบัว แต่ใบบัว ก็ไม่ยอมแบกน้�ำ จะโอนเอนจนน้�ำเท ไหลลงหมด ดอกบวั กเ็ ชน่ กนั สอนใจเราดมี าก พจิ ารณาไปเถอะ วนั นต้ี มู พรุ่งน้บี าน มะรืนก็ร่วง สอนอนจิ จังได้เป็นอยา่ งดี 6 0 ธ ร ร ม ะ ท ุ ก ห ย่ อ ม ห ญ้ า
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต พจิ ารณาพวกนบี้ อ่ ยๆ กช็ ว่ ยใหเ้ รามสี ตเิ กดิ ปญั ญาขนึ้ มา แตถ่ า้ มอง ผ่านๆ ไม่น้อมเข้ามาใส่ตัว ธรรมะก็ไม่เกิด ธรรมะน้ีจะเป็นธรรมะได้เรา ตอ้ งนอ้ มเขา้ มาใสต่ วั คณุ สมบตั อิ ยา่ งหนงึ่ ของธรรมะคอื โอปนยโิ ก แปลวา่ พึงน้อมเข้ามาใส่ตัว น้อมเข้ามาใส่ตัวถึงจะเป็นธรรมะ ถ้าไม่น้อมเข้ามา ใส่ตัว ก็เป็นธรรมะไม่ได้ ดูโทรทัศน์ดูละครแล้วปล่อยใจออกนอกตัว มัน ก็ได้แต่สนุก แต่ธรรมะไม่เกิด แต่พอเราน้อมส่ิงที่เห็นเอาเข้ามาใส่ตัว เห็นว่าเจ้าตัวข้ีอิจฉาน้ีมันช่างเหมือนเราเสียจริง ใจร้อนขี้อิจฉา มองคนอ่ืนติดลบเสมอ พอไปเห็นตัวเองอยู่บนทีวี มันก็สอน ใจเราให้อิจฉาน้อยลง เวลาเห็นตัวละครเอะอะโวยวายด้วย ความโกรธ กน็ อ้ มเขา้ มาใสต่ วั วา่ ตอนเราโกรธเรากจ็ ะนา่ เกลยี ด น่าระอาอย่างในตัวละครน้ีแหละ เวลาโกรธ เราไม่เห็นหน้า ตัวเองหรอก แต่พอเห็นตัวละครโกรธแล้วหน้าตาเหมือนยักษ์เหมือนมาร ถา้ เรามสี ตจิ ะฉกุ คดิ ขน้ึ ไดว้ า่ เรากเ็ ปน็ อยา่ งนเ้ี หมอื นกนั ไมน่ า่ ดเู ลย รจู้ กั มองอยา่ งน ้ี เราจงึ จะเหน็ โทษของความโกรธ และพยายามโกรธใหน้ อ้ ยลง ดลู ะครดโู ทรทศั น ์ ใหล้ องพจิ ารณาดวู า่ ตวั เองอยตู่ รงไหน เปน็ พระเอก เปน็ นางเอก หรอื เปน็ ผรู้ า้ ย ดแู ลว้ นอ้ มเขา้ มาใสต่ วั เรากจ็ ะไดร้ ะมดั ระวงั ตวั เองมากขึ้น พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 61
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ขอให้พิจารณาทุกส่ิงทุกอย่างท่ีผ่านพบ อย่ามองอย่างผ่านๆ ขอ ให้มองอย่างมีสติ จิตว่างจากความคิด คนเราถ้าใจไม่ว่าง ใจเต็มไปด้วย ความคดิ แลว้ น ี่ ธรรมะจากธรรมชาตกิ ย็ ากทจ่ี ะซมึ เขา้ ไปในจติ ใจของเราได้ แตพ่ อทำ� ใจวา่ งๆ มสี ตกิ �ำกบั ใจ ธรรมะจากธรรมชาตกิ เ็ ขา้ มาในใจของเรา ได้ง่าย ใจของเราเหมือนแก้วน้�ำ แก้วน�้ำเปล่าๆ ถ้าเติมน�้ำลงไป แก้วก็ รบั นำ้� ได้ แต่ถ้าแก้วน้�ำเตม็ ด้วยน้ำ� ส ี เติมน�้ำสะอาดลงไปกล็ น้ ออกหมด ในสมัยพุทธกาลเคยมีคนหนึ่งเป็นยาจกเข็ญใจ นุ่งผ้า เก่าๆ รับจา้ งเขาท�ำงาน ตอนหลงั เห็นโทษจากชวี ติ ฆราวาส เลยมาบวชเป็นพระ คงเพราะเห็นว่า ชีวิตพระนั้นสะดวก สบาย มีคนอุปถัมภ์บ�ำรุง ไม่ต้องท�ำงานหนัก อย่างน้อยก็ ไมอ่ ดอยากหวิ โหย เมอื่ บวชแล้วก็ยังเก็บเสอื้ ผา้ เอาไว้ คร้ันบวชแล้วก็รู้ว่าชีวิตพระไม่ได้สบายเท่าไหร่นัก บางครงั้ กอ็ ยากจะสกึ แตเ่ วลาเกดิ อยากสกึ กจ็ ะไปดเู สอื้ ผา้ ทเี่ กบ็ ซอ่ นเอาไว ้ ทำ� ใหไ้ มอ่ ยากสกึ เสอ้ื ผา้ เหลา่ นคี้ งเตอื น ท่านว่าถา้ ออกไปเป็นโยม ชีวิตจะลำ� บาก ความอยากสึก เลยฝ่อลง เพ่ือนพระเห็นก็ถามว่า ท่านไปท่ีน่ันบ่อยๆ ท�ำไม พระรูปนี้ก็ ตอบว่าไปหาอาจารย์ ท่านคงไปหาอาจารย์แบบนี้หลายคร้ัง จนที่สุด 6 2 ธ ร ร ม ะ ท ุ ก ห ย่ อ ม ห ญ้ า
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต กบ็ รรลอุ รหตั ตผล เลยไมไ่ ดไ้ ปหาเสอ้ื ผา้ ทซ่ี อ่ นไวอ้ กี ปลอ่ ยทางใหร้ ก พระ รปู อนื่ ๆ เหน็ เขา้ กเ็ ลยถามวา่ เดยี๋ วนท้ี ำ� ไมไมเ่ หน็ ไปหาอาจารยอ์ กี เลย ทา่ น ตอบว่า เด๋ียวน้ีเราไม่เก่ียวข้องกับอาจารย์แล้ว ไม่ต้องการอาจารย์แล้ว พระภิกษุได้ยินก็หาว่าท่านพูดอวดตัวเป็นอรหันต์ จึงไปทูลพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าก็ทรงรับรองว่าพระรูปน้ีท่านเป็นพระอรหันต์แล้ว นี่เป็น ตัวอย่างวา่ แม้แต่เสื้อผา้ ขาดๆ ปุปะกเ็ ปน็ อาจารยไ์ ด ้ ทกุ สิ่งทกุ อย่างเปน็ ครูบาอาจารย์เราได้ท้ังนน้ั สมัยพทุ ธกาลมีพระบางรูปทอ้ แท้ทอ้ ถอยในการปฏิบตั ิ วันหน่งึ เห็น คนเล้ยี งชา้ งฝกึ ชา้ ง คนจะส่ังใหม้ ันทำ� อะไร ช้างกท็ ำ� ได้ ให้มนั ลุกข้ึน นงั่ ยกขา ยืน ๒ ขา มันท�ำได้หมด ก็นึกสะท้อนในใจว่า แม้สัตว์เดรัจฉาน อยา่ งชา้ งยงั ฝกึ ไดม้ ากมาย เราเปน็ มนษุ ยท์ ำ� ไมจงึ ฝกึ ตนเองไมไ่ ด ้ ตอ้ งไดส้ ิ คดิ ไดเ้ ชน่ นกี้ เ็ กดิ มานะและกำ� ลงั ใจในการปฏบิ ตั ิ ไมย่ อมเลกิ กลางคนั ทา่ น เพียรพยายามไม่นานก็บรรลธุ รรม เดี๋ยวน้ีเราไปคิดว่าครูบาอาจารย์มีแต่ในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย ก็เลยไม่ได้คิดท่ีจะเรียนรู้จากส่ิงรอบตัว อะไรก็ตาม ถ้ามองให้เป็นก็ได้ ประโยชน์ แม้แต่ภาพโฆษณาท่ียั่วยุกิเลส ละครน�้ำเน่า ก็ให้แง่คิดหรือ สติปัญญาแก่เราได้ ไม่ใช่ว่าจะต้องเรียนจากหนังสือเท่าน้ัน สมัยที่พระ พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 63
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต อาจารย์มั่นยังไม่มีชื่อเสียง เป็นพระป่าที่จาริกธุดงค์ไปท่ัวอีสานพร้อมกับ ลูกศิษย์ เจ้าคณะมณฑลอีสานสมัยนั้นรังเกียจพระอาจารย์ม่ันมาก มอง เห็นว่าเป็นพระจรจัด ไม่สังกัดวัดตามระเบียบคณะสงฆ์ซ่ึงก�ำลังมีการ ปฏิรปู ขนานใหญ่ ทสี่ �ำคัญคือมองว่าพระอาจารยม์ ่นั ไมม่ ีความรทู้ างธรรม เพราะไม่ได้เรียนปริยัติ เจ้าคณะมณฑลท่านน้ีสงสัยว่าคนไปนับถือ พระอาจารย์ม่ันได้อย่างไร เวลาพระอาจารย์มั่นและลูกศิษย์เข้ามาในเขต ปกครองของท่านคือจังหวัดอุบลราชธานี ท่านก็จะสั่งให้เจ้าหน้าที่บ้าน เมืองไล่ออกไป ทั้งๆ ท่ีเป็นธรรมยุตเหมือนกัน แต่ตอนหลังท่านกลับมา นับถือพระอาจารย์ม่ัน แม้กระน้ันก็ยังสงสัยไม่หายว่าพระอาจารย์มั่น รธู้ รรมไดอ้ ยา่ งไร ในเมอื่ อยแู่ ตป่ า่ ไมม่ ตี ำ� รา ทสี่ งสยั มากกเ็ พราะเจา้ คณะ มณฑลท่านนี้จบประโยค ๙ จึงเห็นว่าปริยัติศึกษามีความส�ำคัญมาก เมอื่ ไดพ้ บพระอาจารยม์ น่ั จงึ ไดถ้ ามเรอ่ื งน ี้ คำ� ตอบของพระอาจารยม์ น่ั กค็ อื “ธรรมะนัน้ มีอยทู่ ุกหย่อมหญา้ ส�ำหรบั ผมู้ ปี ัญญา” 6 4 ธ ร ร ม ะ ท ุ ก ห ย่ อ ม ห ญ้ า
ขอให้พิจารณา ทกุ สิ่งทกุ อย่างท่ีผ่านพบ อยา่ มองอยา่ งผา่ นๆ ขอใหม้ องอยา่ งมีสติ จิตวา่ งจากความคิด คนเราถา้ ใจไม่วา่ ง ใจเตม็ ไปดว้ ยความคดิ แลว้ น่ี ธรรมะจากธรรมชาติ กย็ ากทีจ่ ะซึมเขา้ ไป ในจิตใจของเราได้
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ทุกข์แก้ท่ีใจ บรรยายวันท่ ี ๒๒ สงิ หาคม ๒๕๔๕ ตอนนฝ้ี นกำ� ลงั ตก รอบศาลาเปยี กไปหมด แตพ่ วกเราซงึ่ อยใู่ นศาลาไมเ่ ปยี ก ฝนไม่ต้อง น่ีเพราะว่ามีหลังคาท่ีมุงไว้ดีแล้ว พระพุทธเจ้าเคยตรัสไว้เป็น คาถาในคมั ภรี ธ์ รรมบทวา่ “เรอื นทม่ี งุ ไวด้ แี ลว้ ฝนยอ่ มไมร่ ว่ั รดฉนั ใด จติ ท่ี ฝกึ ไวด้ แี ลว้ กเิ ลสยอ่ มไมค่ รอบงำ� ฉนั นน้ั ” เรามาอยใู่ นศาลาในยามน ้ี ควร ที่จะนึกถึงคาถาธรรมบทข้อนี้ไว้ และนึกขอบคุณหลังคาที่ช่วยปกป้อง ไม่ใหฝ้ นตกลงมารดเราจนเปยี กแฉะ แต่ถ้าจะให้ดีกว่าน้ัน เราควรฝึกจิตใจของเราด้วย เพ่ือไม่ให้กิเลส เข้ามารั่วรดทำ� อันตราย ฝนน้ันมันอยู่นอกตัวเรา แต่ว่ากิเลสมันไม่ได้อยู่ ทไี่ หนหากอาศยั ใจเราเปน็ ทเ่ี กดิ จะบอกวา่ กเิ ลสอยใู่ นใจเรากพ็ ดู ไมไ่ ดถ้ นดั พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 67
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต เช่นเดียวกับท่ีเราพูดไม่ได้ว่าไฟอยู่ในเนื้อไม้ ถึงแม้ว่าไฟจะเกิดเวลาเอา ไมม้ าสกี นั แตน่ นั่ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ ไฟอยใู่ นเนอื้ ไม ้ เราพดู ไดแ้ ตเ่ พยี งวา่ ไฟอาศัยเน้ือไม้เป็นที่เกิด อันนี้แหละส�ำคัญ เพราะเรามักเข้าใจว่ากิเลส มันติดมากับจิตใจตั้งแต่เกิด หรือเข้าใจว่ากิเลสเป็นธรรมชาติท่ีติดตัวเรา มาพูดแบบนี้ก็ไม่ผิดถ้าต้องการพูดตามภาษาชาวบ้าน แต่ถ้าจะพูดอย่าง ถูกต้องเคร่งครัดพูดอย่างน้ันไม่ได้ เราพูดได้แต่เพียงว่ากิเลสอาศัยใจ เปน็ ทเ่ี กดิ อนั นม้ี นั ตา่ งจากฝน ฝนเกดิ นอกตวั แลว้ มนั มาตอ้ งตวั เรา แตว่ า่ กิเลสน่ีมันเกิดท่ีใจเรา มันอาศัยใจเราเป็นท่ีเกิด ฉะน้ันเราจ�ำเป็นต้องมี สงิ่ คมุ้ กนั จติ เอาไว ้ ไมใ่ หก้ เิ ลสแทรกซมึ เขา้ มากอ่ ความเดอื ดรอ้ นแกเ่ ราได้ ส่ิงที่จะเป็นหลังคาป้องกันไม่ให้กิเลสเข้ามารั่วรดจิตใจเราได้ ก็คือ หลงั คาทช่ี อื่ วา่ ๓ เกลอไดแ้ ก ่ สต ิ ปญั ญา และกส็ มาธ ิ เรยี กอกี อยา่ งหนง่ึ ว่า ๓ เกลอ เพราะชอบอยดู่ ้วยกันและเชอื่ มโยงกันมาก คนเราถา้ ไมม่ สี ต ิ ความทกุ ขก์ เ็ ขา้ มา ครอบงำ� จติ ใจได ้ พอไมม่ สี ต ิ เมอ่ื เราลมื ตวั ความโกรธ ความเกลยี ด ความอยากมนั ก็ เข้ามาครอบงำ� จิตไดง้ า่ ย 6 8 ท ุ ก ข ์ แ ก ้ ท ่ี ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ทเี่ ขาวา่ การเจรญิ สตปิ ฏั ฐานเปน็ หวั ใจกรรมฐานหรอื ภาวนาแบบพทุ ธ ก็เพราะว่าพอไม่มีสติแล้ว กิเลสทั้งหลายก็เกิดข้ึนได้ง่ายและถอนยาก เวลาเราโกรธเรากจ็ ะลมื ตวั ถา้ ลมื ตวั มากๆ กด็ า่ ออกไป หรอื ไมก่ ล็ งไมล้ งมอื อาจไม่ลงไม้ลงมือกับคนท่ีเราเกลียด แต่อาจลงไม้ลงมือกับแก้วจานชาม หรือต้นกล้วย เตะมันฟาดมันเพ่ือระบายความโกรธออกไป นี่เป็นเพราะ ขาดสติ บางคนบอกวา่ ตอนโกรธผมรนู้ ะวา่ ผมโกรธ แตท่ ำ� ไมถงึ ไมห่ ายโกรธ จริงอยู่สติท�ำให้เรารู้ว่าเราโกรธ แต่สติของเรายังไม่มากพอที่จะดึงจิต ออกจากความโกรธ หรอื เอาความโกรธออกไปจากจติ ใจได ้ เรารแู้ ปบ๊ เดยี ว แลว้ กก็ ลับไปหาความโกรธอีก พอมสี ตกิ ็รตู้ ัว ประเด๋ยี วเดียวกก็ ลบั เขา้ ใน ความโกรธอกี ถา้ สตไิ มไ่ วหรอื เขม้ แขง็ พอ จะเขา้ ๆ ออกๆ แบบนรี้ วดเรว็ มาก กเ็ ลยไมห่ ายโกรธเสยี ท ี ตอ่ เมอื่ มสี ตไิ วพอ ถงึ จะดงึ ความโกรธออกมา ไดอ้ ยา่ งชะงดั ในสภาพเชน่ นบ้ี างทกี ต็ อ้ งอาศยั ปจั จยั ภายนอกมาชว่ ย เชน่ คนมาเตือนสติ แต่บางครั้งคนเราอาจเกิดการฉุกคิดได้อย่างกระทันหัน ทำ� ใหส้ ตคิ นื มาอยา่ งรวดเรว็ พอสตกิ ลา้ แขง็ กส็ ามารถสลดั ความโกรธออก ไปได ้ อยา่ งคนท่ีกำ� ลงั โกรธหรือเศรา้ โศกอย่างรุนแรง ถงึ ขน้ั หยิบมีดหยิบ ปนื มาจะทำ� รา้ ยคนอน่ื หรอื ทำ� รา้ ยตวั เอง ชว่ั ขณะนนั้ เองกน็ กึ ถงึ ลกู ขน้ึ มาวา่ เขาจะอยอู่ ยา่ งไรถา้ เราเขา้ คกุ หรอื เราตายจากไป พอนกึ แบบนขี้ น้ึ มา สตกิ ็ พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 69
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต พรง่ั พรกู ลบั คนื มา รตู้ วั วา่ กำ� ลงั คดิ สนั้ กเ็ ลกิ ทนั ท ี วางมดี วางปนื สรา่ งจาก ความโกรธหรือความเศร้าโศกทันที การนึกถึงโทษท่ีจะเกิดข้ึนจากการ กระทำ� ของเราในภาวะอารมณท์ พี่ ลงุ่ พลา่ นรนุ แรง ทำ� ใหร้ สู้ กึ ตวั ขน้ึ มา หลดุ จากอารมณ์ได้ทันที อันนี้เป็นหน้าที่อย่างหน่ึงของสติ สติท�ำให้ไม่ลืมตัว เกิดความรูต้ วั ทำ� ใหอ้ ารมณต์ ่างๆ ถูกสลดั ออกไป แต่คนส่วนใหญ่ในยามปกติไม่มีสติมากพอที่จะทำ� ให้อารมณ์รุนแรง น้ันลดระดับลงมาได้ แต่ถ้าเราฝึกสติสม่�ำเสมอ สร้างสติไว้มากพอ สติ ก็จะช่วยเราได้ ไม่ว่าในยามคับขันวิกฤติเดือดร้อน หรือ ในยามปกติธรรมดา เมื่อมีสติ ก็จะเกิดสัมปชัญญะตาม มา สมั ปชญั ญะคอื ความรตู้ วั ชว่ ยใหท้ ำ� อะไรไดไ้ มผ่ ดิ พลาด สามารถท�ำสิ่งต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม สัมปชัญญะกับสติน้ีมา ดว้ ยกนั พอฉกุ คดิ ขนึ้ มาได้ไม่ลืมตวั ความรู้ตวั กเ็ กดิ ข้นึ ทนั ที สัมปชัญญะน่ีเป็นธรรมฝ่ายปัญญา แต่ก็คู่เคียงกับสติซึ่งเป็นธรรม ฝ่ายสมาธิ เป็นคุณสมบัติของจิตซ่ึงส�ำคัญ ถ้ามีสติมากข้ึนเร่ือยๆ เราก็ จะรวู้ ่าสขุ ของเรานัน้ ไม่ไดอ้ ยูท่ ่ไี หนเลย มนั อยทู่ ่ีใจนน่ั เอง สขุ ทกุ ข์อยู่ที่ใจ ไม่ไดอ้ ยู่ทอ่ี ื่นเลย 7 0 ท ุ ก ข ์ แ ก ้ ท ี่ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต สติจะช่วยให้เราเห็นความจริงข้อนี้ แต่ก่อนเราเคยนึกว่าเราจะสุข หรอื ทกุ ข์ก็เพราะปจั จยั ภายนอก แดดร้อนทำ� ให้เราทกุ ข์ ถ้าอากาศสบาย ก็ไม่ทุกข์ ท่ีจริงไม่ใช่ สุขทุกข์จริงๆ อยู่ท่ีใจ ถึงแดดจะร้อน แต่ถ้าเราเอาใจไปจดจ่ออยู่กับสิ่งอ่ืน เช่น อยู่บนอัฒจันทร์ กลางแดดน่ังดูฟุตบอลโลก ถึงแดดจะร้อนแค่ไหนก็ไม่ทุกข์ เลย เพราะก�ำลงั สนกุ อยกู่ บั การดฟู ตุ บอลซง่ึ เปน็ ของชอบ ของโปรด บางคนไปน่ังตากน้�ำค้างกลางดึก ดูฟุตบอล ในจอขนาดยักษ์อยู่ในเกาหลี ญ่ีปุ่น ทั้งๆ ที่อากาศหนาว มาก แตผ่ คู้ นกไ็ มร่ สู้ กึ เปน็ ทกุ ขเ์ ลย เพราะอะไร เพราะใจมนั ไปจดจ่ออยู่กับฟุตบอล ใจท่ีไปจดจ่ออยู่กับฟุตบอลเรียกว่า สมาธิ พอมี สมาธิกับสิ่งอื่น ความร้อนความหนาวก็ทำ� อะไรไม่ได้ นี่ก็ทำ� นองเดียวกับ คนท่ีนั่งหลังขดหลังแข็งเล่นไพ่ เล่นกันได้ท้ังคืนไม่เบ่ือเลย เพราะใจไปเพลินกับการเล่นไพ่ แต่พอให้มาท�ำสมาธิหรือ นง่ั ทำ� วตั รสวดมนต ์ แคค่ รงึ่ ชวั่ โมงกบ็ น่ วา่ ปวดโนน่ ปวดน่ี แลว้ ขยบั แขง้ ขยบั ขาไมห่ ยดุ แบบนจ้ี ะมาโทษวา่ เป็นเพราะน่ังนานก็ไม่ใช่ สาเหตุจริงๆ อยู่ที่ใจ ของเราเอง พอใจไมส่ หู้ รอื ไปจดจอ่ อยกู่ บั ความปวด เม่ือยก็เลยเป็นทุกข์ ตรงกันข้ามถ้าใจเรามีสมาธิกับ การท�ำวัตรสวดมนต์ หรือใจลอยไปถึงแฟนก็จะไม่รู้สึก พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 71
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ปวดเมื่อย พูดอีกอย่างคือความปวดเม่ือยท�ำอะไรเราไม่ได้ ด้วยเหตุน้ี จงึ บอกวา่ สุขทกุ ขอ์ ยทู่ ีใ่ จ เรื่องอย่างน้ีถ้าเราไม่เข้าใจก็จะเอาแต่โทษโน่นโทษน่ี เช่น โทษยุง ยุงมันมากัดเราท�ำให้คัน นั่งไม่เป็นสุข นี่เป็นเพราะใจเรามันไปยอมแพ้ ต้ังแต่แรกแล้ว หรือต้ังจิตเอาไว้แล้วว่ายุงกัดไม่ได้ ฉันไม่ชอบ นี่เรียกว่า ใจไมม่ ีสตกิ ไ็ ด ้ คือไมร่ ้ทู นั อาการของจติ ทีไ่ มส่ หู้ รอื กลัวต้งั แตแ่ รก เวลารวู้ า่ ยงุ กดั ลองใช้สตเิ ขา้ ไปดเู วทนา ตอนที่มนั กัดปกั เขม็ ลงไป ในเน้ือเราแล้วดูดเลือด เรารู้สึกอย่างไร บางทีเนื้อมันเต้นระริกๆ เลยนะ อันนี้เป็นอาการของกายแต่ไม่จ�ำเป็นว่าใจจะทุกข์ไปด้วย ในขณะนั้นมือ เราอาจจะขยบั เพราะอยากจะไปตบยงุ ตามความเคยชนิ หรอื สญั ชาตญาณ แตถ่ า้ ขณะทก่ี ำ� ลงั คนั หรอื หรอื เจบ็ เลก็ ๆ เรากำ� หนดรอู้ าการตา่ งๆ ของกาย และใจ พร้อมกันนั้นก�ำหนดใจไปด้วย เช่น ตอนหายใจเข้าก็นึกในใจว่า “ทนได้” หายใจออกก็นึกในใจว่า “สบายมาก” หายใจเข้า-ทนได้ หายใจ ออก-สบายมาก ถ้าลองท�ำอย่างน้ีดู ยุงกัดก็ไม่รู้สึกเจ็บจนอยากจะตบ ไม่ทุกขร์ ้อนเทา่ ไหร่เพราะใจมสี ติ ใจพรอ้ มจะทน ไม่คดิ จะบ่นโวยวาย 7 2 ท ุ ก ข ์ แ ก ้ ท ่ี ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต แต่ถ้าใจงอแงอ่อนแอ เราก็จะทุกข์ข้ึนมาเลย รู้สึกว่า โอ๊ย! คัน ทนไมไ่ ดแ้ ลว้ นมี่ นั อยทู่ ก่ี ารตงั้ จติ ตงั้ ใจดว้ ย ถา้ ตงั้ จติ เอาไวว้ า่ ทนได ้ สบาย มาก กจ็ ะทนได้จริงๆ มันอยทู่ ีใ่ จ ไมใ่ ช่อยทู่ ี่ว่ายุงกดั หรือไม่ การตงั้ จติ แบบนตี้ อ้ งอาศยั สตเิ ขา้ มาชว่ ยเขา้ มากำ� กบั นอกจากสตแิ ลว้ สมาธกิ ช็ ว่ ยไดม้ าก ถา้ ขณะนง่ั อย ู่ เรามสี มาธกิ บั อะไรสกั อยา่ ง เชน่ ก�ำลงั อ่านหนังสือ คุยกับเพ่ือน ดูโทรทัศน์ จะไม่รู้สึกเจ็บคันเลย ท้ังๆ ท่ียุง หลายตัวก�ำลังรุมเราอยู่ ตรงกันข้ามถ้าไม่มีสมาธิ ยุงแค่ตัวเดียวก็ทำ� ให้ บน่ ได้ ขอให้พิจารณาดูเถิดว่า สุขหรือทุกข์น้ันอยู่ท่ีปัจจัย ภายนอกหรือเพราะว่าใจเรากันแน่ อาจจะดูลิง เปน็ อทุ าหรณส์ อนใจ ลงิ นเี่ กลยี ดกะป ิ ถา้ เรา โยนอาหารท่ีทากะปิให้ลิง แล้วมันเผลอจับ เขา้ ลงิ จะเกดิ อาการอยา่ งไร มนั จะเดอื ดรอ้ น ขนึ้ มาทนั ท ี พอรวู้ า่ กะปเิ ปอ้ื นมอื ลงิ กจ็ ะเอา มือถูพ้ืนหรือถูหิน ถูๆๆ อย่างนั้นแหละเพื่อให้กะปิ หลุดออกจากมือ ถูเสร็จก็เอามือมาดม แต่กล่ินกะปิ ก็ยังอยู่ ก็เลยถูๆๆ ถูแล้วดม ดมแล้วก็ถูอีก มันถู พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 73
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต จนกระทงั่ หนงั ถลอก เลอื ดไหลออกซบิ ๆ แตก่ ลนิ่ กไ็ มอ่ อกไปงา่ ยๆ กเ็ ลย ต้องถูอีก จนบางทีเลือดเต็มมือ น่าสงสาร เราลองพิจารณาดูว่า ที่ลิง มีเลือดไหลเป็นเพราะอะไรกันแน่ เป็นเพราะกะปิ หรือเป็นเพราะความ เกลยี ดกะปกิ นั แน่ กะปิไม่ท�ำให้ลิงมีแผล ไม่ท�ำให้ลิงเจ็บปวด แต่ความเกลียดกะปิ ต่างหากท่ีท�ำให้ลิงมีแผลเลือดไหลออกมา ความเกลียดกะปิท�ำให้ลิง เอามอื ถกู บั หนิ อยนู่ นั่ แหละ กะปไิ มไ่ ดท้ ำ� รา้ ยลงิ ความเกลยี ดกะปติ า่ งหาก ทีท่ �ำรา้ ยลิง คนเรากเ็ หมอื นกนั คำ� ดา่ ของคนอนื่ ทำ� รา้ ยเราไมไ่ ดห้ รอก คำ� ดา่ มนั เป็นแค่ลมปากหรือคลื่นเสียงที่มากระทบหู แต่ปฏิกิริยาของเราต่อคำ� ด่า ต่างหากที่เป็นปัญหา มันน่ากลัวกว่าค�ำด่าเสียอีก ค�ำด่าท�ำอะไรเราไม่ได้ แตค่ วามโกรธความเกลยี ดทเ่ี กดิ ขนึ้ เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าตอ่ ค�ำดา่ ตา่ งหากทเ่ี ผาลน จิตใจเราจนกินไม่ไดน้ อนไม่หลับ เราทุกขก์ เ็ พราะความโกรธความเกลียด เพราะจติ ไปจดจอ่ กบั ค�ำด่าเหลา่ นัน้ ทงั้ หมดนล้ี ว้ นอยทู่ ใ่ี จเราทงั้ สนิ้ ไมใ่ ช่ ค�ำด่าของเขาเลยที่ท�ำให้เราทุกข์ แต่การยึดติดกับค�ำด่าของเขา แล้วไป ปรุงเป็นความโกรธเกลียด อนั นั้นตา่ งหากทท่ี ำ� ใหเ้ ราทุกข์อย่างแท้จรงิ 7 4 ท ุ ก ข ์ แ ก ้ ท ี่ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ลงิ เกลยี ดกะป ิ แตก่ ช็ อบเอามอื มาดมหากลนิ่ กะปอิ ยนู่ นั่ แหละ ทงั้ ท่ี ไม่ชอบก็ยังดมอยู่นั่นแหละ นี่ก็ไม่ต่างจากคนที่ไม่ชอบค�ำด่า แต่ก็ชอบ เอาค�ำด่านั้นมาครุ่นคิดอยู่น่ันแหละ คิดแล้วคิดเล่าอยู่น่ันแหละ ไม่ยอม วางเสียที ถ้าเราท�ำอย่างน้ี เราก็มีอาการไม่ต่างจากลิงที่เกลียดกะปิ เรา ต้องไปให้ไกลกว่าลิงท่ีเกลียดกะปิ ต้องฉลาดกว่าลิงพวกน้ัน ต้องรู้ทันว่า ตัวการที่สร้างปัญหาให้กับเราจริงๆ ไม่ใช่ค�ำด่า แต่คือปฏิกิริยาต่อค�ำด่า เหล่านั้น ได้แก่ความเกลียด ความโกรธ รวมถึงอุปาทานคือความยึดติด ในค�ำด่าเหล่านั้น จนปล่อยไม่ได้วางไม่ลง ซ่ึงน�ำไปสู่การปรุงแต่งเป็น ความโกรธเกลยี ดมากยง่ิ ขึ้น วิธีที่จะแก้ทุกข์ ไม่ใช่ว่าไปคาดหวังให้เขาหยุดด่า ว่าเราหรือไปปิดปากเขา แต่อยู่ท่ีว่าเราจะท�ำใจอย่างไร ต่อค�ำด่า จะปล่อยวางค�ำด่าและจัดการกับความโกรธ เกลียดที่มีต่อค�ำด่าหรือคนท่ีมาด่าได้อย่างไร ตรงน้ีส�ำคัญ กว่า จะรู้วิธีจัดการกับอาการในใจเหล่านี้ได้ก็ต้องเร่ิมต้นจากการรู้จัก สาวหาสาเหตจุ นรวู้ า่ สขุ หรอื ทกุ ขน์ น้ั อยทู่ ใี่ จเรา ถา้ เราจดั การกบั ใจของเรา ได้อยู่ที่ไหนก็อยู่ได้ แม้อยู่ท่ามกลางนรก เราก็สามารถประคองใจให้ เป็นปกตไิ ด้เหมือนกัน ไม่ใช่จะท�ำไม่ได้ พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 75
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต มีนักจิตวิทยาชื่อดังคนหน่ึง เขาเคยถูกจับไปอยู่ค่ายนรกของนาซี ท่ีเป็นตัวการฆ่าชาวยิวไป ๖ ล้านคน ค่ายนรกนาซีมีหลายแห่งในยุโรป ท่ีมีชื่อท่ีสุดในด้านความโหดร้ายทารุณได้แก่ “เอาชวิตซ์” คนท่ีอยู่ในนี้จะ ถูกใช้แรงงานเย่ียงทาส อาหารน้อย อากาศหนาวทารุณ จะตายเม่ือไหร่ ก็ไม่รู้ คนที่ล้มตายเพราะขาดอาหารหรือป่วยตายมีเยอะแยะ ไม่ต้องพูด ถึงคนที่ถูกรมแกส๊ หรือถูกยงิ เปา้ นักจิตวทิ ยาคนนีช้ อื่ วคิ เตอร ์ แฟรงเคิล เป็นคนหนง่ึ ทร่ี อดชวี ติ มา ได้จากค่ายนรกท่ีเอาชวิตซ์ เขาบอกว่าเวลาเขาอยู่ในค่ายน้ี เขาพยายาม นกึ ถงึ เร่ืองดีๆ ท่ีชบุ จติ ใจ ไม่ให้ไปทุกขก์ ับสภาพอันเลวรา้ ยในคา่ ย ไมใ่ ห้ ไปหมกมนุ่ ครนุ่ คดิ วา่ จะตายเมอื่ ไหร ่ เขาเปน็ คนชอบสอนหนงั สอื ตอนอยู่ ในค่ายน้ัน สิ่งหน่ึงท่ีเขาท�ำเสมอก็คือ นึกจินตนาการว่า ได้สอนหนังสือ หน้าชั้นเรียนมีนักศึกษาเยอะแยะ เวลานึกเช่นนั้น เขาจะมคี วามสขุ มาก ในยามนน้ั สภาพทกุ ขท์ รมาน รอบตัว ไม่สามารถแย่งชิงความสุขหรือ ท�ำความทุกข์ให้แก่เขาได้ การได้นึกถึง สิ่งที่ตนรักและมีความสุขกับมัน ท�ำให้ เขาทนทานกับสภาพอนั เลวรา้ ยได้ 7 6 ท ุ ก ข ์ แ ก ้ ท ่ี ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต วิคเตอร์ แฟรงเคิล ยังได้พดู ถึงหญิงร่วมชะตากรรมคนหนึ่งในค่าย เธอก�ำลังจะตาย แต่ไม่กระสับกระส่ายหรือทุกข์ทรมานแต่อย่างใด ทำ� ไม ถึงเป็นเช่นนั้น เธอบอกว่าเธอมีเพื่อนปลอบใจ เพ่ือนน้ันคือต้นไม้ซ่ึงโผล่ ให้เห็นทางหน้าต่าง ต้นไม้ต้นนั้นมีดอกอยู่ ๒ ดอกเท่าน้ัน เธอบอกว่า “ฉันชอบคุยกับต้นไม้น้ี แล้วเขาก็ตอบฉันเสียด้วย” วิคเตอร์ แฟรงเคิล ถามว่าต้นไม้บอกอะไร เธอตอบว่า “ต้นไม้บอกว่า ฉันอยู่น่ี ฉันอยู่น่ี ฉันคือชีวิต ชีวิตนิรันดร์” ต้นไม้ต้นน้ันให้ความหวังแก่เธอ แม้ในยาม หน้าหนาวอันล�ำเค็ญ ต้นไม้ต้นน้ันก็ยังผลิดอกออกมาอย่างไม่ย่อท้อต่อ ความหนาวเหน็บส�ำหรับคนท่ัวไป พอเห็นต้นไม้แบบน้ีแล้วไม่รู้สึกอะไร แต่ถ้ามองให้เป็นเราจะไดก้ ำ� ลงั ใจจากตน้ ไมเ้ หลา่ นม้ี าก แตจ่ ะมองอยา่ งน้ี ได ้ ไมไ่ ดอ้ ยทู่ ต่ี น้ ไม ้ หากอยทู่ ่ใี จเรามากกวา่ วิคเตอร์ แฟรงเคิลกับหญิงคนนั้นอาจไม่รู้จักสมาธิภาวนา แต่ก็ สามารถน้อมจิตไปในทางท่ีดีงามเป็นกุศล แม้จะอยู่ในนรก แต่ใจเขา กลบั เปน็ สวรรค ์ ทท่ี ำ� ใหม้ กี ำ� ลงั ใจสคู้ วามทกุ ขต์ อ่ ไปได ้ วคิ เตอร ์ แฟรงเคลิ สามารถรอดชีวิตจากค่ายนรกได้ ท้ังๆ ที่กายนั้นทุกข์ทรมานอย่างมาก แตเ่ ขารจู้ กั ประคองใจไมใ่ หท้ ุกข์ อนั หลังนแ่ี หละทีท่ ำ� ใหเ้ ขารอดตายมาได้ พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 77
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต อันน้ีตรงกับที่ท่านอาจารย์พุทธทาสกล่าวว่า หาสุขได้ในทุกข์ เรา ต้องรู้จักหาสุขจากทุกข์ เพราะในทุกข์มีสุขเสมอ สุขกับทุกข์ไม่ได้แยก จากกันอย่างเด็ดขาด เหมือนกับความร้อนกับความหนาว ในความร้อน ก็มีความหนาวอยู่ ในความหนาวก็มีความร้อนอยู่ ข้างนอกศาลาน้ีเปียก ฝน ขา้ งในแหง้ แต่ท่ีจริงก็มีความชื้นอยู่ เราลองเอาเครื่องดักความชื้น มาต้ัง ไมก่ ชี่ ัว่ โมงน�ำ้ กจ็ ะเตม็ ภาชนะท่ีใสข่ ้างใน ตอนทอี่ าตมาไปอยู่ญป่ี ุ่น ตามวัดเขาจะมีเคร่ืองดักความชื้นมาติดไว้ตามห้องต่างๆ ทั้งๆ ท่ีวัดเขา ปิดประตูหน้าต่าง ผ่านไปแค่ ๓-๔ ช่ัวโมงเท่านั้นแหละ พอเราดึงเอา ภาชนะดักน�้ำออกมาจากเคร่ือง จะมีน�้ำเต็มเลย แสดงว่าไอ้ที่เรารู้สึกว่า แหง้ นน้ั มคี วามชนื้ อยมู่ าก ในท�ำนองเดยี วกนั ทเี่ ปยี กชน้ื กม็ คี วามแหง้ อยู่ อย่างนอ้ ยกแ็ หง้ กวา่ ในห้องอบซาวน่า ฉันใดฉันนั้น ในทุกข์ก็มีสุข เราต้องมองให้เห็น จะเห็นได้ก็ต้อง อาศยั สามเกลอนแี่ หละ คอื สต ิ ปญั ญา และสมาธ ิ ถา้ เอาสามเกลอ มาใช้ สอดส่อง เราก็จะเห็นว่าส่ิงเลวร้ายนั้นมีสิ่งดีๆ แฝงอยู่ หรือรู้จักมองร้าย ใหก้ ลายเป็นดไี ด้ ในสมัยพุทธกาล มีภิกษุรูปหน่ึงชื่อพระปุณณะ ขอลา พระพุทธเจ้าไปอยู่ถิ่นกันดารที่ช่ือสุนาปรันตะชนบท 7 8 ท ุ ก ข ์ แ ก ้ ท ี่ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต พระพุทธองค์ตรัสว่า คนสุนาปรันตะเป็นคนดุร้าย ถ้าเขาด่าว่าเธอจะท�ำ อยา่ งไร พระปณุ ณะตอบวา่ ดา่ ยงั ดกี วา่ ทำ� รา้ ยดว้ ยมอื พระองคต์ รสั ถามวา่ ถา้ เขาทำ� รา้ ยดว้ ยมอื จะทำ� อยา่ งไร พระปณุ ณะตอบวา่ ยงั ดกี วา่ ใชก้ อ้ นดนิ ท�ำร้าย ครั้นตรัสถามว่า ถ้าใช้ก้อนดินท�ำร้ายจะท�ำอย่างไร พระปุณณะ ตอบวา่ ยงั ดกี วา่ ใชท้ อ่ นไมท้ ำ� รา้ ย ตรสั ถามตอ่ วา่ ถา้ เขาทำ� รา้ ยดว้ ยทอ่ นไม้ จะท�ำอย่างไร พระปุณณะตอบว่ายังดีกว่าฟันแทงด้วยอาวุธ พระพุทธ- องค์ตรัสถามต่อว่า ถ้าเขาฟันแทงด้วยอาวุธจะท�ำอย่างไร พระปุณณะ ตอบว่ายังดีกว่าฆ่าด้วยอาวุธ พระพุทธองค์ตรัสถามต่อว่าถ้าเขาฆ่าด้วย อาวุธจะท�ำอย่างไร ค�ำตอบของพระปุณณะก็คือ พระ บางรปู รงั เกยี จชวี ติ อตุ สา่ หห์ าอาวธุ ฆา่ ตวั เอง แตน่ ด่ี ไี มต่ อ้ ง หาอาวธุ มคี นมาฆา่ ใหเ้ อง นเ่ี รยี กวา่ รจู้ กั มองรา้ ยใหก้ ลายเปน็ ดี หาโชคไดจ้ ากเคราะห ์ ในเคราะหน์ นั้ มโี ชค อย่างน้อยก็เป็นโชคเม่ือเทียบกับอย่างอื่นท่ีแย่กว่า โชคดกี บั โชครา้ ยเปน็ เรอ่ื งของการเปรยี บเทยี บ เหมอื นกบั ความส้ันกับความยาว ไม้บรรทดั ยาวกวา่ ดินสอ แตม่ ัน ส้ันไปถนัดใจเลยเมื่อเทียบกับไม้เมตร ไม้เมตรก็สั้นเมื่อ เทียบกับเสาไฟฟ้า เราเรียกอันนี้ว่าสั้นเพราะไปเทียบกับ พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 79
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต อันท่ียาว เราเรียกนี้ว่าโชคก็เพราะไปเทียบกับอันที่แย่กว่า เราเรียกนี้ว่า โชครา้ ย กเ็ พราะเอาไปเทยี บกบั อกี อนั ทม่ี นั ดกี วา่ มนั เปน็ เรอ่ื งการเปรยี บ เทียบ มันเป็นเรื่องสมมุติก็ว่าได้ เป็นเรื่องสัมพทั ธ์ ขึ้นอยู่ว่าเราจะเอาไป เปรียบเทียบกับอะไร เวลาเราประสบกับภาวะบางอย่าง ถ้าเอาไปเปรียบ กับส่ิงที่ดีกว่า เราก็เรียกว่าทุกข์ แต่ถ้าไปเปรียบเทียบกับส่ิงที่แย่มากๆ เรากเ็ รียกนัน่ ว่าสขุ เงนิ หาย ๑๐ บาท ถา้ มองใหเ้ ปน็ กถ็ อื วา่ โชคด ี เพราะยงั ดกี วา่ หาย ๑๐๐ บาท ยังดีกว่าเจ็บไข้ได้ป่วย อย่างไรก็ตามนอกจากการมองให้เป็น แลว้ การวางจิตใจให้ถูกต้องก็ช่วยได้มาก อย่างคนท่ีป่วยเป็นมะเร็ง ถ้า รู้จักมองก็ยังถือว่าโชคดีกว่าเป็นเอดส์ และถ้าวางจิตวางใจให้เป็น อาจ กลายเป็นคนโชคดีกว่าตอนที่ปกติก็ได้ หลายคนบอกว่าโชคดีที่เป็น มะเรง็ เพราะทำ� ใหเ้ ขาหวนกลบั มาแสวงหาสง่ิ ทเี่ ปน็ คณุ คา่ แทจ้ รงิ ของชวี ติ ตอนไมป่ ว่ ยกเ็ อาแตเ่ ทย่ี วเตร ่ หรอื ไมก่ ท็ ำ� งานหนกั จนลมื ครอบครวั ลมื เรอ่ื ง จิตเรื่องใจ แต่พอป่วยหนักตระหนักว่ามีเวลาอยู่ในโลกนี้ไม่นาน ก็ละท้ิง สงิ่ ทไ่ี มเ่ ปน็ สาระหนั มาใหเ้ วลากบั ครอบครวั ศกึ ษาธรรมะ คน้ พบความสขุ ท่ีแท้ บางคนที่เป็นเอดส์ก็พูดแบบนี้เหมือนกันว่า โชคดีท่ีเป็นเอดส์ เป็น โชคดที เ่ี มอื่ เทยี บกบั กอ่ นเปน็ เอดส ์ เพราะปว่ ยแลว้ กก็ ลบั มาเหน็ สาระทแ่ี ท้ ของชีวิต ไม่ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยกับการเที่ยวเตร่สนุกสนานเหมือน 8 0 ท ุ ก ข ์ แ ก ้ ท ี่ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต เม่ือก่อน มีหลายคนมากเลยท่ีบอกว่าถ้าไม่เป็นมะเร็งไม่เป็นเอดส์ คงไม่มีวันน้ี แน่นอนว่าจะเห็นแบบน้ีได้ต้องอาศัยการวางจิตวางใจ ได้อย่างถูกต้อง แทนท่ีจะเศร้าโศกเสียใจหรือต่ืนกลัวเพราะโรคเหล่าน้ี ก็อาศัยโรคเหล่าน้ี เป็นเคร่ืองเตือนตนให้ท�ำสิ่งท่ีสมควรท�ำซ่ึงถูกละเลย ไปนาน นี่เป็นตัวอย่างของการหาโชคได้จากเคราะห์ หาสุขได้จากทุกข์ ทง้ั หมดนเี้ พราะอะไร เพราะเรารวู้ า่ ทกุ อยา่ งมนั เรมิ่ ตน้ ทใ่ี จ สขุ ทกุ ขอ์ ยทู่ ใี่ จ ทกุ ขเ์ กดิ ทใ่ี จกต็ อ้ งแกท้ ใ่ี จ ทกุ ขเ์ กดิ ทใี่ จ แตไ่ ปเขา้ ผบั เขา้ บาร ์ คดิ วา่ ผบั บาร์ จะชว่ ยแกท้ กุ ขไ์ ด ้ แกแ้ บบนไี้ มต่ รงจดุ แมก้ ระทง่ั หนมี าวดั คิดว่ามาวัดแล้วจะหายทุกข์ แบบนี้ก็ไม่ถูก ทุกข์อยู่ท่ีใจ ก็ต้องแก้ท่ีใจ การมาวัดจะแก้ทุกข์ได้ก็ต่อเม่ือมาฝึกฝนวิธี แกท้ กุ ขท์ ใ่ี จ หรอื มาวดั เพอื่ มาดจู ติ ของตวั เอง ถา้ แบบนก้ี เ็ ปน็ การแกท้ ตี่ รงจดุ เดย๋ี วนค้ี นเปน็ อนั มากเวลาทกุ ขก์ น็ กึ ถงึ วดั คดิ วา่ มาวดั จะแกท้ กุ ขไ์ ด ้ เพราะ นกึ วา่ ทกุ ขน์ ัน้ อยูท่ บ่ี า้ น หนบี า้ นมาวัดแล้วจะหายทุกข์ ทกุ ข์ตามมาไมถ่ ึง อันน้ีเข้าใจผิด ทุกข์น้ันเราหนีไม่ได้ เพราะมันอยู่ท่ีใจเรา หนีไปไหนก็ยัง ทุกข์ ตราบใดท่ยี งั ไมแ่ กท้ กุ ขท์ ี่ใจของตวั พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 81
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ทุกข์น้ันอยู่ที่ใจ ทางแก้ก็อยู่ที่ใจนั่นเอง ตรงน้ีแหละที่ท่านอาจารย์ พทุ ธทาสบอกวา่ ในเตาหลอมเหลวนนั้ มคี วามเยน็ สนทิ อย ู่ พดู อกี อยา่ งคอื ในวฏั ฏสงสารมนี พิ พาน ในใจทเ่ี รา่ รอ้ นนนั้ มคี วามสงบเยน็ แฝงอย ู่ กญุ แจ ทไ่ี ขไปสคู่ วามสงบเย็นก็อย่ทู ี่ใจ ลองพิจารณาให้ดเี วลาเปน็ ทกุ ข์ มันทุกข์ เพราะอะไร ถ้าพิจารณาเป็นก็จะเห็นว่าทุกข์น้ันเป็นเพราะยึดติด เพราะ ฟุ้งซ่านปรุงแต่ง เพราะหลงลืมขาดสติ พอเห็นตรงน้ีก็เปลี่ยนจากความ ยึดติดเป็นความปล่อยวาง จากความฟุ้งซ่านมาเป็นความสงบระงับ เปล่ียนจากความหลงลืมมาเป็นความรู้ตัวท่ัวพร้อมเปี่ยมสติ ถ้าท�ำได้ อย่างน้ีความไม่ทุกข์ก็เกิดขึ้น สุขก็ตามมา สุขเกิดขึ้นได้แม้รอบตัวจะ เป็นทุกข์ แม้กายจะเป็นทุกข์ สุขเกิดจากการพิจารณาทุกข์ในใจจนเห็น กญุ แจแหง่ ความไมท่ กุ ข ์ มนั อยตู่ รงทเี่ ดยี วกนั นน้ั แหละ จะไปดทู อ่ี นื่ กไ็ มม่ ี ทางเจอ ต้องมาดูท่ีใจ อันเป็นที่เกิดแห่งทุกข์ อย่าคิดหาสุขจากที่อื่น อบายมุขก็ไม่ใช่ค�ำตอบ ทรัพย์สินเงินทองก็ไม่ใช่ค�ำตอบ บางคนทุกข์ก็ ไปหาอะไรมากิน คิดว่าจะดับทุกข์ได้ มันช่วยได้แค่ช่ัวคราว แต่ในท่ีสุด เราก็ต้องกลับมาดูที่ใจ มาดูที่ความทุกข์กลางใจนี้แหละ มองจนเห็นว่า ความไมท่ กุ ข ์ มันก็อยทู่ ่ใี จทก่ี ำ� ลังทกุ ข์นเี้ อง 8 2 ท ุ ก ข ์ แ ก ้ ท ี่ ใ จ
ทุกข์นั้นอยู่ที่ใจ ทางแก้ก็อยู่ที่ใจนั่นเอง ในใจที่เร่าร้อนนั้นมีความสงบเย็นแฝงอยู ่ กุญแจที่ไขไปสู่ความสงบเย็นก็อยู่ที่ใจ ลองพิจารณาให้ดี เวลาเป็นทุกข์มันทุกข์เพราะอะไร
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ชำ�ระใจ บรรยายวันท ี่ ๒๓ สงิ หาคม ๒๕๔๕ หอ้ งทป่ี ลอ่ ยท้ิงไวน้ านๆ ไม่ไดม้ กี ารดแู ลเอาใจใสห่ รือท�ำความสะอาด จน ฝุ่นเกาะจับเขรอะ เวลาเราเอาไม้กวาดมากวาด ส่ิงท่ีเกิดข้ึนก็คือ ฝุ่นฟุ้ง ตลบอบอวล จนกระทงั่ คนกวาดบางทอี าจจะทนไมไ่ ด้ดว้ ยซำ้� จติ ของเรา ถา้ ไมเ่ คยผา่ นสมาธภิ าวนามาเลย พอเราเรมิ่ ปฏบิ ตั ิ ท�ำ สมาธิภาวนา ก็ย่อมเจอกับสภาวะความคิดฟุ้งซ่าน ไม่ต่างจากฝุ่นที่ฟุ้ง เวลาเรากวาดบา้ นกวาดศาลา เมอื่ เรารเู้ ชน่ นกี้ ค็ วรจะท�ำใจไว ้ นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมบางคนอาจจะรสู้ กึ วา่ เอ เวลาอยู่บ้าน ก็ไม่เห็นจะฟุ้งขนาดน้ี แต่พอมาปฏิบัติ ท�ำไมคิดฟุ้ง มากเหลอื เกนิ ขอใหเ้ ขา้ ใจวา่ นเี่ ปน็ เรอ่ื งธรรมดา เรากำ� ลงั ทำ� ความสะอาด พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 85
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต จติ ใจของเราอย ู่ กำ� ลงั ชำ� ระปดั กวาดจติ ใจของเราซง่ึ ถกู ปลอ่ ยทง้ิ เอาไวน้ าน จนกระท่ังธุลีความคิดและตะกอนอารมณ์สะสมหมักหมม พอจะปัดกวาด มันก็เลยฟุ้ง อย่าไปโมโหโกรธาหรือไปหงุดหงิดกับอาการแบบนี้ หรือนึก ทอ้ แท้เลย มนั เปน็ ธรรมดา ความฟงุ้ เปน็ ธรรมดาสำ� หรับการปฏบิ ตั ธิ รรม มนั จะตอ้ งเกดิ ขึ้น นี้คอื สงิ่ ทเี่ รยี กว่านวิ รณ์ นวิ รณ ์ หมายถงึ สง่ิ ทก่ี นั้ จติ ไมใ่ หก้ า้ วหนา้ ในคณุ ธรรม ความฟงุ้ ซา่ น จัดเป็นนิวรณ์อย่างหนึ่ง ชื่อว่า อุทธัจจะ กุกกุจจะ ความฟุ้งซ่าน ความ วิตกกังวล กระวนกระวายอะไรต่างๆ มันจะประดังประเดเข้ามาในใจ แต่ มันไม่ใช่แค่นิวรณ์อันเดียวท่ีจะเกิดกับเรา ความง่วงเหงาหาวนอนเป็น อีกส่ิงหน่ึงท่ีจะเกิดข้ึนกับเรา โดยเฉพาะเมื่อเราปลีกตัวออกมาจากสภาพ แวดล้อมซึ่งเต็มไปด้วยสิ่งเร้าและกระตุ้นผัสสะ ไม่ว่าทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย เวลาอยู่ในเมืองแม้แต่เวลานอนก็ยังมีเสียง อึกทึกมากระทบ แต่พอเราปลีกมาอยู่ในป่า แถมยังอยู่ในสภาพท่ี ก�ำหนดให้ไม่ต้องพูดคุยกับผู้คน ไม่มีโทรทัศน์หรือหนังสือพิมพ์ให้ดู ไม่มีวิทยุ ไม่มีงานท�ำมาก สรุปคือไม่มีสิ่งท่ีจะมากระทบหรือกระตุ้น ประสาทสัมผัสหรืออายตนะของเรามากเท่าไหร่ ก็ย่อมเกิดความง่วง ไดง้ า่ ย เพราะจติ ขาดสง่ิ เรา้ สงิ่ กระตนุ้ เหมอื นกบั ลงิ ทเ่ี คยวงิ่ เลน่ กระโดดไป กระโดดมาตามปา่ พอจบั มนั ขงั ไวใ้ หอ้ ยเู่ ฉยๆ สกั พกั มนั กซ็ มึ หงอย เพราะ 8 6 ช ํ า ร ะ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต มนั ไมไ่ ดท้ ำ� ในสงิ่ ทเ่ี คยทำ� ไมม่ สี งิ่ เรา้ สงิ่ กระตนุ้ มนั ใจเรากเ็ ชน่ กนั ยง่ิ ใคร ทป่ี ฏบิ ตั ดิ ว้ ยการเขา้ ไปดคู วามคดิ มากๆ จนความคดิ หลบใน ไมม่ คี วามคดิ ออกมา กจ็ ะเกดิ ความงว่ งไดเ้ หมอื นกนั เพราะวา่ ความคดิ กเ็ ปน็ สง่ิ กระตนุ้ เรา้ จติ อย่างหน่งึ ถา้ คดิ มากๆ กห็ ายงว่ ง ไมค่ ิดเลยกท็ �ำทา่ จะหลบั จิตน้ันพอมีอะไรมากระตุ้น มันจะตื่น สว่าง เหมือนกับกาแฟ พอ กนิ แลว้ เรากต็ าสวา่ ง เพราะมนั ไปกระตนุ้ ประสาท ความคดิ กท็ ำ� ใหจ้ ติ ของ เราตื่นตัวอย่างน้ันแหละ ตอนเช้ามืดเราจะรู้สึกซึม ไม่ต่ืนตัว ส่วนหน่ึงก็ เพราะความคดิ ยงั ไมแ่ ลน่ ยงั ไมค่ อ่ ยออกมากระตนุ้ จติ เรา แตพ่ อสายหรอื บ่ายจะต่ืนตัวมาก ตื่นตัวเพราะความคิดมันแล่นปรู๊ดปร๊าดแล้ว จิตก็เลย ถูกกระตุ้น ความคิดมันท�ำหน้าที่เหมือนกาแฟปลุกเราให้ตื่น ฉะน้ันพอ ไมม่ คี วามคดิ ออกมากร็ สู้ กึ เหงา ซมึ อนั นก้ี เ็ ปน็ ธรรมดา เปน็ นวิ รณอ์ ยา่ งที่ ๒ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ซงึ่ จะตรงขา้ มกบั อนั แรก อนั แรกฟงุ้ อนั ท ่ี ๒ ซมึ แตก่ เ็ ปน็ สงิ่ ทมี่ กั เกดิ ขน้ึ ในสภาวะเดยี วกนั คอื เวลาเราลงมอื ปฏบิ ตั ิ ทำ� สมาธภิ าวนา นวิ รณอ์ นั ท ่ี ๓ ไดแ้ ก ่ วจิ กิ จิ ฉา ความลงั เลสงสยั อนั นก้ี เ็ คยพดู ไวแ้ ลว้ ความลังเลจะเกิดข้ึนบ่อยๆ โดยเฉพาะเวลาที่ยังไม่เกิดผลจากการปฏิบัติ หรือเบ่ือหน่ายกับการปฏิบัติ มันจะเกิดความสงสัยว่า ท่ีเราท�ำนี้ถูกหรือ เปลา่ บางทกี ล็ งั เลวา่ เรามาทน่ี ที่ ำ� ไม อยบู่ า้ นกส็ บายดอี ยแู่ ลว้ เราตดั สนิ ใจ พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 87
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ถูกแล้วหรือที่มาปฏิบัติแบบนี้ ความลังเลแบบน้ี บางทีก็เกิดจากกิเลส มนั ปรงุ แตง่ คอยกอ่ กวนใหเ้ ราสงสยั ในการปฏบิ ตั ิ จะไดเ้ ลกิ ปฏบิ ตั ิ กต็ อ้ ง ระวงั อย่าไปหลงเชื่อหรือใส่ใจกบั มันมาก นิวรณ์ประการต่อมาคือ กามฉันทะ คือความก�ำหนัดติดใจในกาม คดิ ถงึ คะนงึ หาสง่ิ นา่ ใครน่ า่ พอใจ อาลยั อาวรณถ์ งึ สง่ิ ทตี่ ดิ อกตดิ ใจ จะเปน็ คนรกั ของกนิ อรอ่ ยๆ เสอื้ ผา้ ทส่ี วยงาม อะไรกต็ ามทที่ ำ� ใหเ้ ราหลงใหลใฝห่ า เหล่านี้เรียกว่ากามทั้งนั้น อาจเป็นเสียงเพลงที่ไพเราะ หนังที่อยากดู สถานที่ที่เราเคยติดใจ พอมาปฏิบัติ ใจก็หวนกลับไปยังท่ีท่ีเคยเท่ียว ตรงนนั้ อกี นกี่ เ็ ปน็ กามฉนั ทะ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งเรอื่ งทางเพศอยา่ งเดยี ว เวลาปฏิบัติธรรม พวกนี้จะลอยเข้ามาท�ำให้เราเกิดความอยาก อาจจะเปน็ นำ้� อดั ลมเยน็ ๆ ทตี่ ดิ ใจ กาแฟ หรอื เสยี งไพเราะของ คนรกั พอเกิดขึ้นแล้วก็เลยอยากให้จบการปฏิบัติเร็วๆ หรือ พาลจะเลกิ ปฏบิ ัติ นึกหาขอ้ อ้างกลับบา้ นไวๆ นวิ รณอ์ นั สดุ ทา้ ยคอื พยาบาท ไดแ้ กค่ วามคดิ รา้ ย รวมไปถงึ ความ หงดุ หงดิ ขดั เคอื งใจ บางครงั้ เรารสู้ กึ พาล หงดุ หงดิ ไปทว่ั เลย โดยเฉพาะ เวลาที่ปฏิบัติไม่ค่อยก้าวหน้า ใจจะหาเร่ืองโทษนั่นโทษนี่ เช่น โทษเสียง ฆอ้ ง เสยี งรถ หรอื เสยี งคนคยุ ดงั ๆ วา่ เปน็ ตวั การทำ� ใหเ้ ราปฏบิ ตั ไิ มด่ เี ทา่ 8 8 ช ํ า ร ะ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ท่ีควร บางทีก็หงุดหงิดเพ่ือนนักปฏิบัติธรรมด้วยกัน หรืออาจจะรำ� คาญ เสยี งพดู คยุ กนั ทแี่ วว่ เขา้ มา หรอื หงดุ หงดิ ฝนฟา้ อากาศ ทำ� ใหน้ กึ บน่ กน่ ดา่ ในใจ คนทเี่ ครยี ดอยแู่ ลว้ จากการปฏบิ ตั จิ ะพาลหงดุ หงดิ งา่ ย เราตอ้ งระวงั ใจมันจะพาลหงุดหงิดไปทั่ว พาลไปท่ัว แม้กระท่ังพาลตัวเองว่าท�ำไมโง่ อย่างน้ี ท�ำไมไม่เข้าท่าอย่างนี้ ให้เตรียมใจรับมือกับมันด้วย อย่าเผลอ เข้าไปในความหงุดหงิดพยาบาท เพราะถ้าเราเผลอก็แสดงว่าเราโดนมัน หลอกแลว้ ตัวกเิ ลสมนั หลอกใหเ้ ราเผลอสติ ทแี รกกเิ ลสมนั มาลอ่ ใหเ้ ราคดิ ฟงุ้ ซา่ น เอาเรอ่ื งสนกุ ๆ นา่ ใครน่ า่ พอใจ มาลอ่ จติ ใจใหม้ าตะครบุ พอเราไปงบั เหยอ่ื อนั นเ้ี ขา้ มนั กพ็ อใจ แตพ่ อเรา รเู้ ทา่ ทนั มนั กจ็ ะหาเหยอื่ ใหมม่ าลอ่ เรา เชน่ เอาความหงดุ หงดิ ร�ำคาญใจ มาล่อใจ ให้ออกไปผลกั ไส ถา้ เราไมร่ ูเ้ ท่าทนั มัน เราก็เสียท่าหลดุ จากสติ ไป ความหงุดหงิดรำ� คาญใจไม่ใช่เป็นความคิด แต่เป็นอารมณ์ความรู้สึก ซึ่งจับได้ยากกว่าความคิด เวลาเราคิดเราชอบคิดเป็นภาพ แต่ถ้าเกิด ความหงุดหงิดร�ำคาญใจ มันไม่มีค�ำหรือภาพ แต่มันเป็นสิ่งที่มาย้อมจิต ใหห้ มอง เหมือนกับกระดาษสที ่ีมาปิดตาเรา เรายงั มองเห็น แตเ่ หน็ เป็น ภาพที่ไม่สดใส ขุ่นมัว บางทีก็เหมือนกับหินท่ีมาถ่วงใจเราไว้ให้รู้สึก หนกั อง้ึ พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 89
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต นิวรณ์ ๕ นี้มันจะเรียงกันมา หรือบางทีก็มาพร้อมกันมากบ้าง น้อยบ้าง ในวันหนึ่งๆ เราจะเจอพวกน้ีเยอะมาก ท้ังๆ ท่ีตอนอยู่บ้านอยู่ ที่ท�ำงานไม่เห็นมีอาการแบบนี้มากเท่าไหร่ แต่พอมาปฏิบัติอยู่ในที่สงบ แบบน ้ี ทำ� ไมมนั เกดิ ขนึ้ มากมาย เขาวา่ ปฏบิ ตั แิ ลว้ ดไี มใ่ ชเ่ หรอ แตท่ ำ� ไม ฉนั มปี ญั หามากมายแบบน ี้ ขอใหต้ ระหนกั วา่ นเ้ี ปน็ เรอื่ งธรรมดามาก มนั เปน็ ธรรมดาของจติ ทพ่ี ยศ จติ ทไี่ มถ่ กู ตามใจเหมอื นเคย แตก่ อ่ นมนั ไดร้ บั การตามใจ อยากเสพอะไรก็เสพ อยากดูอะไรก็ดู อยากคุยก็คุย อยาก โกรธกโ็ กรธ อยากฟงุ้ กฟ็ งุ้ เราตามใจอายตนะทงั้ ๖ มานานแลว้ พอเรา มาบังคับควบคุมหรือพยายามดัดนิสัยมันไม่ให้เสพ ไม่ให้ฟุ้ง ไม่ให้ ปรนเปรอตน ดว้ ยรปู รส กลนิ่ เสยี ง สมั ผสั จติ กเ็ ลยพยศขนึ้ มา เหมอื น เดก็ ทถี่ กู ตามใจจนเสยี คน พอถกู ควบคมุ ความประพฤต ิ เขากเ็ ลยอาละวาด หรืองุ่นง่านขึ้นมา ท�ำเราป่วนไม่หยุด เพ่ือให้เรายอมแพ้ ยอมปล่อยให้ เขาเปน็ อสิ ระเหมอื นเดมิ จติ ทถ่ี กู ปลอ่ ยตวั ตามใจกเ็ หมอื นกนั เวลาเรามา ปฏิบัติแบบนี้มันจะพยศ หาเร่ืองป่วนเพ่ือให้เราเลิกจากการปฏิบัติให้ได้ แล้วหันไปเสพสิ่งเร้า ไม่ว่ารูป รส กล่ิน เสียง สัมผัส ธรรมารมณ์หรือ ความคิดเหมอื นเดมิ อาตมาเรยี กอาการทเ่ี กดิ นวิ รณต์ า่ งๆ มากมาย ฟงุ้ ซา่ น งว่ งเหงาหาวนอน ลงั เลสงสยั นกึ อาลยั อาวรณส์ งิ่ ทต่ี ดิ อกตดิ ใจ 9 0 ช ํ า ร ะ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต และความหงดุ หงิดคดิ ร้าย ว่าเป็น “อาการลงแดงทางผัสสะ” พวกเราน่ีเสพติดกับผัสสะมานาน ผัสสะนี่มันน่าเสพติดนะ แม้ กระทั่งเสียงดังๆ คนที่อยู่ในเมือง เวลานอนจะคุ้นกับเสียงดังกลางดึก เสียงรถผ่านไปผ่านมา พอมานอนในท่ีสงบๆ ก็นอนไม่หลับ มันเสพติด กบั เสยี งโดยไมร่ ตู้ วั เสยี งนแ้ี หละทพ่ี อมนั มากระทบกบั ห ู เกดิ ผสั สะขนึ้ มา นานๆ เข้าก็ติดเหมือนกันนะ พอเราจะถอนออกมาก็เกิดอาการลงแดง เหมือนกับคนที่ติดบุหรี่ ติดกาแฟ หรือ ติดผงขาว พอเราจะถอนตัว ออกมา กจ็ ะเกดิ อาการหลายอยา่ ง เชน่ มอื สน่ั หนาวๆ รอ้ นๆ งว่ งเหงา หาวทงั้ วนั ปวดตามเนอื้ ตามตวั อาเจยี น งนุ่ งา่ น กระสบั กระสา่ ย สดุ แท้ แตฤ่ ทธเ์ิ ดชของมนั ผสั สะกเ็ หมอื นกนั อยกู่ บั มนั มากๆ กเ็ สพตดิ ได ้ ทงั้ ๆ ทเี่ ราเหน็ โทษ ของมนั เหมอื นกบั ทเี่ ราเหน็ โทษของกาแฟ บหุ ร ี่ ยาเสพตดิ แตพ่ อเราจะ ถอนตัวออกมาก็จะเกิดอาการต่างๆ ร้อยแปด ผัสสะเหล่านี้มันพยายาม ดงึ เรากลบั เขา้ ไปสอู่ ำ� นาจของมนั ใหม ่ เมอื่ เราพยายามหนหี า่ งออกมากเ็ ลย เกดิ อาการ “ลงแดง” ขนึ้ คอื งว่ ง ฟงุ้ เครยี ด กระสบั กระสา่ ย หงดุ หงดิ งนุ่ ง่าน พาลไปท่ัว พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 91
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต เราตอ้ งรวู้ า่ นเี่ ปน็ ธรรมดา เปน็ ธรรมดาทเ่ี ราตอ้ งฝนื ตอ้ งส ู้ แตไ่ มไ่ ด้ สดู้ ว้ ยการไปกด ไปบบี หรอื ผลกั ไสอาการเหลา่ น ี้ ไมใ่ ชพ่ อเกดิ กามฉนั ทะ ขน้ึ มา นกึ ถงึ สงิ่ สวยงามตอ้ งตาตอ้ งใจ หรอื พอเกดิ ความหงดุ หงดิ รำ� คาญใจ ก็ไปห้ามไม่ให้คิดไม่ให้รู้สึก เราจะไปห้ามมันไม่ได้เลย อย่าไปสู้กับมัน แบบนัน้ ส�ำหรบั ผูป้ ฏิบตั ิใหมอ่ ย่าไปสนใจมันเลยจะเปน็ การดีทสี่ ุด ถ้าเรา ไปสู้กับมัน ไปบีบไปห้ามมัน มันย่ิงฮึดสู้ ย่ิงเป็นการให้ก�ำลังกับมัน มัน จะคอยหลบใน พอเราเผลอมันก็จะโผล่ออกมาใหม่ ปล่อยมันไปเถอะ ปลอ่ ยมนั ไป อย่าไปย่งุ กับมัน เหมือนกับเรายืนอยู่ท่ีชายหาด แล้วก็ดูคลื่นในทะเล ดูมันซัดสาด เข้าฝั่ง ดูคลื่นทะยานขึ้นแล้วก็สงบลง เห็นอาการต่างๆ ของมัน แต่ไม่ เขา้ ไปยงุ่ กบั มนั ไมเ่ ขา้ ไปหา ทงั้ ไมเ่ ขา้ ไปขบั ไลม่ นั เราเปน็ แคผ่ ดู้ อู ยเู่ ฉยๆ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึกก็เหมือนคลื่นในทะเล มันซัดสาดเข้ามา มากมายในใจของเรา แต่ก็ท�ำอะไรเราไม่ได้ ถ้าเราอยู่บนฝั่ง ไม่ลงไป คลุกเคล้าหรือสู้รบตบมือกับมัน มันไม่ท�ำให้เราเปียกได้ การอยู่บนฝั่ง ดูมันอยเู่ ฉยๆ ก็คอื อยบู่ นฐานแหง่ สติ นน่ั เอง เหน็ มนั มาแลว้ กไ็ ป ดงั คลน่ื ทซ่ี ดั มาลกู แลว้ ลูกเล่าแล้วก็จางหายไป 9 2 ช ํ า ร ะ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต หรือไม่ก็ท�ำใจให้เหมือนกับศาลาโปร่งๆ ลมพัดมาแล้วก็ออกไป พัดมาทางไหนก็ออกไปทางตรงข้าม พัดมาทางนี้ก็ออกไปทางน้ัน อย่า ท�ำตัวเหมือนบ้านที่มีประตูหน้าต่างปิดหมดทุกบาน เวลาลมพัดเข้ามา ก็ออกไปไหนไม่ได้ หมุนวนอยู่ข้างใน ท้ิงฝุ่นทิ้งตะกอนเอาไว้จนบ้าน เขรอะไปด้วยฝุ่น ไม่น่าดู ถ้าเราเหมือนศาลาที่โปร่ง ไม่กักลมเอาไว้ มนั พดั เขา้ มากป็ ลอ่ ยใหม้ นั พดั ออกไป เอาฝนุ่ ออกไปดว้ ย ไมท่ ง้ิ ไวใ้ นศาลา ให้เราท�ำใจให้โปร่งโล่งเหมือนศาลา ไม่คิดจะเก็บกักเศษธุลีใดๆ ที่มากับ คล่ืนอารมณ์และความคิด เพียงแค่อยู่เฉยๆ คลื่นอารมณ์ความคิดมันก็ ผ่านเลยไป และเอาเศษธุลีนวิ รณ์ต่างๆ ออกไปดว้ ย สรปุ งา่ ยๆ อยา่ งทหี่ ลวงพอ่ คำ� เขยี นพดู อยเู่ สมอคอื เปน็ ผดู้ ไู มใ่ ชผ่ เู้ ปน็ จะง่วงก็รู้มัน จะฟุ้งก็รู้มัน แต่ไม่เข้าในความง่วง ไม่เป็นผู้ง่วง ผู้ฟุ้ง มีพยาบาท หงุดหงิดก็รู้ ไม่เข้าไปเป็นวิธีที่จะไม่เข้าไปเป็น ก็คือไม่ยินดี ยินร้าย เพราะถ้ายินดียินร้าย ก็จะเข้าไปคลอเคลียมัน หรือไม่ก็เข้าไป ผลกั ไสมนั เพราะถา้ เขา้ ไปคลอเคลยี หรอื ผลกั ไสมนั เมอ่ื ไหร ่ กจ็ ะตดิ กบั มนั เหมอื นโดนยางเหนยี ว หลดุ จากมนั ไมไ่ ด ้ เลยเขา้ ไปเปน็ มนั เพราะฉะนนั้ คิดดีก็ช่าง คิดร้ายก็ช่าง ใช้ถือหลัก “ช่างมัน” เอาไว้ ปล่อยมันไป ให้ ดูมันเฉยๆ เออ เห็นมัน เห็นมันเกิดขึ้น เห็นมันก่อตัว ถ้าเราไม่เข้าไป ยุ่งกับมัน ในทีส่ ดุ มันกจ็ ะดับไป พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 93
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ถ้าเรามีสติไวพอ เราเห็นมันก่อตัวเท่าน้ันแหละ มันก็เลือนหายไป เลย มนั ไมส่ ามารถทนทานตอ่ อำ� นาจของการเหน็ ได ้ การเหน็ นม้ี พี ลงั มาก เหมอื นกบั หมาทจี่ ะเขา้ มากดั เรา ถา้ เราหนั กลบั ไปจอ้ งหนา้ มนั มนั จะหยดุ ทันที การเห็นมีพลังมากเลย มันสะกดมันยับย้ังได้โดยไม่ต้องใช้ก�ำลัง ไม่ต้องตี ไมต่ ้องขว้างปาดว้ ยกอ้ นหิน แคม่ องมนั เฉยๆ กพ็ อ เรากแ็ คร่ วู้ า่ มคี วามรสู้ กึ นกึ คดิ เกดิ ขนึ้ กด็ มู นั ร ู้ แตไ่ มเ่ ขา้ ไปเปน็ แต่ ไมใ่ ชด่ แู บบจอ้ งเพง่ ถา้ สตไิ มเ่ ขม้ แขง็ พอ จะถกู มนั ดดู กลนื เขา้ ในความคดิ และความรสู้ ึกต่างๆ ที่เกิดข้นึ ได ้ ตอ้ งระวงั ผปู้ ฏบิ ตั ใิ หมน่ ยี่ งั ดไู มเ่ ปน็ กต็ อ้ งใชว้ ธิ หี นั หลงั ใหม้ นั ไมส่ นใจมนั มนั จะเกิดข้ึนก็ช่างมัน ไม่เข้าไปผลักไสหรือคลอเคลียมัน มันจะง่วงก็ช่าง ฉันจะท�ำของฉันเพราะได้ปรารภความเพียรไว้แล้ว อย่างท่ีได้แนะว่า ให้ เอาวริ ยิ ะเปน็ ทพั หนา้ ปญั ญาเปน็ ทพั หลงั จะไปสกู้ บั กองทพั แหง่ ความลมื ความหลง ซง่ึ มพี ลพรรคอย ู่ ๕ ตวั คอื ความงว่ ง (ถนี มทิ ธะ) ความฟงุ้ ซา่ น วิตกกังวล (อุทธัจจะกุกกุจจะ) ความลังเลสงสัย (วิจิกิจฉา) ความติดใจ โหยหาสง่ิ นา่ รกั นา่ พอใจ (กามฉนั ทะ) ความขนุ่ เคอื งหงดุ หงดิ (พยาบาท) พวกน้ีคือทัพหน้าของความหลงและความลืม ซึ่งเป็นศัตรูกับสติสัมป- ชัญญะ 9 4 ช ํ า ร ะ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต เราก็ต้องสู้เหมือนกัน เอาวิริยะเป็นทัพหน้าลุยเข้าไป ท�ำไม่หยุด ไม่ท้อถอย ขณะเดียวกันก็มีปัญญาคอยสอดส่อง คอยหาวิธีแก้ลำ� พวกนี้ ไม่ให้มันเล่นงานเราจนเสียผู้เสียคนหรือหมดเน้ือหมดตัวไป ให้เรารักษา ความเป็นปกติเป็นกลางไว้ในจิตใจ เมื่อเรามีความเพียรควบคู่กับอุบาย แกอ้ ารมณ ์ เราจะสามารถเดนิ อยา่ งมน่ั คงบนวถิ แี หง่ การปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอ้ งได้ อารมณท์ พี่ ลงุ่ พลา่ นตา่ งๆ ทร่ี บกวนใจ คอื นวิ รณท์ งั้ ๕ เหลา่ นกี้ จ็ ะคอ่ ยๆ ซาลงไป แต่กว่าจะถึงจุดน้ันก็จะต้องเจอทัพใหญ่ คนที่ง่วงก็จะง่วงมากขึ้น เร่ือยๆ จนถึงจุดหน่ึงถ้าเรายังสู้ต่อไปไม่ยอมแพ้ ไม่ยอมหลับไม่ยอม ตามใจมนั มนั กจ็ ะคอ่ ยๆ สงบลง เหมอื นกบั ยอดภเู ขา เมอื่ เราไตไ่ ปถงึ ยอด แลว้ มนั กม็ แี ตจ่ ะลาดลง ความงว่ งเมอ่ื ขน้ึ ถงึ จดุ สงู สดุ แลว้ มนั กม็ แี ตจ่ ะลง ถ้าเราอดทนจนถึงจุดนั้นมาได้ ไม่นานก็จะเกิดความตื่นตัว ในท�ำนอง เดียวกันความฟุ้งซ่านท่ีฟูข้ึนไม่หยุด เม่ือถึงจุดหน่ึงมันจะสงบลง เกิด ความสงบในใจ บางทีไม่ทันต้ังตัวด้วยซ้�ำ ความคิดมันน้อยลงเพราะรู้ทัน มากขน้ึ ความงว่ งนอ้ ยลงเพราะเราปรบั ใจเขา้ กบั สภาพทส่ี งบสงดั ไรส้ ง่ิ เรา้ ไดแ้ ล้ว กามฉนั ทะ และพยาบาทก็เชน่ กัน เม่ือเรารูเ้ ทา่ ทนั มัน ไมเ่ ขา้ ไป ยงุ่ กบั มนั มนั กจ็ ะสงบลงไป ตอนนแี้ หละอาการลงแดงกจ็ ะคอ่ ยๆ หายไป จะเกิดธรรมชาติ หรอื สภาวะใหมใ่ นจิตใจของเรา พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 95
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต แต่จะถึงจุดนั้นได้ต้องอาศัยความเพียรมาก ต้องมีความตั้งใจ ไม่ยอมแพ้มันง่ายๆ แล้วก็มีกุศโลบายที่จะจัดการกับมัน โดยวิธีการ ปฏิบัติที่ถูกต้องด้วย ทีน้ีพอจิตสงบลงก็จะเร่ิมเป็นสมาธิ สมาธิคือ อาการที่จิตเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งเป็นธรรมชาติ เม่ือใดท่ีเรามีสติ สมาธิก็ เกดิ ขน้ึ เวลาเราทำ� งาน ถพู นื้ ลา้ งจาน กนิ ขา้ ว เวลามคี วามคดิ ผดุ ขน้ึ มา ถ้าเรามีสติมันฟุ้งเมื่อไหร่ สติก็เท่าทัน ดึงจิตกลับมาท่ีอิริยาบถหรือ การกระท�ำนั้นๆ เม่ือกลับมาจิตก็เริ่มตั้งมั่นแน่วแน่และเกิดเป็นสมาธิ ในทส่ี ดุ มสี มาธกิ บั การลา้ งจานเพราะมสี ต ิ มสี มาธกิ บั การเดนิ กเ็ พราะมสี ติ ความแนว่ แนต่ งั้ มนั่ ของจติ ความเปน็ หนงึ่ เดยี วของจติ เรยี กวา่ สมาธ ิ สมาธิ ท�ำให้เกิดความสงบความสุข ท�ำให้เกิดความเพลิน ถ้าเรามีสมาธิกับการ ล้างจานก็จะรู้สึกเพลินเป็นสุข ทั้งหมดน้ีจะเกิดข้ึนได้เพราะเรามีสติ เรา ทำ� งานอยา่ งเปน็ สขุ เพราะเรามสี ต ิ ตอนแรกๆ เราอาจรสู้ กึ เครยี ด หงดุ หงดิ ร�ำคาญใจ อยากให้เสร็จไวๆ แต่ถ้าสติไวพอ เราจะรอู้ ารมณเ์ หลา่ นน้ั สติ จะดงึ จติ ออกจากอารมณเ์ หลา่ นน้ั ไดท้ นั กลบั มาอยกู่ บั การทำ� งานเมอื่ กลบั มา แนบสนทิ กับการงานได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ก็เกดิ เป็นสมาธแิ ละความสขุ สมาธิคือธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนตามมากับสติ มีสติ แลว้ กเ็ กดิ สมั ปชญั ญะ สมั ปชญั ญะคอื ความรตู้ วั ทว่ั พรอ้ ม ความแจ่มชัดในการงานท่ีท�ำ ไม่หลง ไม่พร่าเลือน 9 6 ช ํ า ร ะ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ่ี ส ุ ค ะ โ ต ไม่เฉไฉไปตามอารมณ์ จากนั้นก็จะเกิดเป็นสมาธิ พอเกิดสมาธิก็ท�ำงาน ไดส้ นกุ เพราะมันเปน็ สขุ เกิดความเพลินขน้ึ มา อย่างไรก็ตามพอนึกถึงตรงน้ีเราต้องระวังนะ อย่าไปหลงติดอยู่กับ ความเพลิน อย่าเข้าไปในความเพลิน ไม่งั้นจะลืมตัว จนลืมเวลา ลืม นัดหมาย ต้องรู้ทันความเพลิน ไม่เข้าไปในความเพลิน ถ้าเราเข้าไป ในความเพลนิ เมื่อไหร ่ จะลืมตัว สตจิ ะหายไป สติน�ำไปสู่สมาธิก็จริง แต่สมาธิอาจไม่ท�ำให้เกิดสติก็ได้ อันนี้ต้อง ระวงั เราสามารถมสี มาธโิ ดยไมม่ สี ตเิ ลยกไ็ ด ้ เชน่ เราหลบั ตาตามลมหายใจ จนเกิดสมาธิข้ึนมา แล้วเกิดความสงบ ด่ืมด�่ำกับความสงบและความสุข อย่างเต็มท่ี ทันใดนั้นมีฟ้าผ่าลงมาดังสนั่น เราจะสะดุ้ง ตกใจเลย นั่งสมาธิแล้วสะดุ้งตกใจเพราะเสียงดังแสดงว่า ไม่มีสติ ใครเคยเป็นแบบนี้ไหม ก�ำลังเคลิบเคลิ้มกับ เพลงบรรเลงหวานๆ เบาๆ อยคู่ นเดยี วกลางดกึ จๆู่ กม็ ี คนมาตะโกนเรียก หรือมีเสียงประทัดดังตูมข้ึนมา เลยสะดุ้ง ให้รู้ว่าน่นั เปน็ สมาธิท่ไี มป่ ระกอบด้วยสติ พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 97
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต บางคนมีสมาธิกับการคิดมาก ด่ืมด่�ำกับมันจนลืมตัวก็มี มีเร่ือง เลา่ วา่ นกั วทิ ยาศาสตรเ์ ยอรมนั บางคน เดนิ ครนุ่ คดิ กบั ปญั หาวทิ ยาศาสตร์ ปรากฏว่าเขาสะดุดหกล้ม หน้าคว่�ำวัดพื้นเต็มท่ี พอดีมีคนเข้ามาช่วย ประคองเขา เขากพ็ ดู ขนึ้ มาทง้ั ๆ ทกี่ ำ� ลงั นอนอยวู่ า่ “อยา่ มาวนุ่ วายกบั ผม ไดไ้ หม ผมกำ� ลงั ยงุ่ อย”ู่ เขามสี มาธกิ บั ความคดิ อยา่ งมาก จนลมื ตวั ไปวา่ กำ� ลงั นอนแผห่ ลาอย ู่ นเ้ี รยี กว่า มีสมาธแิ ต่ขาดสติ เราตอ้ งมสี มาธทิ ปี่ ระกอบดว้ ยสต ิ ไมว่ า่ อะไรจะเกดิ ขน้ึ มคี นมาเรยี ก โทรศัพท์ดัง เสียงฟ้าร้อง เราก็สงบได้ เฉยได้ แล้วก็ลุกมาดูว่าเกิดอะไร ขึน้ อยา่ งมสี ติ สมาธิโดยไม่มีสติน่ีเกิดขึ้นได้ง่าย โดยเฉพาะการปฏิบัติท่ีเน้นสมถะ มากๆ ตอ้ งระวงั อนั น ้ี ตอ้ งใหม้ สี ตใิ หไ้ ด ้ สตนิ น้ั ประเสรฐิ กวา่ สมาธ ิ ปฏบิ ตั ิ แบบสมถะเนน้ สมาธมิ ากๆ นม่ี มี ากอ่ นพทุ ธศาสนา กอ่ นจะตรสั รพู้ ระพทุ ธ- เจา้ กเ็ คยไปเรยี นกบั อาฬารดาบส อทุ กดาบส มาแลว้ สองคนนเ้ี ชยี่ วชาญ 9 8 ช ํ า ร ะ ใ จ
รุ่ ง อ รุ ณ ท ี่ ส ุ ค ะ โ ต ในสมาธิมาก ฝึกได้ฌาน ๗ ฌาน ๘ แต่เมื่อพระพุทธเจ้าค้นพบหนทาง แห่งการดับทุกข์ วิธีการของพระองค์ต่างจากของผู้คนก่อนหน้านั้นตรงที่ เนน้ เรอื่ งสต ิ หวั ใจกรรมฐานแบบพทุ ธคอื สตปิ ฏั ฐาน เพราะฉะนน้ั ในการ ปฏบิ ตั ิ เราตอ้ งใหส้ ตเิ ปน็ ผนู้ �ำ สมาธติ าม ไมใ่ ชส่ มาธนิ �ำจนสตหิ ายไปเลย อันนั้นไม่ถูกต้อง หลวงพ่อค�ำเขียนก่อนมาพบหลวงพ่อเทียนท่านก็เคย เป็นอย่างนี้มาก่อน มีสมาธิมากกว่าสติ สติไม่มีกำ� ลัง ตอนหลังอาศัยสติ เปน็ ตัวนำ� สมาธิตาม นนั่ แหละถึงได้ทำ� ใหท้ ุกข์เบาบาง สมาธนิ นั้ มเี สนห่ เ์ พราะมรี สชาตเิ ดน่ กวา่ สต ิ คนเลยชอบเพราะท�ำให้ มคี วามสามารถพเิ ศษ หรอื เกดิ สง่ิ แปลกใหม ่ เชน่ เกดิ นมิ ติ ขน้ึ มา ในขณะท่ี สติท�ำให้เกิดความรู้ตัวทั่วพร้อม ไม่น่าต่ืนตาตื่นใจอะไร ไม่เหมือนสมาธิ ซึง่ มีของใหเ้ ล่นเยอะ แตก่ ใ็ หร้ วู้ า่ สตมิ คี ณุ คา่ กวา่ สมาธ ิ และท�ำไดย้ ากกวา่ ทที่ เิ บตจะมกี าร ท�ำสมาธิภาวนาท่ีอาศัยภาพวาด ท่ีเรียกว่าพระบฏ เป็นวัตถุหรืออารมณ์ สำ� หรับกรรมฐาน เรยี กว่าบรกิ รรมนิมติ พระบฏน้นั เป็นภาพวาดเกย่ี วกบั พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์และเทพท้ังหลาย รวมท้ังเทพท่ีรูปร่างน่ากลัว ซง่ึ ทจ่ี รงิ กค็ อื ปคุ คลาธษิ ฐานเกย่ี วกบั สภาวะตา่ งๆ ในใจของเรานน่ั เอง คน ทเิ บตใชพ้ ระบฏหรอื ภาพเหลา่ นที้ เี่ รยี ก ตงั กะ สำ� หรบั ทำ� สมาธภิ าวนา โดยเอา พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 99
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170