Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สนทนาธรรมกับ อ.วศิน 1

สนทนาธรรมกับ อ.วศิน 1

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-05-20 06:31:20

Description: สนทนาธรรมกับ อ.วศิน 1

Search

Read the Text Version

๑1๕52๐ สนทนาธรรมกบั อ.วศิน อินทสระ คำถามท่ี ๑,๐๔๖ ขอกราบขอบพระคุณพี่ขวัญผานหองสนทนาธรรมกับทาน อาจารยว ศิน ทไ่ี ดจ ัดทำหนงั สือดๆี และมคี ุณคา มากของทา นอาจารย มาโดยตลอด โดยเฉพาะลา สดุ หนงั สือธรรมะซนั เดย ท่งี ดงามท้ังสาระ และรูปแบบ ขออาราธนาคณุ พระรตั นตรยั คมุ ครองพ่ขี วญั ใหมสี ขุ ภาพ ดี ประสบสนั ตสิ ุข รุงเรืองในธรรมปริยตั แิ ละปฏบิ ตั ยิ ่ิงๆขนึ้ ตลอดไป นะคะ ดวยความเคารพ จากนองหอ งเรยี นธรรมะซันเดยคะ กราบ ขอบพระคุณทานอาจารยวศินอยางสูงย่ิงดวยนะคะท่ีทำใหลูกศิษยมี วนั น้ี วนั ทีพ่ ระธรรมเปนทางเดินและหลกั ชยั ของชวี ิต ตอบ ขออนุโมทนาดว ยอยางยง่ิ คำถามท่ี ๑,๐๔๗ หลวงปเู ทสกทานพูดถงึ จติ แยกเปน ๒ สว นคอื จติ ทน่ี กึ คิด แส สายไปตามอารมณ และ ใจ ทีม่ ีความเปน กลาง อยนู ่ิงเฉย แตร ตู วั อยู วานิง่ ดิฉันถกู สอนมาวาเพราะเราหลงไปตามจติ ท่ีคิดนกึ แสสาย และ ยดึ วา มนั เปน เรา เราจึงตองมาเวียนวายตายเกดิ การภาวนากเ็ พยี งแต ใหด จู ติ ทีค่ ิดนึกนี้ โดยไมตอ งเขา ไปเออออกับมนั ดิฉันสงสัยวา แลวตัว ทีด่ ูจติ ท่มี ันคิดนกึ อยนู น้ั มันคือตวั ไหนคะ เปน ตวั ใจที่นิ่งเฉยอยู ใชหรอื ไมคะ ขอบพระคุณมากคะ ตอบ สำนวนพระกรรมฐานทานวา จิตดูจิต หรืออกี สำนวนหนึ่งวา ตามพิจารณาจิตในจิต (สติปฏฐาน) กม็ เี ทานแี้ หละคุณ

สนทนาธรรมกบั อ.วศนิ อินทสระ ๑1๕53๑ คำถามท่ี ๑,๐๔๘ ผูมพี ระคณุ ขอยืมเงิน ๔-๕ วนั แสนกวาบาท กรณีที่ ๑.บอกมี ธรุ ะจำเปน ไมย อมบอกวา เอาไปทำอะไร ถาเขาเอาไปทำบาป เราจะ ตอ งรบั บาปรวมดวยหรอื ไมคะ กรณที ่ี ๒. เขาพดู เทจ็ วา เอาไป......แต จริงๆ เอาไปทำบาป เราจะตอ งรบั บาปรว มดว ยหรอื ไมคะ กรณีที่ ๓. ยนื ยนั วา ไมใ หย ืม เพราะสงสัยวา เอาไปทำบาป ตอนหลงั เขาไปฆาตวั ตาย เพราะวา ไมใ หย มื เงนิ เราบาปไหมคะ ขอบพระคณุ คะ ตอบ ตามทค่ี ุณเลามาน้เี ราไมบ าปทุกกรณี เพราะเราไมม ีเจตนาเลย ที่จะใหเขาเปน เชนนัน้ สบายใจไดเลย คำถามท่ี ๑,๐๔๙ ตอ งขออภยั ดวยครบั ผมตอ งการ post เก่ียวกับสวนธรรม เรือน ธรรม เห็นมีชองทางนี้ที่จะสงขอ ความได เพิ่งกลบั จากสวนธรรม เรือน ธรรมครับ ไปปฏิบัติธรรมที่สวนธรรม เรือนธรรมชวง ๖-๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๓ ไดอยูกับตัวเองตามที่หวังไว กอนไปต้ังความหวังในทางธรรม ไวเ ยอะแยะ และเมอ่ื ไปถงึ พบกบั ความสปั ปายะมากๆ ความหวงั ในทาง ธรรมย่ิงเพ่ิมสูงมากข้ึนไปอีก นึกถึงประโยคท่ีเคยไดยินนานมาแลว(จำ ไมไดวาไดยินจากใคร) “กินขาวชาวบานแลวตองปฏิบัติธรรมใหสมกับ ทช่ี าวบา นเขาเสยี สละใหท าน” ประโยคอาจจะไมต รงนกั แตค วามหมาย ก็จะประมาณน้ี แตท ่ีผมไดร บั ท่ีสวนธรรม เรือนธรรมนน้ั มากกวา แคก นิ ขา วชาวบา น จงึ ทำใหต วั เองตงั้ ใจเกนิ ผลทอี อกมาคอื เครยี ดและตอ งลม กระดานนบั หนง่ึ ใหมต ัง้ แตว นั แรกจนถึงวนั สดุ ทาย วันละหลายๆครัง้ ที่

๑1๕54๒ สนทนาธรรมกบั อ.วศนิ อินทสระ สวนธรรม เรือนธรรมใชการสวดมนตแปล ซง่ึ ผมไมคนุ เคยจงึ เปล่ียนตัว เองจากผูสวดมนต เปนผูฟงการสาธยายพุทธมนต ตองขอบคุณคุณจุ ผูนำสวดดว ยสำเนยี งเสนาะ หลงั การสวดมนตไดดูเวทนา และแทบจะ ไมเ หน็ ความตง้ั มน่ั เปน กลางตอ เวทนาของใจตวั เองเลยซง่ึ ประจกั ษก บั ใจ ตวั เองวา เรายงั หา งไกลกบั คำวา พรอ มทจ่ี ะตาย คงตอ งเรง สปด เพมิ่ ความ พรอ มตายใหต วั เองใหม ากๆ ทส่ี วนธรรม เรอื นธรรมคณุ จะไดพ บกบั นอ ง หมา สี่ตัว ทกี่ ำลงั คกึ คะนอง ไมตองกลวั นะครบั เพราะพวกเขาเปน มติ ร จากสวนธรรม เรอื นธรรมกลบั สกู รงุ เทพ ลงแทค็ ซ่ี หว้ิ กระเปา เดนิ เขา บา น มองเหน็ กายเดนิ ชดั เจนมาก รถู งึ ความปต ทิ เี่ กดิ ขน้ึ หลงั จากเกบ็ กระเปา เสรจ็ เดินไปท่ีตูเย็น มองเหน็ กายของตัวเองเดนิ ชัดเจนมาก ระหวางนง่ั ดทู วี ี มองเหน็ ตัวเองนัง่ ดทู ีวี สลบั กับตัวเราหายไปมีแตเรือ่ งราวในทีวี ... ขอบคณุ กฏปฏบิ ตั แิ บบปด วาจา.. ขอบคณุ และ อนโุ มทนาคณุ จทุ ดี่ แู ลพวกเราเปน อยา งด.ี . ขอบคณุ และอนโุ มทนาพท่ี ขี่ บั รถรบั -สง พวกเรา..ขอบคุณและอนุโมทนาคุณ ขวญั เพยี งหทยั เจา ของสวนธรรม เรือน ธรรม..ขอบคุณและอนุโมทนาแมครัว สำหรับอาหารรสอรอย..ขอบคุณและ อนุโมทนา เพ่อื นๆ รว มทรปิ สูอ รยิ ภูมทิ ุก ทาน...ขอบคุณครบั ตอบ ผมกข็ ออนุโมทนากับคณุ ดว ย ขอ อนโุ มทนากับคณุ ขวัญ คณุ จุด วย มา ณ ทน่ี ี้

สนทนาธรรมกับ อ.วศนิ อนิ ทสระ ๑1๕55๓ คำถามท่ี ๑,๐๕๐ ธรรมใดเปนธรรมทสี่ ำคญั ทสี่ ดุ ทท่ี ำใหเปนผูชนะตนเองคะ ตอบ ตองรูกอนวาชนะตนเองเร่ืองอะไร จึงจะคนหาธรรมะมาแกถูก เชน ตอ งการชนะตนเองเรือ่ งเปนคนข้ีโกรธ กใ็ หเอาธรรมะขอ เมตตามา ใชบอยๆ หมั่นเจริญเมตตาและการใหอภยั เปนตน คำถามที่ ๑,๐๕๑ ความคิดท่ฟี งุ ไป ปรุงแตง ไปเอง ถือวาเปนมโนกรรมไหมคะ มี ผลมากนอยแตกตางจากการจงใจคิดประทุษรายหรือคิดในทางอกุศล ตา งๆ อยางไรคะ ตอบ ความ คิ ด เปน มโนกรรม ทั้งหมด ไม วาคิดเร่ืองอะไร คิดไมดีก็เปนมโนกรรมฝาย อกุศล คิดดีก็เปนมโนกรรมฝายกุศล ถาคิด ประทุษรายผูอื่นก็เปนโทสะหรือพยาบาท ก็ เปนอกุศลกรรมบถ ถาคิดบอยๆก็มีโทษแก จิตใจบอยๆ ทำใหจิตใจตกต่ำ ตองหมั่น เจริญเมตตา ใหอภัย

๑1๕56๔ สนทนาธรรมกับ อ.วศิน อนิ ทสระ คำถามที่ ๑,๐๕๒ ดิฉันไดยินพระวิปสสนาจารยชาวตางประเทศกลาวถึงครูบา อาจารยแ ละบคุ คลทพ่ี รอ ม ดว ยศลี สมาธิ ปญ ญา โดยใชค ำวา “lovable” (นา รัก) (รวมทัง้ คุณสมบตั ิทด่ี อี นื่ ๆเชน pure, gentle, cultured) ในพระ บาลี มีคำใดที่แปลวา นารักคะ พระพุทธองคตรัสวา ธรรมขอใดทำให บคุ คลเปน คนนารกั คะ ตอบ ในบาลีมคี ำวา “นา รัก” กต็ รงกบั คำวา “ปยะ” เมือ่ ลงวิภตั แิ ลว เปน “ปโ ย” “ปยา” บา ง “ปย ”ํ บา ง แลว แตตวั ประธานเปนอะไร เชน ปโ ย ปรุ โิ ส ชายทนี่ า รกั , ปย า นารี หญงิ ทน่ี า รกั , ปย ํ กลุ ํ ตระกลู ทน่ี า รกั เปน ตน ธรรมทีท่ ำใหบ ุคคลเปนผนู า รกั มีเยอะเลย เชน พรหมวหิ าร ๔ สงั คหวตั ถุ ๔ สาราณยี ธรรม ๖ เปนตน คำถามที่ ๑,๐๕๓ สวัสดคี ะ ขอขอบคุณสำหรับคำตอบของอาจารยท ุกคำตอบ ไดความรแู ละขอคดิ เตือนใจมากมายคะ ขอเรยี นถาม คำเตม็ ท่ีพระ สวด สีเลนะสขุ ะตงั สีเสนะ นพิ พุธิง ยันตุ แลวกม็ ีอะไรตออีก ทเี่ ขยี นมา รสู ึกขาดอะไรไป หรอื เขียนไมถกู ชว ยรบกวนตอและเขียนใหถ กู ดวยคะ ขอคำแปลดว ยคะ กราบขอบพระคณุ คะ ขอใหอ าจารยม คี วามสุขและ สขุ ภาพแขง็ แรงตลอดไปคะ ตอบ เมอ่ื จบการใหศ ลี แลว พระจะบอกอานิสงสของศีลวา สีเลน สคุ ตึ ยนฺติ บุคคลจะไปสุคตกิ เ็ พราะศีล

สนทนาธรรมกบั อ.วศิน อินทสระ ๑1๕57๕ สเี ลน โภคสมปฺ ทา บคุ คลจะพรัง่ พรอ มดว ยทรพั ยสมบัติก็ เพราะศีล สีเลน นพิ พฺ ตุ ึ ยนฺติ บุคคลจะถึงนพิ พานก็เพราะศลี ตสฺมา สลี ํ วโิ สธเย เพราะฉะนนั้ พึงรกั ษาศลี ใหบรสิ ุทธ์ิ คำถามที่ ๑,๐๕๔ การทีพ่ ระพทุ ธองคต รัสตอบพระสารีบตุ รวา เหตุประการหนงึ่ ท่ีทำใหพ รหมจรรยดำรงอยูไดไ มนานในสมัยของพระพุทธเจา พระองค อ่ืนอาทิ พระเวสสภู ไดแกพระพุทธเจาพระองคน้ันไมท รงผอ นคลาย ทจี่ ะกำหนดจติ สาวกแลวทรงส่งั สอน คำวา “ไมท รงผอนคลายทจี่ ะ กำหนดจติ สาวกแลว ทรงสั่งสอน” หมายความวาอยางไรคะ ตอบ ผูถามชว ยบอกท่มี าใหหนอย จะไดตามไปพจิ ารณาดวู า เปน คำแปลท่ีถกู ตอ งหรือเปลา หรอื บรบิ ทเปน อยางไร คำถามท่ี ๑,๐๕๕ อัพยากฤตธรรม กับ อกณหฺ อสุกฺกกมฺม เหมอื นหรอื แตกตางกนั อยางไรคะ ตอบ อัพยากตธรรม หมายถงึ ธรรมท่เี ปน กลางๆ ไมเปน กุศลไม เปน อกุศล คอื ส่งิ ทบี่ อกไมไดว าดีหรือชว่ั ปรากฎในรูปธรรมตางๆ เชน

๑1๕58๖ สนทนาธรรมกับ อ.วศนิ อินทสระ ดิน น้ำ ไฟ ลม เปน ตน ถา เปน ความคดิ ซ่งึ จัดเปน สังขารในขันธ ๕ คิด เปน กศุ ล เรียกวา กุศลสังขาร คดิ เปน อกศุ ลเรียกวาอกุศลสังขาร คิด กลางๆเปนอัพยากตสงั ขาร เชน คิดวา จะเดนิ ไปเพื่อหยิบสิ่งของ เปน ตน สว น อกณฺหอสุกฺกกมมฺ หมายถงึ กรรมไมด ำไมขาว เปน ไปเพ่อื ความ สนิ้ กรรม ทานยกตัวอยา งถึงการเจริญมรรคมีองค ๘ เพอ่ื ความสนิ้ กเิ ลส เมอ่ื ส้นิ กิเลสก็สน้ิ กรรม ตางกันอยางนี้ ในการกระทำตางๆ มีเจตนาเพ่อื จะละทัง้ กรรมดำและกรรมขาว (ดู จตกุ กนบิ าต อังคุตตรนกิ าย พระ ไตรปฎก เลม ๒๑ หนา ๓๑๓ ขอ ๒๓๒ ... ฉบับภาษาบาล)ี คำถามที่ ๑,๐๕๖ กราบเรียนอาจารย ขอปรึกษาอาจารย เร่อื ง กรณีท่ลี ูกทำงาน แลวใหเ งนิ คณุ แม แตคณุ แมไ มย อมรับเงิน เนอ่ื งจากสงสารลูก เงนิ เดือนลกู นอย ประกอบกบั คุณแมเ ปน คนรวย ลูกจะใหเหตุผลอยา งไรดี ใหท านไมสามารถปฏิเสธเงินอันนอ ยนดิ ของลูกไดค ะ ตอบ อธิบายใหทานเขา ใจวา น้ีเปนสวนทีล่ กู บชู าคุณแม ขอใหร บั ไวเ ถดิ เพอ่ื เปน สริ มิ งคลแกล กู เปน ความ สบายใจของลูก สำหรบั ผทู ี่เปน แมควรจะรบั ไวเพื่อเปนการสงเคราะหลูกใหลูกไดทำบุญ เพอื่ ความเจรญิ รุงเรอื งของลูก ขอใหเ รียน ใหค ณุ แมท ราบวา อาจารยขอรองใหคุณ แมร ับไว จะเลก็ นอ ยเพียงไรกต็ าม

สนทนาธรรมกบั อ.วศนิ อนิ ทสระ ๑1๕59๗ คำถามท่ี ๑,๐๕๗ ดิฉนั เผอิญไดยนิ เสยี งพระเทศนาทางทีวี มคี วามตอนหน่งึ วา เราไมตองทำอะไรมากแค ถอื ศีล หา หรอื ๓ กายกรรม (ไมฆา สตั ว ไมล ัก ทรัพย ไมประพฤตผิ ดิ ลกู เมียคนอ่นื ) ๔ วจีกรรม (ไมพูดโกหก สอเสียด คำหยาบ อกี อยา งดฉิ นั จำไมไ ดค ะ ) และ ๓ มโนกรรม (ไมโ ลภอยาก ไดข องคนอ่ืน ไมพ ยาบาท อีกอยางก็จำไมไ ดค ะ) อยากกราบรบกวน อาจารยชว ยบอก วจีกรรม และมโนกรรม ทด่ี ิฉนั จำไมไดใ หด วยคะ และอยากทราบวาธรรมะนี้เรยี กชื่อวา อยา งไร เพราะเหมอื นกับ ศลี ๕ แตมมี โนกรรมเพ่ิมเขามาดว ย ดฉิ ันชอบมาก เพราะชัดเจนดี และมแี ค ๑๐ ขอ นาจะสงเสรมิ ใหคนพากนั นำไปใชกนั มากๆ ขอบพระคุณคะ ตอบ วจีกรรมขอ ๔ กค็ ือ เวนพูดเพอ เจอ มโนกรรมขอ ๓ คอื เวนจาก มจิ ฉาทิฐิ ท้ังหมดนีเ้ รียกวากศุ ลกรรมบถ ๑๐ แปลวา ทางแหง การทำ กศุ ล คำถามท่ี ๑,๐๕๘ กราบเรยี นทา นอาจารยว ศนิ คะ ที่มาของคำถามขอ ๑,๐๕๔ คือ พระวินัยปฎ กมหาวิภงั ค เลม ๑ ภาค ๑ - หนา ที่ ๑๓ ที่ทานพระ สารีบุตรทูลถามพระพทุ ธองควา อะไรเปนเหตุ อะไรเปน ปจ จัย ให พระศาสนาของพระผมู พี ระภาคเจาพระนามวิปส สี พระนามสิขี และ พระนามเวสสภู ไมด ำรงอยนู านคะ ดฉิ นั สงสยั วา พระพทุ ธองคท รง สรรเสรญิ การ “กำหนดจิตสาวกแลว ทรงสัง่ สอน” ใชห รือไม และ การ “กำหนดจิตสาวกแลว ทรงสั่งสอน” หมายความวา ทรงอานจิตสาวก แตล ะคนแลวสง่ั สอนใชหรอื ไมค ะ กราบขอบพระคณุ คะ

๑1๕60๘ สนทนาธรรมกับ อ.วศนิ อนิ ทสระ ตอบ ใช คณุ เขาใจถกู แลว สว นคำถามเดิมทีค่ ณุ สงสัยนน้ั ไดตามไป ดูบาลแี ลว ทา นใชคำวา “กลิ าสโุ น” แปลวา “เบ่อื หนา ยทจ่ี ะแสดงธรรม แกสาวกโดยพิศดาร” สวนพระพุทธเจา พระองคปจจุบนั น้ี เมื่อจะทรง สั่งสอนผูใดก็ทรงกำหนดจติ ผูน้นั กอ น แลว จงึ ทรงสงั่ สอนใหเ หมาะกับ อปุ นสิ ัยของเขาจึงประสบความสำเร็จสงู คำถามของคณุ ขอ นย้ี ากมาก ผมอาจจะพลาดกไ็ ด จงึ ตอ งขออภยั มา ณ ทน่ี ดี้ ว ย คำถามท่ี ๑,๐๕๙ ทำไมทานพาหิยะจึงถูกโคขวิดคะ ชาติทแี่ ลวไปทำอะไรมาหรอื คะ รบกวนเลาใหฟง นิดหนง่ึ คะ กราบขอบพระคณุ คะ ตอบ ท่ีทานพาหยิ ะถูกแมโคขวดิ จนเสียชวี ิตน้ัน ตำราเลาไวว า ชาติ กอนทา นเคยคบคิดกับเพอื่ นอีก ๓ คน ขม เหงยำ่ ยหี ญิงโสเภณีคนหน่งึ แลว แยง เอาเครอื่ งประดบั ของเธอไป ฆา เธอถึงตายดว ย หญงิ โสเภณี คนนน้ั จองเวร (เจากรรมนายเวร)วา ในชาติตอ ไปขอใหไ ดม โี อกาส ฆา ทง้ั ๔ คนนี้ ในชาตทิ ี่ผนู ั้นมาเกิดเปน ทานพาหยิ ะ หญิงโสเภณนี ้นั มาเกิดเปน ยกั ษณิ ี แปลงตัวเปนแมโ คมาขวดิ ทานพาหิยะจนเสียชวี ิต สว นเพอื่ นของทานพาหิยะอีก ๓ คนน้นั คนหน่ึงมาเกิดเปน พระราชา พระนามวา ปกุ กสุ าติ คนหน่งึ มาเกดิ เปน สปุ ปพทุ ธกฏุ ฐิ (สุปปพุทธผู เปนโรคเร้อื น) คนหน่ึงมาเปนโจรเคราแดง ทัง้ ๓ คนนีถ้ ูกแมโ คขวิดตาย ดวยกันทง้ั หมด แมโ คตวั นนั้ คือยักษิณคี นเดยี วกบั ที่ทำรา ยทานพาหยิ ะ น่ันเอง เวรกรรมเปนของนา กลวั จริงๆ

สนทนาธรรมกับ อ.วศนิ อินทสระ ๑1๕61๙ คำถามที่ ๑,๐๖๐ อาจารยค รับ เม่อื ปฏบิ ตั ธิ รรมแลวเหน็ หลวงพอ หลายองค ทา น วา มคี วามสขุ ทำไมผมยงิ่ ปฏบิ ตั ยิ ง่ิ เฉยๆ เปนอัพยากฤตธรรม รูวากาย ไหวรูใจไหว แลว เฉยๆ ตางจากกอนหินนดิ เดยี วคือ รวู า กายเปน อยา งไร ใจเปนอยางไรเทาน้นั เอง แลวก็เฉยเพราะพอตวั รแู ลว ทำใหห มดเหตุ หมดปจ จยั ท่จี ะปรงุ แตงตอจบกัน หยดุ หมด แลว กร็ ูเ ฉยๆ เด๋ยี วเหตุใหม กเ็ ขา มาเหมอื นเดิมอยางน้ี แลวสุขอยตู รงไหนกไ็ มร ู ยง่ิ พอรูวา กายใจ เร่ิมสุข แลว มนั ก็เฉยตอ กเ็ ลยไมร วู า ท่บี อกวา นิพพานเปนสุขอยา งยง่ิ ก็ เลยไมรจู รงิ หรอื เปลา แตถ าบอกวา เฉยอยางย่งิ เห็นดวยครบั ตอบ เฉยกด็ ีแลวครบั การวางเฉยในอารมณทัง้ ๖ (ฉฬังคเุ บกขา) เปน องคห น่งึ ของธรรมอันเปนเครือ่ งอยขู องพระอรยิ ะ (อริยวาสธรรม) ดู ในอรยิ วาสสูตร ทสกนบิ าต องั คตุ ตรนกิ าย คำถามท่ี ๑,๐๖๑ ดิฉันประทับใจคำสอนของทานอาจารย ในเร่ืองลาภของชีวิต มาก อยากทราบวา เปน พระพทุ ธพจนห รอื เปน หวั ขอ ธรรมทที่ า นอาจารย สรปุ รวมไวเ องคะ และ ขอความกรณุ าทา นอาจารยย กตวั อยา งเอตทคั คะ หรือพระอริยบุคคลท่ีพระพุทธองคทรงสรรเสริญ วาควรเปนตัวอยางใน การดำรงคุณธรรมอันเปนลาภของชีวิตดังกลาว (อาทิ ความออนนอม อดทน ความเพียร ความสงบ ความเสียสละ การมีทรพั ย และ ปญ ญา) พอเปนแนวทางใหศึกษาตอไปดวยจะไดไหมคะ กราบขอบพระคุณ มากคะ

๑1๖62๐ สนทนาธรรมกับ อ.วศนิ อนิ ทสระ ตอบ เปนหัวขอธรรมที่ผมคิดขึน้ เอง ความเปนมากค็ ือวา เม่อื วันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๒๒ ผมไดร ับเชญิ ใหไปบรรยายธรรมทโี่ รงพยาบาล ศิรริ าช เร่ือง “พระพุทธศาสนากับเหตผุ ล” ผมทำเปน โนตยอแลว พิมพ ไปแจกผฟู ง บงั เอญิ มีกระดาษเหลอื อยปู ระมาณคร่งึ หนา ผมก็นงั่ คดิ วาจะทำอยา งไรกับกระดาษคร่งึ หนาทีเ่ หลือ จงึ ไดเขียน “ลาภของชีวติ ๘ ประการ” เตมิ ลงไป ตามความคิดของผมในขณะน้ัน ตอมาไดขยาย ออกโดยการบรรยายทางวทิ ยุ เมือ่ ประมาณ พ.ศ.๒๕๔๐ สนทนากับ คุณศยามล สีนลิ แท เรือ่ งพระสาวกทีไ่ ดร บั การยกยอ งในคณุ ธรรม ๘ ประการน้ี เปนเร่ืองคอ นขา งยาว เอาไวตอบคราวหนา จะดไี หม คำถามที่ ๑,๐๖๒ พระพุทธองคตรัสสอนใหสาวกทำอยางไรเม่ือมีผูกลาวติเตียน หรอื สรรเสริญพระรตั นตรัยคะ ตอบ ตามนยั แหงพรหมชาลสูตร ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค พระองค ตรสั สอนวา ถาเขาตเิ ตยี นพระรัตนตรยั ก็อยา เพง่ิ โทมนัสขดั ใจ อยา เพง่ิ โกรธ เพราะถา โกรธเสยี กอนแลว จะรไู ดอ ยางไรวา เขาตผิ ดิ หรือถกู ถา เขาสรรเสริญกอ็ ยาเพง่ิ รบี รับ ถา รีบรบั จะรไู ดอยางไรวาเขาสรรเสริญ ผิดหรือถูก ใหต รองใหดีเสยี กอน ถาเขาสรรเสริญในคุณท่เี ราไมมี ก็ให ช้ีแจงไปตามความเปนจรงิ วา คุณสมบัตเิ ชนนเ้ี ราไมมี เขาสรรเสริญผดิ ถาเขาสรรเสรญิ ถกู ตามเปนจริงก็ใหร ับไว

สนทนาธรรมกับ อ.วศนิ อนิ ทสระ ๑1๖63๑ คำถามที่ ๑,๐๖๓ วันน้ีไมม คี ำถามคะ แตขอกราบอวยพรอาจารย ขออำนาจคุณ พระศรรี ตั นตรยั และสิง่ ศกั ดิส์ ิทธ์ิในสากลโลก ไดโปรดอภิบาลรักษาให อาจารยม สี ขุ ภาพรางกาย แข็งแรง มีพละกำลงั ในการสง่ั สอนศษิ ย ทำ งานไดตามทีอ่ าจารยป รารถนา สมดงั ใจหวงั ทุกประการคะ ตอบ ขอบคณุ มากทอ่ี วยพรมา ขอใหค ุณไดรับพรเชนเดยี วกัน ขอให มสี ขุ ภาพดีและมคี วามสขุ ตลอดป ๒๕๕๔ คำถามท่ี ๑,๐๖๔ กราบสวัสดีปใหมอาจารยคะ ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย อำนวยพรใหอาจารยมีสุขภาพท่ีดีนะคะ หนูอยากทราบวา ถาจะคัด ลอกคำถาม-คำตอบ บางสวนเพ่ือเผยแผธรรมทางemail อาจารยจะ อนุญาตหรอื ปลาวคะ ตอบ ขอบคุณมากท่ีอวยพรปใหมมา ขอใหคุณไดรับพรเชนเดียวกัน คือ ส่ิงใดที่ตองการแลวปรารถนาโดยชอบธรรม ขอใหไดรับสิ่งน้ันตาม ความประสงคจงทุกประการ ขอท่ีถามวา จะนำปญหาและคำตอบไป เผยแพรน นั้ ยนิ ดอี นญุ าตครบั และเหน็ วา ไดช ว ยกนั เผยแพรค ำสอนทาง พทุ ธศาสนาใหก วางขวางออกไป เปนบุญอกี ตอหนึ่ง

๑1๖64๒ สนทนาธรรมกบั อ.วศิน อินทสระ คำถามท่ี ๑,๐๖๕ ทา นอาจารยก รุณาขยายความเร่อื งเอตทัคคะในขอ 1061 ดวย นะคะ กราบขอบพระคณุ คะ ตอบ ๑. ออ นนอ มถอ มตนกม็ หี ลายทา น เชน พระอสั สชิ พระสารบี ตุ ร พระอานนท ฯ ๒. อดทนตอการลว งเกนิ ของผูอื่น เชน พระปณุ ณมนั ตานบี ตุ ร ทมี่ คี ตวิ า เขาดา ดกี วา เขาตดี ว ยฝา มอื ...เขาแทงดว ยศสั ตราดกี วา เขาฆา ใหต าย เขาฆาใหตายดีกวา ฆาตัวเอง ฯ ๓. มคี วามเพยี รมากพอ เชน พระโสณโกวิ สิ ะ ไดร บั การยกยอ ง ในทางเปน ผมู คี วามเพยี ร เดนิ จงกรมจนเทา แตกไปหมด เจบ็ เทา หนกั เขา กล็ งคกุ เขา เดนิ ดว ยเขา จนเลอื ดเปอ นทจี่ งกรมพระพทุ ธเจา เสดจ็ มาโปรด วา ใหทำความเพียรแตพ อดี จึงไดส ำเรจ็ เปนพระอรหนั ต ๔. มีคณุ งามความดีพอท่ีใครๆจะเคารพนับถือได พระพุทธเจา ทรงยกตวั อยา งพระมหากสั สปบอยๆเก่ียวกบั เรอื่ งนี้ ๕. มคี วามสงบใจพอทจี่ ะหาความสขุ ดว ยตนเอง ขอ นนี้ า จะเปน พระมหากสั สปเชน เดยี วกนั ทจ่ี รงิ พระอรหนั ตท กุ รปู มคี วามสงบใจพอทงั้ นั้น ๖. มีปญญาพอที่จะเปนท่ีพ่ึงของผูที่ทุกขเขามาปรึกษาได ขอ น้ีนาจะเปนพระสารีบุตร เพราะไดรับการยกยองเปนเอตทัคคะทาง ปญญา ๗. มีใจกอรปดวยความเสียสละ พอที่จะสละความสุขสวนตน เพ่ือความสุขของผูอื่นได ขอน้ีพระพุทธเจาทรงยกยองทานอนาถปณฑิ กะเศรษฐแี ละนางวสิ าขามหาอุบาสกิ า

สนทนาธรรมกับ อ.วศิน อนิ ทสระ ๑1๖65๓ ๘. มที รพั ยพ อทจ่ี ะสงเคราะหเ ออื้ เฟอ ญาตมิ ติ รหรอื ผตู กทกุ ขไ ด พระพทุ ธเจา ทรงยกยอ งเจา ชายพระองคห นง่ึ แหง เมอื งอาฬวี ชอ่ื หตั ถกะ อาฬวกะ เปน เลศิ ในทางสงเคราะหบริวารดวยสงั คหวตั ถุ ๔ ยกมาพอเปนตัวอยางเล็กนอย ยังมีทานอ่ืนๆอีกมากที่มี คุณสมบัติเหลานี้ คำถามท่ี ๑,๐๖๖ พระพุทธองคทรงสอนใหผูมีอภิญญาเชน จุตูปปาตญาณ ทิพจักษุ เจโตปริยญาณ เปนตน ใชใหเปนประโยชนตอตนเองและ เกอื้ กลู ผอู นื่ อยา งไรบา งคะ ในปจ จบุ นั น้ี ดเู หมอื นวา จะมกี ารใชช ว ยเหลอื ผคู นในสงั คมมาก ทำอยางไรจงึ จะทำไดถ กู ตองตามพุทธบัญญัติคะ ตอบ การใชอภิญญาน้ัน พระพุทธเจาทานทรงอนุญาตใหใชเม่ือจำ เปน จรงิ ๆ ถาไมจำเปน ก็ไมพึงใชพ รำ่ เพรอ่ื แมพระพทุ ธองคเองกท็ รงใช เม่ือจำเปนเทานั้น คือ ปกติก็ทรงใชชีวิตอยางธรรมดา พระสาวกก็เชน เดียวกนั คำถามที่ ๑,๐๖๗ ขอความกรุณาทานอาจารยอธิบายความหมายและขยาย ความของภาษติ วา จาคมนุพรฺ เู หยยฺ ดว ยนะคะ อา นคำแปลภาษาไทย (พึงเพมิ่ พูนความสละออกใหม ากไว) แลว ไมเขาใจแจม แจงนกั คะ

๑1๖66๔ สนทนาธรรมกบั อ.วศนิ อินทสระ ตอบ แปลอกี สำนวนหนงึ่ วา พงึ เพิ่มพูนความเสียสละ มี ๒ นัย คอื เสียสละทรพั ยสินเพือ่ ประโยชนแ กผอู นื่ อีกนัยหน่ึง คือ เสยี สละกิเลส เสียสละกเิ ลสนนั้ เปน อุปรมิ ปรยิ าย แปลวา ความหมายเบื้องสงู สุภาษิต ชุดนม้ี ี ๔ ขอ ดว ยกัน คือ ๑. ไมพ ึงประมาทปญ ญา (ปญฺ ํ นปฺปมชเฺ ชยฺย) ๒. พึงรักษาสจั จะ (สจจฺ มนรุ กเฺ ขยยฺ ) ๓. พงึ เพม่ิ พนู จาคะ (จาคมนุพฺรูเหยฺย) ๔. พงึ ศกึ ษาสนั ติ (สนตฺ เิ มว โส สกิ ฺเขยฺย) ท้ังหมดน้ี โดยปริยายเบ้ืองสูง ทา นหมายถงึ “นพิ พาน” ทัง้ น้ัน (ดู ธาตุวภิ งั คสูตร มชั ฌิมนิกาย อปุ ริปณณาสก พระไตรปฎ กเลม ๑๔ ขอ ๖๘๓ หนา ๔๓๔) คำถามท่ี ๑,๐๖๘ ทา นอาจารยมีความเห็นวา คณุ สมบัตทิ ีส่ ำคัญท่สี ดุ ของคน ทคี่ วรไดชื่อวาเปนบัณฑติ คอื อะไรบางคะ ตอบ มีหลายปรยิ าย พระพุทธเจาตรสั ไวห ลายปริยาย แปลวา มี คุณสมบัติหลายประการท่ีทำใหบุคคลเปนบัณฑิตหรือไดช่ือวาเปน บณั ฑิต เชน เปนผูเกษม คอื ปลอดภยั ไมม เี วรไมมีภัย เขมี อเวเร อภโย ปณฺฑโิ ตติ ปวจุ จฺ ติ ฯลฯ เพราะยึดประโยชนท้ังสองไวได คือ ประโยชน ในโลกน้ีและประโยชนใ นโลกหนา ทานเรียกวา เปน บัณฑติ บณั ฑติ แปลวา ผูด ำเนนิ ชีวิตดวยปญ ญา ผูมชี วี ิตดว ยปญ ญา ทา นเรียกวา เปน ผปู ระเสริฐที่สุด

สนทนาธรรมกับ อ.วศนิ อินทสระ ๑1๖67๕ พรอมนขี้ อโอกาสอวยพรปใ หม ใหทานผูถามและมไิ ดถ าม แต ไดอ านขอ ความตา งๆในหอ งสนทนาธรรมน้ี จงปราศจากทกุ ขโศกโรค ภยั ประสบแตความสุขสวัสดใี นทีท่ กุ สถานในกาลทกุ เมอ่ื คำถามที่ ๑,๐๖๙ อาจารยค ะ ถาเราประกอบอาชพี เกี่ยวกบั อาหารแลว ตองนำ เนอ้ื สัตวต างๆ มาปรงุ อาหาร เราจะบาปไหม เน้อื สตั วไ มไดฆ าเอง ตอบ ไมบ าป คำถามท่ี ๑,๐๗๐ นิสสยสัมปนโน ความหมายวา อะไร ตอบ แปลวา ผูพรั่งพรอมดวยอุปนิสัยอันดี กลาวคอื ประกอบดวย อปส เสนธรรม ๔ ไดแก ๑. พจิ ารณากอนแลวจงึ เสพ เชน เสพปจจยั ๔ ๒. พจิ ารณากอ นแลว จึงอดกลนั้ ๓. พจิ ารณากอนแลวจงึ เวน สง่ิ ที่ควรเวน ๔. พจิ ารณากอนแลว จึงบรรเทา เชน บรรเทากามวติ ก เปนตน นอกจากนยี้ ังตั้งอยูในธรรม๕ประการคือศรัทธาหริ ิโอตตปั ปะ วริ ิยะ ปญ ญา ผเู ชนนีแ้ หละเรยี กวา นสิ สยสัมปนโน (ทฆี นกิ าย

๑1๖68๖ สนทนาธรรมกับ อ.วศิน อนิ ทสระ ปาฏกิ วรรค เลม ๑๑ ขอ ๒๓๖ หนา ๓๒๖ อังคุตตรนกิ าย นวกนิบาต เลม ๒๓ ขอ ๒๐๖ หนา ๓๖๖ อังคตุ ตรนิกาย ทสกนิบาต เลม ๒๔ ขอ ๒๐ หนา ๓๒ : อา งใน พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม ของ พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต) คำ “นสิ สยสมั ปนโน” นี้ เคยพบในอรรถกถาธรรมบท ตอนที่วา ดว ยเรื่องพระราธะ อาง อลีนจติ ตชาดก วา “ภิกษผุ ูมคี วามเพียรดีแลว สมบรู ณด ว ยอุปนิสัยเชน นี้ เจริญธรรมที่เปน กุศลอยู เพ่ือบรรลุธรรมอัน เกษมจากโยคะ (นพิ พาน)” คำถามที่ ๑,๐๗๑ ในพุทธพจนท ี่วา ผใู หสง่ิ ท่ีเลิศ ยอ มไดส ิง่ ทเี่ ลศิ คำวา “สงิ่ ท่ี เลศิ ” พระพุทธองคทรงหมายถึงสิ่งใดคะ ตอบ อะไรก็ไดที่ผนู ้ันถอื เปนส่ิงทเ่ี ลิศ เพราะวา ความเหน็ ของคน เราไมเ หมอื นกนั อยางใหอาหารท่เี ลิศ เสือ้ ผา ทเ่ี ลิศ อาจเลิศสำหรบั ความรูสึกของคนหน่ึง แตไมม ีความหมาย สำหรบั อีกคนหนึ่งก็ได

สนทนาธรรมกบั อ.วศิน อินทสระ ๑1๖69๗ คำถามท่ี ๑,๐๗๒ ทา นอาจารยม คี วามเหน็ วา พทุ ธพจนห รอื ธรรมบทใดครอบคลมุ คำสอนของพระพุทธองคท้ังหมดไวใ นบทเดียวคะ ตอบ ตามทพ่ี ระพุทธเจาตรัสไว พระองคตรสั ถึงความไมป ระมาทวา เปน ธรรมเลศิ ในบรรดากศุ ลธรรมท้งั หลาย เหมอื นรอยเทาสัตวบ กทง้ั หลายรวมลงในรอยเทาชา ง เพราะรอยเทา ชา งเปน รอยเทา ใหญ กุศล ธรรมท้งั มวลรวมลงในความไมประมาท ตรสั ไวหลายแหง คราวหน่ึง พระเจา ปเสนทโิ กศลทูลถามวา ขอใหทรงแนะนำธรรมสักอยา งหน่งึ ซง่ึ เมอ่ื ปฏิบัติแลว เปนประโยชนท ั้งในปจ จบุ นั และในภายหนา ตรัสตอบวา ความไมป ระมาท บางแหงทรงขยายความไมป ระมาทวา ไมป ระมาท ในการละทจุ ริตทางกาย วาจา ใจ เจริญสจุ ริตทางกาย วาจา ใจ และ ตรสั ถงึ ความไมประมาทใน ๔ ฐานะ คือ ระวังจติ ไมใหกำหนดั ไมให ขัดเคือง ไมใ หล ุม หลง ไมใหม วั เมา ในอารมณอันเปนเหตใุ หก ำหนดั เปนตน คำถามที่ ๑,๐๗๓ จาก คำถามขอ ๑,๐๖๑ ลาภแหง ชวี ติ ขอ ๔ ทว่ี า มคี ณุ งามความ ดพี อทใี่ ครๆ จะเคารพนบั ถอื ได เหตใุ ดพระพทุ ธองคท รงยกตวั อยา งพระ มหากสั สปบอ ยๆ เกย่ี วกบั เรอื่ งนคี้ ะ เพราะพระอรหนั ตสาวกทกุ องคล ว น แตมีคุณงามความดีพอทใ่ี ครๆ จะเคารพนับถอื ได ตอบ ใชแ ลว พระอรหนั ตท กุ องคม คี ณุ งามความดพี อทใี่ ครๆ จะเคารพ นับถือได แตพระมหากัสสปมีคุณสมบัติพิเศษหลายอยาง มีธุดงควัตร

๑1๖70๘ สนทนาธรรมกับ อ.วศนิ อินทสระ เปนตน จนถึงกับพระศาสดาทรงยกยองดวยการเปล่ียนสังฆาฏิกัน ใช แมในการทำสังคายนาคร้ังที่ ๑ เมือ่ พระพุทธเจา ปรนิ ิพพานแลว ๓ เดอื น พระมหากสั สปกไ็ ดร บั การยกยอ งจากพระอรหนั ตท ง้ั หลายใหเ ปน ประธานสงฆในการ ทำสงั คายนา คำถามท่ี ๑,๐๗๔ อนุโมทนา แปลวา อะไร แลวถา เรากลา ว เมอื่ คนอืน่ มาบอกวา ไปทำบญุ มา เราจะไดบ ุญดวยใชห รอื ไม ตอบ อนุโมทนา แปลวา ยินดดี วย เมอื่ คนอืน่ ไปทำบุญแลวมาบอก เราพดู วา “อนโุ มทนา” เรากไ็ ดบุญดว ย ทา นเรยี กวา ปต ตานโุ มทนามยั แปลวา บุญทไ่ี ดจ ากการอนุโมทนาสว นบุญ คำถามที่ ๑,๐๗๕ ทำไม เวลาทำสมาธิ แลว ตอนนง่ั สมาธิ จิตก็สงบดคี รบั แตพ อ เลกิ ทำสมาธิ ทำไมตวั กระผมจงึ ใจรอ นมาก ไมส ามารถทจี่ ะควบคมุ ตัว เองได ววู าม ใจรอ นมากๆ ไมมีเหตผุ ล จนไมอยากนงั่ สมาธเิ ลยครบั ชว ยตอบกระผมดวนดว ยเถอะครับ กระผมรอ นใจเหลือเกนิ ครับ ตอบ ใจรอ น ขโี้ กรธตอ งละดว ยปญ ญา ดังพุทธศาสนสภุ าษิตทว่ี า “โกธํ ปญฺ าย อจุ ฉนิ เฺ ท” แปลวา “ตดั ความโกรธดวยปญ ญา” อกี อยา งหนึ่งตอ งเจรญิ เมตตากรุณาใหมาก ทำใหจ ติ เยน็ เหมอื นฟองน้ำท่ี ชมุ อยดู ว ยนำ้

สนทนาธรรมกับ อ.วศิน อนิ ทสระ ๑1๖71๙ คำถามท่ี ๑,๐๗๖ อยากทราบวาการลวงละเมิดเสขิยวัตรมีปรากฏในคัมภีรพุทธ ศาสนาเลมใดบาง ตอบ ดหู นงั สอื นวโกวาทกไ็ ดค รบั สว นทเี่ ปน วนิ ยั โดยสมเดจ็ พระมหา สมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส เสขยิ วตั ร แปลวา วตั รทค่ี วรศกึ ษา แปลอีกทวี า สมบัตผิ ูดี มี ๗๕ ขอดวยกนั คำถามท่ี ๑,๐๗๗ เสขิยวัตรเปนสิกขาบทในพระปาฏิโมกขหรือเปลาครับ และมี ความสำคัญอยา งไร กีป่ ระการ ตอบ เสขยิ วตั รไมไ ดเ ปน สกิ ขาบททมี่ าในปาฏโิ มกข แตเ ปน สกิ ขาบท ท่ีทานโบราณาจารยเพิ่มข้ึนในภายหลัง แตเห็นวาดี ทา นจงึ นำมาสวดในการทำปาฏิโมกขดว ย

๑1๗72๐ สนทนาธรรมกับ อ.วศิน อนิ ทสระ คำถามที่ ๑,๐๗๘ เครอื่ งกรองนำ้ สมยั พระพทุ ธเจา เปนอยางไร ตอบ ทำรูปใดรูปหนึ่งก็ไดใหพอกรองน้ำได บางทีทานเอาชายจีวร กรองกม็ ี ทเี่ คยเหน็ ในปจ จบุ นั ใชห มอ ทองเหลอื งเปน ทรงกลมรี มรี สู ำหรบั เปด ปด (เหมือนทป่ี ากขวด) มผี า หุมปาก (เหมือนทกี่ นขวด) เวลาจมุ ลง ไปในนำ้ กเ็ ปด นวิ้ ออก เวลาจะดงึ นำ้ ขนึ้ กเ็ อานว้ิ ปด รู แลว เอานำ้ ใสภ าชนะ ใดภาชนะหนึง่ ผา นผาน้นั เปนการปอ งกนั ตัวสตั วเชน ลกู น้ำไมใ หติดขนึ้ มาในน้ำที่จะด่ืม เด๋ียวน้ีเขาใจวาวัดในเมืองไมไดใชแลว เพราะใชน้ำ ประปากันท้ังนั้น แตเวลาคนจะบวชเปนพระตองมีหมอกรองน้ำน้ีดวย เพราะอยูใ นบรขิ าร ๘ บริขาร ๘ คอื สบง จวี ร สงั ฆาฏิ บาตร มีดโกน เขม็ พรอมดวยกลอ งเข็ม ประคดเอว(ผาคาดเอว) หมอกรองนำ้ คำถามท่ี ๑,๐๗๙ ในหนังสือ “เพ่ือความสุขใจ” ของทานอาจารย มีกลาวไววา ทานพระสารีบุตรกลาววา ในการเลือกคบคน ควรเลือกแตสวนที่ดี ของเขา สวนท่ีไมดีควรตัดท้ิงไป ขอความกรุณาทานอาจารยบอกที่มา และเหตุการณท่ีทำใหทานพระสารีบุตรกลาว เชนนั้นไดไหมคะ กราบ ขอบพระคุณคะ ตอบ ตอนน้จี ำไดแ ตเนื้อความตามท่คี ณุ กลา วมาแลว นกึ เหตุการณ และที่มาไมได

สนทนาธรรมกบั อ.วศิน อนิ ทสระ ๑1๗73๑ คำถามท่ี ๑,๐๘๐ คำวา “ทรถา” ตางจาก “กิเลส” อยางไรคะ เคยไดท ราบวาทาน พทุ ธทาสกลา ววา จะเขาใจนพิ พานจะตองเขาใจทรถากอนคะ ตอบ ถาคุณเขยี นมาไมผดิ และผมเขา ใจไมผิด ทรถา แปลวา ความ เดือดรอ น ความกระวนกระวาย ความทุกข หมายความวา คนจะเขา ถงึ นิพพานตองรูจักความเดือดรอนความกระวนกระวายและความทุกขที่ เกดิ จากกเิ ลส ซงึ่ เปน ตวั สมทุ ยั เหตใุ หเ กดิ ทกุ ข แลว จงึ เดนิ ตามมรรค และ รแู จงนิโรธคือความดับทกุ ขเปนนพิ พาน ผมเคยไดยินทานพูดถึง “ตถา” หรือ “ตถตา” บอ ยๆ แปลวา เชนนนั้ หรอื ความเปนเชน นน้ั เอง แลวกจ็ ะ หลุดพนเขาถงึ นิพพาน คำถามที่ ๑,๐๘๑ จะอธิบายความเก่ียวโยงของตัณหา กับ อปุ าทาน อยา งไรจงึ จะกระชับและแจม แจงที่สุดคะ ตอบ ตัณหาความทะยานอยากอันเกี่ยวกับอารมณ ตางๆ มีรูปตัณหา เปนตน อุปาทานความยึดติดใน รปู ารมณ เปน ตน นน้ั เปรียบเหมอื นวา เราเอาเชือก ไปคลอ งเสาไวห ลวมๆเปนตัณหา พอกระตกุ เชอื ก ใหรดั เสาไวอ ยางแนนก็เปนอุปาทาน (ดู ตณั หา ๓ และ อุปาทาน ๔)

๑1๗74๒ สนทนาธรรมกบั อ.วศิน อนิ ทสระ คำถามท่ี ๑,๐๘๒ ขอ ความ กรุณา ทาน อาจารย ยก ตัวอยาง เร่ือง ราว ใน สมัย พุทธกาลที่กลาวถึงการกระทำทางใจท่ีใหผลมาก คือเพียงคิด (และยัง ไมไดกระทำ) ก็ทำใหผูคิดไดรับผลอยางแรง ท้ังท่ีเปนผลดีและช่ัวดวย นะคะ กราบขอบพระคุณอยา งสงู คะ ตอบ มีพระพุทธภาษิตบทหนึ่งท่ีตรัสกับพระจุนทะนองชายของ พระสารีบุตรวา “ดุกอนจุนทะ เพียงแตคิดจะทำความดีก็ดีมากแลว ไมต อ งกลา วถงึ วา จะทำดว ยกายหรอื ดว ยวาจา ในอรรถกถาธรรมบทเลา ถึงชายคนหน่ึงช่ือ มัฏฐกุณฑลี เปนลูกชายเศรษฐี แตพอข้ีเหนียวมาก ลูกปวยหนักไมยอมรักษาดวยหมอ แตเที่ยวถามชาวบานวา คนปวย อยางน้ีควรจะทานยาอะไร เมื่อลูกปวยหนักมากก็ยกมาไวที่นอกชาน พระพุทธเจาเสด็จไปโปรด ฉายพระรัศมีใหเห็น เขาเห็นพระรัศมีแลว เกดิ ความเลอ่ื มใสในพระพทุ ธเจา ตายไปเกดิ เปน เทพบตุ ร นเี่ ปน ตวั อยา ง หน่งึ ทเ่ี พยี งคดิ ดว ยใจกไ็ ดบุญมากแลว ในอรรถกถาธรรมบทเชนเดียวกัน เลาไววา ลูกชายเศรษฐีคน หนง่ึ ชอ่ื โสไรยะ นงั่ ยานนอ ยไปอาบนำ้ ทที่ า นำ้ ไดเ หน็ พระมหากจั จายนะ ผวิ พรรณงาม คดิ วา ถา ภรรยาของเราสวยเชน นกี้ จ็ ะดี เพยี งคดิ เทา นี้ เพศ ของเขาเปล่ียนเปนหญิง เขารูสึกละอายจึงเดินทางไปอยูเมืองอ่ืน ได แตงงานท่ีเมืองนั้นอีกคร้ังหนึ่ง มีลูก ๒ คน เดิมทีเดียวเม่ือเปนชายก็มี ลูกอยู ๒ คนแลว ตอมาพระมหากัจจายนะไดไปท่เี มอื งน้นั เขาไดม าขอ ขมาคอื ขอโทษ เมอื่ พระเถระใหอ ภยั แลว เพศของเขาไดก ลบั เปน ชายอกี เขารสู ึกสลดใจ จงึ ขอบวชกับพระเถระ ตอมาไดส ำเรจ็ เปน พระอรหนั ต เร่อื งทช่ี ายกลบั เพศเปน หญงิ และหญงิ กลับเพศเปนชายนี้ เคย ไดย นิ ไดฟ ง และเคยอา นในหนงั สอื บางเลม วา มอี ยหู ลายรายในยโุ รป ใน พวกสตั วเ ชน ไกเ ปน ตน กม็ เี หมอื นกนั เสยี ดายทมี่ ไิ ดบ นั ทกึ ไว หากไดจ ด

สนทนาธรรมกบั อ.วศิน อินทสระ ๑1๗75๓ บันทึกไวและนำมาผนวกรวมไวกับเร่ืองน้ี นาจะเปนทางพิจารณาอันดี สำหรบั ทานผูอา นทส่ี นใจ คำถามที่ ๑,๐๘๓ อุทเทส และวิภังค คืออะไรคะ เปนพระสูตรหรืออรรถกถา มี ใจความสำคัญวาอยางไรคะ ตอบ อุทเทส คือ บทต้ัง, วิภังค คือ บทขยาย จำแนกใหละเอยี ดออก ไป เชน “ภิกษุท้ังหลาย สติปฏ ฐานมี ๔ ประการ” อันนี้เปน อทุ เทส หลัง จากนนั้ เปน คำอธบิ ายเปน วภิ งั ค คอื สว นจำแนกแจกแจงใหล ะเอยี ดออก ไป ในคมั ภรี ว ิภงั คมกี ารจำแนกธรรมจำนวนมาก เชน สจั จะวิภังค ธาตุ วิภงั ค เปน ตน เปนพระไตรปฎ ก คำถามท่ี ๑,๐๘๔ ขออนุญาตกราบเรียนถามดวยความ เคารพอยางสูงเพื่อจะไดจดจำไวเปนแบบ อยา งวา ทา นอาจารยว ศนิ มปี รกตเิ จรญิ ภาวนา อยางไรคะ กราบขอบพระคณุ คะ ตอบ เจริญสมถภาวนาบา ง วิปสสนาภาวนา บา ง ตามควรแกเหตุและโอกาสนนั้ ๆ

๑1๗76๔ สนทนาธรรมกับ อ.วศิน อนิ ทสระ คำถามที่ ๑,๐๘๕ พระสงฆควรบอกหรือประกาศแกใครหรือไมคะ วาตัวเองน้ี บรรลอุ รหันตแ ลว? ตัดกเิ ลสสิ้นแลว ตอบ บอกแกพระดวยกันได แตบอกแกคฤหัสถหรือฆราวาสไมได แมแ กสามเณรกไ็ มได แตถ า ฆราวาสเปน ผูบรรลบุ อกแกใครก็ไดไ มเ ปน อาบตั ิ เพราะไมมีอาบัตสิ ำหรบั ฆราวาส คำถามที่ ๑,๐๘๖ กราบเรียนถามขอสงสัยจากอาจารยวา...ตองอธิษฐานจิต ขอในกุศลทีตนสรางทุกครั้ง รึปลาวคะ ถาผลเกิดจากเหตุแลวเราไม อธษิ ฐานขอในสง่ิ ทห่ี วัง เราก็จะไดผ ลน้นั อยูแลว ใชไ หมคะ ตอบ ไดตามเหตุอยูแลวเชนเราปลูกขาวก็ไดขาว ปลูกมะมวงก็ได มะมวง แตถาอธิษฐานใหไ ดเปน อยางอนื่ กท็ ำได โดยวิธเี อามะมวงหรือ ขา วไปขายแลวซื้อสิ่งทตี่ อ งการ เชน ซ้ือบาน ซ้อื รถ เปนตน คำถามท่ี ๑,๐๘๗ ขอ ความ กรุณา ทาน อาจารย บอก คาถาใหจิตใจไมหวั่นไหวตอโลกธรรม ทัง้ ๘ ดว ยนะคะ

สนทนาธรรมกบั อ.วศิน อินทสระ ๑1๗77๕ ตอบ จะเอาภาษาไทยหรอื ภาษาบาลี ถา ภาษาไทยกง็ า ยกวา เชน วา ลาภ ยศ สรรเสรญิ สขุ เส่อื มลาภ เส่ือมยศ นินทา ทกุ ข ลว นเปนของไม เที่ยง มีความแปรปรวนเปน ธรรมดา ลาโภ อลาโภ อยโส ยโส จ นินทฺ า ปสํสา จ สุขํ จ ทกุ ฺขํ เอเต อนจิ จฺ า มนุเชสุ ธมมฺ า คำถามที่ ๑,๐๘๘ มีพระพุทธพจนใดกลาวถึงโทษของการทำงานหนัก หรือมี ภาระงานมากเกินไปบา งไหมคะ และทานอาจารยม ีวธิ ีทำใจอยา งไรให สามารถอยูกบั งานประจำวนั ท่ชี อบบา ง ไมชอบบา ง ไดอยา งเปนสขุ คะ ตอบ มีขอความใน กรณียเมตตสูตร ตรัสถึงคุณสมบัติของผูท่ีจะถึง สันตบท(ทางของผูสงบ) ไวหลายประการ ในหลายประการนั้น มีอยู ๒ ประการที่วา อปฺปกจิ ฺโจ เปน ผูมีกิจนอ ย มีธรุ ะนอ ย สลฺลหกุ วุตตฺ ิ เปน ผูประพฤติตนเบากายเบาจิต คือไมมีเรื่องหนักกายหนักใจ พระพุทธ ดำรัสตรัสสอนน้ี ก็บอกอยูแลววาไมใหทำงานหนักเกินไป อันเปนเหตุ ใหทุกขกายไมสบายใจ คนสมัยน้ีทำงานหนักเกินไป ทำใหเสียสุขภาพ กายสุขภาพจิต เกี่ยวกับระบบงานดวย องคกรตองการใหไดผลงาน มาก โดยไมนกึ ถึงความเดอื ดรอ นของผูทำงาน เหมือนใชว วั ลากเกวยี น ที่หนักเกินไป ฯลฯ สำหรับงานท่ีชอบบางไมชอบบางก็ทำใจวามันเปน หนาที่ที่จะตองทำ ใหเลือกทำงานที่ไมชอบเสียกอนแลวคอยทำงานท่ี ชอบภายหลัง

๑๐๐ ถ.ประโคนชยั ต.ปากน้ำ อ.เมือง จ.สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทร. ๐๒-๗๐๒๗๓๕๓, ๐๒-๗๐๒๙๖๒๔ โทรสาร ๐๒-๗๐๒๗๓๕๓, ๐๒-๒๒๖๓๘๐๗ www.kanlayanatam.com สพั พทานงั ธัมมทานัง ชินาติ การใหธ็ รรมะเปน ทาน ยอ มชนะการใหท ง้ั ปวง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook