Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore putatadkonkai.book_198

putatadkonkai.book_198

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-03 07:26:49

Description: putatadkonkai.book_198

Search

Read the Text Version

บั น ทึ ก จ า ก แ พ ท ย์ ผู้ ถ ว า ย ก า ร รั ก ษ า ท่านอาจารย์ คนไข้ที่ผมได้รู้จัก นพ. นิธพิ ฒั น์ เจียรกลุ



บั น ทึ ก จ า ก แ พ ท ย์ ผู้ ถ ว า ย ก า ร รั ก ษ า นพ. นธิ พิ ฒั น์ เจยี รกุล อรศรี งามวิทยาพงศ ์ บรรณาธกิ าร-เรียบเรยี ง

นพ. นธิ พิ ัฒน์ เจียรกุล อรศร ี งามวิทยาพงศ ์ บรรณาธกิ าร-เรียบเรียง ชมรมกัลยาณธรรม หนงั สือดีล�ำดับท่ ี ๑ ๙ ๘ พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๕ มถิ ุนายน ๒๕๕๕   จำ� นวนพมิ พ ์  ๘,๐๐๐ เลม่ จดั พมิ พโ์ ดย ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั  ตำ� บลปากนำ้�   อำ� เภอเมอื ง จังหวดั สมุทรปราการ ๑๐๒๗๐   โทรศพั ท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ภาพลายเส้นพกู่ นั  หมอนไม ้    จดั รปู เลม่  คนข้างหลงั    ช่วยแกค้ �ำ อะต้อม   พสิ จู นอ์ กั ษร หะน ู    เพลต Canna Graphic โทรศพั ท ์ ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑ พมิ พโ์ ดย บริษัทขมุ ทองอตุ สาหกรรมและการพมิ พ์ จ�ำกัด   โทรศพั ท ์ ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓ สัพพทานงั ธมั มทานัง ชินาติ การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ท้งั ปวง w w w . k a n l a y a n a t a m . c o m

ขอมอบเป็นธรรมบรรณาการ แด่ จาก

ค�ำนำ� ของชมรมกลั ยาณธรรม ไม่มีใครไม่รู้จักนาม “ท่านพุทธทาส” หรือ พระ  ธรรมโกศาจารย์ (เง่ือม อินทฺปัญฺโญ) พวกเราส่วนใหญ่  ทราบวา่ ทา่ น คอื ปราชญท์ างธรรมทโี่ ลกยกยอ่ ง ธรรมของ  ทา่ นเปน็ ตน้ แบบและแนวทางทปี่ ราชญช์ น้ั ตา่ งๆ หยบิ ยก  มาเปน็ ธรรมทอ่ี า้ งองิ  สว่ นวถิ แี หง่ ปราชญท์ ที่ า่ นเปน็ แบบ  อยา่ งจวบจนวาระสดุ ท้าย ก็เป็นอีกบรบิ ทท่ีชวนศึกษา บันทึกของนายแพทย์ผู้ถวายการรักษาเล่มน ี้ เกิด  จากธรรมทที่ า่ นแสดงในวาระสดุ ทา้ ย โดยอาศยั สจั ธรรม  จากชวี ติ ทก่ี ำ� ลงั จากพรากเปน็ องคแ์ สดง เราทกุ คนตา่ งม ี ชีวิตอยู่เพ่ือตายให้เป็น วันสุดท้าย คือบทสรุปของชีวิต  ทกุ ชวี ติ  ทา่ นสอนให ้ ตายเสยี กอ่ นตาย และทา่ นไดท้ �ำให้  ดเู ปน็ ตวั อยา่ ง น่คี ือวถิ แี หง่ ปราชญ์โดยแท้

5 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล ชมรมกลั ยาณธรรมขอขอบคณุ นายแพทยน์ ธิ พิ ฒั น์  เจียรกุล ที่กรุณาอนุญาตให้ชมรมฯ จัดพิมพ์หนังสืออัน  ทรงคณุ คา่  “ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาส : คนไขท้ ผ่ี มรจู้ กั  บนั ทกึ จากแพทยผ์ ถู้ วายการรกั ษา” เลม่ น ี้ จากบนั ทกึ การรกั ษา  ของแพทยผ์ เู้ ปย่ี มศรทั ธา ในธรรมแหง่ ชวี ติ ทท่ี า่ นพทุ ธทาส  แสดงใหด้  ู เปน็ อยใู่ หเ้ หน็  ทำ� ใหพ้ วกเราไดเ้ หน็ ภาพเดน่ ชดั   ถงึ หว้ งเวลาทส่ี ำ� คญั ของปราชญ ์ มคี ณุ คา่ แหง่ มรณานสุ ติ  และแกน่ ธรรมอนั สาธชุ นควรตระหนกั ใครค่ รวญ รวมทงั้   ความซาบซึ้งสะเทือนใจในความผูกพันอาลัยอย่างเล่ียง  ไม่ได้ ขอขอบคุณทีมงานและศลิ ปินวาดภาพทต่ี ัง้ ใจนอ้ ม  ถวายธรรมทานน้ีเป็นพุทธบูชา ด้วยศรัทธาอันบริสุทธ์ ิ ขอนอบนอ้ มบชู าบญุ กศุ ล แดท่ า่ นพทุ ธทาส และขอพระ  สทั ธรรมจงรุ่งเรอื งในใจสรรพสัตวต์ ราบนานเท่านาน น้อมกราบด้วยเศยี รเกล้า ทพญ. อจั ฉรา กล่นิ สวุ รรณ์ ประธานชมรมกลั ยาณธรรม

คำ� น�ำ คณุ หมอนธิ พิ ฒั น ์ เจยี รกลุ  เปน็ แพทยห์ นมุ่ ทคี่ ณะ  แพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล สง่ ไปถวายการรกั ษาทา่ น  อาจารยพ์ ทุ ธทาส ทสี่ วนโมกขพลาราม เมอ่ื เดอื นตลุ าคม  พ.ศ. ๒๕๓๔ เมอ่ื คราวทา่ นอาพาธดว้ ยโรคหวั ใจลม้ เหลว  มอี าการหอบเหนอื่ ย หมอนธิ พิ ฒั นเ์ ปน็ อาจารยใ์ นสาขาวชิ า  ทวี่ า่ ดว้ ยโรคทางปอด ในชว่ งแรกทที่ า่ นอาพาธยงั ไมท่ ราบ  แน่ว่าท่านเป็นโรคปอดหรือทางหัวใจ เมื่อท่านอาจารย ์ สบายดีแล้ว เขาก็ยังเดินทางลงไปเย่ียมท่านอาจารย์ทุก  เดือน ฉะน้ันต่อมาเมื่อท่านอาจารย์อาพาธด้วยเรื่องอื่น  อนั ไมใ่ ชโ่ รคปอด หมอนธิ พิ ฒั นก์ ย็ งั ตดิ ตามถวายการรกั ษา  โดยใกล้ชิด จวบจนปัจฉิมอาพาธ และได้อยู่ด้วยขณะท ่ี ทา่ นอาจารยส์ ้ินใจ 

7 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล ผมได้สังเกตเห็นว่า คุณหมอนิธิพัฒน์เป็นผู้ท่ีมี  ความจรงิ ใจสภุ าพและนอบนอ้ มถอ่ มตน ไมม่ เี ลห่ เ์ หลย่ี ม  หรอื มลี กั ษณะหลอกลวงดว้ ยความเหน็ แกต่ วั แตป่ ระการ  ใดๆ  ในการเขยี นบนั ทกึ เรอื่ งนก้ี ม็ ไิ ดท้ ำ� ดว้ ยความอยากดงั   แต่ถูกเร่งเร้าโดยคุณอรศรี งามวิทยาพงศ์ อาจจะโดย  คนอื่นอีกบ้างท่ีใกล้ชิดกับสวนโมกข์ บันทึกเรื่องนี้ม ี ประโยชน์สามอยา่ งคอื   ๑. ทำ� ใหท้ ราบรายละเอยี ดของการอาพาธของทา่ น  อาจารยพ์ ทุ ธทาสจากแพทยผ์ ถู้ วายการรกั ษาใกลช้ ดิ  และ  ถ้าใครอ่านให้ละเอียดจากหลายแหล่งก็จะปะติดปะต่อ  ให้เหน็ อะไรตอ่ อะไรหลายอยา่ งในทางการแพทย์ ๒. การปรารภธรรมของท่านอาจารย์พุทธทาสที่ หมอได้ยนิ ด้วยตัวเอง  ๓. การเปลย่ี นแปลงภายใน (Internalization) ของ  แพทยค์ นหน่ึง

8 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก คุณหมอนิธิพัฒน์เริ่มต้นจากการท่ีไม่รู้จักท่าน  อาจารย์เลย และเห็นว่าเป็นคนไข้ท่ีแปลกกว่าคนอ่ืนๆ  ที่เคยรักษามาทั้งหมด ต่อมาได้สนใจและเรียนรู้ธรรมะ  จากท่านทั้งทางตรงและทางอ้อม จนกระท่ังยอมรับว่า  ไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั การเจบ็ ปว่ ย และการตายของมนษุ ยใ์ น  ทัศนะที่ไม่เคยมีการเรียนการสอนกันเลยในระบบการ  ผลติ แพทย์แผนปจั จบุ ัน น่เี ปน็ เรือ่ งทีม่ ีความสำ� คญั ย่ิงนกั การท่คี นคนหน่งึ ไดเ้ รียนรมู้ ีความสำ� คญั ยิ่งนกั   จะยกตวั อยา่ งเพอื่ ใหเ้ หน็ ชดั เจน การทพี่ ระพทุ ธองค์  ไดเ้ รยี นรมู้ คี วามสำ� คญั ยงิ่ นกั  การทท่ี า่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาส  ได้เรียนรู้มีความส�ำคัญยิ่งนัก การที่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง  ได้เรยี นร้มู ีความส�ำคัญยิ่งนัก เพราะมนษุ ยเ์ รยี นรไู้ ดย้ ากโดยเฉพาะคนทม่ี คี วามรู้ การมคี วามรู้กับการเรียนรู ้ ไม่เหมอื นกัน  การที่โลกล�ำบากอยู่ทุกวันนี้ เพราะคนมีความรู้  ไมเ่ รยี นรู้

9 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล ที่เรียกว่าความรู้น้ันท่ีจริงเป็น “ศาสตร์” หรือ  ศาสตราคืออาวธุ หรือเทคนคิ วิธีเท่านัน้  ในความเป็นจริง  มีมนุษย์ซ่ึงมีทั้งกายและใจ สังคม และส่ิงแวดล้อมท ่ี เชื่อมโยงกันสลับซับซ้อน และเคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลง  ความจริงหรือความเป็นจริงอันเกี่ยวกับมนุษย์ สังคม  และสง่ิ แวดลอ้ ม มคี วามจำ� เพาะในกาละสถาน (Space-  Time) จงึ กลา่ วไดว้ า่  จะไมเ่ หมอื นกนั เลย ณ จดุ ใดจดุ หนง่ึ   ของกาลเวลาหรือสถานท่ี มนุษย์ต้องสามารถเรียนรู้ได ้ ตลอดเวลาจงึ จะรคู้ วามจรงิ  เมอื่ รคู้ วามจรงิ จงึ ทำ� ไดถ้ กู ตอ้ ง  ฉะนนั้ ทเ่ี รยี กวา่ มคี วามร ู้ แตไ่ มเ่ รยี นร ู้ จงึ หา่ งไกลความจรงิ   ย่ิงนัก เมื่อห่างไกลจากความจริง ก็ห่างไกลจากความ  ถูกตอ้ ง และห่างไกลจากความดี  การทจี่ ะเรยี นรไู้ ดต้ อ้ งลดละอหงั การ ถา้ อหงั การสงู   ก็เรียนรู้ไม่ได้ เหมือนที่ว่า “น้�ำชาล้นแก้ว” มันเติมอีก  ไมไ่ ดแ้ ลว้  ถา้ ยกหชู หู างวา่ ฉนั รแู้ ลว้ ๆ ฉนั เกง่ แลว้ ๆ ทา่ น  อาจารยพ์ ทุ ธทาสทา่ นเปน็ บคุ คลเรยี นร้ ู นแ่ี หละเคลด็ ลบั   ของการมศี กั ยภาพ ทา่ นเรยี นรจู้ ากทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งทกุ ขณะ  ความเจ็บไข้แต่ละครั้งท่านกล่าวว่าท�ำให้ท่านฉลาดขึ้น  รอบๆ กฏุ ทิ า่ นมสี นุ ขั  มไี ก ่ มปี ลา ทา่ นวา่ สตั วเ์ หลา่ น ี้ มนั  

10 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ี่ ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก เป็นครทู า่ นทง้ั สน้ิ  ทา่ นไดเ้ รียนรจู้ ากสัตว์เหลา่ น้ี แลว้ ทำ� ไมหมอจะเรยี นร้จู ากคนไขแ้ ต่ละคนไม่ได้  ถ้าหมอสามารถเรยี นรู้จากคนไขแ้ ต่ละคนได ้ โลก  จะเปลีย่ นไป เพราะหมอเปน็ ผมู้ อี ิทธิพลตอ่ สงั คมมาก  การเรยี นรจู้ งึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งเลก็  แตเ่ ปน็ เรอื่ งใหญ ่ หวงั วา่   หนงั สอื เลม่ เลก็ ๆ โดยหมอเลก็ ๆ คนหนงึ่  จะสอื่ เรอ่ื งใหญ่  แกห่ มอและแกบ่ คุ คลทวั่ ไป เพอื่ ประโยชนต์ อ่ ตวั ทา่ นเอง  และตอ่ โลก นพ. ประเวศ วะสี

คำ� นำ� บรรณาธกิ าร เร่ืองราวเก่ียวกับท่านอาจารย์พุทธทาสน้ัน ได้มี  ผเู้ ขยี นถงึ ไวเ้ ปน็ จำ� นวนมาก ในแงม่ มุ ทห่ี ลากหลาย ทง้ั ใน  รปู ของหนงั สอื  บทความ สารคด ี บทรายงาน ฯลฯ โดยท ่ี แต่ละมุมมองของเร่ืองราวที่เขียนน้ัน ได้ช่วยให้ผู้อ่ืนได ้ รู้จักท่านอาจารย์พุทธทาสมากข้ึน ว่าท่านเป็นนักปฏิรูป  การพระศาสนา เปน็ นกั คดิ  เปน็ นกั เผยแผธ่ รรม ฯลฯ ที ่ ยงิ่ ใหญแ่ หง่ ยคุ สมยั อยา่ งไร แตใ่ นบรรดางานเขยี นทท่ี า่ น  ผ่านมาน้ัน ดูว่าจะยังไม่เคยมีการเขียนท่านอาจารย์ใน  ฐานะของ “คนไข้” เลย ท้ังๆ ท่มี มุ มองดงั กลา่ วสามารถ  สะทอ้ นความเปน็  “พทุ ธทาสภกิ ข”ุ  ไดด้ อี ยา่ งยง่ิ  เพราะ  ในยามทท่ี า่ นอาจารยต์ อ้ งเผชญิ กบั ความเจบ็ ไขอ้ นั รนุ แรง 

12 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก หรือแม้ในยามที่ชีวิตหมิ่นเหม่กับความตายน้ัน ท่านก ็ ยงั คงความเปน็  “พทุ ธทาส” ผกู้ า้ วเดนิ ตามรอยบาทแหง่   พระบรมศาสดาอยา่ งหนกั แนน่ มน่ั คง โดยไมม่ สี ง่ิ ใดๆ ท ี่ จะมาขัดขวางการเป็นผู้ปฏิบัติในทุกๆ ขณะจิตของท่าน  ได้เลย ไม่ว่าจะเป็นความเจ็บไข้หรือความตาย อันเป็น  ทกุ ขท์ ีแ่ สนสาหัสของมนุษยโ์ ดยทัว่ ไปกต็ าม ท่านอาจารย์พุทธทาส : คนไข้ท่ีผมได้รู้จัก เป็น  บนั ทกึ สนั้ ๆ ของแพทยร์ นุ่ ใหมค่ อื  นพ. นธิ พิ ฒั น ์ เจยี รกลุ   หนงึ่ ในคณะแพทยท์ ถี่ วายการรกั ษาอาการอาพาธ ตง้ั แต ่ คร้ังอาพาธหนักในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ จนกระท่ังถึงปัจฉิม  อาพาธและการมรณะของทา่ นอาจารยเ์ มอื่ วนั ท ี่ ๘ กรกฎา-  คม ๒๕๓๖ ที่ผ่านมา ผู้เขียนได้เล่าถึงส่ิงที่ตนเองได้  เรียนรู้จากท่านอาจารย์พุทธทาสในขณะท่ีมาถวายการ  รักษาท่าน แม้จะเป็นช่วงเวลาที่ไม่นานนัก แต่ประสบ  การณด์ งั กลา่ วกม็ คี ณุ คา่ ในเชงิ ความคดิ แกผ่ บู้ นั ทกึ เรอ่ื งราว  เอง และมีประเด็นทน่ี ่าสนใจใครค่ รวญไม่น้อยแกบ่ ุคคล  ทั่วไปด้วย ส�ำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทองจึงได้จัดพิมพ ์ ขึ้นเผยแพร่แกบ่ คุ คลท่วั ไป

13 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล อนั ทจ่ี รงิ แลว้ หนงั สอื เลม่ นเี้ กดิ ขน้ึ ดว้ ยความบงั เอญิ   แต่ในข้ันตอนของการจัดท�ำให้ส�ำเร็จนั้น เกิดข้ึนด้วย  ความต้ังใจเป็นอย่างย่ิงของผู้เกี่ยวข้องท้ังหมด กล่าวคือ  เรม่ิ จากความบงั เอญิ ทบี่ รรณาธกิ ารไดส้ นทนากบั นายแพทย์  นิธิพัฒน์ถึงการเรียนรู้ที่ได้รับจากการถวายการรักษา  อาการอาพาธท่านอาจารย์พุทธทาส แล้วเห็นว่าสิ่งที่ได้  รบั ฟงั นน้ั มสี าระประโยชนค์ วรแกก่ ารเผยแพร ่ จงึ ไดช้ กั ชวน  ให้นายแพทย์นิธิพัฒน์ถ่ายทอดเร่ืองราวดังกล่าวออกมา  เปน็ ตวั หนงั สอื  ในตอนแรกนน้ั ดวู า่ เจา้ ของเรอ่ื งจะลงั เลใจ  อยู่ไม่น้อย เพราะไม่ถนัดกับงานเขียนแบบน้ีนัก แต ่ เม่ือให้เหตุผลว่า หนังสือเล่มน้ีจะจัดพิมพ์เพื่อถวายเป็น  อาจริยบูชาแด่ท่านอาจารย์พุทธทาส และจะมีการพิมพ ์ แจกเป็นธรรมทานด้วย เม่ือมีการฌาปนกิจศพของ  ท่านอาจารย์ เม่ือให้เหตุผลดังกล่าวแล้วก็ดูจะมิต้อง  คะยั้นคะยออะไรกันอีกเลย เพราะผู้เขียนได้เริ่มบันทึก  เร่ืองราวด้วยความตั้งอกตั้งใจ แม้ว่าจวนเจียนกับเวลา  ท่ีตนเองจะต้องไปศึกษาต่อ และท�ำวิจัยในต่างประเทศ  มากขน้ึ ทกุ ท ี และเมอื่ เขยี นเสรจ็ แลว้ กย็ งั ใหเ้ วลาแกบ่ รรณา-  ธกิ ารในการสนทนาเพอ่ื เรยี บเรยี งตน้ ฉบบั  รวมทง้ั ตรวจ  ทานความถกู ตอ้ งในเนอื้ หาอยอู่ กี สองรอบ กอ่ นหนา้ การ 

14 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ี่ ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก เดินทางไปต่างประเทศเพียง ๓-๔ วันเท่าน้ัน ในส่วนของการจัดพิมพ์น้ัน มูลนิธิโกมลคีมทอง  เห็นว่าหนังสือเล่มน้ีแม้จะมีเน้ือหาไม่ยาวนัก แต่ก็มี  สาระในแงม่ มุ ใหมเ่ กยี่ วกบั ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาส เพอ่ื ให้  ผู้อ่านได้เห็นถึงแบบอย่างแห่งความเป็นนักคิดที่ไม่เคย  แยกออกจากการเปน็ นกั ปฏบิ ตั ใิ นทกุ ๆ สถานการณ ์ ไมว่ า่   สภาวะจะบีบเค้นให้เกิดความทุกข์เข็ญเพียงใดก็ตาม  นอกจากนี้หนังสือเล่มน้ียังเป็นเร่ืองราวที่เกิดข้ึนจาก  การเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่คนหนึ่ง ซึ่งแม้จะมีสถานภาพ  เปน็ อาจารยแ์ พทยใ์ นสถาบนั การศกึ ษาแพทยศาสตรช์ นั้   แนวหนา้ ของประเทศ แตก่ ย็ งั มคี วามออ่ นนอ้ ม สนใจการ  เรยี นรสู้ งิ่ ทตี่ นเองพบ แมว้ า่ สงิ่ นนั้ จะตรงขา้ มกบั ทศั นะเดมิ   ของตนเอง ทา่ ทแี หง่ การเรยี นรนู้ ยี้ อ่ มเปน็ สง่ิ ทค่ี วรเผยแพร ่ และสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ขนึ้ ในสงั คมของเราใหม้ ากยงิ่ ๆ ขน้ึ ไป  เพ่ือหว่านเพาะวัฒนธรรมแห่งปัญญาให้งอกงามขึ้นมา  ตามปฏิปทาที่ท่านอาจารย์พุทธทาสได้ด�ำเนินมาตลอด  ชวี ิตแห่งท่าน

15 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล ด้วยความตั้งใจและประสานใจร่วมกันของคณะ  ผจู้ ดั ทำ�  และของมลู นธิ โิ กมลคมี ทองดงั กลา่ ว หนงั สอื เลม่ น ้ี จึงส�ำเร็จลงในเวลาอันรวดเร็ว แรงบันดาลใจที่ส�ำคัญคือ  ความตั้งใจที่จะถวายหนังสือเล่มน้อยน้ีเป็นอาจริยบูชา  แด่ท่านอาจารย์พุทธทาสมหาเถระ เพ่ือแสดงความรู้สึก  ซงึ่ เปย่ี มดว้ ยความเคารพบชู าอนั สงู สดุ  พรอ้ มดว้ ยความ  สำ� นกึ ในคณุ ปู การอนั หาทสี่ ดุ ไมไ่ ดข้ องทา่ นอาจารย์ และ  ด้วยจิตอันแน่วแน่ท่ีจะปฏิบัติบูชา โดยการเผยแผ่ธรรม  ตามปณิธานของท่านอาจารย์อย่างต่อเนื่องตามก�ำลัง  สตปิ ัญญาของแตล่ ะคนต่อไป แมว้ า่ วนั หนงึ่ รปู ธรรมขององคท์ า่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาส  จะคงไว้แต่เพียงอัฐิและเถ้า แต่ด้วยการร่วมแรงร่วมใจ  ของผอู้ ยหู่ ลงั  เราเชอื่ วา่  “พทุ ธทาสธรรม” จะดำ� รงอยโู่ ดย  ไมร่ จู้ กั ตาย เพอ่ื ชว่ ยดบั ทกุ ขใ์ หแ้ กช่ นรว่ มสมยั และอนชุ น  ร่นุ หลังสบื ไปอกี นานเท่านาน อรศร ี งามวิทยาพงศ์ กนั ยายน ๒๕๓๖



สารบญั ๑๘ บทน�ำ ๒๑ ๑. ราชการด่วนกับ “ผู้ปว่ ยพเิ ศษ” ๔๑ ๒. เจตนารมณท์ ีแ่ จม่ ชดั ๕๙ ๓. การจา่ ยยาที่ผู้ปว่ ยไมย่ อมรบั ๗๑ ๔. ประสานกายกบั จติ ๗๙ ๕. ธรรมชาติชว่ ยรักษา ๙๓ ๖. ก่อนปัจฉิมอาพาธ ๑๐๑ ๗. วาระวกิ ฤต ๑๑๓ ๘. สิบสามชว่ั โมงสดุ ท้าย ๑๒๑ บทสง่ ทา้ ย

บทน�ำ ตลอดระยะเวลาเกือบ ๑๐ ปีของการเป็นแพทย์  ในระบบการแพทย์แผนปัจจุบันที่หย่ังรากลึกในสังคม  ไทยมานานกว่า ๑ ศตวรรษ ผมได้พบประสบกับคนไข ้ จ�ำนวนมากในหลายๆ รูปแบบท่ีท�ำให้ผมเกิดการเรียนรู้  มากข้ึนตามล�ำดบั แต่คงจะไม่มีช่วงเวลาใดเปรียบเทียบได้กับระยะ  เวลา ๒๐ เดือนที่ผมได้มีโอกาสถวายการรักษาอาการ  อาพาธของท่านอาจารย์พุทธทาส อินทปัญโญ อย่าง  ตอ่ เนือ่ ง จนกระทั่งวาระสดุ ท้ายของท่าน ผมเรมิ่ ตน้ ความสมั พนั ธก์ บั ทา่ นในฐานะแพทยก์ บั   คนไข้ตามภาระหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายจากผู้บังคับ  บัญชา แล้วจึงคลี่คลายมาตามล�ำดับ จากการได้เรียนรู ้

ทัศนะอีกแบบหน่ึงของท่าน ในเร่ืองของความเจ็บป่วย  และการตายของมนุษย์ ซ่ึงผมอาจจะเคยได้รับทราบ  มาบา้ ง แตก่ อ็ ยา่ งผวิ เผนิ เตม็ ท ี เพราะเปน็ ทศั นะทย่ี งั ไมม่  ี การเรียนการสอนกันมาก่อนในระบบการผลิตแพทย ์ แผนปจั จบุ นั  ในทา้ ยสดุ ความสมั พนั ธต์ ามหนา้ ทจ่ี งึ ไดก้ อ่   รปู เปน็ ความผกู พนั พเิ ศษ ซง่ึ ไมเ่ คยเกดิ ขนึ้ กบั ผมมากอ่ น ผมอยากจะบันทึกเร่ืองเล่าน้ีไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์  แหง่ ความเคารพและระลกึ ถงึ ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาสภกิ ข ุ ผเู้ ปน็ ทม่ี าแหง่ การเรยี นรเู้ หลา่ น ี้ และเพอื่ ประโยชนท์ อ่ี าจ  จะมีกบั ท่านผอู้ า่ นไมม่ ากกน็ ้อย… นธิ ิพัฒน ์ เจยี รกุล



๑ ราชการดว่ นกบั “ผ้ปู ่วยพเิ ศษ” “พทุ ธทาสภกิ ข ุ และ สวนโมกข์” ผมเคยรู้จักสองค�ำน้ีมาก่อนจากข่าว  หนงั สอื พมิ พ์ วทิ ย ุ โทรทศั น์ และจาก  หนังสือธรรมะ ๒-๓ เล่มของ “พุทธ- ทาสภิกขุ” ซ่ึงผมเคยซ้ืออ่านในสมัย  เรยี นหนงั สอื และเมอ่ื เรม่ิ ทำ� งาน เพราะ  ความสนใจใครร่ ใู้ นความคดิ ของบคุ คล  ซ่ึงได้รับการยกย่องว่า “นักคิด” คน  สำ� คญั  ผมจำ� ไดว้ า่ อา่ นหนงั สอื ของทา่ น 

22 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก เขา้ ใจไมม่ ากนกั  แมจ้ ะมบี างประเดน็ ทเี่ ขา้ ใจและเหน็   ด้วยกับความคิดของท่าน แต่ก็เป็นความเข้าใจอย่าง  ผิวเผนิ ทไี่ มน่ านนกั กล็ มื และผา่ นเลยไป ผมกลับมารู้จักและสัมผัสกับ “พุทธทาสภิกขุ” อกี ครง้ั  คราวนอ้ี ยา่ งใกลช้ ดิ  แตม่ ใิ ชใ่ นฐานะของผอู้ า่ น  หนงั สอื ธรรมะ หากในฐานะของแพทยผ์ ถู้ วายการรกั ษา  อาการอาพาธของทา่ น ตง้ั แตว่ นั ท ี่ ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๓๔  จนกระทั่งถงึ วันท ่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๓๖ บา่ ย ๓ โมงของวนั จนั ทรท์  ่ี ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๓๔  ขณะทผ่ี มกำ� ลงั ตรวจเยย่ี มคนไขต้ ามปกตนิ น้ั  กม็ โี ทร-  ศพั ท์จากอาจารยป์ ระพาฬ ยงใจยทุ ธ ซ่งึ เป็นหวั หนา้   ภาควิชาอายรุ ศาสตรม์ าถงึ ผม ท่านถามวา่ “นธิ พิ ฒั น์ คณุ วา่ งไหม มีราชการดว่ นให้ทำ� ” ผมรู้สึกงงๆ เพราะย้ายมาอยู่ศิริราชครึ่งปีแล้ว  ยงั ไมเ่ คยปรากฏวา่ มรี าชการดว่ นอะไรเลย ทา่ นบอกวา่  

23 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล เปน็ ราชการในพระองคท์ ว่ี ดั สวนโมกข ์ จงั หวดั สรุ าษฎร-์   ธาน ี เนอ่ื งจากทางคณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล  ไดร้ บั แจง้ วา่  ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาสอาพาธตง้ั แต ่ ๓ วนั   ท่ีแล้ว แพทย์จากโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีซ่ึงตรวจ  อาการเบอื้ งตน้ วนิ จิ ฉยั วา่  ทา่ นมภี าวะปอดอกั เสบและ  มีอาการทรุดลงมาก ศ. นพ. ประดิษฐ์ เจริญไทยทวี  คณบดี (ในขณะน้ัน) จึงมีค�ำสั่งให้ผมลงไปรับท่าน  อาจารยพ์ ทุ ธทาสขน้ึ มากรงุ เทพฯ เพอื่ เขา้ รบั การถวาย  การรักษาท่โี รงพยาบาลศริ ิราช ความเข้าใจตอนแรกของผมกับภารกิจคราวน ี้ คอื  ลงไปรบั ทา่ นอาจารยข์ น้ึ กรงุ เทพฯ และคอยถวาย  การดูแลในระหว่างการเดินทาง จึงไม่ได้รู้สึกหนักใจ  หรอื คาดเดาไปไดว้ า่ ตนเองกำ� ลงั จะไปพบกบั  “ผปู้ ว่ ย พเิ ศษ” รายหนงึ่  ดงั นนั้ เมอื่ ไดร้ บั คำ� สงั่ ทางโทรศพั ทแ์ ลว้   ผมจงึ ไมไ่ ดว้ ติ กกงั วลอะไร พอมาพบอาจารยป์ ระพาฬ  แลว้ กก็ ลบั ทพ่ี กั ซงึ่ อยใู่ กลๆ้  กบั ศริ ริ าช เพอื่ จดั กระเปา๋   เตรยี มเดนิ ทางโดยเทย่ี วบนิ กรงุ เทพฯ-สรุ าษฎรฯ์  เวลา  ๑๘.๕๐ น. ในเยน็ นนั้ เลย ทจ่ี รงิ ผมคดิ จะเตรยี มเสอื้ ผา้  

24 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ี่ ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก ไปเพียงชุดเดียว เพราะคิดว่าการรับท่านมารักษาท ่ี กรุงเทพฯ คงจะไม่มีปัญหาอะไรมาก คือไปถึงสวน  โมกขค์ นื นนั้  วนั รงุ่ ขนึ้ กค็ งพาทา่ นมากรงุ เทพฯ ไดเ้ ลย  แต่แวบหนึ่งที่ผมเกิดความเฉลียวใจขึ้นมาว่า บางท ี เร่อื งอาจจะไมง่ า่ ยอยา่ งนั้นกไ็ ด้? เพราะท่านอาจารย์  พุทธทาสเท่าท่ีผมทราบข่าวคราวจากสื่อมวลชนนั้น  ยงั ไมเ่ คยเจอขา่ ววา่ ทา่ นเขา้ ๆ ออกๆ โรงพยาบาลเลย  ทงั้ ๆ ทผ่ี สู้ งู วยั ขนาด ๘๕ ปอี ยา่ งทา่ นนนั้  ควรจะตอ้ ง  มกี ารเจ็บปว่ ยบ้าง ไม่มากกน็ อ้ ย รวมท้ังพอจะทราบ  มาก่อนว่าท่านเป็นบุคคลสันโดษ และเป็นผู้มีทัศนะ  ไม่พึ่งพาเทคโนโลยีมากมายเหมือนคนในยุคปัจจุบัน  ความเฉลียวใจแวบน้ันท�ำให้ผมจัดเส้ือผ้าไปเผื่ออีก  ๒-๓ วัน ซ่ึงเอาเข้าจริงๆ ความเฉลียวใจของผมก ็ ถกู ต้องทีเดยี ว เมอ่ื เกบ็ เสอื้ ผา้ เสรจ็  ผมกลบั มาทศ่ี ริ ริ าชอกี ครงั้   เพ่ือปรึกษาหารือกับอาจารย์แพทย์ในสาขาวิชาโรค  ระบบการหายใจและวัณโรค ร่วมกันวางแผนถวาย  การรกั ษาในกรณตี า่ งๆ เชน่  ถา้ ทา่ นมภี าวะปอดอกั เสบ 

25 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล จริง จะถวายการรักษาอาการขั้นต้นด้วยอะไรบ้าง  จะดูแลท่านในระหว่างการเดินทางเข้ากรุงเทพฯ  อยา่ งไร ฯลฯ เสรจ็ แลว้ กช็ ว่ ยกนั เตรยี มเวชภณั ฑแ์ ละ  เครอื่ งมอื ตา่ งๆ ทค่ี ดิ วา่ จำ� เปน็  เชน่  เครอื่ งวดั ออกซเิ จน  ในเลอื ดแบบทส่ี ามารถจะหวิ้ ตดิ มอื ขน้ึ เครอ่ื งบนิ ไปได ้ เม่ือเตรียมการเสร็จอาจารย์ประพาฬก็พาผมไปพบ  ท่านคณบดี อาจารยป์ ระดษิ ฐ์สรุปอาการอาพาธตาม  ที่ท่านได้รับแจ้งให้ผมทราบอีกครั้ง รวมถึงภารกิจ  ท่ีส�ำคัญของผมคือ ให้พยายามนิมนต์ท่านอาจารย์  พุทธทาส หรือติดต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องกับท่าน เพ่ือ  ขอให้ท่านอาจารย์เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาล  ศริ ริ าช โดยทางคณะฯ จะเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบจดั การเรอื่ ง  การเดินทาง เมื่อรับมอบหน้าที่แล้วท่านก็มาส่งที่รถ  พรอ้ มกำ� ชบั อกี ครงั้ วา่  ใหผ้ มพยายามปฏบิ ตั ภิ ารกจิ อยา่ ง  สดุ ความสามารถและใหป้ ระสบผลสำ� เรจ็  ผมเดนิ ทาง  พร้อมกับอาจารย์ประดิษฐ์ ปัญจวีณีน อายุรแพทย์  โรคหัวใจ เนือ่ งจากท่านอาจารยเ์ คยมีปัญหาดา้ นโรค  หวั ใจมากอ่ น ทางคณะฯ จงึ จดั ใหแ้ พทยโ์ รคหวั ใจรว่ ม  เดินทางไปดว้ ย

26 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก ในระหวา่ งการเดนิ ทาง ผมกบั อาจารยป์ ระดษิ ฐ ์ กน็ งั่ ปรกึ ษาถงึ แนวทางในการถวายการรกั ษา อาจารย์  ประดิษฐ์ก็เช่นเดียวกับผมคือ รู้จัก “พุทธทาสภิกขุ”  นอ้ ยมาก เรานกึ ไมอ่ อกวา่ ทา่ นอยอู่ ยา่ งไร ฉนั อยา่ งไร  ผทู้ ด่ี แู ลทา่ นเปน็ ใคร ฯลฯ แตเ่ ทา่ ทเ่ี รารจู้ กั กค็ อื  ทา่ น  เป็น “นักคิด” ท่ีส�ำคัญท่านหนึ่ง ดังนั้นจึงสรุปกันว่า  ถา้ เราจะเสนอถวายการรกั ษาอะไร คงจะตอ้ งใชว้ ธิ กี าร  หลักเหตุผล ไม่ใช่ระบบการส่ังหรือใช้การดึงดันแต่  ความเห็นของแพทยฝ์ ่ายเดยี ว เมื่อมาถึงสนามบนิ สรุ าษฎรฯ์  นพ. ประยรู  คง-  วเิ ชยี รวฒั นะ อดตี สาธารณสขุ  จ. สรุ าษฎรธ์ าน ี ซงึ่ เปน็   แพทยผ์ ใู้ กลช้ ดิ ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาสมานาน เปน็ ผมู้ า  รบั เราทสี่ นามบนิ  พรอ้ มกบั เจา้ หนา้ ทขี่ องโรงพยาบาล  สรุ าษฎรฯ์  ผมกบั อาจารยป์ ระดษิ ฐน์ งั่ รถอาจารยป์ ระยรู   เพื่อเดินทางไปสวนโมกข์ทันที ระหว่างทางอาจารย์  ประยูรเล่าสรุปอาการอาพาธของท่านอาจารย์ให้ฟัง  จำ� ไดว้ า่ เราฟงั กนั ดว้ ยความตน่ื เตน้ เปน็ ระยะๆ แตม่ ใิ ช่  กับข้อมูลการอาพาธ หากเป็นความหวาดเสียวกับ 

27 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล เส้นทางว่ิงของรถซึ่งฝ่าความมืดไปข้างหน้า โดยม ี รถสิบล้อสวนทางมาตลอดด้วยความเร็วสูงบนถนน  แคบๆ สองเลนนนั้  เราจงึ ไมพ่ ยายามซกั ถามอะไรมาก  นกั  เพราะเกรงจะรบกวนสมาธใิ นการขบั รถของอาจารย ์ ประยรู  ขอ้ มลู เทา่ ทไี่ ดค้ อื  ทา่ นอาจารยเ์ รมิ่ ไอและมไี ข ้ ตำ�่ ๆ เมอื่  ๓ วนั กอ่ น ตอ่ มาอาการหนกั มากขน้ึ เรอื่ ยๆ  แมแ้ พทยจ์ ะไดถ้ วายยาปฏชิ วี นะไปแลว้ กต็ าม อาการ  หลงั สดุ คอื  ทา่ นไอมเี สมหะปนเลอื ดและเรม่ิ มอี าการ  หอบเหนอื่ ย เมื่อรถเลี้ยวเข้าเขตวัดแล้ว ผมก็ยังไม่แน่ใจนัก  วา่ ใชจ่ ดุ หมายของเราหรอื ไม ่ เนอื่ งจากบรรยากาศโดย  รอบมืดครึ้มและเงียบสงัด ผิดแผกไปจากวัดท่ัวๆ  ไปท่ีผมเคยเห็น ซ่ึงอย่างน้อยจะต้องมีไฟตามรั้วหรือ  ทป่ี า้ ยชอื่ วดั  แตเ่ มอ่ื ถงึ บรเิ วณกฏุ ขิ องทา่ นอาจารย ์ ซงึ่   อยู่ไม่ไกลจากท่ีจอดรถนัก ผมก็แน่ใจว่าตนเองมาถึง  “สวนโมกข”์  แลว้  ขณะนนั้ เปน็ เวลา ๓ ทมุ่  บรเิ วณกฏุ  ิ ทพ่ี กั ของทา่ นอาจารยเ์ ปดิ ไฟสวา่ ง มพี ระและฆราวาส  จ�ำนวนหน่ึงก�ำลังรอเฝ้าอาการอาพาธอยู่ที่ด้านนอก 

28 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ี่ ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก ของกุฏิ รวมไปถึงอาจารย์โพธ์ิ จันทสโร เจ้าอาวาส  ผมและอาจารยป์ ระดษิ ฐเ์ ขา้ ไปในกฏุ เิ พอ่ื ตรวจอาการ  ทา่ นทนั ท ี หอ้ งทอี่ าจารยพ์ กั อยนู่ น้ั เปน็ หอ้ งเลก็ ๆ ขนาด  พนื้ ทป่ี ระมาณ ๙ ตารางเมตร มเี ตยี งเหมอื นกบั ทใ่ี ช ้ ในโรงพยาบาลต้ังอยู่ ๑ เตียง ปลายเตียงมีโถส้วม  อ่างน�้ำและโต๊ะตัวเล็กๆ อีกตัว ข้างๆ เตียงมีโคมไฟ  ส�ำหรับอ่านหนังสือและกองสมุดหนังสือ ๒-๓ กอง  ตั้งอยู่ ท่านอาจารย์อยู่ในท่ากึ่งนั่งก่ึงนอนบนเตียง  โดยมสี ายใหอ้ อกซเิ จนซงึ่ เปน็ สายยางเลก็ ๆ จอ่ เขา้ จมกู   เพ่ือช่วยการหายใจของท่าน แวบแรกท่ีผมได้พบ  ท่านอาจารย์โดยตรงเป็นคร้ังแรกในชีวิตน้ัน สังเกต  จากภายนอกพบว่าท่านหายใจหอบปานกลาง แต่ก็  ไม่แสดงออกถึงอาการทุกข์ทรมานอย่างที่ผมเคยพบ  เหน็ ในผปู้ ว่ ยทว่ั ไป ไมว่ า่ จะเปน็ ทางสหี นา้ หรอื ทา่ ทาง  ทง้ั ๆ ทดี่ จู ากภายนอก ผมกพ็ อจะประเมนิ จากประสบ  การณ์ท่ีพบเห็นผู้ป่วยแบบนี้มาพอสมควรได้แล้วว่า  ทา่ นอาจารยจ์ ะตอ้ งอาพาธไมน่ ้อยทเี ดียว

29 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล หลงั จากทก่ี ราบนมสั การทา่ นและแนะนำ� ตนเอง  แล้ว เราก็เริ่มต้นซักประวัติการอาพาธโดยละเอียด  อีกครั้ง ท่านอาจารย์เองก็พยายามที่จะตอบพวกเรา  โดยละเอยี ด ทว่ งทา่ ของทา่ นในระหวา่ งนนั้ ดสู งบ แต่  ก็ยังเห็นอยู่ว่ามีอาการหอบเหนื่อยชัดเจน ต้องหยุด  พกั หายใจเปน็ ชว่ งๆ ไมส่ ามารถพดู ตอบค�ำถามเราได้  ติดต่อกันยาวๆ เมื่อกราบเรียนถามเสร็จ เราก็เริ่ม  ตรวจร่างกายท่านอย่างละเอียด โดยเฉพาะในระบบ  ท่ีเก่ียวข้องคือ ปอดและหัวใจ ผลของการตรวจน้ันก็  เปน็ ไปอยา่ งทคี่ าดการณไ์ วค้ อื  ทา่ นอาพาธหนกั  สงิ่ ท่ ี ทำ� ใหผ้ มแปลกใจคอื  สหี นา้ และทา่ ทางของทา่ นอาจารย ์ น้ัน ไม่ได้สัดส่วนกันกับอาการอาพาธท่ีเราตรวจพบ  คอื  ในผปู้ ว่ ยธรรมดา โดยเฉพาะผมู้ อี ายมุ ากขนาดน ้ี (๘๕ ปี) หากเจ็บป่วยขนาดท่ีเราตรวจพบในท่าน  อาจารย ์ ผปู้ ว่ ยจะตอ้ งแสดงออกทางสหี นา้ และทา่ ทาง  วา่ เจบ็ ปว่ ยอยา่ งชดั เจนกวา่ น ้ี แตท่ า่ นอาจารยน์ นั้  เรา  สังเกตการอาพาธของท่านได้จากการหอบเหน่ือย  นำ�้ เสยี งทอ่ี อ่ นแรงและสหี นา้ ทอ่ี ดิ โรย โดยทที่ ว่ งทา่ ยงั   ดสู งบ ผมยงั ไมเ่ คยเหน็ การแสดงออกของผปู้ ว่ ยแบบ 

30 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก นม้ี ากอ่ น เพราะคนทว่ั ไปนน้ั  ความเจบ็ ปว่ ยเปน็ ความ  ทกุ ข ์ ความนา่ รำ� คาญ และความนา่ เบอื่ ทสี่ �ำคญั อยา่ ง  หน่ึง ยงิ่ เจบ็ ป่วยมากกย็ งิ่ ทุกขม์ าก และแสดงใหเ้ หน็   มาก แตผ่ ปู้ ว่ ยทผ่ี มตรวจรกั ษาอยคู่ ราวน ี้ ดจู ากอาการ  ทที่ า่ นแสดงออกแลว้  ผมรสู้ กึ วา่ ความเจบ็ ปว่ ยดจู ะเปน็ สง่ิ ทธ่ี รรมดาสามญั   ไมใ่ ชเ่ รอื่ งทกุ ขเ์ รอ่ื งรอ้ นอะไรเลย นี่คือความแปลกท่ีผมยังไม่เคยพบมาก่อน ใน  ตอนนน้ั ผมยงั ไมร่ วู้ า่ ตนเองจะไดพ้ บกบั ทศั นะแปลกๆ  ที่ย่ิงไปกว่าน้ีอีกในข้ันตอนต่อๆ ไปของการถวายการ  รกั ษาคราวน้ัน เมอ่ื ตรวจรา่ งกายทา่ นอาจารยเ์ สรจ็ แลว้  ผมและ  อาจารย์ประดิษฐ์ รวมทั้ง นพ. ทรงศักดิ์ เสรีโรดม  อายรุ แพทยข์ องโรงพยาบาลสรุ าษฎรธ์ าน ี ซงึ่ เปน็ แพทย์  ผู้ดูแลสุขภาพของท่านอาจารย์มาหลายปี ได้ร่วมกัน  ประมวลขอ้ มลู ทงั้ หมด ทงั้ จากทก่ี ราบเรยี นถาม การ  ตรวจรา่ งกาย และจากบนั ทกึ สขุ ภาพของทา่ นอาจารย ์ ซึ่งพระอุปัฏฐากและแพทย์ได้บันทึกไว้เป็นล�ำดับ 

31 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล เราไดข้ อ้ สรุปวา่   ๑. การทพี่ น้ื ฐานของทา่ นอาจารยม์ ภี าวะความดนั   โลหิตสูงที่เป็นมานาน ประกอบกับภาวะสูงอายุและ  รปู รา่ งทอ่ี ว้ น ทำ� ใหม้ ภี าวะหลอดเลอื ดแดงแขง็ ตวั  ซงึ่   ส่งผลให้หัวใจทำ� งานได้ไมด่ เี ทา่ ท่คี วร ๒. ชว่ งทผ่ี า่ นมากอ่ นการอาพาธ ๒-๓ วนั  ทา่ น  อาจารยม์ ภี ารกจิ แสดงธรรม จนกระทง่ั ทำ� ใหร้ า่ งกาย  ไดพ้ กั ผอ่ นไมเ่ พยี งพอ รว่ มกบั มกี ารตดิ เชอ้ื ในทางเดนิ   หายใจสว่ นบน สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ภาวะหวั ใจวายไดม้ ากขนึ้   อกี ดังนั้นท่านอาจารย์จึงอาพาธด้วยโรคหัวใจวาย  มิใช่ด้วยโรคเก่ียวกับปอดตามท่ีเข้าใจในตอนแรก  อาจารยป์ ระดษิ ฐจ์ งึ รบั หนา้ ท่ีกราบเรยี นใหท้ า่ นทราบ  ถงึ ขอ้ สรปุ ทงั้  ๒ ขอ้  โดยกราบเรยี นอยา่ งเชอื่ มโยงให้  ทา่ นเหน็  และเขา้ ใจถงึ สาเหตทุ ม่ี าของอาการตา่ งๆ ที่  เกดิ ขนึ้  พรอ้ มกบั ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ อนั ตรายทอี่ าจเกดิ ขนึ้ โดย 

32 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ี่ ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก มิได้คาดหมาย จนเป็นเหตุให้ท่านอาจถึงแก่ชีวิตได้  ในช่วงเวลาส้ันๆ พร้อมกับเสนอว่า เพ่ือให้การรักษา  เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถป้องกันภาวะ  แทรกซ้อนทอ่ี าจเกิดขึน้ อยา่ งเฉียบพลนั จนถงึ แก่ชีวิต  ได้ เราจึงขอนิมนต์ท่านอาจารย์เข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาลซึ่งมีอุปกรณ์การรักษาที่พรักพร้อม เม่ือ  อาจารยป์ ระดษิ ฐก์ ราบเรยี นเสรจ็  ทา่ นอาจารยก์ ต็ อบ  กลบั อยา่ งนมุ่ นวลวา่  ทา่ นอยากใหท้ ำ� การรกั ษาอยทู่ ว่ี ดั   จะเหมาะสมกว่า ความเขา้ ใจของผมในตอนแรกจากคำ� ตอบปฏเิ สธ  ของท่านน้ีคือ นึกไปว่าท่านต้องการจะให้พวกเรา  ขนอุปกรณ์การรักษาของโรงพยาบาล และบุคลากร  อยา่ งครบครนั มาทว่ี ดั  เพราะทา่ นตอ้ งการจะรกั ษาอย่ ู ทส่ี วนโมกข ์ เมอ่ื ผมนกึ ถงึ ความยงุ่ ยากของการขนยา้ ย  อปุ กรณต์ า่ งๆ และการทบี่ คุ ลากรแพทย ์ พยาบาล และ  ช่างเทคนิค จะต้องแห่กันมาท่ีสวนโมกข์แล้ว ผมก ็ อดนึกในใจไมไ่ ด้วา่

33 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล “ทำ� ไมการเขา้ โรงพยาบาล มนั ยากเยน็ อะไรนกั หรือ?” เพราะการท่ีท่านยอมไปโรงพยาบาลนั้น ย่อม  งา่ ยกวา่ การทจี่ ะตอ้ งยกโรงพยาบาลมาหาทา่ นเปน็ ไหนๆ  ทา่ นนิ่งไปครูห่ นง่ึ   แลว้ ก็พูดขยายความตอ่  ซงึ่ ท�ำให้  ผมรู้ว่าตนเองเข้าใจผิดไปไกลโข และในทิศทางตรง  กนั ขา้ มกบั เจตนารมณข์ องทา่ นอาจารยด์ ว้ ย เพราะทา่ น  บอกว่า “อาตมาอยากให้การอาพาธและการดูแลรักษา นน้ั เป็นไปแบบธรรมชาต ิ ธรรมดาๆ เหมือนกับการ อาพาธของพระสงฆท์ ัว่ ไปในสมยั พุทธกาล” และ “ขอใช้แผ่นดินนีเ้ ปน็ โรงพยาบาล” นนั่ คอื  ทา่ นอาจารยม์ ไิ ดต้ อ้ งการจะใหถ้ วายการ  รกั ษาดว้ ยการใชเ้ ครอื่ งมอื อนั ทนั สมยั มากมาย อยา่ ง  ที่เรากราบเรียนท่านว่ามีเพียบพร้อมในโรงพยาบาล  หากตอ้ งการรบั การรกั ษาเทา่ ทแ่ี พทยจ์ ะท�ำได ้ ภายใต ้



35 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล ข้อจ�ำกัดของสถานที่ซึ่งมิใช่โรงพยาบาล ได้เท่าไร  เอาเทา่ นนั้  ทา่ นมไิ ดเ้ รยี กรอ้ งแนวทางหรอื รปู แบบการ  รกั ษาแตป่ ระการใด เมอื่ เขา้ ใจความประสงคข์ องทา่ น  แลว้  ผมกร็ สู้ กึ หนกั ใจขน้ึ มาทนั ท ี อาจจะยงิ่ กวา่ การให้  ยา้ ยโรงพยาบาลมาหาทา่ นเสยี อกี  เพราะเจตนารมณ ์ ของท่านดังนี้ เท่ากับปฏิเสธการไปรับการรักษาท่ ี กรุงเทพฯ ตามภารกิจท่ีผมได้รับมอบหมาย แต่นั่น  ก็ยังไม่น่าหนักใจเท่ากับการท่ีเราจะต้องรักษาผู้ป่วย  ซง่ึ มอี าการหนกั  และมโี อกาสเสย่ี งตอ่ การเสยี ชวี ติ สงู   แต่กลับต้องการรับการรักษาภายนอกโรงพยาบาล  เพราะเราเป็นแพทย์ซึ่งศึกษามาในระบบการแพทย์  ท่ีคุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยีและอุปกรณ์การแพทย์  มากมายทจ่ี ะชว่ ยบง่ ชใี้ หเ้ รารถู้ งึ สภาพอาการ  และวธิ  ี การรักษาคนไข้ได้อย่างแน่นอน โดยเฉพาะในภาวะ  วกิ ฤต ความตอ้ งการของทา่ นอาจารยจ์ งึ ทำ� ใหผ้ มรสู้ กึ   หนกั ใจมาก ในใจกค็ ดิ วา่ ปฏบิ ตั กิ ารรกั ษาผปู้ ว่ ยคราวน ี้ ส�ำหรับผมเอง อย่างดีที่สุดก็คือเสมอตัว แต่ถ้าเกิด  มอี ะไรผดิ พลาดขน้ึ กม็ แี ตจ่ ะขาดทนุ สถานเดยี วเทา่ นนั้   หมายถงึ โอกาสทผี่ ปู้ ว่ ยจะหายดขี น้ึ นนั้ มนี อ้ ย แตโ่ อกาส 

36 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ี่ ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก ทอี่ าการจะทรดุ จนเสยี ชวี ติ มสี งู กวา่ มาก ดงั นน้ั สำ� หรบั   ภารกิจคราวนี้แล้ว ผมจึงหวังเพียงแค่ว่าจะสามารถ  พยุงอาการของท่านให้ทรงไว้ อย่าให้ถึงมรณภาพ  ในชว่ งทเ่ี ราถวายการรกั ษา ถา้ ทำ� ไดก้ ็นบั วา่ ผมโชคดี  มากแลว้  และถา้ สารภาพกนั อยา่ งเปดิ ใจแลว้  ความรสู้ กึ   ของผมในตอนนนั้ คอื  กลวั วา่ ทา่ นอาจารยจ์ ะมรณภาพ  ในขณะท่ีท่านอยู่ในการดูแลถวายการรักษาของผม  มันคงเป็นความรู้สึกอันเน่ืองกับชื่อเสียงและหน้าตา  ของผมเอง ไม่ใช่เร่ืองของความผูกพันหรือห่วงใยใน  ผูป้ ่วยซึง่ เพง่ิ พบกนั คร้ังแรก เพราะผมพอจะทราบว่า  อาการอาพาธของท่านน้ัน ถ้าเป็นข่าวออกไปเม่ือไร  แล้ว ย่อมจะต้องเป็นท่ีสนใจของสังคมมิใช่น้อย พูด  กันตรงๆ คอื  ผมกลวั เสียชอื่ นั่นเอง เพราะฉะนนั้ ถา้ วา่ กนั จรงิ ๆ แลว้  ผมควรจะโกรธ  หรือไม่พอใจกับผู้ป่วยที่ท�ำให้ผมต้องอยู่ในสถาน-  การณล์ ำ� บากใจและหนกั ใจเชน่ น ี้ แตเ่ วลานนั้ ผมรสู้ กึ วา่   ตนเองไม่ได้คิดอะไรไปในท�ำนองไม่พอใจทัศนะและ  ท่าทีของอาจารย์เลย แม้ผมจะคิดแบบแพทย์สมัย 

37 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล ใหม่ๆ ท่ัวไปว่า ทัศนะของท่านอาจารย์น้ันเป็นการ  ฝนื โลก หรอื หากจะวา่ กนั ตรงๆ ทสี่ ดุ เลยกค็ อื  “ดนั ทรุ งั ”  เพราะแพทย์ย่อมรู้สึกว่าตนเองเป็นผู้มาช่วย เป็น  ผปู้ รารถนาด ี อยากจะทำ� ใหค้ นเจบ็ คลายและหายจาก  ความเจ็บป่วย ผู้ป่วยจึงควรที่จะยินดีและให้ความ  ร่วมมือในการรักษา และปฏิบัติตามท่ีแพทย์แนะน�ำ  แต่ท่านอาจารยก์ ลับปฏิเสธ ทวา่ การปฏเิ สธของทา่ น  น้ันแตกต่างจากผู้ป่วยรายอ่ืนๆ ท่ีผมเคยพบ คือใน  ผ้ปู ่วยประเภททไี่ มเ่ ตม็ ใจรักษา เชน่ พวกท่อี ยากตาย  แต่ญาติเป็นผู้น�ำมาพบแพทย์นั้น ผู้ป่วยเหล่านี้จะมี  ท่าทีเป็นปฏิปักษ์ และไม่ให้ความร่วมมือกับแพทย ์ ในการตรวจและรกั ษาเลย แตก่ รณขี องทา่ นอาจารยน์ น้ั   ท่านปฏิเสธด้วยท่าทีอันสงบและนุ่มนวล และมิได้มี  ทา่ ทขี องการตงั้ ขอ้ เรยี กรอ้ ง หรอื เชงิ ตง้ั แงใ่ นลกั ษณะ  ของการตอ่ ตา้ นเปน็ ปฏปิ กั ษก์ บั แพทยเ์ ลย ทา่ นยอมรบั   เหตผุ ล ยอมรบั ในสง่ิ ตา่ งๆ ทเ่ี รากราบเรยี นเสนอและ  พยายามอธบิ ายใหท้ า่ นเขา้ ใจ เพยี งแตท่ า่ นไมย่ อมรบั   กระบวนการรกั ษาทงั้ หมดทเี่ ราเสนอให้ เพราะวธิ กี าร  นน้ั ขดั กบั ทศั นะและหลกั การทที่ า่ นเชอ่ื ถอื อย ู่ ซง่ึ ตรงน ้ี

38 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก ผมรสู้ กึ วา่  เราจะตอ้ งเคารพในสทิ ธกิ ารตดั สนิ ใจเลอื ก  ของทา่ น เพราะท่านอาจารย์เลอื กด้วยความเข้าใจใน  ข้อมูลต่างๆ อย่างครบถ้วนแล้ว ผมจึงมิได้รู้สึกโกรธ  และความรู้สึกยังค่อนไปในทางแปลกใจมากกว่ากับ  ทศั นะของ “ผปู้ ว่ ยพเิ ศษ” ทา่ นน ี้ และอกี ดา้ นหนงึ่ ผม  ยังรู้สึกว่า ตนเองได้เจอกรณีท่ีท้าทายความสามารถ  ทางการแพทย์ว่าจะรักษาคนไข้ภายใต้ข้อจำ� กัดเร่ือง  เครอื่ งไมเ้ ครือ่ งมอื ไดส้ �ำเรจ็ หรือไม?่ เมอื่ รบั ทราบความประสงคข์ องทา่ นอาจารยแ์ ลว้   เรากเ็ รมิ่ ถวายการรกั ษากนั เทา่ ทอ่ี ปุ กรณแ์ ละเวชภณั ฑ ์ ในเวลานั้นจะมีให้ มีการถวายยาทางหลอดเลือดด�ำ  โดยผ่านสายน�้ำเกลือ และยารับประทานซึ่งถวายให้  ท่านฉัน ผมสังเกตว่าในระหว่างที่เราถวายการรักษา  นน้ั  ทา่ นอาจารยใ์ หค้ วามรว่ มมอื เปน็ อยา่ งด ี มไิ ดแ้ สดง  อาการใดๆ ที่ท�ำให้แพทย์ต้องวิตกกังวลว่าท่านจะ  ปฏิเสธสิ่งท่ีเราถวาย หมายความว่าท่านพร้อมจะให้  ความร่วมมือทุกอย่างหากเราถวายการรักษาอยู่ท ่ี สวนโมกข์ โดยไม่เกินเลยไปจากเจตจ�ำนงของท่าน 

39 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล คนื นนั้ เราโทรศพั ทข์ น้ึ กรงุ เทพฯ เพอ่ื รายงานทา่ นคณบดี  ถึงผลการตรวจรักษาและเรียนให้ท่านทราบว่า ท่าน  อาจารย์พุทธทาสต้องการทีจ่ ะรบั การรักษาอยูท่ ี่สวน-  โมกข์ ท่านคณบดีรับทราบแต่ก็ยังเสนอแนะว่าหาก  สามารถโนม้ นา้ วทา่ นไดใ้ หม ่ กใ็ หพ้ ยายามนมิ นตท์ า่ น  เข้ามารับการรักษาที่ศิริราชอีกคร้ัง เพ่ือให้ได้ผลการ  รกั ษาทดี่  ี และทา่ นอาจารยจ์ ะไดพ้ น้ ขดี อนั ตรายโดยเรว็   ตอนดึกคืนน้ัน ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช ซ่ึงเป็น  หลานชายของท่านอาจารย์ได้น�ำคณะแพทย์และ  พยาบาลจากคณะแพทยศาสตร์สงขลานครินทร ์ มา  ร่วมถวายการรักษาด้วย ในคืนน้ันอาการของท่าน  อาจารย์ดีข้ึนเล็กน้อย เม่ือถวายยาต่างๆ และเฝ้าด ู อาการจนถงึ ประมาณต ี ๓ ผมกเ็ ขา้ นอน มพี ยาบาลเวร  และพระอุปัฏฐากคอยเฝ้าดูอาการ ทางวัดจัดให้ผม  และอาจารยป์ ระดษิ ฐพ์ กั ทบี่ า้ นรบั รอง ซง่ึ มคี ณุ ปา้ อรญั   และพ่ีคิ่นเป็นผู้คอยดูแลความสะดวกด้านการกิน  การอยู่ให้เป็นอยา่ งดี



๒ เจตนารมณ์ทีแ่ จ่มชดั เชา้ วนั รงุ่ ขน้ึ คอื วนั องั คารท ่ี ๒๙ ตลุ า-  คม ๒๕๓๔ อาการของท่านเร่ิมทุเลา  ข้ึ น ต า ม ล� ำ ดั บ   อ า จ า ร ย ์ วิ จ า ร ณ ์ ไ ด ้  พยายามโน้มน้าวให้ท่านอาจารย์เข้า  รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลอกี ครง้ั  แต่  ท่านก็คงยังปฏิเสธเช่นเดิม อาจารย ์ วจิ ารณจ์ งึ กราบเรยี นทา่ นวา่  ถา้ เชน่ นนั้   ก็เสนอขอให้ท่านไปรับการเอกซเรย ์ ทรวงอก และตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่  โรงพยาบาลไชยา โดยแพทย์ได้กราบ 

42 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก เรยี นใหท้ า่ นทราบวา่  การตรวจดงั กลา่ วจะชว่ ยในการ  วนิ จิ ฉยั ของแพทย์ เพอ่ื ใหท้ ราบวา่ ภาวะหวั ใจวายของ  ทา่ นนน้ั เปน็ มากนอ้ ยเพยี งใด และเพอื่ ตรวจใหแ้ นช่ ดั   ว่าท่านมีอาการปอดอักเสบเหมือนอย่างท่ีเข้าใจกัน  ในตอนแรกหรือไม่ เมื่อท่านรับทราบเหตุผลแล้ว  ท่านอาจารยก์ ย็ ินยอม คณะแพทย์และพระอปุ ัฏฐาก  คอื  พระสงิ หท์ อง เขมโิ ย และ พระมณเฑยี ร มณั ฑโิ ร  ก็น�ำท่านเดินทางไปโรงพยาบาลไชยา ซึ่งอยู่ห่างจาก  สวนโมกขป์ ระมาณ ๘ กโิ ลเมตร เชา้ วนั นน้ั ทา่ นสามารถ  เดนิ ไดช้ ว่ งสนั้ ๆ เพอ่ื ไปขนึ้ รถยนต์ ซง่ึ อาจารยว์ จิ ารณ์  นำ� มาจากสงขลาโดยทท่ี า่ นไมแ่ สดงอาการหอบเหนอ่ื ย  ให้เห็นมากนัก หลงั จากฉายเอกซเรยแ์ ลว้  คณะแพทยไ์ ดร้ ว่ มกนั   พจิ ารณาภาพเอกซเรยท์ รวงอกของทา่ น แลว้ ประเมนิ   วา่ ภาวะหวั ใจลม้ เหลวนน้ั ยงั คงรนุ แรงมาก ซง่ึ นำ� ภาพ  เอกซเรย์ดังกล่าวถวายให้ท่านดู พร้อมกับอธิบาย  โนม้ นา้ วทา่ นอีกครั้งหน่ึงว่าให้ทา่ นอาจารย์เขา้ รบั การ  รกั ษาในโรงพยาบาลจนกวา่ จะพน้ ขดี อนั ตราย เพราะ 

43 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล การอยู่รักษาที่วัดซึ่งขาดเครื่องมือทางการแพทย์นั้น  เป็นการเส่ียงต่อชีวิต ผมคิดว่าอาจารย์ประดิษฐ์นั้น  ไดก้ ราบเรยี นสถานการณข์ องอาการอาพาธใหท้ า่ นฟงั   โดยชัดเจนแล้ว ตั้งแต่เม่ือคืนวาน (และในเช้าวันน ้ี ดว้ ย) วา่ ทา่ นอาจถงึ แกม่ รณภาพไดใ้ นชว่ งเวลาอนั สนั้ ๆ  อย่างชนิดปุบปับ หรืออย่างทันทีทันใดได้ตลอดเวลา  ถา้ ท�ำการรกั ษากนั อยทู่ ว่ี ดั  ถงึ แมโ้ ดยถอ้ ยค�ำอาจารย ์ ประดษิ ฐจ์ ะมไิ ดใ้ ชค้ ำ� วา่  “มรณภาพ” โดยตรง แตผ่ ม  มนั่ ใจวา่  โดยสาระทกี่ ราบเรยี นทา่ นอาจารยน์ น้ั  ทา่ น  ย่อมเข้าใจดีว่า ความตายเป็นส่ิงที่ก�ำลังคุกคามและ  อยูใ่ กล้ชิดท่านในเวลานนั้ เปน็ อย่างยิง่ แตท่ า่ นอาจารยร์ บั ฟงั แลว้ กย็ ม้ิ ๆ หวั เราะหๆึ  ไมว่ า่   อะไร แลว้ สกั ครกู่ ก็ ลา่ วปฏเิ สธพรอ้ มขอบคณุ ในความ  หวังดีของแพทย์ ในความคิดส่วนตัวของผมน้ัน ผม  คาดเดาอยู่แล้วว่าเราจะได้รับค�ำปฏิเสธเป็นคร้ังท่ี ๓  จากท่าน เพราะจากค�ำพูดและท่าทีของท่านเม่ือคืน  ผมก็ได้ข้อสรุปกับตนเองแล้วว่าท่านอาจารย์จะไม ่ เปลี่ยนใจ เน่ืองจากทัศนะและโดยเฉพาะท่าทีน้ัน 

44 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก ท่านแสดงออกโดยชัดเจนว่า ท่านไม่ยินดียินร้ายกับ  ความเจบ็ ปว่ ยนน้ั  เรยี กวา่ จะรอดกไ็ ด ้ หรอื จะตายกไ็ ด้  เพราะท่านอาจารย์มิได้มองความเจ็บป่วยและความ  ตายจากทศั นะเดียวกบั ท่ผี มและเราๆ เข้าใจกันเลย ตอนสายของวันนั้น หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ  เดนิ ทางมาสวนโมกขเ์ พอื่ เยย่ี มอาการอาพาธ หลวงพอ่   ได้พยายามโน้มน้าวท่านอาจารย์อีกครั้งหนึ่ง โดยให ้ เหตุผลหลายๆ ประการ ต้ังแต่ความห่วงใยขององค์  พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั  ของทา่ นประธานองค-  มนตรี สัญญา ธรรมศักด์ิ ตลอดจนความพร้อมของ  การเดินทางเข้ากรุงเทพฯ เพื่อเข้ารับการรักษา แต่  ท่านอาจารยก์ ค็ งรบั ฟังและหวั เราะหึๆ ยิม้ ๆ เชน่ เดิม  อีก แต่ผู้เก่ยี วข้องทกุ คนกด็ จู ะไม่สนิ้ ความพยายาม เมอื่  ศ. นพ. ประเวศ วะส ี เดนิ ทางถงึ สวนโมกข ์ ในชว่ งบา่ ย อาจารยป์ ระดษิ ฐแ์ ละผมไดเ้ ลา่ สรปุ อาการ 

45 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล และการถวายการรกั ษาทด่ี ำ� เนนิ การอย ู่ รวมทงั้ เลา่ ให ้ อาจารยฟ์ งั วา่  ทา่ นอาจารยต์ อ้ งการจะรกั ษาอยทู่ สี่ วน  โมกข์มากกว่าท่ีโรงพยาบาล บ่ายนั้นมีการประชุม  คณะแพทย์ท้ังหมด พระเถรานุเถระ พระอุปัฏฐาก  ทุกรูป และฆราวาสผู้ใกล้ชิด เพ่ือหารือแนวทางใน  การถวายการรกั ษา เมอ่ื ไดข้ อ้ สรปุ แลว้  ทป่ี ระชมุ กไ็ ด้  มอบหมายให้อาจารย์ประเวศเป็นผู้เข้าไปกราบเรียน  รายละเอยี ดของการอาพาธ และแนวทางของการรกั ษา  ทแี่ พทยเ์ หน็ วา่ ดที สี่ ดุ ใหท้ า่ นอาจารยไ์ ดร้ บั ทราบอกี ครงั้   โดยอธิบายให้ท่านได้เห็นว่าการอาพาธคร้ังนี้ หาก  ไดร้ บั การรกั ษาทด่ี แี ลว้  อาการกอ็ าจจะไมร่ นุ แรงจนนำ�   ไปสู่จุดส้ินสุดของชีวิตตามปกติ และท่านอาจารย์ จะสามารถมีชีวิตต่อไปได้อีกช่วงหนึ่ง เพ่ือสานต่อ  ภารกจิ ทางพทุ ธศาสนาทที่ า่ นคาดหวงั ไวไ้ ด ้ โดยอาจารย์  ประเวศกราบเรยี นท่านวา่   “ปรึกษากันทั่วหมดแล้วเขา (แพทย์) บอก โอกาสทจี่ ะดขี นึ้ นสี่ งู มาก เรอ่ื งทำ� ใหห้ วั ใจดขี นึ้  แลว้ ก็ อยใู่ นสภาพท่จี ะทำ� งานตอ่ ไปอกี หลายป”ี

46 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก พร้อมกับกราบเรียนเสนอทางเลือกให้ท่าน  พจิ ารณา ๓ ทาง คือ ๑. เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช ซึ่งมี  อปุ กรณแ์ ละบคุ ลากรพร้อม ๒. เข้ารับการรักษาท่ีโรงพยาบาลสุราษฎร์ธาน ี ซง่ึ มคี วามพร้อมระดบั หน่ึง ๓. ท�ำการรักษาต่อท่ีวัด โดยจัดส่งแพทย์และ  บคุ ลากรอื่นๆ หมุนเวยี นกันมาถวายการดูแล ถ้าเป็นเมื่อวาน ผมซ่ึงรับมอบภารกิจนี้มาจาก  กรุงเทพฯ คงมีความคิดว่า ทางเลือกท่ี ๑ น่าจะเป็น  ผลดีและสอดคล้องกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมากท่ีสุด  แตม่ าวนั น ้ี หลงั จากทไี่ ดร้ บั ทราบทศั นะของทา่ นอาจารย์  ในเร่ืองความเจ็บป่วยแล้ว ท้ังจากท่ีท่านพูดเอง และ  จากการซักถามพระอุปัฏฐากผู้ใกล้ชิด ซ่ึงเล่าให้ฟัง  ถึงทัศนะของท่านอาจารย์ในเรื่องการรักษา และ  การเขา้ โรงพยาบาลในชว่ งทผี่ า่ นๆ มาแลว้  กท็ ำ� ใหผ้ ม  เอนเอยี งไปดา้ นทางเลอื กท ่ี ๓ มากขนึ้  และเรมิ่ คดิ วา่   จะต้องพยายามน�ำเอาเทคโนโลยีทางการแพทย์มา 

47 น พ .  นิ ธ ิ พั ฒ น์  เ จ ี ย ร ก ุ ล ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทา่ ทจ่ี �ำเปน็ เทา่ นน้ั  อาจารยป์ ระเวศเสนอ  ทางเลือกพร้อมกับแจกแจงประโยชน์และโทษของ  แต่ละทางเลือกให้ท่านอาจารย์รับทราบ พร้อมกับ  กราบเรียนว่าหากท่านอาจารย์เลือกการเข้าโรงพยา-  บาลไมว่ า่ จะเปน็ ทไ่ี หน คณะแพทยก์ จ็ ะคอยดแู ลมใิ ห ้ มกี ารใชเ้ ทคโนโลยที เี่ กนิ เลยในการรกั ษาจนผดิ ธรรม-  ชาติไปมาก เช่น จะไม่มีการเจาะคอหรือใส่สาย  ระโยงระยางตา่ งๆ แตค่ ำ� ตอบทไ่ี ดร้ บั จากทา่ นนน้ั กย็ งั   เปน็ ไปตามทผี่ มคาด คอื ทา่ นกย็ งั ปฏเิ สธอยา่ งนม่ิ นวล  เช่นเคย คราวนดี้ ้วยการหวั เราะหึ ห ึ และพูดคำ� วา่ “ขอร้อง ขอรอ้ ง ขอรอ้ ง” นอกจากนยี้ งั มขี อ้ สนทนาอกี หลายตอน ระหวา่ ง  ท่านอาจารย์กับอาจารย์ประเวศ ซึ่งผมบันทึกไว้ด้วย  ความรู้สึกสนใจว่า มีนัยท่ีชวนให้ครุ่นคิดต่อไปได้อีก  หลายประเด็น เช่น “การรักษาตัวเองโดยธรรมชาติเป็นสิ่งที่

48 ท่ า น อ า จ า ร ย ์ พุ ท ธ ท า ส  :  ค น ไ ข้ ท ่ี ผ ม ไ ด้ ร ู้ จ ั ก เหมาะสม อาตมาถอื หลกั นมี้ าแตไ่ หนแตไ่ รแลว้  ให้ ธรรมชาตริ กั ษา ใหธ้ รรมะรกั ษา สว่ นคณุ หมอกช็ ว่ ย ผดุงชีวิตให้มันโมเมๆ ไปได้ อย่าให้ตายเสียก่อน ขอใหแ้ ผน่ ดนิ นเ้ี ปน็ โรงพยาบาล แลว้ ธรรมชาตกิ จ็ ะ รกั ษาการเจบ็ ปว่ ยตา่ งๆ ไดเ้ อง ไดเ้ ทา่ ไรกเ็ อาเทา่ นนั้ ไม่ควรจะมีอายุมากกว่าพระพุทธเจ้า ธรรมชาติจะ เปน็ ผรู้ กั ษา ทางการแพทยห์ ยกู ยาตา่ งๆ ชว่ ยเพยี ง อยา่ เพงิ่ ตาย” และ “การเรยี นรชู้ วี ติ ใกลต้ าย ทำ� ให้ มปี ญั ญาทสี่ มบรู ณข์ นึ้  เราจะศกึ ษาความเจบ็  ความ ตาย ความทกุ ข ์ ใหม้ นั ชดั เจน ไมส่ บายทกุ ท ี กฉ็ ลาด ขึ้นทุกทเี หมือนกัน” เมอื่ ทา่ นอาจารยย์ งั คงยนื ยนั เจตนารมณข์ องทา่ น  ซำ้� อกี เปน็ ครง้ั ท ่ี ๕ กด็ เู หมอื นวา่ ทกุ คนจะเขา้ ใจชดั แจง้   ในความประสงค์ของท่าน ดังน้ันแผนการถวายการ  รักษาเฉพาะหน้าที่สวนโมกข์จึงถูกก�ำหนดขึ้นตาม  เจตนารมณ์ของท่าน มีการน�ำเวชภัณฑ์และอุปกรณ์  การแพทย์ที่จ�ำเป็นและเคล่ือนย้ายได้สะดวกมาเพิ่ม  เช่น เคร่ืองตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ฯลฯ น่ีเป็นประสบ 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook