Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PktU.Rajarod.book_128

PktU.Rajarod.book_128

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-06 16:12:34

Description: PktU.Rajarod.book_128

Search

Read the Text Version

ทางสายตรงสกู ารหลุดพน อรยิ มรรคมอี งคแปด กเิ ลส กรรม และวบิ ากฯ ราชรถทสี่ งัดเงยี บ ความเพียรทางกายและใจ หิริ คอื พนักพงิ หลัง สติเปน เกราะกำบัง สัมมาทฏิ ฐิ เปนสารถี ปดประตูอบาย พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภวิ งั สะ

ชมรมกัลยาณธรรม www.kanlayanatam.com หนังสอื ดลี ำดับท่ี : ๒๑๘ พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภิวงั สะ พมิ พครัง้ ท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จำนวนพมิ พ ๖,๐๐๐ เลม จัดพมิ พโ ดย ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถ.ประโคนชยั ต.ปากน้ำ อ.เมอื ง ปก/ภาพประกอบ จ.สมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ รูปเลม โทรศัพท ๐๒-๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐๒-๗๐๒-๙๖๒๔ ศักด์ิสิทธิ์ ภทั รประกฤต พิสูจนอ กั ษร เกา พิมพท ่ี อ. จันทรา ทองเคียน และคณะ สำนกั พมิ พก อ นเมฆ โทรศพั ท ๐๘๙-๗๘๕-๓๖๕๐ สพั พทานัง ธมั มทานัง ชินาติ การให้ธรรมะเป็นทาน ยอ่ มชนะการให้ทั้งปวง

คำนำของชมรมกลั ยาณธรรม พระพุทธเจาทรงตรัสเปรียบเทียบการปฏิบัติเพ่ือการ หลดุ พน วา เปน การเดนิ ทางโดยราชรถไปสู “ภมู ทิ ปี่ ราศจากภยั เปนอิสระจากความหวาดกลัวใดๆ” ซึ่งน่ันก็คือ พระนิพพาน นั่นเอง ราชรถนี้ ประกอบดวยลอท้ังสอง คือ ความเพียร ทางกายและใจ หิริ เปนพนักพิง สติเปนเกราะกำบัง และ สมั มาทฏิ ฐิ จะเปน สารถี พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑติ าภิวังสะ ไดนำเอาคำ สอนของพระพุทธเจานี้ มาขยายความและอธิบายโดยพิสดาร เพ่ือใหเขาใจถึง การเดินทางไปสูพระนิพพาน โดยราชรถ อันวิเศษน้ี ความหมายในแตละสวนประกอบของราชรถน้ัน จะ บอกเราถึงการประพฤติ ปฏิบัติตน วาสมควรปฏิบัติอยางไร เพ่ือใหสามารถเดินทางไปถึงจุดหมายไดอยางไร เนื่องจาก คำสอนนี้ พระพุทธเจาไดตรัสสอนแกผูท่ีผานการปฏิบัติ อยา งชำ่ ชองมาแลว จงึ ไมไ ดก ลาวโดยละเอียด

นับเปนความกรณุ าของทา นพระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภิวังสะ ท่ไี ดน ำเอาคำสอนนี้ มาขยายความอธิบายให เขาใจ และสามารถนำเอาเปนแนวทางการปฏิบัติตน เพ่ือนั่ง บนยานวเิ ศษอนั เงยี บสงดั เดนิ ทางไปสู ภมู ทิ ปี่ ราศจากภยั และ ความหวาดกลวั ใดๆ อนั เปน จดุ หมายทป่ี รารถนาสงู สดุ ของเรา เหลา ผูเดนิ ตามรอยเทา ของพระอรยิ ะทงั้ หลาย บัดน้ี ขอเชิญทุกทานมารวมกันทัศนา ราชรถอัน วิเศษและเงียบสงัด ซึ่งพรอมจะนำเราทั้งหลาย เดินทางสู พระนิพพาน ดวยความปรารถนาดอี ยางยงิ่ ชมรมกัลยาณธรรม

โดย พระกมั มฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑิตาภวิ งั สะ

ทม่ี าของ “ราชรถสูพระนพิ พาน” เปน เนื้อหาในบทที่ ๖ แหง หนงั สอื “รแู จง ในชาตนิ ”ี้ (In This Very Life) ซงึ่ ทาน สยาดอ อู บณั ฑิตะ ไดรวบรวม เทศนาธรรมของพระกัมมัฏฐานาจริยะ อู บัณฑิตาภิวังสะ เจาอาวาสวัดปณฑิตาราม จังหวัดยางกุง ประเทศเมียนมาร แสดงแกผ ปู ฏบิ ตั ธิ รรมชาวตะวนั ตก ระหวา งการอบรมวปิ ส สนา กรรมฐาน ๓ เดือน ณ วิปสสนาภาวนาสมาคม (Insight Meditation Society) เมือง Barre มลรฐั Massachusetts ประเทศสหรัฐอเมรกิ า เม่ือ ป พ.ศ. ๒๕๒๗ “ราชรถสูพระนิพพาน” แปลเปนภาษาไทย โดย คุณพิชิต และคุณวิธัญญา ภัทรวิมลพร โดยมี หลวงพอ พระครปู ลดั ประจาก สริ วิ ณั โณ วดั ปรนิ ายก และ ทา นอาจารย พระสวา ง ตกิ ขวโี ร วดั มหาธาตุ ไดเ มตตาตรวจทานแกไ ข และ ปรบั ปรงุ ฉบบั แปล คณุ ผาณติ เจตนจ ริ าวฒั น เปน บรรณาธกิ าร ตน ฉบบั หมายเหตุ จากหนงั สือรูแ จง ในชาตินี้ ท่ีชมรมกลั ยาณธรรม นำมาจดั พิมพ แลว มี ๓ เร่ือง คือ รแู จงปรมัตถธรรมดวยการเจริญพละ ๕ (จากบทที่ ๒), โพชฌงค (จากบทท่ี ๔) และ ราชรถสพู ระนพิ พาน (จากบทท่ี ๖)

สารบญั ๑. ทางสายตรงสูการหลดุ พน ๒๔ ๒. อริยมรรคมอี งคแปด ๓๑ ๓. กิเลส กรรม และวบิ าก : วงจรอบุ าทวข องสังสารวฏั ๓๘ ๔. ราชรถทสี่ งัดเงียบ ๔๖ ๕. ความเพยี รทางกายและใจ คอื ลอ ท้ังสอง ๕๔ ๖. หริ ิ คือ พนักพิงหลัง ๖๐ ๗. สติ เปนเกราะกำบัง ๗๐ ๘. สมั มาทิฏฐิ เปนสารถี ๗๖ ๙. ปด ประตอู บาย ๑๐๙

คร้ังหน่ึง เมื่อพระพุทธเจาประทับอยู ณ พระเชต วันวิหาร ใกลนครสาวัตถี ประเทศอินเดีย เทพบุตรองคหน่ึง เหาะลงมาจากสวรรคเพื่อเขาเฝาพระพุทธองค พรอมบริวาร นบั พนั แมวารัศมีอันเจิดจาแหงเทพบุตรองคนี้จะแผไป ท่ัวพระเชตวัน ทานกลับดูเศราหมอง เม่ือนมัสการพระผูมี พระภาคเจาแลว ก็คร่ำครวญวา

๙พระกัมมัฏฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภวิ ังสะ “ขาแตพระองคผูเจริญ เทวสถานแหงปวงเทพ ชาง อึกทึกวุนวายจริงหนอ เทวดาท้ังหลายดูราวกับหมูเปรตท่ี กำลังสนกุ สนานรา เรงิ อยู สรวงสวรรคชา งสบั สน วนุ วายย่ิงนกั ขอพระองคทรงชท้ี างออกใหข า พระพุทธเจาดว ยเถดิ ” แปลกนักทค่ี ำกลาวนีเ้ ปนคำกลาวของเทพบตุ ร สรวง สวรรคเ ปนสถานท่ีอันควรยนิ ดี เหลาเทวดาท้ังหลาย ผูมคี วาม สงา งามและรอ งรำประโคมดนตรอี ยเู ปน นจิ ไมน า เปรยี บไดก บั ฝงู เปรตที่อยใู นความทุกขทรมานแสนสาหสั กลาวกันวา เปรต บางจำพวกมีทองใหญโตมโหฬารและมีปากเล็กเทารูเข็ม ตอง ทุกขท รมานอยใู นความโหยหิวตลอดกาล พระผูมีพระภาคทรงตรวจสอบอดีตชาติของเทพบุตร องคน ้ดี ว ยพระญาณ ทรงทราบวา ไมน านมานี้ เทพบตุ รองคนี้ เกดิ เปน มนษุ ยแ ละใสใ จในการปฏบิ ตั ธิ รรม ครงั้ ยงั หนมุ มศี รทั ธา ในพระธรรมวินัยถึงกับละทิ้งบานเรือนมาบวชเปนพระภิกษุ หลังจากไดรับการฝกอบรมภายใตการดูแลของครูบาอาจารย ครบหา ปต ามพทุ ธบญั ญตั แิ ลว กม็ คี วามชำนาญในขอ วตั รปฏบิ ตั ิ และสามารถเจรญิ ภาวนาไดโ ดยไมต อ งพงึ่ พาครอู าจารย ทา นจงึ ปลกี วเิ วกไปอยใู นปา ดว ยความปรารถนาอนั แรงกลา ทจ่ี ะบรรลุ

๑๐ ราชรถสูพระนพิ พาน อรหัตตผล ทา นจึงพากเพยี รในการปฏิบตั อิ ยางเครงครดั โดย เวนจากการนอนและแทบจะไมฉันอะไรเลย เพราะตองการ ทุมเทเวลาเพื่อการปฏิบัติธรรมอยางเต็มที่ แตแลวทานก็ ทำลายสุขภาพของตนเองจนทำใหเกิดโรคลมจุกเสียดแทงใน ทอง แมกระน้ันภิกษุหนุมก็ต้ังใจปฏิบัติดวยความมุงมั่นตอไป อยา งไมล ดละ ความเจบ็ ปวดในกายทา นทวมี ากขนึ้ จนกระทงั่ วันหนึง่ ทา นกม็ รณภาพขณะกำลงั เดินจงกรม ภิกษุรูปน้ีไดไปเกิดในสวรรคช้ันดาวดึงสทันใดน้ัน ราวกบั ตนื่ จากฝน ทา นไดม ายนื อยหู นา ประตวู มิ านอนั เรอื งรอง ในเคร่ืองทรงทองอันประณีต ภายในวิมานน้ีมีทวยเทพนับพัน ทรงเครื่องงดงามรอคอยทานผูซึ่งจะมาเปนหัวหนาของเหลา เทพน้ันอยู เหลาเทพตางยินดีท่ีเห็นทาน และโหรองตอนรับ ดวยความเบิกบาน ทั้งยังนำสังคีตมาดีดสี เพื่อขับกลอมทาน ดวย ทามกลางความอกึ ทกึ นี้ เทพบุตรผูน าสงสารไมท นั ได มีโอกาสท่ีจะพิจารณาวาทานไดมรณภาพและปฏิสนธิในภพ ใหมแลว ทานคดิ วา เทวดาเหลา น้คี อื คฤหัสถท ่ีมานมสั การทาน เทพบุตรองคใหมหลุบสายตาลงต่ำและจับชายเครื่องทรงอัน

๑๑พระกมั มัฏฐานาจริยะ อู บัณฑิตาภิวังสะ เปนทองของทา นมาเฉวยี งบา โดยอาการสำรวม เหลาเทพเหน็ อาการน้ันจึงกลาวกะทานวา “ทานอยูในสวรรคแลว ขณะนี้ ไมใชเวลาทำสมาธิ แตเปนเวลาแหงความสนุกสนานบันเทิง มาเถิดทา นมาเรงิ ระบำกันเถิด” เทพบุตรผูเคยเปนพระภิกษุมากอนแทบจะไมไดยิน คำพดู ของเหลา เทวดานน้ั เพราะทา นยงั เจรญิ อนิ ทรยี สงั วรอยู ในท่ีสุดเทวดาองคหนึ่งก็เขาไปหยิบกระจกบานใหญจากใน วมิ านมาใหเ ทพบตุ รองคใ หมด ู เมอื่ เหน็ แลว ทา นจงึ ทราบวา ทา น มไิ ดเ ปน พระภกิ ษเุ สยี แลว ไมม สี ถานทใี่ ดในสรวงสวรรคน ท้ี จี่ ะ สงบเงียบพอที่จะเจรญิ ภาวนา ทา นตกอยูในกับดบั เสียแลว เทพบตุ รจงึ ดำรดิ ว ยความทอ แทว า “เมอื่ เราละทง้ิ บา น เรอื นมาบวชเปนภิกษุ เราปรารถนาความสุขอนั ยงิ่ คอื อรหตั ต ผลเทา นนั้ บดั นเี้ ราเหมอื นนกั มวยทล่ี งสนามเพอ่ื ชงิ เหรยี ญทอง แตกลบั ไดห ัวผักกาดแทน” เทพบุตรผูเคยเปนพระภิกษใุ นอดีต กลวั แมแตจ ะกาว เขาไปในเขตของวิมาน ทานทราบดีวาจิตใจของทานยังไมเขม แข็งพอท่ีจะอดทนตอความหฤหรรษอันประณีตกวาในโลก

๑๒ ราชรถสพู ระนพิ พาน มนษุ ยน ไี้ ด ทนั ใดนนั้ ทา นกร็ ะลกึ ไดว า เทวดายอ มสามารถมายงั โลกมนษุ ยท ซ่ี งึ่ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงสงั่ สอนเวไนยสตั วอ ยไู ด ความคดิ นีท้ ำใหเทพบตุ รรูส ึกเบกิ บานขึ้นมาได ทา นคดิ วา “เราจะหาความสำราญในสวรรคเ มอื่ ไรกไ็ ด แตโ อกาสทจ่ี ะพบพระพทุ ธเจา นน้ั มนี อ ยยง่ิ นกั ” ทา นจงึ เหาะลง มาจากสวรรคโดยไมร รี อ พรอ มกับหมเู ทพนับพนั ท่ีเปน บริวาร เมื่อพบพระผูมีพระภาคเจาท่ีพระเชตวัน เทพบุตร จึงเขาไปเฝาและทูลขอความชวยเหลือ พระพุทธองคทรงเห็น ความทุมเทในการประพฤติปฏิบัตขิ องเทพบุตร จงึ ตรสั วา “ดูกรเทพ หนทางท่ีทานดำเนินอยูน้ีถูกตองแลว และยอมนำทานไปสูภูมิที่ปลอดจากภัย เปนอิสระจาก ความหวาดกลัวใดๆ อันเปนจุดมุงหมายของทาน ทาน จงขับยานอันสงัดเงียบ ลอทั้งสองจะเปนความพากเพียร ทางกายและใจ หิริจะเปนพนักพิง สติเปนเกราะปองกำบัง และสัมมาทิฏฐิจะเปนสารถี บุคคลไมวาหญิงหรือชาย ผูครอบครองยานนี้และขับยานนี้ไปดวยดี ยอมดำเนินถึง พระนพิ พานเปน แนแ ท”

๑๓พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภิวังสะ สนุกบันเทิงเปน นจิ นั้นผดิ ตรงไหน เรื่องของเทพบุตรผูเคยเปนภิกษุนี้มีกลาวในคัมภีร สังยุตตนิกาย ซ่ึงแสดงเรื่องราวเก่ียวกับการปฏิบัติสมาธิ ภาวนาไวหลายประการ เราจะศึกษาเร่ือง นไี้ ปโดยลำดบั แตบ างทคี ำถามแรก ทาน อาจตองการถามวา “เหตุใดจึงมีผู ไม พอใจ ที่ ได เกิด ใหม ใน สวรรค” เพราะสรวงสวรรคเปยมดวยความ สุขสำราญ เหลาเทพยังมีรูปกาย ที่งดงามและมีอายุยืนยาว ท้ังยัง แวดลอ มดวยกามสขุ นานาประการ ไมจำเปนเลยที่จะตองตายเสีย กอนแลวไปเกิดใหม เพ่ือเขาใจความรูสึกของเทพบุตรองค นี้ โลกน้ีมีสถานท่ีเปน ดังสวรรคอยแู ลว แตจ ะหาความสุขอนั เทยี่ งแทแ ละย่งั ยนื ในสถานที่เหลา นั้นไดห รอื ยกตวั อยา งเชน ประเทศสหรัฐอเมริกามีความเจริญเปนเลิศทางวัตถุ ความสุข ทางกายหาไดงาย เราจะเห็นผูคนมัวเมาจมปลักอยูในความ บนั เทงิ และความหรูหรา ทานลองถามตัวเองดูเถดิ วา คนเหลา

๑๔ ราชรถสพู ระนิพพาน นน้ั เขาคดิ ทจ่ี ะพจิ ารณาหรอื พยายามหาความจรงิ เกย่ี วกบั ชวี ติ ใหลกึ ซง้ึ บา งหรือไม เขามีความสขุ จรงิ หรอื ครั้งยังเปนมนุษย เทพบุตรองคนี้มีศรัทธาแกกลาใน พระธรรมคำสอนของพระพทุ ธเจา วา ความสขุ ทป่ี ระเสรฐิ สดุ คอื ความหลดุ พน ซงึ่ เกดิ จากการประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรม เพอ่ื แสวงหา ความสขุ อนั ประเสรฐิ ทา นจงึ สละชวี ติ ทางโลกออกบวชเปน บรรพชติ ทานพากเพยี รอยา งมุง มนั่ เพ่อื การบรรลเุ ปน พระอรหันต ท่ีจริงทานพากเพียรอยางอาจหาญเกิน ไปจนมรณภาพกอ นเวลาอนั ควร และแลวทานกลบั พบวา ทา นตอ งกลบั ไปเรมิ่ ตน ใหมโ ดยถกู แวดลอ ม ดวยโลกียสุขนานาประการท่ีทานพยายาม ละหนีมา เราคงพอจะเขาใจความผิดหวัง ของทา นไดกระมงั แทจ รงิ แลว ความตายเปน เพยี งการเปลย่ี นสภาวะของ การระลกึ รจู ากภาวะหนงึ่ ไปสอู กี ภาวะหนง่ึ เทา นนั้ ไมใ ชอ ะไรท่ี แปลกใหม สภาวะของการตายและการเกดิ ใหม เกดิ ตอ เนอื่ งกนั โดยไมมีระหวางคั่น แตการเกิดของเทวดาน้ันตางจากมนุษย เนอ่ื งจากเปนการปฏสิ นธิทันที และปราศจากความเจ็บปวด ดงั นน้ั เทพบตุ รผเู คยเปน พระมากอ นองคน น้ั จงึ มไิ ดเ สยี จงั หวะ

๑๕พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภวิ งั สะ ในการปฏิบัติธรรมไปในระหวางการเกิดใหมแตอยางใด แลว ก็ไมนาแปลกอีกเชนกันท่ีเทพบุตรจะบนวาเสียงอันอึกทึกใน เทวโลก หากทานเคยปฏิบัติกรรมฐานในระดับท่ีลึกซ้ึงมาแลว ก็จะรูวาเสียงอาจเปนเคร่ืองรบกวนและทรมานใจไดเพียงไร ไมวาจะเปนเสียงที่ดังสนั่นเพียงครั้งเดียวหรือดังถ่ีๆ แบบตอ เน่ือง สมมุตวิ า ในขณะน่ังกรรมฐานผูปฏิบตั เิ พง่ิ จะเขา สสู ภาวะ ที่สงบนง่ิ แลว ทันใดน้ันเสยี งโทรศัพทก ด็ งั ขน้ึ สมาธิทสี่ ะสมมา ตลอดชวั่ โมงกอ็ าจแตกกระจายไปในพรบิ ตา หากประสบการณ นี้เคยเกิดกับใครก็อาจเขาใจความรูสึกของเทพบุตรผูเคยเปน พระภิกษมุ ากอนองคนี้ท่ีเปรยี บเทวดาเหมอื นกบั หมเู ปรต เมอื่ โทรศัพทดังข้ึน อาตมาสงสัยวาผูปฏิบัติจะนึกบนวาอยางไร แมวาจะเปน เพื่อนของทา นเองทีโ่ ทรมากต็ าม ในพระบาลีเดิม พระสูตรบทน้ีมีการเลนคำกลาวคือ เทพบุตรองคน้ีพบวาตนเองอยูในอุทยานแหงสรวงสวรรคอัน ร่ืนรมย ช่ือ “นันทวัน” ซึ่งเปนท่ีเล่ืองลือวาเปนสถานที่อัน งดงาม แตเมื่อทานกราบทลู พระพทุ ธองค ทานเรียกช่อื สถาน ที่แหงน้ันเสียใหมว า “โมหะนะ” ซึง่ มาจากคำวา โมหะ ความ หลง สถานท่ีที่กอใหเกิดความสับสนและความวุนวายภายใน จิตใจ

๑๖ ราชรถสพู ระนิพพาน หนทางแหง การสละโลก ในความเขาใจของผูปฏิบัติ แนนอนวาเราอาจพึง พอใจกับความหวั่นไหวในปติสุขท่ีด่ืมด่ำ บางทีเปาหมายของ ผูปฏิบัติอาจไมใชอรหัตตผลเชนเทพบุตรองคน้ี หรืออาจจะ ใช ไมว าผปู ฏบิ ตั ิจะหวงั ผลประการใดจากการปฏิบตั ิ เช่ือ แนวาผูปฏิบัติยอมเห็นคุณคาของสมาธิและความ สงบที่เกิดจากการเจริญกรรมฐาน เพ่ือเขา ถึงสภาวะดังกลาว การปลอยวางในระดับ หนง่ึ เปนสิ่งจำเปน ทกุ ครงั้ ท่ีผปู ฏบิ ตั นิ ง่ั ลง เพอื่ เจรญิ กรรมฐาน แมเ พยี งชว่ั โมงเดยี ว ยอ มเทา กบั ไดส ละโอกาสทจี่ ะแสวงหา ความสขุ หรือเครื่องลอใจตางๆ ไปเปน เวลาหน่ึงช่ัวโมง แตกลับไดพบความ ปลอดโปรงจากความวุนวาย และจาก ความทุกขใจในการไขวควาหาความรูสึก อันนายินดีท้ังหลาย หากผูปฏิบัติเขากรรมฐานนานๆ แมตอง ละบา นเรอื น คนรกั และงานอดเิ รกไป แตห ลายคนกพ็ บวา การ เสียสละนีเ้ ปน สิ่งคมุ คา

๑๗พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภิวังสะ แมวาทานจะพร่ำบนเกี่ยวกับเทวภูมิ แตเทพบุตรก็ มิไดตั้งใจจะดูหมิ่นวิถีชีวิตของเหลาเทพ ทานเพียงแตรูสึกผิด หวงั ในตวั เองทไี่ มอ าจบรรลเุ ปา หมายของทา นมากกวา ทำนอง วา เราทำงานชน้ิ หนงึ่ โดยหวังวา จะไดเงนิ ๔๐,๐๐๐ บาท เรา ทำงานหนกั อยา งขยนั ขนั แขง็ และละเอยี ดถถ่ี ว น แตเ มอ่ื สนิ้ วนั งานช้ินนั้นยังไมเสร็จ เราไดคาจางมาเพียง ๒,๐๐๐ บาท ซ่ึง ยอ มทำใหผิดหวงั ท้ังน้ีมใิ ชวา จะรงั เกยี จเงนิ ๒,๐๐๐ บาท แต เปนความรูสึกผิดหวังที่ไมสามารถบรรลุจุดมุงหมายท่ีต้ังเอาไว ในทำนองเดียวกัน เทพบุตรโกรธตนเองและเปรียบตนเองกับ นักมวยท่ีชกไดหัวผักกาดแทนท่ีจะไดเหรียญทอง เหลาเทพ บริวารท้ังหลายเขาใจทานดี และไมไดรูสึกวาถูกเหยียดหยาม แทจริงแลวเหลาเทวดาก็สนใจในพระธรรมเชนกัน จึงติดตาม ทานมายังโลกมนุษย ซึ่งทานเหลานั้นก็ไดรับประโยชนจากคำ สง่ั สอนของพระพุทธองค หาก ผู ปฏิบัติ มี ความ มั่นคง ใน ธรรม ปฏิ บัติ แลว ความสนใจในการเจรญิ กรรมฐานจะตดิ ตามไปทกุ หนทกุ แหง แมใ นเทวโลก หาไมแ ลว ในไมช า ชวี ติ ทา นยอ มจะถกู รอ ยรดั ดวยโลกียสุขของภูมิที่ทานไปบังเกิด และความพยายาม ในการปฏบิ ตั ธิ รรมของทา นกจ็ ะเหือดหายไป

๑๘ ราชรถสพู ระนิพพาน สรางความมัน่ คงในการปฏบิ ัตธิ รรม เราลองมาดูวา เทพบุตรองคนี้มีความม่ันคงในธรรม ปฏิบัติไดอ ยางไร กอนเขาไปอยใู นปาตามลำพัง ทานอยใู นความ ดูแลของอุปชฌายอาจารยเปนเวลา ๕ ป รวมกับพระภิกษุอื่น ทานบำรุงอาจารยดวยวิธีตางๆ มากบางนอยบาง รับคำสอนใน การบำเพ็ญภาวนาจากอาจารยและประพฤติปฏิบัติตนตามพระ วินัยโดยบริบูรณ ในแตละปทานจะเขาจำพรรษาเปนเวลาสาม เดอื น หลงั จากนน้ั จะเขา รว มพธิ มี หาปวารณา ซง่ึ เปน ธรรมเนยี มที่ พระภกิ ษจุ ะกลา วถงึ ความผดิ และตกั เตอื นซง่ึ กนั และกนั ดว ยความ เมตตากรุณา เพื่อใหเ พ่ือนภกิ ษุไดแ กไ ขขอบกพรองของตน ความเปนมาของเทพบุตรผูเคยเปนพระภิกษุองคนี้เปน ตัวอยางสำคัญสำหรับโยคีทุกคน กลาวคือผูปฏิบัติพึงทำความ เขาใจวิธีการรักษาศีลอยางแจมแจง จนกระท่ังสามารถรักษา กายกรรมและวจีกรรมใหบริสุทธิ์หมดจดไดเปนปกติในชีวิต นอกจากนี้ผูปฏิบัติพึงมีความรับผิดชอบตอกันและกัน เพราะ เราอาศยั อยใู นโลกนร้ี ว มกนั เราพงึ เรยี นรกู ารปฏสิ นั ถารดว ยวธิ ี ทเี่ ก้อื กูลและเมตตาตอกนั สำหรบั การเจริญวปิ สสนากรรมฐาน เรายังตองพึ่งพาวิปสสนาจารยท่ีเชื่อถือไดและมีความสามารถ จนกวา เราจะชำนาญและผานวปิ ส สนาญาณทกุ ขนั้ แลว

๑๙พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภิวังสะ การแยกแยะแกนออกจากเปลอื ก พระภิกษุรูปน้ีมีคุณธรรมอันเลิศ ทานมีความมุงม่ันท่ี จะบรรลสุ จั จธรรม สำหรับทาน ไมมีสง่ิ ใดสำคัญเทาการปฏบิ ตั ิ ธรรม ทานพยายามแยกแยะสาระแกนสารออกจากเปลือก ดวยความระมัดระวังอยางสูง และหลีกเล่ียง กจิ กรรมทไี่ มเ กย่ี วกบั การปฏบิ ตั ิ โดยใช เวลาในการเจริญสติใหมากที่สุดเทาที่ จะทำได เปนการดี หากผูปฏิบัติจะ จำกัดขอบเขตความรับผิดชอบของตน เพ่ือจะไดมีเวลาในการปฏิบัติธรรมมากขึ้น หากทำ ไมได ขอใหนึกถึงเร่ืองของแมโค เปนท่ีทราบกันวา โคนั้น จะเค้ียวเอ้ืองตลอดเวลา และงวนอยูกับการกินหญาทั้งวัน เมอื่ แมโ คมลี กู ออ นวง่ิ วนุ ซกุ ซน หากแมโ คยงั เอาแตเ ลม็ หญา กินโดยไมคิดถึงลูก ลูกวัวก็คงจะวิ่งเตลิดไปจนเปนปญหา แตหากวาแมโคเพิกเฉยตอความตองการของตนเองและ เฝาดูลูกอยางเดียว แมโคก็คงตองเล็มหญากินท้ังคืน โยคี

๒๐ ราชรถสูพ ระนพิ พาน ผูปฏิบัติที่มีภาระหนาท่ีอื่นตองปฏิบัติไปพรอมๆกัน ก็ควร เลียนแบบแมโคทำงานของตนไป แตก็ไมละท้ิงการปฏิบัติ ธรรม พยายามไมใหจติ ฟงุ ซานไปไกลเกนิ ไปนัก เราทราบกันแลววาพระภิกษุรูปนี้ขยันขันแข็งและมี ความเพยี รอยา งแรงกลา ชว งเวลาทที่ า นตนื่ ทา นพยายามเจรญิ สตอิ ยา งดที สี่ ดุ อนั เปน สงิ่ ทผ่ี ปู ฏบิ ตั พิ งึ กระทำ พระพทุ ธองคท รง อนุญาตใหพระสงฆนอนหลับได ๔ ช่ัวโมง ในชวงมัชฌิมยาม แตพระภิกษุรูปนี้เห็นความจำเปนอยางยิ่งในการปฏิบัติ ทาน จึงละท้ิงท่ีนอนและไมยอมแมกระทัง่ คดิ ถงึ การนอน ย่งิ ไปกวา นั้น ทานแทบจะไมฉันอะไรเลย ทานพอใจอยกู บั การทำความ เพียรอยา งตอเนื่องเทา นั้น อาตมามิไดแนะนำใหผูปฏิบัติอดอาหารและอดนอน อาตมาเพียงประสงคใหผูปฏิบัติชื่นชมความมุงม่ันของเทพ บุตรผูเคยเปนพระภิกษุองคนี้ ในระหวางการอบรมวิปสสนา กรรมฐาน ผูปฏิบัติควรนอนใหเพียงพอตามพุทธดำรัส คือ ๔ ช่ัวโมง หากทำได ในชีวิตปกติอาจจำเปนตองนอนมากกวา นี้ แตก็ไมควรนอนมากเกินไปเสียจนทำใหเซื่องซึม สำหรับ การรับประทานอาหาร ผูปฏิบัติควรรับประทานตามความ พอใจเพ่ือใหมีกำลังเพียงพอสำหรับปฏิบัติภารกิจประจำวัน

๒๑พระกมั มฏั ฐานาจรยิ ะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ และการปฏิบัติธรรม แตก็ไมมากเกินไปจนรูสึกทองอืด และ งวงนอน เร่ืองของพระภิกษุทานนี้ช้ีใหเห็นถึงความจำเปน ในการรับประทานเพื่อบำรุงรางกาย อยางนอยใหไดรับ สารอาหารเพียงพอ บุคคลท่ีเสียชีวิตในระหวางการปฏิบัติธรรมหรือใน ระหวางการเทศนาธรรม สามารถเทียบไดกับวีรบุรุษหรือ วีรสตรีท่ีเสียชีวิตในสงคราม พระภิกษุองคนี้กำลังเดินจงกรม อยู ขณะที่ถูกคมดาบของธาตุลมประหาร เม่ือต่ืนข้ึนทานอยู บนสวรรค ผูปฏิบัติทุกคนก็จะเปนเชนเดียวกัน หากเสียชีวิต ในระหวา งปฏิบตั ิธรรมแมจ ะยงั มิไดบ รรลธุ รรมก็ตาม แมในภพภูมิที่ดี ก็ยังอาจมีบุคคลท่ีปรารถนาหนทาง ที่จะหลีกเรนไปสูอิสรภาพและความปลอดภัยที่สมบูรณ เม่ือ ทานไดไปปฏิสนธิในเทวภูมิ เทพบุตรผูเคยเปนพระภิกษุเกรง วาตัณหาของทานจะกลับกำเริบขึ้น หากทานยางกรายเขา ในวิมานแมเพียงกาวเดียว ทานรูวาศีลวัตรของทานอาจเสื่อม คลายลง การบรรลุธรรมยังคงเปนเปาหมายสูงสุด และเพื่อ บรรลุวัตถุประสงคน้ี ทานจำตองรักษาความบริสุทธ์ิไวใหครบ ถว น ทา นจึงหลีกหลบลงมายังวัดพระเชตวันและกราบทูลถาม คำถามตอ พระผมู ีพระภาคเจา

๒๒ ราชรถสพู ระนพิ พาน พทุ ธโอวาทชั้นสูง คำตอบของพระพทุ ธองคน น้ั รวบรัดผดิ ธรรมดา ปกติ แลวพระองคจะทรงส่ังสอนเปนลำดับข้ัน เร่ิมดวยการอบรม ศีล แลวจึงทรงแสดงเร่ืองความเห็นถูกในเรื่องของกรรมและ สมาธิ กอนที่จะทรงแสดงเรื่องการเจริญวิปสสนา คร้ังหน่ึง พระผูมีพระภาคเจาทรงยกตัวอยางอาจารยสอนศิลปะเพ่ือ อธิบายลำดับข้ันการสอนน้ี เม่ือมีผูที่อยากวาดภาพมาขอ ศึกษาเลาเรียนดวย อาจารยก็มิไดย่ืนพูกันใหทันที บทเรียน บทแรกคือสอนการขึงผาใบ เชนเดียวกับการที่ศิลปนไมอาจ วาดภาพบนอากาศไดฉันใด ยอมเปนการเปลาประโยชนที่จะ เริ่มการเจริญวิปสสนาโดยไมมีพ้ืนฐานของศีลและความเขาใจ ในเรอื่ งกฎแหง กรรม หากปราศจากสองสง่ิ นแี้ ลว กไ็ มม พี น้ื ฐาน (เหมือนผาใบ) ที่จะรองรับสมาธิและปญญา ในสถานปฏิบัติ ธรรมบางแหง การอบรมศลี และกฎแหง กรรมถกู ละเลย หาก เปน เชน น้ี กไ็ มอาจหวงั ผลจากการเจรญิ ภาวนาไดมากนกั นอกจากน้ี พระพทุ ธองคย งั ทรงปรบั คำสอนใหเ หมาะ สมแกภูมิหลังหรือจริตของผูฟงดวย พระองคทรงเห็นวาเทพ

๒๓พระกมั มฏั ฐานาจรยิ ะ อู บัณฑติ าภวิ งั สะ บตุ รองคน เี้ คยเปน พระภกิ ษุ และเคยปฏบิ ตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน อยางแกกลามาแลว ท้ังยังมิไดทำศีลของทานใหขาดลงขณะ ทมี่ าบังเกดิ ในสวรรคชนั้ ดาวดงึ ส ในภาษาบาลีมีคำวา การะกะ หมายถึงบุคคลที่ ซื่อตรงตอหนาที่และขยันขันแข็ง เทพบุตรผูเคยเปนพระภิกษุ องคน้ีเปนหน่ึงในบุคคลเหลานั้น ทานมิไดเปนโยคีแตเพียงใน นามเทานั้น อีกท้ังมิใชนักปรัชญาหรือคนชางฝนท่ีลุมหลงอยู แตในความคิดและจินตนาการ อีกทั้งมิใชคนเอื่อยเฉ่ือยที่เพง มองทุกส่ิงทุกอยางไรความหมาย ในทางตรงขามทานเปนผู ที่มีความอาจหาญและจริงใจในการปฏิบัติธรรม เทพบุตรผู เคยเปนพระภิกษุรูปน้ีเดินตามธรรมวิถีดวยความมุงม่ัน ความ ศรัทธา และความเชื่อม่ันอยางลึกซึ้งในการปฏิบัติ เกื้อหนุน ใหทานสามารถบำเพ็ญเพียรอยางตอเน่ือง ทานพยายาม นอมนำคำสอนท่ีไดรับฟงมาปฏิบัติทุกๆขณะ เราอาจเรียก ทานวานกั ปฏิบัติธรรมผชู ำ่ ชองก็ได

ทางสายตรงสูการหลุดพน

๒๕พระกมั มฏั ฐานาจรยิ ะ อู บณั ฑิตาภวิ ังสะ พระพทุ ธองคต รสั สอนภกิ ษผุ มู งุ มนั่ นด้ี ว ยคำสอนชนั้ สงู สำหรบั ผเู ชยี่ วชาญในการปฏบิ ตั ธิ รรม “มรรคาทท่ี า นดำเนนิ อยู นถี้ กู ตรงแลว และยอ มนำทา นไปสสู ถานทท่ี ป่ี ลอดจากภยั เปน อสิ ระจากความกลัวใดๆ อันเปน จุดหมายของทาน” มรรคาที่ กลาวถึงน้ีหมายถึงอริยมรรคมีองคแปดนั่นเอง เทพบุตรองค นี้ไดดำเนินมาตามหนทางน้ีอยูแลว และพระพุทธองคไดตรัส รับรองใหทานเดินตอไป พระองคทรงตระหนักดีวา เทพบุตร องคนี้ประสงคจะบรรลุอรหัตตผลในชาตินี้ จึงทรงช้ีทางสาย ตรงให นั่นคอื ทางสายวิปส สนา อริยมรรคมีองคแปดเปนทางตรงโดยแท ไมมีทาง แยก ไมค ดโคง หรือคดเคย้ี ว แตม ุงตรงไปสพู ระนิพพาน อกุศลกรรมบถ ๑๐ เราอาจทำความเขาใจลักษณะของกุศลไดดีข้ึน โดย การศึกษาจากสง่ิ ทต่ี รงขามกนั คอื อกุศล ทานกลาววา อกศุ ล กรรมหรือความประพฤติทุจริตมีอยู ๑๐ ประการ บุคคลท่ี

๒๖ ราชรถสพู ระนิพพาน ประกอบดวยลักษณะตางๆ เหลานี้ท้ังทางกาย วาจา และใจ บัณฑิตมองวา เปน ผูไมซอ่ื สตั ย คดโกง ขาดคณุ ธรรม กายทุจริตมีอยู ๓ ประการ ประการท่ีหน่ึง เกิดจากความรูสึกเกลียดชังและ กา วราว หากบคุ คลขาดเมตตาและกรณุ า ความรักและความ เห็นอกเห็นใจแลว เขาก็อาจยอมแพแกความรูสึกเชนนี้และ แสดงออกมาทางกายกรรม บางคนอาจฆา ทำรายหรือกดข่ี ผูอน่ื ประการที่สอง กายทจุ รติ อาจเกดิ จากความโลภ ซง่ึ หากไมค วบคมุ แลว กอ็ าจนำไปสกู ารลกั ขโมยหรอื การหลอกลวง เอาทรัพยสินของผูอ่ืน ประการท่ีสาม การประพฤติผิดในกามก็เปนกาย ทุจริต บุคคลท่ีถูกครอบงำดวยความใครปรารถนาท่ีจะสนอง ตัณหาของตน ก็อาจประพฤติผิดในกามโดยไมคำนึงถึงความ รสู ึกของผอู น่ื วจีทุจริตมี ๔ ประการ คอื หนึ่ง การพดู ปด สอง การพดู ยยุ งสอเสยี ดกอใหเกดิ ความแตกแยก

๒๗พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภิวังสะ สาม การพูดทำรายจิตใจผูอื่น พูดคำหยาบคาย ดา ทอ ลามก และ ส่ี การพูดตลกคะนอง (เพอเจอ ) มโนทจุ ริตมี สาม ประการ คอื หนง่ึ การคิดประทษุ รา ย สอง การเพง เล็งอยากไดของของคนอืน่ สาม ความเห็นผิดเกีย่ วกับกฎแหง กรรม ปฏิเสธกฎแหงกรรม ไมเช่ือวาการทำดีทำชั่วยอมให ผลเหลา น้ีนบั ไดว าเปนมิจฉาทฏิ ฐิในทางพุทธศาสนา ความคิด เปน พฤตกิ รรมประเภทหน่งึ ความคดิ เปนสง่ิ สำคญั มาก เพราะ เปนสาเหตุของการกระทำ การไมเช่ือกฎแหงกรรมสามารถ ทำใหเกิดพฤติกรรม การกระทำท่ีขาดความรับผิดชอบ สราง เหตุท่ีทำใหเกิดทุกขแกต นเองและผอู ื่น ยังมีมโนกรรมอ่ืนๆ อกี ทเ่ี ปน อกศุ ล แตมิไดรวมอยใู น อกศุ ลกรรมบถขา งตน เชน ความงว งเหงาหาวนอน ความฟงุ ซา น และกเิ ลสในลกั ษณะอนื่ ๆ อกี มากมาย บคุ คลทถี่ กู อำนาจเหลา น้คี รอบงำ นบั ไดวาเปนผทู ม่ี ีใจทจุ รติ

๒๘ ราชรถสพู ระนิพพาน อันตรายจากการเดนิ บนหนทางทเี่ ปนอกุศล บุคคลที่ยังถูกครอบงำดวยพฤติกรรมอันเปนทุจริต ท้ังภายในและภายนอกดังกลาว นับไดวากำลังเดินบนหนทาง ท่ีเปนอกุศล เขาไมมีหวังที่จะบรรลุสถานท่ีท่ีปลอดจากภัยได และตอ งเผชิญกบั อนั ตรายตางๆ ตลอดเวลา อันตรายประการหนึ่ง คือ ความรูสึกลงโทษตัว เอง เสยี ใจและเศราใจทไี่ ดก ระทำผิดในอดตี บุคคลอาจหาขอ แกตัวในอกุศลที่ไดกระทำ ไมวาทางกาย วาจา หรือใจ บาง คนอาจไมรูดวยซ้ำวาการกระทำเชนน้ันเปนอกุศล แตหลัง จากน้ันการระลึกถึงอดีตทำใหรูสึกเสียใจ บางคนนึกตำหนิ ตนเอง “นั่นเปนการกระทำท่ีโงมากเลย” ความเสียใจใน สิ่งที่ไดทำไปแลวเปนสิ่งที่เจ็บปวดมาก และเปนความรูสึก ท่ีไมมีใครอ่ืนมาทำเรา การเดินตามหนทางท่ีเปนอกุศลน้ี เปนการสรางทุกขใหแกตนเองและใหผลลัพธที่นากลัว เสมอ แตยิ่งนาสะพรึงกลัวโดยเฉพาะในวาระที่ใกลตาย ในชวงน้ันจะเกิดกระแสแหงจิตสำนึกที่ไมอาจควบคุมได ประมวลภาพชีวิตและการกระทำของแตละคนจะเกิดข้ึน

๒๙พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บณั ฑติ าภวิ ังสะ เปนฉากๆ หากบุคคลสั่งสมแตคุณธรรมและเมตตา ความ เอ้ือเฟอเผ่ือแผตอผูอื่น จิตใจก็จะเปยมดวยความอบอุนและ ความสงบ สามารถท่จี ะตายอยางสงบ แตหากบุคคลมิไดร ะวงั รักษาศีล ความเศราและเสียใจก็จะครอบงำจิต เขาอาจคิดวา “ชวี ติ ชางส้นั เสียนกี่ ระไร ฉันเสยี เวลาไปเปลา ฉันพลาดโอกาส ทจ่ี ะไดใ ชช วี ติ ในระดบั ทสี่ งู สดุ ทมี่ นษุ ยค วรจะเปน ” เมอ่ื ถงึ ตอน นั้นก็สายเสียแลวท่ีจะแกไข เขาจะตายดวยความทุกขทรมาน บางคนทกุ ขท รมานมาก ถงึ ขนาดทีต่ องรำ่ ไหออกมา การรูสึกลงโทษตนเองมิใชอันตรายเพียงอยางเดียว ของผูเดินบนทางท่ีเปนอกุศล บุคคลผูนั้นยังตองรับคำตำหนิ ติฉินจากบัณฑิต คนดียอมไมปรารถนาเปนมิตรหรือยกยอง ผทู ไ่ี วใ จไมไ ดห รอื บคุ คลทช่ี อบความรนุ แรง คนทไี่ รค ณุ ธรรม จะกลายเปน ท่ีรงั เกยี จในสังคม ไมอาจอยรู ว มกบั ผอู ่นื ได บนเสน ทางทเี่ ปน อกศุ ล บคุ คลอาจพบวา เขาตอ งตอ สู กับกฎหมายบานเมือง หากทำผิด กฎหมายก็จะตามลงโทษ ตำรวจจะตามจบั แลว จะตอ งถกู บงั คบั ใหเ สยี คา ปรบั หรอื ตดิ คกุ หรือบางทีอาจถูกตดั สนิ ประหารชวี ิต ท้งั นี้แลว แตค วามรุนแรง ของความผิด โลกปจจุบันนี้ ก็เต็มไปดวยความรุนแรงอยูแลว คนจำนวนมากทำผิดกฎหมาย ดว ยความโลภ ความโกรธ และ

๓๐ ราชรถสพู ระนิพพาน ความหลง พวกเขาทำผดิ ซำ้ แลว ซำ้ เลา ความลกึ แหง หว งอกศุ ล กรรมที่บุคคลอาจจมลงไปไดนั้นไมมีประมาณ เราอาจไดเห็น ขาวพฤติกรรมอันรุนแรงเกี่ยวกับการฆาตกรรมตางๆ เมื่อเจา หนาที่บา นเมืองตามจบั ฆาตกรได บคุ คลน้ันอาจตอ งชดใชด ว ย ชวี ติ ดงั นน้ั จงึ อาจกลา วไดว า ผเู ดนิ บนหนทางทเี่ ปน อกศุ ลยอ ม ตอ งเสีย่ งกบั อนั ตรายจากการถกู ลงโทษ แนนอนวาคนท่ีฉลาดอาจหนีรอดไปได หรืออาจ ทำผิดโดยอาศัยชองโหวของกฎหมาย เขาอาจหลีกเล่ียงการ ลงโทษโดยเจาหนาท่ีบานเมืองได แตเขาไมมีทางหลีกหนี การลงโทษตนเองไดเลยดังที่ไดกลาวมาแลว ความท่ีรูอยูแก ใจวาตนไดกระทำผิดไปน้ีเปนสิ่งเจ็บปวดมาก เรายอมเปน พยาน ให แก ตัว เอง ได ดี ทส่ี ดุ เราไมอ าจหนตี นเอง ได และยังไมอาจหลีก หนีจากอบายภูมิ เชน สัตวเดรัจฉาน นรก หรือเปรตได ครั้นเมื่อ บุคคล ได กระทำ ผิด ก รรม จะ ตาม ให ผล หากไมใหผลในชาติ น้ีก็จะติดตามไปใน อนาคต หนทางท่ี เปนอกุศลยอมนำ ไป สู ภยันตราย ตางๆ เหลา นี้

อริยมรรคมีองคแ ปด อกศุ ลยอมไมอยใู นอริยมรรคมีองคแปด โดยยอ มรรคมีองคแ ปดกค็ ือ ศลี สมาธิ และปญ ญา อันนำมา ซง่ึ ความบริบรู ณ และความถกู ตรงในชีวิตมนุษยท ุกๆ ดา น

๓๒ ราชรถสพู ระนพิ พาน อริยมรรคมีองคแ ปดหมวดศีล สัมมาวาจา หรือวาจาชอบ คำวาสัมมาวาจา หาก แปลตรงๆ ก็คือวาจาที่ถูกถวนหรือสมบูรณ หมายถึง คำพูด ท่ีตรงตอความเปน จริง นอกจากนี้ยังสรางความสามัคคใี หเ กิด ขน้ึ ในหมชู น มีเมตตา นาฟง ออ นหวาน ไมป ระทษุ รา ย และ เปนประโยชน การมีสัมมาวาจาทำใหลวงพนจากพฤติกรรมท่ี ไมเ หมาะสมทางวาจา ๔ ประการ ดังไดก ลาวแลว สัมมากัมมันตะ หรือการกระทำชอบ การกระทำท่ี ถูกตอง ยอมประกอบดวยความยับย้ังช่ังใจ บุคคลพึงเวนจาก ความประพฤติที่เปนอกุศลกรรมทางกาย ๓ ประการ ไดแก การฆา การลักขโมย และการประพฤติผดิ ในกาม ประการสุดทา ย สัมมาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชพี ชอบ กลา วคือ ดำรงชวี ิตดว ยความถูกตองเหมาะควรและปราศจาก มลทนิ ไมประกอบมจิ ฉาอาชีพ การขจัดอกุศลกรรม ๓ ประการนี้ ทำใหบุคคล สามารถควบคุมกิเลสอยางหยาบเอาไวได กิเลสเปนศัตรู ของเรา ซงึ่ บคุ คลควรจะระลกึ รแู ละพจิ ารณาอยเู นอื งๆ หาก ปราศจากศตั รู บุคคลก็ปราศจากอนั ตราย

๓๓พระกมั มัฏฐานาจริยะ อู บัณฑิตาภวิ งั สะ อริยมรรคมีองคแปดหมวดสมาธิ จิตที่ตั้งม่ันหรือสมาธิเปนหมวดท่ี ๒ ของอริยมรรคมี องคแ ปด ประกอบดว ยธรรม ๓ ประการ คือความเพยี รชอบ สติชอบ และสมาธิชอบ หวั ขอ นี้นาจะเปนทีค่ ุน หากทา นเคยปฏบิ ตั กิ รรมฐาน มากอน เม่ือผูปฏิบัติพยายามต้ังความระลึกรูไวท่ีทอง (พอง ยบุ ) น้คี ือความเพียรชอบ ซ่ึงมพี ลังอำนาจในการผลกั ใหกิเลส หา งไกลออกไป เมอื่ ผปู ฏบิ ตั มิ ีความเพยี รชอบ สตกิ ็จะเขม แขง็ ขน้ึ และสามารถเฝา ดอู ารมณตา งๆ ได และสตนิ ้กี ็จะทำหนา ที่ ตามรักษา กลาวคือ ความเพียรผลักไสกิเลสใหหางไกล และ สติจะทำหนาที่ปดประตูไมใหกิเลสกลับเขามาอีก คราวน้ีจิต จะสามารถรวมตัวต้ังมั่นได สติจะตามรูอารมณทุกขณะโดย สำรวม ไมฟ ุง ซาน สงบนง่ิ น้คี ือสัมมาสมาธิ หากองคธรรมทงั้ ๓ ปรากฏอยู ก็กลา วไดวา มรรคมี องคแปดหมวดสมาธิเจริญขึ้น ณ จุดนี้ความดางพรอยทางจิต (กเิ ลส) และอกศุ ลจติ จะถูกจำกดั ใหอยหู า งไกล หมวดสมาธินี้ ทำหนา ทีต่ อสูกับอกุศลจติ โดยตรง

๓๔ ราชรถสพู ระนิพพาน อรยิ มรรคมอี งคแ ปดหมวดปญ ญา ในทุกขณะ จิตจะมีความบริสุทธิ์และสงบดวยความ พยายามของผูปฏิบัติเอง สมมุติวาแตละนาทีผูปฏิบัติมีจิต ที่ปราศจากอกุศล ๖๐ คร้ัง ใน ๒ นาที ก็จะมีจิตท่ีบริสุทธ์ิ ๑๒๐ คร้ัง ลองคิดดูวาในหนึ่งช่ัวโมงหรือจนถึงหนึ่งวัน ผู ปฏิบัติสามารถสรางวินาทีแหงสันติสุขไดมากเพียงไร ทุกๆ วนิ าทมี คี า ท้งั ส้นิ ในแตละขณะเชนนี้ ผูปฏิบัติจะเห็นจิตหยั่งลงสูเปา หมายคืออารมณที่ปรากฏชัดในปจ จุบันขณะน้ี คอื การตั้งเปา หมายไวช อบ (สมั มาสงั กปั ปะ) เปนหนง่ึ ในหมวดปญญาของ อริยมรรคมีองคแปด เมื่อจิตปกลงสูอารมณเปาหมายอยาง แมน ยำ ยอ มจะมองเหน็ อารมณอ ยา งชัดเจน กจ็ ะเกิดปญ ญาที่ มองเหน็ อารมณอ ยา งชดั เจนและเปน การประจกั ษร สู ภาวธรรม ตามความเปนจริงซ่ึงเปนอีกองคหนึ่งของอริยมรรค กลาวคือ ความเห็นชอบ (สัมมาทฏิ ฐ)ิ หากจติ ตกลงสอู ารมณเปา หมายอยางแมนยำ ปญ ญา ก็จะเกิดขึ้น รับรูเง่ือนไขตามหลักของเหตุและผลท่ีเชื่อมโยง

๓๕พระกัมมัฏฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ ระหวา งสภาวธรรมทางกายและทางจิต เมือ่ จิตสมั ผัสกบั ความ ไมเ ทยี่ ง จติ กจ็ ะรจู กั อนจิ จงั ตามความเปน จรงิ ดงั นนั้ เปา หมาย ทต่ี ้งั ไวชอบและความเหน็ ชอบ จึงสัมพนั ธก นั อยู ความเห็นชอบท่ีเกิดจากการตั้งเปาหมายชอบ มีพลังอำนาจในการถอนรากของจิตท่ีเปนอกุศล รากลึก ของจิตท่ีเปนอกศุ ลนี้ หมายถึงอนสุ ยั กเิ ลสทซ่ี อ นเรนอยูอ ยา ง มิดชิด ซ่ึงจะสามารถขุดรากถอนโคนไดดวยปญญาเทาน้ัน สภาวธรรมน้ีเปนส่ิงท่ีพิเศษมาก จะเกิดข้ึนเพียงขณะเดียว ดวยวิธีปฏิบัติที่เปนของจริง กระทำไดจริงๆ และมิใชเกิด จากจนิ ตนาการ บางทีผูปฏิบัติอาจเขาใจไดมากขึ้นแลววาเหตุใด พระพุทธองคจึงตรัสวา หนทางน้ีเปนทางสายตรง อกุศล ทางกาย วาจา และใจ จะสามารถเอาชนะไดดวยการฝก ฝน ไตรสกิ ขา คือ ศีล สมาธิ และปญญาในอริยมรรคมีองคแปด เมอ่ื เดนิ ตรงตามเสน ทางนี้ ผปู ฏบิ ตั จิ ะสามารถกา วขา มอกศุ ล และรอดพน จากภยนั ตรายตา งๆ

๓๖ ราชรถสพู ระนพิ พาน พระนพิ พาน และ อริยมรรค ในฐานะสถานทีท่ ่ีปลอดจากภัย พระพุทธองคไดทรงรับรองกับเทพบุตรผูเคยเปน ภิกษุวาหนทางเสนน้ีจะนำไปสูสถานที่ท่ีปลอดจากภัย คำ วา “สถานที่ปลอดจากภัย” น้ี มีการอธิบายเพิ่มเติมอยาง ละเอียดในอรรถกถาของพระสูตรน้ี ความจริงคำน้ีหมายถึง พระนิพพานท่ีซึ่งปราศจากภยันตรายหรือความนากลัวใดๆ เหลืออยู สามารถเอาชนะความแก และความตายไดโดย เด็ดขาดหมดทุกขส้ินเชิงนั่นเอง ผูใดท่ีไดบรรลุพระนิพพานจะ ไดร บั การปกปอง จงึ ไดช ่ือวา “ผปู ราศจากความกลวั ” กลาว คือ เปน ผทู ีป่ ราศจากอันตราย การจะเขาถึงสถานท่ีท่ีปลอดจากภัยคือพระนิพพาน นี้ ผูปฏิบัติตองเดินไปทางโลกียมรรคของอริยมรรคกอน คำ วา โลกยี  ในท่ีนห้ี มายถงึ สิง่ ที่ไมไ ดอยเู หนือโลก มแี ตท างสายน้ี เทานั้นที่นำไปสูพระนิพพาน พระนิพพานเปนจุดหมายปลาย ทางของหนทางเสนน้ี

๓๗พระกัมมฏั ฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภิวังสะ เราไดกลาวถึงไตรสิกขาของหนทางเสนนี้แลววา คือ ศีล สมาธิ และปญญา เมื่อบุคคลมีศีลบริสุทธิ์ก็จะปราศจาก ความรูสึกสำนึกผิดและคำตำหนิของบัณฑิต ปลอดภัยจาก การลงโทษทางกฎหมายและการเกดิ ในอบาย เมื่อบรรลุความ บริสุทธ์ิในหมวดสมาธิ ผูปฏิบัติจะรอดพนจากภัยอันตราย ของกิเลสระดับกลาง กลาวคือ จิตท่ีไหลไปสูอกุศลและความ บีบคั้นอยูภายใน ปญญาในมรรคซ่ึงเกิดจากการเจริญสติและ สมาธิมีพลานุภาพทำลายอนุสัยกิเลส ดังนั้นแมจะยังไมถึง พระนิพพานท่ีปลอดจากภัยอยางแทจริง ผูปฏิบัติก็จะไดรับ การปกปองรักษาจากสิ่งท่ีนาสะพรึงกลัว ในระหวางที่ดำเนิน อยูบนทางแหง อริยมรรค ดงั น้นั อรยิ มรรคนี้เองก็เปน สถานที่ ทปี่ ลอดจากภยั ดวยเชน กัน

กเิ ลส กรรม และผลของกรรม : วงจงอบุ าทวข องสงั สารวฏั

๓๙พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บัณฑิตาภวิ งั สะ กิเลสเปนสาเหตุของภยันตรายตางๆ ในโลก อวิชชา ตัณหา และอุปาทาน ลวนเปนกิเลส เมื่อมีอวิชชา ทั้งยังถูก ผลักดันดวยตัณหา บุคคลประกอบกรรมแลวก็ตองรับผลของ กรรมน้ัน เพราะกรรมท่ีทำในอดีตภพใดภพหนึ่ง เราจึงกลับ มาเกิดในโลกนี้อีก ในอตั ภาพทเี่ ปนรางกายและจติ ใจนี้ กลา ว อีกนัยหนึ่งก็คือชีวิตของเราในปจจุบันชาติ เปนผลมาจาก เหตุในอดีต ในทางกลับกัน รางกายและจิตใจน้ีกลายเปน ที่เกาะกุมของตัณหาและอุปาทาน ตัณหาและอุปาทานน้ี เองเปนเหตุที่ทำใหเรากอกรรม ทำใหตองเกิดใหมอีกซ้ำ แลวซ้ำเลา เพื่อเพ่ิมพูนตัณหาและอุปาทานในกายและจิต กเิ ลส กรรม และผลของกรรม จงึ เปนองคป ระกอบ ๓ อยา ง ของวงจรอุบาทวในสังสารวัฏอันหาเบ้ืองตนไมได และหาก ปราศจากการเจริญวิปสสนากรรมฐานก็ไมอาจหาท่ีสุดได เชน กัน หากปราศจากอวิชชาหรือความหลงแลว วัฎจักรน้ีก็ ไมอาจตั้งอยูได ในเบื้องตนเราเปนทุกขจากอวิชชาคือความ ไมรู ความมืดบอดลวนๆ ย่ิงไปกวาน้ัน อวิชชาคือความไมรู จากความหลง ซ่งึ หากเราไมปฏิบตั ใิ หลกึ ซึ้ง ก็ไมอาจประจักษ ถงึ ลกั ษณะทแี่ ทข องความเปนจริง นั่นคือ อนจิ จัง ทุกขงั และ

๔๐ ราชรถสพู ระนพิ พาน อนตั ตา ไมอาจเหน็ ลกั ษณะของการเปลีย่ นแปลงทางกายและ จิตอันเปนสภาวธรรมท่ีเกิดข้ึนและดับไปทุกๆ ขณะไดอยาง ชัดเจน ไมอาจเห็นทุกขอันมหันตท่ีเราตองเผชิญอยูจากการ บีบค้ันของการเกิดขึ้นและดับไป มองไมเห็นวากระบวนการ เหลานี้ปราศจากผูควบคุม ไมมีใครอยูเบ้ืองหลัง ไมมีใครเปน ผูสงบ หากเขาใจลักษณะทั้งสามของรูปนามนี้อยางลึกซ้ึง ตัณหาและอุปาทานก็มิอาจเกิดขึน้ ได ดังน้ัน เพราะความหลง เราจึงปรุงแตงความจริง เขาใจผิดวารูปและนามเปนส่ิงคงทนถาวรและไมเปลี่ยนแปลง เราพึงพอใจกับการเปนเจาของรางกายและจิตใจนี้ และเขาใจ วามีตัวตนถาวรคือ “ฉัน” ทำหนาที่กำกับควบคุมรางกาย จิตใจน้ี ความ ไมรู สอ ง ประ เ ภท น้ี เ อ ง ท่ี กอ ให เกิด ตัณหา และอุปาทาน การยึดมั่นหรืออุปาทานก็เปนเพียงตัณหาหรือ ความอยากท่ีพอกพูนหนาขึ้นเทาน้ันเอง ดวยความปรารถนา ส่งิ นา พอใจทางรปู เสียง กล่ิน รส โผฎฐัพพะ และธรรมารมณ เราจึงไขวควา หาส่งิ ใหมๆ ร่ำไป เม่ือไดส ิง่ ที่ปรารถนา เราก็จะ กอดมนั ไวแ นน และไมย อมปลอยมันไป เหลานีก้ อใหเกิดกรรม ซ่งึ เปน สิ่งรอ ยรัดผกู มดั เราไวกับวฏั จกั รของการเกดิ ใหม

๔๑พระกัมมฏั ฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภิวังสะ ตดั สงั สารวัฎ แนน อนวา กรรมมหี ลายอยาง อกศุ ลกรรมนำมาซึ่งผล อนั ไมน า ปรารถนาและทำใหบ คุ คลตอ งวนเวยี นอยใู นสงั สารวฏั เมื่อเริ่มเดินบนหนทางแหง อริยมรรค ผปู ฏบิ ตั ิไมพงึ วติ กกับผล ของอกุศลกรรมท่ีเคยทำไวในอดีต เพราะผูปฏิบัติหลีกเล่ียง การกระทำที่เปนอกุศลอยูแลว ศีลยอมคุมครองผูปฏิบัติจาก ทกุ ขภ ยั ในอนาคต กศุ ลกรรมนำมาซงึ่ ความสขุ ถงึ แมว า ในขณะ เดยี วกนั จะผลกั ดนั เราไปสกู ารเกดิ ใหม แตใ นระหวา งการเจรญิ วิปสสนากรรมฐานไมมีการประกอบกรรมที่จะนำไปสูการเกิด ใหม การเฝาดอู ารมณท เี่ กิดขึน้ และดับไปเปน กศุ ลกรรม ท้งั ยงั เปน การตดั ภพชาตใิ นสงั สารวฏั อกี ดว ย ในความหมายทแ่ี ทจ รงิ วปิ ส สนากรรมฐานไมก อ ใหเ กดิ ผลกรรม ทเ่ี รยี กในภาษาบาลวี า วิบาก กลา วคอื การกำหนดทแ่ี มนยำจะปองกันมใิ หตณั หาเกิด ข้นึ รวมถงึ การปองกนั สง่ิ อ่ืนๆ ทีเ่ ปนผลพวงของการเวยี นวาย ตายเกดิ อันไดแก กรรม ชาติ ชรา และมรณะ ทกุ ๆ ขณะการเจรญิ วปิ ส สนาสามารถตดั วงจรอบุ าทว ของสังสารวัฏ คือ กิเลส กรรม และผลของกรรมลงไดอยาง

๔๒ ราชรถสูพ ระนิพพาน สิ้นเชิง เม่ือความเพียร สติ และสมาธิท่ีมั่นคงเกิดข้ึน การ กำหนดอารมณอยางแมนยำจะชวยใหสัมปชัญญะแทงตลอด เขาไปถึงลักษณะที่แทจริงของชีวิต ผูปฏิบัติจะมองเห็นสิ่งท้ัง หลายตามความเปนจริง แสงสวางแหงปญญาจะขับไลความ มดื บอดของอวชิ ชาออกไป เมอื่ ปราศจากอวชิ ชาแลว ตณั หาจะ เกดิ ขน้ึ ไดอ ยา งไร หากผปู ฏบิ ตั ปิ ระจกั ษแ จง ใน อนจิ จงั ทกุ ขงั และอนัตตา ตัณหาไมอาจเกิดขึ้นได และอุปาทานก็ไมอาจ เกิดตามมา ดังนั้น จึงกลาวไดวาอวิชชาทำใหเกิดอุปาทาน แตเมื่อมีวิชชาก็จะปราศจากอุปาทาน เม่ือไมมีอุปาทาน กไ็ มก อกรรมและก็ไมต องรับผลของกรรม อวิชชาทำใหเกิดตัณหาและอุปาทานความยึดมั่น ท้ัง ตอ ชวี ติ และตอ ความเหน็ ผดิ เกย่ี วกบั ตวั ตน การดำเนนิ ตามทาง แหงอริยมรรคชวยใหผูปฏิบัติสามารถทำลายเหตุของอวิชชา เม่ือไมมีเหตุเหลาน้ีแมเพียงช่ัวขณะเดียว จิตก็จะเปนอิสระ สังสารวัฏจะขาดลง นี่คือสถานท่ีท่ีปลอดจากภัยที่พระพุทธ องคตรัสถึง เมื่อเปนอิสระจากอวิชชา และจากกิเลส รวมทั้ง ผลกรรมอันนากลวั ท่จี ะพึงกอใหเกิดทกุ ขในอนาคต ผูป ฏบิ ัติก็ จะสามารถพบกับความปลอดภัยและความมั่นคง ตราบเทาท่ี ยังดำรงสตอิ ยู

๔๓พระกมั มัฏฐานาจริยะ อู บณั ฑิตาภิวงั สะ บางทผี ปู ฏบิ ตั อิ าจรสู กึ วา กายและจติ ของตนนน้ี า กลวั มากเสียจนอยากจะกำจัดมันไป อยางไรก็ตาม การคิดฆาตัว ตายก็ไมชวยใหอะไรดีขึ้น หากตองการความหลุดพนจริงๆ ผู ปฏิบัติพึงดำเนินชีวิตอยางฉลาด กลาวกันวา ตอเม่ือบุคคล เฝาสังเกตผลเทาน้ันเหตุจึงถูกทำลายลงได การทำลายน้ี มิใชการลงมือทำลายลางจริงๆ แตเปนการสิ้นสุดของพลัง ที่เปนบอเกิดของเหตุ เม่ือจิตรวมลงดวยสัมมาสติ สัมมา สมาธิ และสมั มาทฏิ ฐิ ปญ ญาจะทำหนา ทที่ ำลายเหตขุ องรปู และนามอนั จะพึงเกิดในอนาคต กลาวคือ ทกุ ๆ ขณะท่เี ฝา ดู อารมณที่เกิดข้ึนทางทวารท้ังหก กิเลสจะไมสามารถบุกรุก เขามาหรือเกิดขึ้นได เมื่อกิเลสอันเปนตัวกอใหเกิดกรรม และการเกิดใหมเกิดขึ้นไมไดแลว ผูปฏิบัติก็จะสามารถ ตัดภพตัดชาติในสังสารวัฏได เมื่อปราศจากเหตุเสียแลว ผลกไ็ มอาจเกดิ ข้ึนได เมื่อไดเดินตามหนทางแหงอริยมรรค ผานวิปสสนา ญาณข้ันตางๆ ผูปฏิบัติก็จะบรรลุถึงพระนิพพาน อันเปนท่ี ซึ่งปราศจากอันตรายไดในท่ีสุด การเขาถึงพระนิพพานมี ๔ ระดบั ในแตล ะขั้นกเิ ลสแตล ะอยางจะถกู ทำลายไปอยางถาวร เมื่อบรรลุพระนิพพานในระดับสุดทาย คือ อรหัตตผล จิต จะบรสิ ทุ ธิ์ปราศจากกิเลสโดยส้นิ เชิง

๔๔ ราชรถสพู ระนิพพาน ผูถงึ กระแส : ประสบการณพ ระนพิ พานคร้งั ที่หนงึ่ เมื่อบรรลุพระนิพพานครั้งแรก ในขณะที่ผูปฏิบัติเขา ถึงโสดาปตตมิ รรค สงั สารวัฏ (กิเลส กรรม วบิ าก) อันเปนเหตุ ใหเกิดทุกขจะถูกทำลาย บุคคลผูน้ันจะไมไปเกิดในภูมิของ ดิรจั ฉาน เปรต หรอื นรก เพราะกิเลสทจี่ ะนำไปสูภ พภูมเิ หลา น้ีไดถูกทำลายไป บุคคลผูนั้นจะไมประกอบกรรมที่จะนำไปสู การเกิดในสภาวะเชนนั้นอีก และผลกรรมแตอดีตท่ีจะนำไปสู ภพภมู เิ หลา น้กี ็จะกลายเปนอโหสิกรรมไปโดยปริยาย ในการบรรลุธรรมในระดบั ทีส่ งู ขนึ้ กเิ ลสจะถกู ทำลาย มากขนึ้ ๆ จนในทสี่ ดุ เมอ่ื บรรลอุ รหตั ตผล กเิ ลสจะถกู ทำลายไป โดยสิ้นเชิง รวมถึงกรรมและผลของกรรม พระอรหันตจะไม ถูกรบกวนดวยกิเลสเหลาน้ีอีก และเม่ือทานดับขันธก็จะเขา สูสภาวะอันปลอดภัยคือพระนิพพาน ไมกลับมาเวียนวายใน สังสารวฏั อีกตอ ไป ผู ปฏิบัติ อาจ มี กำลัง ใจ ท่ี ได รู วา แม ใน การ บรรลุ ธรรมข้ันต่ำสุด ผูปฏิบัติจะรอดพนจากการบำเพ็ญเพียรทาง

๔๕พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภิวงั สะ จิตท่ีผิดทาง หรือหนทางอันเปนอกุศลทุกชนิด ดังกลาว ไวใน “วิสุทธิมรรค” ที่พระพุทธโฆษาจารยไดรจนาไวใน พุทธศตวรรษที่สิบ นอกจากนี้ผูปฏิบัติจะยังไดรับอานิสงสที่ ทำใหพ น จากความรสู กึ ลงโทษตนเอง จากการตำหนขิ องบณั ฑติ จากอันตรายในการถูกลงทัณฑ และจากการตกลงไปอยูใน อบายภมู ิ

ราชรถที่สงดั เงยี บ

๔๗พระกมั มัฏฐานาจรยิ ะ อู บัณฑิตาภิวังสะ ปุถุชนที่ยังมิไดถึงกระแสแหงพระนิพพาน เปรียบ ไดกับนักเดินทางที่เริ่มทองเท่ียวไปบนหนทางท่ีเต็มไปดวย ภยันตราย มีอันตรายนานัปการที่รอคอยผูท่ีประสงคจะ ขามทะเลทราย ปาดงดิบ หรือปาโปรงอยู บุคคลผูน้ันจะ ตองเตรียมอุปกรณเคร่ืองมือใหพรอม ซ่ึงหน่ึงในจำนวน นั้นคือพาหนะที่ดีและมีคุณภาพ พระพุทธองคประทานทาง เลอื กที่ล้ำเลศิ แกเทพบตุ ร พระองคตรัสวา “เธอจงเดินทาง ไปในราชรถท่สี งดั เงยี บ” เราคงพอจะเดาไดวาเทพบุตรองคน้ัน คงจะเห็น วาการเดินทางท่ีสงบเปนส่ิงควรยินดี หลังจากที่ตองเผชิญกับ เสียงอึกทึกของนักดนตรีบนสวรรค แตความจริงยังมีความ หมายอนื่ อกี ณ ทน่ี ี้ พาหนะสวนใหญมีเสียงดัง เกวียนและรถมาโบราณ ที่ใชในสมัยพุทธกาลมีเสียงดังมาก โดยเฉพาะหากไมได หยอดน้ำมันหรือสรางมาไมดี หรือเวลาบรรทุกผูโดยสาร จำนวนมาก แมแตรถยนตและรถบรรทุกสมัยใหมก็ยังมีเสียง อึกทึก แตราชรถท่ีพระพุทธองคประทานใหน้ีมิใชราชรถ ธรรมดา แตเปนพาหนะท่ีบรรจงสรางมาอยางดีเสียจนสงัด เงียบเวลาขับเคล่ือนไป ไมวาจะมีสรรพสัตวจำนวนลานหรือ

๔๘ ราชรถสูพระนพิ พาน พันลานขับอยูก็ตาม ราชรถนี้สามารถนำสรรพสัตวทั้งหลาย ขา มมหาสมทุ ร ขา มทะเลทราย ผา นปา อนั รกชฏั แหง สงั สารวฏั ได นคี่ อื ราชรถแหง การเจรญิ วปิ ส สนาหรอื ราชรถแหง อรยิ มรรค มีองคแปด เมื่อพระพุทธองคยังทรงพระชนมอยู มีสรรพสัตวนับ ลาน ทั้งมนุษยและเทวดา บรรลุธรรมโดยการฟงพระธรรม เทศนาของพระพุทธองคเ ทา น้ัน เหลาสตั วน บั พันนบั แสนหรอื นับลานอาจฟงพระธรรมเพียงคร้ังเดียวก็สามารถกาวขาม สงั สารวฏั ไปในราชรถพรอ มๆ กนั ได ราชรถอาจไมมีเสียง แตผูโดยสารมักจะแซซอง กันโดยมาก โดยเฉพาะผูที่ไปถึงฝงอันปลอดจากภัยแลวคือ พระนิพพาน อริยบุคคลเหลานี้ยอมกลาวสรรเสริญและแสดง ความปต ิยินดีอยางยง่ิ ยวด “ราชรถน้ชี างวิเศษเสียน่ีกระไร เรา ไดโดยสารแลวและไดรับอานิสงสจริงๆ ราชรถนี้นำเรามาถึง พระนพิ พาน” ทา นเหลา นนั้ คอื พระอรยิ บคุ คล อนั ไดแ ก พระโสดาบนั พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต ผูซ่ึงไดบรรลุ ธรรมทง้ั ๔ ระดบั ทา นเหลา นต้ี า งแซซ อ งสรรเสรญิ ราชรถนเี้ ปน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook