Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PochChong

PochChong

Published by ชมรมกัลยาณธรรม, 2021-04-05 07:15:22

Description: PochChong

Search

Read the Text Version

พระพทุ ธองคตรสั วา โยนโิ สมนสกิ าร การใสใ จโดยอุบาย อนั แยบคายและการกระทำใหม าก ปฏิบัตใิ หมาก พหุลกี าโร จะทำใหสมาธเิ กดิ ขึ้น เมือ่ สมาธิเกดิ ข้นึ แลว ก็จะทำใหส มาธิเกดิ ขนึ้ อยา งตอเน่อื ง

ชมรมกลั ยาณธรรม หนงั สอื ดอี ันดบั ที่ ๑๗๖ ชอื่ หนงั สอื : โพชฌงค พระกมั มัฏฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภิวงั สะ จัดพิมพถวายเปนพุทธบูชาโดยชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถ.ประโคนชยั ต.ปากนำ้ อ.เมอื ง จ.สมุทรปราการ โทร. ๐๒-๗๐๒๙๖๒๔ หรือ ชมรมกัลยาณธรรม ๘๙/๖-๗ ซอยศกึ ษาวทิ ยา ถ.สาธรเหนอื สีลม บางรัก กทม. โทร. ๐๒-๖๓๕๓๙๙๘ รูปเลมและจดั พิมพ สำนกั พมิ พก อ นเมฆ โทร. ๐๘๙ ๗๘๕-๓๖๕๐ พิมพค รั้งที่ ๑ : ๖,๐๐๐ เลม : พฤษภาคม ๒๕๕๕ สพั พทานงั ธมั มทานัง ชนิ าติ การใหธ รรมะเปนทาน ยอ มชนะการใหท ้ังปวง www.kanlayanatam.com



โพชฌงค พระกมั มัฏฐานาจริยะ อู บัณฑติ าภวิ ังสะ การรูแ จง บคุ คลไมอาจบรรลุธรรมได โดยการนัง่ มองทอ งฟา โดยการคิดคำนงึ โดยการอานศึกษาพระไตรปฎก หรือปรารถนาเองวาสภาวธรรมจะปรากฏขึน้ เองในใจ แทจริงแลวมเี ง่อื นไขสำคญั ที่เปน รากฐานของการบรรลธุ รรม ปจจัยเหลา นี้มชี ือ่ ในภาษาบาลีวา โพชฌงค ธรรมท่ีเปนองคแ หงการตรสั รู มอี ยู ๗ ประการ

๕ คำวา “โพชฌงค” ประกอบดว ย คำวา โพธิ ซงึ่ หมายถงึ ปญญาอนั เปน เครอื่ งตรสั รู หรือพระอรยิ บคุ คลผูบ รรลุธรรมแลว และ คำวา องคฺ หมายถึงปจ จยั ท่ีเปน เหตุ ดังน้ัน โพชฌงค จึงหมายถึงธรรมท่ีเปนองคของผู ตรสั รูหรอื เปนองคแ หง การตรัสรู ความหมายทส่ี องของคำวา โพชฌงคเ กดิ จากตัดความของรากศัพทท ้ังสองไปอกี ทางหน่ึง คำวา โพธิ ในอีกความหมายหน่ึงหมายถึงความรู แจง ในอรยิ สจั ส่ี กลา วคอื ความรทู ว่ี า ทกุ อยา งลว นแตเ ปน ทตี่ งั้ แหง ทุกข ความไมน า พงึ พอใจ ความจรงิ ทว่ี า ตณั หาเปน เหตุ ใหเ กดิ ทกุ ข และความไมพ งึ พอใจนน้ั ความจรงิ ทวี่ า ทกุ ขเ หลา นส้ี ามารถทำใหห มดสน้ิ ไปได และความจรงิ เกยี่ วกบั หนทางที่ จะนำไปสูความดบั ทุกขอ ันไดแ กอ รยิ มรรคมีองคแปดนั่นเอง ความหมายทสี่ องของ องคฺ คอื สว นหรอื องคป ระกอบ ดังน้ัน ความหมายท่ีสองของโพชฌงคคือองคประกอบของ ญาณปญ ญาท่ีหย่งั รูในอริยสจั ส่ี ผูปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานทุกคนมีความเขาใจใน อริยสัจส่ีในระดับหนึ่ง แตความเขาใจอยางลึกซ้ึงนั้นจะเกิด ข้ึนโดยอาศัยมรรคจิตอันเปนผลของการเปลี่ยนแปลงของ

๖ จิตสำนึกในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเฉพาะ นี่เปนหน่ึงใน ญาณทศั นะขน้ั ตา งๆ ทพี่ งึ บงั เกดิ ขนึ้ ระหวา งการปฏบิ ตั ิ ญาณ นนั้ รวมถงึ สภาวะของนิพพานดว ย เมื่อโยคีประจักษในสภาวะนี้แลวก็จะเขาใจอริยสัจสี่ อยางลึกซ้ึงและสามารถกลาวไดวาผูปฏิบัตินั้นประกอบดวย โพชฌงคอยใู นตนแลว บุคคลเชนนี้แหละกลาวไดวาเปนอริยบุคคล ดังน้ัน โพชฌงคหรือองคแหงการบรรลุธรรมน้ีจัดเปนคุณสมบัติ ของอริยบุคคลดวย คำวาโพชฌงคน้ี บางครั้งเรียกวา สัมโพชฌงค คำวา สมั หมายถงึ เตม็ บรบิ รู ณ ถกู ตอ ง หรอื แทจ รงิ การใชคำนำหนาน้ีเปนการยกยองและย้ำความ แตก็มิไดมี ความหมายใดเพิ่มขึ้นเปน พเิ ศษ ธรรมทง้ั เจด็ ทเ่ี ปน องคแ หง การตรสั รู หรอื คณุ สมบตั ิ เจด็ ประการของพระอริยบคุ คล ไดแก สติ ธรรมท่เี ปนองคแหงการตรัสรู คือ ความระลึกได ธมั มวจิ ยะ ธรรมท่ีเปนองคแ หง การตรสั รู คือการเลอื กเฟนธรรม

๗ วริ ยิ ะ ธรรมทเี่ ปน องคแ หง การตรัสรู ปติ คือความเพยี ร ปสสทั ธิ ธรรมทเี่ ปนองคแ หง การตรสั รู สมาธิ คือความอม่ิ ใจ อุเบกขา ธรรมทเ่ี ปน องคแหงการตรสั รู คอื ความสงบกายสงบใจ ธรรมท่เี ปนองคแหงการตรสั รู คือความต้งั มนั่ แหงจติ และ ธรรมทีเ่ ปน องคแหง การตรัสรู คือความวางเฉย องคธรรมท้ังเจ็ดน้ีสามารถพบไดในทุกข้ันตอนของ การเจริญวิปสสนา แตหากพิจารณาตามขั้นตอนของลำดับ ญาณแลวอาจกลาวไดวา องคธรรมท้ังเจ็ดจะปรากฏชัดใน ญาณที่ผูป ฏบิ ตั ิเร่มิ เหน็ ความเกดิ ดับของสภาวธรรมตางๆ ผูปฏิบัติควรจะทำอยางไรในการพัฒนาองคธรรม เหลานใี้ หเ กดิ ข้นึ กโ็ ดยการเจรญิ สตปิ ฏ ฐานน่ันเอง พระพุทธองคต รสั ไวว า “ดกู ร ภิกษทุ ง้ั หลาย หากฐานทั้งสีข่ องสติไดรบั การ ปฏิบัติอยางตอเนื่องและสม่ำเสมอ โพชฌงคเจ็ดก็จะเกิดขึ้น จนบรบิ รู ณ”

๘ การเจรญิ สตปิ ฏ ฐานมไิ ดห มายถงึ การศกึ ษา การคดิ คำนงึ การฟงเทศน หรือการสนทนาธรรมท่ีเกีย่ วกับสตปิ ฏ ฐาน แตสงิ่ ทพ่ี ึงกระทำก็คอื ลงมือปฏบิ ตั ิเพือ่ หาประสบการณ ทแ่ี ทจ รงิ โดยตรง ดว ยการระลกึ รใู นธรรมอนั เปน ทต่ี ง้ั แหง ฐาน ทง้ั สีข่ องสติ สตปิ ฏฐานสตู รกลา ววาฐานท้ังสีน่ ไี้ ดแ ก หนง่ึ ความรสู กึ ทางกาย สอง เวทนา กลาวคือความรูสกึ เจบ็ ปวด สบาย หรอื เฉยๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ทางกายและจิต สาม จิตและความคดิ และ ส่ี ธรรม กลา วคอื อารมณตา งๆ ท่ีเขา มา กระทบกบั จติ ไดแก สงิ่ ทมี่ องเห็น ไดย นิ ลิม้ รส และอนื่ ๆ นอกจากนี้พระพุทธองคยังไดตรัสวา บุคคลควร ปฏบิ ตั อิ ยางตอเนอื่ งและสมำ่ เสมอ โดยไมข าดตอน นีค่ อื ส่ิง ท่ีเราควรพากเพียรในระหวางการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน แนวทางการสอนวิปสสนากรรมฐานที่ทานมหาสีสยาดอ พัฒนาข้ึนมาน้ัน มุงเนนการเจริญโพชฌงคเจ็ด เพ่ือดำเนิน ไปสกู ารเจริญมรรคตามคำสอนของพระพุทธองค

สติ ๑โพชฌงคอ งคทห่ี นึ่ง สติ ความระลกึ ได คือธรรมทีเ่ ปน องคแ หงการตรสั รอู งคทห่ี นึ่ง “ความระลึกได” เปนคำแปล อันเปน ท่ยี อมรับกันของคำวา สติ อยางไรกต็ าม มักมคี วามเขาใจกันผดิ ในนัยที่คอ นขางวางเฉย (passive) แทจ รงิ แลว สติ ตองมคี วามตื่นตวั และความเปนเฉพาะหนา ตออารมณ

๑๐ ในระหวา งการอบรม อาตมาสอนวา ควรสรา งความ มีสติดวยความกระตือรือรนในการกำหนดรูอารมณอยาง ครอบคลมุ และหยง่ั ลกึ ลงในกระบวนการทง้ั หมดอยา งสมบรู ณ และหมดจดโดยไมพ ลาดสว นประกอบใดๆ เลย เพอื่ แสดงให เหน็ ความรูส ึกอันมุงมัน่ นี้ อาตมาพอใจที่จะแปลคำวาสติเปน “อำนาจในการ เฝา ดู” มากกวาคำวา “ความระลึกได” อยางไรก็ตาม เพ่ือใหงายและสะดวก จะใชคำวา “ระลกึ ได” โดยตลอดในหนงั สอื เลม นี้ ถงึ อยา งไรกอ็ ยากให ผูอา นจดจำและเนน ถึงคณุ สมบัติท่ีต่ืนตวั ของสตดิ วย “ความระลกึ ได” นส้ี ามารถเขา ใจไดโ ดยการพจิ ารณา ลกั ษณะสามประการของลกั ษณะเฉพาะ (ลกขฺ ณ) หนา ที่ (รส) และอาการปรากฏ (ปจจฺ ุปฐาน) อนั เปนการแยกแยะตามนัยที่ใชในพระอภิธรรม ซึ่ง อธิบายองคประกอบของจิต เราจะใชอ งคประกอบเหลานใ้ี น การศึกษาโพชฌงคแตล ะองค

๑๑ การเฝาดอู ยา งจริงจัง ลักษณะเฉพาะ (ลกฺขณ) ของสติคอื การเฝา ดอู ยา ง จริงจัง ซงึ่ แสดงใหเหน็ วา สติมลี ักษณะคมชัดและหย่ังลกึ อปุ มาเหมือนการขวางจุกคอรกลงไปในลำธาร มนั จะลอย บางจมบา ง อยูบนผิวนำ้ แลวลอยไปตามกระแสนำ้ แตห าก เราโยนกอ นหนิ ลงไป มนั จะจมสูก นลำธารทันที ในทำนองเดียวกนั ความมีสตทิ ำใหแ นใจไดวา จิต จะหยง่ั ลึกลงสอู ารมณ ไมส ัมผสั อยา งผิวเผินแลว ผานเลยไป สมมุติวาผูปฏิบัติกำลังกำหนดดูทองเปนอารมณ ในการเจรญิ สติปฏฐาน ผูปฏิบัติพยายามเอาใจใสอ ยา งแรง กลาในการกำหนดรูเพ่ือใหจิตหย่ังลงสูกระบวนการของ อาการพองยบุ โดยไมใ หจติ หลุดลอยไป เม่ือจติ หยั่งลงสูกระบวนการเหลา น้ี ผปู ฏบิ ตั ิกจ็ ะ สามารถเขา ใจลักษณะทแ่ี ทจริงของความตงึ ความบบี คัน้ ความเคลอ่ื นไหว และในอาการอน่ื ๆ

๑๒ ความตอ เนอ่ื ง หนา ที่ (รส) ของสติคอื การระลึกรูอยตู ลอดเวลา โดยไมห ลงลืมหรอื ปลอ ยใหอารมณ [ของสติปฏ ฐาน] หาย ไป หากยงั มสี ติ การกำหนดอารมณที่กำลังเกิดในปจจุบันขณะจะ เปนไปโดยไมเผลอ เพ่ือปองกันลักษณะเฉพาะและการทำหนาท่ีของสติ อยา งผิวเผินหรอื ตกหลน ในระหวา งการปฏิบัติ ผปู ฏบิ ัติควร ทำความเขาใจและปฏบิ ตั เิ พ่ือเจรญิ ลกั ษณะท่สี ามของสติ อนั ไดแก อาการปรากฏ (ปจฺจุปฐาน) ซึ่งพัฒนาและกอให เกดิ ลกั ษณะอกี สองประการ ลกั ษณะสำคญั ของอาการปรากฏ แหงสติคือ ความเปนเฉพาะหนา สติทำใหจิตรับรูอารมณ โดยตรง ความเปนเฉพาะหนาตอ อารมณ ขณะท่ีผูปฏิบัติเดินไปตามถนนแลวอาจประจันหนา กบั คนทเ่ี ดนิ สวนทางมา ในทำนองเดยี วกนั ในระหวา งการ

๑๓ ปฏิบัติจิตของโยคีก็ควรจะสัมผัสกับอารมณในลักษณะเชนน้ี สตทิ แ่ี ทจ รงิ จะเกดิ ขนึ้ ไดก ด็ ว ยการพบกบั อารมณโ ดยประจกั ษ เทานั้น กลา วกนั วา ใบหนา เปน เครอื่ งหมายของลกั ษณะนสิ ยั ของมนุษย หากเราตองการจะรูจักบุคคลคนๆ หน่ึง เราก็ จะมองหนาบุคคลผูน้ันดวยความสังเกตพินิจพิเคราะห แลว จึงวินิจฉัยในเบ้ืองตนได แตหากเราไมพิจารณาดูใบหนาให ถ่ถี ว นกลับไปสนใจสว นอืน่ ของรางกาย การตัดสินใจนน้ั อาจ ผดิ พลาดได ในการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานก็เชนเดียวกัน ผู ปฏบิ ตั ติ อ งใชก ารพจิ ารณาอยา งใกลช ดิ ในการกำหนดอารมณ กรรมฐาน ความเขม งวดในการพจิ ารณาอารมณอ ยา งละเอยี ด ถถ่ี ว นเทา นนั้ ทจี่ ะทำใหผ ูปฏบิ ัตเิ ขา ใจลักษณะทแ่ี ทจรงิ ได เมื่อเราดูหนาใครคนหนึ่งเปนคร้ังแรกเราจะไดภาพ รวมโดยเร็ว และเมื่อเราดูอยางพินิจพิเคราะหเราจึงจะเห็น รายละเอยี ดตา งๆ เชน ค้ิว ตา และริมฝป ากชัดเจนขนึ้ แตใน เบอ้ื งแรกเราตอ งดใู บหนา ทงั้ หมดกอ น และตอ มากจ็ ะละเอยี ด ขน้ึ ชัดเจนข้นึ ในทำนองเดียวกันเม่ือผูปฏิบัติกำหนดรูอาการพอง

๑๔ ยุบของทอง เริ่มดวยการเฝาดูกระบวนการโดยรวมท้ังหมด กลา วคอื กำหนดจติ จดจอ อยทู อ่ี าการพองยบุ หลงั จากทำเชน นอี้ ยา งสมำ่ เสมอกจ็ ะพบวา สามารถกำหนดไดช ดั เจนขนึ้ ราย ละเอยี ดตา งๆ จะปรากฏขนึ้ โดยไมต อ งพยายามราวกบั เกดิ ขนึ้ เอง ผปู ฏบิ ตั จิ ะสงั เกตเหน็ อาการตา งๆ ของพองยบุ เชน ความ ตงึ ความกดดนั ความรอ น ความเยน็ หรอื อาการเคลอื่ นไหว ตางๆ เมอื่ ผปู ฏบิ ตั กิ ำหนดรอู ารมณท ซี่ ำ้ อยอู ยา งนน้ั ความ พยายามก็จะเริ่มใหผล สติจะถูกกระตุนและต้ังมั่นอยูกับ อารมณท่ีกำหนดโดยไมพลาด อารมณไมเลือนหาย หลุด ลอย หรอื ถูกลมื ไปโดยไมไดต งั้ ใจ กิเลสไมสามารถแทรกซมึ ปราการทเี่ ขม แขง็ ของสติ หากสามารถรกั ษาสตไิ วไ ดอ ยา งตอ เนอ่ื งเปน เวลานาน และผปู ฏบิ ตั จิ ะพบกบั ความบรสิ ทุ ธขิ์ องจติ ทปี่ ราศจากกเิ ลส การปอ งกนั การโจมตขี องกเิ ลสเปน ลกั ษณะทส่ี องของ ลกั ษณะทปี่ รากฏของสติ เมือ่ สติถกู สรา งขน้ึ อยา งตอ เนือ่ งและ สมำ่ เสมอ ปญ ญากจ็ ะเกดิ ขนึ้ ปญ ญาทเี่ ขา ไปรลู กั ษณะทแี่ ทจ รงิ ของกายและจติ กจ็ ะเกดิ ขนึ้ ไมเ พยี งแตผ ปู ฏบิ ตั จิ ะเขา ใจลกั ษณะ ของอาการพองยบุ ทต่ี นประสบไดจ รงิ ๆ แตผ ปู ฏบิ ตั จิ ะเขา ใจใน สภาวธรรมทางกายและจติ ที่เกดิ ขน้ึ ภายในตัวเองดว ย

๑๕ อรยิ สจั สี่ ผูปฏิบัติอาจเขาใจจากประสบการณโดยตรงวา สภาวธรรมทางกายและจติ ลวนประกอบดวยทกุ ข เมือ่ ความ เห็นเชนนี้เกิดขึ้นกลาวไดวา ผปู ฏิบตั ิเห็นอริยสจั ขอ แรกแลว เมื่อประจักษในอริยสัจขอท่ีหน่ึงก็เทากับไดเห็น อรยิ สจั ขอ ทเี่ หลอื อกี ทง้ั สามขอ น่คี อื สิง่ ทกี่ ลา วไวในพระบาลี และผปู ฏบิ ตั สิ ามารถประสบไดดว ยตนเอง เนื่องจากมีสติคอยระลึกรูในทุกขณะที่สภาวธรรม ทางกายและจิตเกดิ ขึ้น ตัณหาจึงไมอ าจเกิดขน้ึ ได เมอ่ื ละ ตณั หาไดอ ริยสจั ขอทีส่ องก็จะปรากฏขนึ้ ตัณหาเปน เหตใุ ห เกดิ ทกุ ข และเม่ือปราศจากตัณหา ความทกุ ขก็หายไป สำหรับอรยิ สจั ขอทีส่ าม ความดบั ทกุ ขจ ะปรากฏชดั เมอ่ื โมหะและกิเลสอ่ืนๆ ถูกทำลายไป ปรากฏการณเ หลา นี้จะเกิดข้ึนและดับลงอยางรวดเร็วเพียงเส้ียววินาทีขณะที่สติ และปญ ญาต้งั ม่ัน การเห็นอริยสัจขอที่สี่หมายถึงการเจริญมรรคมี องคแปดจะเกิดขึ้นพรอมกับการเจริญสติในแตละขณะจิต เราจะพูดถึงมรรคแปดโดยละเอยี ดอกี ครัง้ ในบทตอไป ใน หัวขอ “ราชรถสพู ระนิพพาน”

๑๖ ดวยเหตุนี้ เราอาจกลาวไดวา ผูปฏิบัติวิปสสนา กรรมฐานสามารถเห็นแจงในอริยสัจส่ีไดตราบเทาท่ีสติและ ปญ ญาตั้งม่ัน ประเด็นน้ีเช่ือมโยงกับความหมายสองประการของ โพชฌงคที่ไดกลาวไวแลวในตอนตน สตินี้เปนสวนหนึ่งของ จิตที่มีญาณหยั่งรูสภาพความเปนจริงของส่ิงตางๆ อันเปน สวนหนึ่งของการตรัสรูธรรม ซึ่งจะปรากฏขึ้นในจิตของผูที่ แจงในอริยสัจสี่ ดงั นั้นจงึ กลาวไดว า สติเปน โพชฌงค องค แหงการตรัสรธู รรม เจรญิ สตดิ วยการมสี ติ สาเหตเุ บอื้ งตน ของความมสี ตกิ ม็ ใิ ชอ ะไรอน่ื นอกจาก ตวั สตเิ อง เปน ธรรมดาทจ่ี ะตอ งมคี วามแตกตา งกนั ระหวา งสติ อยางออนท่ีปรากฏในระยะเริ่มแรกของการปฏิบัติวิปสสนา กรรมฐานกับสติในการปฏิบัติระดับสูงท่ีมีความแกกลาจน ทำใหเ กิดการตรัสรธู รรม ทจ่ี รงิ การเจรญิ สตกิ เ็ ปน กระบวนการสบื ทอดพลงั งาน แบบธรรมดา สตใิ นขณะหน่งึ เปน สาเหตใุ หส ติขณะตอมาเกดิ ขนึ้ น่ันเอง

๑๗ การเจริญสติ ๔ วธิ ี พระอรรถกถาจารยไ ดแ สดง แนวทางอีกสีว่ ิธใี นการพัฒนาสตใิ หเ ขมแข็งย่ิงขึน้ จนเกดิ คุณสมบตั ิทเ่ี หมาะสมกับชอ่ื โพชฌงค ๑. สติและสัมปชัญญะ วธิ หี นง่ึ ไดแ ก สตสิ มั ปชญั ญะ ซงึ่ มกั จะแปลวา “ความ ระลึกได และความรตู วั ทว่ั พรอม” สติในที่นี้คือความสังเกตพินิจพิเคราะหเอาใจใส เฝาดูอารมณหลักและอารมณอ่ืนๆ ที่เกิดขึ้นระหวางการนั่ง วปิ สสนากรรมฐาน

๑๘ สัมปชญั ญะ ความรูต ัวท่ัวพรอม หมายถงึ ความรูใน ขอบเขตทีก่ วา งกวา กลา วคอื ความรูในการเดนิ เหยยี ด คู หนั เหลียว และในกจิ กรรมตางๆ ในชีวิตประจำวัน ๒. เวนจากบุคคลผมู ีสติหลงลมื การเวน จากบคุ คลทข่ี าดสตเิ ปน วธิ ที ส่ี องในการพฒั นา สติที่จะนำไปสูการตรัสรูธรรม หากผูปฏิบัติพยายามอยาง สุดความสามารถในการรักษาสติ แตบังเอิญมาพบกับคนที่ ขาดสติ แลวบุคคลนั้นตอนใหผูปฏิบัติตองสนทนาดวยเปน เวลานาน เทา น้ีผูป ฏบิ ตั ิคงพอนึกออกวา สติหายไปไดรวดเร็ว อยา งไร ๓. คบหาสมาคมกับผไู ดเ จรญิ สตปิ ฏ ฐาน วธิ ที ส่ี ามในการเจรญิ สตคิ อื การคบหาสมาคมกบั ผทู ี่ มสี ติ บคุ คลดงั กลา วจะชว ยเปน ขมุ แหง แรงบนั ดาลใจ การอยู รว มกันในบรรยากาศท่ีมสี ตมิ คี วามสำคัญ ผปู ฏิบัติสามารถ สรา งสติใหเ จรญิ และมัน่ คงข้นึ

๑๙ ๔. นอมใจไปในอารมณกรรมฐาน วิธีที่ส่ีไดแก การนอมใจเขาหาการเจริญสติ วิธีน้ี หมายถึงต้งั ใจใหก ารเจริญสติเปน ส่งิ สำคัญสูงสดุ หมัน่ เตือน ใจใหห วนกลับมาหาสตทิ ุกโอกาส วิธีการนี้มีความสำคัญมาก ทำใหเกิดความไม หลงลืมหรือใจลอย ผูปฏิบัติพึงพยายามหลีกเล่ียงกิจกรรม ท้ังหลายที่ไมเอ้ือตอความเขมแข็งของสติซ่ึงมีอยูมากมายดัง ทรี่ ูกันอยู ผูปฏิบัติมีหนาที่อยางเดียวก็คือการระลึกรูสิ่งตางๆ ที่กำลังเกิดขึ้นในปจจุบัน ในระหวางการฝกอบรมวิปสสนา กรรมฐานที่เขมงวด ผูปฏิบัติตองหลีกเล่ียงความสัมพันธ ทางสังคม งดการเขียนและการอานแมกระท่ังการอาน พระไตรปฎก ผูปฏิบัติพึงระมัดระวังเปนอยางสูงในการรับ ประทานอาหาร ไมปลอยพฤติกรรมใหเปนไปตามความ เคยชิน กลาวคือผูปฏิบัติพึงพิจารณาอยูเสมอวา เวลากับ ปริมาณและประเภทของอาหารที่รับประทานนั้นจำเปนเพียง ใดหรือไม หากไมจำเปนแลวพึงหลีกเล่ียงการกระทำท่ีไม จำเปน

ธมั มวจิ ยะ ๒โพชฌงคองคท ่ีสอง กลาวกันวาจติ มนุษยถูกหอ หมุ ดว ยความมดื ญาณหรอื ปญ ญาทเี่ กดิ ขึ้น เปรยี บประดจุ แสงสวา ง ทีฉ่ ายเขา มา แสงนี้เผยใหเ ห็นสภาวธรรมทางกายและจติ เพ่ือใหจ ิตสามารถรบั รไู ดอ ยา งชัดเจน ราวกบั วาเราอยใู นหอ งมืดแลวมีผสู งไฟฉายมาให เราจึงเร่มิ มองเหน็ สงิ่ ตางๆ ท่ีอยูในหองได การอุปมานจ้ี ึงแสดงถงึ ธรรมที่เปน องคแหงการตรัสรู องคทีส่ องที่มีชื่อวา “การเลอื กเฟนธรรม” หรือ ธัมมวจิ ยสัมโพชฌงค ในภาษาบาลี

๒๑ อาจจะตอ งขยายความวา “การเลือกเฟน ธรรม” สกั เลก็ นอ ย ในการปฏบิ ตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน การเลอื กเฟน ธรรม น้มี ไิ ดเ กิดข้ึนในกระบวนการทางความคดิ หากแตเ ปน สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เองเหมอื นกบั ปญ ญาทสี่ ามารถ แยกแยะลกั ษณะท่ีแตกตา งของสภาวธรรมตา งๆ คำวา วิจยะ มกั จะแปลวา “การไตส วน” และยงั เปนช่อื “ปญญา” หรือ “ญาณ” ดังน้ันในการเจริญวิปสสนาจึงไมมีการวิจัยที่ไม ปรากฏผล เมอ่ื ใดกต็ ามทว่ี จิ ยะเกดิ ขน้ึ การไตส วนและปญ ญา ญาณกจ็ ะเกดิ ข้นึ พรอมๆ กนั เพราะเปนสงิ่ เดยี วกัน อะไรคือส่ิงท่เี ราวจิ ัยหรอื เลือกเฟน อะไรที่เราสำรวจ คำตอบกค็ อื ธรรมะนนั่ เอง ธรรมะเปน คำทมี่ คี วามหมายหลาก หลายซง่ึ ลว นประกอบไดดวยผูปฏบิ ตั ิเอง โดยทั่วไป เม่ือเรา กลา วถงึ คำวา “ธรรมะ” เรามักจะหมายถึงสภาวธรรมของ นามและรปู นอกจากนเี้ รายงั หมายถงึ กฎทกี่ ำหนดพฤตกิ รรม ของสภาวธรรมอกี ดว ย เมื่อคำวา “ธรรมะ” เขียนดวยอักษรตัวพิมพใหญ (ในภาษาองั กฤษ) มักหมายถึงคำสง่ั สอนของพระพทุ ธองคผู ตรสั รญู ายธรรม และชว ยใหผ อู ่ืนไดรตู าม อรรถกถาอธบิ ายไวว า คำวา “ธรรมะ” ในบรบิ ทของ ธัมมวิจยะ มคี วามหมายเฉพาะทเี่ พมิ่ เตมิ มา กลาวคือหมาย ถึงสภาวะหรือคุณสมบัติเฉพาะที่ปรากฏอยูในอารมณแตละ

๒๒ อยา ง (สภาวลกั ษณะ) รวมถงึ สามญั ลกั ษณะของแตล ะอารมณ ทมี่ ลี กั ษณะรว มกนั ดงั นน้ั สภาวลกั ษณะและสามญั ลกั ษณะจงึ เปนส่ิงทเี่ ราพึงพิจารณาในการปฏบิ ัตวิ ปิ สสนากรรมฐาน ลกั ษณะที่แทจ รงิ ของธรรมะ ลักษณะของธัมมวิจยะ คือ ความสามารถท่ีรูจัก ลักษณะท่ีแทจริงของธรรมโดยการเลือกเฟนธรรมที่มิไดเกิด จากความคิด ขจดั ความมดื หนา ทข่ี องธมั มวจิ ยะ คอื การขจดั ความมดื เมอื่ ธมั ม วิจยะปรากฏข้ึนจะจุดประกายใหกระบวนการรับรูสวางไสว และตื่นตัว สามารถมองเห็นอารมณที่กำหนดดูอยูไดอยาง ชัดเจน ทำใหจิตสามารถมองเห็นลักษณะและแทรกซึมเขา สูธรรมชาติท่ีแทจริงของอารมณระดับที่สูงข้ึนไป ธัมมวิจยะ มีหนาที่กำจัดความมืดใหหมดส้ินและปลดปลอยจิตเขาสู นิพพาน ดังน้ันจึงเห็นไดว า ธมั มวจิ ยะเปน ธรรมท่ีสำคญั ตอ การปฏบิ ตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน หากองคธ รรมนอ้ี อ นกำลงั หรอื ขาดหายไปกจ็ ะเปน ปญหา

๒๓ ขจัดความสับสน หากเราเดนิ เขา ไปในหอ งมดื เราอาจเตม็ ไปดว ยความ หวาดระแวงสงสยั “ฉันจะสะดุดอะไรไหมหนอ หนาแขงฉนั จะกระทบกับอะไรหรือเปลา ฉนั จะเดนิ ชนกำแพงหรือเปลา ” จติ ของเราจะเกดิ ความสบั สนเพราะเราไมร วู า มอี ะไรอยใู นหอ ง บา ง หรอื อยูท ่ีตรงไหน ในทำนองเดยี วกัน หากปราศจาก ธัมมวิจยะ ผูปฏิบัติก็จะอยูในสภาวะท่ีวาวุนสับสน เต็มไป ดว ยความสงสัยนานปั การ “มีใครอยูหรือเปลา หรอื วา ไมม ี มตี วั ตนอยหู รอื เปลา หรอื ไมม ี ฉนั เปน ปจ เจกบคุ คลหรอื เปลา วิญญาณมีอยหู รือวาไมมี ผมี ีอยหู รอื วาไมม ”ี ผอู า นเองกอ็ าจเคยผจญกบั ความสงสยั เหลา นม้ี าแลว บางทเี ราอาจสงสยั คำสอนเกยี่ วกบั อนจิ จงั ทกุ ขงั และอนตั ตา “ทา นแนใ จหรอื วา สงิ่ ทง้ั หลายไมเ ทยี่ ง” บางทอี าจมอี ะไรบาง อยา งทไี่ มถ งึ กบั ไมน า พอใจเอาเสยี เลย บางทอี าจมตี วั ตนของ ชวี ิตที่เราอาจยงั ไมคน พบก็เปน ได บางคนอาจคดิ วา นิพพาน เปน เพยี งนิทานท่อี าจารยค ิดข้นึ ไมไ ดมีอยจู ริง อาการปรากฏของธมั มวจิ ยะ จะทำใหค วามสบั สนทง้ั หลายหมดไป เมอ่ื ธมั มวจิ ยสมั โพชฌงคเ กดิ ขนึ้ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง จะเรืองรองสวา งไสว จิตจะมองเหน็ สงิ่ ท่ีปรากฏอยางแจมชัด

๒๔ กระท่ังธรรมชาติของกายและจิต หมดความวิตกกังวลวาจะ เดนิ ชนกำแพงอกี ตอ ไป ความไมเ ทยี่ งเปน ทกุ ขแ ละความไมใ ช ตวั ใชต นจะปรากฏชดั แกผ ปู ฏบิ ตั ิ ในทสี่ ดุ ผปู ฏบิ ตั อิ าจบรรลถุ งึ สภาวะทแ่ี ทจ รงิ ของนพิ พาน ไมต อ งสงสยั วา นพิ พานมอี ยจู รงิ หรอื ไมอ ีกตอไป ปรมตั ถสัจจะ ธมั มวจิ ยะ แสดงลกั ษณะของปรมตั ถธรรมหรอื ความ จริงโดยความหมายสูงสุด ปรมัตถธรรมหมายถึงสภาวะซ่ึง สามารถประสบไดโ ดยตรงโดยไมใ ชก ารนกึ คดิ ปรมตั ถธรรม นี้สามารถแบง ออกเปน สามประเภท คอื สภาวธรรมทางกาย สภาวธรรมทางจติ และนิพพาน สภาวธรรมทางกายประกอบดวยธาตสุ ี่ คือดิน น้ำ ลม และไฟ แตล ะธาตุมีลักษณะพิเศษทซ่ี อ นเรน อยใู นตัวแตก ตางกันไป เมอ่ื เรากลา วถงึ “คณุ สมบตั เิ ฉพาะ…” เรากอ็ าจหมาย ถงึ “สามารถสมั ผสั ไดเ หมอื น…” เนอื่ งจากเราสามารถสมั ผสั ลกั ษณะตา งๆ ของแตละธาตุทง้ั สี่นี้ในรางกายโดยความรูสกึ ลกั ษณะเฉพาะ หรอื สภาวลักษณะ ของธาตุดนิ ก็คอื

๒๕ ความแขง็ ธาตนุ ำ้ มลี กั ษณะไหลและเกาะกมุ ลกั ษณะของธาตุ ไฟ คอื อณุ หภูมิ ความรอน และความเยน็ สวนธาตลุ ม หรือ อากาศมลี กั ษณะตึง เกรง็ เขมง็ เกลียว หรอื เสยี ดแทงรวมถึง ความไหวและเคล่ือนไหล สภาวธรรมทางจิตก็มีลักษณะเฉพาะเชนเดียวกัน ยกตวั อยางเชน จติ หรอื ใจ มีการรบั รอู ารมณเปนลกั ษณะ องคประกอบของเจตสิก คือ ผัสสะ หรือการสัมผัสซ่ึงมี ลกั ษณะของการกระทบ ตอไปนี้ขอใหผูปฏิบัติใสใจท่ีอาการพองยุบของทอง เมอ่ื ผปู ฏิบัตมิ ีสติ กำหนดดูการเคลื่อนไหวของทอง ผปู ฏิบตั ิ อาจสงั เกตเหน็ ไดว า อาการพองยบุ นก้ี ป็ ระกอบดว ยความรสู กึ อาการแนน ตงึ กดดัน เคลอื่ นไหว ซ่งึ เปน ปรากฏการณของ ธาตุลม ผูปฏิบัติอาจรูสึกถึงความรอนหรือความเย็นซ่ึงเปน ลกั ษณะของธาตไุ ฟไดด วย ความรูส กึ เหลานเี้ ปนอารมณของ จิต เปนธรรมะทผ่ี ูปฏิบตั พิ ึงพิจารณา หากผูป ฏิบัตสิ ามารถ รบั รคู วามรสู กึ เหลา นไี้ ดอ ยา งเฉพาะเจาะจงแลว เราอาจกลา ว ไดวาธมั มวิจยะกำลังปรากฏอยู นอกจากน้ีธัมวิจยะยังสามารถแยกแยะลักษณะอ่ืนๆ ของธรรมะไดอ กี เมอ่ื ผปู ฏบิ ตั เิ ฝา ดอู าการพองยบุ กอ็ าจสงั เกต ไดเ องวา มกี ระบวนการ ๒ อยา งกำลงั เกดิ ขน้ึ พรอ มๆ กนั ดา น

๒๖ หน่ึงไดแกกระบวนการทางรางกาย มคี วามตึงและความไหว เปนตน อกี ดา นหนึง่ คอื จิตที่กำลังทำหนาที่กำหนดรอู ารมณ เหลานีอ้ ยู น่ีเปนญาณหยั่งรูในสภาพท่ีแทจริง เม่ือการปฏิบัติ คบื หนา ตอ ญาณทศั นะอีกประเภทหน่งึ ก็จะเกิดขนึ้ ผูปฏบิ ตั ิ จะพบวาธรรมะทุกอยางลวนแสดงใหเห็นวาส่ิงตางๆ ลวน ประกอบดวยความไมเที่ยง เปนทุกขและไมใชตัวตน องค ธรรมของธมั มวจิ ยะจะชว ยใหม องเหน็ ลกั ษณะสากลของสภาว ธรรมตางๆ ทงั้ ทางกายและทางจติ เม่อื ญาณทีห่ ยง่ั รูลกั ษณะอนจิ จัง ทกุ ขงั อนตั ตา แก กลาขึ้น ปญญากจ็ ะสามารถหยง่ั ถงึ นพิ พานได ในกรณีนี้ คำ วา ธมั มวจิ ยะ จึงหมายถงึ การมญี าณหยั่งรนู พิ พานดว ย ลกั ษณะพเิ ศษของนพิ พานกค็ อื ไมมลี กั ษณะใดทเี่ รา สัมผัสสามารถเปรียบได อยางไรก็ตาม นิพพานมีลักษณะ เฉพาะตน คือความถาวร ความไมส้ินสุด ปราศจากทุกข ความสบาย และความสขุ เชนเดยี วกับอารมณอ ื่นๆ นิพพาน กเ็ ปนอนัตตา ปราศจากตวั ตน แตการปราศจากตัวตนของนิพพานนี้แตกตางจาก การปราศจากตวั ตนของสภาวธรรมปรกตอิ นื่ ๆ ตรงทน่ี พิ พาน

๒๗ มิไดต้ังอยูบนทุกขและความไมเท่ียง แตต้ังอยูบนความสุข และความถาวร เม่ือจิตบรรลุถงึ พระนิพพาน ขอ แตกตางนี้ก็ จะปรากฏชัดข้ึนดวยธัมมวิจยะอันเปนญาณที่ทำหนาที่ตรัสรู ธรรม จติ จะสามารถเขา ถงึ สภาวะดงั กลา วได จนกระทง่ั ทำให เราสามารถมองเหน็ สภาวะนิพพานไดอยา งชดั เจน ญาณปญ ญาเปนเหตุของธัมมวจิ ยะ ผูปฏิบัติอาจใครรูวาจะทำอยางไรใหธัมมวิจยะเกิด ขึน้ พระพทุ ธองคตรสั วามเี พียงวิธีเดยี วเทาน้ัน คอื จะตองมี ญาณทัศนะที่บังเกิดข้ึนจากการรูเห็นโดยตรง ความแจงใน สภาวญาณนผี้ ปู ฏบิ ตั จิ ะตอ งเจรญิ สตโิ ดยการกำหนดรอู าการ ทางกายและจิต ญาณปญญาที่สามารถหย่ังลึกลงสูลักษณะ ที่แทจริงของสภาวธรรมตางๆ จึงจะเกิดข้ึน ความหย่ังรูน้ี ตองอาศัยการสังเกตอยางชาญฉลาดและเหมาะสม ผปู ฏิบตั ิ ตอ งมสี ตใิ นการกำหนดอารมณอ ยา งแนว แน ญาณทห่ี นง่ึ หรอื การรบั รโู ดยตรงกจ็ ะเกิดขึ้น เม่ือมีธมั มวิจยะ ญาณปญ ญาก็ จะพัฒนาสูงขึ้นตามลำดับขั้น อุปมาเหมือนเด็กที่พัฒนาจาก โรงเรียนอนุบาลไปสรู ะดับมธั ยม และมหาวิทยาลยั จนสำเร็จ การศกึ ษาในทสี่ ดุ

๒๘ การเจริญธมั มวิจยสมั โพชฌงค ๗ วิธี พระอรรถกถาจารยไ ดก ลาวถงึ วธิ ีในการพัฒนาธัมมวจิ ยะ ๗ วธิ ี ในฐานะทีเ่ ปนองคแหง การตรัสรู ๑. หมน่ั สอบถาม ขอ แรกนคี้ ือการถามคำถามเก่ยี วกับธรรมะ และ การปฏบิ ัติ ในทนี่ ี้หมายถงึ การเขา หาครู อาจารย ผูมคี วาม รูในทางธรรม ขอนช้ี าวตะวนั ตกมกั ไมม ีปญหาเพราะเปนผู ใฝรแู ละชางซักถามซ่งึ เปนคณุ สมบัตทิ ่ีดี

๒๙ ๒. รกั ษาความสะอาด ความสะอาดแหงวัตถุภายในและภายนอกเปนอุปกา ระแกธัมมวิจยสัมโพชฌงค รางกายและส่ิงแวดลอมมีสวน สำคญั การรกั ษาความสะอาดวตั ถภุ ายใน กลา วคอื รา งกาย ดวยการอาบน้ำ ชำระลางรางกายเปนนิจ ดูแลผมและเล็บ ใหสะอาด รวมทั้งการดูแลการขับถายใหเปนปกติไมใหทอง ผูก การรักษาความสะอาดวัตถุภายนอกไดแก การสวมใส เสอ้ื ผา ทสี่ ะอาด หมนั่ เกบ็ กวาดและเชด็ ถบู รเิ วณทพ่ี กั สงิ่ เหลา น้ีทำใหจิตใจปลอดโปรง หากผูปฏิบัติทอดสายตาลง มอง เห็นฝุนละอองและความสกปรก ความวาวุนใจก็อาจเกิดข้ึน ได ในทางตรงกันขา ม ถาสงิ่ แวดลอ มสะอาดสะอาน จิตใจก็ ยอมปลอดโปรง ผอ งใส สภาวจติ เชน นี้แหละท่ีเหมาะแกก าร พฒั นาปญ ญา ๓. การปรับอนิ ทรีย อุปการะธรรมขอที่สามในการทำใหเกิดธัมมวิจยะ คือ ความสมดุลของอนิ ทรีย อนั ไดแ ก ศรัทธา ปญ ญา สติ วิรยิ ะ และสมาธิ ซ่ึงเราไดพ ดู ถึงโดยละเอียดแลว ในบททผี่ าน

๓๐ มา ในอินทรยี ท ัง้ ๕ มี ๔ ขอท่ีจัดเปนคกู ัน คอื ปญญา คู กับ ศรทั ธา และ วริ ยิ ะ คกู ับ สมาธิ ความสมดุลของทั้งสอง คูนเี้ ปนพ้ืนฐานในการปฏิบตั ิ หากศรัทธามีมากกวาปญ ญา ผูปฏบิ ัติก็จะมีใจโนม ไปในเรื่องของการทำกศุ ล ในทางกลบั กนั ถา ปญญามมี าก เกนิ ไป จิตกจ็ ะถูกหลอกลอ ไปในเร่ืองราวตางๆ ความสมดลุ ของวิริยะกับสมาธมิ ีลักษณะดังนี้ หาก ผูปฏิบัติมคี วามเพียรและตง้ั ใจมากเกินไป จิตจะดิ้นรนกระ สบั กระสาย ไมส ามารถต้งั มั่นอยกู ับอารมณ เม่อื จิตหลดุ ลอยไปทำใหเ กิดความหงุดหงดิ อยางไรก็ตาม สมาธิทีม่ าก เกินไปก็จะกอใหเกิดความเกียจครานและงวงเหงาหาวนอน เม่ือจิตน่ิงและรูสึกวาการกำหนดอารมณไมตองใชความ พยายามมากแลว ผปู ฏิบตั กิ ็อาจเร่ิมผอ นคลายและลดความ เพียรลง ไมชา ผปู ฏบิ ัตกิ ็จะหลับไป การรักษาสมดุลของอินทรียในการปฏิบัติวิปสสนา น้ี วิปสสนาจารยจะตองทำความเขาใจอยางถองแทเพ่ือที่ จะสามารถใหคำแนะนำแกลูกศิษย วิธีท่ีเปนพื้นฐานท่ีสุดใน การรักษาความสมดุลและการแกไขเม่ือเสียความสมดุลไปก็ คือการเจริญอนิ ทรียที่เหลืออยู คอื สตินนั่ เอง

๓๑ ๔.-๕. เวนจากบคุ คลผูมีปญญาทบึ คบหากับผูม ีปญญา อุปการะธรรมขอที่ ๔ และ ๕ ของธัมมวิจยะก็ คือ การเวนจากบุคคลผูมีปญญาทึบ คนท่ีขาดปญญาและ คบหาสมาคมกับผูมีปญญา บุคคลผูมีปญญาเปนอยางไร บางคนอาจจะไดร่ำเรียนพระไตรปฎกมาเปนอยางดี อีกคน หนง่ึ อาจสามารถวเิ คราะหเร่อื งตางๆ ไดอยางแจมแจง หาก ผูปฏิบัติไดคบหาสมาคมกับคนเหลานี้ ก็จะเพ่ิมพูนความรู ทางทฤษฎใี หดีขน้ึ อยา งแนนอน และผปู ฏิบตั ิกจ็ ะเริม่ ปลกู ฝง แนวคิดทางปรัชญา การกระทำดังกลาวมิใชส่ิงเลวราย แต ทวาบุคคลท่ีมีปญญาอีกจำพวกหนึ่งสามารถท่ีจะใหความ รูแกผูปฏิบัติไดเหนือไปกวาส่ิงท่ีมีอยูในตำรา พระไตรปฎก กลาวถงึ คณุ สมบัตขิ ัน้ ต่ำสำหรับผมู ีปญญา คอื การไดปฏบิ ัติ วิปสสนากรรมฐานจนเกิดญาณปญญาในข้ันที่เห็นความ เกิดดับของสภาวธรรมตางๆ หากบุคคลใดยังไมถึงข้ันน้ีก็ เปนที่รูกันวาผูน้ันยังไมควรสอนวิปสสนากรรมฐาน เพราะ การสง่ั สอนจะไมช วยใหศษิ ยเกิดธัมมวิจยะขนึ้ มาได

๓๒ ๖. พจิ ารณาถงึ ประเภทแหง ญาณอนั ลกึ ซงึ้ อุปการะธรรมขอที่หกของธัมมวิจยะก็คือ การ พิจารณาถึงประเภทแหงธรรมอันลึกซ้ึง การสอนใหคิดถึง บางส่ิงบางอยาง ในที่น้ีอาจดูเหมือนขัดแยงกัน แตแทจริง แลวปจจัยที่หกนี้หมายถึงการใครครวญถึงลักษณะของ สภาวธรรมทางกาย และทางจติ ในแงข องการเจรญิ วปิ ส สนา น่ันเอง กลาวคือ ในความเปนขันธ ธาตุและอินทรีย ที่ ปราศจากบุคคล ตัวตนเราเขา ๗. ความมุง มั่นสงู สดุ อุปการะธรรมประการสุดทายของธัมมวิจยะไดแก ความมุงม่ันสูงสุดในการท่ีจะเจริญองคธรรมน้ีเพื่อการตรัสรู ผูปฏิบัติควรมีใจท่ีนอมไปสูธัมมวิจยะและการหยั่งรูโดยตรง เสมอๆ โปรดระลกึ ไวเ สมอวา ผปู ฏบิ ตั ไิ มจ ำเปน ตอ งคดิ หาเหตุ ผลหรือวิเคราะหวิจารณประสบการณทั้งหลาย ขอเพียง ปฏิบัติไปเพื่อที่จะไดรับประสบการณโดยตรงของสภาวะทาง กายและจิตของตนเองเทานน้ั

ความเพยี ร ๓อยา งกลา หาญ โพชฌงคอ งคทสี่ าม ธรรมทเ่ี ปน องคแหง การตรัสรู องคท ีส่ ามไดแกวิรยิ ะ หรอื ความเพยี ร เปน พลังที่ใชใ นการประคองใจในการกำหนด รอู ารมณใ หสมำ่ เสมอและตอเนื่อง ในภาษาบาลี วริ ิยะ มาจากคำวา วรี านํ ภาโว ซง่ึ หมายถงึ “สภาวะของคนอาจหาญ” คำน้ี ทำใหเราไดพอมองเห็นรสชาติ คุณสมบตั ิ ของความพยายามในการปฏบิ ตั ขิ องเรา กลาวคอื ควรเปนการปฏิบัติอยางกลา หาญ

๓๔ บุคคลที่ทำงานหนักและขยันหมั่นเพียรมีความ สามารถที่จะเปนวีรบุรุษไดในทุกอยางที่เขาทำ เพราะความ เพยี รนน่ั เองทก่ี อ ใหเ กดิ คณุ สมบตั ขิ องความเปน วรี บรุ ษุ บคุ คล ท่ีถึงพรอมดวยความเพียรอยางกลาหาญจะไมคร่ันครามใน การกาวไปขางหนา ไมเกรงกลัวตอความยากลำบากท่ีจะ ตองเผชญิ ในการทำงานใหส ำเรจ็ พระอรรถกถาจารยก ลา ว ไววา ลกั ษณะของความเพียรคอื ความอดทนอยา งตอเนือ่ ง เม่ือเผชิญกับความทุกขหรือความลำบาก ความเพียรก็คือ ความสามารถทจี่ ะทำใหถ งึ ทส่ี ดุ ไมว า อะไรจะเกดิ ขน้ึ ถงึ แมว า จะตอ งขบกรามแนน ผู ปฏิบัติ ตอง ประก อบ ดวย ค วาม อดท น แ ล ะ ก าร ยอมรับตั้งแตเริ่มปฏิบัติ หากผูปฏิบัติเขารับการอบรม วิปสสนากรรมฐาน ผูปฏิบัติตองละนิสัยท่ีรักความสะดวก สบายและงานอดิเรกในชีวิตประจำวัน ตองนอนบนเสื่อ ธรรมดาๆ ในหองแคบๆ แลว ก็ตองตื่นข้นึ และใชเ วลาทงั้ วัน ไปกบั การนง่ั คบู ลั ลงั กน ง่ิ ๆ เปน ชว่ั โมงๆ นอกเหนอื จากความ เขม งวดของการปฏบิ ตั แิ ลว ผปู ฏบิ ตั ยิ งั ตอ งอดทนตอ ความไม พอใจของตนเองท่รี ำ่ รองถงึ ความสะดวกสบายทบี่ า น ยิง่ ไปกวา นน้ั ทกุ ครั้งที่ผูปฏบิ ัตลิ งมือเจรญิ วปิ ส สนา กรรมฐาน ผูปฏิบัติก็จะรูสึกถึงการตอตานของรางกายและ

๓๕ ความเจบ็ ปวดในระดบั ตา งๆ สมมตุ วิ า ผปู ฏบิ ตั กิ ำลงั พยายาม นง่ั สมาธใิ หไ ดส กั ๑ ชว่ั โมง โดยการนงั่ คบู ลั ลงั กอ ยู เพยี ง ๑๕ นาทีผา นไป ยุงรายตัวหนง่ึ บนิ มากัดเขา ผูปฏบิ ตั เิ ร่ิมรูสึกคัน นอกจากนั้นคอกเ็ รม่ิ รสู กึ ตงึ เทา กเ็ รม่ิ ชา ความหงดุ หงิดเริ่ม คบื คลานเขา มา ผปู ฏบิ ตั คิ นุ เคยกบั ชวี ติ ทสี่ ะดวกสบาย รา งกาย ไดร ับการทะนถุ นอมและอมุ ชูเสยี จนเกดิ ความเคยชนิ ที่จะตอ ง ปรับเปลี่ยนอิริยาบถทุกครั้งท่ีเกิดความรูสึกไมสบายเพียงเล็ก นอ ย และในทส่ี ดุ รา งกายของผปู ฏบิ ตั ติ อ งทนทกุ ขท รมาน และ เพราะรางกายเปนทุกข ใจของผปู ฏิบัติกท็ ุกขไปดว ย ความรูสึกที่ไมนาพึงพอใจมีความสามารถอยาง ประหลาดในการทำใหจ ิตใจหมดเรย่ี วแรงและเห่ยี วเฉา แรง จูงใจท่ีจะยอมพายแพน้ันมีมาก จิตอาจคิดหาเหตุผลตางๆ นานา “ฉันจะขยบั ขาแคน วิ้ เดยี ว จะไดทำใหส มาธดิ ขี ้ึน” ใน ไมชาผปู ฏิบัตกิ ็จะยอมแพ ความอดทนและอดกล้ัน ผูปฏิบัติจำตองมีความเพียรอยางกลาหาญพรอม ดว ยคณุ สมบตั ใิ นการอดกลน้ั ยามเผชญิ กบั ความยากลำบาก

๓๖ หากผปู ฏบิ ตั ิเรงความเพยี รใหส งู ขน้ึ จิตใจกจ็ ะมีพลังเขม แข็ง ความอดทนตอ ความเจบ็ ปวดจะเปย มดว ยขนั ตแิ ละความกลา หาญ ความเพยี รมีพลงั ในการทำใหจติ แจมใสและแข็งขันแม ในสถานการณท่ียากลำบาก ในการเรงความเพียรน้ัน ผู ปฏิบัติสามารถใหกำลังใจแกตนเองหรือแสวงหาแรงบันดาล ใจจากกัลยาณมิตร หรือครู อาจารย เมื่อเพ่ิมความเพียร จติ ก็จะกลบั มีความเขมแขง็ ขึน้ อีกครง้ั หนง่ึ การคำ้ จนุ จติ ทีอ่ อนกำลงั พระอรรถกถาจารยกลาวไววา ความเพียรมีหนา ที่อุปการะจิตในยามท่ีเหนื่อยลาจากการโจมตีของความ เจบ็ ปวด ลองคดิ ถึงบานเกาๆ หลังหนึ่งท่ีชำรุดทรดุ โทรมจวน จะพัง หากมีลมกรรโชกมาเพียงเบาๆ ก็จะทำใหบานพัง ครืนลงมา แตหากเราหนุนบานหลังนี้ดวยเสาท่ีแข็งแรงพอ สมควร บา นหลงั นีก้ ็ยังสามารถตงั้ อยไู ด ในทำนองเดียวกัน ความเพียรที่เขมแข็งสามารถเปนอุปการะแกจิตที่เหี่ยวเฉา

๓๗ เพราะความเจ็บปวด ผูปฏิบัติสามารถที่จะเจริญวิปสสนา กรรมฐานตอ ไปไดอยา งสดชน่ื และตื่นตัว บางทานอาจไดร ับ ประสบการณท ี่ดขี องความเพียรเชนนี้ดว ยตนเอง ผูปฏิบัติท่ีปวยเปนโรคเรื้อรังอาจมีปญหาในการ ปฏิบตั แิ บบปรกติ การเผชิญหนากบั ความเจ็บปวดคร้งั แลว คร้ังเลาทำใหพลังทางกายและทางจิตออนลาหมดเรี่ยวแรง และทอ ถอย จงึ ไมเปน ทนี่ า แปลกใจท่ีผูปฏิบัตทิ ี่มีอาการปว ย มกั จะมาสง อารมณด วยความรสู กึ ทอแทส้ินหวงั และรสู ึก วา การปฏิบตั ิของตนไมก า วหนา เหมอื นกบั การว่ิงชนกำแพง คร้ังแลว คร้งั เลา พวกเขาหมดกำลงั ใจ อยากจะยอมแพ และออกจาก การปฏบิ ตั ิ หรอื เลกิ เจรญิ กรรมฐาน บางครงั้ อาตมาสามารถ ชวยแกไขสถานการณแบบนี้ไดดวยการแสดงธรรมหรือให กำลงั ใจ ความแจม ใสเริม่ ปรากฏบนใบหนา พวกเขากก็ ลบั ไปปฏบิ ัติตอไปไดอีกสองสามวนั การใหกำลังใจและแรงบันดาลใจเปนสิ่งสำคัญ ไม เฉพาะจากตัวผูปฏิบัติเอง บุคคลอ่ืนก็สามารถชวยประคับ ประคองใหผ ปู ฏิบตั ิกาวเดนิ ตอไปเวลาทีผ่ ปู ฏิบัติรูสึกติดขัด

๓๘ จิตใจทกี่ ลา หาญ : เรอ่ื งจติ ตาภิกษณุ ี อาการปรากฏของความเพียร คอื ความองอาจ กลา หาญ และความเขมแขง็ ของจิต เพ่ือแสดงใหเห็นคุณสมบตั ิ ขอนี้ มีเรื่องเลาเกี่ยวกับภิกษุณีทานหนงึ่ นามวา จิตตา วนั หนง่ึ ขณะทกี่ ำลงั พจิ ารณาความทกุ ขท เี่ ปน ผลพวง ของรางกายและจิตใจแลวเกิดความรูสึกสลดสังเวชเปนอยาง ย่งิ ดงั นัน้ ทา นจงึ ตัดสนิ ใจละโลกออกบวช เพือ่ ความพน ทกุ ข แตโ ชคไมด ที ที่ า นมโี รคเรอื้ รงั ทแี่ สดงอาการโดยไมม กี ารเตอื น ลว งหนา วนั หนง่ึ ทา นอาจรสู กึ สบายดี แตแ ลว กอ็ าจลม ปว ยลง ไดท ันทที ันใด ทา นเปน ผทู มี่ ีจติ ใจมุง มน่ั ปรารถนาแตความ หลุดพนและไมยอมแพ คราวใดก็ตามที่ทานมีสุขภาพดีทาน กจ็ ะปฏบิ ตั อิ ยา งเตม็ ที่ และหากลมปว ยลงทานก็ยังคงปฏบิ ัติ ตอ ไป ในระดบั ทผี่ อ นคลายลง บางครง้ั การปฏบิ ตั ขิ องทา นจะ เปยมดวยพลังและความช่ืนบาน แตเม่ืออาการปวยมาเยือน การปฏิบัตขิ องทานก็จะถดถอยลง

๓๙ เหลาภิกษุณีเปนหวงวาจิตตาภิกษุณีพยายามเกิน กำลังของตน ทานเหลา นน้ั เตือนใหจ ติ ตาภิกษุณรี ะวงั รกั ษา สุขภาพ ไมควรเรงรัด แตทา นไมฟง ยังคงปฏิบัติตอไปวนั แลว วนั เลา เดอื นแลว เดอื นเลา ปแ ลวปเ ลา เมือ่ อายุมากขน้ึ ทา นตอ งใชไ มเ ทาในการเดิน รางกายของทานออนแอและ ผอมจนเห็นกระดูกแตจ ิตใจของทานเขมแขง็ และมพี ลัง วันหน่งึ จติ ตาภิกษุณรี ูสกึ เบอื่ หนา ยท่จี ะตองทนตอ อปุ สรรคเหลาน้ี จึงตัดสินใจอยางเดด็ ขาด ทา นกลา วกับ ตนเองวา “วันนฉ้ี นั จะปฏบิ ตั ิใหดีท่ีสดุ โดยไมค ำนงึ ถึงรางกาย เลย หากฉนั ไมตายในวนั นก้ี เิ ลสก็จะตอ งถกู ประหารไป” จิตตาภิกษุณีใชไมเทาค้ำเดินข้ึนเขาอยางมีสติทีละ กาวๆ ดว ยความชรา ซบู ผอมและกะปลกกะเปลยี้ บางครง้ั ทานถงึ กับตองนั่งลงแลวคลานไป แตจ ิตใจของทา นยนื หยัด และกลาหาญ ทานเชือ่ มนั่ ในพระธรรมอยา งสงู สุดและส้ิน เชิง ทานเจรญิ สติทกุ ๆ กา วท่ยี างไป ทกุ ๆ ทีท่ ค่ี บื คลานไป สูยอดเนินเขา พอถึงยอดเนินทานกห็ มดแรงแตกย็ งั เจรญิ สติ อยูอ ยางตอ เนื่องไมข าดสาย จิตตาภิกษุณีไดต้ังปณิธานอีกครั้งในการที่จะกำจัด กเิ ลสใหส ิน้ ไปในคราวเดียว หรือมิฉะน้นั ก็จะยอมตาย ทาน

๔๐ ปฏิบัตติ อไปอยา งหนักเทา ทีจ่ ะทำได และดเู หมอื นวาในวนั เดยี วกนั นนั้ เองท่ที านบรรลเุ ปา หมาย ทานเปยมไปดว ยปต ิ และความยินดีและเม่ือทานเดินลงจากเขาดวยความเขมแข็ง และเบิกบาน เปล่ยี นไปเปนคนละคนกับจติ ตาทีค่ ลานข้นึ เขา ทานสดชื่นและเขม แขง็ ผองใสและสงบ ทำใหเ หลา ภิกษุณที ง้ั หลายประหลาดใจ ทานเหลา นนั้ ถามถึงความมหัศจรรยท ี่ ทำใหทา นเปล่ยี นไป และเมื่อจิตตาภิกษุณเี ลา ถึงสิ่งทเี่ กิดขน้ึ เหลาภิกษุณตี า งพากันเกรงขามและชน่ื ชม พระพุทธองคตรสั วา “การมีชีวติ อยเู พยี งวนั เดียวใน การปฏบิ ตั ธิ รรม ดีกวาการมชี ีวิตอยูรอยปโดยมไิ ดป ฏิบตั ิ” ในภาคธรุ กิจ การเมือง สังคม และการศึกษา เรา มักจะพบวาผูนำเปนผูท่ีทำงานหนัก การทำงานหนักทำให เรากาวถึงจุดสูงสุดไดในทุกๆ ดาน น่ีคือความจริงของชีวิต บทบาทของความเพยี รกก็ ำหนดไวช ดั เจนเชน กนั ในการปฏบิ ตั ิ วปิ ส สนากรรมฐาน การปฏบิ ตั ธิ รรมตอ งอาศยั พลงั อยา งสงู ผู ปฏบิ ตั ติ อ งพยายามอยา งจรงิ จงั ในการทจี่ ะรกั ษาสตใิ หต งั้ มน่ั อยางตอเน่ืองและคงอยูจากวินาทีหน่ึงสูอีกวินาทีหน่ึงโดยไม ขาดตอน ในหนทางเชนนไี้ มมีทสี่ ำหรับความเกยี จคราน

๔๑ เพยี รเผากิเลส พระพุทธองคตรัสถึงความเพียรวาเปนความรอน ประเภทหนง่ึ กลา วคือ อาตาป เม่อื จติ เปย มดวยความเพยี ร จะมีพลังความรอน อุณหภูมิทางจิตนี้มีอำนาจในการเผา ผลาญกิเลสใหส้ินไป กิเลสอาจเปรียบไดกับความช้ืน จิตที่ ปราศจากความเพียรอาจถูกกิเลสทำใหอับช้ืนและจมลงได งาย แตถาความเพียรแกกลา จิตก็จะเผารนใหกิเลสระเหย หายไปไดกอนที่มันจะมากระทบกับจิต ดังน้ันยามใดที่จิตมี พลังแหงความเพียร ความเศราหมองก็มิอาจครอบงำหรือ แมแ ตเ ขา ใกลจ ิตได อกศุ ลธรรมก็มิอาจเขา แทรกแซงได ความรอ นของโมเลกลุ จะปรากฏออกในลกั ษณะของ การส่ันสะเทือน แทงเหล็กท่ีรอนแดงนั้นมีการสั่นสะเทือน อยา งรวดเรว็ ซงึ่ ทำใหม นั ออ นตวั และสามารถตใี หเ ปน รปู รา ง ได ในการเจรญิ กรรมฐานก็เชนเดียวกัน เมือ่ ความเพยี รกลา การสนั่ สะเทอื นของจติ จะปรากฏออกมาในลกั ษณะของความ กระฉับกระเฉง วองไว จิตมีพลังกำหนดรูจากอารมณหนึ่ง ไปสูอีกอารมณไดอยางงายดายและรวดเร็ว เม่ือจิตกำหนด

๔๒ รูอารมณตางๆ ที่มากระทบทำใหพลังงานความรอนสูงข้ึน จนหลอมละลายภาพลวงตาของอตั ตา ทำใหเ หน็ การเกดิ และ ดบั ชัดเจน บางครงั้ เมอ่ื การปฏบิ ตั มิ คี วามเขม แขง็ ตอ เนอ่ื งไปดว ย ดี ความเพยี รกส็ ามารถทจี่ ะประคบั ประคองตวั มนั เอง เหมอื น กับแทงเหล็กที่ยังคงรอนแดงอยูหลังจากที่ออกจากเตา เม่ือ กเิ ลสอยูห าง ความชัดเจนแจมใสก็ปรากฏขึ้นในจติ ใจ จิตมี ความบรสิ ทุ ธแิ์ ละแจม ใสในการกำหนดรสู งิ่ ตา งๆ ทก่ี ำลงั เกดิ ขน้ึ จติ มคี วามแมน ยำและตนื่ ตวั ในการเฝา ดสู ภาวธรรมตา งๆ ขณะทม่ี นั เกดิ ขน้ึ โดยละเอยี ด สตทิ เ่ี ปย มดว ยพลงั จะชว ยใหจ ติ สามารถหยั่งลึกลงสูอารมณท่ีเฝาดูอยู และสามารถที่จะคง สภาพอยูเชนน้ันโดยไมซัดสายและฟุงซาน และเมื่อสติและ สมาธติ ง้ั มนั่ ดแี ลว จะทำใหเ กดิ การรบั รทู ชี่ ดั เจนอนั เปน โอกาส ใหญาณปญญาเกิดข้ึนดวย ดว ยความเพยี รทีบ่ ากบัน่ กุศลธรรมอ่ืนๆ ไดแก สติ สมาธแิ ละปญ ญากจ็ ะเกดิ ขน้ึ และเขม แขง็ อนั นำมาซงึ่ สภาวะที่ บรสิ ทุ ธแิ์ ละเปน สขุ จติ กจ็ ะมคี วามกระจา งชดั และเฉยี บแหลม จนสามารถทจ่ี ะหยง่ั ลงสูส ภาวะแทจรงิ ของสง่ิ ตา งๆ ได

๔๓ ปญ หาของความเกยี จคราน และความสุขจากอสิ รภาพ ในทางตรงขาม หากผูปฏิบัติประกอบดวยความ เหลวไหล และเกียจครา น จติ ก็จะขาดความเฉยี บแหลมและ อกุศลธรรมกจ็ ะคบื คลานเขามา เมื่อขาดสมาธิผปู ฏิบัติจะไม ใสใ จในกุศลธรรมของสภาวจติ และอาจคดิ เอาวา การปฏบิ ัติ กา วหนา ไปไดโ ดยไมต อ งใชค วามพยายาม ความมทุ ะลุ ความ เกยี จครา นอยา งดอื้ ดา นนจ้ี ะหนว งเหนยี่ วใหผ ปู ฏบิ ตั กิ า วหนา ชาลง จติ จะอบั เฉา หนักอึ้ง ประกอบดวยความโนมเอยี งไป ในทางอกุศล ไมบรสิ ุทธิ์ เหมอื นผา หมท่ขี ึ้นราจากการถูกทงิ้ ใหต ากฝน โดยปรกตแิ ลว กเิ ลสจะชกั นำจติ ใหโ นม เขา ไปสคู วาม สุขทางรปู รส กลนิ่ เสยี ง โดยเฉพาะอยางยิ่งราคะ ความ ใคร ซ่ึงเปนตัณหาประเภทหน่ึง บุคคลที่ปราศจากความ เพียรอยา งกลา หาญจะไมอาจชว ยตัวเองไดเ ลย เม่อื ราคะเขา ครอบงำ เขาจะจมลงสหู ว งนำ้ แหง กามสขุ อยา งไรกต็ าม หาก เติมความเพียรเขาไปในจิต จิตก็จะสามารถตะเกียกตะกาย ขึ้นจากบอน้ำแหงอกุศลธรรมน้ีได จิตจะมีความเบาเหมือน

๔๔ กับจรวดท่ีสามารถพุงทะยานขึ้นสูชั้นบรรยากาศท่ีปราศจาก แรงดงึ ดดู ของโลกได เมอื่ ปลดเปลอื้ งภาระอนั หนกั ของตณั หา และโทมนสั แลว จติ กจ็ ะมแี ตป ต แิ ละความสงบตลอดจนสภาวะ ที่เปนสุขและอิสระ ความสุขประเภทนี้จะพบไดก็ดวยไฟแหง ความเพยี รของผปู ฏิบตั แิ ตละคนเทา น้นั ผูปฏิบัติอาจไดประสบอิสรภาพน้ีมาดวยตนเองแลว บางทีวันหนึ่งผูปฏิบัติอาจกำลังเจริญกรรมฐานอยูขณะที่มี คนกำลังอบขนมอยูใกลๆ กล่ินหอมชวนรับประทานลอย เขามากระทบจมูก หากผูปฏิบัติมีสติดีอยูก็จะกำหนดกล่ิน นน้ั เปน อารมณท ่นี า ปรารถนาแตกไ็ มเกดิ การยึดติด ผปู ฏบิ ัติ ไมรูสึกวาอยากลุกจากท่ีนั่งเพื่อไปขอขนมน้ันมารับประทาน ในทำนองเดียวกัน หากมีอารมณที่ไมนาปรารถนาเกิดข้ึน ผูปฏิบัติก็จะไมรูสึกรังเกียจ ความสับสนและความลุมหลง ก็อาจหายไปดวย เมื่อผูปฏิบัติเห็นลักษณะของรูปและนาม อยา งชัดแจงแลว ปจ จัยท่ีเปน อกศุ ลก็ไมอาจครอบงำได อาหารอาจเปนเร่ืองที่ลำบากท่ีสุดเรื่องหนึ่งสำหรับ นกั ปฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ในระหวา งการอบรมกรรมฐาน การละทิ้งความอยากโดยส้ินเชิงอาจทำใหผูปฏิบัติรูสึก ผะอืดผะอมกับอาหาร หากผูปฏิบัติเจริญสติไดอยางม่ันคง แลวก็จะประหลาดใจวา จริงๆ แลว อาหารไมมีรสชาตอิ ะไร

๔๕ เลยเวลาสมั ผสั กับล้นิ และเมอ่ื การปฏบิ ัตกิ า วหนา ผปู ฏบิ ตั ิ บางคนอาจพบวา อาหารเปน สงิ่ ไมน า ยนิ ดเี ลยและไมส ามารถ รบั ประทานไดเ กนิ ๑ - ๒ คำ หรอื ในอกี ทางหนงึ่ เมอ่ื ผปู ฏบิ ตั ิ ประสบกับปติอยางแรงกลา ปติน่ันเองจะกลายเปนอาหาร ของจิตจนกระทั่งผูปฏิบัติไมรูสึกหิวอะไรเลย อยางไรก็ตาม ผูปฏิบัติท้ังสองประเภทน้ีควรพยายามเอาชนะปฏิกิริยาเบ้ือง ตน ของสภาวะเหลา น้ี แลวพยายามรับประทานอาหารใหพอ เพียงเพอ่ื รกั ษากำลงั ของตนเอง หากรางกายขาดสารอาหาร แลว กจ็ ะขาดพละกำลงั และความอดทน และในทสี่ ดุ กจ็ ะทำให การปฏบิ ัตลิ มเหลว ผปู ฏบิ ตั อิ าจปรารถนาทจ่ี ะไดร บั ผลของวริ ยิ ะ แตห าก ไมไ ดล งมอื พยายามทจ่ี ะทำใหค วามเพยี รเกดิ ขนึ้ กก็ ลา วไดว า เขาคงจะตอ งจมปลกั อยูในความนาสะอดิ สะเอยี น ภาษาบาลี เรียกบคุ คลประเภทนวี้ า กุสตี ในทางโลกบคุ คลทีไ่ มทำงาน เพอ่ื เลี้ยงดตู นเองและครอบครวั กจ็ ะไดรับการถูกดหู ม่ิน และ อาจไดรับการขนานนามวาเจาตัวข้ีเกียจหรือถูกสบประมาท ตางๆ นานา คำวา กสุ ตี หมายเฉพาะคนซง่ึ ถกู ประทุษราย ดวยวาจา ในการปฏิบัติธรรมก็เชนเดียวกัน หลายๆ ครั้ง ความเพยี รเปน สงิ่ สำคญั ผปู ฏบิ ตั ทิ ไี่ มอ าจรวบรวมความเพยี ร

๔๖ เพื่อเผชิญหนากับสถานการณที่ยากลำบาก แตยอมจำนน อาจเรยี กไดว า เปน คนขลาด ไมม คี วามกลา หาญ ไมร จู กั ความ องอาจใดๆ ท้ังสน้ิ บุคคลที่เกียจครานมักมีชีวิตอยูดวยความทุกขและ หมนหมอง นอกจากจะไมเปนท่ีเคารพนับถือของคนท่ัวไป แลวกิเลสยังสามารถเกิดขึ้นไดงายเมื่อความเพียรต่ำ จาก นน้ั ก็จะถูกคุกคามดวยความคดิ ผิดๆ ๓ ประการ กลา วคอื ความอยากได การทำลาย และความโหดรายดุดัน สภาวะ จิตเชน นี้มีลกั ษณะกดดนั เจบ็ ปวด และไมนา พึงพอใจ บคุ คล ทเี่ กยี จครา น งา ยทจี่ ะตกเปน เหยอ่ื ของความงว งเหงา ซมึ เซา อันเปนสภาวะที่ไมน าพึงพอใจอกี ประการหนึ่ง ยงิ่ ไปกวา นน้ั เมอ่ื จติ ขาดพลงั กอ็ าจจะเปน การยากทจี่ ะรกั ษาศลี ไวใ หม น่ั คง และหากศีลขาดผปู ฏบิ ตั ิกจ็ ะเสียประโยชน ไมไดรบั ความสขุ และอานิสงสข องความบริสุทธทิ์ างจิต การเจรญิ วปิ ส สนากรรมฐานนอ้ี าจถกู ทำลายไดอ ยา ง รา ยแรงดว ยความเกยี จครา น มนั ทำใหผ ปู ฏบิ ตั หิ มดโอกาสที่ จะเหน็ ลกั ษณะทแ่ี ทจ รงิ ของสงิ่ ตา งๆ หรอื ยกระดบั จติ ใหส งู ขน้ึ ดงั นั้น พระพุทธองคจึงตรสั วา บุคคลผเู กียจครา นสูญเสยี สิง่ ท่ีเปนประโยชนหลายประการ

๔๗ ความไมย อ ทอ การที่ความเพียรจะพัฒนาไปจนถึงขั้นท่ีจะเปนองค แหงการตรัสรูนั้น ความเพียรจะตองมีคุณสมบัติของความ ไมย อ ทอ กลา วคอื จะตอ งมพี ลงั สมำ่ เสมอ ไมเสอ่ื มถอยหรือ เฉ่ือยชา นอกจากน้ันยังเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดวยความพยายาม อยางไมยอทอ จิตก็จะไดรับการปกปองจากความคิดผิดๆ เม่ือความเพียรกลาความงวงเหงาหาวนอนก็ไมอาจเกิดขึ้น ได ผูปฏิบัติจะรูสึกไดถึงความมั่นคงของศีลตลอดจนสมาธิ และปญ ญา และยงั ไดร บั ผลของความเพยี รเมอ่ื จติ ผอ งใสและ มีกำลงั คลอ งแคลว และกระปร้ีกระเปรา ความเขาใจเกี่ยวกับความเพียรท่ีเหมาะสม จะเริ่ม มีความชัดเจนมากข้ึนเม่ือผูปฏิบัติมีความกาวหนามากขึ้นใน การปฏิบตั ิ (แมเ พยี งคร้ังเดยี ว) เชนผูปฏบิ ัติอาจเฝาดคู วาม เจ็บปวดที่แรงกลา และสามารถกำหนดไดโดยไมมีปฏิกิริยา ตอ ตา นหรอื รสู กึ วา ถกู บบี คน้ั จติ กจ็ ะมคี วามรสู กึ พงึ พอใจและ ชนื่ ชมในวรี กรรมของตนเอง สามารถเลง็ เหน็ ไดช ดั ดว ยตนเอง วา ดว ยความพยายามดงั กลา ว จติ มไิ ดย อมจำนนตอ ความยาก ลำบากแตไดกา วขา มความลำบากน้นั อยางผูมชี ยั ชนะ

๔๘ โยนโิ สมนสกิ าร ท่ีมาของพลังแหงความเพยี ร พระพทุ ธองคต รสั เพยี งสังเขป ถึงทีม่ าของพลงั แหง ความเพยี ร พระพุทธองคตรัสวา พลังมาจากความใสใจโดยแยบคาย ที่กระตุนใหอ งคป ระกอบทงั้ สามของความเพยี รเกดิ ข้นึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook